Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข_E Book

หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข_E Book

Published by chirtsaksri, 2023-07-02 04:15:36

Description: หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข_E Book

Search

Read the Text Version

หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสขุ 143 เพื่อรองรับระบบสขุ ภาพทยี่ ดื หย่นุ รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ด้านท่ี 2 WASH: การจดั การความเสยี่ งรองรับสภาพอากาศทีย่ ืดหย่นุ จากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ โปรดให้คะแนนตามสถานการณ์การดำ� เนนิ งานจริงในสถานพยาบาลของท่าน 1 – ไม่มกี ารดำ� เนินงาน, 2-มีการดำ� เนินงานบางสว่ นแล้ว, 3-มีการด�ำเนินงานอย่างสมบรู ณ์ ลำ�ดบั ท่ี คำ�ถาม ปขจอรัดะงกเกภาารทร การจดั การ 2.1 มกี ารพฒั นาแผนการจดั การนำ้ �ในชว่ งฤดแู ลง้ ระยะยาว Rating 2.2 มกี ารกำ� หนดแหลง่ น�้ำทางเลือกท่เี หมาะสม 2.3 มกี ารพฒั นาแผนอนรุ ักษน์ ้ำ� 2.4 มกี ารประเมนิ ผลกระทบการใหบ้ รกิ ารน้�ำในแตล่ ะช่วง ฤดกู าล 2.5 มีการด�ำเนินการตามแผนจดั การ WASH ทรี่ องรบั ความ เสี่ยงจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ 2.6 การจัดหาสงิ่ อ�ำนวยความสะดวกในการกกั เกบ็ น�ำ้ ท่ี ปลอดภยั และยดื หยุ่นเพียงพอ ครอบคลุมสำ� หรับการ อพยพ และมมี าตรการป้องกันแหล่งเพาะพนั ธ์ุยุงใน สถานที่จดั เก็บนำ้� 2.7 มรี ะบบใช้น้ำ� อย่างปลอดภัยส�ำหรับหอ้ งครัว 2.8 การตดิ ตงั้ วาลว์ กนั กลบั บนทอ่ จา่ ยนำ้� เพอื่ ปอ้ งกนั การไหล ย้อนกลับ 2.9 พัฒนาแผนการจัดการน้ำ� ฝน/พายุ 2.10 จดั ท�ำระบบบำ� รุงรกั ษาน้�ำดื่มในสถานพยาบาล 2.11 การพฒั นาแผนสำ� หรบั การรองรบั นำ�้ ทว่ มทเ่ี กดิ จาก ธรรมชาติ เพ่อื ลดความเส่ยี งจากน�ำ้ ท่วมสถานพยาบาล 2.12 ก�ำหนดแผนล้างส้วม/ห้องน�้ำ ก่อนฤดูน�้ำหลาก/ฤดูฝน เพ่ือป้องกันปัญหาน้�ำลน้ ชกั โครก 2.13 ตดิ ตงั้ ฝาปดิ สนทิ บนถงั บำ� บดั นำ้� เสยี และวาลว์ แบบไมไ่ หล กลบั บนทอ่ เพือ่ ป้องกนั การไหลย้อนกลับ 2.14 ตดิ ตง้ั ชอ่ งระบายอากาศบนทอ่ ระบายนำ�้ และถงั บำ� บดั นำ�้ เสยี อยู่เหนือแนวน้ำ� ทว่ ม

144 หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ เพอ่ื รองรับระบบสขุ ภาพท่ียืดหยุน่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ ด้านท่ี 3 WASH: ด้านสุขภาพและความปลอดภัยเพื่อรองรับสภาพอากาศที่ยืดหยุ่นจากการเปล่ียนแปลง สภาพภมู ิอากาศ โปรดใหค้ ะแนนตามสถานการณก์ ารด�ำเนนิ งานจรงิ ในสถานพยาบาลของทา่ น 1 – ไมม่ ีการดำ� เนินงาน, 2-มีการดำ� เนนิ งานบางสว่ นแล้ว, 3-มกี ารดำ� เนนิ งานอยา่ งสมบรู ณ์ ลำ�ดบั ท่ี คำ�ถาม ปขจอรัดะงกเกภาารทร การจัดการ 3.1 มกี ารจดั หาน�ำ้ ท่ีเพียงพอในกจิ กรรมทางการแพทย์ Rating และส�ำหรบั ผู้ปว่ ย 3.2 จดั ระบบการเกบ็ น�้ำฝนในระยะยาวและมีการตรวจ สอบ เป็นประจำ� 3.3 มีความร่วมมือระหว่างภาคส่วนในการลดแหล่ง เพาะพนั ธย์ุ งุ เชน่ สระนำ�้ ในสถานพยาบาลและพน้ื ที่ โดยรอบ 3.4 มรี ะบบบ�ำบัดและก�ำจดั ของเสีย เพือ่ หลกี เล่ยี งการปน เปอื้ นแหล่งน�้ำดื่มในท้องถนิ่ 3.5 มแี ผนตอบโต้และฟืน้ ฟูส�ำหรบั ระบบการจัดการนำ้� อยา่ งเพยี งพอในชว่ งภยั พบิ ตั ิ เชน่ มกี ารเตมิ คลอรนี การกรอง และการใช้เทคโนโลยีบ�ำรุงรกั ษาอื่น ๆ การ ใชท้ ดสอบคุณภาพน�ำ้ 3.6 ปรบั ปรุงพนื้ ที่จัดเกบ็ ของเสยี /ขยะ ในระหวา่ งมกี าร ระบาดหรือมีผลกระทบจากสภาพอากาศทเ่ี กยี่ วข้อง 3.7 การกอ่ สรา้ งบอ่ ฝงั กลบขยะทีร่ องรบั สภาพอากาศและ เหตฉุ ุกเฉนิ 3.8 disastersวางแผนกำ� จดั มูลฝอยตดิ เช้ือในระหวา่ งเกิด ภยั พบิ ตั ิ/ ภาวะฉุกเฉนิ ทเี่ กี่ยวข้องกบั สภาพอากาศ ด้านที่ 4 WASH: ดา้ นการเฝา้ ระวังและประเมิน เพื่อการจดั การส่งิ แวดล้อมอยา่ งยง่ั ยนื โปรดใหค้ ะแนนตามสถานการณ์การด�ำเนินงานจริงในสถานพยาบาลของท่าน 1 – ไมม่ กี ารดำ� เนินงาน, 2-มีการดำ� เนินงานบางส่วนแล้ว, 3-มีการดำ� เนนิ งานอยา่ งสมบรู ณ์ ลำ�ดบั คำ�ถาม ปขจอรัดะงกเกภาารทร การจดั การ ที่ Rating 4.1 จดั ทำ� ระบบการตดิ ตามการใชน้ ำ�้ และระบขุ อบเขตการใช้ 4.2 จัดทำ� ระบบเฝา้ ระวังโรคท่ีเกย่ี วข้องกบั ความพอเพยี ง คณุ ภาพน้�ำ, การสขุ าภบิ าล 4.3 จัดระบบส�ำหรับการคัดแยกและกำ� จดั มูลฝอยตดิ เชือ้ 4.4 พัฒนาแผนการลดของเสยี

หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุข 145 เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ืดหยุ่นรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ แบบทดสอบท่ี 1 1. ข้อใดต่อไปน้เี ป็นข้อความทีถ่ ูกต้อง (a) ภูมิอากาศสะท้อนถึงสภาพบรรยากาศในระยะสั้น ในขณะท่ีสภาพอากาศเป็นค่าเฉล่ียรายวันของภูมิอากาศ เปน็ ระยะเวลานาน ณ พ้ืนทใี่ ดพื้นท่ีหนง่ึ (b) สภาพภูมิอากาศสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตั้งแต่นาทีต่อนาที ช่ัวโมงต่อชั่วโมง วันต่อวัน และฤดูกาล ต่อฤดกู าล สภาพอากาศ คือค่าเฉลยี่ ของภมู อิ ากาศในชว่ งเวลาหนึง่ และพ้นื ที่หน่งึ (c) การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือการเปล่ียนแปลงรูปแบบของสภาพอากาศ และการเปล่ียนแปลง ทีเ่ กย่ี วข้องในมหาสมุทร พ้ืนผิวดิน และแผน่ น้�ำแขง็ ซง่ึ เกดิ ขึ้นในชว่ งเวลาหลายทศวรรษหรือนานกว่านั้น (d) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะพิจารณาการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นภายในกรอบเวลาท่ีเล็กกว่า เช่น เดือน ฤดูกาล หรือหน่ึงปี และความแปรปรวนของสภาพอากาศจะพิจารณาการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึน ในระยะเวลานาน โดยทั่วไปจะใชเ้ วลาหลายสบิ ปีหรอื นานกวา่ นนั้ 2. การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศสง่ ผลตอ่ พาหะน�ำโรคอย่างไร? (a) เป็นผลกระทบโดยตรง จากอณุ หภมู ิ ความช้ืน และการเคลอื่ นที่ของลม (b) มขี อบเขตการกระจายที่เปลยี่ นแปลงไปเน่ืองจากอณุ หภูมิทเี่ พ่ิมขน้ึ (c) เปน็ ผลกระทบทางอ้อมจากการขาดแคลนนำ�้ และอุทกภัย (d) ถูกทุกขอ้ (e) ไมม่ ีข้อถูก 3. เลือกตวั เลอื กที่เหมาะสม: “การเพมิ่ ขึน้ ของ______ และความเข้มข้น ของ ______ ที่เพมิ่ ขนึ้ ในช่วงไมก่ ป่ี ที ผี่ า่ นมา มีสว่ นตอ่ การเปลยี่ นแปลง สภาพภูมิอากาศซ่ึงส่งผลให้เกิดผลกระทบต่างๆ ต้ังแต่สภาพอากาศสุดข้ัว การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล การละลายของ ธารน้�ำแข็ง การเพ่ิมข้ึนของระดบั น้�ำทะเล ความแหง้ แลง้ และน้�ำท่วม (a) ไนโตรเจน; ก๊าซพิษ (b) คาร์บอนไดออกไซด;์ กา๊ ซเรอื นกระจก (c) ซัลเฟอร์ไดออกไซด;์ ก๊าซ (d) ออกซิเจน; ออกไซด์ 4. การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศท�ำให้เกดิ การยา้ ยถนิ่ ของมนุษย์ ส่งผลกระทบต่อโรคทีเ่ กดิ จากพาหะน�ำโรคอย่างไร? (a) เพม่ิ ความเสี่ยงของการนำ� และการแพรก่ ระจายของเช้ือโรคไปสูพ่ ้นื ท่ใี หม่ (b) เพิ่มการแพร่กระจายของพาหะและสัตวน์ ำ�้ บางชนดิ (c) เพ่ิมการแพรก่ ระจายของการดอ้ื ยา (d) การแพร่กระจายของเชอื้ เร็วขน้ึ ในคา่ ยผู้อพยพท่ีแออดั (e) ไม่มีข้อถูก (f) ถูกทุกข้อ

146 หลักสูตรพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ เพอ่ื รองรบั ระบบสขุ ภาพที่ยดื หยุ่นรองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ 5. ผลกระทบของการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ไดแ้ ก่ : (i) การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล (ii) อณุ หภมู สิ ุดข้วั (รวมทง้ั คล่นื ความร้อนและความเย็น) (iii) ฝนตกหนกั และน้ำ� ท่วมรุนแรง (iv) ความแห้งแล้งและความแห้งแล้งทีย่ าวนานขน้ึ (v) การละลายของธารน�ำ้ แข็งและระดบั น�้ำทะเลท่สี งู ขึ้น (a) (ii) และ (iv) (b) (i), (ii), (iii), (iv) และ (v) (c) (i), (iii), (iv) และ (v) (d) (ii), (iii) และ (v) 6. ขอ้ ใดบทบาทของเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ ต่อการรบั มอื กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ (a) ควบคมุ ทางสง่ิ แวดล้อม (b) มุ่งเนน้ การดำ� เนนิ งานเฉพาะในภาคสาธารณสขุ เทา่ น้นั (c) จดั การภาระโรคทเี่ พิ่มขึ้นจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (d) ถูกทกุ ข้อ 7. ขอ้ ใดคือการลดความเปราะบางและความเสีย่ งด้านส่ิงแวดลอ้ มของภาคสาธารณสขุ (a) มาตรการประหยดั พลงั งาน (b) การจดั หายาให้เพยี งพอ และจัดเก็บให้ปลอดภัยจากภัยพิบัตติ ่างๆ (c) มีการจดั การสารเคมอี ยา่ งปลอดภัย (d) ถกู ทกุ ข้อ 8. ขอ้ ใดคือวัตถุประสงค์สำ� คัญของการจดั การนำ้� และการจดั การของเสยี ในสถานบรกิ ารสาธารณสุขรองรบั การเปลี่ยนแปลง สภาพภภมู อิ ากาศ (a) เพือ่ ประหยัดน�ำ้ ไว้ใชร้ ่วมกนั ในชมุ ชนใกล้เคียง (b) เพือ่ จัดการความเสีย่ ง (c) เพือ่ ใหเ้ ป็นไปตามกฎหมาย (d) ถูกทุกขอ้ 9. ข้อใดคือมาตรการส�ำหรับการสร้างความยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส�ำหรับการจัดการ ทรพั ยากรนำ้� ในสถานบริการสาธารณสขุ (a) การประเมินและติดตามตรวจสอบ (b) การจัดการความเสยี่ ง (c) ขอ้ ก�ำหนดดา้ นสาธารณสุขและความปลอดภัย (d) ถูกทกุ ข้อ 10. ข้อใดถูกตอ้ ง (a) ภาคสาธารณสุขควรเป็นหน่วยงานหลังในการวางแผน เตรียมการจัดหาพลังงานให้เพียงพอในภาวะฉุกเฉิน จากสภาพภมู อิ ากาศ (b) การวางแผนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิผล ควรค�ำนึงถึงมาตรการท่ีช่วยสร้างความยืดหยุ่นพร้อมรับมือ ตอ่ การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและความยัง่ ยืนด้านส่ิงแวดล้อม (c) ภาคสาธารณสขุ ควรเปลย่ี นมาใช้พลังงานสะอาดเพ่ือประหยัดงบประมาณ (d) ถูกทุกขอ้ เฉลย 1. (c) 2. (d) 3. (b) 4. (f) 5. (b) 6. (c) 7. (d) 8. (b) 9. (d) 10. (b)

กองประเมนิ ผลกระทบต่อสุขภาพ กรมอนามยั 147 Module การเฝา้ ระวังโรค จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ

148 หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข เพื่อรองรบั ระบบสุขภาพทีย่ ืดหยุ่นรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Module 9 การเฝ้าระวังโรคจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ขอบเขตเนอื้ หา 1. พ้ืนฐานของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ และผลกระทบตอ่ สุขภาพ 2. ปัจจัยที่ส่งผลใหร้ ูปแบบการเกดิ โรคเปลย่ี นแปลงไป 3. ประเภทการเฝา้ ระวังโรคจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ระยะเวลา 60 นาที กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. เรยี นร้ผู า่ นการบรรยาย 2. แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ระหวา่ งผู้สอนและผ้เู รียน เน้อื หา การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศและการเปลีย่ นแปลงรูปแบบของการเกิดโรค Integrated Disease Surveillance & Early Warning for Climate Sensitive Disease Climate Change and Changing Disease Patterns Learning objectives • Present the basics of climate change • Explain the interlinkages between climate change and human health • Describe the impact of climate change on infectious disease pattern วัตถปุ ระสงค์ในการเรียนรู้ • นำ� เสนอพน้ื ฐานของการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ • อธิบายความเช่ือมโยงระหว่างการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และผลกระทบต่อสุขภาพ • อธบิ ายผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศตอ่ รูปแบบโรคติดเช้อื

หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุข 149 เพ่อื รองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ดื หยุน่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ What is Climate Change? Climate change is a change in the WewatehdaaWetatthrhmyeeec-aotraatoshnvfp-oeedhcrrraeaharyrgaene,enfalgeewCnocxehldftitmiesfwlresnoaseedmtchalaeeolotsidcmhmroVatens-aptirtn.-iteeoetouWrornitvmoi-e.seesd-aretcttohaotohi-esfmnemodtraeiniminvt.aieuoeCnrtnaedlaisg,mtsehoaapoftdauectach,rei-eleritystoahinour, pattern of weather, and related changes in oceans, land surfaces and ice sheets, occurring over time scales of decades or longer yoeCsvamelirmr,aaaallnetledroCntvcligiamlmiermeiraafatbrpeatieelmiCrtyiceohhsdlaoa,nonosgkgfuesectlioVhmacnstoae.gcns,eChstralyiaidmpnmeigacrosetaenslcltyVhhtha,aoarnvaitagesobreecsidlacitetsuyhcoraanwtdoeoitsrchciaonurr การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศคืออะไร ? การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ คอื การเปลยี่ นแปลงในรปู แบบของสภาพอากาศและมีความเก่ยี วขอ้ งกับ การเปลย่ี นแปลงทางสภาพแวดลอ้ ม คอื การเปลย่ี นแปลงของมหาสมทุ ร พน้ื ผวิ ดนิ และแผน่ นำ�้ แขง็ ซงึ่ การเปลยี่ นแปลง ตามส่ิงแวดล้อมนี้เกดิ ขึน้ ตามชว่ งเวลาของหลายทศวรรษหรอื นานกว่านน้ั ภมู อิ ากาศ (Climate) กบั สภาพอากาศ (Weather) สภาพอากาศ (Weather) คือ ช่วงเวลาสั้นๆ ท่ีเกิดขึ้นของบรรยากาศ (เช่น การเกิดฝนตก อากาศร้อนจัด ซึ่งเกิดในชว่ งสัน้ ๆ ในแต่ละวัน) ในขณะที่ ภมู อิ ากาศ (Climate) คือ ค่าเฉล่ยี ของสภาพอากาศในแตล่ ะวัน ในช่วง เวลาหนง่ึ ในพน้ื ทหี่ นงึ่ (เชน่ คา่ เฉลย่ี อณุ หภมู สิ งู สดุ ของชว่ งเวลาเดอื นสงิ หาคมในจงั หวดั นนทบรุ ี หรอื คา่ เฉลยี่ ปรมิ าณ นำ้� ฝนในช่วงระยะเวลา 5 ปี ของประเทศไทย) สภาพอากาศ สามารถเปลีย่ นแปลงไดภ้ ายในนาทีตอ่ นาที ชว่ั โมงต่อชว่ั โมง วนั ต่อวัน และฤดูกาลต่อฤดกู าล ภูมิอากาศ คือ ค่าเฉลี่ยของสภาพอากาศในช่วงเวลาหน่งึ และในพ้นื ทห่ี นงึ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศและความแปรปรวนของสภาพภมู อิ ากาศ ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ มองไปท่ีการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นภายในระยะเวลาส้ันๆ เช่น เดือน ฤดกู าล หรอื ปี และการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงในชว่ งเวลาทยี่ าวนานกวา่ โดยทว่ั ไปจะยาวนานกว่าทศวรรษหรือนานกวา่ น้ัน

150 หลักสูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสุข เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ืดหยนุ่ รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ Causes of Climate Change SOURCES SINKS Green House Effect Processes that Processes that Natural process that warms the Earth’s realetmasoespChOe2retoartehe absorb cCaOrb2 oanre surface. When the Sun’s energy reaches the called Earth’s atmosphere, some of it is reflected called carbon “sinks” back to space and the rest is absorbed and “sources” re-radiated by greenhouse gases Greenhouse gases are gases in the atmosphere such as water vapor, carbon dioxide, methane and nitrous oxide that can absorb infrared radiation, trapping heat in the atmosphere สาเหตุของการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Green House Effect) คือ กระบวนการธรรมชาติที่ท�ำให้ผิวโลกร้อนขึ้น เมอื่ พลงั งานความรอ้ นจากดวงอาทติ ยแ์ ผไ่ ปถงึ ชนั้ บรรยากาศของโลก พลงั งานความรอ้ นบางสว่ นจะสะทอ้ นกลบั ออก มาสชู่ ั้นบรรยากาศ และส่วนที่เหลอื จะถกู ดดู ซับและแผ่รงั สอี กี ครงั้ โดยก๊าซเรือนกระจก แหล่งก�ำเนดิ : กระบวนการปลดปล่อยก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) สู่ชั้นบรรยากาศ เรียกวา่ แหลง่ กำ� เนิด คารบ์ อน Sinks หรือแหลง่ กักเก็บ/ดูดซับ: กระบวนการดูดซบั ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ (CO2) กา๊ ซเรอื นกระจก เปน็ กา๊ ซในชน้ั บรรยากาศ เชน่ ไอนำ้� คารบ์ อนไดออกไซด์ มเี ทน และไนตรสั ออกไซด์ ทสี่ ามารถ ดดู ซับรังสอี ินฟราเรดและเกบ็ กกั ความรอ้ นในช้ันบรรยากาศ

หลักสตู รพัฒนาศักยภาพเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสขุ 151 เพ่อื รองรับระบบสขุ ภาพท่ยี ดื หยุ่นรองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Impacts of Climate Change Extreme rainfall & floods Seasonal Shifts Exwtreamveestaenmdpceoraldturweasv, ehseat Driedrro&ugLhotnsger Glacier melting Sea Level Rise ผลกระทบของการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ - ฝนตกหนักและนำ�้ ท่วม - ความคลาดเคลอื่ นของฤดูกาล - อุณหภมู สิ ดุ ขวั้ คล่นื ความรอ้ น และคล่นื ความหนาวเย็น - ความแหง้ แลง้ และภัยแล้งยาวข้นึ - การละลายของธารน�้ำแขง็ - การเพิม่ ขึ้นของระดับน�ำ้ ทะเล

152 หลกั สตู รพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข เพอื่ รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ยี ืดหยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ National Center for Environmental Health, 2021 https://www.cdc.gov/climateandhealth/effects/default.htm ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศตอ่ สุขภาพมนษุ ย์ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศดังท่ีได้กล่าวมาแล้วน้ัน พบว่าส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ เช่น สง่ ผลใหเ้ กดิ มลพษิ ทางอากาศ และเปน็ สาเหตขุ องการเกดิ โรคระบบทางเดนิ หายใจ โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด อาจส่งผลต่อวงจรชีวิตของยุง (เช่น อุณหภูมิท่ีเปลี่ยนแปลงไป หรือฤดูฝนที่ยาวนาน อาจส่งผลต่อการเพิ่มข้ึนของ ประชากรยงุ ) ซงึ่ อาจสง่ ผลตอ่ รปู แบบของการเกดิ โรค (เชน่ ชว่ งของการเฝา้ ระวงั โรคไขเ้ ลอื ดออกยาวนานขน้ึ มอี ตั ราปว่ ย เพ่ิมขึ้น) รวมถึงการเปลี่ยนแปลงของระดับน�้ำทะเลหนุน พายุ อาจส่งผลให้พ้ืนที่อาศัยหายไป และเป็นสาเหตุ ของการอพยพย้ายถ่ิน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในวงกว้าง และมแี นวโน้มจะทวคี วามรนุ แรงมากขึน้

หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ 153 ALTERED DISEASE เพอ่ื รองรบั ระบบสุขภาพทย่ี ืดหยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ PATTERNS WITH: • Lengthened season Climate change altering the infectious • Increased geographical disease patterns range • Faster breeding • Emergence in new areas การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศท�ำให้รูปแบบของโรคติดเชื้อเปลี่ยนแปลงไปเป็นการเปล่ียนแปลงรูปแบบของโรคด้วย ปัจจัย ดังน้ี - ฤดกู าลทย่ี าวนานข้ึน - ช่วงทางภมู ิศาสตร์ของโรคท่ีเพ่ิมขน้ึ - การผสมพันธ์ุของแมลงทีเ่ ร็วข้นึ - การเกิดข้ึนในพ้นื ที่ใหม่

154 หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ เพ่อื รองรับระบบสขุ ภาพที่ยืดหยุน่ รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ How climate change effects disease vectors? การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศสง่ ผลตอ่ พาหะนำ� โรคอยา่ งไร? ผลกระทบโดยตรง - ขอบเขตการกระจายตวั ของพน้ื ทเี่ ปลย่ี นไป (ความกวา้ งและความสงู ของลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร)์ จะเรง่ ให้ เชอื้ โรคเกดิ เรว็ ขึ้น - การเปลย่ี นแปลงรูปแบบการย้ายถ่ินของพาหะนำ� โรคบางชนดิ - การเปลยี่ นแปลงความยาวนานของฤดกู าล ทเ่ี ออ้ื อำ� นวยตอ่ การอยรู่ อดและการเจรญิ เตบิ โตของพาหะนำ� โรค - ส่งผลต่ออายุขัยของพาหะน�ำโรค และส่งผลต่อองค์ประกอบทางพันธุกรรมของการเติบโตหรือ ความหนาแน่นของพาหะน�ำโรค (เชน่ การเพ่ิมขึน้ ของประชากรยงุ ลาย)

หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 155 เพ่ือรองรับระบบสขุ ภาพทย่ี ดื หย่นุ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ How climate change effects disease vectors? การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศสง่ ผลตอ่ พาหะน�ำโรคอยา่ งไร? ผลกระทบทางออ้ ม - ความหนาแน่นของพาหะน�ำโรคท่ีสัมพันธ์กับน้�ำลดลง (หรือความแห้งแล้ง) มีความเกี่ยวข้องกับพาหะ นำ� โรค เพม่ิ โอกาสในการแพรเ่ ชอ้ื ของพาหะนำ� โรคและพยาธิ เนอ่ื งจากขาดแคลนแหลง่ นำ�้ การเปลยี่ นแปลง การกระจายตวั ของพาหะนำ� โรคของสตั ว์กดั แทะ - เปลย่ี นแปลงการกระจายของพาหะบางชนิดและการเปลย่ี นแปลงของปจั จัยเสย่ี ง - นำ้� นงิ่ ทเ่ี พม่ิ ขนึ้ (เชน่ จากฝนตกหนกั ปรมิ าณนำ�้ ขงั ตามแหลง่ ตา่ งๆ) สง่ ผลตอ่ การขยายพนั ธห์ุ รอื สายพนั ธ์ุ ของพาหะน�ำโรคในน�้ำกรอ่ ย - ผลกระทบที่หลากหลายต่อโรคท่ีเกิดจากยุงและหอยทาก

156 หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสขุ เพอ่ื รองรับระบบสขุ ภาพทย่ี ืดหยุน่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Climate change, human migration & VBDs การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การยา้ ยถนิ่ ฐานของมนษุ ย์ และโรคติดเช้อื น�ำโดยแมลง - เป็นจุดเริ่มตน้ ของการแพรก่ ระจายของเช้ือโรคในพน้ื ทีใ่ หม่ - เกดิ การแพร่กระจายของพาหะนำ� โรคและแหลง่ ของสายพนั ธ์ุ - การแพร่กระจายของการดอ้ื ยา - การเกิดภมู ิคุ้มกนั เทยี บกบั ประชากรที่ยา้ ยถ่นิ ฐานไมม่ ภี มู คิ ุ้มกันของการเกดิ โรค - การตดิ เชือ้ แพรก่ ระจายเรว็ ขึ้นในพ้ืนท่ีแออดั เชน่ ค่ายอพยพ

หลักสูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสุข 157 เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ดื หยุ่นรองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ Key Takeaways • Climate change is a change in the pattern of weather, and related changes in oceans, land surfaces and ice sheets, occurring over time scales of decades or longer. • Increasing CO2 and other GHG concentrations over the past few years is responsible for climate change resulting in various impacts ranging from extreme weather, seasonal shifts, glacier melting, sea level rise, droughts and floods. • Climate change impacts further impact the human health through direct and indirect ways. Direct impacts on human health could be from injuries due to extreme weather and floods, or heat related illness from heatwaves. While droughts and floods causing food insecurity that results in malnutrition or health impacts arising out of forced migration due to climate change are examples of indirect impacts of climate change on health. • Climate change is greatly influencing the vector ecology as well as pathogen incubation and spread, resulting in introduction and spread of vector borne diseases to new areas, lengthen ing their season and hence posing a challenge for public health authorities. สรุปประเด็นสำ� คญั - การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คือ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสภาพอากาศ และเกี่ยวข้องกับ การเปลย่ี นแปลงในมหาสมทุ ร พน้ื ผวิ ดนิ และแผน่ นำ�้ แขง็ ซง่ึ เกดิ ขน้ึ ในชว่ งเวลาหลายทศวรรษหรอื นานกวา่ นน้ั - การเพม่ิ ขน้ึ ของกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซต์ (CO2) และความเข้มข้นของก๊าซเรอื นกระจก (Green House Gas: GHG) อน่ื ๆ ในช่วงไม่ก่ีปที ผี่ ่านมา มผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ ซง่ึ สง่ ผลกระทบตา่ งๆ ตั้งแต่สภาพอากาศสุดขั้ว ความคลาดเคลื่อนของฤดูกาล ธารน้�ำแข็งท่ีข้ัวโลกเหนือละลาย การเพ่ิมขึ้น ของระดบั นำ�้ ทะเล ภยั แล้ง และน้�ำท่วม - ผลกระทบจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศสง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของมนษุ ยท์ ง้ั ทางตรงและทางออ้ ม ผลกระทบทางตรง อาจเกิดจากการบาดเจ็บ เนื่องมาจากสภาพอากาศที่รุนแรง (เช่น ภัยพิบัติ) และ นำ้� ทว่ ม หรอื การเจ็บปว่ ยท่ีเก่ียวข้องกบั ความร้อนจากคลื่นความร้อน ในขณะท่ภี ยั แล้งและนำ้� ทว่ มท�ำให้ เกดิ ความไมม่ ั่นคงดา้ นอาหาร ส่งผลให้เกดิ การย้ายถ่ินฐานของมนุษย์ ซงึ่ ส่งผลให้เกดิ ภาวะทพุ โภชนาการ เป็นตัวอย่างของผลกระทบทางอ้อม ดังตัวอย่างของผลกระทบต่อสุขภาพทางอ้อมท่ีเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ - การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศสง่ ผลกระทบอยา่ งมากตอ่ นเิ วศวทิ ยาของพาหะนำ� โรค ดงั เชน่ การฟกั ตวั และการแพร่กระจายของเชอ้ื โรค ส่งผลให้เกดิ จดุ เรม่ิ ตน้ และการแพรก่ ระจายของโรคติดเชือ้ นำ� โดยแมลง ในพื้นท่ีใหม่ ท�ำให้ฤดูกาลของพวกมันยาวนานข้ึน ด้วยเหตุน้ี จึงเป็นความท้าทายส�ำหรับหน่วยงาน ดา้ นสาธารณสขุ ตอ่ การจัดการ

158 หลกั สูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หนา้ ที่สาธารณสขุ เพ่อื รองรับระบบสุขภาพทีย่ ดื หยุน่ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ การบูรณาการเฝ้าระวงั โรคจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ Integrated Disease Surveillance & Early Warning for Climate Sensitive Disease Climate change and Integrated Disease Surveillance Learning objectives • Explain the basics of disease surveillance • Describe the role of IDS in managing infectious diseases วัตถปุ ระสงคใ์ นการเรยี นรู้ - อธบิ ายพ้ืนฐานของการเฝ้าระวงั โรค - อธิบายบทบาทของการบูรณาการเฝ้าระวังโรค และการเตือนภัยล่วงหน้าส�ำหรับโรคท่ีไวต่อ สภาพภูมิอากาศ (IDS) ในการจัดการโรคติดเชือ้

หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ 159 เพ่ือรองรับระบบสุขภาพที่ยดื หยุ่นรองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ What is disease surveillance? Surveillance is data collection for action Disease surveillance is the systematic colection, imt geuaisduersesditsheeasimseeprcvaoiccntetrsoofl iamcmtivuintiiezsataionnd analysis and dissemination of data on diseases The mere collection and compilation of of public health importance so that appropriate disease-related data without analyzing them action can be taken to either prevent or stop and taking appropriate action is not further spread of disease surveillance การเฝา้ ระวังโรคคอื อะไร ? - การเฝา้ ระวัง คือการรวบรวมข้อมลู ส�ำหรบั การดำ� เนินการ - การเฝ้าระวังโรค เป็นการรวบรวม วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ และการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับโรคท่ีมี ความส�ำคัญทางสาธารณสุขเพ่ือให้สามารถด�ำเนินการป้องกันหรือหยุดการแพร่กระจายของโรคได้ อย่างเหมาะสม - เป็นแนวทางในการควบคมุ โรคและวดั ผลกระทบของมาตรการบรกิ ารเพอ่ื สรา้ งภูมิคุม้ กัน - การรวบรวมข้อมูลจากข้อมูลโรคที่เก่ียวข้องเพียงอย่างเดียว โดยปราศจากการวิเคราะห์เพ่ือจัดการโรค อยา่ งเหมาะสมนั้น ไม่ใช่การเฝ้าระวังโรค

160 หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าท่สี าธารณสุข Type of Surveillance เพ่อื รองรับระบบสขุ ภาพที่ยืดหยุ่นรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ PASSIVE ACTIVE SENTINEL ประเภทของการเฝา้ ระวงั ไดแ้ ก่ - เฝ้าระวงั เชิงรบั - เฝา้ ระวงั เชิงรุก - เฝ้าระวังเฉพาะกลมุ่ /กล่มุ เสี่ยง/เฉพาะพืน้ ทเ่ี สีย่ ง/พน้ื ที่ท่ีสนใจ

หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข 161 เพือ่ รองรับระบบสขุ ภาพทีย่ ืดหยุน่ รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ cyoimDmeiefpdfnalciisanenuutetdlaetrsensteoossf sNeocaaracschetsifvoer snuoPrtvasifebisitciselylaiasvtnieocne SURPVAESILSLIVAENCE cooRpforeopchliveaeeisrdraealetothrinos-n Passive Surveillance Covaerresaws ide Regular reporting of disease data by all institutions that see patients (or test specimens) and are part of a reporting network is called Passive Surveillance Example: Vaccine Adverse Events Reporting System (VAERS) Less expensive การเฝ้าระวงั เชิงรับ - เป็นระบบเฝ้าระวังที่มีการรายงานเป็นปกติประจ�ำ ต่อเน่ือง เป็นการเฝ้าระวังเชิงรับโดยผู้รับรายงาน อาจเปน็ ผทู้ ำ� การจดั ตงั้ ระบบ แตต่ อ้ งรอผใู้ หบ้ รกิ ารสขุ ภาพเปน็ ผรู้ ายงานเหตกุ ารณ์ เขา้ มาในระบบ ในบางกรณี ผใู้ หบ้ รกิ ารอาจจะตอ้ งรายงานเหตกุ ารณบ์ างเหตกุ ารณเ์ นอ่ื งจากมกี ฎหมายกำ� หนดไวใ้ น การรายงานปญั หา สุขภาพส่วนใหญ่มกั เปน็ การรายงานโดยความสมคั รใจ - การรายงานขอ้ มลู โรคอยา่ งสม�่ำเสมอ โดยการสังเกตผปู้ ่วย (หรอื ตัวอยา่ งการทดสอบ) และเป็นส่วนหนง่ึ ของเครอื ขา่ ยการรายงาน เรยี กว่า การเฝา้ ระวงั เชงิ รบั - ตัวอย่าง: ระบบรายงานเหตกุ ารณ์ไมพ่ งึ ประสงค์ของวคั ซนี (VAERS) • ไม่มกี ารคน้ หาผู้ป่วยเชิงรกุ • ขอ้ มูลเชิงรับจากเฝา้ ระวงั ในพนื้ ที่หนึ่ง • พง่ึ ขอ้ มลู จากผใู้ ห้บริการทางสขุ ภาพ • ใช้งบประมาณนอ้ ย • ครอบคลมุ พืน้ ท่ใี นวงกว้าง • มีความยากทีจ่ ะเฝา้ ระวงั อย่างสมบูรณ์แบบ และไดข้ ้อมลู ท่ีทันต่อเหตกุ ารณ์

162 หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสขุ เพ่ือรองรบั ระบบสขุ ภาพที่ยืดหยุน่ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Sentinel surveillance Example: The Philippine Irnevnposceolevatrwetlreiesnocfgrutlkielmlsdyoiittfeesd Aqcpuqadaaubirlsiitorteieycuasutdslehaaairtgah cmDoasuoaniogtntbfanibidtrdaeoecelirasonutkelbtrslisaealueyncsrdaeddtneesyddno National Epidemic Dfoaortuaidtbeisrnetuaifskyeisnfugl Surveillance System SUSREVNEITLILNAENLCE aseltucmeroRrvoennaettaohhpiltmleoiiadvrdnie,cscatelo crafNaoootcroorruehtctddsmcdeieisudfietsfereeeneracictansttthsigeainveesrgeesa การเฝ้าระวังเฉพาะกลมุ่ เฉพาะพน้ื ที่ - เป็นการสุ่มสำ� รวจเพอ่ื ตอ้ งการใหไ้ ดข้ อ้ มลู ทีม่ คี วามน่าเชอ่ื ถือมากข้นึ และมีความรวดเร็ว วิธกี ารอาจเลือก กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาที่ต้องการเฝ้าระวังหรือกลุ่มตัวอย่างประชากรที่มี ความเสย่ี งตอ่ การเกดิ โรคนนั้ ๆ โดยกลมุ่ ตวั อยา่ งกระจายอยตู่ ามลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์ ประชากรและอนื่ ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องใหม้ ากท่ีสดุ เชน่ การเฝ้าระวัง เอชไอวี เฉพาะพน้ื ที่ การเฝา้ ระวงั พฤติกรรมเสยี่ ง เปน็ ต้น - ตัวอย่าง: ระบบเฝา้ ระวงั โรคระบาดของประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ • ขอ้ มลู เฝา้ ระวงั ทไี่ ดเ้ ปน็ ขอ้ มลู คณุ ภาพสงู เปน็ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั โรคเฉพาะ/ความเสย่ี งเฉพาะทจ่ี ะเฝา้ ระวงั • ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมสามารถใชแ้ สดงแนวโนม้ การเกดิ โรค ขอ้ มลู บง่ ชกี้ ารระบาดของโรค และตดิ ตามขอ้ มลู ภาระโรคได้ • ขอ้ มูลมปี ระโยชน์ตอ่ การบ่งชีก้ ารระบาดของโรค • ไม่มปี ระสิทธิภาพส�ำหรบั การตรวจจับโรคชนิดหายากหรือโรคทปี่ รากฏนอกพื้นท่เี ฝ้าระวัง • เป็นวิธกี ารเฝา้ ระวงั ทรี่ วดเร็ว ประหยดั • มีความจำ� กัดของพืน้ ทที่ ีค่ ัดเลือกในการเฝ้าระวัง (ใชเ้ พอ่ื เฝา้ ระวังเฉพาะพืน้ ทที่ ่ีมีปัญหาเฉพาะ)

หลักสูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าทส่ี าธารณสุข 163 เพื่อรองรับระบบสุขภาพทีย่ ืดหยุ่นรองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ Active surveillance tmavafleiknasdRicdinwtieiciglnriovategiirlteegkorwsheiesherctasoeaeonfrlartdshdlt,hs datScasat,pasairfeenlefarc,frpboiaindmoornvomrrgeetacseanstusottstmiihogrtayeneaonntedstssend arianecctepvdticimneooauasrtneIrtatbmaiilncrgitlnceaopgtaeyispro;tbsoiinoodetsveinfnmeaa;atcneanbaaldkdylnseeedsn SURAVCEITLILVAENCE More expensive eUtreasdalrediigsmdieceiaatnwestahideoteionfinosnorar Moresedtiffuicpult to การเฝ้าระวงั เชงิ รุก - เป็นการจัดตั้งระบบเฝ้าระวังขึ้นเพ่ือเพิ่มโอกาสที่จะให้ได้ข้อมูลมากขึ้นหรือเพ่ือให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติมจาก การเฝา้ ระวังปกติ ซงึ่ เป็นการค้นหาการเกดิ โรคเชิงรกุ ผูต้ อ้ งการขอ้ มูลวางระบบที่จะไปคน้ หาการเกิดโรค เป็นกรณีไป โดยอาจน�ำไปเสริมระบบปกติ โรคที่พบได้น้อย ระบบปกติเก็บได้ไม่ครบถ้วน และช่วงท่ีมี การระบาดของโรค เพือ่ ใหไ้ ด้รายละเอียดของข้อมูล • คน้ หาข้อมลู จากเวชระเบยี น การเย่ียมผู้ปว่ ย • สอบสวนโรคจากผปู้ ว่ ย, ข้อมูลในเอกสาร, ขอ้ มูลรายงานจากตวั อย่างทางหอ้ งปฏบิ ตั ิการ • ใช้เฝา้ ระวงั วธิ นี ้ี เมอ่ื เกิดโรคกับกลมุ่ เป้าหมายเฉพาะส�ำหรับโรคท่ตี อ้ งการควบคมุ หรอื ก�ำจัด • จดั ตัง้ ระบบยาก • ใช้งบประมาณ/ทรัพยากรสูง • ยกระดับในด้านเวลาและความแม่นย�ำของการตรวจจับและการรายงานเคส ท�ำให้สามารถสอบสวน ได้อย่างรวดเรว็ และและด�ำเนินการแกป้ ญั หาได้อยา่ งรวดเร็ว

164 หลกั สตู รพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสุข เพอ่ื รองรับระบบสขุ ภาพทีย่ ืดหยุ่นรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ Arboviral diseases (dengue, chikungunya and yellow fever) & Zika virus disInecarseeasbeuridnen Syndromic surveilllance approach for these diseases ARBOVIRAL could bring suspected cases CCHLIAMNAGTEE to the attention of the health system early, before clinical or leboratory confirmation leading to early detection of the outbreak DISEASES Moerxepopseeodple disInecarseeasbeuridnen ตัวอย่างของโรคท่ีเกิดจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ โรคที่เกิดจากอาร์โบไวรัส (ไข้เลือดออก, ชิคุนกุนยา, ไข้เหลือง และ ไวรัสซกิ ้า) การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและโรคที่เกิดจากอารโ์ บไวรัส ส่งผลให้ - เพิ่มภาระโรค - การกระจายของโรคแพรร่ ะบาดในพืน้ ทีว่ งกว้าง - มปี ระชาชนจำ� นวนมากไดร้ บั สมั ผัสกบั เชื้อโรค แนวทางการเฝ้าระวังอาการของโรคต่างๆ เหล่านี้สามารถน�ำเคสต้องสงสัยเข้าสู่ระบบสาธารณสุขได้ต้ังแต่ ระยะแรก กอ่ นการยนื ยนั ทางคลินิกหรือทางห้องปฏิบตั ิการ ทนี่ ำ� ไปส่กู ารตรวจหาการระบาดในระยะเรม่ิ ตน้

หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 165 เพ่ือรองรับระบบสุขภาพทยี่ ดื หยนุ่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Integrated disease surveillance & its components แบบบรู ณาการเฝ้าระวงั โรคและองคป์ ระกอบทีเ่ ก่ียวขอ้ ง โปรแกรมการเฝา้ ระวังระดับรฐั /จังหวดั และไมร่ วมศนู ยม์ ีจุดมุง่ หมายเพอื่ ตรวจจับสญั ญาณการระบาดทก่ี ำ� ลัง จะเกดิ ขน้ึ นำ� ไปสกู่ ารแจง้ เตอื นภยั ลว่ งหนา้ และชว่ ยเรมิ่ ตน้ การตอบสนองทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการควบคมุ การระบาด ในเวลาทีท่ นั การณ์ จึงปอ้ งกันการระบาดของโรคไดอ้ ยา่ งมาก - การเสริมสร้างความเขม้ แข็งของห้องปฏบิ ตั กิ ารทางสาธารณสุข - การบรู ณาการและการกระจายการด�ำเนินการเฝ้าระวัง - การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ เช่น การฝึกอบรมเจา้ หนา้ ทรี่ ะดับจงั หวัด/รฐั เจา้ หนา้ ท่ี เฝ้าระวงั โรคระดบั อ�ำเภอ ทีมตอบโตเ้ รว็ แพทย/์ พยาบาล/เจ้าหนา้ ทอ่ี น่ื ๆ - การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศส�ำหรบั เกบ็ ขอ้ มูลเทียบเคียง รวบรวม วเิ คราะห์และเผยแพร่

166 หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ เพือ่ รองรับระบบสขุ ภาพท่ยี ดื หยุน่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Key Takeaways • With climate change, there would be an increase in disease burden of infectious diseases, with their wider spatial distribution as more people are exposed to climatically suitable areas of these diseases.Hence, surveillance and early detection of infectious diseases becomes crucial under the changing climate scenario. • Disease surveillance is systematic collection, analysis and dissemination of data on diseases of public health importance so that appropriate action can be taken to either prevent or stop further spread of disease • Disease surveillance could be active, passive or sentinel • Integrated disease surveillance (IDS) systems is decentralized state based surveillance program that detects early warning signals of impending outbreaks and helps initiate appropri ate and timely response to prevent further cases. สรปุ ประเด็นสำ� คัญ - การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอาจเพิ่มภาระโรคของโรคติดเช้ือต่างๆ เพราะการแพร่ระบาดของโรค สามารถเกดิ ในวงท่กี วา้ งขึ้นเพราะพนื้ ทที่ โ่ี รคเหล่านส้ี ามารถแพร่ระบาดได้มากข้นึ ส่งผลใหผ้ คู้ นสัมผัสกบั โรคเหล่านี้มากขึ้น เพราะฉะนั้น การเฝ้าระวังโรคตั้งแต่เน่ิน ๆ จึงเป็นส่ิงส�ำคัญภายใต้การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ - การเฝา้ ระวงั โรค คอื การรวบรวมขอ้ มลู อยา่ งเปน็ ระบบ วเิ คราะหแ์ ละเผยแพรข่ อ้ มลู เกยี่ วกบั โรคของระบบ สุขภาพมีความส�ำคัญด้านสาธารณสุข ซ่ึงการด�ำเนินการอย่างเหมาะสมสามารถช่วยป้องกันหรือหยุด การแพรร่ ะบาดของโรคได้ - การเฝา้ ระวงั โรคอาจเปน็ การเฝา้ ระวงั เชงิ รกุ การเฝา้ ระวงั เชงิ รบั หรอื การเฝา้ ระวงั เฉพาะบคุ คลหรอื เฉพาะ พื้นท่ี - ระบบการเฝ้าระวังโรคแบบบูรณาการ (IDS) เป็นโปรแกรมการเฝ้าระวังตามรัฐ/จังหวัดแบบไม่รวมศูนย์ ซง่ึ ตรวจจบั สญั ญาณการเกดิ โรคและสามารถแจง้ เตอื นภยั ลว่ งหนา้ ของการระบาดทก่ี ำ� ลงั จะเกดิ ขนึ้ ได้ และ ชว่ ยปอ้ งกนั การเกิดโรคได้อย่างทันการณ์

กองประเมินผลกระทบตอ่ สุขภาพ กรมอนามัย 167 Module แกลาระรบะบรู ณบเตากอื ารนเภฝัยา้ รละ่ววงังหโรนค้า จากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ

168 หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุข เพอ่ื รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ยี ืดหยุน่ รองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Module 10 การบรู ณาการเฝ้าระวังโรคและระบบเตอื นภยั ล่วงหน้า จากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ขอบเขตเนอื้ หา 1. บทบาทของระบบเตือนภัยล่วงหน้า (Early Warning System: EWS) ในการจัดการโรคท่ีไวต่อ สภาพภูมอิ ากาศ 2. การบูรณาการเฝา้ ระวงั โรค (integrated Disease Surveillance: IDS) และ EWS สำ� หรบั การจดั การ สาธารณสุขภายใต้สถานการณก์ ารเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศทว่ั โลก 3. กรณีศกึ ษาการเฝา้ ระวงั โรคแบบบูรณาการและการแจง้ เตือนล่วงหนา้ ระยะเวลา 1 ชั่วโมง 15 นาที กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. เรยี นร้ผู า่ นการบรรยาย 2. แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ระหวา่ งผสู้ อนและผเู้ รียน เน้อื หา การบรู ณาการการเฝา้ ระวงั โรค (IDS) และระบบเตอื นภยั ล่วงหนา้ (EWS) Integrated Disease Surveillance & Early Warning forClimate Sensitive Disease Integrating IDS and Early Warning System (EWS) Learning objectives • Describe the role of Early Warning System (EWS) in managing climate sensitive diseases • Explain the integration of IDS and EWS for public health management under global climate change scenario วัตถปุ ระสงคใ์ นการเรยี นรู้ - เพ่ืออธิบายบทบาทของระบบเตือนภัยล่วงหน้า (Early Warning System: EWS) ในการจัดการโรค ท่ไี วต่อสภาพภูมิอากาศ - เพอื่ อธบิ ายการบูรณาการเฝ้าระวงั โรค (integrated Disease Surveillance: IDS) และ EWS สำ� หรับ การจัดการสาธารณสขุ ภายใต้สถานการณ์การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศทว่ั โลก

หลกั สตู รพัฒนาศักยภาพเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุข 169 เพือ่ รองรบั ระบบสุขภาพทยี่ ืดหย่นุ รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Early Warning Systems (EWS) for climate change ระบบเตอื นภัยล่วงหนา้ (EWS) ส�ำหรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ - “การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบข้อมูลสภาพอากาศและการส่ือสารเตือนภัยล่วงหน้า (SIEWS)* เป็นโปรแกรมด�ำเนนิ การหลักของ UN ทีส่ นับสนนุ การพฒั นา EWS ทัว่ แอฟรกิ า เอเชีย และแปซิฟกิ - EWS ช่วยให้เจ้าหน้าที่ของรัฐและผู้บริหารในการวางแผนและช่วยเตรียมรับมือกับอันตรายจาก สภาพภมู อิ ากาศทงั้ ระยะสน้ั /รวดเรว็ (เชน่ พายไุ ซโคลน นำ�้ ทว่ ม และพาย)ุ ตลอดจนอนั ตรายระยะยาว/เปน็ ภยั ทมี่ ีความยาวนาน (เช่น ภัยแล้ง และระยะยาว การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศในระยะยาว) - ดังนั้น “ระบบการเตือนภัยล่วงหน้า”เป็นมาตรการที่ปรับตัวส�ำหรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยใชร้ ะบบการสอ่ื สารแบบบรู ณาการ เพอื่ ชว่ ยใหช้ มุ ชนเตรยี มความพรอ้ มสำ� หรบั เหตกุ ารณท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สภาพภูมอิ ากาศทเี่ ป็นอันตราย (ค�ำนยิ ามตามองค์การสหประชาชาติ) ซ่งึ ประกอบดว้ ย 1. ข้อมลู ความเสี่ยง เปน็ การรวบรวมข้อมลู อย่างเปน็ ระบบและการประเมนิ ความเสี่ยง 2. การเฝา้ ระวงั และคาดการณค์ วามเสย่ี ง เปน็ การพฒั นา EWS รวมถงึ เครอื่ งมอื เฝา้ ระวงั ทงั้ สภาพอากาศ และอทุ กวทิ ยาปรบั ปรงุ ความสามารถในการคาดการณแ์ ละการใชเ้ ทคโนโลยเี หลา่ นภี้ ายในภาคสว่ นท่ี แตกตา่ งกนั 3. การตอบโตแ้ ละแจง้ เตอื นความเสยี่ ง เปน็ การพฒั นาศกั ยภาพในการตอบโตใ้ นระดบั ประเทศและระดบั ชมุ ชน ใหส้ ามารถด�ำเนนิ การได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ เมื่อได้รับการแจ้งเตอื น 4. การเผยแพรข่ ้อมูล เป็นการส่ือสารขอ้ มลู ความเสีย่ งและการแจง้ เตือนที่เชือ่ ถือได้ตอ่ พ้ืนทที่ อี่ าจไดร้ ับ ผลกระทบผ่านการใช้ส่ือแบบดัง้ เดิมและส่ือใหม่ (new media)

170 หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุข เพอ่ื รองรับระบบสุขภาพทย่ี ดื หยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ sInetnesgirtaivteiondisoefaIsDeSmanandaEgWemSefnotr climate การบูรณาการ IDS และ EWS สำ� หรับการจดั การโรคทีไ่ วตอ่ สภาพอากาศ - การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศส่งผลใหเ้ กิดการเจ็บป่วยทางสุขภาพ และท�ำใหเ้ กดิ การแพร่ระบาดโรค ในวงกว้างได้ - ต้องมีความเข้าใจวงจรการระบาดของโรค เช่น วงจรการระบาดของโรคหัด สามารถเกิดข้ึนซ้�ำได้ใน ประชากร เม่ือใดกต็ ามทส่ี ัดส่วนของบุคคลที่ไวตอ่ โรคนม้ี จี ำ� นวนถึงเกณฑ์ข้นั ตำ่� ทเี่ หมาะสม - ปจั จยั ดา้ นสภาพภมู อิ ากาศและทไี่ มใ่ ชส่ ภาพภมู อิ ากาศ เปน็ ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพในการคาดการณ์ ของ EWS - การแพรร่ ะบาดของโรคในพนื้ ทห่ี นงึ่ เปน็ ผลมาจากองคป์ ระกอบของปจั จยั ภายนอกและปจั จยั ภายในรวมกนั - น�ำไปสู่การปรับปรุงการเตรียมพร้อมและการตอบสนองทางการแพทย์และสาธารณสุขให้รับมือต่อ การระบาดของโรค

หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข 171 เพ่อื รองรับระบบสขุ ภาพทีย่ ดื หยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ History & development of EWS ประวตั แิ ละการพัฒนา EWS มกี ารพัฒนามาตั้งแต่ปี ค.ศ.1923 - ปจั จบุ ัน ปี ค.ศ.1923 - Gill และคนอ่นื ๆ - มาลาเรยี - ปรมิ าณฝน ความแพรห่ ลายของเกลด็ เลอื ดขนาดใหญ่ สภาพเศรษฐกิจ (ตามราคาอาหาร ธัญพชื ) และ ความเปน็ ไปไดใ้ นการระบาดของโรค ปี ค.ศ. 1923, 1925, 1926 - Rogers - ปอดบวม ไข้ทรพิษ โรคเรอื้ น และวณั โรค (TB) - ตวั แปรสภาพภูมิอากาศ เชน่ อณุ หภมู ิ ฝน ความช้ืน และลม และอตั ราการเกดิ โรค สถานการณ์ปัจจบุ ัน - อยใู่ นสถานการณท์ เี่ ขม้ แขง็ มากขน้ึ เปน็ อยา่ งมากในการสำ� รวจถงึ การใชป้ ระโยชน์ EWS มกี ารพฒั นา ดงั นี้ - การเฝ้าระวงั การเกดิ โรคอยา่ งแมน่ ย�ำและรวดเร็ว - ความหลากหลายของขอ้ มลู จากการเฝา้ ระวงั ทางสง่ิ แวดลอ้ มจากระบบดาวเทยี มและระบบการเฝา้ ระวงั ทางภาคพื้นดนิ - ความล้�ำสมัยด้านการจำ� ลองข้อมูลทางสถิตแิ ละระบาดวิทยา

172 หลกั สตู รพัฒนาศักยภาพเจ้าหนา้ ที่สาธารณสุข Using EWS for public health เพ่อื รองรับระบบสุขภาพทย่ี ืดหยนุ่ รองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Heat–health action plans – A Guidance Heatwaves and health: guidance on warning-system development Ahmedabad Heat Action Plan – 2019 การใช้ EWS เพอื่ ภาคสาธารณสุข โดยองค์การอนามัยโลกได้พัฒนาระบบ EWS หรือ Early Warning Systems ส�ำหรับการเปล่ียนแปลง สภาพภมู ิอากาศ - แผนปฏิบตั กิ ารด้านความรอ้ น-สุขภาพ - แนวทาง - คล่นื ความรอ้ นและสขุ ภาพ: แนวทางในการพัฒนาระบบเตอื นภัย - แผนปฏิบตั กิ ารด้านความรอ้ นของเมืองอาหเ์ มดาบดั – 2019 Examples of using EWS for extreme events for public health ตวั อย่างการใช้ EWS ส�ำหรับเหตุการณ์ภยั พิบัติรนุ แรงส�ำหรับภาคสาธารณสุข ตวั อยา่ งการใชง้ านของระบบ EWS แสดงใหเ้ หน็ ความสำ� คญั ของการเฝา้ ระวงั และสอ่ื สารเตอื นภยั สขุ ภาพ จากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ

หลักสูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ 173 เพอื่ รองรบั ระบบสุขภาพที่ยดื หยุ่นรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Heat-health action plans – A Guidance แนวทางการจัดท�ำแผนปฏิบัติการดา้ นความร้อน - สุขภาพ - ให้ค�ำแนะนำ� ในการพัฒนาและดำ� เนนิ การแผนปฏิบตั ิการด้านความรอ้ น-สุขภาพทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ - ระบถุ งึ ผู้กำ� หนดนโยบายในภาคสุขภาพและผู้เช่ยี วชาญทางการแพทย์ - อธบิ ายหลกั การทว่ั ไปและองคป์ ระกอบหลกั ของแผนปฏบิ ตั กิ ารความรอ้ น-สขุ ภาพระดบั ชาตหิ รอื ระดบั ภูมิภาค - ให้ทางเลอื กและโมเดลตา่ งๆ สำ� หรับมาตรการและตวั อยา่ งทปี่ ฏบิ ตั ไิ ดจ้ ริง และเครื่องมอื จากประเทศ ต่างๆ ในยุโรป - ประเทศที่ควรน�ำคำ� แนะน�ำเหลา่ นไี้ ปใช้ หลังจากทีค่ ำ� แนะนำ� เหลา่ นไ้ี ดร้ ับการพิจารณาถึงความเปน็ ไป ไดแ้ ละความสามารถในการนำ� ไปใชใ้ นระดับชาตหิ รอื ระดับภมู ิภาค

174 หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสุข เพื่อรองรับระบบสขุ ภาพท่ียืดหยุ่นรองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Heatwaves and health: guidance on warning system development Guidance aims to bring together key players from climate, health, emergencyresponse agencies and decision-makers, as well as the general public, for initiating action concerning the overall management of heat as a hazard คล่ืนความรอ้ นและสุขภาพ: แนวทางในการพัฒนาระบบเตอื นภัย แนวทางน้ีมีจุดมุ่งหมายเพื่อน�ำหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยงานด้านสภาพภูมิอากาศ สุขภาพ หน่วยงาน รับมือเหตฉุ กุ เฉิน และผ้มู ีอ�ำนาจตดั สินใจ ตลอดจนประชาชนท่ัวไปมารว่ มมอื กนั เพอื่ รเิ รมิ่ การดำ� เนินการทีเ่ กีย่ วกบั การจัดการในภาพรวมดา้ นความรอ้ นในฐานะท่ีเปน็ สง่ิ อันตราย แนวทางการพัฒนาระบบเตือนภัย : คล่นื ความรอ้ นและสุขภาพ พจิ ารณาจาก 6 องคป์ ระกอบ - ใครคอื กลุ่มเสี่ยง? - ภาวะความเครยี ดจากความรอ้ นมีมากเพียงใด (เชน่ ผดผื่นจากความร้อน ตะคริว เปน็ ลมแดด ฮที สโตรก) - อะไรคอื วธิ กี ารพฒั นาการเฝา้ ระวงั สอื่ สารเตอื นภยั จากความรอ้ น (Heat Health Warning System: HHWS) - อะไรคอื กลยุทธ์การจัดการด้านสุขภาพสำ� หรบั การเฝ้าระวังสือ่ สารเตอื นภยั จากความร้อนแบบบูรณการ? - จะส่ือสารป้องกนั ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพจากความร้อนได้อยา่ งไร? - จะประเมนิ การเฝา้ ระวงั และสือ่ สารเตือนภยั จากความรอ้ นได้อยา่ งไร?

หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ 175 เพ่อื รองรบั ระบบสุขภาพท่ียดื หยุ่นรองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Heat-health action plans – A Guidance • A framework for the implementation, coordination, and evaluation of extreme heat response activities in Ahmedabad. • Plan’s primary objective is to alert the populations most at risk of heat-related illness • This Plan will be discussed in more details as a case study in module 5. ตัวอยา่ งแผนปฏบิ ตั กิ ารความร้อนของเมอื งอาหเ์ มดาบดั ค.ศ. 2019 - กรอบงานเพื่อการด�ำเนินงาน การประสานงาน และการประเมินกิจกรรมการตอบโต้ความร้อนสุดขั้วใน เมอื งอารเ์ มดาบัด - วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของแผน คอื เพอ่ื แจง้ เตอื นประชาชนทม่ี คี วามเสย่ี งสงู สดุ ตอ่ ความเจบ็ ปว่ ยทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ความร้อน - แผนดงั กลา่ วจะบอกถงึ รายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ในกรณศี กึ ษาการเฝา้ ระวงั โรคแบบบรู ณาการและการแจง้ เตอื น ลว่ งหนา้ - Link : https://www.nrdc.org/sites/default/files/ahmedabad-heat-action-plan-2018.pdf

176 หลักสูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสุข เพอื่ รองรบั ระบบสุขภาพท่ียืดหยุ่นรองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Integrate climate into health surveillance บรู ณาการสภาพภูมอิ ากาศเขา้ ส่กู ารเฝา้ ระวังทางสขุ ภาพ 1. เรมิ่ ต้น - จดั ต้ังหน่วยงาน/บุคลากร/คณะทำ� งานทรี่ ับผดิ ชอบในการบรู ณาการ - ระบุโรคทีไ่ ดร้ ับผลกระทบจากสภาพภูมอิ ากาศตามล�ำดับความส�ำคญั 2. ขอ้ มลู - รวบรวมขอ้ มูลสภาพภมู อิ ากาศ สภาพอากาศ และข้อมลู สุขภาพ - ตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมลู 3. การวเิ คราะห์ - ผสมผสานข้อมลู ก�ำหนดอลั กอรทิ มึ สำ� หรบั การคาดการณ์ - กำ� หนดเกณฑ์ส�ำหรบั โรคตามลำ� ดบั ความส�ำคญั - ตรวจสอบขอ้ มลู ยอ้ นหลงั 4. การตอบสนอง - ก�ำหนดระเบยี บวิธีในการตอบโต้ความเสี่ยง - มอบหมาย/กำ� หนดความรบั ผดิ ชอบ – การเงนิ /งบประมาณ และการขนสง่ – สำ� หรบั การตอบโต้ 5. ติดตามประเมินผล (M&E) ติดตามตอบโต้ และเปรียบเทียบเพอ่ื ทำ� การคาดการณ์ 6. การปรับปรุง ปรับองค์ประกอบของระบบในขั้นตอนข้างต้น โดยพิจารณาจากประสิทธิภาพการตอบโต้ และความแมน่ ย�ำในการคาดการณ์

หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หนา้ ที่สาธารณสขุ 177 เพ่ือรองรบั ระบบสุขภาพที่ยดื หยุ่นรองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ iSnttaokehheoalldtherssurnveecilelasnscaery for integrating climate PLANNING & Communication teams Information COORDINATION National surveillance offices Technology Regional & district office Data entry staff health coordinators Collaborative working group DATA ANALYSIS bodies Local authorities DATA SCIENTISTS Health care staf INTERPRETATION Meteorologists Epidemiologists DATA COLLECTION Climate modellers & TRANSFER Entomologists ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ท่จี ำ� เป็นส�ำหรับการบรู ณาการข้อมลู ทางสภาพภูมอิ ากาศเข้าสกู่ ารเฝา้ ระวังทางสุขภาพ 1. การวางแผนและการประสานงาน : ทมี สอ่ื สาร หนว่ ยงานเฝา้ ระวงั ระดบั ประเทศ ผปู้ ระสานงานดา้ นสขุ ภาพ ในระดบั ภูมภิ าคและอ�ำเภอ คณะท�ำงานความรว่ มมือแบบบรู ณากร 2. การวเิ คราะหข์ ้อมลู : เทคโนโลยีสารสนเทศ เจ้าหน้าทป่ี ้อนข้อมลู 3. การรวบรวมและการถ่ายโอนข้อมูล: เจา้ หนา้ ทส่ี ว่ นท้องถ่ิน เจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข 4. การแปลขอ้ มลู : นักวทิ ยาศาสตร์ นักอุตนุ ิยมวิทยา นักระบาดวทิ ยา เครื่องจำ� ลองสภาพภูมอิ ากาศ นักกีฏวิทยา (ผ้ทู �ำการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแมลง)

178 หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าท่ีสาธารณสขุ เพอื่ รองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ดื หยนุ่ รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ตวั อยา่ งของการแจ้งเตือนลว่ งหนา้ ดา้ นสขุ ภาพโดยใช้ขอ้ มูลสภาพภูมอิ ากาศ Examples of using EWS for extreme events for public health NFEeWtwSorNkET or Famine Early Warning Systems • 30 countries https://fews.net/ • Monthly reports and maps detailing current and https://earlywarning.usgs.gov/fews projected food insecurity • Alerts on emerging or likely crises • Special reports on factors that contribute to or mitigate food insecurity • Analysis of underlying dynamics of recurrent and chronic food insecurity and poor nutritional outcomes, to improve early warning and better inform response and program design. • Guidance Document series focusing on scenario development, core methodology used to make food security projections, and integration of advanced sectoral concepts and techniques into the scenario development process. FEWS NET หรอื เครอื ข่ายระบบเตือนภัยความคาดแคลนอาหาร - ปัจจบุ นั มีเครอื ขา่ ย 30 ประเทศ - รายงานรายเดอื นและระบสุ ถานการณค์ วามไม่ม่ันคงทางอาหารในปัจจบุ นั และทีค่ าดการณไ์ ว้ - การแจง้ เตอื นเก่ียวกบั วกิ ฤตการณท์ กี่ ำ� ลงั เกดิ ขึน้ หรอื มแี นวโน้มที่จะเกิดขนึ้ - รายงานพเิ ศษเก่ยี วกบั ปัจจัยท่กี ่อใหเ้ กดิ หรือบรรเทาความไม่มั่นคงทางอาหาร - การวเิ คราะหค์ วามเคลอื่ นไหวทซี่ อ่ นอยขู่ องความไมม่ นั่ คงทางอาหารทเ่ี กดิ ขน้ึ ซำ�้ ๆ และเรอ้ื รงั และผลลพั ธ์ ทางโภชนาการทไี่ มด่ ี เพอ่ื ปรบั ปรงุ การแจง้ เตอื นลว่ งหนา้ และการออกแบบการโตต้ อบและโปรแกรมตามขอ้ มลู ท่มี ไี ดด้ ีย่งิ ข้ึน - ชุดเอกสารแนวทางท่ีเน้นการพัฒนาสถานการณ์ วธิ กี ารหลกั ทใ่ี ชใ้ นการคาดการณค์ วามม่ันคงทางอาหาร และการผสานรวมแนวคิดและเทคนิคข้ันสูงในแต่ละภาคสว่ นเขา้ สกู่ ระบวนการพฒั นาสถานการณ์

หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสขุ 179 เพอ่ื รองรับระบบสุขภาพทีย่ ดื หย่นุ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ GRelosbpaolnEsWe ASRysSteomr EParroljyecWtarning, Alert and • EWARS is an initiative to strengthen early warning, alert and response in emergencies • Supports Ministries of Health and partners through Field-based tools, Training, and Technical support • It includes online, desktop and mobile application, that can be rapidly configured and deployed • EWARS in a box is a kit containing the essential equipment needed to establish surveillance and response in emergencies Global EWARS หรอื การแจง้ เตือนล่วงหนา้ การแจ้งเตอื น และการโตต้ อบกรณฉี ุกเฉนิ - EWARS เป็นความคิดริเร่ิมในการเสริมสร้างการแจ้งเตือนล่วงหน้า การแจ้งเตือน และการโต้ตอบกรณี ฉุกเฉนิ - สนบั สนนุ กระทรวงสาธารณสขุ และภาคเี ครอื ขา่ ย ผา่ นเครอื่ งมอื ภาคสนาม การฝกึ อบรม และการสนบั สนนุ ด้านเทคนิค - ประกอบด้วยแอปพลิเคชันบนระบบออนไลน์ เดสก์ท็อป และบนอุปกรณ์เคล่ือนที่ ท่ีสามารถก�ำหนด คา่ และปรบั ใช้ไดอ้ ย่างรวดเร็ว - EWARS ในชุด Box คือชดุ อปุ กรณ์ท่ีจ�ำเป็นในการเฝา้ ระวังและโตต้ อบในกรณฉี กุ เฉนิ

180 หลักสูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุข เพ่ือรองรบั ระบบสขุ ภาพที่ยดื หยนุ่ รองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Key Takeaways • EWS helps public health professionals in planning and prepare for both short-term and longterm climate hazards. It is one of the adaptation measures for facing climate change. • Climate and disease information is combined to predict epidemics. Climate-based disease early warning are used as a means of improving preparedness for, and response to, epidemics. • Earlier development of EWS focused mostly on helping farmers in drought-prone areas, supporting coastal communities engaged in tourism, and sustaining rural livelihoods. However, gradually EWS has become one of the components of the WHO’s “Health and Climate Change Toolkit” • Some examples of extreme event early warning system for health are: Heat Action Plans, and Heat-Health Warning Systems. • FEWS and EWARS are examples of climate informed health early warning systems. สรปุ ประเดน็ ส�ำคญั - ระบบ EWS ช่วยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการวางแผนและเตรียมความพร้อมรับมืออันตรายจาก สภาพภูมิอากาศทั้งระยะส้ันและระยะยาว โดยเป็นหน่ึงในมาตรการปรับตัวจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ - ขอ้ มลู สภาพภมู อิ ากาศและโรคถกู รวมเขา้ ดว้ ยกนั เพอ่ื ทำ� นายการระบาดของโรค การเตอื นลว่ งหนา้ เกย่ี วกบั โรคทเ่ี กดิ จากสภาพภมู อิ ากาศถกู ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู เพอ่ื ยกระดบั การ เตรยี มความพรอ้ ม และการตอบสนองตอ่ การแพร่ระบาด - การพฒั นา EWS ในชว่ งแรกสว่ นใหญม่ งุ่ เนน้ ไปทกี่ ารชว่ ยเหลอื เกษตรกรในพนื้ ทเ่ี สยี่ งภยั แลง้ การสนบั สนนุ ชมุ ชนชายฝง่ั ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การทอ่ งเทย่ี ว และคงไวซ้ ง่ึ การดำ� รงชวี ติ ในชนบทใหย้ งั่ ยนื อยา่ งไรกต็ าม EWS ไดค้ อ่ ยๆ กลายเปน็ หนงึ่ ในองคป์ ระกอบของ “ชดุ เครอ่ื งมอื ดา้ นสขุ ภาพและการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ” ขององค์การอนามยั โลก - บางตัวอย่างของระบบแจ้งเตือนล่วงหน้าเกี่ยวกับของภัยพิบัติรุนแรงต่อสุขภาพ ได้แก่ แผนปฏิบัติการ ด้านความร้อน และระบบการแจ้งเตือนความรอ้ น-สขุ ภาพ - FEWS และ EWARS เปน็ ตวั อยา่ งของระบบการแจง้ เตอื นลว่ งหนา้ ดา้ นสขุ ภาพทใี่ ชข้ อ้ มลู ดา้ นสภาพภมู อิ ากาศ

หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ 181 เพอื่ รองรับระบบสขุ ภาพที่ยดื หยุน่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 2. ระบบตอบโตแ้ ละเตอื นภัยลว่ งหน้า Early Warning and Response System (EWARS) Integrated Disease Surveillance & Early Warning forClimate Sensitive Disease Early Warning and Response System (EWARS) Learning objectives • After completing this module, participants will be able to understand the fundamentals of the EWARS and its use in detecting disease outbreaks for triggering early response activities วัตถปุ ระสงค์ - หลงั จากจบโมดลู นแ้ี ลว้ ผเู้ ขา้ รว่ มจะเขา้ ใจพนื้ ฐานของระบบตอบโตแ้ ละเตอื นภยั ลว่ งหนา้ Early Warning and Response System (EWARS) และการน�ำไปใช้ในการตรวจหาการระบาดของโรค เพ่อื ดำ� เนินการ ตอบโตไ้ ดล้ ว่ งหนา้

182 หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ดื หยุน่ รองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Introduction to EWARS • WHO’s Early Warning, Alert and Response System (EWARS) is designed to improve disease outbreak detection in emergency settings, such as in countries in conflict or following a natural disaster. • It is a simple and cost-effective way to rapidly set up a disease surveillance system. • It has been successfully implemented by a number of countries including Indonesia, Bangladesh, Africa, and Nepal for instance. Early Warning, Alert And Response System 1. Preparing 2. Dashboard-I 3. Dashboard-II Dataset • Calibration • Harvesting results • National Level • Local users Users (district/provincial) บทนำ� ของ EWARS - ระบบการแจง้ แจง้ เตอื น และโตต้ อบลว่ งหนา้ (Early Warning, Alert and Response System - EWARS) ของ WHO ได้รับการออกแบบมาเพ่ือปรับปรุงการตรวจจับการระบาดของโรคในกรณีฉุกเฉิน เช่น ในประเทศท่มี คี วามขดั แย้งหรอื หลังจากเกดิ ภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ - เปน็ วธิ ที ่ีง่ายและคุ้มค่าในการตดิ ตงั้ ระบบเฝา้ ระวงั โรคอย่างรวดเร็ว - มีการด�ำเนินการทส่ี �ำเรจ็ ในหลายประเทศ เช่น อินโดนเี ซยี บังคลาเทศ แอฟรกิ าเนปาล ระบบการแจ้ง แจ้งเตอื น และโตต้ อบลว่ งหนา้ 1. การเตรียมชดุ ข้อมูล 2. Dashboard-I – ปรบั เทียบ - ผูใ้ ช้ระดบั ประเทศ 3. Dashboard-II - เกบ็ ผลลพั ธ์ - ผ้ใู ชร้ ะดบั ทอ้ งถ่ิน (อำ� เภอ/จงั หวดั )

หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ 183 เพอื่ รองรบั ระบบสขุ ภาพที่ยดื หยุ่นรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ Retrospective and prospective phases ระยะย้อนหลงั (Retrospective) และระยะการคาดการณ์ (Prospective) 1) ระยะย้อนหลัง (Retrospective) ขั้นตอนนี้ใช้ข้อมูลการเฝ้าระวังย้อนหลัง เพื่อสร้างชุดข้อมูล 2 ชุด: (1) ขอ้ มลู Run-in Data ใชใ้ นการพฒั นาแบบจำ� ลองการทำ� นาย เปน็ ชดุ ขอ้ มลู ทใ่ี ชบ้ นั ทกึ ในอดตี เพอื่ ประเมนิ หรือสอบเทียบพารามิเตอร์แบบจ�ำลองของความสัมพันธ์ระหว่างตัวบ่งชี้การระบาดและตัวบ่งชี้ การเตือนภัย การก�ำหนดพารามิเตอร์นี้จะได้รับการทดสอบในระหว่างข้ันตอนการประเมิน (ขนั้ ตอนที่ 2 ดา้ นลา่ ง)และน�ำไปใช้โดยผู้ใชเ้ พื่อคาดการณ์การระบาด ข้อมูลเหล่าน้ีรวมถงึ ข้อมูลรายปี รายสัปดาหแ์ ละ รายเขต/จงั หวัด ตัวบง่ ชกี้ ารระบาด (probable case, confirm case หรือตวั บ่งชี้ การระบาดในรูปแบบอนื่ ๆ) และตัวบง่ ชกี้ ารเตือนภยั เชน่ อุณหภูมเิ ฉลยี่ รายสัปดาห์ ผลรวมของฝน ความชืน้ เฉล่ีย และ probable case (2) ขอ้ มลู Evaluation data เปน็ ชดุ ขอ้ มลู นใ้ี ชเ้ พอ่ื (1) ประเมนิ แบบจำ� ลองการทำ� นาย และ (2) จดั ทำ� สถติ สิ รปุ ท่ใี ชใ้ นการสรา้ งระบบเตือนภัยลว่ งหนา้ ในอนาคต 2) ระยะการคาดการณ์ (Prospective) ไฟล์ผลลัพธ์ท่ีเติมข้อมูล (พารามิเตอร์สุดท้าย) คือแดชบอร์ด II ชว่ ยใหผ้ ใู้ ชส้ ามารถปอ้ นขอ้ มลู ทค่ี าดหวงั เพอ่ื ประเมนิ ความนา่ จะเปน็ ของการระบาดในชว่ งเวลาทค่ี าดการณไ์ ด้ สง่ิ นไ้ี ด้มาจากการใส่ขอ้ มลู รายสปั ดาห์ของการระบาดและสัญญาณเตือนภัยสำ� หรบั เขตทส่ี นใจ

184 หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ เพื่อรองรบั ระบบสุขภาพทยี่ ืดหยนุ่ รองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ไดอะแกรมดา้ นบน แสดงขน้ั ตอนทง้ั หมด 16 ขน้ั ตอน ในกระบวนการโดยรวมทกี่ ระจายอยใู่ น 2 ขน้ั ตอนทแ่ี ตก ตา่ งกัน ระยะท่ี 1 (Retrospective) แบ่งออกเป็น (1) “ขอ้ มูล Run-in” และ (2 ) “ขอ้ มลู Evaluation” ระยะท่ี 2 (prospective) คือการวิเคราะห์ข้นั สดุ ทา้ ยโดยใชส้ ถติ สิ รปุ เพอื่ เตมิ ระบบเตอื นภยั ลว่ งหนา้ ทีใ่ ช้ Excel ซึง่ สามารถใช้ แบบเรียลไทม์ เพือ่ ตรวจหาการระบาดของไขเ้ ลอื ดออกในอนาคต ระยะท่ี 1 ระยะยอ้ นหลัง (Retrospective): การสร้างแบบจ�ำลองการท�ำนาย Step 1 ในขั้นตอนนี้ ข้อมูลต้นฉบับจะแบ่งออกเป็น “ข้อมูล Run-in” และ “ข้อมูล Evaluation” โดยการปอ้ นชว่ งเวลา (cut-off) เปน็ รายปี รายสปั ดาห์ เมอ่ื ขอ้ มลู Run-in สน้ิ สดุ และขอ้ มลู Evaluation เรมิ่ ตน้ ขึน้ จ�ำเป็นต้องมีข้อมลู อย่างน้อย 2 ปี ส�ำหรบั ขอ้ มูล Run-in แมว้ ่าขอ้ มลู จะแนะนำ� มากกว่า 2 ปีกต็ าม Step 2 ข้ันตอนนี้จะแสดงถงึ Endemic channel Step 3a ขั้นตอนน้ี “การระบาด” ถกู ก�ำหนดโดยสดั สว่ นของจ�ำนวน Incidence case ท่สี ัมพนั ธก์ บั จ�ำนวน ประชากรต่อปี ส�ำหรับเขตท่ีเก่ียวข้อง ผู้ใช้จะได้รับตัวเลือกในการเลือกตัวบ่งช้ีการระบาดที่จะใช้ ตัวอย่างเช่น Probable case หรือ hospitalized case Step 3b ขัน้ ตอนนี้ อาจจะเลือกช่วงเวลาการระบาดโรค ผใู้ ชส้ ามารถก�ำหนดระยะเวลาของช่วงการระบาด โดยก�ำหนดจ�ำนวนสัปดาหต์ ิดตอ่ กนั (1, 2, 3, ฯลฯ) Step 4 ขน้ั ตอนนแ้ี สดงวิธีใช้ข้อมลู จาก “Alarm indicator” ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั หนา้ ต่างการเตือน Step 5 ขน้ั ตอนนี้แสดงวิธีใช้ขอ้ มูลจากช่วงเวลาการระบาดกับขนาดหนา้ ต่างเพอ่ื กำ� หนดการระบาด Step 6 ขน้ั ตอนนแ้ี สดงวธิ ใี ชข้ อ้ มลู “Spline option” จดั การความสมั พนั ธแ์ บบ non-monotonic ระหวา่ ง ตัวบ่งช้ีสัญญาณเตือนและตัวบ่งช้ีการระบาด ซ่ึงจะเกิดข้ึนเมื่อมีการเพ่ิมข้ึนของตัวบ่งช้ีสัญญาณ เตือนภัยในชว่ งเวลาหนึง่ ๆ โดยมีจ�ำนวนผ้ปู ่วย (การระบาด) ลดลงในช่วงเวลาเดยี วกัน Step 7 ข้ันตอนน้ี สัญญาณการระบาดถูกก�ำหนดโดยการแปลงสัดส่วนที่ได้รับเป็นตัวแปรไบนารี (binary variable) (0=ไมม่ กี ารระบาด หรอื 1=การระบาด) ซงึ่ จำ� เปน็ สำ� หรบั การใชก้ ารถดถอยโลจสิ ตกิ (logistic regression) ในขน้ั ตอนถัดไป Step 8 ในขั้นตอนนี้ จะประเมินความสัมพันธ์ระหว่างผลลัพธ์ไบนารีของสัญญาณการระบาด (0,1) และ ตัวบง่ ชีก้ ารเตอื นภัยโดยใช้โลจิสตกิ ถดถอย โดยแบบจ�ำลองโลจสิ ตกิ ถดถอยจะสร้างคา่ สมั ประสิทธิ์ สำ� หรบั ระยะเวลานี้เพียงอยา่ งเดยี ว จากนน้ั คา่ สมั ประสิทธ์ถิ ดั ไปจะเจาะจงส�ำหรบั ชว่ งเวลาทร่ี ะบุ Step 9 คา่ สมั ประสทิ ธท์ิ สี่ รา้ งขนึ้ จากแบบจำ� ลองการถดถอยนจ้ี ะถกู จดั เกบ็ /นำ� ไปใชใ้ นขน้ั ตอนการประเมนิ Step 10 จะเริ่มเข้าสู่ “ขอ้ มูล Evaluation” กำ� หนดโดยการปอ้ นช่วงเวลาในสัปดาหข์ องปี Step 11 ในขนั้ ตอนน้ี เรากำ� ลงั ประเมนิ คา่ สมั ประสทิ ธทิ์ สี่ รา้ งขนึ้ ในขน้ั ตน้ โดย “ขอ้ มลู Run-in” การประเมนิ นีด้ �ำเนนิ การโดยใช้ค่าสมั ประสทิ ธ์ิเหล่านก้ี ับ “ข้อมลู Evaluation” เพอ่ื สงั เกตประสิทธภิ าพของ แบบจ�ำลองการทำ� นายในการตรวจจบั การระบาด Step 12 เปน็ ฟงั ก์ชันท่ีไดร้ บั จากการถดถอยโลจิสติก Step 8 และพารามเิ ตอร์ใช้เพือ่ ประเมิน “ความนา่ จะ เปน็ ” ของการเกิดการระบาด Step 13 จะต้องใช้เกณฑ์เพื่อก�ำหนดสัญญาณเตือนภัย เช่น ความน่าจะเป็น 0.4 ที่มีเกณฑ์ 0.3 (เชน่ ความนา่ จะเปน็ ≥0.3)ถอื เปน็ สญั ญาณเตอื นภยั อยา่ งไรกต็ ามหากความนา่ จะเปน็ นอ้ ยกวา่ แสดงวา่ ไมใ่ ช่สญั ญาณเตอื นภัย

หลกั สตู รพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข 185 เพอ่ื รองรบั ระบบสุขภาพทีย่ ดื หย่นุ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Step 14 เพอื่ ใหแ้ นใ่ จวา่ เกณฑท์ ก่ี ำ� หนด(ในStep13)มคี วามนา่ เชอ่ื ถอื ในการทำ� นายการระบาดเกณฑก์ ารประเมนิ สเี่ กณฑเ์ พอื่ ประเมินตวั เลือกท่ีก�ำหนดใน step 13 คือ: 1. correct alarm: ความนา่ จะเป็น ≥ เกณฑ์ท่มี ีการระบาดจรงิ (สำ� หรบั ชว่ งเวลาเป้าหมาย); 2. False Alarm: ความนา่ จะเป็น ≥ เกณฑท์ ไ่ี ม่มีการระบาดจรงิ (สำ� หรบั ช่วงเวลาเป้าหมาย); 3. missed outbreak: ความนา่ จะเป็น ≤ เกณฑท์ ีม่ กี ารระบาดจริง (ส�ำหรบั ช่วงเวลาเป้าหมาย); 4. no alarm, no outbreak: ความนา่ จะเปน็ ≤ เกณฑท์ ไี่ มม่ กี ารระบาดจรงิ (สำ� หรบั ชว่ งเวลาเปา้ หมาย) ระยะท่ี 2 การคาดการณ์ (Prospective surveillance) Step 15 ขนั้ ตอนนี้ โปรแกรมจะทำ� งานผา่ นชดุ ขอ้ มลู ทง้ั หมด (Run-in และ Evaluation) เมอื่ ผใู้ ชป้ อ้ นขอ้ มลู การคาดการณ์ตามเวลาจริงลงในคอลัมน์ว่าง ไฟล์จะประเมินและแสดงกราฟความน่าจะเป็นของ การระบาดโดยอัตโนมตั เิ พอื่ คาดการณ์การระบาด Step 16 ใขนั้ ตอนสดุ ทา้ ยนี้ โปรแกรมจะเตมิ สมดุ งานการเฝา้ ระวงั ซง่ึ เชอื่ มโยงโดยตรงและแสดงใน Dashboard II ผใู้ ช้จะป้อนขอ้ มลู ในปี สปั ดาห์ ตัวบง่ ชี้การระบาด และตัวบ่งชก้ี ารเตอื นภัยส�ำหรบั เขตที่เก่ียวขอ้ ง โดยตรงลงใน Dashboard II ซ่ึงสามารถค�ำนวณความน่าจะเป็นของการระบาดโดยอตั โนมตั แิ ละ สรา้ งการนำ� เสนอแบบกราฟกิ ทนั ทแี ละสัญญาณเตือนภัย/การตอบสนอง Probable case คือ ผปู้ ว่ ยเขา้ ขา่ ย หมายถงึ ผทู้ ม่ี อี าการตามเกณฑท์ างคลนิ กิ และมลี กั ษณอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ไดแ้ ก่ มผี ลการตรวจเลอื ดทวั่ ไป และมผี ลการเชอ่ื มโยงทางระบาดวทิ ยากบั ผปู้ ว่ ยรายอน่ื ๆ ท่มี ีผลการตรวจยนื ยนั ทางห้องปฏิบัตกิ ารจำ� เพาะ Confirm case คือ ผู้ป่วยยืนยัน หมายถึง ผู้ที่มีอาการตามเกณฑ์ทางคลินิก และมีผลตามเกณฑ์ทางห้อง ปฏิบตั ิการจ�ำเพาะ

186SURVEILLANCE DATA หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าทีส่ าธารณสขุ เพอ่ื รองรบั ระบบสขุ ภาพท่ียดื หยนุ่ รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Preparing the dataset ••• WDYeiesaterrkict • Weekly hospitalized cases (E.g. Dengue outbreaks) •••• OWWWveeeieeetrkkkalllpyyy htrineaudminmefpxuidellirtasytuummreeamnean InGdeicnaetroarls IOnduitcbaretoarks IndAilcaarmtors การเตรยี มชุดขอ้ มลู (เช่น การระบาดของโรคไขเ้ ลอื ดออก) ควรเป็นชดุ ข้อมลู การเฝ้าระวัง ดังน้ี - ตวั บง่ ช้ที ่วั ไป ได้แก่ ปี สปั ดาห์ อ�ำเภอ - ตวั บง่ ชีก้ ารระบาด ไดแ้ ก่ จ�ำนวนผูป้ ่วยทเ่ี ขา้ รบั การรกั ษาในโรงพยาบาลรายสปั ดาห์ - ตัวบ่งช้ีการเตือนภัย ได้แก่ ค่าเฉล่ียความช้ืนรายสัปดาห์ ปริมาณน�้ำฝนรายสัปดาห์ อุณหภูมิเฉลี่ย รายสัปดาห์ ดชั นีลกู น้�ำยุงลาย

หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ 187 เพ่อื รองรบั ระบบสุขภาพทยี่ ืดหย่นุ รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Retrospective and prospective phases การปรบั เทยี บข้อมูล 1. เข้าถงึ แดชบอรด์ EWARS 2. ตัง้ ค่าประเทศ รหสั ผา่ น และชดุ ขอ้ มลู การเฝ้าระวัง 3. การปรับเทียบ - แบ่งข้อมลู เป็นชดุ Run-in และชุดการประเมนิ โดยชุดข้อมลู แบง่ เปน้ ระดบั อ�ำเภอ ประชากรในอ�ำเภอ ตวั บง่ ชก้ี ารระบาด และชว่ งการระบาด - ข้อมูลในระบบจะมีการประมวลผลได้แก่ การรันโปรแกรม การสร้างความสัมพันธ์แบบ Monotonic สญั ญาณการระบาด และระยะการคาดการณ์ - ผลลพั ธท์ ่ไี ดม้ ี ดังนี้ 1. ตวั บง่ ชี้การแจง้ เตอื น 2. ขนาดหน้าตา่ งสำ� หรับตัวบง่ ช้ีการแจง้ เตือน 3. เกณฑ์การแจง้ เตอื น 4. ผลลพั ธ์แบบกราฟกิ 5. การเปลยี่ นแปลงตามฤดกู าล 6. ชอ่ งทางเฉพาะถิน่ 7. ขนาดหนา้ ตา่ งสำ� หรับตวั บง่ ช้กี ารระบาด

188 หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ เพื่อรองรบั ระบบสุขภาพทีย่ ืดหย่นุ รองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ หน้าน้ีแสดงการใช้งานของระบบตั้งแต่การเปิดแดชบอร์ดระบบ EWARS และการดาวน์โหลดข้อมูลเดโม การประเมินผลลพั ธ์ท่ีได้ การอพั โหลดข้อมลู และการแสดงผลเปน็ แผนที่เสย่ี งรายพ้ืนที่ Harvesting the results • Prospective Phase has two main sections: • Prospective early warning system; and • Retrieving online meteorological information on weekly alarms (datasets sublink) • THIS PROSPECTIVE PROCESS NEEDS TO BE PERFORMED ON A WEEKLY BASIS การรวบรวมผลทไ่ี ด้ - ระยะท่ีคาดไว้ในอนาคต มี 2 ส่วนหลัก ไดแ้ ก่ • ระบบเตือนภยั ล่วงหนา้ ตามแผน และ • การดงึ ข้อมลู อุตุนยิ มวิทยาออนไลนเ์ ก่ียวกบั การเตอื นภยั รายสปั ดาห์ (ลงิ คย์ ่อยชดุ ขอ้ มูล) - กระบวนการในระยะทค่ี าดหวังน้จี ำ� เปน็ ตอ้ งด�ำเนินการเปน็ ประจำ� ทกุ สปั ดาห์

หลักสตู รพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสุข 189 เพอื่ รองรบั ระบบสขุ ภาพทีย่ ืดหยุน่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ EWARS (Gen 1) STATA software Overall country information 13 weeks moving average period About the tool EWARS (Gen 2) TYPES OF EWARS Open-access R software aDnisatlryicstis-specific alarm data Ermeseprgoennscey ••• YWDeiesaterrkict 7 weeks moving average period Predictive role ••• WYDeiesaterrkict ขอ้ มลู เกย่ี วกบั เครอ่ื งมือ ประเภทของ EWARS แบ่งเปน็ 2 สว่ น ดังนี้ 1. การตอบโตเ้ หตุฉกุ เฉนิ : ระยะยอ้ นหลัง 2. บทบาทด้านคาดการณ์ : ระยะในอนาคต EWARS (รนุ่ ท่ี 1) EWARS-R (รนุ่ ท่ี 2) - ซอฟตแ์ วรข์ อง STATA - ซอฟต์แวร์ Open-Access R - ข้อมลู โดยรวมของประเทศ - การวิเคราะหข์ อ้ มูลการเตอื นภยั เฉพาะระดบั เขต - ระยะเวลาเฉลย่ี ในการเคล่อื นที่ 13 สปั ดาห์ - ระยะเวลาเฉล่ยี ในการเคล่อื นท่ี 7 สัปดาห์

190 หลักสูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข เพือ่ รองรับระบบสุขภาพทย่ี ดื หยุ่นรองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Global EWARS MOBILE http://project.ewars.ws/ DATAHUB • Collect and submit data anywhere • Fully offline • Install the Mobile • Ready to collect, submit app on your phone and analyze data. or tablet. • All in a single, easy-to-use • Enter data box. • Save offline • DataHub comes preinstalled • Sync on a mini server or can • Manage alerts be installed on the computer EXCHANGE • Build forms • Create locations • Choose what data you • Invite users wish to share with others • Develop dashboard and and when. anlaysis • Interoperability • Manage alerts • Control access • Receive updates EWARS in a box. Everything you need in the field Global EWARS ประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้ 1. DATAHUB • ออฟไลนโ์ ดยสมบูรณ์ • พร้อมรวบรวม สง่ และวิเคราะหข์ ้อมลู • ท้งั หมดนี้อยู่ในกลอ่ งเดยี ว ใช้งานง่าย • DataHub ตดิ ต้ังมาล่วงหน้าบนเซิรฟ์ เวอร์ขนาดเลก็ หรือสามารถตดิ ตงั้ บนคอมพิวเตอรไ์ ด้ • สร้างแบบฟอรม์ • สรา้ งต�ำแหน่งทีต่ ้งั • เชิญผู้ใช้งาน • พัฒนา dashboard และการวิเคราะห์ข้อมลู • จดั การการแจ้งเตือน 2. การแสดงผลทางโทรศัพทม์ อื ถอื • รวบรวมและส่งข้อมลู ได้ทุกที่ • ติดตัง้ แอพพลิเคชั่นบนโทรศัพทม์ ือถือหรือแท็บเล็ต • ปอ้ นขอ้ มูล • บนั ทกึ แบบออฟไลน์ • เชื่อมต่อข้อมูล • จัดการการแจง้ เตือน

หลกั สูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหนา้ ที่สาธารณสขุ 191 เพ่ือรองรับระบบสขุ ภาพที่ยืดหยุ่นรองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ suinrAvfoedridmllasanptciaoetniadtlaota • เชญิ ผใู้ ชง้ าน • พัฒนาแผงควบคมุ และการวเิ คราะห์ • จดั การการแจ้งเตือน 3. ข้อมลู EXCHANGE • เลอื กข้อมลู ท่ีคณุ ตอ้ งการแบ่งปันกบั ผอู้ นื่ • การทำ� งานรว่ มกนั • การควบคมุ การเข้าถึง • รับขอ้ มูลอปั เดต Global EWARS HISTORICAL DATA RESULTS RumnaEpWpinAgRStoorilsk “Hotspots” within a defined Dashboard-II Risk area; “aggregated” data at a Mapping Spatial data spatial unit Upload Spatial_Plots การจัดทำ� แผนที่ความเส่ยี ง เชน่ EWARS EWARS ของ WHO มีส่วนในการก�ำหนดแผนที่ความเสี่ยงท่ีอาจเป็นไปตามแนวทางแบบจ�ำลอง 1 หรือแบบจ�ำลอง 2 • Historical Data คือ ข้อมูลในบริบทกว้างๆ เป็นข้อมูลท่ีรวบรวมเก่ียวกับเหตุการณ์และสถานการณ์ ในอดตี ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั เรอื่ งใดเรอื่ งหนง่ึ เชน่ ขอ้ มลู จำ� นวนผปู้ ว่ ยในชว่ งเวลา (รายวนั รายสปั ดาห์ รายเดอื น รายปี) รายพื้นท่ีทเี่ กดิ การเจ็บป่วย เป็นต้น • เพม่ิ ข้อมลู เชิงพืน้ ทใ่ี หก้ ับขอ้ มูลการเฝ้าระวงั • รนั ขอ้ มูล EWARS โดยใช้เคร่อื งมือสร้างแผนทีเ่ สยี่ ง รนั โปรแกรม ดังนี้ Dashboard II > Risk Mapping > Spatial data > Upload > Spatial_Plots • ผลลัพธท์ ไ่ี ดค้ ือ “Hospots” หรอื จุดเสี่ยงในพ้ืนทท่ี ี่ก�ำหนด/พนื้ ท่เี ฝ้าระวงั หรอื ข้อมูลองค์รวมเชงิ พนื้ ท่ี

192 หลกั สูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ เพื่อรองรับระบบสขุ ภาพท่ียดื หยนุ่ รองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ Harvesting the results • WHO’s Early Warning And Response system (EWARS) is a simple and cost-effective way to rapidly set up a disease surveillance system. • EWARS has two main phases: Retrospective (emergency response) and Prospective (predictive) phases • First steps of the process include preparing dataset and then calibrating it. This is followed by running the model and harvesting the results. • Results are usually in form of prospective early warning and meteorological information. • EWARS for dengue has been implemented in a number of countries including Bhutan, Indonesia, Nepal. • Another example of EWARS is Global EWARS that is also available as a kit called EWARS in a box. สรุปประเดน็ ส�ำคัญ 1. ระบบการเตือนภัยและการตอบโต้ความเสี่ยงของ WHO (EWARS) เป็นวิธีท่ีง่ายและประหยัดต้นทุน ในการจัดตั้งระบบเฝา้ ระวงั โรคอยา่ งรวดเรว็ 2. EWARS มี 2 ระยะ: ระยะยอ้ นหลงั (การตอบโตฉ้ กุ เฉนิ ) และระยะในอนาคต (คาดการณ)์ 3. ขั้นตอนแรกของกระบวนการ ได้แก่ การเตรียมชุดข้อมูลและการปรับเทียบ ตามด้วยการใช้แบบจ�ำลอง และรวบรวมผลลัพธ์ 4. ผลลพั ธ์มักจะอย่ใู นรปู แบบของการแจง้ เตือนลว่ งหน้าตามท่คี าดการณ์ และขอ้ มูลอตุ นุ ิยมวิทยา 5. EWARS ส�ำหรบั โรคไข้เลือดออกได้ถูกนำ� มาใช้ในหลายประเทศ รวมถงึ ประเทศภูฏาน อนิ โดนเี ซีย เนปาล 6. อกี ตวั อยา่ งหนง่ึ ของ EWARS คอื Global EWARS ทพี่ รอ้ มใชง้ านในรปู แบบชดุ เครอื่ งมอื ทเี่ รยี กวา่ EWARS in a box


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook