Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มองอินเดียใหม่

Description: มองอินเดียใหม่

Search

Read the Text Version

บริษัท Vikram Cement, บริษัท Prism Cement, บรษิ ัท Diamond Cement และ บรษิ ทั ACC Cement เขตเศรษฐกิจพิเศษ Pithampur ของรัฐมัธยประเทศ ได้รับสมญานามว่า “Detroit of India” ในฐานะเปน็ ศนู ยก์ ลางการผลติ รถยนตข์ องอนิ เดยี โดยมบี รษิ ัทใน กลมุ่ อตุ สาหกรรมยานยนตไ์ ปตง้ั โรงงานผลติ อยจู่ ำ� นวนมาก เชน่ บรษิ ทั Eicher Motors, บรษิ ทั Mahindra 2 Wheelers, บรษิ ทั Caparo, บริษัท Bajaj Tempo, บริษัท MAN Force Trucks, บรษิ ทั Bridgestone Tyre เป็นตน้ นอกจากนั้น รฐั มธั ยประเทศกย็ งั เป็น ศนู ยก์ ลางในการผลิตสิ่งทออีกดว้ ย มาถึงจุดนี้ก็คงจะพอมองเห็นแล้วว่าท�ำไมรัฐมัธยประเทศจึงกลายเป็นดาว จรัสแสงแรงสูงพุ่งเด่นขึ้นมาอีกดวงหน่ึงไล่หลังรัฐคุชราตมาติดๆ เพราะนอกจากจะต้ัง อยใู่ นจดุ ยทุ ธศาสตรท์ ดี่ แี ลว้ รฐั มธั ยประเทศยงั อดุ มสมบรู ณไ์ ปดว้ ยทรพั ยากรธรรมชาติ ท่ีหลากหลาย เป็นรัฐท่ีมีระบบเศรษฐกิจที่เข้มแข็งโดยเป็นรัฐท่ีมีการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกจิ ท่รี วดเรว็ ทีส่ ุดรฐั หนง่ึ ในประเทศอนิ เดีย ด้วยอตั ราการเจรญิ เตบิ โตเฉลย่ี ระหว่างปี 2548 - 2553 สงู ถงึ ร้อยละ 12.70 กต็ อ้ งถอื วา่ ไมธ่ รรมดาเลยทเี ดยี ว นอกจากนนั้ รฐั มธั ยประเทศยงั มกี ารพฒั นาทรพั ยากร มนษุ ยอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ โดยมีสถาบนั การศกึ ษาดา้ นวิศวกรรมศาสตรถ์ ึง 222 แห่ง และ สถาบันการศึกษาด้านการจัดการอีก 218 แห่ง ตลอดจนมีสถาบันการศึกษาด้าน กฎหมาย ธุรกิจการเกษตร และอื่นๆ อีกมากมาย โดยเฉพาะอย่างย่ิงสถาบันการ จดั การแหง่ อนิ เดยี (IIM) ซงึ่ เปน็ สถาบนั ทส่ี อนดา้ นการบรหิ ารธรุ กจิ อนั ดบั หนงึ่ ของอนิ เดยี มีวิทยาเขตอยู่ที่เมืองอินโดร์อีกด้วย ท�ำให้รัฐน้ีไม่มีปัญหาเรื่องแรงงานเพราะ รัฐได้เตรียมความพร้อมในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไว้รองรับการขยายตัวของ อตุ สาหกรรมไวเ้ ป็นอยา่ งดี ส่วนเรื่องทีเ่ ป็นปัญหาอมตะนิรนั ดรก์ าลของประเทศอินเดยี ก็คอื ปัญหาเรอ่ื ง กระแสไฟฟ้าไม่เพียงพอ ส�ำหรับรัฐมัธยประเทศก็ต้องบอกว่าตัดปัญหานี้ทิ้งไปได้เลย โดยในปัจจบุ ันรฐั สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าไดเ้ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการใชค้ อื สามารถ ผลติ กระแสไฟฟา้ ไดถ้ งึ 10,202 เมกะวตั ต์ แมว้ า่ จะยงั ไมม่ ากเทา่ กบั รฐั คชุ ราตทส่ี ามารถ ผลติ กระแสไฟฟ้าได้ 14,000 เมกะวตั ต์ แตก่ ็ถือวา่ เปน็ รัฐทสี่ ามารถผลติ กระแสไฟฟ้าได้ มากเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการใชข้ องอตุ สาหกรรมตา่ งๆ ในรฐั และถอื เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ปัจจยั หนึง่ ที่จะทำ� ใหบ้ รษิ ัทต่างๆ โดยเฉพาะบรษิ ัทตา่ งชาตติ ดั สินใจนำ� เงินมาลงทนุ ใน รัฐน้ีเป็นเงนิ จำ� นวนมหาศาล 201

ล่าสุด 28 - 30 ตุลาคม 2555 รัฐมัธยประเทศได้จัดงานใหญ่และเป็นงาน สา� คัญท่สี ุดของรัฐ คือ งาน Global Investors Summit (GIS) 2012 ทีเ่ มอื งอนิ โดร์ เมอื งหลวงทางเศรษฐกจิ ของรฐั มธั ยประเทศ โดยเชญิ นกั ธรุ กจิ ชนั้ นา� ผแู้ ทนบรษิ ทั ตา่ งๆ ผู้แทนภาครัฐ และนักลงทุนท่ีสนใจจากท่ัวโลกมาเข้าร่วมการประชุมสูงสุด เพ่ือให้มี โอกาสได้ไปแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ตลอดจนได้เห็นศักยภาพของรัฐมัธยประเทศว่า เปน็ รฐั ทน่ี า่ สนใจลงทุนเพยี งใด ทงั้ นี้ การจดั งาน GIS ดงั กลา่ วไดเ้ รมิ่ จดั ขนึ้ เปน็ ครง้ั แรกเมอ่ื ปี 2550 โดยจดั ขน้ึ ทกุ ๆ 2 ปี ครั้งแรกของการจัดงานเมื่อปี 2550 ได้มีการลงนามในบันทกึ ความเขา้ ใจ ระหว่างรัฐมัธยประเทศกับผู้สนใจที่จะลงทุนจ�านวน 102 ฉบับ เป็นเงินลงทุนมูลค่า 1.2 แสนลา้ นรปู ี (ประมาณ 7.2 หม่นื ล้านบาท) การจดั งาน GIS ครงั้ ท่ี 2 ในปี 2553 มกี ารลงนามในบนั ทกึ ความเขา้ ใจเพม่ิ ขนึ้ เปน็ 107 ฉบบั เปน็ เงนิ ลงทนุ มลู คา่ 2.35 แสนลา้ น รปู ี (ประมาณ 1.41 แสนล้านบาท) ล่าสุดการจัดงาน GIS ครั้งที่ 3 มีการลงนามในบันทึกความเข้าใจเพิ่มขึ้น เปน็ 259 ฉบับ เป็นเงนิ ลงทุนสูงถึง 3.75 แสนลา้ นรูปี (ประมาณ 2.25 แสนลา้ นบาท) โดยมแี ผนทจี่ ะลงทนุ ในโครงการสา� คญั หลายโครงการ เชน่ โครงการกอ่ สรา้ งศนู ยก์ ลาง การขนสง่ สนิ คา้ ทางอากาศ ณ เมอื งอนิ โดร์ บนพน้ื ที่ 500 เฮกตาร์ (ประมาณ 3,125 ไร)่ โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าโดยกลุ่มบริษัท Reliance Anil Dhirubhai Ambani Group มูลคา่ 2 แสนล้านรูปี (ประมาณ 1.2 แสนล้านบาท) โครงการสวน อุตสาหกรรมผลิตอาหารแบบครบวงจร ของกลุ่มบริษทั Future Group มลู คา่ 2.5 หม่นื ลา้ นรูปี (ประมาณ 1.5 หมืน่ ล้านบาท) โดยจะมีการจ้างงานเพ่มิ ขึ้นอีก 21,400 อัตรา โครงการก่อสร้างโรงงานผลิตเหล็กและสวนอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ของกลุ่มบริษัท MTech Metals & Mining มูลค่า 9 หมน่ื ลา้ นรูปี (ประมาณ 5.4 หมน่ื ล้านบาท) เปน็ ตน้ ถือว่าไม่ธรรมดาทีเดียวส�าหรับรัฐมัธยประเทศท่ีนักธุรกิจไทยอาจจะยังไม่ คนุ้ เคยนกั สงิ่ ทเ่ี หน็ ไดช้ ดั วา่ เปน็ ปจั จยั สา� คญั นา� มาสคู่ วามสา� เรจ็ ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ของรฐั น้ี ก็ดูจะไม่ค่อยแตกตา่ งไปจากกรณีของรฐั คุชราตท่ไี ด้กลา่ วถงึ ไปหลายครง้ั แลว้ ในคอลัมน์น้ีคือ ความมีวิสัยทัศน์และความเป็นผู้น�าของมุขมนตรีของรัฐ ที่สามารถ ผลักดนั ใหเ้ กิดการพฒั นาเศรษฐกจิ ของรัฐอยา่ งเป็นระบบและเป็นรูปธรรมไปในทศิ ทาง ที่ชัดเจน...นักธุรกิจไทยท่ีมียุทธศาสตร์ที่จะไปลงทุนในประเทศอินเดีย รัฐมัธยประเทศ ก็เปน็ อีกทางเลอื กหนง่ึ ท่ีไม่ควรมองขา้ ม ตีพมิ พใ์ นหนังสอื พิมพก์ รงุ เทพธรุ กิจ เม่ือวันท่ี 7 พฤศจกิ ายน 2555 202

Pakistan China Bhutan New Delhi Nepal Madhya Pradesh Bangladesh Myanmar 203

204

9.2 ภาคอสี านอนิ เดยี มอี ะไรในกอไผ่ - โดย ประพันธ ์ สามพายวรกจิ - เม่ือก่อนนี้ ถ้ามีใครพูดถึงภาคอีสานของไทย คนก็จะนึกถึงความยากจน แร้นแค้น แห้งแล้งทุรกันดาร ชาวนาชาวไร่ท่ีท�าอาชีพเกษตรกรรมสืบต่อกันมา หลายชวั่ อายคุ น แตภ่ าคอสี านของไทยไดเ้ ปลยี่ นแปลงไปอยา่ งมากในชว่ ง 10 ปที ผี่ า่ นมา พัฒนาการทางเศรษฐกิจของประเทศได้น�าพาความเจริญก้าวหน้าไปสู่อีสานบ้านเฮา กันถว้ นหนา้ ถ้ามองในมุมเดียวกัน ภาคอีสานของอินเดียก็คงไม่ต่างอะไรมากจากภาค อสี านไทย ดนิ แดนทคี่ นอนิ เดยี เรยี กกนั ตดิ ปากวา่ นอรธ์ อสี ต์ (Northeast) ซง่ึ ประกอบไป ดว้ ยรฐั เลก็ ใหญ่ 7 รฐั ไดแ้ ก่ อสั สมั (Assam) มโิ ซรัม (Mizoram) มณีปรุ ะ (Manipur) นากาแลนด์ (Nagaland) อรุณาจัลประเทศ (Arunachal Pradesh) เมฆาลัย (Meghalaya) และตรีปุระ (Tripura) ก็เป็นดินแดนที่เคยไกลปืนเที่ยง การพัฒนา ยังเขา้ ไม่ถงึ แตท่ ุกอย่างก�าลังเปลี่ยนไปในทางทด่ี ีข้นึ รัฐบาลอินเดียในช่วงหลังผลักดันนโยบายกระจายความเจริญไปยังรัฐเจ็ดรัฐ ที่มีชอ่ื เรยี กเลน่ ๆ ว่ารัฐเจ็ดสาวน้อยน้ีอยา่ งจรงิ จัง โดยนา� นโยบายน้ไี ปผูกกบั นโยบาย มองตะวนั ออก (Look East) โดยชใู ห้ภาคอสี านของอนิ เดยี เปน็ ประตูสอู่ าเซยี น เพอ่ื เปน็ กุญแจส�าคัญเปิดประตูการค้าและธุรกิจให้หลั่งไหลจากอาเซียนเข้าสู่นอร์ธอีสต์และ เข้าส่อู นิ เดียตอนเหนอื ฝา่ ยอาเซยี นของเรากข็ านรบั อยา่ งแขง็ ขนั ประเดน็ การเชอ่ื มโยง (Connectivity) โดยเฉพาะทางถนนระหวา่ งอาเซยี นกบั อนิ เดยี ผา่ นพมา่ ซงึ่ เปน็ ประเทศเดยี วในอาเซยี น ทมี่ พี รมแดนตดิ กบั อนิ เดยี เปน็ ประเดน็ ทมี่ กี ารพดู ถงึ ทกุ ทท่ี กุ เวลาในการประชมุ ระดบั สงู อาเซียน - อนิ เดยี ย่งิ แสดงให้เหน็ วา่ อีสานอนิ เดยี จะมาแนไ่ ม่ช้ากเ็ ร็ว 205

แต่ส�ำหรับท่านท่ียังไม่แน่ใจว่ามีอะไรในกอไผ่ให้ไขว่คว้าในภาคอีสานของ อนิ เดยี ท่ีมีประชากรอยู่ไม่มาก ประมาณ 40 ลา้ นคน (เม่อื เทยี บกับประชากรอินเดยี 1,200 ล้าน) นอกจากการเป็นทางผ่านเข้าสู่อินเดียส�ำหรับอาเซียน คงต้องคิดกัน ใหม่ ท่ีหลายฝ่ายต้องย้�ำกันนักหนาถึงความส�ำคัญ เพราะอีสานอินเดียมีทรัพยากรท่ี อดุ มสมบรู ณม์ หาศาล ทีย่ ังไม่มใี ครเข้าไปพัฒนาและใชป้ ระโยชนก์ นั สกั เทา่ ไหร่ ยกตัวอย่างเช่น ไม้ไผ่ ซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีเหลือเฟือในอีสาน อินเดีย (จึงเป็นท่ีมาของชื่อเร่ืองนั่นเอง) ในรัฐมิซอรัมและนากาแลนด์รวมกันมีต้นไผ่ ปลูกในพ้นื ที่กว่า 10 ลา้ นไร่ ซง่ึ ปจั จบุ นั ถกู นำ� ไปใชเ้ พยี งรอ้ ยละ 1 ยงั เหลอื อกี รอ้ ยละ 99 ท่ียงั ไม่มใี ครแตะต้อง ทรพั ยใ์ นดนิ อย่างแรธ่ าตุและเช้อื เพลงิ ก็มีไมน่ ้อย ในรฐั อรณุ าจลั ประเทศมที ัง้ ถา่ นหนิ โดโลไมท์ หนิ ออ่ น และหนิ ปนู ทำ� ใหร้ ฐั นเ้ี ปน็ แหลง่ ผลติ กระแสไฟฟา้ แหลง่ ใหญ่ ของภาคอสี านอนิ เดยี รฐั อัสสมั ท่นี อกจากจะมีชอื่ เสยี งเร่ืองชา (Assam Tea) ผลติ ชามากเปน็ 1 ใน 6 ของชาท่ผี ลติ กนั ท่วั โลก ยงั เป็นแหลง่ น�้ำมนั และก๊าซธรรมชาติทส่ี �ำคญั ของอินเดีย จากการส�ำรวจมนี �ำ้ มนั ดบิ กวา่ 1.3 พันล้านตัน (คดิ เป็นร้อยละ 20 ของทั้งอนิ เดียและ มากกว่าทีบ่ รไู นมที งั้ ประเทศ) และก๊าซธรรมชาติ 156 พันลา้ นคิวบิกเมตร (ครง่ึ หนึง่ ของท่ปี ระเทศไทยมที ัง้ หมด) เทา่ นนั้ ยงั ไมพ่ อ รฐั ตรปี รุ ะยงั เปน็ แหลง่ ปลกู ตน้ ยางพาราทส่ี ำ� คญั ของประเทศ อนิ เดยี มพี นื้ ทปี่ ลกู ยางมากเปน็ อนั ดบั สองของอนิ เดยี รองจากรฐั เกรละประมาณ 4 แสน ไร่ ผลติ ยางได้ 29,000 ตันตอ่ ปี และยงั มีโอกาสเตบิ โตได้อีก ขณะท่รี ฐั เมฆาลัยขึน้ ชื่อ เร่ืองไม้ประดบั มีพนั ธไุ์ ม้ดอกกวา่ 3,000 สายพนั ธุ์ กลว้ ยไม้กว่า 300 พนั ธุ์ ท่ีเอ่ยมาท้ังหมดเป็นเพียงแค่น�้ำจิ้ม แหล่งวัตถุดิบย่อมมากับโอกาสทาง ธุรกิจอีกมากมาย ย่งิ ถา้ ลองมาระยะยาว เมอื่ โครงการมาสเตอร์แพลน Connectivity อาเซียน - อนิ เดยี ประสบผลสำ� เรจ็ ในชว่ งท่ีอาเซยี นกลายเปน็ AEC เตม็ ตัว การไหล เวียนของสินค้าและผู้คนผ่านแว่นแคว้นแดนอีสานของอินเดียแห่งนี้จะมีมากแค่ไหน ความเจริญน่าจะอยไู่ มไ่ กล อีสานไทยหรืออีสานอนิ เดยี ใครจะไปไกลกวา่ ใคร กค็ งต้อง คอยติดตามกนั ตอ่ ไป ตีพิมพใ์ นหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ เม่อื วนั ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2556 206

Pakistan China New Delhi Bhutan Northeast Nepal Bangladesh Myanmar 207



9.3 อสี าน อินเดีย : ไมใ่ ช่อ่ืนไกลกบั ไทย - โดย พิศาล มาณวพฒั น ์ - เวลาเราพูดถึงชาวอินเดีย คนไทยมักนึกถึงชาวภารตะท่ีไปต้ังถ่ินฐาน ในบา้ นเรา อาทเิ ช่น ย่านพาหรุ ัด ท�าให้คนไทยคิดวา่ ชาวอนิ เดียคงมีหนา้ ตา ผิวพรรณ การแตง่ กาย หรอื แมแ้ ต่อาชีพการด�ารงชีวิตเป็นแบบทเ่ี ห็นในกรุงเทพฯ ในข้อเทจ็ จรงิ อนิ เดียมีความแตกต่างระหวา่ งกันอยา่ งสุดโต่งในแทบทกุ เร่อื ง รวมทงั้ หนา้ ตา ผวิ พรรณ อปุ นสิ ยั ความเชอ่ื ของคนในชาติ อาทเิ ชน่ รฐั ทางเหนอื สดุ เปน็ ชาวแคชเมยี รน์ บั ถอื ศาสนาอสิ ลาม หนา้ ตาคมคาย ผวิ ขาวแบบชาวเอเชยี กลาง ในขณะ ทผ่ี คู้ นทางใต้ เช่น รฐั ทมฬิ นาฑูหรือเกรละจะมผี ิวเข้ม มที ั้งชาวฮินดู มุสลิม และคริสต์ ส�าหรับชาวอินเดียที่ตั้งถ่ินฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือติดชายแดนจีน พมา่ และบงั กลาเทศ จะมหี นา้ ตา ผวิ พรรณ วฒั นธรรม การแตง่ กาย ลกั ษณะบา้ นเรอื น การดา� รงชพี ใกล้เคยี งกับผูค้ นในพม่า ไทย ลาว มากท่ีสดุ และในภาคน้ีจะมชี นเผ่าไท ตง้ั ถิ่นฐานอยู่ อยา่ งน้อย 6 เผ่า คือ ไทอาหม ไทพ่าเก ไทอา้ ยตอนในรฐั อัสสัม ไทคา� ตี่ ไทตรุ ัง และไทคา� ยงั ในรฐั อรุณาจัลประเทศท่ีตดิ กับชายแดนจนี เวลานายทรุน โกกอย มุขมนตรีหรือผูบ้ รหิ ารสงู สดุ ของรัฐอัสสมั พบคนไทย มักจะออกตัวอย่างภาคภูมิใจว่าเขาเป็นคนไทอาหม คนไทอาหมสืบเชื้อสายมาจาก ชนเผ่าอาหมที่อพยพมาจากจีน เข้ามาตั้งถิ่นฐานในที่ราบริมแม่น้�าพรหมบุตรต้ังแต่ ปี ค.ศ. 1228 ปกครองพ้นื ที่ในรัฐอัสสัมปัจจุบนั อกี 600 ปตี อ่ มา จนถึงยคุ องั กฤษที่ เข้ามามอี ิทธิพลในอินเดยี 209

ปจั จบุ นั ชาวอาหมเหลา่ นไี้ ดย้ อมรบั อารยธรรม ศาสนา และวฒั นธรรมอนิ เดยี ไปหมดแล้ว ภาษาอาหมจึงเป็นภาษาที่มีเพียงผู้คนจ�ำนวนน้อยใช้ในพิธีกรรมโบราณ อาทิเช่น พิธีแม่ด�ำ แม่ผี เซ่นไหว้บรรพบุรุษผู้ท่ีล่วงลับไปแล้ว ท่ีพวกเรามีโอกาสไป รว่ มชมในหมู่บา้ นไทอาหมเมอ่ื เร็วๆ น้ี กอ่ นมาถงึ หมบู่ า้ นไทอาหม พวกเราไปเยยี่ มและทานอาหารกลางวนั ทหี่ มบู่ า้ น ไทอ้ายตอน ทีว่ ดั พทุ ธสายทเิ บต ศนู ย์กลางหมูบ่ า้ น ผ้คู นละมา้ ยมาทางไทยมากกวา่ ไทอาหม เอกสารในห้องสมดุ ของหมูบ่ ้านก็เป็นอกั ขระทลี่ ะม้ายกับทางเหนือของไทย ชาวไททใี่ กลเ้ คยี งกบั คนไทยมากทสี่ ดุ เหน็ จะเปน็ ชาวไทผา่ เก ซง่ึ ยงั คงอตั ลกั ษณ์ ของตนอยู่ในหลายๆ หมู่บ้านทางเหนือของรัฐอัสสัม มีรวมกันประมาณ 5,000 คน สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เคยเสด็จฯ ไปเย่ยี มหมบู่ า้ นชาวไท ผา่ เกแล้วเมื่อปี 2552 มแี ผน่ ปา้ ยหินอ่อนจารึกความปลาบปลื้มปีตขิ องชาวไทผา่ เกไว้ ท่ีวดั พุทธสายเถรวาทประจำ� หมูบ่ ้านอยา่ งถาวร ผมมโี อกาสไปเยย่ี มหมบู่ า้ นไทยผา่ เกในปี 2554 ไดร้ บั การตอ้ นรบั อยา่ งอบอนุ่ ตง้ั แต่ทางเขา้ หมบู่ ้านด้วยผเู้ ฒา่ คนหนุม่ สาว และเด็กเลก็ แวดลอ้ มดว้ ยบ้านช่องใน หมบู่ ้านทด่ี ูแล้วเหมอื นหมบู่ า้ นทางเหนือของไทยมากกว่าในอินเดีย ในวัดพุทธสายเถรวาทกลางหมู่บ้าน ผู้เฒ่าสูงอายุได้ผูกสายสิญจน์อวยพร คณะของสถานทูตด้วยภาษาไทที่สามารถฟังเข้าใจได้หลายค�ำ อาหารกลางวันที่ ชาวไทยผา่ เกจดั เลยี้ งกเ็ หมอื นอาหารทพี่ วกเราไดร้ บั จากญาตชิ าวไทยในบา้ นเรา หากไปอกี ในชว่ งสงกรานต์ ก็คงได้เห็นประเพณไี ม่ต่างจากบ้านเราอย่างแน่นอน ไม่ใช่แต่สถานทูตเท่านั้นที่ไปมาหาสู่ติดต่อกับชาวไทผ่าเกจากประเทศไทย มนี กั วชิ าการจากมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมไ่ ปอยอู่ าศยั ทำ� วจิ ยั เปน็ ประจำ� เฉพาะปกี ลายมี จากไทยไป 34 คน นับเปน็ จ�ำนวนคนต่างชาติทม่ี ากท่ีสดุ ชาวไทผ่าเกมีความภูมิใจในอัตลักษณ์ของตนสูงและมุ่งมั่นท่ีจะรักษาไว้ คนหนมุ่ สาวถงึ แมจ้ ะเดนิ ทางออกจากหมบู่ า้ นไปทำ� งานในเมอื งใหญ่ กย็ งั พดู ภาษาไทได้ ผูกพันกับบา้ นเกดิ และมักแตง่ งานระหว่างกัน 210

รัฐบาลอินเดียได้แจ้งฝ่ายไทยให้ทราบถึงแนวนโยบายสนับสนุนการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และว่าอยากเห็นความร่วมมือ และความเชื่อมโยงไปมาหาสู่กันระหว่างภาคตะวันออกเฉียงเหนือกับไทยให้มากข้ึน เพราะคงเหน็ แลว้ วา่ ในแนวโนม้ ขา้ งหนา้ ความเชอ่ื มโยงทางบก เรอื และอากาศระหวา่ ง อินเดียกบั ไทยและอาเซยี นเป็นผลประโยชน์ร่วมกันอยา่ งแนน่ อน ดว้ ยเหตผุ ลนเ้ี อง อนิ เดยี จงึ ลกุ ขนึ้ มาจดั ขบวนรถอาเซยี น - อนิ เดยี ครงั้ ที่ 2 ทนี่ ำ� ขบวนรถคาราวานจากทกุ ประเทศอาเซยี น ขบั จากสงิ คโปร์ ผา่ นมาเลเซยี ไทย กมั พชู า เวียดนาม ลาว ไทย ผ่านพม่าเข้ามาสู่อีสานอินเดีย จบทเี่ มืองกูวาฮาตขิ องรฐั อสั สัม อนั เปน็ สว่ นสหถนานงึ่ ขทอูตงไกทายรทฉลี่กอรุงงนควิวาเดมลสีรมั ับพลนั ูกธตอ์ ่อนิ ดเด้วยี ย-กอาารเสซนยี นับคสรนบุน2ก0ารปไีปเมมอื่ าปหลาาสยู่รปะีห2ว5่า55ง ผูค้ นในอีสานอนิ เดยี กับไทย อาทิเชน่ ปกี ลายได้จดั ให้ตัวแทนหมูบ่ ้านผ่าเกไปเยี่ยมชม โครงการในพระราชด�ำริ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในหลายจังหวัดของไทย และกำ� ลังรอขอ้ เสนอติดตามผลของผู้นำ� หมู่บ้านเพอ่ื ให้การสนบั สนุนต่อ นอกจากน้ี เรายงั มคี ณุ ธราดล ทองเรอื ง หวั หนา้ สำ� นกั งานพาณชิ ยป์ ระจำ� กรงุ นิวเดลี ท่ีให้ความส�ำคัญและพยายามเช่ือมโยงไทยกับภาคอีสานอินเดียมาโดยตลอด โดยคุณธราดลเป็นท่ีรู้จัก ยอมรับ และได้รับการยกย่องจากเจ้าหน้าท่ีบ้านเมืองและ ภาคเอกชนแทบทุกรัฐในภาคนี้ โดยทั่วไป ชาวอินเดียจะมีทัศนคติที่ดีต่อไทยอยู่แล้ว แต่ชาวอีสานอินเดีย นอกจากทศั นคตทิ ด่ี แี ลว้ ยงั มคี วามกระตอื รอื รน้ สงู ยง่ิ ทจ่ี ะขยายความสมั พนั ธก์ บั ไทยใน ทุกด้าน รองประธานสมาคมภาคเอกชนของรฐั อสั สมั ไดม้ าขอผมถึงสถานทูตใหร้ ัฐบาล ไทยพิจารณาเปิดส�ำนักงานตัวแทนในอัสสัมเพื่อเป็นศูนย์ข่าวสาร ข้อมูลด้านต่างๆ รวมถงึ การทอ่ งเทย่ี ว อกี ทง้ั เปน็ แหลง่ ใหช้ าวอสี านอนิ เดยี ไดเ้ รยี นรภู้ าษาไทย ดนตรไี ทย นาฏศลิ ป์ไทย การทำ� อาหารไทย ฯลฯ ทกุ อย่างท่ีเปน็ ไทยนนั่ เอง ผมเห็นอีสานอนิ เดยี จากการเยือนมา 3 ครงั้ รวมท้ังรัฐนากาแลนด์แลว้ ก็ตอ้ ง บอกวา่ ประทบั ใจในมติ รไมตรขี องชาวบา้ นพนื้ เมอื งทกุ หนแหง่ กระทรวงวฒั นธรรมนา่ จะ ลองพิจารณาต้ังศูนย์วัฒนธรรมเล็กๆ ที่เมืองกูวาฮาติ ศูนย์กลางอีสานอินเดียซึ่งมี เทีย่ วบนิ เช่อื มโยงกับกรุงเทพฯ ด้วยเวลาเดินทางนอ้ ยกวา่ 3 ชวั่ โมง เพราะมั่นใจว่าจะ ไดร้ ับการตอบรับอยา่ งอบอ่นุ 211

มหาวทิ ยาลัยดบิ รคู รห์ รัฐอัสสัม พรอ้ มร่วมมอื กบั สถานทตู ไทย สง่ เสรมิ ให้หน่มุ สาวชาวอสี านอนิ เดยี ไปศึกษาตอ่ ท่ีประเทศไทย ผมได้แจ้งผู้บริหารซีพีในอินเดียว่า หากจะพิจารณาอินเดียทุกภาคแล้ว ภาคอีสานอินเดียคงจะมีผู้คนท่ีนิยมบริโภคเน้ือสัตว์โดยเฉพาะหมูมากที่สุด ซีพีเอง สนใจตลาดหมูอยู่แล้ว แต่ตลาดอาหารในอินเดียยังเป็นของคนกินเจกว่าครึ่งประเทศ หากไมก่ ินเจกจ็ ะไมบ่ ริโภคเนือ้ หมกู ับเนอ้ื ววั สดุ ทา้ ย สถานทตู จะพยายามสนบั สนนุ ใหค้ นหนมุ่ สาวจากภาคนไ้ี ปเรยี นตอ่ ใน มหาวทิ ยาลยั ในบา้ นเราทงั้ ปรญิ ญาตรแี ละโท เพราะพวกเขาอยากไปบา้ นเราอยแู่ ลว้ เขา รสู้ กึ กลมกลนื มากกวา่ สภาพมหาวทิ ยาลยั ทพี่ กั อาศยั นา่ เรยี นนา่ อยกู่ วา่ ในอนิ เดยี ทว่ั ไป เราจะท�าอย่างไรผู้บรหิ ารมหาวทิ ยาลัยในไทยจะสามารถดงึ ดดู ให้ทนุ เปดิ ช่องทางให้ คนหนมุ่ สาวจากภาคนขี้ องอนิ เดยี มากขนึ้ เพอ่ื เขาจะไดภ้ มู ใิ จและยงิ่ อยากรกั ษาอตั ลกั ษณ์ ของตนตลอดจนเป็นกัลยาณมิตรที่เช่ือมโยงการค้าการลงทุน ท่องเท่ียว และจิตใจ ของคนไทยกับอินเดยี ไปอีกยาวนาน ตีพมิ พใ์ นหนงั สอื พิมพ์กรุงเทพธุรกจิ เม่อื วนั ที่ 13 กมุ ภาพนั ธ์ 2556 212

¾ÃÐÃÒªÇѧÎÒÇÒÁÒÎÒÅáË‹§àÁÍ× §ÊÕªÁ¾ªÙ ÂÑ »ØÃÐ Ã°Ñ ÃÒªÒʶҹ 213

China Pakistan New Delhi Nepal Bhutan Rajasthan Bangladesh Myanmar 214

9.4 ขมุ ทรัพย์น้า� มนั และก๊าซธรรมชาติ ในราชาสถาน - โดย คณนิ บญุ ญะโสภัต - ในบทความก่อนหน้า ผมได้เล่าภาพรวมขุมทรัพย์ต่างๆ ในราชาสถานให้ ผู้อา่ นทีส่ นใจได้รบั ฟังกนั วนั น้ี จะขอเจาะลกึ ขุมทรพั ยท์ น่ี อ้ ยคนจะรวู้ า่ มซี ่อนอยู่ในรฐั นด้ี ว้ ยคอื นา้� มนั และก๊าซธรรมชาติ ในภาพรวมเรอ่ื งพลงั งานของอนิ เดยี นนั้ สถติ ปิ ี 2554 อนิ เดยี บรโิ ภคพลงั งาน สูงอนั ดับ 4 ของโลก รองจากจนี สหรัฐอเมริกา และรัสเซยี เหตกุ เ็ พราะเศรษฐกิจ อนิ เดยี เตบิ โตอย่างตอ่ เนื่องในอัตราสูง แมจ้ ดี พี ีของปี 2555 จะอยู่ทรี่ อ้ ยละ 6.5 ลดลง จากร้อยละ 8.5 ในปีก่อนหน้า แถมจ�านวนประชากรท่ีมีมาก นับเป็นร้อยละ 17.5 ของประชากรโลก ทา� ใหอ้ ินเดยี ต้องเรง่ ผลิตและเสาะหาแหลง่ พลงั งานเพ่ือสนองความ ตอ้ งการบรโิ ภคภายใน แม้ภาคการผลิตน�้ามันและก๊าซธรรมชาติของอินเดียมีขนาดใหญ่กว่าของ จดี พี ีประเทศ แต่อนิ เดียกพ็ ่งึ พาการนา� เขา้ น้�ามันสงู ถึงรอ้ ยละ 82 ของความต้องการ บริโภคภายในประเทศ ในระดับโลกอินเดียบริโภคน้�ามันสูงเป็นอันดับ 6 และเป็นผู้ น�าเขา้ น้�ามนั ดิบสงู เปน็ อันดบั 9 อยา่ งไรกด็ ี ความตอ้ งการบรโิ ภคภายในประเทศเพมิ่ ขนึ้ เรอ่ื ยๆ และคาดวา่ จะ สูงขึ้นรอ้ ยละ 4 - 5 ตอ่ ปี จนถงึ ปี 2558 ซึ่งปรมิ าณความต้องการในการบรโิ ภคจะเพ่มิ เปน็ 4.01 ล้านบาร์เรลต่อวนั 215

เพราะความกระหายพลังงานอย่างหนักนี้เอง อินเดียจึงเปิดให้ลงทุน FDI ในสาขาพลังงานร้อยเปอร์เซ็นต์ โดยการเปิดประมูลการลงทุนและขุดค้นน้�ำมันและ กา๊ ซธรรมชาตใิ นพนื้ ทตี่ า่ งๆ ทง้ั ทอ่ี ยนู่ อกชายฝง่ั และใตพ้ นื้ ดนิ ของประเทศ จะถกู กำ� กบั โดย Directorate General Hydrocarbon (DGH) ซงึ่ เปน็ หนว่ ยงานของรฐั บาลกลางควบคมุ ดแู ล การลงทุนแหล่งพลังงานปโิ ตรเลียม ภายใต้ New Exploration and Licensing Policy (NELP) ท่เี ปน็ นโยบายหลักในเรื่องนี้ DGH มหี น้าท่ใี ห้ขอ้ มลู ตา่ งๆ เกย่ี วกับการขุดคน้ แหลง่ พลงั งานของอนิ เดยี ซง่ึ บรษิ ทั เอกชนทสี่ นใจสามารถรบั ขอ้ มลู ไดจ้ าก DGH โดยตรง ภายใต้ NELP ได้มีการเปิดประมูลแหล่งขุดค้นน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติไป แล้ว 9 รอบ รอบตอ่ ไปคอื รอบท่ี 10 คาดว่าจะมีการเปิดประมลู ในห้วงปี 2556 - 2557 ซึ่งจะมีการประกาศตามส่อื ต่างๆ ศักยภาพในอินเดียยังมีอีกมาก ภาคเอกชนรอไม่ไหว เลยพยายามเสนอ รฐั บาลใหค้ ลอดนโยบาย OALP (Oil Acreage Licensing Policy) ตามแบบประเทศอื่นๆ ซึ่งเป็นกระบวนการประมูลการลงทุนขุดค้นและผลิตน้�ำมันแบบต่อเน่ืองโดยไม่ต้องรอ การประกาศตามนโยบาย NELP ขณะน้รี ฐั บาลอนิ เดยี ก�ำลังพจิ ารณาเรอ่ื งนี้ การขุดค้นน�้ำมันและก๊าซธรรมชาติในอินเดียส่วนใหญ่จะเป็นการลงทุนโดย บรษิ ทั อนิ เดยี ทร่ี ฐั บาลถอื หนุ้ อยู่ บรษิ ทั ตา่ งชาตเิ รม่ิ ทยอยเขา้ มารว่ มทนุ และตง้ั สำ� นกั งาน อย่ใู นอินเดยี ที่ส�ำคัญๆ ก็มเี ช่น Cairn India, Essar Oil, Shell, British Gas และ British Petroleum ภาคเอกชนมคี วามตน่ื ตวั ทจ่ี ะใหภ้ าครฐั ผอ่ นคลายระเบยี บ เพื่อให้การขุดค้น พลังงานในประเทศมีความคล่องตัวมากขึ้น นอกจากนี้ยังต้องการให้รัฐเลิกใช้ งบประมาณอุดหนนุ สนิ ค้าพลงั งาน เชน่ น้ำ� มันดีเซล ก๊าซหงุ ต้ม ท�ำให้ราคาซ้ือ - ขาย ภายในค่อนข้างต�ำ่ โดยอยากใหร้ าคาถูกก�ำหนดโดยกลไกตลาด คาดว่าจากสถานการณ์บีบค้ันรอบด้าน ท้ังความต้องการบริโภคภายใน ประเทศ และความผันผวนทางเศรษฐกิจและสถานการณ์โลก ท�ำให้อินเดียต้อง ผ่อนปรนระเบียบมากขึ้น เพ่ือส่งเสริมให้มีการน�ำเทคโนโลยีจากต่างชาติมาใช้ส�ำรวจ ขดุ คน้ พลังงานในประเทศ ซ่งึ จะเป็นโอกาสของเอกชนต่างชาตเิ ขา้ มาขดุ ขุมทรัพยก์ นั 216

ในส่วนของราชาสถานทมี่ นี โยบายย่อยของรฐั คือ Rajasthan Mineral Policy 2011 ที่ต้ังข้ึนเพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายหลักของชาติ โดยในนโยบายน้ี รัฐบาล ของรฐั จะทำ� การสง่ เสรมิ การลงทนุ ดว้ ยการเรง่ กำ� หนดจดุ ทนี่ า่ จะมแี หลง่ พลงั งานซอ่ นอยู่ เพ่ือแจ้งแก่รฐั บาลกลางอินเดยี ใหเ้ ปิดประมูลตามช่องทางปกติ แหลง่ พลังงานในราชาสถาน มีท้ังนำ้� มนั กา๊ ซธรรมชาติ และเชือ้ เพลงิ มีเทน จากถ่านหิน (CBM) ซึ่งถูกค้นพบในภาคตะวันตกของรัฐท่ีเมืองบาร์เมอร์ (Barmer) จะลอร์ (Jalore) และไจซลั เมอร์ (Jaisalmer) ขณะนมี้ กี ารสำ� รวจทแ่ี อง่ Barmer - Sanchore ท่เี มอื งจะลอร์ และแอ่งยอ่ ย Shahgarh ทีเ่ มืองไจซัลเมอร์ บริษทั Cairn India (บริษัทลกู ของ Vedanta Resources) ซงึ่ เปน็ บรษิ ัทผลิต น�ำ้ มันเอกชนรายใหญท่ ่สี ุดของอินเดีย ได้ท�ำการส�ำรวจน้�ำมนั ในเมืองบารเ์ มอรแ์ ละพบ หลมุ นำ�้ มนั กวา่ 25 หลมุ บอ่ นำ�้ มนั Mangala ทถ่ี กู คน้ พบในปี 2547 เปน็ บอ่ นำ�้ มนั ทใ่ี หญ่ ทส่ี ดุ ในอนิ เดยี ทถี่ กู คน้ พบตงั้ แตป่ ี 2528 การผลติ นำ้� มนั ดบิ ทบี่ อ่ นำ�้ มนั Mangala เรมิ่ ตน้ เมอื่ วันท่ี 29 สิงหาคม 2552 และจนถึงปี 2554 มีการผลติ น�้ำมัน 74.45 ล้านบารเ์ รล ลา่ สดุ เมอื่ วนั ที่ 9 เมษายน 2556 สอ่ื มวลชนอนิ เดยี รายงานวา่ บรษิ ทั Cairn India ได้ขุดค้นพบหลุมน�้ำมันหลุมที่ 26 ในแหล่งสัมปทานของบริษัทในราชาสถาน ผู้บริหาร Cairn India แสดงความมั่นใจในแผนการขุดค้นแหล่งน�้ำมันในราชาสถาน ไปเรอื่ ยๆ โดยในหว้ ง 2 ปีข้างหนา้ มแี ผนจะขุดเจาะบอ่ น้ำ� มันให้ถงึ 100 บ่อ และใช้ เงินลงทุนอีก 6 หม่ืนล้านรปู ีในแอ่งบาร์เมอร์ สถานทูตไทยในอนิ เดียไม่รอชา้ แจ้งลายแทงขุมทรัพยท์ ถี่ กู ค้นพบเมื่อทตู ไทย ไปสำ� รวจราชาสถานเมือ่ กมุ ภาพันธ์ทผี่ ่านมานี้ ให้ ปตท.สผ. ทราบภายในแลว้ ซ่งึ หาก ปตท.สผ. พรอ้ ม ทตู ไทยก็พรอ้ มจะนำ� ทีมบุกไปราชาสถานอีกครง้ั หนึ่งเพือ่ หาชอ่ งทาง ธรุ กิจ ซึ่งแน่นอนว่า Thaiindia.net จะรายงานใหผ้ ู้อา่ นทราบต่อไป ตพี ิมพ์ในหนังสอื พมิ พ์ฐานเศรษฐกจิ เม่อื วันท่ี 14 เมษายน 2556 217



9.5 รฐั เกรละ (Kerala) ขุมทองแห่งใหมใ่ ตส้ ดุ ของอนิ เดีย - โดย อดลุ ย ์ โชตนิ ิสากรณ์ - ผมไปพบขุมทองแห่งใหมข่ องอินเดียเขา้ แล้วครบั !!! ผมมีโอกาสเดินทางไปรัฐเกรละหรือท่ีเราออกเสียงกันท่ัวไปว่า “เคราล่า” กับท่านทูตพิศาล มาณวพัฒน์ เอกอัครราชทูตไทยประจ�าประเทศอินเดีย ระหว่าง วันท่ี 24 - 26 มนี าคม 2556 ตามแนวทางการท�างานในรปู แบบ “ทีมประเทศไทย” ในประเทศอนิ เดยี ทเี่ หน็ ผลสมั ฤทธเ์ิ ปน็ ทปี่ ระจกั ษอ์ ยา่ งทเ่ี คยทา� กนั มาแลว้ ในรฐั คชุ ราต ในชว่ งหนง่ึ ปที ผ่ี า่ นมา คอื ทา่ นทตู จะบกุ ไปเปดิ ประตใู ห้ แลว้ ทมี ประเทศไทยกต็ ามเขา้ ไป ทา� งานเพอื่ ชาตกิ นั ตามหนา้ ทที่ ไี่ ดร้ บั มอบหมาย ทา� ใหร้ ฐั คชุ ราตเปน็ ทร่ี จู้ กั กนั มากขน้ึ ใน หมู่คนไทย จนบริษัทยกั ษใ์ หญ่ของไทยท่ีเป็นผผู้ ลติ ภาชนะท�าจากเมลามนี ได้ตัดสนิ ใจ ท่ีจะไปลงทุนต้ังโรงงานผลิตในรัฐคุชราตในเร็วๆ นี้ และบริษัทการบินไทย โดยสาย การบินไทยสไมล์ก็จะเปิดเท่ียวบินใหม่บินตรงระหว่างเมืองอาห์เมดาบัดกับกรุงเทพฯ ในวนั ท่ี 1 เมษายน 2556 ในอีกไม่กีว่ นั ข้างหน้าน้ี รวมทัง้ โอกาสอน่ื ๆ อีกมากมายใน รฐั คุชราต โดยเฉพาะเร่ืองการประมง ซึ่งสา� นักงานส่งเสรมิ การค้าระหว่างประเทศ ณ เมอื งมมุ ไบ ก�าลงั ทา� งานรว่ มกบั หน่วยงานประมงของรัฐคุชราตเพือ่ ศึกษาถงึ ความเป็น ไปได้ในการลงทนุ ดา้ นนี้ โดยนกั ธรุ กิจไทยในรัฐคุชราต 219

การเดินทางไปเยือนรัฐเกรละในครั้งน้ี เป็นการเดินทางร่วมกันของคณะ เอกอัครราชทูตจากกลุ่มประเทศอาเซียนประจ�ำประเทศอินเดียเพ่ือไปร่วมพิธีต้อนรับ เรอื INS Sudarshini ซ่ึงเป็นเรอื แล่นใบขนาดใหญข่ องกองทพั เรอื อินเดยี ที่เดินทางกลับ จากการฝึกภาคทางทะเล หลังจากท่ีออกเดินทางไปเยือนประเทศอาเซียนทุกประเทศ (ยกเวน้ สปป. ลาว ซง่ึ เปน็ ประเทศทไี่ มม่ เี ขตแดนตดิ ทะเล) เปน็ เวลา 121 วนั ระยะทาง 13,700 ไมล์ทะเล ซึ่งหลังจากพิธีต้อนรับเรือดังกล่าว แล้วสมาพันธ์อุตสาหกรรม แหง่ อนิ เดยี ไดจ้ ดั ใหค้ ณะไดพ้ บปะกบั ภาคเอกชนของอนิ เดยี ในรฐั เกรละ และคณะไดร้ บั เกียรติเชญิ ให้เขา้ เย่ียมคารวะมขุ มนตรแี หง่ รัฐเกรละในวันต่อมา ซึ่งทำ� ใหเ้ หน็ ได้ชัดเจน ว่าอินเดียให้ความส�ำคัญกับกลุ่มประเทศอาเซียนเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างย่ิง การก้าวเขา้ สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี นหรือ AEC ในปี 2558 ในอีกไม่กีป่ ีขา้ งหนา้ น้ี รฐั เกรละเปน็ รฐั ทอี่ ยใู่ ตส้ ดุ ของประเทศอนิ เดยี ฝง่ั ตะวนั ตก มปี ระชากรประมาณ 33.39 ล้านคน ส่วนใหญ่พูดภาษามาลายาลัม มีผู้นับถือศาสนาฮินดูร้อยละ 56.2 ศาสนาอสิ ลามรอ้ ยละ 24.7 และศาสนาครสิ ต์รอ้ ยละ 19.0 ท้งั น้ี ประชากรทน่ี บั ถอื ศาสนาฮินดูบางส่วนบริโภคเนื้อสัตว์ด้วย โดยเฉพาะอาหารทะเลเพราะมีชายฝั่งทะเล ยาวถึง 590 กโิ ลเมตร การบรโิ ภคเนอ้ื สัตว์ของชาวเกรละจงึ ถอื เปน็ เรื่องปกติ ซ่ึงน่าจะ เป็นโอกาสดีส�ำหรับอุตสาหกรรมอาหารของไทยท่ีจะเข้าไปในตลาดน้ี นอกจากนั้น ที่ขึน้ ชอื่ ลอื ชาทีส่ ุดของรัฐเกรละ กค็ อื มะพร้าว เพราะรฐั นีเ้ ป็นรัฐที่ปลูกมะพร้าวมาก ทีส่ ดุ ในประเทศอนิ เดยี ซ่ึงชอ่ื Kerala ก็หมายถงึ “ดนิ แดนแห่งตน้ มะพร้าว” นนั่ เอง โดยในปกี ารผลิต 2553 - 2554 รัฐเกรละมพี ้นื ทีเ่ พาะปลูกมะพร้าวถงึ 7.7 แสนเฮกตาร์ (ประมาณ 4.8 ลา้ นไร่) คนเกรละถอื เปน็ คนทมี่ กี ารศกึ ษาดที สี่ ดุ ในประเทศอนิ เดยี โดยมอี ตั ราการอา่ น ออกเขยี นไดส้ ูงท่สี ุดในประเทศถึงรอ้ ยละ 93.91 และเปน็ รัฐทมี่ ีดัชนกี ารพัฒนามนษุ ย์ ทีส่ ูงที่สุดในประเทศอินเดยี ดว้ ยคา่ ดัชนี 0.79 นอกจากน้ัน จากการส�ำรวจเมื่อปี 2548 โดยหน่วยงาน Transparency International พบว่ารฐั เกรละเป็นรัฐทีม่ ีการทจุ รติ ต่�ำท่สี ุด ในประเทศอินเดีย ชา่ งเปน็ รฐั ท่ีนา่ สนใจเสียน่กี ระไร โดยเฉพาะอย่างยง่ิ คนเกรละที่เป็น คนระดบั มคี ณุ ภาพเปน็ สว่ นใหญ่ แตกตา่ งไปจากคนอนิ เดยี ทว่ั ไปในรฐั อนื่ อนั เปน็ ผลมา จากการอพยพของคนเกรละไปท�ำงานอยใู่ นกลมุ่ ประเทศอา่ วในตะวนั ออกกลางจำ� นวน มากในชว่ งทศวรรษที่ 70 - 80 คนเหลา่ นไี้ ปทำ� งานในตะวนั ออกกลางและสง่ เงนิ กลบั มา 220

บา้ นทรี่ ัฐเกรละจ�ำนวนมาก แต่ในปัจจบุ นั คนเกรละเหลา่ น้ไี ดก้ ลายเป็นนกั ธุรกิจระดบั นานาชาตทิ ม่ี ถี นิ่ พำ� นกั อยใู่ นตะวนั ออกกลางและประเทศอน่ื ๆ ทเี่ รยี กกนั วา่ “NRI” หรอื “Non-Residence Indian” หรือคนอินเดยี ที่ไม่มถี น่ิ พ�ำนักในประเทศอนิ เดยี คนเหลา่ น้ี จะเดินทางไปมาระหว่างรัฐเกรละกับกลุ่มประเทศในตะวันออกกลางเป็นจ�ำนวนมาก และคนกลุ่มน้ีน่าจะเป็นพลังผลักดันส�ำคัญที่ท�ำให้เศรษฐกิจของเกรละเจริญเติบโต อย่างรวดเร็ว ความส�ำคัญของคนเกรละท่ีท�ำงานอยู่ในตะวันออกกลางจะสังเกต เห็นได้ง่ายจากป้ายโฆษณาขนาดใหญ่ท่ีติดตั้งอยู่สองข้างทางระหว่างเดินทางจาก ทา่ อากาศยานนานาชาตเิ มอื งโคชนิ เขา้ ไปในเมอื ง ปา้ ยโฆษณาเหลา่ นจ้ี ะมตี ง้ั แตโ่ ฆษณา ขายอญั มณแี ละเครอ่ื งประดบั บา้ นและคอนโดมเิ นยี ม บรกิ ารทางการเงนิ ซง่ึ สว่ นใหญ่ จะมีคำ� วา่ “ยินดีตอ้ นรับคนอินเดียท่ีมาจากตา่ งประเทศ” ลา่ สุด ไดม้ กี ลุม่ ทนุ จากตะวนั ออกกลางมาลงทุนเปดิ ศูนยก์ ารคา้ Lulu Mall ซึง่ เปน็ ศูนย์การค้าที่ใหญ่ที่สดุ ในประเทศอินเดยี เมอื่ วนั ที่ 10 มนี าคม 2556 ทผ่ี ่านมา ทเี่ มอื งโคชนิ ในรฐั เกรละ โดยมพี น้ื ทเ่ี ฉพาะสำ� หรบั ศนู ยก์ ารคา้ ถงึ 3.9 ลา้ นตารางฟตุ ด้วยเงินลงทุนประมาณ 9.6 พันล้านบาท และร้านอาหาร McDonald’s ก็เปิดท่ี ศูนย์การค้าแห่งนี้เป็นคร้ังแรกในรัฐเกรละเช่นกัน โดยได้ข่าวว่าจะรับประทาน McDonald’s ที่เมืองโคชินตอนนี้ต้องรอกว่า 2 ช่ัวโมงถึงจะได้รับประทาน เพราะคนที่ รฐั เกรละกำ� ลงั เห่อของใหม่ท�ำใหต้ ้องเข้าคิวยาวมาก ผลจากการพบปะหารือกับภาคเอกชนในรัฐเกรละ ซึ่งจัดโดยสมาพันธ์ อุตสาหกรรมแห่งอินเดีย เห็นได้ชัดว่าภาคเอกชนอินเดียให้ความสนใจประเทศไทย มากทสี่ ดุ เมื่อเทียบกบั ประเทศอ่ืนๆ ในกลุ่มประเทศอาเซียน ซงึ่ จากการหารอื กบั ภาค เอกชนอนิ เดียในรัฐเกรละดงั กลา่ ว ทา่ นทตู พิศาลสามารถฟันธงไดเ้ ลยวา่ อุตสาหกรรม ทนี่ า่ จะมโี อกาสมากทสี่ ดุ สำ� หรบั ประเทศไทยในรฐั เกรละนา่ จะเปน็ เรอ่ื งของอตุ สาหกรรม ทเี่ กย่ี วกบั โครงสรา้ งพน้ื ฐาน ซง่ึ หมายถงึ การเขา้ ไปรบั งานการกอ่ สรา้ งโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ต่างๆ เช่น ถนน รถไฟใต้ดนิ การก�ำจัดขยะ การบ�ำบดั น�ำ้ เสยี และโครงการหมู่บ้าน จัดสรรและคอนโดมเิ นยี ม อตุ สาหกรรมทส่ี องคอื อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ ว โดยเฉพาะการเปดิ เทย่ี วบนิ ตรงระหว่างเมืองโคชินกับกรุงเทพฯ และธุรกิจการลงทุนด้านโรงแรมหรือการบริหาร โรงแรม เพราะรัฐเกรละเป็นรัฐที่เน้นด้านการท่องเที่ยวเป็นหลัก มีโรงแรมเกิดขึ้น 221

จา� นวนมากในปัจจบุ ัน และอตุ สาหกรรมสุดท้ายคือ อุตสาหกรรมอาหาร โดยเฉพาะ อตุ สาหกรรมแปรรปู อาหาร เพราะรฐั เกรละเปน็ รฐั ทมี่ คี วามอดุ มสมบรู ณด์ ว้ ยทรพั ยากร ทง้ั ดา้ นการเกษตรและการประมง และทสี่ า� คญั เกรละเปน็ รฐั ทมี่ คี นบรโิ ภคเนอ้ื สตั วม์ าก โอกาสส�าหรับอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารจึงน่าจะมีสูง และท่ีขาดไม่ได้คือ ธุรกิจร้าน อาหารไทยซงึ่ เปน็ ทน่ี ยิ มของคนทนี่ ี่ แตย่ งั ไมค่ อ่ ยมรี า้ นอาหารไทยทเี่ ปน็ ไทยแทๆ้ รองรบั เท่าไหร่ เชื่อว่าโอกาสมีมากมายจริงๆ ส�าหรับร้านอาหารไทย เพราะอาหารเกรละมี รสชาติใกลเ้ คยี งกับอาหารไทยคอ่ นข้างมาก ขอฝากไวว้ า่ ขมุ ทองทเี่ กรละอยไู่ มไ่ กลจากประเทศไทยเลย อากาศกเ็ หมอื นกบั ภาคใต้ของประเทศไทยมากๆ กข็ อน�าเสนอไว้ในเบือ้ งตน้ แคน่ ก้ี ่อนนะครับ หลงั จากนี้ ทมี ประเทศไทยท่ีอินเดียจะค่อยๆ ขดุ ให้ลึกลงไปเพือ่ นา� มาเสนอนักธรุ กิจไทยอีก...แลว้ พบกนั ทีเ่ กรละนะครับ ตพี ิมพ์ในหนังสอื พมิ พ์กรงุ เทพธุรกิจ เมื่อวนั ที่ 27 มีนาคม 2556 222

China Pakistan New Delhi Nepal Bhutan Bangladesh Myanmar Kerala 223



ภาคผนำวก APPEndix 225

ขอ มูลเวบ็ ไซต thaiindia.net หน้าเวบ็ ไซต์ http://www.thaiindia.net อินเดียเป็นหน่ึงในประเทศที่ก�าลังก้าวสู่การเป็นมหาอ�านาจทางเศรษฐกิจ ของโลก มีพื้นฐานทางเศรษฐกจิ ทีแ่ ขง็ แกร่ง อนิ เดยี เป็นเปา้ หมายของบริษทั ขา้ มชาติ นกั ลงทนุ และพอ่ คา้ ทกุ ระดบั ซงึ่ เหน็ โอกาสในกา� ลงั ซอื้ อนั มหาศาลของประชากรมากกวา่ พันล้านคนของอินเดียที่นับวันจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ความต้องการขยายและยกระดับ โครงสรา้ งพ้ืนฐานทงั้ ขนาดใหญแ่ ละเลก็ ภายในประเทศ รวมทัง้ ศกั ยภาพในการแขง่ ขัน ในระดบั สากลของภาคเอกชนอนิ เดยี ในขณะเดยี วกนั อนิ เดยี เปน็ ประเทศทมี่ โี ครงสรา้ งทางการเมอื งและกฎระเบยี บ ทีซ่ บั ซ้อน มคี วามแตกตา่ งระหวา่ งรฐั บาลกลางและระดบั รัฐ อีกท้ังมีความหลากหลาย ทางวฒั นธรรมและวถิ ชี วี ติ ปจั จยั เหลา่ นลี้ ว้ นแตเ่ ปน็ อปุ สรรคของนกั ธรุ กจิ ตา่ งชาตใิ นการ เข้าใจและเขา้ ถงึ ตลาดอินเดยี 226

สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงนิวเดลี โดยการสนับสนุนทางงบประมาณจาก กระทรวงการตา่ งประเทศ และความรว่ มมือจากสถานกงสลุ ใหญ่ และหน่วยราชการ ไทยทกุ แหง่ ในประเทศอนิ เดยี ไดจ้ ดั ทำ� เวบ็ ไซต์ www.thaiindia.net ขน้ึ ภายใตโ้ ครงการ ศนู ยบ์ รกิ ารขอ้ มลู ธรุ กจิ ไทย - อนิ เดยี เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหน้ กั ธรุ กจิ ไทย รวมทง้ั ประชาชนทวั่ ไป 227

ใหม้ คี วามเขา้ ใจและไดร้ บั ขา่ วสารขอ้ มลู ทถี่ กู ตอ้ ง ทนั สมยั และสะทอ้ นตอ่ ความเปน็ จรงิ ของสภาวะเศรษฐกิจและตลาดอนิ เดยี พรอ้ มทั้งชช้ี ่องทางทางการค้า การลงทุน และ การท่องเที่ยวให้แก่นักธุรกิจและสาธารณชนไทยท่ีสนใจตลาดอินเดีย ทั้งนี้ ผู้อ่าน สามารถนำ� ขอ้ มูลบนเว็บไซตน์ ี้ไปเผยแพรต่ ่อไดห้ ากได้รับการอา้ งอิงอยา่ งเหมาะสม 228

ขอมูลตดิ ตอ่ ทีมประเทศไทยในำอนิ ำเดยี สถานเอกอคั รราชทตู ณ กรุงนิวเดล ี Royal Thai Embassy, New Delhi 56-N Nyaya Marg, Chanakyapuri, New Delhi,110021 Tel. : (+91 11) 2615 - 0130-34 Fax. : (+91 11) 2615 - 0128-29 E-mail : [email protected] Website : http://www.thaiemb.org.in สถานกงสุลใหญ่ ณ เมอื งกลั กัตตา Royal Thai Consulate - General, Kolkata 18B, Mandeville Gardens, Ballygunge, Kolkata 700-019 Tel. : (91-33) 2 4403229, 2 4407836, 2 4409723 Fax. (91-33) 2 4406251 E-mail : [email protected], [email protected] Website : www.thaiembassy.org/kolkata สถานกงสลุ ใหญ่ ณ เมืองมุมไบ Royal Thai Consulate - General, Mumbai First Floor, Dalamal House Jamnalal Bajai Marg, Nariman Point Mumbai 400-021 Tel. : (91-22) 2282-3535 Fax. : (91-22) 2281-0808 E-mail : [email protected] Website : www.thaiembassy.org/mumbai 229

สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองเจนไน Royal Thai Consulate - General, Chennai No. 3, First Main Road, Vidyodaya Colony, T. Nagar, Chennai – 600 017 Tel. : (91-44) 4230 - 0730, 4230 - 0740, 4230 - 0760, 4230 - 0780 Fax. : (91-44) 4202 - 0900 E-mail : [email protected] Website : www.thaiconsul.webs.com ส�ำ นักงานสง่ เสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ กรุงนิวเดลี Office of Commercial Affairs, Royal Thai Embassy 10 Ground Floor, Munirka Marg, Vasant Vihar, New Delhi. 110 057 Tel. : (91-11) 4601 - 0406-7 Fax. : (91-11) 4601 - 0405, 2615 - 6862 E-mail : [email protected] ส�ำ นักงานสง่ เสรมิ การคา้ ระหวา่ งประเทศ ณ เมืองมมุ ไบ Royal Thai Consulate General 11/A Tanna House Annexe, Nathalal Parekh Marg, Colaba, Mumbai 400 039 Tel. : (91-22) 2283 - 0242-3 Fax. : (91-22) 2284 - 6859 E-mail : [email protected] สำ�นักงานส่งเสริมการคา้ ระหว่างประเทศ ณ เมืองเจนไน Royal Thai Consulate General New No : 3 (Old No: 2), First Main Road, E-mail : [email protected] Vidyodaya Colony, T. Nagar, Chennai 600 017 (Landmark : Near Rajan Eye Care Hospital) Tel. : (91-44) 4230 - 0790, 2447-1617 Fax. : (91-44) 2447-0505 E-mail : [email protected] 230

สำ�นักงานสง่ เสริมการลงทุน (บโี อไอ) ณ เมืองมมุ ไบ Royal Thai Consulate - General, Mumbai First Floor, Dalamal House Jamnalal Bajai Marg, Nariman Point Mumbai 400-021 Tel. : (91-22) 2282-3535 Fax. : (91-22) 2281-0808 E-mail : [email protected] สำ�นักงานการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ณ กรุงนิวเดลี Tourism Authority of Thailand B-9/1(A), Ground Floor, Vasant Vihar, New Delhi - 110057 Tel. : (91-11) 4166-3567-9 Fax. : (91-11) 4166-3570 E-mail : [email protected] Website : www.amazingthailand.co.in ส�ำ นกั งานการทอ่ งเท่ียวแหง่ ประเทศไทย ณ เมอื งมุมไบ Tourism Authority of Thailand No. 45, 4th Floor, Free Press House, Free Press Journal Marg, Nariman Point, Mumbai - 400 021 India Tel. : (91 22) 2204 - 2727, 2204 - 2728 Fax. : (91 22) 2204 - 2729 E-mail : [email protected] Website : www.amazingthailand.co.in ส�ำ นกั งานการบนิ ไทย ณ กรุงนิวเดลี Thai Airways International (New Delhi) The American Plaza, Hotel Eros (Managed by Hilton), Nehru Place, New Delhi - 110019 Tel. : (91-11) 4149 - 7777 Fax. : (91-11) 4149 - 7788 E-mail : [email protected] 231

สำ�นกั งานการบนิ ไทย ณ เมืองบังคาลอร์ Thai Airways International (Bangalore) Unit 305, 3rd Flr, Embassy Square, 148 Infantry Road, Bangalore - 560001 Tel. : (91-80) 4098 - 0396/97 Fax. : (91-80) 4098 - 0392 E-mail : [email protected] สำ�นกั งานการบนิ ไทย ณ เมืองเจนไน Thai Airways International (Chennai) 4th Flr, Wing B, No. - 62, K.G.N Tower, Ethiraj Salai, Egmore, Chennai - 600105 Tel. : (91-44) 4206 - 3311 Fax. : (91-44) 4206 - 3344 E-mail : [email protected] สำ�นักงานการบินไทย ณ เมอื งไฮเดอราบัด Thai Airways International (Hyderabad) 1st Flr, 6-3-249/6, Alcazar Plaza & Tower, 1st Flr, Road No. 1, Banjara Hills, Hyderabad - 500034 Tel. : (91-40) 2333 - 3030 / 040 Fax. : (91-40) 6662 - 2003 E-mail : [email protected] ส�ำ นักงานการบินไทย ณ เมืองกัลกัตตา Thai Airways International (Kolkata) 8th Flr, Cresent Tower, 229 A.J.C. Bose Road, Kolkata-700020, Tel. : (91-33) 2283 - 8865/68/71 Fax. : (91-33) 3982 - 7197 E-mail : [email protected] 232

สำ�นกั งานการบินไทย ณ เมืองมมุ ไบ Thai Airways International (Mumbai) Mittal Towers 2A, A Wing, Ground Floor, Nariman Point, Mumbai - 400021 Tel. : 1800-102-1225 Fax. : (91-22) 6637 - 3738 E-mail : [email protected] ส�ำ นกั งานธนาคารกรงุ ไทย ณ เมอื งมุมไบ 62, Maker Chambers VI, 6th Floor, Nariman Point, Mumbai-400021 Tel. : (91-22) 2287-3741 to 3 Fax. : (91-22) 2287-3744 ขอ้ มลู ตดิ ตอ่ ส�ำ นักงานบรษิ ทั เอกชนไทยในอนิ เดยี สามารถค้นหาได้ที่เวบ็ ไซต์ www.thaiindia.net/th (ธรุ กจิ ไทยในอนิ เดีย) 233

แนำะนำ�เว็บไซต เวçบไ«ตไ์ ทย สถานเอกอัครราชทตู ณ กรงุ นิวเดล ี http://www.thaiemb.org.in กระทรวงการต่างประเทศ http://www.mfa.go.th ศูนยธ์ รุ กิจสัมพนั ธ ์ กระทรวงการต่างประเทศ http://www.thaibiz.net ส�านกั งานบโี อไอ http://www.boi.go.th กระทรวงพาณิชย์ http://www.moc.go.th ตลาดกลางการค้า eCommerce ประเทศไทย http://www.thaitrade.com เวบç ไ«ต์อนิ เดยี ศนู ย์ข้อมลู การลงทุนในอนิ เดยี http://www.investindia.gov.in กรมสง่ เสรมิ และวางแผนอตุ สาหกรรม http://www.dipp.gov.in ส�านกั งานสง่ เสรมิ อตุ สาหกรรม รัฐคุชราต http://www.indextb.com สมาพนั ธ์อตุ สาหกรรมอนิ เดีย (CII) http://www.cii.in สหพันธ์หอการคา้ และอตุ สาหกรรมอินเดยี (FICCI) http://www.fi cci.com สมาคมหอการค้าและอตุ สาหกรรมอนิ เดยี (ASSOCHAM) http://www.assocham.org หอการคา้ อนิ เดยี (ICC) http://www.indianchamber.org สถานเอกอัครราชทูตอนิ เดียประจา� ประเทศไทย http://www.indianembassy.in.th 234

คณะผูจ ัดท� Editorial team 235

236

บรรณาธกิ าร นายประพันธ ์ สามพายวรกิจ หัวหน้าทมี thaiindia.net สถานเอกอคั รราชทตู ณ กรงุ นิวเดลี คณะทป่ี รึกษา นายพศิ าล มาณวพฒั น์ เอกอัครราชทตู ณ กรงุ นวิ เดลี ดร. สนุ ทร ชัยยินดภี ูมิ อัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงนิวเดลี นายคณนิ บญุ ญะโสภตั เลขานกุ ารเอก สถานเอกอคั รราชทตู ณ กรงุ นวิ เดลี 237

รายนำามนำักเขยี นำ นายพศิ าล มาณวพฒั น์ เอกอคั รราชทูต ณ กรงุ นิวเดลี ดร. สุนทร ชัยยินดภี ูม ิ อัครราชทูต สถานเอกอคั รราชทตู ณ กรงุ นวิ เดลี นายอดุลย ์ โชตนิ ิสากรณ์ ผอู้ �านวยการอาวโุ ส ส�านักงานสง่ เสรมิ การคา้ ระหวา่ งประเทศ ณ เมืองมมุ ไบ ดร. ไพศาล มะระพÄกษ์วรรณ ผูอ้ �านวยการ สา� นักงานสง่ เสรมิ การคา้ ระหวา่ งประเทศ ณ เมืองเจนไน ระหวา่ ง 2551 - 2555 นางสาวศศิรทิ ธ ìิ ตันกุลรัตน ์ อัครราชทูตท่ปี รึกษา สถานเอกอคั รราชทูต ณ กรงุ นวิ เดล ี ระหว่าง 2551 - 2556 นายกติ ินยั นตุ กุล ท่ีปรกึ ษา สถานเอกอคั รราชทตู ณ กรุงนวิ เดลี ดร. แจม่ ใส เมนะเศวต เลขานุการเอก สถานเอกอคั รราชทตู ณ กรงุ นิวเดลี ระหวา่ ง 2551 - 2555 238

นายประพันธ์ สามพายวรกิจ เลขานกุ ารเอก สถานเอกอคั รราชทตู ณ กรงุ นวิ เดลี นายคณนิ บุญญะโสภัต เลขานุการเอก สถานเอกอัครราชทตู ณ กรุงนวิ เดลี นายวัฒนชัย นริ ันดร เลขานกุ ารเอก สถานกงสลุ ใหญ่ ณ เมืองมุมไบ ระหว่าง 2553 - 2555 นางสาวกนกภรณ์ คุณวัฒน์ เลขานุการเอก สถานกงสุลใหญ่ ณ เมอื งมุมไบ นายภาณภุ ัทร ชวณะนกิ ลุ เลขานุการโท สถานกงสลุ ใหญ่ ณ เมอื งกลั กตั ตา นายสรยศ กจิ ภากรณ์ เลขานุการโท สถานกงสุลใหญ่ ณ เมอื งมมุ ไบ นางสาวปยิ รตั น์ เศรษฐศิริไพบลู ย์ ผู้จัดการศูนย์ขอ้ มลู ธรุ กิจการคา้ การลงทุนไทย - อินเดยี ระหว่าง 2554 - 2555 นางสาวสินีนาถ พนั ธ์เจรญิ วรกลุ ผ้สู ือ่ ข่าวหนงั สอื พิมพ์ฐานเศรษฐกจิ 239