หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 93 เพื่อรองรับระบบสุขภาพทยี่ ดื หยนุ่ รองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ Learning objectives • Explain the role of resilient infrastructure and innovations in healthcare facilities • Describe interventions for optimal use of sustainable technology in services and equipment • Case study of best practices วัตถปุ ระสงค์ในการเรยี นรู้ - อธบิ ายบทบาทของโครงสรา้ งพน้ื ฐานและนวตั กรรมทม่ี คี วามยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ - อธบิ ายมาตรการส�ำหรับการใชเ้ ทคโนโลยที ่ยี ัง่ ยืนในการใหบ้ รกิ ารและอุปกรณ์อยา่ งเหมาะสมท่ีสุด - กรณีศึกษาแนวทางปฏิบัติท่ดี ี Contents • Structural and functional components of healthcare • Impacts of acute climate events on health infrastructure and services • Facility-level interventions for climate resilient and environmentally sustainable infrastructure • Key objectives of successful implementation including adaptation of current systems and infrastructure and promotion of new innovative systems • Examples of specific interventions เนือ้ หา - โครงสรา้ งและสภาพการทำ� งาน ทเี่ ป็นองคป์ ระกอบของการดูแลสุขภาพ - ผลกระทบของเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเฉียบพลันต่อโครงสร้างพ้ืนฐานและ การใหบ้ ริการด้านสขุ ภาพ - มาตรการของสถานบริการสาธารณสุข เพ่ือโครงสร้างพ้ืนฐานที่ยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปล่ียนแปลง สภาพภูมอิ ากาศและย่ังยืนดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม - วัตถุประสงค์ส�ำคัญเพ่ือการด�ำเนินการที่ประสบความส�ำเร็จประกอบด้วย การปรับเปล่ียนของระบบ และผลในปัจจบุ นั และสง่ เสรมิ ให้มีระบบท่เี ป็นนวัตกรรมใหม่ - ตัวอย่างมาตรการเฉพาะ
94 หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุข เพื่อรองรับระบบสุขภาพที่ยดื หยนุ่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Understanding healthcare infrastructure An optimally functioning STRUCTURAL COMPONENTS health care facility must • Appropriate siting account for structural and • Sturdy building materials for foundations, walls and beams functional efficiency FUNCTIONAL COMPONENTS • Planned surge capacity of personnel • Resource capacity of essential services- energy, water and food supply, waste management • Placeme of critical function areas, defined emergency access and exit routes OVERALL AWARENESS & CAPACITY BUILDING ท�ำความเขา้ ใจ สาธารณปู โภคของสถานบรกิ ารสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสขุ ทด่ี �ำเนนิ การไดด้ ีต้องค�ำนึงถึงประสทิ ธิภาพเชิงโครงสรา้ งและการใชง้ าน องค์ประกอบดา้ นโครงสรา้ ง - ความเหมาะสมของสถานท่ีตง้ั สถานบริการสาธารณสขุ - วสั ดกุ ่อสรา้ งที่แขง็ แรง ทั้งตวั ฐานราก ผนัง และคาน องคป์ ระกอบดา้ นการใชง้ าน (เชน่ พลังงานไฟฟา้ นำ�้ อาหาร ของเสีย เวชภณั ฑ์ ยา อปุ กรณ์ทางการแพทย์) - มแี ผนเพิม่ ศักยภาพและก�ำลังพลของบคุ ลากร - มที รพั ยากรทม่ี ศี กั ยภาพทจ่ี ำ� เปน็ ตอ่ การใหบ้ รกิ าร เชน่ พลงั งาน การจดั หานำ้� และอาหาร การจดั การของเสยี - การก�ำหนดพ้นื ที่การใชง้ านฉุกเฉนิ การกำ� หนดเส้นทางเข้าและทางออกฉกุ เฉิน การสรา้ งขีดความสามารถและความตระหนักรู้ในภาพรวม - ต้องมีการส่ือสาร สร้างความตระหนักรู้ พัฒนาศักยภาพแก่บุคลากรสาธารณสุขท้ังหมดในสถานบริการ สาธารณสุข
หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุข 95 เพอ่ื รองรบั ระบบสขุ ภาพที่ยืดหยนุ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Rcaorlee of infrastructure and technology in health • Structural and non-structural components must be operational and functional during and after climate stresses and shocks • Health and well-being of care-providers, patients and communities is dependent on continuous access to functional health facilities • Infrastructure and materials used for building new and retrofitting existing health facilities must account for environmental and occupational health hazards • Acute climate events may compromise care delivery practices and a contingency plan must be ready at all times for climate-related emergencies • Newer care models such as telemedicine and digital health services including mhealth must be leveraged to ensure uninterrupted access to care แนวทางการระบบสาธารณปู โภคและเทคโนโลยีในการบรกิ ารด้านสุขภาพ - องค์ประกอบเชิงโครงสร้างและองค์ประกอบที่ไม่ใช่โครงสร้าง จะต้องพร้อมปฏิบัติงานและท�ำงานได้ ระหว่างและหลังเหตุการณ์สภาพภมู อิ ากาศท่มี คี วามเครยี ดและช็อก - สขุ ภาพและคณุ ภาพชีวิตของผใู้ ห้การดูแล ผู้ป่วยและชมุ ชน ขน้ึ อยู่กบั การเขา้ ถึงสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ที่เปิดทำ� การไดต้ ลอดเวลา - โครงสร้างพ้ืนฐานและวัสดุท่ีใช้ในการสร้างสถานบริการสาธารณสุขใหม่ และการปรับปรุงสถานบริการ สาธารณสขุ ทมี่ อี ยู่ตอ้ งคำ� นึงถึงสง่ิ คกุ คามด้านสง่ิ แวดลอ้ มและดา้ นอาชวี อนามัย - เหตกุ ารณก์ ารเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศเฉยี บพลนั อาจสง่ ผลกระทบตอ่ การปฏบิ ตั งิ านในการดแู ลรกั ษา แผนฉกุ เฉินจะตอ้ งพรอ้ มใช้ตลอดเวลาส�ำหรับสถานการณฉ์ กุ เฉินท่เี กยี่ วข้องกับสภาพภมู อิ ากาศ - รูปแบบการดแู ลรกั ษาใหมๆ่ เชน่ เทเลเมดิซนี และการบริการสขุ ภาพแบบดิจิตอล รวมถึง mhealth** ตอ้ งถกู นำ� มาใชป้ ระโยชน์ เพื่อใหแ้ นใ่ จวา่ สามารถเขา้ ถึงการดูแลรกั ษาไดอ้ ย่างตอ่ เน่อื ง ** Mhealth หรือ เทคโนโลยีอุปกรณ์ทางสุขภาพเคล่ือนท่ี หรือเทคโนโลยีส่ือสารท่ีใช้ระบบติดตามดูแลสุขภาวะ ด้วยปัญญาประดษิ ฐ์ (AI) ของโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ ปจั จบุ ันได้กลายเปน็ เคร่อื งมือสำ� คัญในการดแู ลสขุ ภาพร่างกาย ด้วยตนเองของผคู้ นทัว่ โลก
96 หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ เพือ่ รองรบั ระบบสุขภาพท่ียดื หยุ่นรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Iamndpatcetcshonfolcolgimyaitnehveaarlitahbiflaitcyiloitniesinfrastructure • Acute climatic events can damage infrastructure by either impacts on the facility building itself, for example, getting submerged during floods if at a low-lying site. • Storms can impact access to water supplies and disrupt energy supply from the grid • Interrupted power access can cause disruption of patient services and affect hospital staff and patient safety and comfort. • Fluctuations in power supply can also damage medical equipment. • Overall access to the healthcare facility may also be disrupted if emergency access and exits are not included in building design stage. • Information and telecommunication services can be disrupted thereby hampering connectivity with critical stakeholders and resources. ผลกระทบของความแปรปรวนของสภาพภมู อิ ากาศตอ่ โครงสรา้ งพน้ื ฐานและเทคโนโลยใี นสถานบริการสาธารณสขุ - เหตุการณ์การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศแบบเฉียบพลันสามารถสร้างความเสียหายต่อโครงสร้าง พ้นื ฐานกระทบต่อตวั อาคารสถานที่ เช่น จมน�้ำในช่วงน�ำ้ ท่วมหากอยใู่ นพื้นที่ต่�ำ - พายุอาจสง่ ผลกระทบต่อการเข้าถึงแหลง่ น�้ำประปา และขัดขวางการจ่ายพลังงานจากโครงขา่ ยไฟฟา้ - การเขา้ ถงึ ไฟฟา้ ขดั ขอ้ ง อาจทำ� ใหก้ ารบรกิ ารผปู้ ว่ ยหยดุ ชะงกั และสง่ ผลตอ่ ความปลอดภยั และความสะดวก ของผู้ป่วยและเจา้ หนา้ ท่ีโรงพยาบาล - ความผันผวนของกระแสไฟ อาจทำ� ใหอ้ ุปกรณท์ างการแพทยเ์ สียหายได้ - การเข้าถึงสถานบริการสาธารณสุขในภาพรวมอาจหยุดชะงักได้เช่นกัน หากทางเข้าและทางออกฉุกเฉิน ไม่รวมอย่ใู นข้นั ตอนการออกแบบอาคาร - การให้บริการด้านข้อมูลและโทรคมนาคมอาจขัดข้องได้ ซ่ึงจะเป็นอุปสรรคต่อการเช่ือมต่อกับ ผมู้ ีสว่ นเก่ียวข้องและแหล่งขอ้ มลู ทีส่ �ำคัญในภาวะฉุกเฉนิ
หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ 97 เพอ่ื รองรับระบบสุขภาพที่ยดื หยนุ่ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Otebcjhencotilvoegsy f&orpirmopdluecmt einntteartvioenntoiof ninsfrastructure, Lorem ipsum dolor Lorem ipsum dolor sit amet, adipiscing elit, sed diam nibh euismod. Lorem ipsum Lorem ipsum dolor 12.390 Lorem ipsum dolor Lorem ipsum dolor sit sit amet, adipiscing. Lorem sit. amet, adipiscing elit, sed diam nibh euismod tincidunt ut laoreet dolore. ACDE FG Lorem ipsum Lorem ipsum Lorem ipsum dolor sit amet, adipiscing Lorem ipsum dolor Lorem ipsum dolor sit 1703 elit, sed diam. Lorem ipsum dolor sit amet sed amet, adipiscing elit, sed 628 1440 diam. diam nibh euismod tincidunt ut laoreet 176 dolore. 142 Ut wisi enim ad minim veniam, quis nostrud 116 exerci tation. 81 AAAA ABCD Lorem ipsum dolor Lorem ipsum dolor sit amet, adipiscing elit, sed diam nibh euismod tincidunt ut laoreet dolore. Big Data Lorem ipsum dolor MATCH Lorem ipsum dolor sit amet, adipiscing elit, sed Lorem ipsum Lorem ipsum dolor sit amet, diam nibh euismod tincidunt ut laoreet dolore. 2000 lorem adipiscing elit, sed diam. 1257 lorem Lorem ipsum Lorem Lorem ipsum Lorem ipsum dolor sit amet, Stat A Lorem ipsum dolor sit amet, adipiscing elit, adipiscing elit, sed diam. Stat A 668 lorem sed diam nibh euismod tincidunt ut laoreet 163 Stat A 1524 lorem dolore. Stat A ADAPTATION OF CURRENT PROMOTION OF NEW SUSTAINABILITY OF HEALTH SYSTEMS & INFRASTRUCTURES SYSTEMS & TECHNOLOGIES CARE FACILITY OPERATIONS • Assessing facilities for • Strengthening HIS with • Ensure sufficient emergency exposure to climate hazards climate information and early room surge capacity • Building or retrofitting HCFs warning systems to help • Stockpile essential supplies to cope with extreme weather early ฅhealth interventions and pharmaceuticals in events ensuring their resilience, • Equip HCF with proven smart accordance with national safety and continuous materials and applications, guidelines operation sensors, low power • Ensure appropriate backup • Building capacity of health electronics and similar health arrangements available for personnel to handle care appropriate technology essential lifelines, including environmentally sustainable (suchas telemedicine, remote water, power and oxygen actions sensing systems) วัตถุประสงค์การดำ� เนนิ การ ตามมาตรการดา้ นระบบสาธารณปู โภค เทคโนโลยี และผลติ ภณั ฑ์ต่างๆ การปรบั ตัวของระบบและโครงสรา้ งพ้ืนฐานปจั จบุ นั - ประเมนิ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ถงึ ความเสย่ี งการสัมผสั กบั ส่งิ คุกคามดา้ นสภาพภมู ิอากาศ - สรา้ งหรอื ปรับปรงุ HCF เพ่อื รบั มอื กบั สภาพอากาศทร่ี ุนแรง เพ่อื ใหย้ ืดหยนุ่ พรอ้ มรบั มอื มคี วามปลอดภยั และดำ� เนินงานไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง - สรา้ งขดี ความสามารถของบุคลากรดา้ นสขุ ภาพในการปฏบิ ัตกิ ารดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มทย่ี ัง่ ยืน การสง่ เสรมิ ใหม้ รี ะบบและเทคโนโลยีใหม่ - สรา้ งความเขม้ แขง็ ระบบขอ้ มลู ดา้ นสขุ ภาพ (HIS) ดว้ ยขอ้ มลู สภาพอากาศและระบบการเตอื นภยั ลว่ งหนา้ ท่ี เป็นมาตรการช่วยปอ้ งกันสุขภาพได้ลว่ งหนา้ - ใน HCF ติดตั้งวัสดุและเครื่องมือท่ีมีความเป็นอัจฉริยะ เซ็นเซอร์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ไฟน้อย ขภาพเสมือนจริง (เชน่ telemedicine ระบบการรกั ษาระยะไกล) ความยง่ั ยืนของการด�ำเนินงานของสถานบริการสาธารณสุข - ตรวจสอบให้แนใ่ จว่าห้องฉุกเฉนิ มคี วามจเุ พยี งพอ - สะสมเสบยี งและเวชภณั ฑ์ท่จี ำ� เปน็ ตามแนวทางของประเทศ - ทำ� ให้แน่ใจว่ามีการจัดเตรียมและสำ� รองนำ้� พลังงานและออกซเิ จน อยา่ งเหมาะสมสำ� หรบั การดแู ลผูป้ ว่ ย ท่จี ำ� เปน็
98 หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ เพือ่ รองรับระบบสขุ ภาพทยี่ ืดหยุ่นรองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Iinnftrearsvternutciotunrse faonrdCtliemcahtneolroegsyilieinncheeafoltrh facilities ADAPTATION OF • Evaluate condition and safety of structural and non-structural elements CURRENT SYSTEMS & of the health care facility, resulting from previous exposure to natural INFRASTRUCTURES and other hazards • Information and telecommunications systems safely secured with backup arrangement (via cloud, satellite) to satisfy the facility’s demand, at all times • Assess safety of the location of critical services and equipment in case of flooding PROMOTION OF NEW • National and local early warning system developed for early action to SYSTEMS & respond to extreme weather events • Health workers trained to respond to new infectious diseases threats TECHNOLOGIES emerging from climate related events or environmentally related, including post-disaster case management and proper infection prevention and control • Devices and equipment installed for monitoring indoor temperatures, cooling existing buildings and spaces, blocking direct sun, increasing air flow in case of extreme heat SUSTAINABILITY OF • Health care facility’s health emergency plan available for preparedness HEALTH CARE and response with a clear budget line FACILITY • Safe access to critical backup supplies and resources are available OPERATIONS (for medical equipment, laboratory and treatment supplies, personal protective equipment, technical experts, alternative energy supplies) มาตรการเพอื่ ความยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ดา้ นระบบสาธารณปู โภคและเทคโนโลยขี อง สถานบริการสาธารณสขุ การปรบั ตวั ของระบบและระบบสาธารณูปโภคปจั จบุ นั - ประเมินสภาพและความปลอดภยั ขององคป์ ระกอบเชิงโครงสร้างและท่ไี ม่ใชโ่ ครงสรา้ งของสถานบรกิ าร สาธารณสขุ อนั เปน็ ผลมาจากการเผชญิ ภัยธรรมชาตแิ ละอันตรายอนื่ ๆ ในอดตี - ระบบสารสนเทศและโทรคมนาคมไดร้ บั การรกั ษาความปลอดภยั ดว้ ยการจดั การสำ� รองขอ้ มลู (ผา่ น Could ดาวเทยี ม) เพือ่ ตอบสนองตอ่ ความต้องการของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ไดต้ ลอดเวลา - ประเมินความปลอดภัยของสถานทท่ี ี่ใหบ้ ริการและอุปกรณท์ สี่ ำ� คัญในกรณีน�้ำท่วม
หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสุข 99 เพอ่ื รองรับระบบสขุ ภาพทีย่ ืดหยนุ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การสง่ เสรมิ ใหม้ รี ะบบและเทคโนโลยีใหม่ - มรี ะบบเตอื นภยั ลว่ งหนา้ ระดบั ประเทศและระดบั ทอ้ งถนิ่ ทพี่ ฒั นาขนึ้ สำ� หรบั การดำ� เนนิ การเตอื นภยั ลว่ งหนา้ เพื่อตอบโตเ้ หตกุ ารณ์สภาพอากาศสุดขั้ว - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้รับการอบรมให้ตอบโต้ต่อภัยคุกคามโรคติดเช้ือใหม่ๆ ท่ีเกิดจากเหตุการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับสภาพภูมิอากาศหรือที่เก่ียวข้องกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงการจัดการกรณีหลังภัยพิบัติและ การปอ้ งกันและควบคุมการติดเชื้ออยา่ งเหมาะสม - มีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ติดตั้งส�ำหรับตรวจสอบอุณหภูมิภายในอาคาร ติดตามการท�ำความเย็นที่มีอยู่ ในอาคารและพ้ืนที่ต่างๆ ป้องกันบริเวณท่ีรับแสงแดดโดยตรง และเพ่ิมการไหลเวียนของอากาศในกรณี ท่สี ภาพอากาศรอ้ นจดั ความยง่ั ยืนของการดำ� เนินงานของสถานบริการสาธารณสขุ - มแี ผนฉกุ เฉนิ ดา้ นสขุ ภาพของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทพ่ี รอ้ มปฏบิ ตั ิ สำ� หรบั การเตรยี มการและการตอบโต้ ภาวะฉกุ เฉนิ พรอ้ มด้วยงบประมาณท่ชี ดั เจน - สามารถเข้าถงึ อุปกรณ์และแหล่งทรพั ยากรส�ำรองที่สำ� คญั ได้อย่างปลอดภยั เชน่ อปุ กรณ์ทางการแพทย์ อปุ กรณใ์ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและใชใ้ นการรกั ษา อปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คล ผเู้ ชย่ี วชาญ และพลงั งาน ทางเลือก เป็นตน้
100 หลักสูตรพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุข เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ืดหยุน่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ iInntienrfvreansttirouncstufroer aenndvitreocnhmneonlotaglysmusatnaaingaebmilietnyt ADAPTATION OF • Retrofitting of buildings implemented to cut energy waste , maximise CURRENT SYSTEMS & daylight and increase ventilation INFRASTRUCTURES • Medical gases and chemicals stored securely in well ventilated areas • Installed hybrid systems (which include renewable energy, batteries, and backup generators) as well as solar water heaters PROMOTION OF NEW • Replace medical devices with water efficient or energy-efficient models SYSTEMS & • Substitute mercury-containing thermometers and blood pressure measuring devices for affordable, validated and non-mercury containing TECHNOLOGIES alternatives • Replace dishwashers and laundry machines with those having water- saving functions, whenever possible • Replace oversized air conditioning and ventilation systems for smaller energy efficient models, when feasible SUSTAINABILITY OF • Implement a clear environmentally sustainable procurement policy HEALTH CARE statement or protocol for all types of products, equipment and medical FACILITY devices used OPERATIONS • Equipment & supplies purchased from local sources when available • Health care facility staff encouraged to use bicycles, public transportation and carpools to minimize transportation emission • Adoption of innovative models of care including telemedicine and mhealth services that aid in reducing health care carbon footprint besides facilitating move to universal health coverage มาตรการสำ� หรับการจดั การสิ่งแวดลอ้ มท่ยี งั่ ยืน ด้านระบบสาธารณปู โภค และเทคโนโลยขี องสถานบริการสาธารณสขุ การปรับตัวของระบบและโครงสรา้ งพ้นื ฐานปัจจบุ ัน - ปรบั ปรุงอาคารเพือ่ ลดการสูญเสียพลังงาน เพมิ่ แสงแดดใหม้ ากทส่ี ุด และเพิ่มการระบายอากาศ - เก็บก๊าซและสารเคมที างการแพทย์ไว้อย่างปลอดภัยในบรเิ วณที่มีการระบายอากาศดี - ติดตั้งระบบไฮบริด (ซึ่งรวมถึงพลังงานหมุนเวียน แบตเตอร่ี และเคร่ืองก�ำเนิดไฟฟ้าส�ำรอง) รวมทั้ง เครอ่ื งท�ำน้ำ� อนุ่ พลังงานแสงอาทิตย์
หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข 101 เพอื่ รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ียืดหยนุ่ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ การสง่ เสรมิ ให้มรี ะบบและเทคโนโลยีใหม่ - เปลยี่ นอปุ กรณ์การแพทย์ด้วยร่นุ ประหยัดนำ้� หรอื ประหยดั พลงั งาน - แทนท่ีเทอร์โมมิเตอร์และอุปกรณ์วัดความดันโลหิตที่มีสารปรอท เป็นแบบอ่ืนทดแทนท่ีมีราคาไม่แพง ผา่ นการตรวจสอบแลว้ และไม่มสี ารปรอท - เปลยี่ นเคร่ืองลา้ งจานและเครื่องซกั ผ้า ดว้ ยเครือ่ งที่มีฟงั ก์ชนั่ ประหยัดน้ำ� หากเป็นไปได้ - เปล่ียนระบบปรับอากาศและระบายอากาศขนาดใหญ่ส�ำหรับเป็นรุ่นประหยัดพลังงานท่ีขนาดเล็กลง หากเป็นไปได้ ความยั่งยนื ของการดำ� เนนิ งานของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ - ด�ำเนินการตามนโยบายการจัดซ้ือจัดจ้าง ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมท่ีชัดเจนส�ำหรับผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ และเคร่อื งมอื อปุ กรณ์ทางการแพทยท์ ุกประเภททใี่ ช้ - เครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ ซื้อจากแหล่งท่ีขายในทอ้ งถ่นิ เพอื่ ใหห้ าได้งา่ ย - สนบั สนนุ ใหเ้ จา้ หนา้ ทส่ี ถานบรกิ ารสาธารณสขุ ใชจ้ กั รยาน การขนสง่ สาธารณะและคารพ์ ู เพอ่ื ลดการปลอ่ ย มลพิษจากการขนสง่ - น�ำรูปแบบการรักษาที่ทันสมัยมาใช้ ซ่ึงรวมถึงบริการด้านการแพทย์ทางไกลและ Mhealth ที่ช่วย ในการลดคารบ์ อนฟตุ พรนิ้ ทจ์ ากสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ควบคไู่ ปกบั การกา้ วไปสรู่ ะบบสขุ ภาพถว้ นหนา้
102 หลักสูตรพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุข เพือ่ รองรับระบบสขุ ภาพท่ยี ืดหยนุ่ รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ Iinntienrfvreansttirouncstufroer aenndvitreocnhmneonlotaglysmusatnaaingaebmilietnyt กรอบแนวคิดส�ำหรับการสร้างสถานบริการสาธารณสุขที่พร้อมรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและ เปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม กรอบแนวคิดน้ีมีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ภายใต้ข้อก�ำหนดพ้ืนฐาน 4 ข้อ เพ่ือให้การดูแลที่ปลอดภัยและ มีคุณภาพซึ่งเป็นศูนย์กลางของกรอบแนวคิด โดยมุ่งเน้นท่ีสถานบริการสาธารณสุขโดยเฉพาะและขยายขอบเขต ให้รวมถงึ ความยั่งยืนด้านสง่ิ แวดล้อม การแทรกแซงท่ีเป็นไปได้ซึ่งผู้มีอ�ำนาจตัดสินใจของภาคส่วนด้านสุขภาพสามารถใช้เพ่ือเพ่ิมทั้งความยืดหยุ่น ของสภาพอากาศและความยงั่ ยืนของส่ิงแวดลอ้ มจะกล่าวถงึ ในหวั ข้อถัดไป สถานบรกิ ารสาธารณสุข ควรค�ำนึงถงึ - บุคลากรทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ - การสขุ าภบิ าล การจดั การน้�ำสะอาดและสขุ ลักษณะ และของเสยี จากสถานบรกิ ารสาธารณสุข - พลังงาน - โครงสร้างพ้นื ฐาน เทคโนโลยีและผลติ ภัณฑท์ างการแพทย์
หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ 103 เพ่ือรองรบั ระบบสุขภาพทยี่ ดื หยุน่ รองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ sCyassteemSstu, dSyou-tWh eAsftreicran Cape government health Retrofitting Buildings and use of green technology OVERALL OBJECTIVE INITIATIVES ANNUAL SAVINGS FROM JUST ONE HOSPITAL • The Western Cape Government • Incorporating green design • From Lentigur’s hospital laundry health system in South Africa made principles in building projects efficiency measures alone , more commitments to reduce its carbon • Using natural light and ventilation than 19 million liters of water, over footprint from energy consumption where possible 550 metric tons of CO2e, and more in government hospitals by 10 • Curbing the use of air conditioning than US$62,000 in costs were percent by 2020 and 30 percent by • Replacing lights with efficient saved. 2050 (based on 2015 levels) fluorescent and LED lighting in combination with light-colored walls • Installing heat pumps for hot water • Including green spaces in facility design • Coal- and oil-fired boilers have been eliminated at nearly all hospital กรณีศึกษา - การปรับปรุงอาคารและใช้เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมของระบบสาธารณสุขรัฐเวสเทิร์นเคป ประเทศแอฟรกิ าใต้ วตั ถปุ ระสงคโ์ ดยรวม ระบบสุขภาพของรัฐเวสเทิร์นเคปในแอฟริกาใต้ ได้ให้ค�ำมั่นว่าจะลดคาร์บอนฟุตพร้ินท์จากการใช้พลังงาน ในโรงพยาบาลของรฐั ลงใหไ้ ด้ 10% ภายในปี ค.ศ. 2020 และ 30% ภายในปี ค.ศ.2050 (อิงจากระดบั ปี ค.ศ. 2015) กิจกรรมทที่ ำ� - ผสมผสานหลักการออกแบบท่เี ปน็ มติ รตอ่ สิง่ แวดล้อมในโครงการกอ่ สร้าง - ใชแ้ สงและการระบายอากาศแบบธรรมชาติ เทา่ ท่ีเป็นไปได้ - งดการใชเ้ คร่อื งปรับอากาศ - เปลี่ยนหลอดไฟด้วยหลอดฟลอู อเรสเซนตท์ ี่มีประสิทธิภาพและใช้ไฟ LED ร่วมกับผนังสีออ่ น - ติดตั้งป๊มั ความรอ้ นส�ำหรับนำ�้ ร้อน - รวมพื้นท่ีสีเขยี วในการออกแบบสถานท่ี - หม้อไอน้�ำทใ่ี ช้เช้อื เพลงิ ถา่ นหินและน้�ำมันถกู กำ� จัดออกจากโรงพยาบาลเกือบท้ังหมด เงินออมประจำ� ปจี ากโรงพยาบาลเพียงแหง่ เดยี ว จากการวัดประสิทธิภาพการซักรีดของโรงพยาบาลเลนติเกอร์ เพียงอย่างเดียว พบว่าสามารถประหยัดน�้ำ ไดม้ ากกวา่ 19 ล้านลติ ร ลดการปลอ่ ยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์กวา่ 550 เมตรกิ ตนั และประหยดั คา่ ใช้จา่ ยมากกวา่ 62,000 ดอลลาร์สหรัฐ
104 หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพท่ยี ืดหยุน่ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Iamndpatcetcshonfolcolgimyaitnehveaarlitahbiflaitcyiloitniesinfrastructure • Structural and functional resilience of healthcare facilities must build on baseline vulnerability assessments of climate risk and local hazards • Access to health care for local communities during and post-climate events depends on efficient co-ordination between climate information services and health administration planning and preparedness • Optimizing resources –energy, water, food, transport and efficient waste management services is critical for caregiver and patient health and environmental benefits • Harnessing the power of technology to deliver innovative models of care such as telemedicine and digital health technologies must be enhanced ประเดน็ สำ� คัญ - ความยืดหยุ่นพร้อมรับมือเชิงโครงสร้างและการปฏิบัติงานของสถานบริการสาธารณสุข ต้องสร้างจาก การประเมนิ ความเปราะบางพ้ืนฐานถงึ ความเสี่ยงดา้ นสภาพภูมิอากาศและภัยอนั ตรายในพื้นท่ี - การเข้าถึงบริการสุขภาพของชุมชนท้องถิ่นในระหว่างและหลังเหตุการณ์เก่ียวกับสภาพภูมิอากาศ ขนึ้ อยกู่ บั การประสานงานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพระหวา่ งการบรกิ ารดา้ นขอ้ มลู สภาพภมู อิ ากาศกบั การวางแผน และการเตรียมความพร้อมของฝา่ ยบรหิ าร - การเพิ่มประสิทธิภาพของทรัพยากร - พลังงาน น�้ำ อาหาร การขนส่ง และบริการจัดการของเสีย อย่างมีประสิทธิภาพเป็นสิ่งส�ำคัญส�ำหรับสุขภาพของผู้ดูแลผู้ป่วย และผู้ป่วย และผลประโยชน์ ต่อสิ่งแวดลอ้ ม - การน�ำพลังของเทคโนโลยีมาใช้ เพ่ือส่งมอบการดูแลรักษารูปแบบท่ีเป็นนวัตกรรมใหม่ เช่น ระบบการแพทยท์ างไกลและเทคโนโลยีสขุ ภาพดจิ ิทลั ต้องไดร้ ับการสง่ เสรมิ
กองประเมนิ ผลกระทบต่อสขุ ภาพ กรมอนามยั 105 Module ใกาหรพัฒ้มนาสคี ถวานาบมรยิกาืดรสหาธยาุน่รณพรอ้สมรขุ ับ การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ
106 หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าทสี่ าธารณสุข เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพที่ยืดหยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Module 7 การพัฒนาสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ใหม้ ีความยดื หยนุ่ พร้อมรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ขอบเขตเนื้อหา 1. แนวทางการด�ำเนินงานพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขท่ีมีความยืดหยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลง สภาพภูมอิ ากาศ 2. ตัวอย่างการด�ำเนินงานในสถานบริการสาธารณสุขของประเทศไทยในการรับมือกับภัยที่เกิดจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ระยะเวลา 60 นาที กิจกรรมการเรียนรู้ 1. เรยี นร้ผู า่ นการบรรยาย 2. แลกเปลีย่ นเรยี นร้รู ะหว่างผู้สอนและผู้เรยี น เน้ือหา การพัฒนาสถานบริการสาธารณสขุ ให้มีความยืดหยุ่นพร้อมรับมอื ตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ Preliminary Results “Low Carbon and Climate Resilient Healthcare Facilities” Project Department of Health, Ministry of Public Health, Thailaned จากเนื้อหา ทฤษฎี และตัวอย่างการด�ำเนินงานของประเทศต่างๆ ในการเป็นสถานบริการสาธารณสุข ทย่ี ดื หยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และเปน็ มติ รตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม ตามแนวทางขององคก์ ารอนามยั โลก ทางกระทรวงสาธารณสขุ โดยกรมอนามยั ไดน้ ำ� มาใชเ้ ปน็ แนวทางในการดำ� เนนิ งานโครงการ โรงพยาบาลคารบ์ อนตำ�่ และหยดื หยนุ่ ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และมผี ลการสำ� รวจสถานการณส์ ถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทย่ี ดื หยนุ่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ และเปน็ มติ รตอ่ ส่งิ แวดล้อม ในเบื้องต้น สรปุ ดังน้ี
หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ 107 เพ่อื รองรับระบบสุขภาพที่ยืดหยนุ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 1. Selected hospitals for pilot study Key Activities 2. Focused group to share experiences on how to responds climate change among partners and organizations (such as Hospitals where have experiences about extreme weather event, Provincial public health Offices, District public health offices, Department Of Disaster Prevention And Mitigation, etc) 3. Organized meeting with pilot hospitals to distribute the self-assessment questionnaires for vulnerable and climate risks assessment of the hospitals. There are 2 sets of questionnaires for floods and droughts to assess in 4 areas of 1) Health Workforce, 2) Water, Sanitation and Healthcare Waste, 3) Energy, and self-assessment 4) Infrastructure, Technology, and Products. questionnaires 4. Polit hospitals send the completed self-assess questionnaires back to the research team 5. Collect and analyze data Preliminary Results in the next slides Next Steps: 6. Pilot hospitals develop their response plan for climate risks in their context. 7. Develop guideline for “Low Carbon and Climate Resilient Healthcare Facilities” แผนการด�ำเนนิ งาน 1. คัดเลอื กโรงพยาบาลน�ำรอ่ งเพอื่ เข้ารว่ มโครงการ 2. จดั Focus group กบั หนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การรบั มอื กบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ เชน่ โรงพยาบาล ที่เคยประสบเหตุ สาธารณสุขจังหวัด สาธารณสุขอ�ำเภอ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นต้น เพ่ือแลกเปลย่ี นประสบการณ์ในการรับมือกับภยั จากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 3. จดั ประชมุ โรงพยาบาลนำ� รอ่ ง เพอื่ ชแ้ี จงแบบประเมนิ ตนเองตอ่ ความเปราะบางของสถานบรกิ ารและผลกระทบ จากภยั จากการเปลย่ี นแปลงสภาพอากาศ และสง่ แบบประเมนิ ใหโ้ รงพยาบาลประเมนิ ตนเอง ประกอบดว้ ย คำ� ถาม 4 ด้าน - บคุ ลากรผู้ใหบ้ รกิ ารด้านสขุ ภาพ - การจดั การนำ�้ สขุ าภิบาล และของเสียทางการแพทย์ - พลงั งาน - โครงสรา้ งพืน้ ฐาน เทคโนโลยี ผลิตภณั ฑแ์ ละกระบวนการ 4. โรงพยาบาลสง่ แบบประเมินกลบั มายงั คณะท�ำงาน 5. คณะท�ำงานรวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มลู โรงพยาบาล พร้อมให้ขอ้ เสนอแนะ 6. โรงพยาบาลจัดท�ำแนวทางการรบั มือความเส่ยี งทีเ่ หมาะกับบรบิ ทพ้นื ท่ี 7. คณะท�ำงานจัดท�ำชุดความรแู้ นวทางการดำ� เนินงานโรงพยาบาลคาร์บอนต�ำ่ และเท่าทันการเปล่ียนแปลง สภาพภูมอิ ากาศ เพื่อเป็นแนวทางแกโ่ รงพยาบาลอนื่ ๆ
108 หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ เพื่อรองรบั ระบบสุขภาพทยี่ ืดหยุ่นรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Section 1 Results of collection data from Hospitals response to climate change The results of data collection from pilots hospitals by in-field research about how the hospitals response to climate change and disaster preparedness, operation action and post-disaster recovery, and greenhouse gas emissions Timing for data collection: 13 January – 11 February 2022 There are 6 pilot hospitals... (1 Chaiyaphum Hospital, Chaiyaphum Province (2) Pranarong Hospital, Chaiyaphum Province (3) Samrong Hospital, Ubon Ratchathani Province (4) Muang Chan Hospital, Sisaket Province (5) Praphorn Mom Hospital, Nakhon Si Thammarat Province (6) Chumphon Provincial Suvarn Hospital ส่วนท่ี 1 ผลการเก็บข้อมลู จาก focus group โรงพยาบาลในการรับมือต่อการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ผลจากการเก็บข้อมูลด้วย focus group ในประเด็นโรงพยาบาลในการรับมือต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ โดยลงพ้ืนที่เพ่ือถอดบทเรียนการเตรียมพร้อมในการรับมือกับภัย การด�ำเนินการเมื่อเกิดภัย และการฟน้ื ฟหู ลงั เกดิ ภยั และแนวทางการดำ� เนนิ งานของโรงพยาบาลทเี่ กยี่ วกบั การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกในชว่ งระหวา่ ง วันท่ี 13 มกราคม - 11 กุมภาพนั ธ์ 2565 ซ่งึ ประกอบด้วย 6 โรงพยาบาล คือ (1) โรงพยาบาลชัยภมู ิ จังหวัดชัยภมู ิ (2) โรงพยาบาลบำ� เหน็จถรงค์ จังหวัดชัยภมู ิ (3) โรงพยาบาลส�ำโรง จังหวัดอบุ ลราชธานี (4) โรงพยาบาลเมอื งจนั ทร์ จงั หวดั ศรสี ะเกษ (5) โรงพยาบาลพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช (6) โรงพยาบาลสวี จงั หวดั ชุมพร
หลกั สตู รพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าทสี่ าธารณสขุ 109 เพือ่ รองรบั ระบบสขุ ภาพทีย่ ดื หยุ่นรองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 1. Flood-affected hospitals andanbdeccohlmiomsinaptgieta-lolcswh. a-cnagrebon โรงพยาบาลที่ประสบภัยอุทกภยั กับการเปน็ โรงพยาบาลคารบ์ อนต่�ำและเทา่ ทนั การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Climate Smart Healthcare: Chaiyaphum Hospital, a hospital of preparedness and response. Chaiyaphum Hospital in Chaiyaphum Province, is a hospital of flood preparedness and response. The main point is to use waterproof walls to prevent the water damage and impact. Chaiyaphum Hospital also prepares to work both before and during the disaster crisis. There is staff who has experience and responsibility for disaster management. The quick communication between the groups and discussed how to deal with the floods effectively. โรงพยาบาลชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ เป็นโรงพยาบาลแห่งการเตรียมความพร้อมและตอบโต้ต่อภาวะอุทกภัย จุดเด่นที่ส�ำคัญ คือ การใช้แนวคิดการก่อสร้างก�ำแพงกันน้�ำ เพื่อป้องกันความเสียหายและรับแรงกระแทกของน�้ำ นอกจากน้ี โรงพยาบาลชยั ภูมิ ยงั มีการเตรียมความพร้อมโดยกำ� หนดหน้าท่ีการท�ำงานทั้งในระยะกอ่ นการเกิดเหตุ และระหวา่ งการเกดิ เหตุ มบี คุ ลากรทมี่ ปี ระสกรณน์ การเผชญิ กบั อทุ กภยั และมกี ารสอ่ื สารระหวา่ งกลมุ่ อยา่ งรวดเรว็ มกี ารพดู คยุ แนวทางในการรับมือกบั อทุ กภยั ซ่งึ ท�ำให้เมอื่ เกิดอุทกภัยนนั้ สามารถรบั มือได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ
110 หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ที่สาธารณสุข เพอื่ รองรบั ระบบสุขภาพท่ียดื หยุน่ รองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ CPlimroamteaSromnagrt HHeoasltphictaarle,: a hospital of Rehabilitation Pranarong Hospital in Chaiyaphum Province, is another hospital that was severely damaged by the flood. But the hospital staffs at all levels are cooperative and have a vision of good management. This hospital is a unique hospital in terms of rehabilitation after the floods. The hospital has undertaken activities such as Big Cleaning Day, 5s activities, etc. and has been able to provide healthcare services even after the floods and have been restored to normal service in just two weeks. โรงพยาบาลบำ� เหนจ็ ณรงค์ จังหวดั ชัยภมู ิ เป็นอีกหน่ึงโรงพยาบาลที่ได้รับความเสียหายเป็นอย่างมากจากอุทกภัยในปี พ.ศ.2564 แต่บุคลากรของ โรงพยาบาลทกุ ระดบั มคี วามรว่ มมอื รว่ มใจ มวี สิ ยั ทศั นใ์ นการจดั การเปน็ อยา่ งดี จงึ ทำ� ใหโ้ รงพยาบาลน้ี เปน็ โรงพยาบาล ทม่ี คี วามโดดเดน่ ในการฟน้ื ฟหู ลงั ประสบภยั นำ้� ทว่ ม กจิ กรรมทโ่ี รงพยาบาลไดด้ ำ� เนนิ การเพอ่ื ฟน้ื ฟคู วามเสยี หาย เชน่ กจิ กรรม Big Cleaning Day กิจกรรม 5ส เปน็ ตน้ และสามารถให้บรกิ ารการรกั ษาแม้ก�ำลังประสบภัย และกลับมา เปิดให้บริการตามปกติได้ภายในเวลาเพยี ง 2 สัปดาห์
หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าทสี่ าธารณสุข 111 เพ่อื รองรบั ระบบสขุ ภาพที่ยดื หยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ Climate Smart Healthcare: Pra-jmom Hospital, a hospital of learning and preparation Praphorn Mom Hospital in Nakhon Si Thammarat Province, is another hospital that is outstanding in learning and preparing for the flood.The hospital has prepared the facilities and infrastructure.Their staffs study and understand the area of the hospital, estimate the maximum flood level, then and have specialist to build a water barrier.The hospital also has established a plan to take care of patients in two ways: 1) to take care patients in the hospital and 2) to evacuate patients from the hospital and transfer to the network hospitals and the field hospitals. โรงพยาบาลพระพรหม จังหวดั นครศรธี รรมราช เปน็ อีกโรงพยาบาลทม่ี คี วามโดดเด่นในการเรียนรู้และเตรยี มพรอ้ มรบั มืออทุ กภยั โดยโรงพยาบาลพระพรหม นน้ั ไดม้ ีการเตรียมด้านสถานท่แี ละระบบสาธารณูปโภค คอื ศึกษาและเขา้ ใจพื้นทีข่ องโรงพยาบาล ประมาณระดับ น้�ำท่วมสูงสุดของโรงพยาบาลและติดต่อผู้เช่ียวชาญ เพื่อสร้างพนังกั้นน้�ำ และยังได้มีการจัดท�ำแผนการดูแลผู้ป่วย 2 แนวทางคอื การดผู ปู้ ว่ ยในโรงพยาบาล และการอพยพผปู้ ว่ ยออกนอกโรงพยาบาลทงั้ สง่ ไปยงั โรงพยาบาลเครอื ขา่ ย และโรงพยาบาลสนามของโรงพยาบาล
112 หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข เพ่อื รองรับระบบสขุ ภาพทีย่ ืดหยุน่ รองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ClimaStae wSimHarot sHpeiatalthl,care: a hospital of flexibility. Sawi Hospital in Chumphon province uses approach based on the principle of flexibility and adaptation to understand the nature of the disaster. The hospital has a good understanding of the water flow path and can cope with the water supply problem. They build a check dam as a wall expected to be able to resist flooding. The water-locking mechanisms around the power backup room are improved to be higher level. They build a special channel through the gate for people to come into the hospital for receiving health service during the disaster. โรงพยาบาลสวี จงั หวัดชุมพร อาศัยหลักการยืดหยุ่นและปรับตัว ท�ำความเข้าใจกับธรรมชาติของภัย โดยเป็นโรงพยาบาลที่มีความเข้าใจ ในเส้นทางการไหลของน�้ำเป็นอย่างดี จึงใช้จุดเด่นน้ีในการรับมือกับปัญหาอุทกภัย โดยสร้างแนวก�ำแพงชะลอน้�ำ ซ่งึ คาดวา่ สามารถรองรับน้�ำท่วมได้ มกี ารยกระดับคนั้ กันนำ�้ ลอ้ มรอบหอ้ งทใี่ ช้ในการเกบ็ เครอ่ื งส�ำรองไฟ มกี ารสรา้ ง ชอ่ งทางพเิ ศษ (เจาะประตรู วั้ ) ไวส้ ำ� หรบั หป้ ระชาชนทจี่ ะเดนิ ทางมายงั โรงพยาบาลใชบ้ รกิ ารในระหวา่ งเกดิ ภยั พบิ ตั ไิ ด้
หลกั สตู รพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ที่สาธารณสขุ 113 เพ่ือรองรับระบบสุขภาพที่ยืดหยุน่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 2. Drought-affected hospitals anadndclibmeactoemcihnagnlgoew-hcoasrpbiotanls. โรงพยาบาลทปี่ ระสบภยั แล้ง กับการเปน็ โรงพยาบาลคารบ์ อนต่ำ� และเท่าทนั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ CliSmaamteroSmngartHHoesapltihtacal,re: Hospital of Adaptation Samrong Hospital in Ubon Ratchathani Province, is hospital that has a adaptation plan to prepare and respond to drought. They estimate the amount of water usage of hospitals, prepare water containers for rain, and check the groundwater level for water supply and sewage systems. The amount of water supply is monitored for use throughout the year. โรงพยาบาลสำ� โรง จังหวัดอุบลราชธานี เป็นอีกโรงพยาบาลที่มีการวางแผนเพ่ือเตรียมพร้อมรับมือกับภัยแล้ง คือ มีการประมาณปริมาณการใช้น้�ำ ของโรงพยาบาล มกี ารจดั เตรยี มภาชนะรองรบั นำ�้ ฝน มกี ารตรวจสอบปรมิ าณแหลง่ นำ�้ บาดาล และแหลง่ นำ้� สำ� รองนำ้� ไว้ใชต้ ลอดท้ังปี นอกจากน้ียังมกี ารตรวจสอบระบบกรองนำ้� ระบบประปาและนำ�้ เสีย
114 หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ เพือ่ รองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ดื หย่นุ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ MCliumaanteg SCmhaartnHHeaolsthpciatarel,: a hospiatadlaopftaletiaornning and Mueang Chan Hospital in Sisaket Province, is a hospital that can cope with drought by preparation and handling of a variety of approaches. There are the installation of a remote water pumping, water tanks that apply concept of a rainwater collecting system to store water in water tanks, and a construction of a bank for underground water as well as develop the water-saving measures. The key success factor for this hospitals to cope with the situation of water shortage crisis are learn from the experience and take the lessons learned to improvement continuously. โรงพยาบาลเมอื งจนั ทร์ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นโรงพยาบาลที่สามารถรับมือกับปัญหาภัยแล้งได้ โดยการเตรียมความพร้อมและการรับมือหลากหลาย แนวทาง ไดแ้ ก่ การตดิ ตง้ั เครอ่ื งสบู นำ้� ระยะไกล การตดิ ตง้ั ถงั นำ้� สำ� รอง การนำ� แนวคดิ ระบบรวบรวมนำ�้ ฝนมาเกบ็ กกั ไวใ้ นถงั เกบ็ น�้ำ การท�ำธนาคารน�้ำใต้ดนิ รวมไปถงึ การออกมาตรการประหยดั น้�ำ ประการทสี่ ำ� คญั ที่ท�ำให้โรงพยาบาล สามารถเผชญิ กบั วิกฤตการณ์การขาดแคลนน�ำ้ ได้ คอื มกี ารเรยี นรแู้ ละถอดบทเรยี นอย่างเป็นระยะๆ Discussion The low-carbon hospital concept has only been partially implemented and included only some part of activities with existing GREEN & CLEAN hospitals project due to limitations of lack of under- standing about the benefits of hospitals from operating as low-carbon hospitals. However each hospital has its own procedure, there is still lack of written guidelines or written instructions to describe the step-by-step process. Although most of them have not been documented, but the hospital staffs have a good understanding of their roles and communication effectively within the organization. อภปิ รายผล แนวคิดโรงพยาบาลคาร์บอนต่�ำ ยังมีการน�ำไปใช้เพียงบางส่วน และเป็นส่วนท่ีเก่ียวข้องกับกิจกรรม Green and Clean อนั เนอ่ื งมาจากขอ้ จำ� กดั เชน่ ยงั ขาดความเขา้ ใจเรอ่ื งประโยชนท์ โ่ี รงพยาบาลจะไดร้ บั จากการดำ� เนนิ งาน เป็นโรงพยาบาลคาร์บอนต่�ำและเท่าทันการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ นอกจากน้ี แม้ว่าแต่ละโรงพยาบาล จะมีจุดเด่นในด้านต่างๆ ดังที่ได้กล่าวข้างต้น ก็ยังขาดแนวทางการด�ำเนินงานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษร หรือขั้นตอน การท�ำงานท่ีชัดเจน ส่วนมากยังไม่มีการจัดท�ำเป็นเอกสาร แต่เป็นการด�ำเนินงานท่ีบุคลากรทุกคนมีความเข้าใจ ในบทบาทหน้าที่ของตนเองเป็นอยา่ งดแี ละมีการสอื่ สารกันภายในองค์กรเป็นอยา่ งดี
หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ 115 เพ่อื รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ียดื หยุน่ รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Discussion (cont.) Key Success Factors of hospitals in cooping with climate disaster 1. The strong leadership of the directors or managers 2. The active hospital personnel to cooperate and manage in dealing with disaster 3. The hospitals’ experience in dealing with disaster 4. The cooperation and collaboration between hospitals and other partners to get a great support and assistance 5. The directors or managers of hospitals give priority to their health personnel. So, the staffs were encouraged to do their work efficiently. 6. The hospitals can adapt to the changes under the limited resources. 7. The hospitals can develop infrastructure for effective prevention from the floods 8. The hospitals can apply the existing procedure of the “5s” and “3S - Safety Stay Happy” and “Save the world” for recovery the hospital. ปัจจยั ท่ที ำ� ใหป้ ระสบความสำ� เรจ็ ในการรบั มอื ภัยจากสภาพอากาศ 1. ผ้บู ริหารมีความมงุ่ ม่ัน มีวิสยั ทศั น์ 2. บคุ ลากรมีความเข้มแข็งและความรว่ มแรงร่วมใจในการรับมอื ภยั พิบัติ 3. โรงพยาบาลมปี ระสบการณใ์ นการรับมือภยั จากสภาพอากาศ 4. มคี วามสมั พนั ธท์ ่ีดีกับหนว่ ยงานภายนอก ทำ� ให้ไดร้ ับความช่วยเหลอื เปน็ อย่างดี 5. ผบู้ รหิ ารให้ความส�ำคญั กบั บคุ ลากร ทำ� ให้บคุ ลากรมีก�ำลังใจในการท�ำงาน 6. สามารถปรบั ตัวได้ตลอดเวลาตามทรพั ยากรท่มี ีอย่อู ยา่ งจ�ำกัด 7. มโี ครงสร้างส�ำหรบั ปอ้ งกนั นำ�้ ท่วมท่มี ปี ระสิทธิภาพ 8. นำ� แนวทาง 5ส กบั 3S Safety Stay Happy และ Save the world มาใชใ้ นการฟ้ืนฟูโรงพยาบาล
116 หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เพ่ือรองรบั ระบบสุขภาพท่ยี ืดหยุ่นรองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Part 2 Vulnerability and Impact from Climate Change This part shows the results of a pilot project to assess vulnerabilities and impact of climate change by using checklists of self-assessment among 7 pilot hospitals volunteer-participating in this project and experiencing both flood and drought. The assessment is in 4 areas of Health Water, Sanitation Energy Infrastructure, Workforce and Healthcare Technology, and Waste Products Vulnerability: Each areas has 3 choices of vulnerable level (High, Medium, and low level) “High” represents the implementation of initiatives that is not done “Medium” represents initiatives that are either initiated or partially implemented, “Low” represents those initiatives that have been completed/implemented Impact: Each areas has 3 choices of impact level (Severe, Medium, and Low level) ส่วนท่ี 2 การประเมินความเปราะบางและผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ในส่วนน้ี เป็นผลจากการด�ำเนินโครงการน�ำร่องเพื่อประเมินความเปราะบางและผลกระทบจาก การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยใช้แบบ checkist ให้โรงพยาบาลประเมินนตนเอง มีโรงพยาบาลท่ีเข้าร่วม โครงการเบ้อื งตน้ 7 แหง่ ซึง่ ประสบทง้ั ปัญหาอทุ กภัยและภัยแล้ง โดยการประเมนิ มี 4 ด้าน คือ ดา้ นบคุ คลากรผู้ ดา้ นการจดั การน้ำ� ดา้ นการจดั ด้านโครงสร้าง ให้บริการทางการ สุขาภิบาล และของ การพลังงาน พน้ื ฐาน เทคโนโลยี แพทย์ เสียทางแพทย์ ผลิตภณั ฑ์และ กระบวนการ - การประเมินด้านความเปราะบาง: โรงพยาบาลจะประเมินตนเองใน 4 ด้านข้างต้น โดยเลือกตอบระดับท่ี แสดงถงึ ความเปราะบางจากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ (มี 3 ระดบั คือ ระดับสงู , ปานกลาง, และระดบั ตำ�่ ) “สูง” แสดงถึงการดำ� เนินการของความคดิ รเิ ร่มิ ทไ่ี ม่ไดท้ �ำ “ปานกลาง” แสดงถึงการรเิ ร่มิ ทเี่ ริ่มตน้ หรอื ด�ำเนนิ การบางส่วน “ต่�ำ” แสดงถึงการรเิ ริม่ ท่เี สรจ็ สมบูรณ์/นำ� ไปใช้ - การประเมนิ ด้านผลกระทบ: โรงพยาบาลจะประเมินตนเองใน 4 ด้านขา้ งต้น โดยเลือกตอบระดับทแ่ี สดงถึง ระดับผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ (มี 3 ระดับคอื ระดับสงู , ปานกลาง, และระดบั ตำ�่ )
หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ 117 เพอ่ื รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ยี ืดหย่นุ รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Vulnerability of Climate Change Flooding 70% of pilot hospitals participated in this project experienced flood for more than 5 years. The major problems are flood within hospital areas, and most of them have never done the vul nerability and impact assessment from the flood. Few hospitals have been prepared plan to cope with flood in written document Overall, a result of the vulnerability assessment from flood shows that over the 4 areas have vulnerability in moderate level. อุทกภยั โรงพยาบาลสว่ นใหญซ่ ง่ึ เขา้ รว่ มโครงการน้ี (รอ้ ยละ 70) จะประสบปญั หาอทุ กภยั เปน็ บางชว่ ง (นานกวา่ 5 ป)ี ปัญหาท่ีพบมักเกิดจากน้�ำท่วมขังในโรงพยาบาล และส่วนใหญ่ไม่มีการประเมินความเปราะบางและผลกระทบ จากอุทกภัย แตม่ กี ารจัดทำ� แผนการรับมือกบั อทุ กภัยเปน็ เอกสารเพียงบางแห่ง ผลจากการประเมนิ ความเปราะบางกรณอี ทุ กภยั พบวา่ สว่ นใหญใ่ นภาพรวมทกุ ดา้ น มคี วามเปราะบางระดบั ปานกลาง
118 หลกั สูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุข เพื่อรองรับระบบสุขภาพทยี่ ดื หย่นุ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ Vulnerability of Climate Change Flooding The key issues at “High” vulnerability level or not implemented Area of assessment The important issues at high vulnerability level Health Workforce 1. Allocation of personal protective equipment 2. Capacity building of hospital staffs to help organize and participate in community disaster planning committees 3. Risk management, and response or adaptation measures Water, Sanitation and 1. Systems for segregation and appropriate disposal of medical waste Healthcare Waste 2. Systems for treatment of drinking water to hospitals 3. systems to promote safe and sustainable water usage ประเดน็ ทพ่ี บความเปราะบางสงู ซึ่งโรงพยาบาลไมม่ ีการเตรียมการหรือไมส่ ามารถตอบสนองได้ สรปุ ไดง้ นี้ ความเปราะบาง ประเดน็ ส�ำคัญ บุคลากรผใู้ หบ้ รกิ าร 1. การจัดสรรอุปกรณ์ปอ้ งกันอันตรายสว่ นบุคคลให้กับบุคลากร ทางการแพทย์ 2. การพฒั นาขีดความสามารถของบคุ ลากรใหม้ สี ว่ นร่วมกับชมุ ชน น้ำ� การสุขาภิบาล และการจัดการของเสีย ในการประชมุ วางแผนกรณีเกดิ ภยั พิบตั ิ ทางการแพทย์ 3. การจดั การความเสี่ยง และวิธกี ารตอบโต้หรือมาตรการในการปรับตัว ใหเ้ ข้ากบั สถานการณ์ 1. สถานที่พักส�ำหรับของเสียทางการแพทย์ 2 อุปกรณ์ เครือ่ งมอื ทใ่ี ชส้ ำ� หรับการปรบั ปรุงคุณภาพนำ้� ด่มื ในบรเิ วณ โรงพยาบาล 3. อุปกรณแ์ นวทางในการบำ� รงุ รกั ษา ทำ� ความสะอาด หรือใชเ้ ทคโนโลยอี น่ื ๆ เพ่ือการจัดการน�ำ้ สะอาด
หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข 119 เพื่อรองรบั ระบบสุขภาพทยี่ ืดหยุ่นรองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Climate Change Impact Flooding The impact assessment of flood in all 4 areas of impact assessment found impacts at all level (high, medium, low). However, important issues that have been seriously affected by the floods are shown in table … Area of assessment The important issues at high vulnerability level Health Workforce 1. Medical staffs cannot enter or leave the hospitals during crisis. 2. Hospital staffs have more workload. 3. Hospitals staffs work under high pressure and suffer from work-related stress 4. Stop service Water, Sanitation and 1. Water has been contaminated Healthcare Waste 2. Sewage treatment systems were not functioning 3. Emergency water tank have been damaged and water distribution system are not functioning Energy electrical system has been damaged Infrastructure, 1. The entrance of hospital building has been damaged Technology, 2. The transportation system has been obstructed and the hospital and Products parking lot was flooded. 3. Short-term and long-term costs were increasing ผลการประเมินผลกระทบจากอุทกั ภัย ในท้งั 4 ด้านไดร้ บั ผลกระทบในทกุ ระดับ (สูง, กลาง, ต่ำ� ) อย่างไรกต็ ามประเด็นส�ำคัญทีไ่ ดร้ ับผลกระทบอยา่ งรุนแรงจากอุทกภัย แสดงในตารางดงั นี้ ความเปราะบาง ประเด็นสำ� คัญ บคุ ลากรผู้ให้บริการทางการ 1. บุคลากรทางการแพทย์ไม่สามารถเขา้ หรือออกจากโรงพยาบาลได้ แพทย์ 2. บุคลากรมีภาระการท�ำงานเพิ่มขึน้ 3. มคี วามเครียดสูงเพิ่มขนึ้ การจัดการนำ้ �สขุ าภิบาล 4. หยุดใหบ้ ริการ และของเสียทางการแพทย์ 1. น�ำ้ เกิดการปนเปื้อน การจัดการพลังงาน 2. ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียหยดุ ชะงัก โครงสร้างพน้ื ฐานเทคโนโลยี 3. แหล่งส�ำรองน�ำ้ ฉกเฉินได้รับความเสียหาย ผลติ ภณั ฑ์และกระบวนการ ระบบไฟฟา้ ลม้ เหลว 1. ความเสยี หายของทางเข้าอาคาร 2. ขดั ขวางระบบการขนสง่ และท่วมจดจอดรถพยาบาล 3. คา่ ใช้จ่ายระยะส้ันและระยะยาวเพิ่มสงู ข้ึน
120 หลกั สตู รพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุข เพอื่ รองรบั ระบบสุขภาพทย่ี ดื หยุน่ รองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Vulnerability of Climate Change Drought 80% of pilot hospitals experienced drought sometimes (more than 5 years) The major problem are water restriction, and most of them have never done the vulnerability and impact assessment from drought and no any written document for plan to response with drought Overall, a result of the vulnerability assessment from flood shows that over the 4 areas have vulnerability in low to moderate level ภยั แล้ง โรงพยาบาลที่ประสบปัญหาภัยแลังส่วนใหญ่ซ่ึงเข้าร่วมโครงการน้ี (ร้อยละ 80) จะประสบปัญหาภัยแล้ง เปน็ บางชว่ ง (นานกวา่ 5 ป)ี ปญั หาทพ่ี บมกั เปน็ เพยี งการจำ� กดั การใชน้ ำ้� และสว่ นใหญไ่ มม่ กี ารประเมนิ ความเปราะบาง และผลกระทบจากภัยแลง้ และไม่มีการจัดท�ำแผนการรบั มอื กับภยั แลังเปน็ เอกสาร ผลจากการประเมินความเปราะบางกรณีภัยแล้ง พบว่าส่วนใหญ่ในกาพรวมทุกด้านมีความเปราะบาง ระดบั ปานกลางไปจนถึงระดับตำ่� Vulnerability of Climate Change Drought The key issues at “High” vulnerability level or not implemented Area of assessment The important issues at high vulnerability level Health Workforce 1. Hospitals do not have a proper guideline for staffs for working outdoors 2. Lack of service to provide drinking water and warning staffs regularly for the need of drinking water. Water, Sanitation and 1. The water quality for drinking and consumption has not been Healthcare Waste monitoring regularly 2. The available alternative safe water sources were not identified in the long-term drought management plan Energy 1. Refrigerators have no thermometers for monitor the temperature 2. There is no guideline for risk management from heat Infrastructure, 1. There is no risk assessment for the supply chain of medical and Technology, non-medical products. and Products 2. There is no assessment of current drought conditions, and trends from the past and in the future to find out a way for prevention
หลักสูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ 121 เพอ่ื รองรบั ระบบสขุ ภาพทีย่ ดื หย่นุ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยประเดน็ ทพี่ บความเปราะบางสงู จากภยั แลง้ คอื โรงพยาบาลไมม่ กี ารเตรยี มการหรอื ไมส่ ามารถตอบสนอง ได้ สรปุ ไดดั งั นี้ ความเปราะบาง ประเด็นส�ำคัญ บคุ ลากรผ้ใู หบ้ ริการทางการ 1. โรงพยาบาลไมม่ แี นวทางการดำ� เนนิ งานหมาะสมเมอื่ ตอ้ งปฏบิ ตั งิ านกลางแจง้ แพทย์ 2. ขาดการบริการจดั เตรียมน�้ำดม่ื และย้�ำเตือนใหม้ กี ารดืม่ นำ�้ อยู่เปน็ ประจ�ำ การจัดการน้ำ�สขุ าภบิ าล สุขาภิบาล และของเสยี 1. ไมม่ ีการติดตามตรวจสอบคณุ ภาพน�ำ้ สำ� หรบั การอปุ โภคบรโิ ภค ทางการแพทย์ 2. ไม่มีแหลง่ นำ�้ สำ� รองใช้ทีป่ ลอดภัยระบไุ ว้หรือแผนการจดั การปญั หาภยั แล้ง ในระยะยาว การจดั การพลงั งาน 1. ไมม่ ีการใชเ้ ทอร์โมมิเตอร์ในตู้แชเ่ ย็นและแช่แข็ง 2. ไม่มีคู่มอื ดา้ นการจดั การความเสี่ยงต้านความรอ้ น โครงสรา้ งพื้นฐานเทคโนโลยี 1. ไมม่ กี ารประเมนิ ความเสย่ี งของหว่ งโซอ่ ปุ ทานของผลติ ภณั ฑท์ างการแพทย์ ผลติ ภณั ฑแ์ ละกระบวนการ และไม่ใชท่ างการแพทย์ 2. ไม่มกี ารประเมินสภาวะภยั แลงั ทั้งปัจจุบัน แนวโน้มในอดีตและ การเปลย่ี นแปลงในอนาคตเพอื่ หาวิธีป้องกนั Climate Change Impact Drought The impact assessment of drought in all 4 areas of impact assessment found impacts between low and moderate level. However, important issues that have been seriously affected by drought are shown in table … Area of assessment The important issues at high impact level Water, Sanitation 1. The amount of water was limit in some activities of medical and Healthcare service. Waste Energy 1. There was no energy and power avaible for activities of dialysis service, oxygen supply, and some diagnostic device Infrastructure, 1. Importance equipment was electrical damaged Technology, 2. The costs and expense of hospital were increased. and Products
122 หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ที่สาธารณสขุ เพ่ือรองรบั ระบบสุขภาพที่ยดื หยนุ่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ส�ำหรับผลการประเมินผลกระทบจากภัยแล้ง ส่วนใหญ่ในภาพรวมทุกด้าน ได้รับผลกระทบในระดับตั้งแต่ เลก็ นอ้ ยจนถึงปานกลาง แตป่ ระเดน็ ส�ำคญั ที่พบวา่ โรงพยาบาลไดร้ ับผลกระทบอยา่ งรุนแรง ไดแ้ ก่ ความเปราะบาง ประเด็นส�ำคัญ การจัดการน้ำ�สขุ าภบิ าล 1. จำ� กดั การใช้น้�ำในกจิ กรรมการใหบ้ ริการทางการแพทย์บางกิจกรรม และของเสยี ทางการแพทย์ 1. ไมม่ ไี ฟฟา้ ใชใ้ นกจิ กรรมการฟอกไต การใหอ้ อกซเิ จน อปุ กรณต์ รวจวนิ จิ ฉยั การจัดการพลังงาน 1. อปุ กรณ์ส�ำคัญเกดิ ความเสียหายจากกระแสไฟฟา้ ดับ 2. คา่ ใช้จา่ ยของโรงพยาบาลเพิ่มข้นึ โครงสร้างพ้ืนฐานเทคโนโลยี ผลติ ภณั ฑแ์ ละกระบวนการ
กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามยั 123 8Module แนวทางการประเมินสถานบริการสาธารณสุข ท่เี ปน็ มิตรต่อส่งิ แวดล้อม
124 หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าทส่ี าธารณสุข เพือ่ รองรบั ระบบสขุ ภาพทีย่ ดื หยุน่ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Module 8 แนวทางการประเมินสถานบรกิ ารสาธารณสุขทเ่ี ป็นมิตรตอ่ สิ่งแวดล้อม ขอบเขตเนอ้ื หา 1. แนวทางการประเมินเพื่อจัดระดบั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ท่ีเปน็ มิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2. ตัวชวี้ ัดท่ีสำ� คญั 3. ความส�ำคัญของการประเมินเพ่อื จดั ระดบั สถานบริการสาธารณสุขที่เป็นมติ รต่อส่งิ แวดลอ้ ม ระยะเวลา 1 ชั่วโมง 15 นาที กิจกรรมการเรียนรู้ 1. เรยี นรผู้ ่านการบรรยาย 2. แลกเปล่ยี นเรียนรู้ระหว่างผู้สอนและผเู้ รยี น เนือ้ หา 1. แนวทางการประเมนิ เพอ่ื จัดระดับดาวส�ำหรบั สถานบริการสาธารณสุขทเี่ ปน็ มิตรต่อสงิ่ แวดลอ้ ม Star Rating for Green and Clean Healthcare Facilities สง่ิ สนบั สนนุ ในการดำ� เนนิ งานทเ่ี กย่ี วขอ้ งจากองคก์ ารอนามยั โลก ทงั้ องคค์ วามรวู้ ชิ าการ แนวทางปฏบิ ตั ิ และ เครอ่ื งมอื ตา่ งๆ เชน่ Climate Change advocacy toolkits และ GHG emission calculation รวมถงึ ภาพรวมของ การด�ำเนนิ งานขององค์การอนามัยโลก ทใ่ี หก้ ารสนับสนุนประเทศต่างๆ ในการขบั เคลื่อนงาน สรุปดงั นี้ 1) แนวทางการประเมนิ เพื่อจดั ระดบั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ สาธารณสุขลดโลกรอ้ น 2) การสนับสนุนทางวิชาการขององค์การอนามัยโลกต่อประเทศต่างๆ เช่น GHG assessment tools, climate change and health online advocacy toolkit, regional guidance documents เป็นตน้
หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าทส่ี าธารณสุข 125 เพือ่ รองรับระบบสุขภาพที่ยดื หยุ่นรองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ CONTENTS I BACKGROUND AND CONTEXT II STAR RATING MECHANISM Summary of the mechanism Process of assessment Audit protocol Composite scoring system Four KPI Levels Governance mechanism III KEY PERFORMANCE INDICATORS Key health determining sectors Health workforce management Water, sanitation and health care waste Energy Infrastructure, technologies and products Means of Verification IV WHY GO FOR IT? เนื้อหาในบทน้ีจะกล่าวถึง 1. เบื้องหลงั และบรบิ ท 2. กลไกการตดิ ดาว - สรุปกลไก. - กระบวนการประเมนิ . - มาตรการตรวจสอบ - ระบบการใหค้ ะแนนแบบผสม - ระดบั KPI สี่ระดบั - กลไกของภาครัฐ 3. ตัวบ่งช้ปี ระสทิ ธภิ าพหลัก - ภาคการก�ำหนดสขุ ภาพท่สี �ำคัญ. - การจดั การแรงงานเพอ่ื สุขภาพ - ขยะทางนำ้� สุขาภิบาล และการดูแลสุขภาพ - พลงั งาน - โครงสรา้ งพน้ื ฐาน เทคโนโลยี และผลิตภัณฑ์ - วิธีตรวจสอบ 4. ท�ำไมต้องทำ�
126 หลกั สูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข เพอ่ื รองรับระบบสุขภาพที่ยดื หยุ่นรองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ BACKGROUND AND CONTEXT As the climate crisis continues, the risk to our health systems and health care facilities is increasing. Health care facilities are emerging as a source of significant pollution due to the use of energy intensive technologies and generation of hazardous waste. There is a pressing need for healthcare facilities to achieve climate resilience and environmental sustainability Development of protocol for Star rating of health care facilities for assessment of climate resilience in health care facilities will provide an inspirational framework to the Health care facilities to be climate resilient and environmentally sustainable; inspire optimal utilization of resources and minimize waste produced. Objective To create an enabling ecosystem for improvement of health care facilities for climate resilience and environmental sustainability in the following four key health determining sectors. Health workforce management Energy Watearn,dSHaneiataltthiocnaarendwaHsytgeiene Infrastrauncdturper,otdeucchtnsologies Classification of Health Care Facility Aspirational 5-star Tier of HCFs Definition Rating Scale 4-star Small 3-star - Bed-strength <= 30 beds 2-star - includes stand-alone dispensaries and 1-star clinics Medium Bed-strength > 30 but <= 100 beds Large Bed-strength > 100 beds ความเปน็ มาและบรบิ ท 1. ขณะท่ีวิกฤตภูมิอากาศยังคงด�ำเนินต่อไป ความเสี่ยงต่อระบบสุขภาพและสถานบริการสาธารณสุข เช่นกนิ เพ่มิ ขึน้ 2. สถานบริการสาธารณสุขก�ำลังเกิดขึ้นเป็นแหล่งมลพิษที่ส�ำคัญเน่ืองจากการใช้เทคโนโลยีท่ีใช้พลังงาน อยา่ งเข้มข้นการผลติ ของเสยี อนั ตราย 3. มีความจ�ำเป็นเร่งด่วนส�ำหรับสถานบริการสาธารณสุขเพื่อบรรลุความยืดหยุ่นของสภาพภูมิอากาศและ ความย่งั ยนื ของสิ่งแวดล้อม 4. การจัดท�ำ Protocol สำ� หรับการประเมินความยดื หยนุ่ ของสภาพภมู อิ ากาศในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ จะจดั หากรอบการสรา้ งแรงบนั ดาลใจใหก้ บั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ใหม้ คี วามทนทานตอ่ สภาพภมู อิ ากาศ และยั่งยืนต่อส่ิงแวดล้อมสร้างแรงบันดาลใจในการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมและลดปริมาณของเสียท่ี ผลิตออกมา วัตถุประสงค์: เพื่อสร้างระบบนิเวศที่เอ้ืออ�ำนวยส�ำหรับการปรับปรุงสถานบริการด้านสุขภาพส�ำหรับความยืดหยุ่น ของสภาพอากาศและความยัง่ ยนื ของส่ิงแวดลอ้ มในภาคสว่ นการก�ำหนดสุขภาพทีส่ �ำคัญ 4 อยา่ ง ต่อไปน้ี 1) การจดั การบคุ ลากรทางการแพทย์และสาธารณสขุ 2) พลังงาน 3) น�ำ้ สุขาภบิ าล และสขุ ลักษณะ และขยะมลู ฝอย 4) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เทคโนโลยี และผลติ ภณั ฑ์
หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุข 127 เพ่ือรองรบั ระบบสขุ ภาพทยี่ ืดหยุ่นรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ STAR RATING PROCESS FLOW Summary of the mechanism Initiating the Star rating process An initial roster of Self Assessment Stage health care facilities would be invited for Health care facility Third Party Audit Rating awarded star rating would be granted Health care facilities access to online All documents Post a successful third- can also volunteer to be interface submitted would be party audit the Star evaluated for a star They need to complete verified by the third- Rating would be rating the self assessment party audit recommended for the process within 60 days During physical visit, healthcare facility and upload all KPIs from the self- The health care facility necessary evidence assessment form would can accept the rating, documents along with be verified or perform the self- their submission independently via assessment again observation and incorporating third interviews party audit feedback post a 60 day cool off period กระบวนการจดั อันดับดาว สรปุ กลไกได้ ดงั น้ี 1) เริ่มกระบวนการจดั อันดบั ดาว รายชื่อสถานบริการสาธารณสุขเบ้ืองต้นจะได้รับเชิญให้จัดระดับดาว สถานบริการสุขภาพสามารถอาสา ที่จะประเมนิ ระดับดาวได้ 2) ข้ันตอนการประเมินตนเอง สถานบริการสาธารณสุขจะได้รับอนุญาตให้เข้าถึงอินเทอร์เฟซออนไลน์ พวกเขาต้องด�ำเนินการตาม ขนั้ ตอนการประเมนิ ตนเองใหเ้ สรจ็ สน้ิ ภายใน 60 วนั และ อปั โหลดลดเอกสารหลกั ฐานทจี่ ำ� เปน็ ทง้ั หมดพรอ้ ม กบั การส่ง 3) การตรวจสอบภายนอก เอกสารทั้งหมดท่ีส่งมาจะได้รับการยืนยันโดยผู้ตรวจสอบภายนอก ในระหว่างการตรวจร่างกาย KPI จากแบบฟอร์มการประเมินตนเองจะไดร้ บั การตรวจสอบอยา่ งอสิ ระผ่านการสังเกตและการสัมภาษณ์ 4) ระดับการใหค้ ะแนนไดร้ บั รางวลั ลงประกาศ สำ� เรจ็ บคุ คลภายนอกขอแนะนำ� ใหต้ รวจสอบการจดั ระดบั ดาวสำ� หรบั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ สถานบริการสุขภาพสามารถยอมรับการให้คะแนน หรือท�ำการประเมินตนเองอีกครั้งโดยรวมข้อเสนอ แนะจากการตรวจสอบบคุ คลทสี่ ามไว้ด้วยหลังชว่ งพกั ร้อน 60 วัน
128 หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสุข เพอื่ รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ยี ืดหยุ่นรองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ STAR RATING PROCESS FLOW Process of assessment HCSFtaIrnRviatetidngfor AOcncleinIsnesteRgrrfeaascnpetoendsteo 60-day period comFoprlmeted vHoCluFntoaprytinrgatfinogr Yes No Yes Reqpuaertsyt afourdtithird Rfoaernsdbuolitnt:hvNitvoeotdluRHnatCtaeFrdy Selpeacrttiyonauodf ittohirrd- No 90-day period Ausduitbmrperisosucslietossns oafnd Authoariuzdaittion of NOonteR- aStteadr fRoarRtbineogstuhflotv:roilnuvnitteadryHHCCFF Reapplication after 60 days AwaRrdatoinfgStar กระบวนการจัดอนั ดบั ดาว (ขั้นตอนการประเมนิ ) - สถานบริการสาธารณสุขท่ีเข้ารับการประเมินจะมี 2 หมวด คือ สถานบริการสาธารณสุขท่ีถูกเชิญ ใหเ้ ขา้ รว่ มการประเมนิ และสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทสี่ มคั รใจ โดยทงั้ 2 หมวด จะเขา้ สกู่ ระบวนการใหส้ ทิ ธเ์ิ ขา้ ถงึ อนิ เทอรเ์ ฟซการตอบกลบั ออนไลน์ ขน้ั ตอนนจี้ ะใชก้ ระบวนการ 60 วนั จงึ เสรจ็ สมบรู ณแ์ ลว้ หากไมผ่ า่ น ในขั้นตอนน้ี ผลคือจะไม่ได้รับดาวส�ำหรับการประเมิน ซึ่งหากสถานบริการสาธารณสุขต้องการจะเข้ารับ การประเมินอีกคร้งั จะตอ้ งเข้าสู่กระบวนการใหม่หลังจาก 60 วนั เปน็ ต้นไป - หากสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทผ่ี า่ นการประเมนิ ในขนั้ ตอนแรกแลว้ จะเขา้ สกู่ ระบวนการ จดั ทำ� คำ� ขอใหต้ รวจ สอบโดยบุคคลภายนอก ในขั้นตอนนี้หากไม่ผ่าน (ซ่ึงจะประกาศผลในระยะเวลา 90 วัน สถานบริการ สาธารณสุขที่ได้รับการคัดเลือกจะได้รับ 1 ดาว แต่สถานบริการสาธารณสุขท่ีเข้ารับการประเมิน โดยความสมัครใจ จะไม่ได้รับดาว ซ่ึงหากสถานบริการสาธารณสุขต้องการจะเข้ารับการประเมินอีกครั้ง จะตอ้ งเข้าส่กู ระบวนการใหมห่ ลังจาก 60 วันเป็นต้นไปเช่นกนั - หากสถานบริการสาธารณสุขผ่านการประเมินข้ันตอนการจัดท�ำค�ำขอให้ตรวจสอบโดยบุคคลภายนอก จะเข้าสู่กระบวนการคัดเลือกผตู้ รวจสอบบญั ชที ี่เปน็ บุคคลภายนอก เมอื่ อนุมัตกิ ารตรวจสอบแลว้ จะเข้าสู่ กระบวนการตรวจสอบและการสง่ ผลงานและทา้ ยสดุ จะไดร้ างวลั สถานบรกิ ารสขุ ภาพการจดั อนั ดบั ตดิ ดาว
หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสขุ 129 เพ่ือรองรับระบบสขุ ภาพที่ยดื หยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ASuTdAitRprRoAtoTcIoNl G PROCESS FLOW HRCeFqfuoaerusttdhibitrydpthaerty Selpeacrttiyonauodf ittohirrd- Auththoerizaautidoint for SAutadristReflaoftrianstghseeosbpstrmaoiveninestidonoanl RaAtwinagArdbuytohfCotrohitmey*pSettaernt RethceomSmtaer nRdaetdingfor Yes QualoififeSdtaforrRtahteinagward No wHitChFthSeatRisafiteindg Yes Yes No lQouwaelirfiSedtarfoRr athtine Validity offotrh2e yReaatirnsg. shall be No Selpeacrttiyonauodf ittohirrd- Auththoerizaautidoint for Tinovibteedinhaceftlaueldrthe2dcyaienraetrhsfaecliilsittieosf Rapeueqdruiiotedsatfotfefor3rc0soedocaloinynsgd Canvoreluanptpalryy ecaartleiegrourynder c*IonncsaidseereadHfoCrFthoeptaswfoarrdthoef sSetacronRdatainugd.it, the higher rating among the two audits shall be ขั้นตอนการจัดระดับดาว (ระเบยี บการตรวจสอบ) - สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทผี่ า่ นการเขา้ สกู่ ระบวนการ จดั ทำ� คำ� ขอใหต้ รวจสอบโดยบคุ คลภายนอก จะเขา้ สู่ กระบวนการตรวจสอบ โดยเริ่มจากการคัดเลือกการตรวจสอบโดยบุคคลภายนอก และเริ่มการประเมิน ข้นั แรกด้วยการตรวจสอบการใหค้ ะแนนระดบั ดาวชวั่ คราวจากการประเมนิ ตนเอง - ขั้นตอนต่อไปจะเป็นขั้นตอนการประเมินเพื่อจัดอันดับดาวของสถานบริการสาธารณสุข ตามหลักเกณฑ์ การจัดอันดับดาวของสถานบริการสาธารณสุข และหากไม่ผ่านการประเมินในขั้นตอนน้ี สามารถจัดท�ำ ค�ำขอใหต้ รวจสอบโดยบุคคลภายนอกไดเ้ ป็นคร้งั ที่ 2 ในเวลา 30 วัน และเขา้ ส่กู ารประเมินอีกครัง้ - หากสถานบริการสาธารณสุขผ่านการประเมินการจัดอนั ดบั ดาว ซ่ึงผลของการจดั อนั ดบั ดาวจะมีผล 2 ปี และจะมรี ายชอื่ อยใู่ นสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทถ่ี กู เชญิ ใหเ้ ขา้ รบั การประเมนิ หรอื สมคั รเขา้ รบั การประเมนิ ได้อีกครง้ั ในหมวดสถานบรกิ ารสาธารณสขุ สมคั รใจ * ในกรณีที่สถานบริการสาธารณสุขเลือกใช้การตรวจสอบคร้ังที่ 2 การให้คะแนนท่ีสูงกว่าในการตรวจประเมิน ท้ัง 2 คร้งั จะได้รับการพิจารณาใหไ้ ด้รบั รางวัลการจัดระดับดาว
130 หลกั สตู รพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข เพ่ือรองรับระบบสขุ ภาพท่ียดื หยุน่ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ FOUR KPI LEVELS Levels with increasing levels of stringency Essential Management Desirable Leadership • KPIs necessary for provision • KPIs derived from the • KPIs based on the leading • KPIs based on of basic-level of healthcare good practices practices on climate aspirational levels of services recommended by global resilience and practices, that provide • It is critical to meet these and national standards environmental high level of resilience KPIs for maintaining the • Adequate level of sustainability during emergency minimum acceptable level of resources and effort is • Represents interventions situations healthcare delivery invested in building that provide a desirable • Represents continuous • These mandatory as per climate resilience into level of resilience during improvement in thematic local codes in most countries the system emergency situations areas • Require limited resources • Interventions under • Require significant effort • Derived from and efforts for Level 2 can be and resources for benchmarked practices implementation implemented within a implementation, such as with mature monitoring • Directly impact the safety short period of time budget allocation, and evaluation and health of the occupants • e.g., implementing regulatory approvals or frameworks and infrastructure capacity building feasibility study • Interventions which initiatives for training of • Interventions that can require more than a year staff transform the functioning of time for of health care facility implementation • Level 3 Interventions can • Require significant be implemented within a capital investment, limited time period planning etc. • e.g., development of • Need comprehensive disaster risk reduction overhaul of the entire plans facility • e.g., installation of rainwater harvesting infrastructure 4 ระดับของตัวช้วี ัด (KPI) (ระดบั ท่มี รี ะดับความเข้มงวดเพ่มิ ขึน้ ) 1. สาระส�ำคญั - KPI จำ� เปน็ ส�ำหรับการใหบ้ ริการด้านสขุ ภาพระดับพน้ื ฐาน - จำ� เปน็ อย่างย่ิงที่จะต้องปฏบิ ตั ติ าม KPI เหลา่ นเ้ี พ่ือรกั ษาระดับการสง่ มอบการรักษาพยาบาลใหอ้ ยู่ใน ระดับต�่ำสดุ ที่ยอมรับได้ - เป็นขอ้ บงั คบั ตามรหสั ทอ้ งถิ่นในหลายประเทศ - ต้องการทรัพยากรและความพยายามทจี่ �ำกดั สำ� หรบั การดำ� เนินการ - สง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ ความปลอดภยั และสขุ ภาพของผ้โู ดยสารและโครงสร้างพน้ื ฐาน 2. การจดั การ - KPI ทไ่ี ดม้ าจากแนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดซี ง่ึ ไดร้ ับการแนะนำ� โดยมาตรฐานระดบั โลกและระดบั ประเทศ - มกี ารลงทนุ ในระดบั ทรพั ยากรและความพยายามทเี่ พยี งพอในการสรา้ งความยดื หยนุ่ ของสภาพอากาศ เขา้ สูร่ ะบบ - การแทรกแซงภายใต้ระดบั 2 สามารถเกดิ ขนึ้ ได้ในช่วงเวลาสัน้ ๆ ท่ีบงั คบั ใช้ - เชน่ การด�ำเนินการรเิ ริ่มสร้างขดี ความสามารถสำ� หรบั การฝึกอบรมพนักงาน
หลกั สตู รพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าท่ีสาธารณสขุ 131 เพือ่ รองรับระบบสขุ ภาพท่ียดื หยุ่นรองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 3. ลักษณะพงึ ประสงค์ - KPIs ตามแนวทางปฏบิ ตั ชิ นั้ นำ� ในเรือ่ งความยืดหยุน่ ของสภาพอากาศและความย่ังยืนของส่งิ แวดล้อม - แสดงถึงการแทรกแซงทใ่ี หร้ ะดับความยืดหยุน่ ที่ตอ้ งการในสถานการณ์ฉกุ เฉิน - ต้องใชค้ วามพยายามและทรัพยากรที่สำ� คัญในการด�ำเนนิ การ เชน่ การจดั สรรงบประมาณ การอนมุ ตั ิ ด้านกฎระเบียบ หรอื การศกึ ษาความเป็นไปได้ เปน็ ตน้ - การแทรกแซงทีส่ ามารถเปลยี่ นการท�ำงานของสถานบรกิ ารสุขภาพ - การแทรกแซงระดบั 3 สามารถดำ� เนนิ การได้ภายในระยะเวลาที่จ�ำกดั - เช่น การพฒั นาแผนลดความเส่ยี งจากภยั พิบัติ 4. ความเปน็ ผนู้ �ำ - KPls ขึน้ อยูก่ ับระดับของการฝกึ ปฏิบตั ิ ทีใ่ ห้ความยดื หยนุ่ ในระดับสูงในสถานการณ์ฉกุ เฉนิ - แสดงถึงการปรับปรงุ อย่างต่อเนอ่ื งในพนื้ ทเี่ ฉพาะเร่ือง - มาจากแนวทางปฏบิ ัติทีม่ ีการเปรียบเทยี บพรอ้ มกรอบการตดิ ตามและประเมนิ ผลท่ีครบถ้วน - การแทรกแซงที่ต้องใช้เวลามากกว่าหนึง่ ปีในการดำ� เนนิ การ - ต้องการเงินลงทนุ จำ� นวนมาก การวางแผน ฯลฯ - ต้องการการยกเครอ่ื งอย่างครอบคลุมของสิ่งอำ� นวยความสะดวกทัง้ หมด - เช่น การติดต้ังโครงสร้างพ้ืนฐานการเก็บน�้ำฝน
132 หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ เพอื่ รองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ดื หยุน่ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ STAR RATING PROCESS FLOW Composite scoring system aFsosrigonvienrgalleqrautainlgw, ethigehtcaugmeuslatotiveeacshcores across all themes will be assessed after Health care facility will get star rating based on the overall score sDcuorirnegdsuenlfd-aesrseeascshmethnetmanedatghairidn-sptaKrtPyIasucdaitt,ehgeoarlitzhedcairnetofaLcEiliVtyEwLSill be evaluated and rSecporreinsgenfotinr gKPthIsealreeaisnt tphoesrsainbgleesocfo0r-e4 or not applicable (in some cases) with 0 The total score will be calculated as a percentage of the maximum possible score for that level of indicators Essential Management Desirable Leadership 1-Star At least 75% sSycsotreinmg 2-Star 75-100% At least 75% 3-Star 4-Star 75-100% 75-100% At least 75% 5-Star 7-Star (Aspirational) 75-100% 75-100% 75-100% At least 75% 75-100% 75-100% 75-100% 75-100% 100% 100% 100% 100% ล�ำดับข้ันตอนการจดั ระดบั ดาว (ระบบการใหค้ ะแนนแบบผสม) 1. ส�ำหรับคะแนนโดยรวม คะแนนสะสมในทุกหัวข้อจะได้รับการประเมินหลังจากก�ำหนดน�้ำหนักที่เท่ากัน ใหแ้ ต่ละสว่ น 2. สถานบริการสาธารณสุขจะไดร้ บั การจดั อันดบั ดาวตามคะแนนโดยรวม 3. ในระหวา่ งการประเมนิ ตนเองและการตรวจสอบโดยบคุ คลทสี่ าม สถานบรกิ ารสขุ ภาพจะไดร้ บั การประเมนิ และให้คะแนนภายใตแ้ ต่ละหัวข้อเทียบกับ KPI ท่ีจดั ประเภทเปน็ ระดบั 4. การให้คะแนนสำ� หรบั KPI อยใู่ นช่วง 0-4 หรือไมส่ ามารถใช้ได้ (ในบางกรณ)ี โดยที่ 0 หมายถึงคะแนนท่ี นอ้ ยท่ีสุด 5. คะแนนรวมจะคำ� นวณเป็นเปอรเ์ ซน็ ตข์ องคะแนนสงู สดุ ท่เี ป็นไปไดส้ ำ� หรับตัวบง่ ช้รี ะดับน้ัน เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนระดับดาว มดี งั น้ี ระดับดาว สาระสำ� คัญ การจดั การ ความเปน็ ผู้น�ำ ความมงุ่ มัน่ 1-ดาว อยา่ งนอ้ ย 75% อยา่ งนอ้ ย 75% 2-ดาว 75-100% อยา่ งน้อย 75% อยา่ งนอ้ ย 75% 75-100% 3-ดาว 75-100% 75-100% 75-100% 100% 4-ดาว 75-100% 75-100% 5-ดาว 75-100% 75-100% 100% 7-ดาว (ความมุ่งมนั่ ) 100% 75-100% 100%
หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสุข 133 เพ่อื รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ียดื หยุ่นรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ GOVERNANCE MECHANISMTier 2 Tier 1 Responsibility Matrix divided into a three-tier matrixTier 3 National Ministry of Health Development of policy framework and operational guide Monitoring and evaluation of Star-Rating system State*/ Provincial level Officials Implementation of national operational guidelines Specific customizations may be allowed depending upon local context Empanelment and renewal of third-party auditors/ agencies District/ Municipality level Officials Grass-root level implementation of the star rating mechanism Facilitating adoption of Star-Rating mechanism within their jurisdiction Providing Star-Rating based on recommendations of the third-party auditor/agency *In countries without state/provincial level administration, there would be two-tier system – national and district/municipality levels. Responsibilities of state/provincial administration will be transferred to the national ministry of health. กลไกการกำ� กับดแู ล (ศนู ยค์ วามรบั ผดิ ชอบแบง่ ออกเป็น 3 ระดบั ) 1. กระทรวงสาธารณสขุ - การพัฒนากรอบนโยบายและแนวทางการปฏบิ ตั ิงาน - การติดตามและประเมินผลระบบการให้คะแนนดาว 2. หนว่ ยงานรฐั /เจ้าหน้าทร่ี ะดบั จงั หวดั - การด�ำเนินการตามแนวทางการปฏบิ ัติงานระดับชาติ - การปรับแตง่ เฉพาะอาจได้รบั อนญุ าตข้ึนอยู่กบั บรบิ ทท้องถ่ิน - การลงรายช่อื และการต่ออายุของผู้ตรวจสอบ/หนว่ ยงานภายนอก 3. เจ้าหน้าท่ีระดบั อำ� เภอ/เทศบาล - การนำ� กลไกการใหค้ ะแนนดาวไปใชใ้ นระดบั รากหญ้า - อ�ำนวยความสะดวกในการนำ� กลไกการให้คะแนนติดดาวมาใช้ในเขตอำ� นาจศาลของตน - การจัดระดับดาวตามคำ� แนะน�ำของผู้ตรวจสอบ/หน่วยงานทเ่ี ปน็ บคุ คลภายนอก * ในประเทศที่ไม่มีการบริหารระดับรัฐ/จังหวัด จะมีระบบสองระดับ-ระดับชาติและระดับอ�ำเภอ/องค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถิน่ ความรบั ผดิ ชอบของการบรหิ ารรัฐ/จังหวัดจะถกู โอนไปยงั กระทรวงสาธารณสขุ แห่งชาติ
134 หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ เพ่ือรองรับระบบสุขภาพที่ยดื หยุ่นรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ STAR RATING PROCESS FLOW Composite scoring system Health workforce Health Workforce management Capacity Development ClimEantHsveuiefrasraoectalnatsinhlmiiinltdiiecaeenabnsrtlteaewllyaste Water, Sanitation Health Care Facility Maintenance and Upkeep and Health care Water Resource Management Disaster Preparedness waste Sanitation, Waste and Wastewater Energy Management Energy Usage at Health Facility Energy Efficiency Diversification Emergency Backup Infrastructure, Planning & Commissioning New Health Care Technologies and Facilities Technological Upgradation products Disaster Preparedness Maintenance and Upgradation of Existing Health Categories 2. ตวั ชว้ี ัดประสิทธิภาพทส่ี ำ� คญั ตวั ชวี้ ดั พน้ื ฐาน 4 ประการ สำ� หรบั การใหก้ ารดแู ลทป่ี ลอดภยั และมคี ณุ ภาพ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทย่ี ดื หยนุ่ และเปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ ม ประกอบดว้ ย 1. การบรหิ ารจัดการกำ� ลังคนด้านสุขภาพ ไดแ้ ก่ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และการพัฒนากำ� ลงั การผลิต 2. สุขาภบิ าลน�ำ้ และของเสยี จากการดแู ลสุขภาพ - การบ�ำรุงรักษาสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ดา้ นการดแู ลสขุ ภาพและการบ�ำรงุ รักษา - การจัดการทรพั ยากรน�ำ้ - การเตรยี มพร้อมรบั ภัยพิบตั ิ - การจดั การสุขาภิบาล ของเสีย และน้�ำเสยี 3. พลงั งาน - การใช้พลงั งานในสถานบรกิ ารสาธารณสุข - ประสทิ ธิภาพของพลงั งาน - การกระจายความเสย่ี ง - พลงั งานสำ� รองในภาวะฉุกเฉิน 4. โครงสร้างพน้ื ฐาน เทคโนโลยี และผลิตภัณฑ์ - แผนและระเบยี บการจดั จ้างส�ำหรับโครงสรา้ งพื้นฐาน - เทคโนโลยใี นสถานบริการสาธารณสุขและการปรบั ปรุงเทคโนโลยี - การเตรยี มพรอ้ มรองรบั ภยั พิบตั ิ - การบ�ำรุงรักษา
หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าทสี่ าธารณสขุ 135 เพอื่ รองรับระบบสขุ ภาพที่ยืดหยนุ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ HEALTH WORKFORCE MANAGEMENT Key Performance Management 40 Small Medium Large Health EXAMPLES Essential Essential Essential Workforce The health care facility has a system to provide health 14 workers (such as voluntary medical personnel) with necessary credentials rapidly in an emergency situation in accordance with health care facility and national health authority policies Capacity The health workforce identifies opportunities to improve Desirable Management Essential Development work practices in environmentally friendly ways, and integrating initiatives (such as assess their water and 29 electricity use for implementing potential savings measures, monitor and assess water drips, leaks, and unnecessary flows in bathrooms, laundry facilities, kitchen, etc. for prompt repairs etc.) การบริหารจดั การบุคลากรดา้ นสขุ ภาพ 1. การพัฒนาบคุ ลากร สถานบริการสาธารณสุขมีระบบดูแลสุขภาพคนงาน (เช่น บุคลากรทางการแพทย์อาสาสมัคร) มีข้อมูล ประจ�ำตัวที่จ�ำเป็นอย่างรวดเร็วในสถานการณ์ฉุกเฉินตามสถานบริการสาธารณสุขและนโยบายของหน่วยงาน ด้านสุขภาพ 2. การพฒั นากำ� ลงั ผลิต บุคลากรด้านสุขภาพระบุโอกาสในการพิสูจน์แนวทางปฏิบัติในการท�ำงานท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม และบรู ณาการความคดิ รเิ รม่ิ (เชน่ ประเมนิ การใชน้ ำ�้ และไฟฟา้ เพอ่ื ดำ� เนนิ มาตรการประหยดั ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ตรวจสอบ และประเมินน�ำ้ หยด การร่ัวไหล และการไหลทไ่ี มจ่ ำ� เป็นในห้องน้ำ� หอ้ งซกั รดี สง่ิ อ�ำนวยความสะดวก หอ้ งครวั ฯลฯ สำ� หรบั การซ่อมแซมอยา่ งรวดเรว็ ฯลฯ)
136 หลักสูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ เพอื่ รองรับระบบสุขภาพท่ียดื หยุ่นรองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ WATER, SANITATION AND HEALTH CARE WASTE Key Performance Indicators 52 Health care facility EXAMPLES Small Medium Large maintenance & upkeep The health care facility has a WASH climate risk management plan Leadership Leadership Leadership that includes assessments and mapping of climate change risks to 14 the water and sanitation infrastructure of health care facility and Leadership Leadership Leadership to identify where services could be disrupted from floods, water Desirable Desirable Management Water Resource scarcity, landslides, sea-level rise Management The harvested rainwater or grey water is safely used to flush toilets, clean outdoor pavement areas, water plants where 9 possible Disaster There is provision to ensure water storage is safe (i.e. from Preparedness climate-related extreme weather events) and sufficient to meet the needs of the facility for two days* 9 Sanitation, waste The health care facility has a protocols in place to identify, clearly Desirable Management Essential & wastewater label using the Globally Harmonized Classification System and management safely use hazardous chemicals within the organization 4 ของเสยี จากน้ำ� การสุขาภิบาล และการดูแลสขุ ภาพ การดแู ลและบ�ำรุงรักษาสถานบริการสาธารณสุข สถานบริการสุขภาพมแี ผนการจัดการความเสย่ี งดา้ นสภาพอากาศของ WASH ซ่งึ รวมถึงการประเมินและ การทำ� แผนทคี่ วามเสยี่ งจากการเปลยี่ นแปลงสภาภมู อิ ากาศกบั โครงสรา้ งพนื้ ฐานดา้ นนำ้� และสขุ าภบิ าลของ สถานบรกิ ารสขุ ภาพ และเพอ่ื ระบตุ ำ� แหนง่ ทอี่ าจขดั ขวางการบรกิ ารจากอทุ กภยั การขาดแคลนนำ้� ดนิ ถลม่ การเพ่ิมขน้ึ ของระดับนำ�้ ทะเล การจดั การทรพั ยากรน้ำ� นำ้� ฝนทเ่ี กบ็ เกยี่ วหรอื นำ�้ สเี ทาใชล้ า้ งหอ้ งนำ้� ทำ� ความสะอาดพนื้ ทางเดนิ กลางแจง้ รดนำ�้ ตน้ ไมไ้ ดอ้ ยา่ งปลอดภยั การเตรยี มพรอ้ มรบั มอื กับภยั พิบัติ มีการจัดเตรียมเพื่อให้ม่ันใจว่าการจัดเก็บน�้ำมีความปลอดภัย (เช่น จากเหตุการณ์สภาพอากาศสุดข้ัว ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับสภาพอากาศ) และเพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของสถานทเ่ี ป็นเวลาสองวนั * การจดั การดา้ นสุขาภิบาล ของเสีย และนำ�้ เสีย สถานบริการสุขภาพมีระเบียบวิธีในการระบุติดฉลากอย่างชัดเจนโดยใช้ระบบการจ�ำแนกประเภท ทส่ี อดคลอ้ งทั่วโลก และใช้สารเคมีอันตรายอย่างปลอดภยั ภายในองคก์ ร
หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสุข 137 เพอ่ื รองรบั ระบบสุขภาพท่ียดื หยนุ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ WATER, SANITATION AND HEALTH CARE WASTE Key Performance Indicators 40 EXAMPLES Small Medium Large Energy Usage Assessed energy needs, availability and alternative Essential Essential Essential sources of renewable energy 10 Emergency backup covers at least all critical service areas Desirable Management Essential Energy Backup and equipment 9 Improved energy efficiency of the HCF vehicles fleet, & Leadership Desirable Desirable encouraging staff, patients and visitors to walk or use Energy carpools, public transport, or bicycles possible Efficiency Renewable Energy utilization Leadership Desirable Desirable 16 Diversification 5 พลงั งาน การใชไ้ ฟฟ้า ความพรอ้ มใชง้ าน และแหลง่ พลังงานทดแทน พลังงานส�ำรอง การสำ� รองข้อมูลฉกุ เฉินครอบคลมุ พนื้ ทบ่ี ริการและอปุ กรณ์ทสี่ �ำคญั อย่างน้อยท้ังหมด ประสทิ ธภิ าพการใชพ้ ลังงาน ปรับปรุงประสิทธภิ าพการใชพ้ ลงั งานของกองยานพาหนะ สถานบรกิ ารสาธารณสุข และสนบั สนนุ ใหเ้ จา้ หน้าท่ี ผู้ปว่ ย และผมู้ าเย่ียมเดินหรอื ใชร้ ถรว่ ม ขนสง่ สาธารณะ หรือจักรยานได้ การกระจายการลงทุน การใชพ้ ลังงานทดแทน
138 หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข เพอื่ รองรับระบบสุขภาพท่ียดื หยุ่นรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ WATER, SANITATION AND HEALTH CARE WASTE Key Performance Indicators 40 oPCfloanmnenmwinisgHsCi&oFnsing EXAMPLES Small Medium Large 6 Established partnerships between the HCF, community Management Management Management and local authorities to reduce climate vulnerability in the &MaUinptgernaadnactieon surrounding communities Management Management Essential 14 Mapped exposure of health care facility to all types of Management Management Management hazards and risk of the events (such as biological, Leadership Leadership Leadership DPriseapsatreerdness chemical, geological, hydrometeorological, technological, societal) 16 Health workers trained to respond to new infectious diseases threats emerging from climate related events or UTepcghradation environmentally related, including post-disaster case management and proper infection prevention and control 4 National and local early warning system developed for early action to respond to extreme weather events โครงสรา้ งพนื้ ฐาน เทคโนโลยี และสินค้า การจัดท�ำแผนและจัดท�ำระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างในสถานบริการสาธารณสุขที่ยั่งยืนและยืดหยุ่นรองรับ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศใหม่ เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพ้ืนท่ี ระหว่างสถานบริการสาธารณสุข ชุมชน และ หนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ ที่เก่ียวขอ้ ง เพอื่ ลดความเปราะบางของสภาพภูมิอากาศในชมุ ชนโดยรอบ การบ�ำรุงรกั ษาและปรับปรงุ จดั ทำ� แผนผงั แสดงสถานทใ่ี หบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาฑสำ� หรบั อนั ตรายทกุ ประเภทและความเสย่ี งของเหตกุ ารณ์ เชน่ ทางชีวภาพ, เคม,ี ธรณีวทิ ยา, อุทกอุตนุ ยิ มวิทยา, เทคโนโลยี, สังคม เปน็ ต้น การเตรียมพร้อมรบั มอื กบั ภัยพิบัติ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้รับการฝึกฝนให้ตอบสนองต่อภัยคุกคามโรคติดเชื้อใหม่ๆ ท่ีเกิดจากเหตุการณ์ ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั สภาพอากาศหรอื ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สงิ่ แวดลอ้ ม รวมถงึ การจดั การกรณหี ลงั ภยั พบิ ตั แิ ละ การปอ้ งกนั และควบคมุ การตดิ เชือ้ อย่างเหมาะสม การปรับปรงุ เทคโนโลยี พฒั นาระบบเตอื นภยั ลว่ งหนา้ ระดบั ประเทศและระดบั ทอ้ งถน่ิ สำ� หรบั การดำ� เนนิ การตงั้ แตเ่ นน่ิ ๆ เพอื่ รองรบั ต่อเหตกุ ารณ์สภาพอากาศสุดข้วั (เชน่ น�้ำท่วมฉับพลนั พายุ เปน็ ตน้ )
หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าทส่ี าธารณสุข 139 เพอื่ รองรับระบบสขุ ภาพท่ียืดหยุ่นรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ STAR RATING PROCESS FLOW - All documentary evidence provided during self-assessment Composite scoring system stage will be verified by the thirdparty auditor/agency Health care facility must upload - The third-party auditor shall necessary evidence: make independent observations to validate the information Documented policies provided in the self-assessment Protocols, registers, and - MIS accessible on IT-enabled logbooks maintained for routine devices will be used by auditors documentation to record their observations and Data collection and analysis findings along with photographs. reports Photographs internal audit reports Copy of external audit reports Signed MoU/contracts Etc.. Self-assessment stage Third party audit ขนั้ ตอนการประเมนิ ตนเอง สถานบริการสาธารณสขุ ต้องอปั โหลดหลักฐานทจี่ ำ� เปน็ เชน่ ข้อกำ� หนด/นโยบายที่ไดร้ บั การบันทกึ – บทบาทหนา้ ท,่ี ลงทะเบยี น, และสมดุ บันทกึ ทีไ่ ดร้ บั การดแู ลส�ำหรับกจิ วัตรประจ�ำวนั – รายงานการรวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มลู – ภาพถา่ ย – รายงานการตรวจสอบภายใน – ส�ำเนารายงานการตรวจสอบภายนอก - MOU/ สัญญา การตรวจสอบจากบุคคลภายนอก - เอกสารหลกั ฐานทง้ั หมดทใ่ี หไ้ วใ้ นระหวา่ งขนั้ ตอนการประเมนิ ตนเองจะไดร้ บั การยนื ยนั โดยผตู้ รวจสอบ/ หนว่ ยงานท่ีเปน็ บุคคลทสี่ าม - ผตู้ รวจสอบบคุ คลทสี่ ามจะตอ้ งทำ� การสงั เกตอยา่ งอสิ ระเพอื่ ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ทใี่ หไ้ วใ้ น การประเมินตนเอง - ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร (Management Information System: MIS) ท่ีสามารถเข้าถึงได้ บนอปุ กรณท์ เี่ ปดิ ใชง้ าน IT จะถกู ใชโ้ ดยผตู้ รวจสอบเพอ่ื บนั ทกึ ขอ้ สงั เกตและการคน้ พบพรอ้ มกบั รปู ถา่ ย
140 หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุ เพื่อรองรบั ระบบสุขภาพทยี่ ืดหยุ่นรองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ WHY GO FOR IT? the SBteanrerfiatstifnoCgr ocmmomemcmuhunanitniytiiesLsmeavnedl countries Benefits of Implementing Benefits for hIenasltthituctaereLefavceillities and staff To identify areas of Help health care facilities Aid in strengthening staff It will boost staff morale A clear definition of improvement in the four in developing a roadmap knowledge, through continuous responsibilities and thematic areas for continuous competencies, and overall professional development accountability for improvement and to performance due to activities leadership, medical, achieve excellence and emphasis on capacity paramedical, and support become a model-health building and periodic staff. care facility. assessment. Benefits foCr ocmommmuunnitiytieLseavnedl countries Increase community trust in Achieving a Star Rating will Overall strengthening of health Benchmarking model health care services provided by the health provide a competitive advantage systems resilience facilities will augment the care facility by improving: to the health care facility, and it • To prevent disease outbreaks adoption of leading practices • experience of care can encourage other health care • Mount effective responses to • patient safety facilities to participate. emergencies • disaster preparedness • Bring emergencies under control faster ความส�ำคญั ของการประเมนิ เพือ่ จดั ระดบั สถานบริการสาธารณสขุ ท่ีเปน็ มิตรต่อสง่ิ แวดลอ้ ม ทำ� ไมต้องท�ำ? (ประโยชนข์ องการน�ำกลไกการจัดอันดบั ดาวมาใช้ในสถานบริการสาธารณสุข) 1. ระดับองค์กร ประโยชนส์ �ำหรับสถานบริการสาธารณสขุ และเจา้ หนา้ ที่ - ชว่ ยใหร้ ะบุสว่ นทค่ี วรจะปรับปรงุ การดำ� เนนิ งานสถานบริการสาธารณสขุ - ชว่ ยใหส้ ถานบรกิ ารสาธารณสขุ มกี ารพฒั นาแผนงานสำ� หรบั การปรบั ปรงุ อยา่ งตอ่ เนอื่ งและเพอ่ื ใหบ้ รรลุ ความเปน็ เลิศและกลายเปน็ สถานบริการสาธารณสขุ ตน้ แบบ - ช่วยในการเสริมสร้างความรู้ความสามารถและประสิทธิภาพโดยรวมของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เนอ่ื งจากเนน้ การสร้างขีดความสามารถและการประเมนิ เปน็ ระยะๆ - เสริมสร้างขวญั ก�ำลงั ใจของเจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสขุ ผา่ นกิจกรรมพฒั นาความเปน็ เลศิ อย่างต่อเนื่อง - ช่วยเพ่ิมความชัดเจนของความรับผิดชอบและความโปร่งใสในแต่ละบทบาทหน้าที่ส�ำหรับ ด้านความเปน็ ผู้น�ำ การจัดการเวชภัณฑย์ า และเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข 2. ระดับของชุมชน ประโยชนส์ �ำหรบั ชุมชนและประเทศตา่ งๆ - เพม่ิ ความไวว้ างใจของชมุ ชนในการใหบ้ รกิ ารโดยสถานบรกิ ารสาธารณสขุ โดยการปรบั ปรงุ กระบวนการ ตา่ งๆ ทีร่ องรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ เช่น ประสบการณก์ ารดูแล ความปลอดภยั ของผูป้ ่วย และการเตรียมพร้อมรบั ภัยพิบัติ เป็นต้น - การได้รับการจัดอันดับดาวจะท�ำให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันกับสถานบริการสาธารณสุข และสามารถส่งเสรมิ ใหส้ ถานบรกิ ารสาธารณสขุ อืน่ เขา้ ร่วมได้ - การเสรมิ สรา้ งความยดื หยนุ่ ของระบบสขุ ภาพโดยรวม เชน่ เพม่ิ การปอ้ งกนั การระบาดของโรค การพฒั นา ระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉินจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และน�ำไปสู่การควบคุมสถานการณ์ ฉุกเฉนิ ไดเ้ ร็วข้ึน - เป็นการปรับรูปแบบการดูแลสุขภาพของสถานบริการสาธารณสุขให้ดีข้ึน จะสร้างแนวทางปฏิบัติท่ีดี ยง่ิ ข้ึนในการดแู ลสุขภาพของประชาชน
หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าทส่ี าธารณสุข 141 เพ่อื รองรับระบบสุขภาพทย่ี ดื หย่นุ รองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ใบงานท่ี 1 การประเมินสถานพยาบาลทีย่ ดื หยุน่ รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ วธิ ดี �ำเนนิ กิจกรรม 1. แบง่ ผู้เรยี นอยา่ งน้อย 2 กลุม่ 2. ผู้สอนอธิบาย “แบบประเมินสถานพยาบาลท่ีมีความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ ความยง่ั ยืนดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม” 3. ให้ผู้เรียนร่วมระดมความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ผ่านการท�ำแบบประเมินสถานพยาบาลท่ีมี ความยดื หยุ่นตอ่ การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและ ความยง่ั ยืนดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม อยา่ งนอ้ ย 1 ชั่วโมง (หรืออาจจะมากกว่านน้ั ) 4. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ นำ� เสนอผลการประเมนิ สถานพยาบาลทม่ี คี วามยดื หยนุ่ ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ และ ความย่งั ยนื ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม และแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ร่วมกัน ระยะเวลา 2 ชวั่ โมง กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. เรียนรูผ้ ่านการทำ� กิจกรรม ระดมความคิดเห็น แลกเปลย่ี นเรียนรู้ประสบการณ์ 2. แลกเปล่ียนเรียนรูร้ ะหว่างผ้สู อนและผูเ้ รยี น เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ 1. คอมพวิ เตอร์โนต้ บุ๊ค 2. แบบประเมินสถานพยาบาลท่ีมีความยืดหยุ่นต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและความยั่งยืน ดา้ นสิง่ แวดล้อม 3. เข้าถึงแบบสอบถามฉบับเต็มท่ีเว็ปไซด์ https://www.who.int/publications/i/item/climate- resilient-and-environmentally-sustainable-health-care-facilities)
142 หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสุข เพอ่ื รองรับระบบสขุ ภาพที่ยดื หยนุ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ตวั อยา่ งแบบประเมนิ สถานพยาบาลทม่ี คี วามยดื หยนุ่ ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและความยง่ั ยนื ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ด้านท่ี 1 การจดั การนำ�้ การสขุ าภิบาล และการจัดการของเสียในสถานบริการสาธารณสุข (WASH) WASH: Monitoring and Assessment (Climate Resilience) โปรดให้คะแนนตามสถานการณ์การด�ำเนนิ งานจริงในสถานพยาบาลของท่าน 1 – ไม่มีการดำ� เนินงาน, 2-มีการด�ำเนนิ งานบางส่วนแล้ว, 3-มีการดำ� เนนิ งานอยา่ งสมบรู ณ์ ลำ�ดับที่ คำ�ถาม ปขจอรัดะงกเกภาารทร การจดั การ Rating 1) ไม่มีการดำ� เนนิ งาน 1.1 การตรวจสอบความปลอดภยั และการท�ำงานท่ี 2) มีการดำ� เนินงานบางสว่ นแลว้ เหมาะสมของระบบจา่ ยนำ้� ในสถานพยาบาล 3) มกี ารด�ำเนินงานอยา่ งสมบรู ณ์ 1.2 เชค็ ความเสอื่ มสภาพระบบเช่อื มตอ่ ของทอ่ น�้ำ 1.3 มรี ะบบการจัดการเพ่อื ตรวจสอบและบำ� รุงรกั ษา ดา้ นสุขาภบิ าลและน้ำ� ในสถานพยาบาล 1.4 มกี ารพฒั นาแผนการจัดการน้�ำอย่างปลอดภยั ท่ียืดหยนุ่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 1.5 มกี ารพฒั นาระบบการตรวจสอบคณุ ภาพนำ้� อยา่ ง สม�ำ่ เสมอ 1.6 มรี ะบบตรวจสอบทอ่ ระบายน�้ำล้นเพ่อื แกไ้ ขกอ่ น ชว่ งนำ้� ท่วม
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216