Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข_E Book

หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข_E Book

Published by chirtsaksri, 2023-07-02 04:15:36

Description: หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข_E Book

Search

Read the Text Version

หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าทส่ี าธารณสุข 193 เพ่อื รองรับระบบสขุ ภาพทีย่ ืดหยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ กรณีศึกษาการเฝ้าระวงั โรคแบบบูรณาการและการแจง้ เตอื นลว่ งหน้า Integrated Disease Surveillance & Early Warning forClimate Sensitive Disease Case Study Learning objectives • After completing Module 5, participants will be able to explain how Bhutan, a developing country is using integrated disease surveillance and early warning to manage climate sensitive public health threats. วัตถปุ ระสงคใ์ นการเรียนรู้ หลังจากเสร็จสิ้น Module น้ี ผู้เรียนสามารถอธิบายได้ว่า ประเทศภูฏาน ซ่ึงเป็นประเทศก�ำลังพัฒนา ใช้การเฝ้าระวังโรคแบบบูรณาการและการแจ้งเตือนล่วงหน้า เพ่ือจัดการภัยคุกคามด้านสาธารณสุขที่ไวต่อ สภาพภมู อิ ากาศอยา่ งไรบา้ ง

194 หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสขุ เพื่อรองรบั ระบบสุขภาพทย่ี ืดหยนุ่ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Data collection in the pilot sites 1. Health Data • Daily cases of Diarrhoea, ARI, Malaria, JE, Kala-azar, scrub typhus and Dengue 2. Meteorology Data • Daily & Monthly Rainfall, Temperature and Humidity 3. Vector Surveillance • Vector density and diversity 4. Water Yield Measurement การเกบ็ ขอ้ มลู ในสถานทนี่ ำ� รอ่ ง 1. ขอ้ มลู สขุ ภาพ - ข้อมูลการเจ็บป่วยรายวันของโรคอุจจาระร่วง, โรคติดเช้ือทางเดินหายใจ (ARI) , มาลาเรีย, โรคไข้สมองอกั เสบ (JE) , โรคลิชมาเนยี ซิส (Kala-azar), ไขร้ ากสาดใหญ่ และไข้เลอื ดออก 2. ขอ้ มูลอตุ ุนยิ มวิทยา - ปริมาณนำ้� ฝน อุณหภมู ิ และความชื้นรายวันและรายเดือน 3. การเฝ้าระวังพาหะน�ำโรค - ความหนาแนน่ และความหลากหลายของพาหะน�ำโรค 4. การวดั ปรมิ าณน�ำ้ Integrated risk monitoring/surveillance Piloting Integrated Surveillance for climate sensitive diseases การตดิ ตาม/เฝ้าระวังความเสี่ยงแบบบูรณาการ การน�ำรอ่ งการเฝา้ ระวงั แบบบรู ณาการส�ำหรบั โรคทีไ่ วต่อสภาพภมู อิ ากาศ

หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุข 195 เพอ่ื รองรบั ระบบสุขภาพทยี่ ืดหยุน่ รองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ Climate Health Early Warning System Process กระบวนการของระบบเตอื นภยั ลว่ งหนา้ ดา้ นสขุ ภาพจากสภาพภมู ิอากาศ 1. การเก็บข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลสุขภาพ ข้อมูลสภาพภูมิอากาศ การเฝ้าระวังพาหะน�ำโรค น�ำไปสู่ การเฝา้ ระวงั แบบบรู ณาการ 2. การวิเคราะห์ข้อมูล (หรือการสร้างแบบจ�ำลอง) โดยใช้ตัวแปรสภาพภูมิอากาศเป็นตัวแปรพยากรณ์โรค พัฒนาการสง่ ต่อแบบจ�ำลองการคาดการณ์ลว่ งหน้าใหท้ ันเวลา 3. ตรวจสอบความถกู ต้องแบบจำ� ลอง 4. ออกแบบระบบและทดสอบภาคสนาม 5. แจง้ เตอื นความเสย่ี ง 6. สรา้ งความเข้มแข็ง/พัฒนาแผนรบั มือภยั ความเสย่ี งที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ

196 หลักสูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข เพื่อรองรบั ระบบสุขภาพที่ยืดหยนุ่ รองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Model Validation: Warning for 2013 from the Model at Lhamoizingkha ตัวอย่าง: การตรวจสอบแบบจ�ำลอง: การแจ้งเตือนในปี 2013 จากแบบจ�ำลอง ท่ี Lhamoizingkha - แบบจ�ำลองได้รับการตรวจสอบโดยการเปรียบเทียบอุบัติการณ์ของโรคอุจาจาระร่วงท่ีเฝ้าระวังและ เทียบกับการคาดการณ์ ดัชนีความเสี่ยงด้านสุขภาพส�ำหรับโรคอุจจาระร่วง ค�ำนวณจากจ�ำนวนผู้ป่วยท่ี คาดการณ์ไวม้ ากกว่าจ�ำนวนผู้ปว่ ยเฉลี่ยในฤดรู อ้ น เพ่อื ใช้สำ� หรับการสอ่ื สารเตือนภยั ลว่ งหนา้ Risk warning template ตวั อย่าง: เทมเพลทการแจง้ เตือนความเส่ียง - โดยการน�ำข้อมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท่ีเกิดขึ้นในช่วงเดือนต่างๆ กับพ้ืนท่ีเฝ้าระวัง เพื่อจัดเป็นระบบการแจ้งเตือน ซึ่งส�ำหรับเกณฑ์การเตือนภัยจะได้รับการพัฒนาโดยผู้เช่ียวชาญจาก ภาคสาธารณสุขกอ่ นประกาศแจง้ เตือนประชาชน

หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุข 197 เพ่อื รองรับระบบสุขภาพท่ียดื หย่นุ รองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ The Key Takeaways • Effective monitoring of CSD and its trend with change of climatic variables • Encourage health practitioners to think in implementing their response plan differently than the usual ways • Enable to prepare an effective response plan according to risk warnings • Expand integrated surveillance sites to other part of Bhutan • Need support from NCHM in establishing meteorological station nearby integrated surveillance sites สรปุ ประเด็นสำ� คญั - การติดตามโรคท่ีไวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (CSD) และแนวโน้มที่มีการเปล่ียนแปลง ของตวั แปรด้านภมู อิ ากาศ เปน็ การเฝ้าระวงั ทม่ี ปี ระสิทธิภาพ - ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพคิดถึงการปรับใช้แผนการโต้ตอบด้วยวิธีท่ีแตกต่างจากการด�ำเนินงาน ตามปกติ - ท�ำให้มีการเตรยี มแผนโต้ตอบท่มี ีประสิทธภิ าพตามการแจง้ เตอื นความเสี่ยง - ขยายพ้นื ทเี่ ฝา้ ระวังแบบบูรณาการไปยังส่วนอ่ืนๆ ดังตัวอยา่ งของประเทศภูฏาน - พ้ืนที่เฝ้าระวังแบบบูรณาการระหว่างโรคและการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ มีความจ�ำเป็นต้องการ การสนับสนุนจากศูนย์อุทกวทิ ยาและอุตุนิยมวิทยาของประเทศ (National Center for Hydrology & Meteorology - NCHM) ในการต้ังสถานีอตุ ุนิยมวทิ ยาใกลก้ บั พ้นื ที่เฝา้ ระวงั ฯ

198 หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสุข เพอ่ื รองรับระบบสุขภาพทีย่ ืดหยุ่นรองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ใบงานที่ 2 การบรู ณาการเฝา้ ระวงั โรคและส่ือสารเตือนภยั โรคทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ วธิ ดี �ำเนินกจิ กรรม 1. แบ่งกล่มุ ผเู้ รียนอยา่ งนอ้ ย 2 กลุม่ 2. ผู้สอนอธิบายหลกั การระดมความคิดเห็น ดงั น้ี 1) ความส�ำคัญ/บทบาทของการบูรณาการระบบเฝ้าระวังโรคและระบบภัยล่วงหน้ามีความส�ำคัญต่อ การจัดการของภาคสาธารณสุขมอี ะไรบ้าง 2) อะไรคือความท้าทายส�ำหรับการด�ำเนินการและการบูรณาการระบบเฝ้าระวังโรคแบบบูรณาการ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศในอนาคต 3. ให้ผู้เรียนรว่ มระดมความคดิ เห็น แลกเปล่ียนประสบการณ์ ผา่ นการท�ำกิจกรรมกลมุ่ อยา่ งนอ้ ย 1 ช่ัวโมง (หรืออาจจะมากกว่านั้น) 4. ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มนำ� เสนอผลการระดมความคดิ เหน็ และแลกเปล่ยี นเรียนรู้รว่ มกัน ระยะเวลา 2 ช่วั โมง กจิ กรรมการเรียนรู้ เรียนรผู้ า่ นการท�ำกจิ กรรม ระดมความคิดเห็น แลกเปลย่ี นเรยี นรูป้ ระสบการณ์ แลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ะหว่างผู้สอนและผเู้ รียน เครอื่ งมือทใ่ี ช้ คอมพิวเตอรโ์ น้ตบ๊คุ หรือใชค้ ลิปชาร์จ ปากกาเมจิ ตารางการท�ำใบงานที่ 2 การบูรณาการระบบเฝา้ ระวงั โรคและระบบ ความทา้ ทายสำ�หรับการดำ�เนินการและ การเตือนภยั ล่วงหนา้ มีความสำ�คญั ต่อการจดั การของภาค การบรู ณาการระบบเฝา้ ระวังฯ สาธารณสุข

หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสขุ 199 เพ่ือรองรบั ระบบสุขภาพท่ยี ดื หยุ่นรองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ แบบทดสอบที่ 2 1. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีเป็นข้อความทีไ่ มถ่ ูกต้อง (a) การเฝา้ ระวงั ช่วยบอกถงึ มาตรการป้องกนั และควบคมุ โรค (b) การเฝา้ ระวังใชเ้ พ่อื วดั ผลกระทบของการสรา้ งภูมิคุ้มกันในประชากร (c) การเฝ้าระวังไม่สามารถใช้ทำ� นายหรือตรวจจบั การระบาดของโรคได้ (ง) การเฝ้าระวังช่วยในการบันทึกผลกระทบของการด�ำเนินงานหรือความคืบหน้าไปสู่เป้าหมาย/เป้าหมาย ดา้ นสาธารณสขุ ท่ีกำ� หนด 2. ขอ้ ใดเปน้ ประเภทของการเฝา้ ระวงั (i) Active, (ii) Passive, (iii) Syndromic, (iv) Sentinel (a) ทง้ั หมดยกเว้น (iii) (b) (i) และ (ii) (c) ทงั้ หมดยกเว้น (iv) (d) (i), (ii), (iii), (iv) (จ) ไม่มขี ้อถูก 3. เลอื กข้อความท่ถี ูกตอ้ ง (a) Passive Surveillance คือการเฝา้ ติดตามอัตราการเกดิ ของ ลกั ษณะเฉพาะเพ่ือประเมินความคงที่หรอื การเปล่ียนแปลงในระดบั สขุ ภาพของประชากร (b) Passive Surveillance เป็นระบบรายงานที่ใช้ตัดสินทางศาลด้านสุขภาพ มาจากโรงพยาบาล คลินิก หน่วยสาธารณสุข หรอื แหลง่ อ่นื ๆ (c) Passive Surveillance คือการรายงานเป็นระยะๆ ของรายงานผู้ป่วยจากแหล่งรายงาน เช่น แพทย์ โรงพยาบาล ห้องปฏิบัติการ ฯลฯ 4. จงเรยี งลำ� ดบั ข้นั ตอนต่างๆ ของ EWARS Risk Mapping? (a) Dashboard II เรียกใช้เครือ่ งมอื การท�ำแผนทค่ี วามเสีย่ งของ EWARS ข้อมูลเชงิ พ้นื ท่ี ขอ้ มูล ‘Hotspots’ (b) ‘ฮอตสปอต’ ข้อมูล ขอ้ มลู เชิงพ้นื ท่ี Dashboard II เรยี กใช้เครือ่ งมือการทำ� แผนที่ความ เสี่ยงของ EWARS (c) ขอ้ มลู ขอ้ มูลเชงิ พื้นที่ Dashboard II เรยี กใชเ้ ครอื่ งมอื การทำ� แผนที่ความเสยี่ งของ EWARS ‘ฮอตสปอต’ (d) ขอ้ มูลเชงิ พ้ืนท่ี แดชบอร์ด II ข้อมูล เรยี กใชเ้ ครอื่ งมือสร้างแผนที่ความเสยี่ งของ EWARS ‘ฮอตสปอต 5. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใดบ้างที่จ�ำเป็นส�ำหรับการสนับสนุน การรวบรวมและส่งต่อข้อมูลเพื่อบูรณาการการประเด็น ภูมอิ ากาศในการเฝา้ ระวงั สขุ ภาพ? (a) ทีมส่ือสาร สำ� นกั งานเฝา้ ระวงั แห่งชาติ ผู้ประสานงานดา้ นสุขภาพของส�ำนักงานภมู ภิ าคและเขต (b) เทคโนโลยสี ารสนเทศ, เจา้ หน้าท่ีปอ้ นข้อมูล (c) หน่วยงานทอ้ งถิ่น เจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ (d) นักอุตุนิยมวทิ ยา นกั ระบาดวทิ ยา นักสรา้ งแบบจำ� ลองสภาพภูมิอากาศ นักกฏี วิทยา

200 หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าท่ีสาธารณสขุ เพอ่ื รองรับระบบสขุ ภาพทย่ี ืดหยุน่ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ 6. ขอ้ ใดเป็นตัวบง่ ช้กี ารระบาด: (a) ผูป้ ่วยรักษาตัวในโรงพยาบาลรายสัปดาห์ (b) อณุ หภูมิเฉล่ยี รายสปั ดาห์ (c) จำ� นวนประชากรประจ�ำปีของอ�ำเภอ (d) ปที เ่ี ก็บขอ้ มูล 7. เลอื กตัวช้วี ัด ทีเ่ ป็นสญั ญาณแจ้งเตอื น: (a) ผู้ป่วยรักษาตวั ในโรงพยาบาลรายสปั ดาห์ (b) อุณหภมู เิ ฉลี่ยรายสัปดาห์ (c) จ�ำนวนประชากรประจำ� ปขี องอำ� เภอ (d) ปที ่เี กบ็ ขอ้ มูล 8. การประเมนิ สถานบริการสาธารณสุขทีเ่ ปน็ มติ รตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มมคี วามสำ� คญั อยา่ งไร (a) เพอ่ื ปรับปรงุ สถานบริการสาธารณสขุ รองรบั ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ (b) เพือ่ ยกระดบั การบรกิ ารสาธารณสุขให้มปี ระสิทธภิ าพมากขึ้น (c) เพื่อหาชอ่ งวา่ งการด�ำเนินงาน และน�ำไปปรับปรุงใหด้ ีย่ิงขึน้ (d) ถกู ทกุ ข้อ 9. ปจั จัยหลกั ในการประเมินสถานบริการสาธารณสขุ ท่เี ป็นมติ รตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มมอี ะไรบา้ ง (a) ประชาชน (b) การสุขาภบิ าลน้ำ� และของเสยี (c) งบประมาณ (d) ระบบโทรคมนาคม 10. ข้อใดคอื การจดั เตรยี มการสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ท่ีเปน็ มติ รต่อสง่ิ แวดลอ้ ม (a) จดั ทำ� แผนการจัดการความเสย่ี งดา้ นสภาพอากาศ (b) การระบุจุดบอดหรือจดุ ทขี่ ัดขวางการให้บรกิ ารสาธารณสุข (c) การจัดเตรยี มนำ้� ให้เพยี งพอทง้ั ในช่วงปกติและช่วงท่ีเกดิ ภยั พิบตั ิ (d) ถูกทกุ ขอ้ เฉลย 6. (a) 1. (c) 7. (b) 2. (d) 8. (d) 3. (b) 9. (b) 4. (c) 10. (d) 5. (c)

หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ 201 เพือ่ รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ยี ืดหยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ความพึงแพบบอประใเมจิน

202 หลกั สตู รพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าท่สี าธารณสขุ เพ่ือรองรบั ระบบสุขภาพที่ยืดหยนุ่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ส่วนที่ 1 ความพึงพอใจการประชมุ ในภาพรวม * ความหมายของคะแนน 1 = นอ้ ยท่สี ุด 2 = นอ้ ย 3 = ปานกลาง 4 = มาก 5 = มากทีส่ ุด ประเดน็ การประเมิน ระดับความคดิ เหน็ (รอ้ ยละ) 1. หลกั สตู รเน้ือหา นอ้ ย น้อย ปาน มาก มาก 1) ความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับเนือ้ หาโดยรวม ก่อน เข้าอบรม ที่สดุ กลาง ท่ีสดุ 2) ความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับเนอื้ หาโดยรวม หลงั เขา้ อบรม 3) มคี วามเขา้ ใจตอ่ เนื้อหาการอบรม 4) เนอ้ื หาการอบรมตรงกบั ความตอ้ งการต่อการปฏิบัติงาน/ หนว่ ยงาน 5) มีประโยชน์ต่อการนำ� ไปปฏิบตั ิงานของท่าน/หนว่ ยงาน 2. ความพงึ พอใจตอ่ รูปแบบการจัดอบรม 1) รปู แบบการจดั อบรม/กิจกรรมมีความเหมาะสม 2) ระยะเวลาทงั้ หมดของการอบรมมคี วามเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาการอบรม 3) ภาษาท่ีใชใ้ นการอบรมมคี วามเหมาะสม 4) เอกสารประกอบการอบรมมีความเหมาะสม 5) บรรยากาศในการอบรม/การกระตุ้นให้เกดิ การเรียนรู้ 3. ความพึงพอใจต่อสถานท่กี ารจัดอบรม 1) สถานท/่ี ห้องประชมุ เหมาะสม 2) โสตทศั นูปกรณ์ 3) อาหารและเคร่ืองด่มื 4) การบริการ/อำ� นวยความสะดวกตา่ งๆ ของเจา้ หนา้ ที่ 5) ความพึงพอใจตอ่ การอบรมโดยภาพรวม

หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าทส่ี าธารณสุข 203 เพอ่ื รองรบั ระบบสุขภาพทีย่ ดื หยนุ่ รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ สว่ นท่ี 2 ขอ้ เสนอแนะและความคิดเหน็ เพิม่ เติม เพ่ือนำ� ไปปรับปรงุ การอบรมในคร้งั ต่อไป 1. เน้อื หาการอบรมท่อี ยากให้พฒั นาเพม่ิ เตมิ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. รูปแบบการอบรม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. สถานท่กี ารจดั อบรม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

204 หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ เพื่อรองรับระบบสขุ ภาพท่ียืดหยุ่นรองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ สิง่ สนบั สนุน เอกสารประกอบการอบรม Document Download from google drive https://drive.google.com/drive/folders/1zQknEw88SIp7h4kfZikq3yogk-2PFKdO?usp=sharing

กองประเมินผลกระทบตอ่ สุขภาพ กรมอนามัย 205 คณะผ้จู ดั ทำ� ทีป่ รึกษา อธบิ ดกี รมอนามัย นายแพทยส์ ุวรรณชยั วัฒนาย่งิ เจริญชยั รองอธิบดีกรมอนามยั นายแพทย์อรรถพล แกว้ สัมฤทธิ์ ผอู้ �ำนวยการกองประเมินผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ บรรณาธกิ าร ผ้อู ำ� นวยการกองพยากรณส์ ขุ ภาพ นางสาวนยั นา ใช้เทยี มวงศ์ นกั วิชาการสาธารณสขุ ช�ำนาญการพเิ ศษ นางสาวเบญจวรรณ ธวัชสุภา นกั วชิ าการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ คณะผู้จัดท�ำ นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ นางสาวกรวิภา ปุนณศริ ิ นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ัตกิ าร นายนัฐพล ศิรหิ ลา้ นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ นางสาวโศรยา ชศู รี นักวชิ าการสาธารณสขุ ปฏิบัติการ นางสาวทิพยก์ มล ภูมิพันธ์ นักวชิ าการสาธารณสขุ ปฏบิ ัติการ นางสาวกลุ สตรี ชัชวาลกจิ กลุ นกั วิชาการสาธารณสุขปฏบิ ัติการ นางสาวอภสิ ราพร สมานทรัพย์ นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร นางสาวนฤภร บูรนณตั ิ เจา้ หน้าท่ีปฏบิ ตั ิงาน นางสาวอญั ชนา ปานด ี นกั วชิ าการเผยแพร่ นางสาวศุภวรรณ เชยวิจติ ร์ นายกิตตกิ านต์ ต้มุ ไธสง ผ้ปู ระสานงาน นางสาวลัดดา พมิ จ่ัน

206 หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุ เพือ่ รองรบั ระบบสุขภาพทย่ี ดื หยนุ่ รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ



กองประเมนิ ผลกระทบตอ สุขภาพ 88/22 หมู 4 ถนนติวานนท ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบรุ ี 11000 โทรศัพท 02-590-4362, 02-590-4951 http://www.facebook.com/anamaihia/ http://hia.anamai.moph.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook