แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว30205 รายวชิ า ฟสิ กิ ส์ 5 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ แมเ่ หล็กและไฟฟา้ เร่อื ง แมเ่ หลก็ และสนามแม่เหลก็ วันท…่ี …….เดอื น……………พ.ศ……………… ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 เวลา……………………น. จานวน 2 ชวั่ โมง ผู้สอน นางสาวไข่มกุ สุพร สาระฟิสกิ ส์ 3. เขา้ ใจแรงไฟฟ้าและกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟ้า ศกั ยไ์ ฟฟา้ ความจุไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ และกฎของ โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงาน ไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลับ คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้าและการสอ่ื สาร รวมทั้งนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรยี นรู้ สังเกต และอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคานวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณที่กาหนดรวมท้ัง สังเกต และอธบิ ายสนามแมเ่ หลก็ ทเ่ี กิดจากกระแสไฟฟา้ ในลวดตวั นาเสน้ ตรง และโซเลนอยด์ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรยี นสามารถอธิบายความหมายของแมเ่ หล็กและสนามแมเ่ หล็ก (K) 2. นักเรียนสามารถสืบคน้ ขอ้ มูลความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหลก็ ได้ (P) 3. มีความใฝเ่ รียนรู้และอยากรู้อยากเห็น (A) สาระการเรยี นรู้ เสน้ สนามแม่เหลก็ เป็นเสน้ สมมติทใี่ ช้แสดงบรเิ วณท่มี สี นามแม่เหลก็ โดยบรเิ วณท่ีมีเสน้ สนามแม่เหลก็ หนาแนน่ มากแสดงว่าเป็นบรเิ วณที่สนามแมเ่ หล็กมีความเข้มมาก สาระสาคญั แม่เหล็ก เป็น \"สารที่สามารถดูด และผลักกันเอง และสามารถดูดพวกสาร แม่เหล็กได้โดยการ เหนี่ยวนา\" โดยปกตมิ ี 2 ขวั้ คอื ข้ัวเหนือ และขั้วใต้ สนามแม่เหล็ก คือ \"บริเวณ (Space) ที่มีอานาจการกระทาที่เกิดจากแม่เหล็ก\" อานาจการกระทา ส่งออกมาจากแม่เหล็กนี้มีลกั ษณะเป็นเวกเตอร์ (Magnetic field Vector) มีสัญลักษณ์เป็น B เรียกอีกชื่อว่า
อานาจแม่เหล็กชักนา (Magnetic Induction) ซึ่งเป็นอานาจของเส้นแรงนา (Line of Induction) ซึ่งเป็น เวกเตอร์ เรียกวา่ ฟลกั ซ์แม่เหล็ก (Magnetic Flux) มีสัญลักษณ์เป็น B มหี นว่ ยในการวดั เป็น Weber สาหรับรอบๆ แท่งแม่เหล็ก อานาจแม่เหล็กในสนามแม่เหล็กแต่ละแห่งจะมีค่าไม่เท่ากัน แต่ละแห่ง ความแรงของสนามแม่เหล็กจะมีคา่ ไม่เท่ากนั เนอื่ งจากสนามแม่เหล็กนัน้ เรามองไม่เห็นจึงมีทฤษฎีเก่ียวกับเส้น แรงแมเ่ หลก็ ขน้ึ แบบเดยี วกับทฤษฎีของเส้นแรงไฟฟ้า หลักเกีย่ วกับเสแ้ รงแม่เหล็กทค่ี วรทราบ คือ 1. ภายนอกแท่งแมเ่ หล็ก เส้นแรงแม่เหล็กจะมที ศิ พ่งุ ออกจากขว้ั เหนอื (N) และพุ่งเขา้ ส่ขู วั้ ใต้ (S) เสมอ 2. ภายในแทง่ แม่เหลก็ เสน้ แรงแมเ่ หลก็ จะมีทิศจากขัว้ S พ่งุ เขา้ สขู่ ้วั N เสมอ ลักษณะเส้นแรงแม่เหล็กทเี่ กดิ ขน้ึ จากแท่งแม่เหล็ก 2 แท่งซงึ่ วางไว้ในลกั ษณะตา่ งๆ สนามแมเ่ หล็กโลก เราทราบดีว่าโลกเรานี้มีอานาจแม่เหลก็ ทง้ั น้เี พราะแท่งแม่เหล็กที่แขวนไว้ในแนวระดับ หรือเข็ม ทิศจะวางตัวในแนวเหนือ - ใต้เสมอ จากการสารวจสนามแม่เหล็กหรือเส้นแรงแม่เหล็กเราพบว่าโลกทาตัว เหมือนกับมีแท่งแม่เหลก็ ขนาดใหญอ่ ยู่ในใจกลางโลก ซ่ึงเราเรียกวา่ \" สนามแม่เหลก็ โลก \" แม่เหล็กโลกวางตัวโดยเอาขั้ว S อยู่ทางซีกโลกเหนือ และขั้ว N อยู่ทางซีกโลกใต้ แนวแกนของ แม่เหล็กทามมุ เล็กนอ้ ย ( ประมาณ 170 ) กบั แนวเหนือใต้ภมู ศิ าสตรโ์ ลก ดังรูป
เนือ่ งจากขว้ั แม่เหล็กชนดิ เดียวกันจะผลกั กนั และขวั้ แม่เหลก็ ต่างชนิดกันจะดูดกัน ดังนัน้ เข็มทิศซึ่ง เป็นแม่เหล็กเมื่อวางไว้ในสนามแม่เหล็กโลก เข็มทิศจะต้องเอาขั้ว N ชี้ไปทางทิศเหนือ (เพราะขั้ว S ของ แมเ่ หล็กโลกอยูท่ างเหนอื ) และเอาขวั้ S ช้ีไปทางใต้ (เพราะข้ัว N ของแมเ่ หลก็ โลกอยทู่ างใต)้ เสมอ จุดสะเทิน (Neutral Point) ถ้ามีสนามแม่เหล็กมากกว่าหนึ่งสนามในบริเวณเดียวกัน ของ สนามแม่เหล็กต่างๆ ในบริเวณนั้น อาจจะหักล้างกันจนเป็นศูนย์ เรียกตาแหน่งที่ ลัพธ์ เป็นศูนย์ว่า จดุ สะเทนิ เส้นแรงแมเ่ หลก็ เมื่อวางแทง่ แม่เหล็กไวใ้ นสนามแมเ่ หลก็ โลก รูป ก. รูป ข. รูป ค. รูป ก. วางเอาขวั้ S ช้ีไปทางทศิ เหนอื รปู ข. วางเอาขัว้ N ช้าไปทางทศิ เหนอื รูป ค. วางแท่งแมเ่ หลก็ ต้งั ฉากกับสนามแมเ่ หล็กโลก หมายเหตุ 1. เสน้ แรงทเ่ี ห็นเป็นการรวมกันแบบเวกเตอร์ของเสน้ แรงของแท่งแมเ่ หล็กกบั เสน้ แรงของ สนามแมเ่ หลก็ โลก 2. จดุ P เปน็ จุดสะเทิน สมรรถนะสาคญั ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคดิ วิเคราะห์ - ทักษะการคดิ สงั เคราะห์ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (จติ วิทยาศาสตร)์ ความใฝ่เรียนรู้และมีความอยากรู้อยากเห็น นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความต้องการที่จะรู้และ เสาะแสวงหาความรู้เกีย่ วกบั สิ่งตา่ งๆ ทสี นใจหรือต้องการค้นพบสิ่งใหม่ แสดงออกได้โดยการถามคาถาม หรอื มี ความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ เพียรพยายามในการเรียนและการทากิจกรรมต่างๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ อยู่เสมอ โดยการ
เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ ช้นิ งาน/ภาระงาน ใบงานที่ 1.1 แมเ่ หลก็ และสนามแมเ่ หล็ก กิจกรรมการเรยี นรู้ วธิ สี อนใช้รปู แบบวงจรการเรียนรู้ 5 ข้ันตอน (5E Learning Cycle model) ขั้นท่ี 1 ขนั้ สรา้ งความสนใจ ( 15 นาที ) 1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ จากนั้นครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ของหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แม่เหล็กและไฟฟ้า เพื่อตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเป็นรายบุคคลก่อนเข้าสู่ กิจกรรม 2. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับต้นกาเนิดของเข็มทิศชาวจีนได้พบว่า แท่งแม่เหล็กที่ดูดติดกับแม่เหล็กนั้น จะเปลี่ยนสภาพเป็นแท่งแม่เหล็กได้ และเมื่อนาแท่งแม่เหล็กมาแขวนให้หมุนได้อย่างอิสระในแนวระดับ แท่งแมเ่ หล็กจะวางตัวในแนวเหนือ – ใต้เสมอ หลงั จากน้ันจึงมีผู้นาแท่งแม่เหล็กไปประดิษฐ์เป็นเข็มทิศเพื่อใช้ นาทาง โดยมหี ลกั ฐานวา่ เริ่มมกี ารใชเ้ ข็มทศิ ในการเดินเรอื ในมหาสมุทรประมาณ พ.ศ.1543 ขั้นท่ี 2 ข้ันสารวจและค้นหา ( 45 นาที ) 1. ครูชี้แจงจดุ ประสงคแ์ ละวธิ ีการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมให้นักเรียนทราบ ตามรายละเอียดในใบงานท่ี 1.1 แมเ่ หลก็ และสนามแมเ่ หลก็ 2. ให้นักเรียนแต่ละคนสืบค้นข้อมูลของแม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก โดยอ้างอิงแหล่งที่มาลงใน สมดุ บนั ทึก 3. นักเรยี นลงมอื ปฏิบตั กิ จิ กรรม และรายงานผล ข้ันที่ 3 ขน้ั สร้างคาอธิบายและลงขอ้ สรปุ ( 30 นาที ) 4. สุม่ นกั เรียนออกมานาเสนอผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมหน้าชนั้ เรยี น 5. ให้นักเรียนร่วมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการทากิจกรรมแม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก โดยมปี ระเดน็ คาถามดงั นี้ - จากการสืบค้นของนักเรียนแรงท่เี กดิ จากแท่งแมเ่ หล็กมีก่ีแรง ได้แกอ่ ะไรบา้ ง (แนวคาตอบ 2 แรง ได้แก่ แรงดูด และแรงผลัก)
- เสน้ สนามแม่เหลก็ สมั พนั ธ์กับสนามแมเ่ หล็กอยา่ งไร (แนวคาตอบ เส้นสนามแมเ่ หล็กสัมพันธ์กบั สนามแมเ่ หลก็ ทง้ั ขนาดและทศิ ทาง โดยขนาด ของสนามแม่เหล็กสมั พนั ธก์ บั ความหนาแนน่ ของเส้นสนามแมเ่ หล็ก ฯลฯ) 6. ครูสาธิตการเรียงตัวของผงตะไบเหล็ก ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการสาธิตประกอบด้วย กระดาษแข็งสี ขาว 1 แผ่น แทง่ แมเ่ หลก็ 1 แท่ง และผงตะไบเหล็ก เพ่อื ใหน้ ักเรียนเห็นภาพเส้นสนามแมเ่ หล็กได้ชัดเจน 7. ครูเริ่มการสาธิต โดยวางแผ่นกระดาษบนโต๊ะ โรยผงตะไบเหล็กลงบนแผ่นกระดาษให้มี บริเวณกว้างกว่าขนาดของแท่งแม่เหล็กเล็กน้อย (การโรยผงตะไบเหล็กควรโรยบางๆ และสม่าเสมอ) จากน้ัน ครูถือแท่งแม่เหล็กให้อยู่เหนือผงตะไบเหล็ก แล้วเคลื่อนแท่งแม่เหล็กลงไปแตะผงตะไบเหล็ก โดยพยายามให้ ทุกส่วนของแท่งแม่เหล็กแตะผงตะไบเหล็กพร้อมๆ กัน เมื่อครูยกแท่งแม่เหล็กขึ้นแล้ว ให้นักเรียนสังเกตผลที่ เกดิ ข้ึนของผงตะไบเหล็กทต่ี ิดตามส่วนตา่ งๆ ของแทง่ แม่เหล็ก 8. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรุปความร้เู กีย่ วกบั แม่เหลก็ และสนามแม่เหล็ก ดังนี้ แมเ่ หล็ก เป็น \"สารท่ี สามารถดูด และผลักกันเอง และสามารถดูดพวกสารแม่เหล็กได้โดยการเหนี่ยวนา\" โดยปกติมี 2 ขั้ว คือ ข้ัว เหนือ และขั้วใต้ สนามแม่เหล็ก คือ \"บริเวณ (Space) ที่มีอานาจการกระทาที่เกิดจากแม่เหล็ก\" อานาจการ กระทาส่งออกมาจากแม่เหล็กนี้มีลักษณะเป็นเวกเตอร์ (Magnetic field Vector) มีสัญลักษณ์เป็น B เรียก อีกชื่อว่า อานาจแม่เหล็กชักนา (Magnetic Induction) ซึ่งเป็นอานาจของเส้นแรงนา (Line of Induction) ซ่ึงเป็นเวกเตอร์ เรียกว่าฟลักซแ์ ม่เหลก็ (Magnetic Flux) มสี ัญลกั ษณเ์ ป็น B มหี นว่ ยในการวดั เป็น Weber สาหรับรอบๆ แท่งแม่เหล็ก อานาจแม่เหล็กในสนามแม่เหล็กแต่ละแห่งจะมีค่าไม่เท่ากัน แต่ละแห่งความแรง ของสนามแม่เหล็กจะมีค่าไม่เท่ากัน เนื่องจากสนามแม่เหล็กนั้นเรามองไม่เห็นจึงมีทฤษฎีเกี่ยวกับเส้นแรง แม่เหล็กขึ้นแบบเดียวกับทฤษฎีของเส้นแรงไฟฟ้า และจุดสะเทิน (Neutral Point) คือ ถ้ามีสนามแม่เหล็ก มากกวา่ หนึง่ สนามในบรเิ วณเดยี วกัน ของสนามแม่เหล็กตา่ งๆ ในบรเิ วณนัน้ อาจจะหกั ล้างกันจนเป็นศูนย์ เรยี กตาแหน่งที่ ลพั ธ์ เป็นศูนย์วา่ “จุดสะเทนิ ” ขนั้ ท่ี 4 ขัน้ ขยายความรู้ ( 15 นาที ) 9. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับลมสุริยะว่าเป็นกระแสอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า (ส่วนใหญ่เป็นโปรตอน อเิ ล็กตรอน และอนภุ าคแอลฟา) ท่ีพ่งุ ออกมาจากดวงอาทิตย์ขณะเคลื่อนผ่านสนามแม่เหล็กโลกอนุภาคเหล่าน้ี จะถูกสนามแมเ่ หล็กโลกเบย่ี งเบนให้เคลื่อนท่ีอ้อมโลกไปโดยอันตรกริ ิยาระหว่างสนามแมเ่ หล็กโลกกับลมสุริยะ ส่งผลให้สนามแม่เหล็กโลกด้านตรงข้ามกับดวงอาทิตย์ลู่ไปคล้ายหางของดาวหาง ซึ่งมนุษย์ใช้ประโยชน์จาก สนามแม่เหล็กโลกโดยสร้างเข็มทิศขึ้นมา เพื่อใช้บอกทิศทางเนื่องจากเข็มทิศซึ่งเป็นแม่เหล็กแท่งเล็กๆ จะ วางตวั ในแนวเหนือ – ใต้เสมอ ในสนามแม่เหล็กโลก
ข้นั ที่ 5 ประเมนิ ผล ( 15 นาที ) 10. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม วสั ด/ุ อปุ กรณ์ สื่อและแหล่งเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี นฟสิ กิ ส์ ม.6 เล่ม 1 สังกดั อจท. 2. หนงั สอื เรยี นฟิสิกส์ ม.6 เลม่ 5 สังกัด สสวท. 3. PowerPoint เรื่อง แมเ่ หลก็ และสนามแมเ่ หล็ก 4. หอ้ งเรียน 5. หอ้ งสมดุ 6. แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ 7. ใบงานที่ 1.1 แมเ่ หลก็ และสนามแมเ่ หลก็ การวัดผลและประเมินผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธวี ัด เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ 1. นักเรียนสามารถอธิบาย ตรวจใบงาน ใบงานที่ 1.1 แม่เหล็ก ได้ระดับคุณภาพดี ความหมายของแม่เหล็กและ และสนามแมเ่ หลก็ จงึ ผา่ นเกณฑ์ สนามแมเ่ หล็ก (K) 2. นักเรียนสามารถสบื ค้นข้อมูล สังเกตและประเมินการ แบบประเมิน ได้ระดับคุณภาพดี ความสัมพันธ์ระหว่างกระแส ปฏิบัตกิ จิ กรรม การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการ จึงผา่ นเกณฑ์ ไฟฟา้ และสนามแมเ่ หลก็ ได้ (P) สงั เกต 3. มคี วามอยากรู้อยากเหน็ (A) สังเกตและประเมนิ การมี แบบประเมินการ มี ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากรู้อยากเห็น ความอยากร้อู ยากเหน็ จึงผ่านเกณฑ์ 4. คุณลกั ษณะดา้ นใฝ่เรยี นรู้ สังเกตพฤตกิ รรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี ลักษณะอันพึงประสงค์ จงึ ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นใฝ่เรียนรู้
ความคิดเหน็ ของผู้บริหารสถานศึกษา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................. ............ ลงชื่อ................................................................ผู้บรหิ ารสถานศึกษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........
บนั ทกึ หลงั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการจัดกจิ กรรม ตารางท่ี 1 ผลการประเมนิ ด้านความรู้ (K) ลาดับท่ี ระดับช้ัน จานวน ดมี าก (4) สรปุ ผลการประเมิน ปรับปรงุ (1) รวม นกั เรียน 80% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 100% 20% - - 100% 2 ม.6/3 30 80% - 100% 3 ม.6/4 32 70% -- - 100% 4 ม.6/5 27 รวม 20% - 100% 29 30% - 100 ตารางท่ี 2 ผลการประเมินดา้ นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) ลาดับที่ ระดับชนั้ จานวน สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1 – 4) รวม นกั เรยี น ดมี าก (9 – 12) ดี (5 – 8) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 75% 25% - 100% 3 ม.6/4 32 100% - - 100% 4 ม.6/5 27 80% 20% 100% 29 65% 35% 100 รวม
บนั ทกึ หลงั การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางที่ 3 ผลการประเมินด้านเจตคติ (A) ลาดับที่ ระดับชั้น จานวน ดีมาก (3) สรุปผลการประเมนิ พอใช้ (1) รวม นักเรียน 100% ดี (2) - 1 ม.6/1 100% - - 100% 2 ม.6/3 30 100% - - 100% 3 ม.6/4 32 90% - - 100% 4 ม.6/5 27 รวม 10% 100% 29 100 ตารางท่ี 4 ผลการประเมนิ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ลาดบั ท่ี ระดับชนั้ จานวน ดีมาก (3) สรปุ ผลการประเมิน ไมผ่ ่าน (0) รวม นกั เรียน 90% ดี (2) ผา่ น (1) - 1 ม.6/1 100% 10% - - 100% 2 ม.6/3 30 100% - 100% 3 ม.6/4 32 85% -- - 100% 4 ม.6/5 27 รวม -- 100% 29 15% - 100
บนั ทึกหลงั การสอน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 20 ด้านทักษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 75 และมีบางส่วนมีทักษะในระดับดี คิดเป็น ร้อยละ 25 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนทกุ คนมเี จตคตทิ ่ีดีมาก คิดเปน็ ร้อยละ 100 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคิดวิเคราะหแ์ ละสงั เคราะห์ได้ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ นักเรียนส่วนใหญ่มีความใฝ่เรยี นรู้ท่ดี ีมาก ปัญหา/อปุ สรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชื่อ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไข่มุก สุพร )
บันทกึ หลงั การสอน ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6/3 ผลการสอน ด้านความรู้ นกั เรียนทุกคนเขา้ ใจในเน้อื หาสาระดีมาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ด้านทกั ษะ นกั เรยี นทุกคนมที ักษะในระดับดมี าก คิดเปน็ ร้อยละ 100 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนทุกคนมีเจตคตทิ ่ีดีมาก คิดเป็นร้อยละ 100 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์และสังเคราะห์ได้ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทกุ คนมคี วามใฝ่เรียนร้ทู ด่ี มี าก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชอ่ื ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไข่มกุ สพุ ร )
บันทึกหลงั การสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/4 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่มีความเข้าใจในเนื้อหาสาระดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และบางส่วนมีความเข้าใจใน เนือ้ สาระได้ดี คิดเปน็ ร้อยละ 20 ด้านทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และ บางส่วนมีทักษะในระดับดี คิดเป็น รอ้ ยละ 20 ดา้ นเจตคติ นกั เรียนทกุ คนมีเจตคตทิ ดี่ มี าก คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ด้านสมรรถนะ นกั เรียนมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์และสงั เคราะห์ได้ ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ นกั เรียนทุกคนมีความใฝเ่ รียนรู้ในระดบั ดีมาก ปญั หา/อปุ สรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงช่อื ..........................................................ผ้สู อน ( นางสาวไข่มกุ สุพร )
บันทึกหลงั การสอน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/5 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่มีความเข้าใจในเนื้อหาสาระดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70 และบางส่วนมีความเข้าใจใน เน้ือสาระไดด้ ี คิดเป็นร้อยละ 30 ดา้ นทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 65 และนักเรียนบางส่วนมีทักษะในระดับดี คดิ เป็นรอ้ ยละ 35 ด้านเจตคติ นักเรียนสว่ นใหญม่ ีเจตคติที่ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และนักเรยี นบางสว่ นมีเจตคติทดี่ ี คิดเป็นร้อยละ 10 ดา้ นสมรรถนะ นักเรียนสามารถคิดวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหไ์ ด้ ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ นกั เรียนทกุ คนมคี วามใฝ่เรยี นร้ใู นระดับดมี าก ปัญหา/อุปสรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชื่อ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไข่มกุ สพุ ร )
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวิชา ว30205 รายวชิ า ฟิสิกส์ 5 หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 ช่ือหน่วยการเรียนรู้ แมเ่ หล็กและไฟฟา้ เรอ่ื ง แมเ่ หลก็ และสนามแม่เหลก็ (ฟลกั ซแ์ ม่เหล็ก) วนั ท…ี่ …….เดือน……………พ.ศ……………… ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 เวลา……………………น. จานวน 1 ช่ัวโมง ผสู้ อน นางสาวไข่มกุ สุพร สาระฟิสิกส์ 3. เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟา้ ศักยไ์ ฟฟ้า ความจุไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และกฎของ โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงาน ไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลับ คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้าและการส่ือสาร รวมทงั้ นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรียนรู้ สังเกต และอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคานวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณที่กาหนดรวมท้ัง สังเกต และอธิบายสนามแมเ่ หล็กท่เี กิดจากกระแสไฟฟา้ ในลวดตวั นาเส้นตรง และโซเลนอยด์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. นกั เรียนสามารถอธิบายความหมายของฟลักซ์แมเ่ หล็ก (K) 2. นักเรียนสามารถคานวณหาคา่ ของฟลกั ซแ์ ม่เหลก็ ได้ (P) 3. มีความใฝ่เรียนรู้และอยากรู้อยากเหน็ (A) สาระการเรียนรู้ ฟลักซ์แม่เหล็ก คือ จานวนเส้นสนามแม่เหล็กที่ผ่านพื้นที่ที่พิจารณาและอัตราส่วนระหว่างฟลักซ์ แม่เหล็กตอ่ พ้ืนทีต่ งั้ ฉากกบั สนามแม่เหล็ก คือ ขนาดของสนามแม่เหลก็ เขยี นแทนได้ด้วยสมการ B = ∅ ������ สาระสาคญั บริเวณใกลข้ ้วั แม่เหลก็ มีเส้นสนามแม่เหล็กหนาแน่นมาก เรยี กวา่ ฟลักซ์แมเ่ หล็ก อตั ราสว่ นระหวา่ ง ฟลกั ซแ์ มเ่ หล็กตอ่ พื้นทตี่ ้ังฉากกบั สนามหน่งึ ตารางหนว่ ย เรียกว่า ขนาดของสนามแม่เหลก็ การคานวณสนามแมเ่ หลก็ สนามแม่เหล็ก เป็น \" อาณาบริเวณที่มีเส้นแรงแม่เหล็กพุ่งผ่าน \" ถ้าบริเวณใดมีจานวนเส้นแรง แม่เหล็กผ่านมากบริเวณนั้นจะมีความแรง หรือความเข้มสนามแม่เหล็กสูง เส้นแรงแม่เหล็กจะมีทิศพุ่งออก
จากขัว้ แม่เหลก็ ขั้วเหนือไปยังขวั้ แม่เหลก็ ข้ัวใต้ ความแรงของสนามแมเ่ หลก็ อาจจะกาหนดดังน้ี \"จานวนเส้นแรง แม่เหลก็ ตอ่ 1 หน่วยพน้ื ที่มีเส้นแรงผา่ น\" คอื คา่ ของสนามแม่เหลก็ ท่จี ดุ นน้ั ถ้า B เปน็ จานวนเส้นแรงแม่เหล็ก หน่วย Weber ถ้า A เป็นพน้ื ทหี่ นา้ ตดั ของบรเิ วณทเี่ สน้ แรงผ่าน หนว่ ย ตารางเมตร และ B เป็นสนามแมเ่ หลก็ = = จะเหน็ ว่าหนว่ ยของสนามแมเ่ หล็ก คือ Weber/m2 ซง่ึ เราเรยี กใหม่วา่ Tesla หมายเหตุ 1. อา่ นว่า Phi, คือ magnetic flux หรือเส้นแรงแมเ่ หล็ก 2. เรียกว่า ความหนาแน่นฟลักซแ์ ม่เหล็ก หรือ Magnetic flux density สิง่ สาคัญเก่ยี วกบั ท่ีควรทราบ คอื สนามแมเ่ หลก็ เปน็ ปรมิ าณเวกเตอร์ ทศิ ของ จะไปตามทศิ ของเส้นแรงแมเ่ หล็กดงั ต่อไปนี้ คอื ก) ในกรณที ่ีเส้นแรงแม่เหล็กเปน็ เสน้ ตรง ทิศของ จะมีทิศเดียวกับทศิ ของเสน้ ตรง ข) ในกรณที เี่ ส้นแรงแม่เหล็กเป็นเส้นตรง ทศิ ของ ท่จี ดุ ใดๆ จะมีทิศสมั ผัสกับเส้นแรงแม่เหล็ก ทจี่ ุดนน้ั โดยมีทิศไปตามแนวเสน้ แรง สมรรถนะสาคัญ ความสามารถในการคิด - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทกั ษะการคิดสงั เคราะห์ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (จติ วิทยาศาสตร์) ความใฝ่เรียนรู้และมีความอยากรู้อยากเห็น นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความต้องการทีจ่ ะรู้และ เสาะแสวงหาความรู้เกย่ี วกบั ส่งิ ตา่ งๆ ทีสนใจหรอื ตอ้ งการคน้ พบส่งิ ใหม่ แสดงออกได้โดยการถามคาถาม หรอื มี ความสงสัยในสิ่งที่สนใจอยากรู้ มีความกระตือรือร้นในการเสาะแสวงหาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่สนใจ เพียรพยายามในการเรียนและการทากิจกรรมต่างๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ อยู่เสมอ โดยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้
ช้ินงาน/ภาระงาน ใบงานท่ี 1.2 ฟลกั ซ์แมเ่ หล็ก กิจกรรมการเรียนรู้ วธิ ีสอนใชร้ ูปแบบวงจรการเรียนรู้ 5 ขนั้ ตอน (5E Learning Cycle model) ขน้ั ท่ี 1 ข้ันสร้างความสนใจ ( 10 นาที ) 1. ครูทบทวนความรู้เดมิ ท่ีได้เรยี นมาในช่ัวโมงทผี่ ่านมา เพอ่ื ให้นกั เรียนเกดิ การเรยี นรูอ้ ย่างตอ่ เน่ือง 2. ครูกล่าวถึงปรากฏการณ์ออโรรา ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มีแสงบนท้องฟ้าในเวลา กลางคนื โดยแสงท่ีเกิดขนึ้ นั้นมสี ่วนเกย่ี วขอ้ งกับสนามแม่เหลก็ และอนภุ าคทีม่ ปี ระจุไฟฟ้า 3. ครูเริ่มเข้าสู่กิจกรรมโดยการอธิบายเกี่ยวกับฟลักซ์แม่เหล็กว่า เป็นปริมาณเส้นแม่เหล็กหรือจานวน ของเส้นแม่เหล็กที่พุ่งจากขั้วหนึ่งไปอีกขั้วหนึ่งของแท่งแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น เวเบอร์ (weber) และความ หนาแน่นฟลักซแ์ ม่เหล็กหรือความเข้มของสนามแม่เหลก็ คือ จานวนเส้นแรงแมเ่ หล็กต่อหน่วยพ้ืนที่ที่เส้นแรง แม่เหล็กตกตั้งฉากเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น เทสลา (Tasla) และถ้าสนามแม่เหล็กไม่ตั้งฉากกับพื้นท่ี ทาให้ทิศสนามแม่เหล็กกับทิศของเวกเตอร์ 1 หน่วย พื้นที่ทามุม ������ ต่อกัน การหาฟลักซ์แม่เหล็กหาได้จาก ความสมั พนั ธ์ระหว่างฟลักซแ์ ม่เหล็กและความเข้มสนามแมเ่ หลก็ ได้ ดังสมการ B = ∅ ������ ข้ันที่ 2 ขัน้ สารวจและคน้ หา ( 25 นาที ) 4. ครูชี้แจงจุดประสงค์และวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้นักเรียนทราบ ตามรายละเอียดในใบงานที่ 1.2 ฟลกั ซ์แม่เหล็ก 5. ให้นกั เรียนแต่ละคนคานวณหาคา่ ของฟลกั ซ์แมเ่ หล็กจากโจทยท์ ก่ี าหนดให้ 6. นักเรียนลงมือปฏิบตั ิกจิ กรรม และรายงานผล ขนั้ ที่ 3 ขน้ั สร้างคาอธิบายและลงขอ้ สรปุ ( 15 นาที ) 7. ส่มุ นกั เรียนออกมานาเสนอผลการปฏิบตั กิ จิ กรรมหนา้ ชน้ั เรยี น 8. ครูให้นกั เรยี นฝกึ แก้โจทย์ปญั หาตามข้นั ตอนการแกโ้ จทย์ ดงั นี้ - ขั้นท่ี 1 ครูใหน้ ักเรียนบอกปริมาณทรี่ ู้จากโจทย์และปริมาณที่ต้องการหา - ขัน้ ท่ี 2 เลอื กสตู รทีส่ มั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ ทร่ี ู้จากโจทยแ์ ละสง่ิ ที่ต้องการหา - ขนั้ ที่ 3 ครใู ห้นักเรียนดกู ารแทนคา่ ในสตู รและแสดงวธิ ีการหาคาตอบให้ละ-เอยี ด - ข้นั ท่ี 4 ตรวจสอบคาตอบของโจทยต์ ัวอย่างว่าถกู ต้องหรือไม่ โดยระบุหนว่ ยให้ชดั เจน 9. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับฟลักซ์แม่เหล็ก ดังนี้ บริเวณใกล้ขั้วแม่เหล็กมีเส้น สนามแมเ่ หลก็ หนาแน่นมาก เรยี กว่า ฟลกั ซ์แมเ่ หลก็ อัตราส่วนระหวา่ งฟลักซแ์ ม่เหล็กต่อพื้นทีต่ ้ังฉากกับสนาม หนึง่ ตารางหนว่ ย เรียกวา่ ขนาดของสนามแมเ่ หล็ก สนามแม่เหล็ก เป็น \" อาณาบริเวณท่ีมีเสน้ แรงแม่เหล็กพุ่ง
ผา่ น \" ถ้าบรเิ วณใดมจี านวนเสน้ แรงแม่เหลก็ ผ่านมากบรเิ วณนนั้ จะมคี วามแรง หรอื ความเข้มสนามแมเ่ หล็กสูง เส้นแรงแม่เหล็กจะมีทิศพุ่งออกจากขั้วแม่เหล็กขั้วเหนือไปยังขั้วแม่เหล็กขั้วใต้ ความแรงของสนามแม่เหล็ก อาจจะกาหนดดังน้ี \"จานวนเสน้ แรงแม่เหลก็ ต่อ 1 หน่วยพ้ืนท่มี เี สน้ แรงผ่าน\" คือ ค่าของสนามแมเ่ หล็กที่จุดนั้น สามารถคานวรหาไดจ้ ากสมการ ดงั ต่อไปนี้ B = ∅ ������ ขั้นท่ี 4 ขน้ั ขยายความรู้ ( 5 นาที ) 10. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับวัสดุ/อุปกรณ์ หรือเครื่องมือ/เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ ที่ใช้หลักการทางาน ของแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า และยกตัวอย่างพรอ้ มอธบิ ายหลักการทางานของอุปกรณ์นั้นๆ ขน้ั ที่ 5 ประเมนิ ผล ( 5 นาที ) 11. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรม วัสด/ุ อปุ กรณ์ สือ่ และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี นฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 1 สังกดั อจท. 2. หนังสอื เรียนฟสิ กิ ส์ ม.6 เลม่ 5 สังกดั สสวท. 3. PowerPoint เรอ่ื ง แม่เหลก็ และสนามแมเ่ หล็ก 4. ห้องเรียน 5. หอ้ งสมดุ 6. แหล่งข้อมลู สารสนเทศ 7. ใบงานที่ 1.2 ฟลกั ซ์แมเ่ หลก็
การวดั ผลและประเมนิ ผล จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธีวดั เคร่ืองมือ เกณฑก์ ารประเมนิ 1. นักเรียนสามารถอธิบาย ตรวจใบงาน ใบงานที่ 1.2 ฟลักซ์ ได้ระดับคุณภาพดี ความหมายของฟลักซ์แม่เหล็ก แม่เหลก็ จึงผ่านเกณฑ์ (K) 2. นักเรียนคานวณหาค่าของ สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี ฟลกั ซ์แม่เหล็กได้ (P) ปฏิบตั ิกจิ กรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จงึ ผ่านเกณฑ์ คานวณ 3. มคี วามอยากร้อู ยากเหน็ (A) สังเกตและประเมนิ การมี แบบประเมินการ มี ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากรู้อยากเหน็ ความอยากรู้อยากเหน็ จึงผา่ นเกณฑ์ 4. คณุ ลกั ษณะด้านใฝเ่ รยี นรู้ สังเกตพฤตกิ รรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี ลักษณะอันพึงประสงค์ จงึ ผา่ นเกณฑ์ ด้านใฝเ่ รียนรู้ ความคิดเหน็ ของผู้บริหารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................................ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./........
บนั ทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการจัดกิจกรรม ตารางท่ี 1 ผลการประเมนิ ดา้ นความรู้ (K) ลาดับท่ี ระดับชั้น จานวน ดมี าก (4) สรุปผลการประเมนิ ปรับปรุง (1) รวม นกั เรียน 90% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 80% 10% - - 100% 2 ม.6/3 30 80% 20% - - 100% 3 ม.6/4 32 100% 20% - - 100% 4 ม.6/5 26 รวม 100% 29 -- 100 ตารางที่ 2 ผลการประเมินด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) ลาดับท่ี ระดับชั้น จานวน สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1 – 4) รวม นกั เรียน ดมี าก (9 – 12) ดี (5 – 8) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 80% 20% - 100% 3 ม.6/4 32 70% 30% - 100% 4 ม.6/5 26 70% 30% 100% 29 100% - 100 รวม
บนั ทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการจัดกจิ กรรม ตารางท่ี 3 ผลการประเมินดา้ นเจตคติ (A) ลาดบั ที่ ระดับชั้น จานวน ดมี าก (3) สรปุ ผลการประเมนิ พอใช้ (1) รวม นักเรยี น 100% ดี (2) - 1 ม.6/1 90% - - 100% 2 ม.6/3 30 90% 10% - 100% 3 ม.6/4 32 100% 10% - 100% 4 ม.6/5 26 รวม - 100% 29 100 ตารางท่ี 4 ผลการประเมนิ ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ลาดับท่ี ระดบั ชน้ั จานวน ดมี าก (3) สรุปผลการประเมนิ ไม่ผา่ น (0) รวม นกั เรียน 100% ดี (2) ผ่าน (1) - 1 ม.6/1 90% - 100% 2 ม.6/3 30 90% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% 10% - - 100% 4 ม.6/5 26 10% - 100% 29 รวม 100 --
บันทกึ หลังการสอน ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6/1 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น รอ้ ยละ 10 ดา้ นทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในการคานวณดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนมีทักษะในการ คานวณได้ดี คดิ เปน็ ร้อยละ 20 ด้านเจตคติ นักเรยี นทกุ คนมเี จตคติทด่ี ีมาก คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ดา้ นสมรรถนะ นักเรียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์และสงั เคราะห์ได้ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทกุ คนมคี วามใฝ่เรียนรแู้ ละอยากรู้อยากเห็นทีด่ มี าก ปัญหา/อปุ สรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชื่อ..........................................................ผูส้ อน ( นางสาวไข่มุก สุพร )
บันทกึ หลังการสอน ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6/3 ผลการสอน ด้านความรู้ นกั เรียนสว่ นใหญเ่ ขา้ ใจในเน้ือหาสาระดีมาก คดิ เปน็ ร้อยละ 80 และมบี างสว่ นเรียนรู้ไดด้ ี คิดเป็นรอ้ ย ละ 20 ดา้ นทกั ษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในการคานวณดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70 และมีบางส่วนมีทักษะในการ คานวณได้ดี คิดเป็นร้อยละ 30 ด้านเจตคติ นกั เรยี นสว่ นใหญ่มเี จตคตทิ ีด่ มี าก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90 และมีบางส่วนมีเจตคติที่ดี คิดเป็นร้อยละ 10 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรยี นมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ได้ ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ นักเรียนสว่ นใหญ่มคี วามใฝ่เรียนรู้และอยากรอู้ ยากเหน็ ท่ดี มี าก ปญั หา/อปุ สรรค นักเรียนบางส่วนยังมีพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์ที่ไม่ดีจึงทาให้การคานวณของรายฟิสิกส์นั้นเป็นเรื่อง ยาก และทาให้นักเรยี นไมเ่ ขา้ ใจ แนวทางการแกไ้ ข ทบทวนเนื้อหาเดิมใหน้ กั เรียนและทาโจทย์เพม่ิ เติมมากข้นึ เพ่ือเพมิ่ ความเข้าใจ หมายเหตุ - ลงช่ือ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไข่มุก สุพร )
บันทึกหลังการสอน ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6/4 ผลการสอน ด้านความรู้ นักเรยี นสว่ นใหญ่เขา้ ใจในเนอื้ หาสาระดมี าก คดิ เปน็ ร้อยละ 80 และมีบางสว่ นเรียนรู้ได้ดี คิดเป็นร้อย ละ 20 ดา้ นทักษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในการคานวณดีมาก คิดเป็นร้อยละ 70 และมีบางส่วนมีทักษะในการ คานวณไดด้ ี คิดเปน็ รอ้ ยละ 30 ดา้ นเจตคติ นกั เรยี นส่วนใหญม่ เี จตคตดิ มี าก คิดเปน็ รอ้ ยละ 90 และมบี างสว่ นมเี จตคตทิ ี่ดี คดิ เป็นร้อยละ 10 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ได้ ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ นกั เรยี นส่วนใหญม่ คี วามใฝ่เรยี นรแู้ ละอยากร้อู ยากเห็นทด่ี มี าก ปัญหา/อุปสรรค นักเรียนส่วนใหญ่มีพื้นฐานคณิตศาสตร์ไม่ดีมากนัก จึงทาให้การเรียนฟิสิกส์เป็นเรื่องยาก และเกิด ความสงสยั งงงวย ไมเ่ ข้าใจขึ้นมา แนวทางการแกไ้ ข ทบทวนบทเรียนเดมิ และใหน้ กั เรียนฝกึ ทาแบบฝึกหัดเพ่มิ เตมิ เพื่อเพ่ิมความเข้าใจ หมายเหตุ - ลงชื่อ..........................................................ผู้สอน ( นางสาวไขม่ กุ สพุ ร )
บันทกึ หลังการสอน ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6/5 ผลการสอน ด้านความรู้ นกั เรียนทกุ คนเข้าใจเน้ือหาสาระได้ดมี าก คิดเป็นร้อยละ 100 ด้านทักษะ นกั เรียนทุกคนมที กั ษะในการคานวณทด่ี ีมาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ด้านเจตคติ นักเรียนทุกคนมีเจตคติที่ดีมาก คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรียนมคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะหแ์ ละสังเกตได้ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรยี นทุกคนมีความใฝ่เรยี นรู้และอยากรอู้ ยากเหน็ ทด่ี มี าก ปญั หา/อปุ สรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชอ่ื ..........................................................ผ้สู อน ( นางสาวไขม่ ุก สพุ ร )
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัสวิชา ว30205 รายวิชา ฟสิ กิ ส์ 5 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ แม่เหล็กและไฟฟ้า เร่ือง สนามแมเ่ หลก็ จากกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตวั นา วนั ท…ี่ …….เดือน……………พ.ศ……………… เวลา……………………น. จานวน 2 ชวั่ โมง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ผู้สอน นางสาวไข่มุก สพุ ร สาระฟิสิกส์ 3. เขา้ ใจแรงไฟฟา้ และกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟ้า ศกั ยไ์ ฟฟ้า ความจุไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ และกฎของ โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงาน ไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลบั คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าและการสอื่ สาร รวมทัง้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ผลการเรยี นรู้ สังเกต และอธิบายเส้นสนามแม่เหล็ก อธิบายและคานวณฟลักซ์แม่เหล็กในบริเวณที่กาหนดรวมทั้ง สงั เกต และอธิบายสนามแมเ่ หล็กท่ีเกดิ จากกระแสไฟฟา้ ในลวดตัวนาเส้นตรง และโซเลนอยด์ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายสนามแมเ่ หล็กของลวดตัวนาเสน้ ตรง ลวดตัวนาวงกลม และโซเลนอยด์ที่มี กระแสไฟฟา้ ผ่านได้ (K) 2. นักเรียนสามารถสังเกตและทดลองสนามแม่เหล็กของลวดตัวนาเส้นตรง ลวดตัวนาวงกลม และ โซเลนอยดท์ ีม่ ีกระแสไฟฟา้ ผ่านได้ (P) 3. มคี วามใฝ่เรียนรู้และทางานรว่ มกบั ผ้อู น่ื ไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ (A) สาระการเรยี นรู้ เม่อื มีกระแสไฟฟา้ ผ่านลวดตัวนาเส้นตรงหรือโซเลนอยดจ์ ะเกดิ สนามแม่เหลก็ ข้ึน สาระสาคญั ในปี พศ. 2363 ฮันส์ คริสเตียน เออร์สเตด (Hans C. Oersted) ชาวเดนมาร์กสังเกตเห็นเข็มทิศเบน ไป เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาที่วางบนเข็มทิศ แสดงว่า กระแสไฟฟ้าทาให้เกิดสนามแม่เหล็กได้ สนามแมเ่ หล็กทีไ่ ดจ้ ากกระแสไฟฟ้าผา่ นลวดตัวนาทเ่ี ออร์สเตดพบ รวมทง้ั กรณอี ่ืนๆ เช่น กระแสไฟฟ้าผ่านลวด
ตัวนาที่มีฉนวนหุ้มมาขดเป็นวงกลมหลายๆ วง เรียงช้อนกันเป็นรูปทรงกระบอก เรียกว่า โซเลนอยด์ (solenoid) สนามแมเ่ หล็กท่ีเกดิ จากกระแสไฟฟ้า ถา้ มีกระแสผ่านลวดตัวนา จะเกิดสนามแม่เหล็กรอบตัวนานนั้ การหาทิศของสนามใช้กฎมอื ขวา ใช้มือขวาการอยลวดตัวนา หัวแม่มือทาบบนเส้นลวดพุ่ง ตามทิศกระแสปลายนิ้วทั้งส่ีที่การอบเส้นลวดจะแสดงทิศ สนามแมเ่ หล็กท่ีเกิดขนึ้ หมายเหตุ 1. สนามแมเ่ หล็กที่เกดิ ข้นึ รอบๆ เสน้ ลวด ณ ท่หี า่ งจากเสน้ ลวดตา่ งกนั จะมขี นาดไม่เท่ากนั 2. ทิศของสนามแม่เหลก็ ที่จุดใดๆ จะอยู่ในแนวเส้นสัมผัสกับเส้นแรงแมเ่ หล็กที่จดุ นัน้ ๆ เสมอ เช่น จากรปู ขา้ งบน สนาม 1 จะสมั ผสั กบั เสน้ แรง L1 สนาม 2 จะสัมผัสกับเส้นแรง L2 สนาม 3 จะสัมผสั กบั เส้นแรง L3 ขดลวดโซลนี อยด์ (Solenoid) วิธีที่ 1 มองปลายใดปลายหนึ่ง ถ้ากระเเสทวนเข็มนาฬิกาสนามพุ่งออกเป็นขั้วเหนอื ถ้ากระเเสตามเข็มนาฬิกา สนามพงุ่ เข้าเปน็ ขั้วใต้ วิธที ่ี 2 ใช้กฏมอื ขวา คอื \" กามือขวาให้นิว้ ท้ังส่ีวนไปตามทิศของกระเเสที่ไหล น้ิวหัวแมม่ ือท่ีชี้ออกจะแสดงทิศ ของขัว้ N ทีเ่ กิดข้นึ
รูปแสดง สนามแมเ่ หล็กทเ่ี กิดขนึ้ ในขดลวดโซลินอยด์ รปู ก. แสดงเส้นแรงแม่เหลก็ ทเ่ี กดิ จากขดลวดโซนิลอยด์ ซง่ึ พันชิดกัน รปู ข. แสดงเส้นแรงแมเ่ หล็กที่เกิดจากขดลวดโซนิลอยด์ ซ่ึงพนั หา่ งกัน หมายเหตุ สาหรับสนามแม่เหลก็ ตรงกลางภายในขดลวดโซนลิ อยด์จะถอื วา่ มีค่าสมา่ เสมอ สรุปการหาทิศของ B และ E 1. มือซ้าย มีทิศไปทางใด แสดงว่าขั้ว N ไปทางนั้นใช้หลักพุ่งหัวแม่มือซ้าย นิ้วท่ี B งอจะเป็นทิศของ เหนี่ยวนาในขดลวด (หรือเป็นทิศของเส้นแรงไฟฟ้า E ในอวกาศ ,Space) 2. มอื ขวา E ถา้ หรอื มีทศิ ไปทางใด ใช้หลกั พ่งุ หวั แม่มอื ขวา นว้ิ ท่งี อจะเป็นทิศ ของ ทีเ่ กิดข้นึ รอบๆ B สมรรถนะสาคญั ความสามารถในการคดิ - ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ - ทักษะการคดิ สงั เคราะห์
คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (จติ วิทยาศาสตร)์ ความใฝ่เรียนรู้และทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์ นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความ เพียรพยายามในการเรียนและการทากิจกรรมต่างๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ อยู่เสมอ โดยการ เลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ และมีการใช้ทักษะทางสังคม การมีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นๆ ได้แก่ การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบุคคลอื่น การยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การขอความช่วยเหลือและความ ร่วมมือจากผ้อู ืน่ เพอื่ ความรว่ มมือในการทางานกลุ่ม ชิ้นงาน/ภาระงาน ใบงานท่ี 1.3 สนามแมเ่ หล็กจากกระแสไฟฟา้ ผา่ นลวดตัวนา กิจกรรมการเรยี นรู้ วิธสี อนใชร้ ปู แบบวงจรการเรยี นรู้ 5 ข้นั ตอน (5E Learning Cycle model) ข้ันที่ 1 ข้นั สรา้ งความสนใจ ( 15 นาที ) 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับสนามแม่เหล็กว่า แม่เหล็กประกอบด้วยขั้วเหนือและขั้วใต้ บริเวณที่มีอานาจ แม่เหล็กเรยี กว่า สนามแม่เหล็ก เสน้ ท่ีแสดงทศิ ของสนามแมเ่ หลก็ รอบๆ แท่งแม่เหล็ก เรยี กวา่ เส้นแรงแม่เหล็ก บริเวณในสนามแม่เหล็กที่ไม่มีอานาจแม่เหล็ก เรียกว่า จุดสะเทิน ใต้พื้นโลกมีสนามแม่เหล็กโลกช่วยป้องกัน อันตรายจากลมสุริยะ บริเวณใกล้ขั้วแม่เหล็กมีเส้นสนามแม่เหล็กหนาแน่นมาก เรียกว่า ฟลักซ์แม่เหล็ก อัตราส่วนระหว่างฟลักซ์แม่เหล็กต่อพื้นที่ตั้งฉากกับสนามหนึ่งตารางหน่วย เรียกว่า ขนาดของสนามแม่เหล็ก ครูเขา้ สู่บทเรยี นโดยต้ังคาถามว่า ลวดตัวนาท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่านจะมีสนามแม่เหลก็ เกิดข้นึ รอบๆ ลวดตัวนาน้ัน หรือไม่ 2. ครูให้นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นกับคาถามที่ครูถาม โดยให้นักเรียนแต่ละคนร่วมกันอภิปราย และแสดงความคิดเห็นอยา่ งอสิ ระโดยไมม่ กี ารเฉลยวา่ ถูกหรือผิด ข้นั ที่ 2 ข้ันสารวจและค้นหา ( 45 นาที ) 3. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุม่ กลุม่ ละ 4 - 5 คน และใหต้ วั แทนกลมุ่ มารับใบงาน 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษากิจกรรมจากใบงานที่ 1.3 เรื่อง สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้าผ่านลวด ตัวนา 5. ครชู ี้แจงจุดประสงคแ์ ละวิธกี ารปฏิบตั กิ ิจกรรมใหน้ กั เรยี นทราบ 6. นักเรียนลงมอื ปฏิบัติกจิ กรรม และรายงานผล
ขั้นที่ 3 ขนั้ สรา้ งคาอธบิ ายและลงขอ้ สรุป ( 30 นาที ) 7. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชัน้ 8. ครใู ห้นักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายเพอ่ื นาไปสกู่ ารสรุป โดยใช้คาถามตอ่ ไปนี้ - นกั เรยี นแต่ละกลุ่มไดผ้ ลการสืบคน้ และผลการทดลองเหมือนกนั หรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตใุ ด - แนวการเรียงตวั ของผงเหลก็ ของสามกรณีเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาาเหมือนหรือต่างกัน อยา่ งไร (แนวคาตอบ แตกต่างกันโดย 1) กรณีลวดตวั นาเสน้ ตรงผงเหลก็ จะเรียงตวั เป็นวงกลมรอบเส้น ลวด 2) กรณีลวดตัวนาวงกลมบริเวณใกล้ๆ ลวดตวั นา ผงเหล็กจะเรียงตวั เปน็ วงกลมรอบเสน้ ลวด คลา้ ยกรณี ลวดตวั นาเส้นตรง แตบ่ ริเวณก่งึ กลางของลวดตวั นาวงกลม ผงเหล็กมีการเรยี งตัว ตง้ั ฉากกับระนาบลวดตัวนา วงกลม 3) กรณีโซเลนอยด์ บริเวณภายในโซเลนอยด์ผงเหล็กมกี ารเรยี งตวั อยู่ในแนวแกนโซเลนอยด์ ภายนอก รอบๆ โซเลนอยด์ ผงเหลก็ จะเรยี งตวั คลา้ ยกบั การเรยี งตัวของผงเหลก็ รอบแท่งแม่เหลก็ ) - ขณะไม่มีกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนากบั เมอ่ื มกี ระแสไฟฟ้าในลวดตวั นา การวางตวั ของเข็มทศิ ตา่ งกันหรอื ไม่ อย่างไร (แนวคาตอบ ขณะที่ยังไม่มีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนา เข็มทิศ ณ ตาแหน่งต่างๆ วางตัวอยู่ในแนว เดยี วกัน (ในแนวสนามแม่เหล็กโลก) สว่ นกรณที ีม่ ีกระแสไฟฟา้ ผ่านลวดตัวนาจะเหน็ เขม็ ทิศ แตล่ ะตาแหน่งเบน ไปจากแนวเดิม) 9. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ เรื่อง สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนา ดังนี้ ในกรณีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาเส้นตรง แล้วโรยผงเหล็กรอบๆ จะสังเกตเห็นผงเหล็กเรียงตัวเป็น วงกลมรอบลวดตัวนา เมื่อนาเขม็ ทิศมาวางรอบลวดตวั นาเส้นตรงตามการเรียงตวั ของผงเหลก็ จะทราบทิศทาง ของสนามแม่เหล็ก โดยทิศทางของสนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้นเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนา เส้นตรงมีทิศทาง กรณีลวดตัวนาวงกลม เมื่อให้กระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนาวงกลม จะสังเกตเห็นผงเหล็กเรียงตัวเปน็ วงรอบลวด ตัวนา เมื่อนาเข็มทิศวางรอบเส้นลวดตัวนาทั้งสองข้าง จะได้ทิศทางของสนามแม่เหล็ก บริเวณโดยรอบมี ทิศทาง กรณีโซเลนอยด์บริเวณภายในโซเลนอยด์ผงเหล็กมีการเรียงตัวอยู่ในแนวแกนโซเลนอยด์ ภายนอก รอบๆ โซเลนอยด์ ผงเหล็กจะเรยี งตวั คลา้ ยกบั การเรยี งตัวของผงเหล็กรอบแทง่ แม่เหล็ก ข้ันที่ 4 ขั้นขยายความรู้ ( 15 นาที ) 10. ครเู ปิดวดิ ีทัศน์เกย่ี วกับสนามแม่เหล็กทเ่ี กิดจากกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตวั นาใหน้ ักเรียนรับชม เพ่ือให้ นักเรียนได้เห็นภาพการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าได้ชัดเจนช่วยเพิ่มความเข้าใจให้นักเรียนได้มากขึ้นก่อนเข้าสู่ การคานวณในรายชั่วโมงต่อไป
ขนั้ ที่ 5 ประเมินผล ( 15 นาที ) 11. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม วัสด/ุ อุปกรณ์ สือ่ และแหล่งเรยี นรู้ 1. หนงั สอื เรียนฟิสกิ ส์ ม.6 เล่ม 1 สังกัด อจท. 2. หนงั สอื เรยี นฟิสกิ ส์ ม.6 เล่ม 5 สงั กดั สสวท. 3. PowerPoint เรื่อง กระแสไฟฟา้ ทาให้เกิดสนามแม่เหลก็ 4. วิดีทศั นก์ ารเรียนรู้ เร่ือง สนามแม่เหลก็ 5. หอ้ งเรยี น 6. ห้องสมดุ 7. แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ 8. ใบงานท่ี 1.3 สนามแม่เหล็กจากกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนา การวัดผลและประเมนิ ผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ วี ัด เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ 1. นักเรียนสามารถอธิบาย ตรวจใบงาน ใบงานที่ 1.3 สนาม ได้ระดับคุณภาพดี สนามแม่เหล็กของลวดตัวนา แม่เหล็กจากกระแส จึงผ่านเกณฑ์ เส้นตรง ลวดตัวนาวงกลม และ ไฟฟ้าผา่ นลวดตวั นา โซเลนอยด์ที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน ได้ (K) 2. นักเรียนสามารถสังเกตและ สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี ทดลองสนามแม่เหล็กของลวด ปฏิบตั กิ จิ กรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จงึ ผ่านเกณฑ์ ตัวนาเส้นตรง ลวดตัวนาวงกลม สงั เกตและทดลอง และโซเลนอยด์ที่มีกระแสไฟฟ้า ผา่ นได้ (P) 3. การทางานร่วมกับผู้อื่นได้ สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี อยา่ งสร้างสรรค์ (A) ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ จงึ ผ่านเกณฑ์ อยา่ งสรา้ งสรรค์ อย่างสร้างสรรค์ 4. คณุ ลักษณะดา้ นใฝ่เรยี นรู้ สงั เกตพฤติกรรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี ลักษณะอันพึงประสงค์ จงึ ผา่ นเกณฑ์ ด้านใฝเ่ รียนรู้
ความคิดเหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ................................................................ผู้บรหิ ารสถานศึกษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........
บนั ทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กิจกรรม ตารางที่ 1 ผลการประเมินดา้ นความรู้ (K) ลาดบั ท่ี ระดบั ชน้ั จานวน ดมี าก (4) สรปุ ผลการประเมนิ ปรับปรงุ (1) รวม นักเรียน 90% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 70% 10% - - 100% 2 ม.6/3 30 80% 30% - - 100% 3 ม.6/4 32 90% 20% - - 100% 4 ม.6/5 26 รวม 10% - 100% 29 100 ตารางท่ี 2 ผลการประเมินด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) ลาดับที่ ระดับชั้น จานวน ดีมาก สรุปผลการประเมิน ปรบั ปรุง รวม นักเรียน (16 – 20) ดี พอใช้ (1 – 5) 1 ม.6/1 100% (11 – 15) (6 – 10) 100% 2 ม.6/3 30 -- - 100% 3 ม.6/4 32 80% 20% - - 100% 4 ม.6/5 26 90% 10% - - 100% 29 100% -- - 100 รวม
บันทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กิจกรรม ตารางที่ 3 ผลการประเมินด้านเจตคติ (A) ลาดับท่ี ระดับช้ัน จานวน สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1 - 3) รวม นกั เรยี น ดีมาก (7 - 9) ดี (4 - 6) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 100% - - 100% 3 ม.6/4 32 80% 20% - 100% 4 ม.6/5 26 90% 10% 100% 29 100% - 100 รวม ตารางท่ี 4 ผลการประเมินด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ลาดบั ที่ ระดับช้นั จานวน ดมี าก (3) สรุปผลการประเมิน ไมผ่ า่ น (0) รวม นักเรียน 100% ดี (2) ผ่าน (1) - 1 ม.6/1 90% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% 10% - - 100% 4 ม.6/5 26 100% 29 รวม -- 100 --
บันทึกหลังการสอน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น ร้อยละ 10 ด้านทักษะ นักเรยี นทกุ คนมีทักษะในการสังเกตและทดลองไดด้ ีมาก คิดเปน็ ร้อยละ 100 ดา้ นเจตคติ นักเรียนทุกคนมเี จตคติทด่ี ีมาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ด้านสมรรถนะ นักเรียนมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์และสังเคราะหไ์ ด้ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ นกั เรียนทกุ คนมคี วามใฝเ่ รียนรทู้ ด่ี มี าก ปัญหา/อปุ สรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชอ่ื ..........................................................ผ้สู อน ( นางสาวไข่มุก สพุ ร )
บนั ทกึ หลังการสอน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/3 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นกั เรียนส่วนใหญ่เขา้ ใจเนื้อหาสาระไดด้ ีมาก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 70 และมีบางสว่ นเรยี นรูไ้ ดด้ ี คดิ เป็นรอ้ ย ละ 30 ดา้ นทกั ษะ นกั เรียนสว่ นใหญ่มีทักษะในการสังเกตและทดลองได้ดีมาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 80 และมีบางส่วนมีทักษะ ในการสงั เกตและทดลองได้ดี คดิ เปน็ ร้อยละ 20 ด้านเจตคติ นกั เรียนส่วนใหญ่มเี จตคตทิ ี่ดมี าก คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 และบางสว่ นมีเจตคติท่ีดี คดิ เปน็ ร้อยละ 20 ด้านสมรรถนะ นกั เรยี นสามารถคิดวิเคราะห์และสังเคราะหไ์ ด้ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ นกั เรียนสว่ นใหญ่มีความใฝ่เรยี นร้ทู ี่ดีมาก ปญั หา/อปุ สรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชอ่ื ..........................................................ผสู้ อน ( นางสาวไข่มกุ สพุ ร )
บนั ทกึ หลังการสอน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/4 ผลการสอน ด้านความรู้ นกั เรยี นส่วนใหญ่เขา้ ใจเนื้อหาสาระไดด้ มี าก คดิ เป็นร้อยละ 80 และมีบางสว่ นเรยี นรู้ไดด้ ี คดิ เป็นรอ้ ย ละ 20 ด้านทักษะ นกั เรียนส่วนใหญ่มที ักษะในการสงั เกตและทดลองได้ดีมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 90 และบางส่วนมที กั ษะใน การสงั เกตและทดลองได้ดี คดิ เปน็ ร้อยละ 10 ดา้ นเจตคติ นักเรียนส่วนใหญ่มเี จตคตทิ ด่ี มี าก คดิ เป็นร้อยละ 90 และบางส่วนมเี จตคตทิ ดี่ ี คิดเป็นรอ้ ยละ 10 ด้านสมรรถนะ นักเรียนมีความสามารถในการคิดวเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหไ์ ด้ ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ นักเรยี นทุกคนมีความใฝ่เรียนรู้ทีด่ มี าก ปญั หา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชอ่ื ..........................................................ผูส้ อน ( นางสาวไข่มุก สุพร )
บันทกึ หลังการสอน ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6/5 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นกั เรียนส่วนใหญเ่ ขา้ ใจเนือ้ หาสาระได้ดีมาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 90 และมบี างสว่ นเรยี นรไู้ ด้ดี คดิ เปน็ ร้อย ละ 10 ดา้ นทกั ษะ นักเรียนทกุ คนมีทกั ษะในการสังเกตและทดลองไดด้ มี าก คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ดา้ นเจตคติ นกั เรยี นทกุ คนมีเจตคตทิ ด่ี ีมาก คดิ เปน็ ร้อยละ 100 ดา้ นสมรรถนะ นกั เรยี นสามารถคิดวิเคราะห์และสงั เคราะห์ได้ ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นกั เรียนทกุ คนมคี วามใฝ่เรยี นรูท้ ีด่ มี าก ปัญหา/อปุ สรรค - แนวทางการแกไ้ ข - หมายเหตุ - ลงชอ่ื ..........................................................ผูส้ อน ( นางสาวไขม่ กุ สุพร )
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว30205 รายวชิ า ฟิสกิ ส์ 5 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ แมเ่ หล็กและไฟฟ้า เร่ือง แรงแมเ่ หลก็ ที่กระทาต่ออนภุ าคท่ีมีประจุไฟฟา้ วันท…่ี …….เดือน……………พ.ศ……………… เวลา……………………น. จานวน 1 ชัว่ โมง ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 ผสู้ อน นางสาวไข่มกุ สุพร สาระฟิสกิ ส์ 3. เข้าใจแรงไฟฟา้ และกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟ้า ศักยไ์ ฟฟ้า ความจุไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และกฎของ โอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงาน ไฟฟ้าและกาลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า การเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้าและกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลบั คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าและการส่ือสาร รวมท้งั นาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ผลการเรียนรู้ อธิบายและคานวณแรงแม่เหล็กที่กระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก แรงแมเ่ หล็กทก่ี ระทาต่อเสน้ ลวดท่ีมีกระแสไฟฟ้าผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก รศั มีความโค้งของการเคล่ือนที่ เมื่อประจุเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก รวมทั้งอธิบายแรงระหว่างเส้นลวดตัวนาคู่ขนานที่มีกระแสไฟฟ้า ผ่าน จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. นกั เรียนสามารถอธิบายแรงแม่เหล็กท่กี ระทาต่ออนุภาคและอธบิ ายรศั มีความโค้งของการเคล่ือนที่ ของอนภุ าคที่มปี ระจุไฟฟ้าเคลอื่ นท่ีในสนามแม่เหล็กได้ (K) 2. นักเรียนสามารถคานวณหาแรงแม่เหล็กที่กระทาต่ออนุภาคและคานวณหารัศมีความโค้งของการ เคลื่อนทข่ี องอนุภาคทมี่ ปี ระจุไฟฟ้าเคล่ือนที่ในสนามแม่เหลก็ รวมทง้ั ปรมิ าณท่ีเก่ียวขอ้ งได้ (P) 3. มคี วามมุ่งมัน่ ในการทางานและมีความอยากร้อู ยากเหน็ (A) สาระการเรียนรู้ เมอ่ื อนภุ าคทมี่ ปี ระจุไฟฟา้ +q เคลื่อนทดี่ ้วยความเรว็ v ทามมุ θ กบั สนามแม่เหล็ก B จะมีขนาดของ แรงแม่เหล็กกระทาต่ออนุภาค ตามสมการ ������ = ������������������������������������������ ทิศทางของแรงแม่เหล็ก หาได้โดยใช้มือขวา ชี้นิ้วทั้งสี่ไปตามทิศทางของความเร็ว แล้ววนนิ้วทั้งสี่ไปหาทิศทางสนามแม่เหล็กนิ้วหัวแม่มือจะชี้ทิศทางของ แรงแม่เหล็กซึ่งตั้งฉากกับความเร็วและสนามแม่เหล็ก หากเป็นประจุลบแรงที่กระทาต่อประจุลบจะมีทิศ ทางตรงข้ามกับทิศทางของนิ้วหัวแม่มือ กรณีที่อนุภาคเคลื่อนที่อยู่ในสนามแม่เหล็กโดยทิศทางความเร็วของ
อนุภาคตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กอนุภาคจะเคลื่อนที่แบบวงกลมในสนามแม่เหล็ก โดยมีรัศมีความโค้งของการ เคล่ือนท่ี r ตามสมการ ������ = ������������ ������������ สาระสาคญั แรงแมห่ ล็กกระทาตอ่ อนุภาคทม่ี ีประจุไฟฟา้ เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟอยู่ในสนามไฟฟ้า จะเกิดแรงไฟกระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้านั้นหาก อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงแม่เหล็กกระทาต่ออนุภาคนั้น หลอดรังสีแคโทด เป็นหลอดสุญญากาศชนดิ หนึ่ง ประกอบด้วยขั้วแคโทดและขั้วแอโนด สาหรับต่อเขา้ กับขั้วลบและขั้วบวกของ แหลง่ จ่ายไฟฟ้ากระแสตรงโวลต์สงู ตามลาดบั ดังรูป รูปตัวอยา่ งหลอดรังสแี คโทด เม่อื ต่อแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงโวลต์สูงเข้ากบั ข้วั แคโทดและแอโนด ทาให้อิเล็กตรอนหลุดจากแผ่น แคโทด C เคลื่อนที่ผ่านฉากที่ฉาบด้วยสารเรืองแสง (Phosphor) ไปยังแผ่นแอโนด A ซึ่งมีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่า แผ่นแคโทด C ทาให้ปรากฎเป็นแนวสว่างขึ้น เรียกว่า แนวการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนต่อขั้วแคโทดของ หลอดรังสีแคโทดเข้ากับขั้วลบ และต่อขั้วแอโนดเข้ากับขั้วบวกของแหล่งจ่าย ไฟฟ้ากระแสตรงโวลต์สูง (12000 – 15000 โวลต)์ ดงั รปู รปู การจัดอุปกรณ์ เปิดสวติ ซใ์ ห้เคร่ืองจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงโวลต์สูงทางาน สงั เกตผลทเี่ กิดขึ้นในกรณีนาขั้วเหนือของแท่ง แม่เหลก็ เข้าใกลห้ ลอดรงั สีแคโทด ในทิศทางตั้งฉากกับแนวการเคล่ือนท่ีของอิเล็กตรอนและในกรณสี ลับข้ัวแท่ง แม่เหล็กเปน็ ข้ัวใต้ จากสถานการณ์ข้างต้น เมื่อเปิดสวิตซ์แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงโวลต์สูง หลอดรังแคโทดทางาน จะเห็นแนวสว่างหรือแนวการเคล่ือนทข่ี องอเิ ล็กตรอนเปน็ เส้นตรงเกิดขน้ึ ระหว่างขั้วแคโทดและขั้วแอโนดดังรปู
รปู แนวการเคลือ่ นท่ขี องอิเลก็ ตรอนระหว่างข้วั แคโทดและขั้วแอโนด เมื่อนาขั้วเหนือของแท่งแม่เหล็กเข้าใกล้ในทิศทางตั้งฉากกับแนวการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน จะเห็น ว่าแนวการเคลื่อนทีข่ องอเิ ลก็ ตรอนเบนไปจากแนวเดมิ ดงั รูป อิเลก็ ตรอนเปน็ อนุภาค ประจไุ ฟฟ้ลบเคล่อื นท่ใี น ทิศทางตั้งฉากกบั สนามแม่เหลก็ ที่มีทิศทางออกจากฉาก แนวการเคลอ่ื นที่ อิเลก็ ตรอนจะเบนโค้งข้นึ ดงั รูป รปู การเบนของแนวการเคล่ือนทขี่ องอิเล็กตรอนเม่ือนาแม่เหลก็ ข้ัวเหนอื เข้าใกล้ เมื่อสลับขั้วแท่งแม่หล็ก โดยนาขัว้ ใต้ของแท่งแม่เหล็กเขา้ ใกล้หลอดรังสีแคโทด แนวการเคลื่อนที่ของ อเิ ลก็ ตรอนจะเบนจากแนวเดิมในทิศทางเบนโค้งลง ดังรปู การสลบั ขว้ั แท่งแม่เหล็กเป็นการเปลี่ยนทิศทางของ สนามแม่หล็ก ทาให้สนามแม่เหลก็ มีทิศทางเข้าสู่ฉาก ทาให้แนวการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนเบนโค้งลง ดังรูป รูปการเบนของแนวการเคลื่อนทีข่ องอเิ ล็กตรอนเมอ่ื นาแมเ่ หลก็ ขั้วใต้เข้าใกล้ การที่อิเล็กตรอนภายในหลอดรังสีแคโทดเคลื่อนที่เบนโค้งในสนามแม่เหล็ก แสดงว่ามีแรงเนื่องจาก สนามแมเ่ หลก็ กระทาต่ออิเลก็ ตรอน
ทศิ ทางของแรงแม่เหล็ก เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในทิศทางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก จะมีแรงเนื่องจากสนาม แม่เหล็กกระทาต่ออนุภาคนั้น หรือเรียกว่า แรงแม่เหล็ก (Magnetic force) พิจารณาทิศทางและขนาดของ แรงไดด้ ังน้ี ก.อนุภาคท่ีมีประจุไฟฟ้าบวกเคล่อื นท่ี ข.ทศิ ทางของแรงแมเ่ หล็กท่กี ระตอ่ ค.ทศิ ทางของแรงแมเ่ หลก็ ทก่ี ระตอ่ ทศิ ทางตง้ั ฉากกบั สนามแมเ่ หลก็ อนุภาคที่มีประจไุ ฟฟา้ บวก โดยใชม้ อื ขวา อนภุ าคท่มี ปี ระจไุ ฟฟ้าลบ โดยใชม้ อื ขวา รปู การหาทิศทางของแรงกระทาต่ออนุภาคท่ีมปี ระจุไฟฟา้ เคลือ่ นที่ในสนามแม่เหล็ก ทิศทางของแรงแม่เหล็กที่กระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าบวกเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว (������) ในทิศทาง ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก (B⃑ ) ดังรูป ก. หาทิศทางของแรงแม่เหล็กที่กระทาต่ออนุภาคโดยใช้มือขวา ชี้นิ้วท้งั ส่ี ไปตามทิศทางของความเรว็ แล้ววนน้วิ ทั้งส่ีไปหาทศิ ทางสนามแม่เหล็ก น้ิวหัวแมม่ อื จะชท้ี ศิ ทางของแรง (⃑F) ดัง รูป ข. สาหรับการหาทิศทางของแรงที่กระทาต่ออนุภาคที่มีประจุ ยังคงใช้มือขวา ในการหาทิศทางของแรง ⃑F ได้ แต่ทิศทางของแรงที่กระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าลบจะมีทิศทางตรงข้ามกับทิศของนิ้วหัวแม่มือ ดังรปู ค. ขนาดของแรงแม่เหลก็ สาหรับอนุภาคท่ีมปี ระไฟฟ้าแต่อยนู่ ิง่ ในสนามแม่เหลก็ ดงั รปู ก. หรอื เคล่ือนที่ในแนวขนานกนั ทศิ ทาง สนามแม่เหล็ก ดังรปู ข. และ ค. ตามลาดบั จะไมม่ แี รงแม่เหล็กกระทากับอนภุ าคนัน้ รูปแรงแมเ่ หลก็ ที่กระทาอนภุ าคท่มี ีประจไุ ฟฟ้าท่ีอยนู่ ่ิงหรือเคล่อื นที่ขนานกบั สนามแม่เหลก็ มคี ่าเป็นศูนย์ รปู แรงแม่เหล็กที่กระทาต่ออนุภาคที่มปี ระจุไฟฟ้าและเคล่ือนทตี่ ้ังฉากกบั สนามแม่เหล็ก
แต่ในกรณีอนุภาคเคลื่อนที่ในแนวตั้งฉากกับทิศทางของสนามแม่เหล็ กจะมีแรงแม่เหล็กกระทาต่อ อนุภาคโดยขนาดแรงแม่เหล็กหาไดจ้ ากสมการ ������ = ������������������ เมอื่ ������ คอื ขนาดของแรง มีหนว่ ย นิวตนั (N) ������ คือ ขนาดของประจุไฟฟ้า มหี น่วย คลู อมบ์ (C) ������ คอื ขนาดของความเร็ว มีหนว่ ย เมตรต่อวินาที (m/s) ������ คือ ขนาดของสนามแม่เหลก็ มีหน่วย เทสลา (T) ในกรณีอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว ������ ทามุม ������ กับสนามแม่เหล็ก ���⃑��� ดังรูป ก. พิจารณาได้ว่าอนุภาคนี้มีองค์ประกอบความเร็วของการเคลื่อนที่ทั้งในแนวขนานกับสนามแม่เหล็ก และใน แนวตงั้ ฉากกับสนามแม่เหลก็ พรอ้ มกัน ดังรปู ข. รปู แสดงอนุภาคทม่ี ีประจุไฟฟ้าเคล่ือนทด่ี ว้ ยความเร็ว ������ ทามุม ������ กับสนามแม่เหล็ก ���⃑��� การเคลอ่ื นทใี่ นแนวขนานกบั สนามแม่เหล็กจะไม่มแี รงแมเ่ หล็กกระทาต่ออนภุ าค ส่วนการเคลื่อนท่ีใน แนวตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กจะมีแรงแม่เหล็กกระทาตามสมการ ������ = ������������������ โดยความเร็วในสมการนี้มีค่า เท่ากับองค์ประกอบความเร็วในแนวตั้งฉาก (������������������������������) นั่นคือในกรณีนี้ขนาดของแรง ������ ที่กระทาต่ออนุภาค หาไดจ้ ากสมการ ������ = ������(������������������������������)������ ������ = ������������������������������������������ เม่อื ������ เปน็ มมุ ระหว่างความเร็ว ������ ของอนภุ าคกับสนามแม่เหล็ก ���⃑��� การเคล่อื นท่ีของนุภาคท่มี ีประจุไฟฟา้ ในสนามแม่เหล็ก เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กจะมีแรงแม่เหล็กกระทาต่ออนุภาคดังกล่าว หากความเร็วของอนุภาคนี้มีทิศทางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กตลอดเวลา อนุภาคจะมีการเคลื่อนที่เป็นแบบใด พิจารณาได้ตั้งน้ี เมอื่ อนุภาคมีประจุไฟฟ้าบวก q มวล m เคลอ่ื นทดี่ ้วยความเร็ว ������ ในทิศทางตงั้ ฉากกับสนามแม่เหล็ก ���⃑��� แรงแม่เหล็ก ������ ที่เกิดขึ้นมีทิศทางตั้งฉากกับความเร็วตลอดเวลา ทาให้อนุภาคมีประจุไฟฟ้าบวกเคลื่อนท่ี แบบวงกลมในสนามแมเ่ หลก็ ดงั รปู
รูปแสดงอนภุ าคท่ีมปี ระจุไฟฟ้าบวกเคลอื่ นทแ่ี บบวงกลมในสนามแม่เหลก็ พิจารณารัศมีการเคลื่อนที่แบบวงกลม (r) ของอนุภาคมีประจุไฟฟ้าได้ดังนี้ แรงแม่เหล็กตั้งฉากกับ ความเร็วตลอดเวลาและทาหน้าท่ีเป็นแรงสู่ศนู ย์กลาง จะได้ ������������2 ������ = ������������ ������������������ = ������ หรือ ������������ ������ = ������������ เมอ่ื r คือ รัศมีการเคลอ่ื นทแ่ี บบวงกลมของอนภุ าคมวล m ทม่ี ีประจุไฟฟา้ q สมรรถนะสาคัญ ความสามารถในการคิด - ทกั ษะการคดิ วิเคราะห์ - ทกั ษะการคิดสังเคราะห์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (จิตวทิ ยาศาสตร)์ ความมุ่งมั่นในการทางานและมีความอยากรู้อยากเหน็ นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจความต้องการ ที่จะรู้และเสาะแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่สนใจหรือต้องการค้นพบสิ่งใหม่ แสดงออกได้โดยการถาม คาถาม หรือมีความสงสัยในสงิ่ ท่สี นใจอยากรู้ มีความกระตอื รอื ร้นในการเสาะแสวงหาข้อมลู ท่ีเกย่ี วข้องกับสิ่งท่ี สนใจ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพียรพยายาม ทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจ ในการปฏิบัติ กจิ กรรมต่างๆ ใหส้ าเรจ็ ลลุ ่วงตามเป้าหมายทกี่ าหนดดว้ ยความรบั ผดิ ชอบ และมีความภาคภูมใิ จในผลงาน ชิ้นงาน/ภาระงาน ใบงานที่ 1.4 แรงแมเ่ หล็กทกี่ ระทาต่ออนภุ าคที่มปี ระจไุ ฟฟา้
กิจกรรมการเรียนรู้ วธิ สี อนใช้รูปแบบวงจรการเรยี นรู้ 5 ขัน้ ตอน (5E Learning Cycle model) ขน้ั ท่ี 1 ข้ันสร้างความสนใจ ( 5 นาที ) 1. ครูทบทวนเกี่ยวกับครูทบทวนความรู้เดิมในหัวข้อเรื่อง สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าผ่าน ลวดตัวนา 2. ครตู งั้ คาถามเพอื่ นาเขา้ ส่กู ารทากจิ กรรม โดยมีประเด็นคาถาม ดังตอ่ ไปนี้ - หากอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนท่ีในบรเิ วณทีม่ ีสนามแม่เหลก็ และไม่มสี นามแม่เหล็ก จะเกิด แรงแมเ่ หล็กกระทาตอ่ อนภุ าคนั้นหรือไม่ อยา่ งไร - ลกั ณะการเคลือ่ นทขี่ องอนุภาคเป็นอยา่ งไร (แนวคาตอบ ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ โดยไม่คาดหวังคาตอบที่ ถูกต้อง) ขน้ั ท่ี 2 ขั้นสารวจและคน้ หา ( 25 นาที ) 3. ครูสาธิตการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็กด้วยหลอดรังสีแคโทด จากนั้นให้นักเรียน สังเกตแนวการเคลอ่ื นท่ีของอเิ ล็กตรอนและตอบคาถาม โดยมีประเด็นคาถาม ดงั ตอ่ ไปน้ี - จากการสาธติ เมอื่ ไมม่ ีสนามแม่เหล็ก แนวการเคลื่อนทข่ี องอเิ ล็กตรอนเปน็ อย่างไร - จากการสาธิต เมอ่ื มีสนามแม่เหล็ก แนวการเคล่อื นท่ีของอิเลก็ ตรอนเปน็ อย่างไร 4. ครูนานักเรียนศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหา และแจกใบกิจกรรม ตามรายละเอียดในใบงานที่ 1.4 แรง แม่เหลก็ ทีก่ ระทาตอ่ อนุภาคท่ีมปี ระจุไฟฟ้า 5. ครชู ้ีแจงจดุ ประสงคแ์ ละวธิ กี ารปฏิบตั ิกจิ กรรมให้นักเรียนทราบ 6. ให้นักเรียนแต่ละคนคานวณหาคานวณหาแรงแม่เหลก็ ที่กระทาต่ออนุภาคและคานวณหารัศมีความ โค้งของการเคล่ือนทีข่ องอนุภาคท่ีมปี ระจุไฟฟ้าเคลื่อนท่ีในสนามแม่เหลก็ รวมทั้งปริมาณที่เกี่ยวขอ้ งจากโจทย์ ทีก่ าหนดให้ 7. นักเรยี นลงมอื ปฏิบตั ิกจิ กรรม และรายงานผล ขน้ั ที่ 3 ขน้ั สร้างคาอธบิ ายและลงข้อสรุป ( 15 นาที ) 8. สมุ่ นักเรยี นออกมานาเสนอผลการปฏิบัติกิจกรรมหน้าชั้นเรียน 9. ครูให้นักเรียนร่วมกนั อภปิ รายเพอ่ื นาไปส่กู ารสรปุ โดยใชค้ าถามต่อไปน้ี - จากการสาธิต เม่อื ไม่มสี นามแมเ่ หล็ก แนวการเคลอื่ นทข่ี องอิเลก็ ตรอนเปน็ อย่างไร (แนวคาตอบ เม่อื ไมม่ ีสนามแมเ่ หล็กการเคลอ่ื นท่ีของอิเล็กตรอนเปน็ แนวเสน้ ตรง แสดงว่าไม่มี แรงกระทาตอ่ อเิ ลก็ ตรอน)
- จากการสาธติ เมอ่ื มสี นามแมเ่ หล็ก แนวการเคลื่อนทีข่ องอเิ ลก็ ตรอนเป็นอยา่ งไร (แนวคาตอบ เมอ่ื มีสนามแม่เหลก็ โดยนาขั้วเหนือหรอื ขวั้ ใตข้ องแทง่ แม่เหล็กใกลก้ ับแนวการ เคลอื่ นท่ีของอเิ ลก็ ตรอนในทิศทางตั้งฉาก แนวการเคลื่อนท่ีของอเิ ลก็ ตรอนจะเบนตรงข้ามกนั ) 10. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ เรื่อง แรงแม่เหล็กที่กระทาต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ดังนี้ อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า q เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v ในทิศตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ���⃑��� จะมีแรงแม่เหล็ก ������ กระทาต่ออนุภาคที่มีขนาด F=qvB ถ้าอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v มีทิศทางทามุม θ กับ สนามแม่เหล็ก ���⃑��� จะมแี รงแมเ่ หล็ก ������ กระทาต่ออนุภาคมีขนาด F=qvBsinθ ทิศทางของแม่เหล็กท่ีกระทาต่อ อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v หาได้โดยใช้มือขวา ชี้นิ้วทั้งสี่ไปตามทิศทางของความเร็วแล้ว วนนิ้วทั้งสี่ไปทิศทางสนามแม่เหล็ก นิ้วหัวแม่มือจะชี้ทิศทางของแรงที่กระทาต่อประจุบวก ซึ่งตั้งฉากกับ ความเร็วและสนามแม่เหล็ก ส่วนประจุลบ ใช้มือขวาหาทิศทางของแรงได้เช่นกัน แต่นิ้วหัวแม่มือจะชี้ทิศตรง ข้ามกับทิศทางของแรงกระทาต่อประจุลบ และอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าอยู่นิ่งในสนามแม่เหล็กหรือเคลื่อนที่ใน แนวขนานกบั ทิศทางของสนามแมเ่ หล็กจะไมม่ ีแรงแมเ่ หล็กกระทากับอนุภาคนั้น ขั้นท่ี 4 ข้นั ขยายความรู้ ( 10 นาที ) 11. ครูให้นักเรียนฝึกทาโจทย์การคานวณเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มทักษะการคานวณให้กับนักเรียนเพื่อความ แมน่ ยาในการทาแบบฝึกหัดและทาขอ้ สอบต่อไป ข้นั ที่ 5 ประเมินผล ( 15 นาที ) 12. ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนในขณะที่ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมและ การนาเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรม วสั ด/ุ อุปกรณ์ สื่อและแหล่งเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรียนฟิสิกส์ ม.6 เลม่ 1 สงั กดั อจท. 2. หนงั สอื เรียนฟสิ ิกส์ ม.6 เลม่ 5 สังกดั สสวท. 3. PowerPoint เรอื่ ง กระแสไฟฟ้าทาใหเ้ กดิ สนามแม่เหลก็ 4. ห้องเรียน 5. หอ้ งสมุด 6. แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ 7. ใบงานที่ 1.4 แรงแม่เหลก็ ทีก่ ระทาต่ออนุภาคท่มี ปี ระจุไฟฟา้
การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธีวดั เครื่องมอื เกณฑ์การประเมิน 1. นักเรียนสามารถอธิบายแรง ตรวจใบงาน ใ บ ง า น ท ี ่ 1.4 แ ร ง ได้ระดับคุณภาพดี แม่เหล็กที่กระทาต่ออนุภาค แม่เหล็กที่กระทาต่อ จึงผ่านเกณฑ์ และอธิบายรัศมีความโค้งของ อนภุ าคท่ีมปี ระจไุ ฟฟ้า การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มี ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ใน สนามแม่เหลก็ ได้ (K) 2. นักเรียนสามารถคานวณหา สังเกตและประเมินการ แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ก า ร ได้ระดับคุณภาพดี แรงแม่เหล็กที่กระทาต่ออนุภาค ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมการ จงึ ผา่ นเกณฑ์ แ ล ะค า น ว ณห าร ั ศมี คว ามโ ค้ ง คานวณ ของการเคลือ่ นท่ีของอนุภาคที่มี ประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ใน สนามแมเ่ หล็ก รวมทงั้ ปริมาณที่ เกี่ยวขอ้ งได้ (P) 3. มีความอยากร้อู ยากเหน็ (A) สังเกตและประเมินการมี แบบประเมินการความ ได้ระดับคุณภาพดี ความอยากร้อู ยากเห็น มอี ยากรูอ้ ยากเหน็ จึงผา่ นเกณฑ์ 4. คณุ ลักษณะดา้ นมุ่งม่ันในการ สังเกตพฤติกรรม แ บ บ ป ร ะ เ ม ิ น ค ุ ณ - ได้ระดับคุณภาพดี ทางาน ลักษณะอันพึงประสงค์ จึงผา่ นเกณฑ์ ด้านมุ่งมั่นในการทา งาน ความคิดเหน็ ของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่อื ................................................................ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา (…………………….………….……….………………………….) ........./........................./.........
บนั ทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางท่ี 1 ผลการประเมนิ ด้านความรู้ (K) ลาดบั ที่ ระดับชน้ั จานวน ดมี าก (4) สรุปผลการประเมิน ปรบั ปรุง (1) รวม นกั เรยี น 80% ดี (3) พอใช้ (2) - 1 ม.6/1 70% 20% - - 100% 2 ม.6/3 30 90% 30% - - 100% 3 ม.6/4 32 70% 10% - - 100% 4 ม.6/5 26 รวม 30% - 100% 29 100 ตารางท่ี 2 ผลการประเมินด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P) ลาดบั ที่ ระดบั ชั้น จานวน สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1 – 4) รวม นักเรียน ดมี าก (9 – 12) ดี (5 – 8) - 1 ม.6/1 - 100% 2 ม.6/3 30 80% 20% - 100% 3 ม.6/4 32 70% 30% - 100% 4 ม.6/5 26 90% 10% 100% 29 70% 30% 100 รวม
บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ผลการจดั กจิ กรรม ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ ดา้ นเจตคติ (A) ลาดับท่ี ระดับชน้ั จานวน ดีมาก (3) สรุปผลการประเมิน พอใช้ (1) รวม นกั เรียน 90% ดี (2) - 1 ม.6/1 80% 10% - 100% 2 ม.6/3 30 100% 20% - 100% 3 ม.6/4 32 80% - - 100% 4 ม.6/5 26 รวม 20% 100% 29 100 ตารางท่ี 4 ผลการประเมนิ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ลาดับที่ ระดับช้ัน จานวน ดมี าก (3) สรปุ ผลการประเมนิ ไมผ่ า่ น (0) รวม นักเรียน 100% ดี (2) ผ่าน (1) - 1 ม.6/1 100% - 100% 2 ม.6/3 30 100% -- - 100% 3 ม.6/4 32 100% -- - 100% 4 ม.6/5 26 -- 100% 29 รวม -- 100
บนั ทึกหลงั การสอน ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6/1 ผลการสอน ดา้ นความรู้ นักเรียนส่วนใหญ่เข้าใจในเนื้อหาสาระได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนเรียนรู้ได้ดี คิดเป็น ร้อยละ 20 ด้านทักษะ นักเรียนส่วนใหญ่มีทักษะในการคานวณได้ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 80 และมีบางส่วนมีทักษะในการ คานวณไดด้ ี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 20 ด้านเจตคติ นกั เรยี นส่วนใหญ่มีเจตคติที่ดมี าก คดิ เป็นรอ้ ยละ 90 และมีบางสว่ นมีเจตคตทิ ่ดี ี คิดเปน็ รอ้ ยละ 10 ด้านสมรรถนะ นักเรยี นมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์และสังเคราะห์ได้ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรยี นทุกคนมีความมุ่งมัน่ ในการทางานทีด่ ีมาก ปัญหา/อุปสรรค - แนวทางการแก้ไข - หมายเหตุ - ลงชือ่ ..........................................................ผ้สู อน ( นางสาวไขม่ ุก สพุ ร )
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174