Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข_E Book

หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข_E Book

Published by chirtsaksri, 2023-07-02 04:15:36

Description: หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข_E Book

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ 43 เพ่ือรองรับระบบสุขภาพทย่ี ืดหยุ่นรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ eWnHviOroFnrmaemnetwalolyrksufosrtacinlimabaletehreeaslitlihecnatreanfdacilities A Climate resilient facility that is Conceptual framework: Building climate-resilient and also environmentally friendly is environmentally sustainable health care facilities able to bring ongoing and sustained health care to its target populations, despite an unstable climate, with access to minimum standards of WASH (and wastes) and energy services, an informed health workforce, and solid infrastructure, and which protects its environment for the benefit of its workers, patients and surrounding communities. กรอบการดำ� เนนิ งานขององคก์ ารอนามยั โลก สำ� หรบั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทมี่ คี วามยงั่ ยนื ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มและพรอ้ ม รบั มอื ต่อการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ สถานบริการสาธารณสุขที่พร้อมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม สามารถนำ� ไปสกู่ ารดแู ลสขุ ภาพของประชากรเปา้ หมายอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและยงั่ ยนื แมจ้ ะมสี ภาพภมู อิ ากาศทไ่ี มแ่ นน่ อน ประกอบด้วยการเขา้ ถงึ มาตรฐานขนั้ พื้นฐานของการสุขาภิบาล การจดั การน้ำ� สะอาด และสขุ ลักษณะ (WASH) และ ของเสยี และเขา้ ถงึ บรกิ ารดา้ นพลงั งาน บคุ ลากรดา้ นสาธารณสขุ ทมี่ คี วามรู้ และความพรอ้ มของระบบโครงสรา้ งพนื้ ฐาน รวมท้งั ปกป้องสิง่ แวดลอ้ มเพอ่ื ประโยชนข์ องผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน ผปู้ ว่ ย และชุมชนโดยรอบ

44 หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ เพอื่ รองรับระบบสุขภาพทีย่ ืดหย่นุ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ SCulimstaatineaRbeilistiylience and Environmental ENVIRONMENTAL SUSTAINABILITY RESILIENCE Health care facilities Acute climatic events may have unwanted can impact environmental healthcare facilities impacts, as a result which therefore need of health care service to be resilient and delivery and adapt to changing therefore need to climate and address the issues of accompanying mitigating their disease burden environmental footprint. สถานบริการสาธารณสขุ ทม่ี ีความย่ังยืนดา้ นสง่ิ แวดล้อมและพรอ้ มรับมอื ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ - Resilience (ความยดื หยนุ่ พร้อมรบั มือ) : เหตกุ ารณภ์ มู อิ ากาศแบบเฉยี บพลนั อาจสง่ ผลกระทบต่อสถาน บริการสาธารณสุขซ่ึงจ�ำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นพร้อมรับมือและปรับตัวให้เข้ากับสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งภาระโรคท่ีตามมา - Environmental Sustainability (ความยั่งยืนด้านส่ิงแวดล้อม) สถานบริการสาธารณสุขอาจก่อให้เกิด ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มทไ่ี มพ่ งึ ประสงค์ อนั เปน็ ผลมาจากการใหบ้ รกิ ารดแู ลรกั ษาดา้ นสขุ ภาพ ดงั นนั้ จงึ จำ� เปน็ ตอ้ ง แก้ไขปญั หาในการลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมน้ัน

หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าทสี่ าธารณสขุ 45 เพือ่ รองรับระบบสุขภาพทีย่ ืดหยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ eWnHviOroGnmuiednatnaclley osnusctaliminaabtele-rehseialiletnhtcaanrde facilities • GOALS: To increase the climate resilience of health care facilities to protect and improve the health of their communities in an unstable and changing climate, while optimizing the use of resources and minimizing the release of wastes by becoming environmentally sustainable. • OBJECTIVES • Guide professionals working in health care settings to understand and effectively prepare for the additional health risks posed by climate change. • Monitor, anticipate, manage and adapt to the health risks associated with climate change. • Guide health care facility officials to work with health determining sectors (including water and sanitation, energy, transportation, food, urban planning, environment). • Provide tools to assist health care facility officials in assessing resilience to climate change threats, and their environmental sustainability. • Promote actions to ensure that health care facilities are constantly and increasingly strengthened and continue to be efficient and responsive to improve health and contribute to reducing inequities and vulnerability within their local settings แนวทางขององคก์ ารอนามยั โลกเกยี่ วกบั การจดั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทม่ี คี วามยงั่ ยนื ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มและพรอ้ มรบั มอื ต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ เปา้ หมาย: เพอ่ื เพมิ่ ความยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ตอ่ สภาพภมู อิ ากาศใหก้ บั สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในการปกปอ้ ง และพฒั นาดา้ นสขุ ภาพของชมุ ชน ในสภาพภมู อิ ากาศทไี่ มแ่ นน่ อนและเปลยี่ นแปลงไปพรอ้ มกบั การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ การใชท้ รัพยากรและลดการปลอ่ ยของเสีย เพือ่ ใหเ้ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดลอ้ มอย่างย่ังยนื วัตถปุ ระสงค์ - เพอื่ เปน็ แนวทางใหเ้ จา้ หนา้ ทส่ี าธารณสขุ มคี วามเขา้ ใจและพรอ้ มรบั มอื ตอ่ ความเสย่ี งดา้ นสขุ ภาพทเ่ี พมิ่ ขน้ึ จากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ - เพอื่ ตดิ ตาม คาดการณ์ จดั การ และปรบั ตวั ตอ่ ความเสย่ี งดา้ นสขุ ภาพทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงสภาพ ภมู อิ ากาศ - เพอ่ื เปน็ แนวทางใหเ้ จา้ หนา้ ทใ่ี นสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ไดท้ ำ� งานกบั ภาคสว่ นตา่ งๆทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั สขุ ภาพ (เช่น ภาคการจัดการน้�ำและสขุ าภบิ าล, ภาคพลงั งาน, การขนส่ง, อาหาร, การวางผงั เมือง, และส่งิ แวดล้อม) - เพอื่ จดั หาเครอ่ื งมอื เพอ่ื ชว่ ยเหลอื เจา้ หนา้ ทใ่ี นสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในการประเมนิ ความยดื หยนุ่ พรอ้ ม รับมอื ต่อภัยคุกคามจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และความยัง่ ยนื ดา้ นสิ่งแวดล้อม - เพ่ือส่งเสริมการด�ำเนินการเพ่ือให้แน่ใจว่าสถานบริการด้านสาธารณสุขมีความเข้มแข็งเพิ่มขึ้นอย่างต่อ เน่ืองและยงั คงตอบสนองและพัฒนาดา้ นสุขภาพอยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมท้งั ชว่ ยลดความไม่เทา่ เทยี มกนั และความ เปราะบางของสถานบรกิ ารสาธารณสุขระดบั ทอ้ งถน่ิ

46 หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข เพอ่ื รองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ืดหยุน่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ sFaofuer afunnddqaumaelintytacl arerequirements for providing ขอ้ กำ� หนดพ้นื ฐานสปี่ ระการส�ำหรับการใหบ้ ริการดแู ลรกั ษาท่ีปลอดภยั และมคี ณุ ภาพ ประกอบด้วย - บคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ไดร้ บั การบรหิ ารจดั การดา้ นกำ� ลงั คนอยา่ งเพยี งพอในการทำ� งาน ภายใตส้ ภาวะการท�ำงานที่เร่งดว่ น และมคี วามรู้ในการจัดการและตอบโต้กับความท้าทายดา้ นสง่ิ แวดล้อมต่างๆ - การสขุ าภบิ าล การจดั การน�ำ้ สะอาดและสขุ ลกั ษณะ และการจดั การของเสียจากสถานพยาบาล - การมพี ลงั งานใชอ้ ย่างยง่ั ยนื - ระบบโครงสรา้ งพื้นฐาน เทคโนโลยีและอุปกรณต์ า่ งๆ ท่ีท�ำหนา้ ทไี่ ด้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสุข 47 เพอื่ รองรบั ระบบสุขภาพท่ียืดหยุน่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Case Study-Kerala, India Facility resilience-Kerala Public Healthcare facilities (HCFs) Sanuaglgyessisted improvements following flood impact Damages to Kerala HCFs after floods in 2018 • gsAeoftrvevericrtnehmseee2ns0tti1mh8oasftlepodiotadalssloianslosKneoerfaalalm, tohset dRisre.1c1to0ractreoroefshteoalth • Construction and remodeling of hospitals incorporating • Ssuesvpeeranldhsousrpgitearliseswaenred fcorrictiecdal tcoareevacuate patients and the topography, flood history and climate of the region • SI(n2id0m1iail8na)rcaeintxidepseK:raiCesnhhcemensinrah(2ia0(v21e041b)5e)e, nMduomcbuami e(2n0te1d7),inPoatthnear • Develop plans for relocating hospital equipment to • Saifnaftafcreucilciccttieteeusdsrsaiwlbaelenr,edaantfedfcehhctneeaicdltah,lccfauarnreectwiwoaanssitnegdimfofiafcntuhaltegaehnmedaelntht cwaares higher floors during floods or permanent relocation of equipment to higher floors • Relocate critical backup power supplies and building infrastructure (electrical power, heating and cooling, drinking water, waste systems) above historical or anticipated flood levels • Provide sufficient power backup, water supply, food and medicines for hospitals in case of emergencies • Advance planning and provisions for medicines, based on assessments in consultation with general public and experts to map vulnerabilities and diseases, to determine the need for specific medicines • Store patient medical records in a flood safe area กรณีศึกษา Kerala, India ความยดื หยนุ่ ของสถานพยาบาล Kerala Public Healthcare Facility (HCFs) ความเสียหายตอ่ Kerala HCFs หลังน�ำ้ ทว่ มในปี ค.ศ. 2018 (พ.ศ. 2561) - หลังจากเหตกุ ารณน์ ้ำ� ทว่ มในรัฐเกรละในปี 2018 คณะกรรมการด้านบรกิ ารสาธารณสุข ประเมินพบว่า มีการสูญเสยี เกือบ 110 ล้านรูปีใหก้ บั โรงพยาบาลของรัฐเพยี งแหง่ เดียว - โรงพยาบาลหลายแห่งถกู บงั คบั ให้อพยพผู้ป่วยและระงับการผ่าตดั และการดูแลผู้ป่วยวกิ ฤต - ประสบการณท์ คี่ ลา้ ยกนั ไดถ้ กู บนั ทกึ ไวใ้ นเมอื งอน่ื ๆ ของอนิ เดยี เชน่ เจนไน (ค.ศ. 2015), มมุ ไบ (ค.ศ. 2017), ปฏั นา (ค.ศ. 2018) และแคชเมียร์ (ค.ศ. 2014) - ระบบโครงสร้างพื้นฐานและอุปกรณ์ทางเทคนิคของสถานพยาบาลได้รับความเสียหาย การดูแลรักษา พยาบาลท�ำได้ยาก และไม่สามารถเข้าถึงได้ รวมทั้งการจัดการของเสียของสถานบริการสาธารณสุข ไดร้ บั ผลกระทบ การปรบั ปรงุ ตามค�ำแนะน�ำหลังจากการประเมินผลกระทบจากน้�ำท่วม - การกอ่ สรา้ งและปรบั ปรงุ โรงพยาบาลโดยใชข้ อ้ มลู ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ประวตั นิ ำ�้ ทว่ ม และสภาพภมู อิ ากาศ ของภมู ิภาค - พัฒนาและก�ำหนดแผนส�ำหรับการย้ายอุปกรณ์ของโรงพยาบาลไปยังชั้นท่ีสูงข้ึนไปในช่วงน�้ำท่วม หรือการยา้ ยอปุ กรณไ์ ปยงั ช้นั ท่ีสงู ขึ้นอยา่ งถาวร - ย้ายอุปกรณ์ส�ำรองไฟฟ้า และระบบโครงสร้างพื้นฐานที่ส�ำคัญของอาคาร (เช่น ระบบพลังงานไฟฟ้า ระบบการใหค้ วามรอ้ นและความเยน็ ระบบผลติ นำ้� ดม่ื ระบบจดั การของเสยี ) ใหส้ งู กวา่ ระดบั นำ�้ ทว่ มในอดตี หรอื ทีค่ าดการณไ์ ว้ - จดั หาพลังงานสำ� รองอยา่ งเพียงพอ รวมทั้งน้ำ� ประปา อาหารและยาส�ำหรบั โรงพยาบาลในกรณฉี ุกเฉิน - การวางแผนลว่ งหนา้ และการจดั หายาทจ่ี ำ� เปน็ ตามการประเมนิ ผลกระทบ โดยปรกึ ษาหารอื กบั ประชาชน ท่วั ไป และผู้เช่ยี วชาญเพือ่ ทำ� แผนที่กลมุ่ เสย่ี งและแผนทโี่ รค - จัดเก็บเวชระเบียนผู้ปว่ ยในชว่ งภาวะน�้ำท่วมอยา่ งปลอดภยั

48 หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ทีส่ าธารณสขุ เพอื่ รองรบั ระบบสขุ ภาพทยี่ ดื หยนุ่ รองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Key Takeaways • Healthcare facilities must become climate resilient and environmentally sustainable in their service delivery • Ten components of the operational framework for building climate resilient health systems provide a starting point for action • Frameworks and guidance for becoming climate smart must be adopted and customized for regional and country context • An incremental approach to becoming climate smart (resilient and environmentally sustainable)can be adopted depending on baseline assessments of vulnerability to acute climatic events and associated disease burden • Policies and programs for intervention must also leverage appropriate climate financing • Adopting and amplifying best practices in the region must be facilitated สรปุ ประเดน็ สำ� คัญ - การให้บริการของสถานบริการสาธารณสุข จะต้องมีความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและมีความยืดหยุ่น พรอ้ มรับมอื ตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ - องค์ประกอบ 10 ประการของกรอบการด�ำเนินงานส�ำหรับการสร้างระบบสาธารณสุขท่ีมีความยืดหยุ่น พรอ้ มรับมอื ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศ สามารถเป็นจุดเร่มิ ตน้ สำ� หรับการดำ� เนินการ - กรอบแนวคิดและแนวทางส�ำหรับการเป็นสถานบริการสาธารณสุขอัจฉริยะด้านสภาพภูมิอากาศ จะตอ้ งมกี ารนำ� มาใชแ้ ละปรบั ใหเ้ ขา้ กบั บรบิ ทของภมู ภิ าคและประเทศ - แนวทางเพ่ิมเติม เพ่ือให้เกิดสถานบริการสาธารณสุขอัจฉริยะด้านสภาพภูมิอากาศ (ย่ังยืนและยืดหยุ่น ต่อส่ิงแวดล้อม) สามารถน�ำไปใช้ได้ โดยขึ้นอยู่กับข้อมูลพื้นฐานจากการประเมินความเปราะบาง ต่อเหตกุ ารณ์การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศแบบเฉียบพลันและภาระโรคท่ีเกี่ยวข้อง - นโยบายและแผนงานสำ� หรบั การดำ� เนนิ งาน จะตอ้ งอาศยั การจดั หาเงนิ ทนุ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลง สภาพภมู อิ ากาศทีเ่ หมาะสม - ตอ้ งมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูต้ ัวอย่างการดำ� เนินงานทด่ี ีในระดบั ภมู ภิ าคเพ่อื เป็นการขยายผล

หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ที่สาธารณสุข 49 เพื่อรองรับระบบสขุ ภาพที่ยดื หยุ่นรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 3Module แบลทะสบาทาขธองาบรุคณลากสรดุขา้ กนับกกาารรปแพรบั ทตยวั ์ ต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ

50 หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุข เพอื่ รองรับระบบสขุ ภาพทยี่ ดื หย่นุ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Module 3 บทบาทของบุคลากรดา้ นการแพทย์และสาธารณสุขกบั การปรับตัว ต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ขอบเขตเนอื้ หา 1. ความเสย่ี งและความเปราะบางของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ อนั เนอื่ งมาจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 2. ทรพั ยากรบุคคลและการเตรียมพร้อมรับมอื กบั ภาระโรคท่ีเพ่มิ ขนึ้ 3. การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพ่ือรับมือกับความเสี่ยง ด้านสภาพภมู ิอากาศและลดภยั คุกคามตอ่ ส่ิงแวดล้อม 4. การสร้างจิตส�ำนึกของผู้ปฏิบตั ิงานดา้ นสาธารณสขุ ผู้ป่วย และชมุ ชน 5. ตวั อย่างเฉพาะด้านมาตรการทเ่ี กย่ี วข้องกับบุคลากรด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ระยะเวลา 45 นาที กิจกรรมการเรียนรู้ เรยี นรผู้ า่ นการบรรยาย แลกเปลยี่ นเรยี นรรู้ ะหวา่ งผสู้ อนและผเู้ รยี น เนื้อหา บทบาทของบคุ ลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขกบั การปรับตวั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Climate Resilient & Environmentally Sustainable Healthcare facilities Health Workforce บทบาทของบคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ภายใตอ้ งคป์ ระกอบของแนวทาง Climate Resilient and Environmentally Sustainable Healthcare facilities ของ WHO

หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข 51 เพอ่ื รองรบั ระบบสุขภาพทยี่ ืดหยนุ่ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ Learning Objectives • Explain the risks and vulnerabilities of healthcare facilities • Describe strategies for health sector climate resilience • Describe the interventions for the health workforce to become climate resilient and environmentally sustainable • Explain the importance of communications and awareness building วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ - เพ่อื อธิบายความเสีย่ งและความเปราะบางของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ - เพือ่ อธบิ ายกลยทุ ธเ์ พอื่ นำ� ไปสคู่ วามยดื หยุ่นพร้อมรับมือตอ่ สภาพภมู ิอากาศของภาคสาธารณสขุ - เพอ่ื อธบิ าย มาตรการสำ� หรบั บคุ ลากรดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ เพอ่ื ใหม้ คี วามยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ตอ่ สภาพภูมอิ ากาศและมคี วามยง่ั ยนื ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม - เพอ่ื อธบิ ายความสำ� คัญของการส่อื สารและการสรา้ งความตระหนกั Contents • Risks and vulnerabilities of healthcare facilities due to climate change • Human resources and preparedness to handle increased disease burden • Capacity development of health personnel to handle climate risks and minimize environmental threats • Awareness building of health workers, patients and communities • Examples of specific health workforce interventions เนื้อหาของบทนจ้ี ะกลา่ วถึง - ความเสย่ี งและความเปราะบางของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ อนั เนอื่ งมาจากการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ - ทรพั ยากรบุคคลและการเตรยี มพร้อมรบั มอื กบั ภาระโรคทเี่ พ่มิ ขึน้ - การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อรับมือกับความเสี่ยงด้าน สภาพภูมิอากาศและลดภยั คุกคามต่อส่ิงแวดลอ้ ม - การสรา้ งจติ ส�ำนึกของผปู้ ฏบิ ตั งิ านดา้ นสาธารณสขุ ผ้ปู ว่ ย และชุมชน - ตวั อย่างเฉพาะดา้ นมาตรการทเี่ กี่ยวข้องกบั บคุ ลากรด้านการแพทย์และการสาธารณสุข

52 หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ที่สาธารณสขุ เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพท่ียดื หยุ่นรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Health workers – Pillars of care delivery Deliver healthcare Hanadndclheainngcirnegasdeidsedaisseeavsuelnbeurardbeilintyfrom acute climatic events Ensure resource efficiency Conserve resources through environment-friendly services Co-ordinate with other sectors Work with other sectors to ensure co- ordinated uninterrupted services and care delivery เจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุข ซง่ึ เปน็ เสาหลกั ในการให้บริการทางสุขภาพ จงึ ควรมีบทบาท ดังน้ี - ดูแลรักษาสุขภาพ จัดการกับภาระโรคท่ีเพ่ิมข้ึนจากเหตุการณ์สภาพภูมิอากาศเปล่ียนแปลงเฉียบพลัน และความเปราะบางจากการเปลีย่ นแปลงของโรค - ทำ� ใหม้ นั่ ใจในประสทิ ธภิ าพของทรพั ยากรทมี่ อี ยใู นสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ควรอนรุ กั ษท์ รพั ยากรดว้ ยบรกิ าร ทเี่ ป็นมิตรต่อสงิ่ แวดล้อม - ประสานงานกบั ภาคสว่ นอนื่ ๆ แนน่ อนวา่ ภายใตบ้ รบิ ทของการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ภาคสาธารณสขุ ควรมบี ทบาทในการทำ� งานรว่ มกบั ภาคสว่ นอน่ื ๆ เพอ่ื ใหแ้ นใ่ จวา่ การบรกิ ารทางสาธารณสขุ และการใหก้ ารดแู ล รักษาผูป้ ่วยจะได้รบั การประสานกนั อย่างตอ่ เน่อื ง

หลกั สตู รพัฒนาศักยภาพเจ้าหนา้ ทสี่ าธารณสุข 53 เพื่อรองรับระบบสขุ ภาพท่ยี ดื หย่นุ รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Objectives for Health workforce interventions H •• • U wseSSEMunmuaosAvffrpeftikNiracooianiinwneRngamnedEbtcrSeelhoennOdenutaUaadmtcolliRtlttybhiiCohoeynaEnrssnsSdle ••C • A tirTIKPnnhisrnAfeakoaoiCsnrchwmIuienTletaagYedlttighosBeicntUautIoraoLentDimofcIanNlacismGnilaiatgytee •••C••A WO CcPVOHMAoiaeotsRhMotamiiterEeloUtdmrnNhriNstnsuEweaIcnSCctooiScAtramoakTcRrtemIsteOrAiosuaINnnSniItd&NieGs วัตถุประสงค์ของมาตรการดา้ นบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสขุ - เพอ่ื การจดั การบคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ควรตอ้ งมจี ำ� นวนทเี่ พยี งพอมสี ภาพแวดลอ้ มการทำ� งาน ทปี่ ลอดภยั และถูกสขุ อนามยั มีอ�ำนาจในการจัดการการปฏบิ ตั ิทเ่ี ป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม - เพื่อสร้างขีดความสามารถ ควรมีการฝึกอบรม มีข้อมูลเก่ียวกับความเส่ียงด้านสภาพภูมิอากาศ และมคี วามรูใ้ นการจดั การสถานบริการสาธารณสุขในสถานการณส์ ภาพภมู อิ ากาศเปลยี่ นเฉยี บพลนั - เพ่ือการสื่อสารและสร้างการรับรู้ ควรมีการส่ือสารและประสานการท�ำงานร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าท่ี สาธารณสุข ชุมชนผ้ปู ่วย ผู้มาเยย่ี ม และภาคสว่ นอืน่ ๆ

54 หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าทส่ี าธารณสขุ Interventions for climate resilience เพื่อรองรับระบบสขุ ภาพที่ยืดหยุ่นรองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Ceqounitpinmgeenntcy plans for patients & Structural & functional resilience มาตรการสรา้ งความยืดหยุ่นพร้อมรับมือตอ่ การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ เมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณจ์ ากการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ เปน็ สว่ นหนง่ึ ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ ดังสไลด์น้ี พบว่าเหตุการณ์น้�ำท่วมรุนแรง ได้สร้างความเสียหายต่อโครงสร้างอาคารและโครงสร้างสาธารณูปโภค ขน้ั พน้ื ฐานของโรงพยาบาล อปุ กรณท์ างการแพทยไ์ ดร้ บั ความเสยี หาย การใหบ้ รกิ ารดแู ลรกั ษาหรอื การบรกิ ารสง่ ตอ่ ผู้ป่วยต้องหยุดชะงักลง ส่งผลให้ระบบสุขภาพเกิดความเสียหายเช่นกัน ดังนั้นมาตรการสร้างความยืดหยุ่น พร้อมรบั มอื ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระบบสขุ ภาพ จึงควรมีทง้ั - มคี วามยดื หย่นุ พรอ้ มรับมอื ของอาคารและโครงสรา้ งพืน้ ฐาน - มแี ผนฉุกเฉนิ สำ� หรับผปู้ ว่ ยและเครื่องมอื อุปกรณ์

หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หน้าท่สี าธารณสุข 55 เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพท่ยี ดื หย่นุ รองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Interventions for climate resilience HUMAN • Ensure minimum needs for safe and operational efficiency of WORKFORCE facility • Contingency planning for personnel and patient transportation • Psychosocial support teams for health workforce and patients CAPACITY • Health care staff trained to identify climate-related disease DEVELOPMENT threats COMMUNICATION & • Health workforce trained on surveillance for climate related AWARENESS diseases BUILDING • Contingency plan for relocation of hospital equipment and climate related hazards to WASH, chemicals and energy management • Health workforce participates in community health programs related to climate risks • Contribute to disaster management planning in communities มาตรการเพ่อื สรา้ งความยดื หยุ่นพรอ้ มรับมอื ตอ่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 1. กำ� ลงั คน - ตรวจสอบใหแ้ นใ่ จวา่ มกี ารเตรยี มความจำ� เปน็ ขน้ั พน้ื ฐานของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ใหม้ คี วามปลอดภยั และดำ� เนนิ การได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ - มกี ารวางแผนฉุกเฉนิ ส�ำหรับบคุ ลากรท้ังหมดและการขนสง่ ผปู้ ว่ ย - มที ีมสนบั สนุนดา้ นสขุ ภาพจติ สำ� หรบั บคุ ลากรดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขและผปู้ ว่ ย 2. การพัฒนาขีดความสามารถ - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้รับการฝึกอบรมเพื่อให้สามารถระบุภัยคุกคามของโรคที่เกี่ยวกับ สภาพภมู อิ ากาศได ้ - บุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุข ได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการเฝ้าระวังโรคท่ีเกี่ยวข้องกับ สภาพภูมิอากาศ - มีแผนฉุกเฉินส�ำหรับการย้ายเครื่องมืออุปกรณ์ของโรงพยาบาล และการจัดการกรณีมีภัยคุกคาม ที่เก่ียวข้องกับสภาพภูมิอากาศ กระทบต่อการสุขาภิบาล การจัดการน�้ำสะอาดและสุขลักษณะ การจดั การดา้ นสารเคมแี ละการจดั การด้านพลงั งาน 3. การสือ่ สารและสร้างการรบั รู้ - บคุ ลากรดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ มสี ว่ นรว่ มในโครงการของชมุ ชนดา้ นสขุ ภาพทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ความเส่ยี งจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ - มีสว่ นรว่ มในการวางแผนการจดั การภัยพิบัตใิ นชมุ ชน

56 หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุข เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพท่ยี ืดหย่นุ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Ehenavlitrhonsmecetnotral risks and vulnerabilities of &Wmaawntaeasrgtceeomwnesanettervration Eilingnhhetreignaygtinegffi&ciency wEfafisctieenmt ahneaagltehmcaernet ooSffafccehoenhmcaenicrdtalilnsg &opf hmaeprmdSroiuaccscautelarugeintmoiacoebadnllesst ความเปราะบางและความเส่ียงด้านสิ่งแวดลอ้ มของภาคสาธารณสขุ - การประหยัดนำ�้ และการจดั การนำ้� เสีย - การใชพ้ ลงั งานอย่างมีประสทิ ธิภาพ ในการทำ� ความรอ้ น และการให้แสงสวา่ ง - การจัดการของเสียทางการแพทยอ์ ย่างมีประสทิ ธิภาพ - การจดั การสารเคมีอยา่ งปลอดภยั - การจดั ซื้อจดั จา้ งจัดหายา เวชภณั ฑแ์ ละผลิตภณั ฑท์ างการแพทยอ์ ยา่ งย่ังยืน

หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ 57 เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพที่ยดื หยนุ่ รองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ Interventions for environmental sustainability HUMAN • Ensure integration of environment-friendly waste management WORKFORCE practices • Practice good water safety and conservation in the facility • Implement energy-efficient practices in functioning of facility CAPACITY • Health care staff trained on environmental risks causing disease DEVELOPMENT burden • Health workforce trained on chemicals of concern • Education and training on sustainable procurement practices COMMUNICATION & • Health workforce awareness on recycling practices of water, AWARENESS waste BUILDING • Communication materials provided on environmental hazards and health impacts มาตรการเพอื่ สรา้ งสิ่งแวดลอ้ มทย่ี ง่ั ยนื 1) กำ� ลงั คน - ตรวจสอบใหแ้ น่ใจว่ามีการบรู ณาการวธิ ปี ฏิบตั ิในการจดั การขยะท่ีเปน็ มติ รต่อสิ่งแวดล้อม - ฝกึ ให้มกี ารจัดการน้ำ� สะอาดและการอนุรกั ษ์น�้ำในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทดี่ ี - ด�ำเนินการตามแนวทางปฏิบัติการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในการด�ำเนินงานของสถานบริการ สาธารณสุข 2) การพฒั นาขีดความสามารถ - เจ้าหน้าที่สาธารณสขุ ไดร้ ับการฝึกอบรมเก่ียวกบั ความเส่ยี งดา้ นสิง่ แวดล้อมทีก่ ่อใหเ้ กิดภาระโรค - บุคลากรด้านการแพทยแ์ ละการสาธารณสุขไดร้ บั การฝกึ อบรมเก่ยี วกับสารเคมีท่ีเก่ียวข้อง - มีการศึกษาและการฝกึ อบรมเกย่ี วกบั การจดั ซ้ือจดั จ้างอย่างยัง่ ยืน 3) การสอ่ื สารและสรา้ งการรบั รู้ - การสรา้ งความตระหนกั รขู้ องบคุ ลากรดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ เกยี่ วกบั แนวทางการดำ� เนนิ งาน รีไซเคิล นำ� น�้ำ และของเสียกลบั มาใช้ใหม่ - การสนับสนุนชดุ ความรู้เพือ่ การสอ่ื สารเกี่ยวกับภัยคกุ คามด้านสง่ิ แวดล้อมและผลกระทบต่อสุขภาพ

58 หลกั สตู รพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุข เพ่อื รองรับระบบสุขภาพท่ียดื หยุ่นรองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภมู ิอากาศ Key Takeaways • Health workers have an important role in achieving climate resilience and environmental sustainability of healthcare facilities • Health workforce includes doctors, nurses, administrators, laboratory and other technical teams, sanitary services, laboratory services, catering services and transport services • Interventions for the health workforce include human resource development, capacity building, awareness and communication • Health workforce must work in a coordinated manner with other departments to maintain functionality and handle acute climatic events สรปุ ประเด็นส�ำคัญ - เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขมีบทบาทส�ำคัญในการบรรลุความส�ำเร็จในการเป็นสถานบริการสาธารณสุข ทมี่ สี ่งิ แวดลอ้ มทีย่ ่ังยนื และยดื หยนุ่ พร้อมรบั มอื ต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ - บุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสขุ ประกอบด้วย แพทย์ พยาบาล ผ้ดู แู ลระบบ ทีมห้องปฏบิ ตั ิการ และทีมเทคนิคอื่นๆ ผู้ให้บริการด้านสุขาภิบาลและอนามัย ผู้ให้บริการทางห้องปฏิบัติการ ผู้ให้บริการ ด้านอาหารการจดั เล้ียง และผูใ้ หบ้ รกิ ารขนสง่ - มาตรการส�ำหรับบุคลากรด้านการแพทย์และการสาธารณสุข ประกอบด้วยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การสรา้ งขีดความสามารถ การสื่อสาร และสร้างการตระหนกั รู้ - บคุ ลากรดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ตอ้ งทำ� งานในลกั ษณะบรู ณาการและประสานงานกบั หนว่ ยงานอน่ื ๆ เพื่อให้การด�ำเนินงานยังคงต่อไปได้ และสามารถจัดการกับเหตุการณ์สภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง เฉียบพลนั

กองประเมนิ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ กรมอนามยั 59 43Module แกลาระขสอขุ งาภเสบิ ียาทลากงารกจาัดรกแพารทนย�้ำ์

60 หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทส่ี าธารณสุข เพื่อรองรับระบบสุขภาพทยี่ ืดหยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Module 4 การสขุ าภบิ าล การจดั การน้ำ� และของเสยี ทางการแพทย์ ขอบเขตเนื้อหา 1. บทบาทในการจดั การน้ำ� และของเสยี อย่างยั่งยืนในสถานบริการสาธารณสุข 2. การจดั การนำ�้ ทีเ่ หมาะสมในเหตุการณ์สภาพภมู ิอากาศเปลยี่ นแปลงเฉยี บพลนั ทง้ั ภัยแล้งและน�้ำทว่ ม 3. มาตรการระดบั องคก์ รของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ เพอ่ื ใหม้ คี วามยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ตอ่ การเปลยี่ นแปลง สภาพภมู ิอากาศ และการจดั การนำ�้ และของเสียท่ีเปน็ มิตรตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม 4. หลกั การการดำ� เนนิ งานทเี่ ปน็ ปจั จยั ความสำ� เรจ็ ทง้ั การตดิ ตามและการประเมนิ ผล การจดั การความเสยี่ ง และการปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบด้านสุขภาพและความปลอดภยั 5. ตวั อย่างมาตรการเฉพาะดา้ นการสุขาภบิ าล การจดั การน้�ำสะอาดและสุขลกั ษณะ (WASH) ระยะเวลา 60 นาที กิจกรรมการเรียนรู้ 1. เรียนรผู้ ่านการบรรยาย 2. แลกเปลี่ยนเรยี นรูร้ ะหวา่ งผู้สอนและผเู้ รยี น เนือ้ หา การสขุ าภิบาล การจัดการน้ำ� และของเสียงทางการแพทย์ Climate Resilient & Environmentally Sustainable Healthcare facilities Water, Sanitation and healthcare waste การสขุ าภบิ าล การจดั การนำ�้ และของเสยี ทางการแพทยภ์ ายใตอ้ งคป์ ระกอบของแนวทางไกดไ์ ลนข์ อง Climate Resilient and Environmentally Sustainable Healthcare facilities ของ WHO

หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุข 61 เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพทีย่ ดื หยุน่ รองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Learning objectives • Explain the importance of efficient water, sanitation and waste management in healthcare facilities • Describe strategies for optimal water use and water resource management • Describe the interventions for appropriate waste management –environmental, chemical and healthcare waste management • Case study of best practices วัตถุประสงค์การเรียนรู้ - เพื่ออธิบายความส�ำคัญของการสุขาภิบาล การจัดการน้�ำสะอาดและของเสีย ท่ีมีประสิทธิภาพใน สถานบรกิ ารสาธารณสขุ - เพือ่ อธบิ ายกลยทุ ธส์ �ำหรับการใช้นำ้� และการจดั การทรัพยากรนำ้� อย่างเหมาะสม - เพ่ืออธิบายมาตรการการจัดการของเสียที่เหมาะสม ท้ังการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การจัดการสารเคมี และการจัดการของเสียจากสถานบรกิ ารสาธารณสุข - เพื่อแลกเปล่ยี นเรยี นร้กู รณศี กึ ษาท่ีเป็นตวั อย่างที่ดี Contents • Role of sustainable water and waste management in healthcare facilities • Optimal water management in acute climate events including droughts and floods • Facility-level interventions for climate resilient and environmentally sustainable water and waste management • Key objectives of successful implementation including Monitoring and assessment, risk management and following health and safety regulations • Examples of specific WASH interventions เนอ้ื หาในบทนีจ้ ะกลา่ วถงึ - บทบาทในการจัดการน้ำ� และของเสยี อย่างย่ังยืนในสถานบริการสาธารณสขุ - การจัดการน�ำ้ ที่เหมาะสมในเหตกุ ารณส์ ภาพภมู อิ ากาศเปลีย่ นแปลงเฉียบพลนั ท้งั ภยั แลง้ และน้ำ� ท่วม - มาตรการระดบั องคก์ รของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ เพอ่ื ใหม้ คี วามยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ตอ่ การเปลยี่ นแปลง สภาพภูมิอากาศ และการจดั การนำ้� และของเสยี ท่เี ปน็ มิตรตอ่ ส่งิ แวดล้อม - หลกั การการดำ� เนนิ งานทเ่ี ปน็ ปจั จยั ความสำ� เรจ็ ทง้ั การตดิ ตามและการประเมนิ ผล การจดั การความเสย่ี ง และการปฏบิ ัติตามกฎระเบียบดา้ นสขุ ภาพและความปลอดภัย - ตวั อย่างมาตรการเฉพาะดา้ นการสขุ าภบิ าล การจัดการนำ้� สะอาดและสขุ ลักษณะ (WASH)

62 หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุข เพือ่ รองรับระบบสขุ ภาพท่ยี ืดหย่นุ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ mRoalneaogfemsuesnttaiinnahbelealwthactaerre, sanitation and waste • Efficient resource management is critical to optimize quality of care and prevention and control of infection • Health and well-being of care-providers, patients and communities is dependent on safe water, sanitation and hygiene practices • Safe and appropriate management of all categories of general solid waste, chemical waste and biological infectious waste in an environmentally sustainable manner in healthcare facilities is critical • Acute climate events may compromise safe WASH practices and a contingency plan must be ready at all times for climate-related emergencies บทบาทในการสุขาภบิ าล การจัดการน�้ำและของเสียอยา่ งยงั่ ยืนในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ - การจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นสิ่งส�ำคัญในการเพิ่มคุณภาพการบริการรักษา รวมท้ัง การปอ้ งกนั และควบคุมการตดิ เชื้อ - สขุ ภาพและความเปน็ อยทู่ ด่ี ขี องผใู้ หบ้ รกิ าร ผปู้ ว่ ย และชมุ ชนตอ้ งพงึ่ พาการจดั ใหม้ นี ำ้� สะอาด การสขุ าภบิ าล และสุขอนามยั ทด่ี ี - ของเสยี ทกุ ประเภท ทงั้ ขยะมลู ฝอยทว่ั ไป ของเสยี จากสารเคมี และขยะตดิ เชอื้ ทางชวี ภาพจากสถานพยาบาล เป็นส่งิ สำ� คัญ ต้องไดร้ ับการจัดการทเี่ หมาะสมและปลอดภัย ด้วยแนวปฏิบัติที่ดีเป็นมติ รต่อส่ิงแวดล้อม - เหตุการณก์ ารเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศเฉียบพลัน ท�ำใหต้ อ้ งเตรียมวธิ ีการจดั การการด้านสุขาภิบาล การจัดการน้�ำสะอาดและสุขลักษณะ และต้องเตรียมแผนฉุกเฉินให้พร้อมเสมอส�ำหรับเหตุฉุกเฉินท่ี เก่ยี วข้องกบั สภาพอากาศ

หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสุข 63 เพอ่ื รองรับระบบสุขภาพทย่ี ดื หยุ่นรองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ Ihsmaenapilattahcttisfoanco,iflihctiyleigmsieantee vaanrdiawbialistyteomn awnaatgeer,ment in • Sea level rise, increased salinity affecting water supplies, and spreading of water borne diseases • Droughts leading to scarcity of water supplies and affecting patient care and health worker health, comfort and safety • Efforts to store available water during drought periods or access water from low-source levels has implications for infections • Flood water overflow and impacts on sewers and sanitation systems with possible contamination and resultant health risks • Acute climatic events may impact efficient disposal of waste and can pose health and environmental hazards for health workers, patients and communities • Surge demand on healthcare facilities due to increase health care access can lead to greater waste generation and a contingency plan must be in place to deal with quantum of waste generated • Healthcare waste management streams , including collection and disposal teams must be equipped to function efficiently even during climate emergencies ผลกระทบของความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศต่อการสุขาภิบาล การจัดการน�้ำสะอาดและสุขลักษณะ รวมท้ังการจดั การของเสียในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ - ระดับน้�ำทะเลที่สูงข้ึน ส่งผลกระทบต่อแหล่งน้�ำประปา ท�ำให้ค่าความเค็มของน้�ำเพิ่มขึ้น และเกิดการ แพร่กระจายของโรคทีเ่ กิดจากนำ้� เป็นสื่อ - ภัยแล้ง ท�ำให้ขาดแคลนน้�ำประปาและส่งผลกระทบต่อการดูแลผู้ป่วยและสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน ดา้ นสาธารณสุข ในด้านความสะดวกสบายและความปลอดภัย - ความพยายามในการจัดเก็บน�้ำส�ำหรับใช้ในช่วงฤดูแล้ง หรือการเข้าถึงน�้ำจากแหล่งน�้ำที่มีน�้ำระดับต่�ำ อาจสง่ ผลให้เกิดการติดเชือ้ ได้งา่ ย - น�้ำท่วมแบบฉับพลัน และผลกระทบจากน�้ำท่วมต่อระบบท่อระบายน�้ำและระบบสุขาภิบาล ท�ำให้อาจ มีการปนเป้อื นและส่งผลเสียตอ่ สขุ ภาพ - เหตุการณ์การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศแบบเฉียบพลัน อาจส่งผลกระทบต่อการก�ำจัดขยะ และอาจเป็นอนั ตรายดา้ นสขุ ภาพและสิง่ แวดล้อม ส�ำหรับเจ้าหน้าทีส่ าธารณสขุ ผู้ปว่ ย และชุมชน - ความตอ้ งการที่เพ่มิ ขน้ึ ในการเข้ารับบริการรักษาพยาบาลในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ อาจน�ำไปสปู่ ัญหา ขยะมลู ฝอยและของเสยี ทเี่ พมิ่ มากขนึ้ และตอ้ งมกี ารเตรยี มแผนฉกุ เฉนิ เพอ่ื จดั การกบั ปรมิ าณขยะมลู ฝอย และของเสยี ทีเ่ กดิ ขนึ้ จ�ำนวนมาก - ระบบการจัดการของเสียจากสถานบริการสาธารณสุข รวมท้ังทีมท่ีท�ำหน้าท่ีรวบรวมและก�ำจัดของเสีย จะตอ้ งเตรยี มพร้อมในการทำ� งานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ แมใ้ นภาวะฉกุ เฉินดา้ นสภาพภมู ิอากาศ

64 หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสขุ เพ่อื รองรับระบบสุขภาพทีย่ ืดหยุน่ รองรบั การเปลีย่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ mObajneacgtievmesenfotrinstaefrevewnatitoenr,ssanitation and waste MONITORING & ASSESSMENT RISK MANAGEMENT HREEGALUTLHAT&IOSNAFETY • aAnsdseusssefaocfilwitiaetserforresaovuarilcaebsility • Tttmsoopraaeiwdnicnaeaiifngntiecgteirfm,vyosuefcalnhnlnitemeitaraaaltttbhieoiclnihatiareaezsnadwrrdeowslraakateesntrddes • G&ewnaesratetemaawnaargeenmesesntonlawwsater • Dmoacnuamgeemntenbtasperalinceticweasste • rvSeutdrlneuencrgeatbheiexlintpiieonssgucreaspaacnidties to • sa&vBuupucslpnilotrdeao-riopncaraarbdibpaiilnitiatleiayctytitetaoynadatcodtediconronvemisrsomncumlnimeicnaattateel • epBneuvrislidrooncnnamepelantcotiatyhllyaonsfduhlseetaalitnhable • Pacretipoanrefracmonetwinogreknfcoyr pWlaAnSaHnd WASH actions • UbasseeWlinAeSaHssFeIsTsmtoeonl tfor วตั ถุประสงค์ของมาตรการดา้ นการสุขาภบิ าล การจัดการน้ำ� สะอาดและสุขลกั ษณะ รวมทงั้ การจดั การของเสีย การตดิ ตามและประเมนิ ผล - การประเมนิ สถานบริการสาธารณสุข เพอ่ื ใหม้ ีแหล่งน้ำ� ทพ่ี รอ้ มใชแ้ ละเข้าถึงไดอ้ ยา่ งเพียงพอ - แนวปฏิบตั ใิ นการจัดกาของเสยี ทเ่ี ป็นลายลักษณอ์ กั ษร - สรา้ งขดี ความสามารถแกบ่ คุ ลาการดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ เพอ่ื สามารถจดั การดา้ นการสขุ าภบิ าล การจัดการน้ำ� สะอาดและสุขลกั ษณะทเ่ี ป็นมติ รต่อส่ิงแวดล้อม - ใชเ้ คร่ืองมอื “WASH FIT” สำ� หรับการประเมนิ ขอ้ มูลพนื้ ฐาน การจัดการความเส่ียง - การฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อให้สามารถระบุอันตรายจากสภาพภูมิอากาศ และความเปราะบางเฉพาะที่เกีย่ วขอ้ งกับ การสุขาภบิ าล การจดั การน้�ำและของเสยี ได้ - การเสริมสรา้ งความสามารถในการลดการสัมผัสและความเปราะบาง - การเตรยี มแผนฉกุ เฉนิ และกรอบการปฏบิ ตั งิ านสำ� หรบั การสขุ าภบิ าล การจดั การนำ�้ สะอาดและสขุ ลกั ษณะ กฎระเบียบด้านสขุ ภาพและความปลอดภยั - สร้างความตระหนัก เกี่ยวกบั กฎหมายด้านการจดั การนำ้� และของเสยี - สร้างขีดความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการสื่อสารและประสานงานท่ีเหมาะสม โดยเฉพาะ ดา้ นความเปราะบางด้านสภาพภมู อิ ากาศ และความยั่งยนื ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม

หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุข 65 เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพทีย่ ืดหยนุ่ รองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Improved quality of care through WASH FIT การปรบั ปรงุ คณุ ภาพบรกิ ารดแู ลรักษาด้วยไกดไ์ ลน์ WASH FIT ขององค์การอนามยั โลก - WASH FIT เป็นเครื่องมือ เพื่อช่วยในการประเมินข้อมูลพ้ืนฐาน การใช้ WASH FIT เพ่ือประเมินด้าน การสุขาภิบาล การจัดการน้�ำสะอาดและสุขลักษณะ (WASH) ในสถานพยาบาล การปรับปรุงที่จ�ำเป็น และการใหบ้ ริการของระบบโครงสร้างพื้นฐานท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั WASH ที่มีคณุ ภาพ - ผลท่ีได้จาก WASH FIT น�ำมาใช้เพ่ือพัฒนาหรืออัพเกรดระบบโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีเกี่ยวข้องกับ WASH เพ่อื ให้บริการดา้ นปอ้ งกันและควบคมุ การติดเชอื้ ทป่ี ลอดภยั และเชือ่ ถอื ได้ - ผลทไี่ ดจ้ าก WASH FIT นำ� มาใชเ้ พอื่ พฒั นาขดี ความสามารถของเจา้ หนา้ ท่ี (รวมถงึ พนกั งานทำ� ความสะอาด) และชว่ ยเป็นแนวทางใหผ้ ้ปู ่วยปฏบิ ตั ิตนดา้ น WASH ที่ถูกต้อง เพ่อื ทจ่ี ะลดการตดิ เชอ้ื ของเจ้าหนา้ ทแี่ ละ ผปู้ ว่ ยได้ การปรบั ปรงุ การใหบ้ รกิ ารและระบบโครงสร้างพ้นื ฐาน (สง่ ผลกระทบระยะสนั้ ) 1. ปรับปรงุ มาตรการป้องกนั และควบคมุ การตดิ เชื้อและเช้ือดื้อยาตา้ นจุลชีพ 2. การใชท้ รพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้นและลดตน้ ทนุ การดูแลสขุ ภาพ 3. ขวัญกำ� ลงั ใจและประสิทธภิ าพการท�ำงานของพนกั งานดีขึ้น คณุ ภาพ ความเสมอภาค ความภาคภมู ใิ จ (ส่งผลกระทบระยะส้นั และระยะยาว) 1. มีบริการต้ังครรภ์ การคลอดและการดูแลหลังคลอดที่ปลอดภัย เกิดผลลัพธ์ด้านสุขภาพที่ดีข้ึน และลดอัตราการเสยี ชีวติ ของมารดา 2. การปรับปรุงการดูแลทารกแรกเกดิ และผลลัพธ์ด้านสขุ ภาพ และลดอตั ราการเสยี ชีวติ ของเดก็ แรกเกดิ 3. ครอบครัวและชมุ ชนมีสุขภาพท่ดี ขี ้นึ และมปี ระสทิ ธภิ าพมากข้ึน 4. มีความยดื หยุ่นพรอ้ มรบั มอื และตอบโตต้ ่อการระบาดของโรคที่ดีขน้ึ

66 หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข เพอื่ รองรบั ระบบสุขภาพทีย่ ืดหยุ่นรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ rInetseoruvrecnetiomnasnfaogreCmleimnat tien rheesaillitehncfaecifloitriewsater MONITORING & • Water supply monitored regularly to ensure adequate access throughout ASSESSMENT the duration of acute climatic events, ensuring that protocols are in place to guide rationing if required • Verified safety conditions and proper functioning of all elements of the water distribution system, including storage tanks, valves, pipes and connections, and water disinfection RISK • Siting of facility based on historical flood levels to reduce risk of facility MANAGEMENT flooding • Developed a long-term drought management plan, including the identification of available alternative safe water sources • Safe water storage made available, avoiding mosquito breeding sites HEALTH & • Water of appropriate quality supplied for medical activities as well as for SAFETY healthcare workers and patients REGULATION • Rainwater harvesting (with safe storage) installed, in places where rainfall is sufficient and regular or when possible to collect, and regularly inspected for damage มาตรการส�ำหรับการสร้างความยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ส�ำหรับการจัดการทรัพยากร นำ�้ ในสถานบรกิ ารสาธารณสุข การประเมินและติดตามตรวจสอบ - นำ้� ประปาไดร้ บั การตรวจสอบอยา่ งสมำ่� เสมอเพอื่ ใหแ้ นใ่ จวา่ มนี ำ�้ ทเ่ี ขา้ ถงึ ไดอ้ ยา่ งเพยี งพอตลอดระยะเวลา ของเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเฉียบพลัน โดยตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีมาตราการ ท่ชี แ้ี นวทางการแบ่งปัน/แบง่ ส่วนได้ หากจ�ำเป็น - ตรวจสอบสภาพและความปลอดภัยของอุปกรณ์หรือองค์ประกอบท้ังหมดของระบบจ่ายน�้ำ รวมทั้ง ถงั เกบ็ น�ำ้ วาล์ว ท่อและจดุ ต่อ และการฆา่ เชือ้ โรคในนำ้� การจดั การความเสีย่ ง - เลอื กทด่ี นิ เพอื่ สรา้ งสถานบรกิ ารสาธารณสขุ พจิ ารณาตามระดบั นำ้� ทว่ มในอดตี เพอื่ ลดความเสย่ี งจากนำ้� ทว่ ม - พฒั นาแผนการจัดการภยั แล้งในระยะยาว รวมทัง้ การระบแุ หลง่ น�ำ้ ทางเลอื กทีป่ ลอดภัย - มีแหลง่ กกั เก็บนำ�้ ที่ปลอดภัย และหลกี เล่ียงการเปน็ แหล่งเพาะพนั ธยุ์ ุง มขี อ้ ก�ำหนดดา้ นสาธารณสุขและความปลอดภยั - มนี ำ้� ท่ีมคี ุณภาพเหมาะสมสำ� หรับกจิ กรรมทางการแพทย์ ตลอดจนบคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละผปู้ ่วย - ตดิ ตงั้ ระบบการเก็บน�้ำฝน (พร้อมการจัดเกบ็ ทีป่ ลอดภยั ) ในบริเวณที่มปี ริมาณน้ำ� ฝนเพียงพอและเก็บได้ เปน็ ประจ�ำหรือเมือ่ เปน็ ไปได้ และตรวจสอบความเสยี หายอยา่ งสม่�ำเสมอ

หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุข 67 เพ่อื รองรับระบบสขุ ภาพทีย่ ดื หยุ่นรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ fsInaatcneiilrtivtaieetinsotnioannsdfohryCgileimneatemarensaiglieenmceentfoirn health • Developed a monitoring mechanism to verify compliance with national MONITORING & standards, fo the operation and maintenance of water and sanitation facilities ASSESSMENT • Monitoring of sewer overflows to fix pumps in advance of flood seasons • Mapping of climate change risks to the sanitation infrastructure to identify where services could be disrupted from floods, water scarcity , landslides, sea-level rise RISK • Drinking water treated with a residual disinfectant to ensure microbial safety MANAGEMENT up to the point of consumption or use, especially after a flood related disaster • Siting of latrines in relation to flooding areas and water sources • Installation of sealed covers for septic tanks and non-return valves on pipes to prevent back flows HEALTH & • Rainwater harvesting (with safe storage) installed, in places where rainfall is SAFETY sufficient and regular or when possible to collect, and regularly inspected REGULATION for damage • Collaboration with public health management or other responsible sector to reduce vector breeding sites (such as pools of water) on facility property and surrounding areas • Sanitation technologies designed to be more resistant to climate hazards and able to operate under a range of climate conditions Interventions for Climate resilience for มาตรการส�ำหรับการสร้างความยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส�ำหรับการจัดการสุขาภิบาล และสุขอนามัยในสถานบริการสาธารณสุข การประเมนิ และติดตามตรวจสอบ - พัฒนากลไกการเฝ้าระวังติดตามเพื่อตรวจสอบ การปฏิบัติงานและการบ�ำรุงรักษาระบบที่เกี่ยวกับ การจัดการนำ้� และสุขาภิบาลใหไ้ ด้ตามมาตรฐานของประเทศ - ติดตามตรวจสอบท่อระบายนำ้� ล้น และเครื่องสบู นำ�้ ใหใ้ ช้งานได้ ก่อนฤดนู ำ้� ท่วม - การท�ำแผนที่ความเส่ียงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อระบบโครงสร้างพ้ืนฐานด้านสุขาภิบาล เพอื่ ระบตุ ำ� แหน่งทก่ี ารใหบ้ ริการอาจไดร้ ับผลกระทบจากนำ้� ท่วม การขาดแคลนน�้ำ ดินถลม่ การเพ่ิมขน้ึ ของระดับน้�ำทะเล

68 หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุข เพ่อื รองรบั ระบบสุขภาพทีย่ ดื หยนุ่ รองรับการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การจดั การความเสย่ี ง - น�้ำที่ใช้ผลิตน้�ำด่ืม มีสารฆ่าเช้ือโรคท่ีคงเหลืออยู่เพ่ือให้แน่ใจว่าน้�ำนั้นจะมีความปลอดภัยด้านจุลินทรีย์ ในระดับท่ีใชบ้ รโิ ภคหรือนำ� ไปใช้ได้ โดยเฉพาะหลังเกิดภยั พบิ ตั ิจากอุทกภยั - การเลือกพนื้ ท่ีจดั วางสว้ ม ต้องค�ำนึงถึงประเด็นแหลง่ น้�ำและพน้ื ทท่ี ม่ี ีน�ำ้ ทว่ ม - การติดตั้งฝาปดิ ถงั บ�ำบัดน้�ำเสยี ตอ้ งปิดสนทิ และมวี าลว์ กนั ไหลกลบั ในทอ่ เพื่อป้องกนั การไหลยอ้ นกลบั มขี อ้ ก�ำหนดด้านสาธารณสขุ และความปลอดภยั - มีการติดต้ังระบบการเก็บน�้ำฝน (พร้อมการจัดเก็บที่ปลอดภัย) ในบริเวณท่ีมีปริมาณน�้ำฝนเพียงพอและ เก็บได้เปน็ ประจ�ำหรอื เม่อื เปน็ ไปได้ และตรวจสอบความเสียหายอย่างสม�่ำเสมอ - สร้างความร่วมมือการจัดการด้านสาธารณสุขกับภาคส่วนอื่นๆ ที่รับผิดชอบ เพ่ือลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง (เชน่ แอง่ น้�ำ) ในบรเิ วณสถานบริการสาธารณสขุ และพ้นื ทโ่ี ดยรอบ - ใชเ้ ทคโนโลยดี า้ นสขุ าภบิ าล ทอี่ อกแบบมาใหท้ นทานตอ่ อนั ตรายจากสภาพภมู อิ ากาศและสามารถทำ� งานได้ ภายใตส้ ภาพภมู ิอากาศที่หลากหลาย

หลักสูตรพัฒนาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุ 69 เพอ่ื รองรบั ระบบสุขภาพที่ยดื หยุ่นรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ mIntaenravgeenmtioennst ifnorhCealimlthatfeacrielistiieliesnce for waste MONITORING & • Identifying current or historical climate related hazardous events ASSESSMENT known to pose significant health risks to the collection, treatment, reuse and/or disposal of sanitation wastes (such as overflowing of pit latrines contaminating drinking water sources) RISK • Waste issues resulting from climate related hazards assessed through MANAGEMENT regular audits to establish safe procedures and specialized treatment, when needed • Health care waste transport (including health care facility hazardous waste) properly managed in case of extreme weather events HEALTH & • Ensure compliance to waste regulations for safe waste disposal during SAFETY climate-related emergencies or disasters REGULATION • Improved storage areas for storing extra waste generated through higher demands on health care facilities (such as in outbreaks or impacts from climate related events) • Waste pits are built to withstand climate events and emergencies มาตรการสำ� หรบั การสรา้ งความยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ตอ่ การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ สำ� หรบั การจดั การขยะมลู ฝอย ในสถานบริการสาธารณสขุ การประเมินและติดตาม เฝา้ ระวงั - การค้นหาเหตุการณ์อันตรายท่ีเกี่ยวข้องกับสภาพภูมิอากาศในปัจจุบันหรือในอดีตท่ีก่อให้เกิดความเส่ียง ต่อสุขภาพท่ีส�ำคัญ ทั้งการรวบรวม การบ�ำบัด การน�ำกลับมาใช้ใหม่ และ/หรือการก�ำจัดของเสีย ดา้ นสุขอนามัย (เช่น การล้นของสงิ่ ปฏกิ ูลจากส้วม ไปปนเป้ือนแหล่งน้ำ� ท่ีผลติ น้�ำด่ืม) การจดั การความเสีย่ ง - ปญั หาของเสยี ทเ่ี กดิ จากสง่ิ คกุ คามดา้ นสภาพภมู อิ ากาศ ควรไดร้ บั การประเมนิ ผา่ นการตดิ ดามตรวจสอบ เปน็ ประจำ� เพอ่ื กำ� หนดขนั้ ตอนในการบ�ำบดั ที่ปลอดภยั และเป็นการเฉพาะ เมอื่ จำ� เปน็ - การขนส่งของเสียจากสถานบริการสาธารณสุข (รวมถึงของเสียอันตรายในสถานบริการสาธารณสุข) มกี ารจดั การอย่างเหมาะสมในกรณที ส่ี ภาพภูมิอากาศเลวร้าย มขี อ้ กำ� หนดดา้ นสาธารณสขุ และความปลอดภัย - ตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีการปฏิบัติตามกฎระเบียบในการก�ำจัดของเสียอย่างปลอดภัยในช่วงฉุกเฉินหรือ ภยั พบิ ตั ทิ เี่ กีย่ วข้องกับสภาพภูมิอากาศ - ปรบั ปรงุ พนื้ ทจี่ ดั เกบ็ ขยะ สำ� หรบั เกบ็ ขยะของสถานพยาบาลทเี่ พมิ่ ขน้ึ จากความตอ้ งการการรกั ษาพยาบาล ท่สี งู ขน้ึ (เช่น ในช่วงการระบาดของโรค หรือผลกระทบจากเหตกุ ารณ์ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั สภาพภูมิอากาศ) - หลุมขยะถกู สร้างข้นึ เพื่อรองรบั เหตุการณ์สภาพภูมอิ ากาศและเหตฉุ กุ เฉิน

70 หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ที่สาธารณสขุ เพ่ือรองรบั ระบบสุขภาพทีย่ ืดหยนุ่ รองรับการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Iinntweravteenrtiroenssouforcreemnvairnoangmemenetnatl sustainability MONITORING & • Measure where and how water is used, and areas of potential savings ASSESSMENT and reuse examined through regular water audits • In water scarce areas-water efficiency and conservation (e.g. pushtabs), and water reuse (e.g. for gardening) need to be observed. RISK • Increased patient and visitor awareness about water conservation MANAGEMENT including signs and notices in patient rooms and visitor restrooms • Efficient waste water recycling with safe establishment of effluent HEALTH & treatment even during climate emergencies SAFETY • Optimal use of water and water conservation measures including REGULATION rainwater harvesting during surplus times • Harvested rainwater or grey water is safely used to flush toilets, clean outdoor pavement areas, water plants when possible • Monitoring systems in place for early detection and control of health care associated infections มาตรการสำ� หรับการสรา้ งสิ่งแวดล้อมท่ยี ่ังยืน สำ� หรบั การจดั การแหลง่ น้ำ� ในสถานบริการสาธารณสุข การประเมนิ และติดตาม เฝา้ ระวงั - การวัดปริมาณน้�ำใช้ ว่าใช้ที่ไหนและใช้อย่างไร และตรวจสอบพ้ืนท่ีท่ีอาจช่วยประหยัดน้�ำและ นำ� นำ้� กลบั มาใชใ้ หม่ได้ ด้วยการตรวจประเมินเปน็ ประจ�ำ - ในพน้ื ที่ทข่ี าดแคลนนำ�้ ควรสังเกตการใชน้ ำ้� อย่างมปี ระสิทธภิ าพและประหยดั (เช่น ตรวจดูหัวก๊อกน�้ำ) และการนำ� น�้ำกลบั มาใชซ้ ำ�้ (เชน่ สำ� หรบั ทำ� สวน) การจดั การความเสย่ี ง - เพิ่มความตระหนักของผู้ป่วยและผู้มาเย่ียม เก่ียวกับการประหยัดน�้ำรวมถึงมีป้ายและสัญลักษณ์เตือน ในหอ้ งผปู้ ว่ ยและห้องน�้ำของผู้มาเยย่ี ม - การรไี ซเคลิ นำ้� เสยี อย่างมีประสทิ ธิภาพ พร้อมการบำ� บดั นำ�้ เสียท่ีปลอดภยั แม้ในภาวะฉกุ เฉิน ดา้ นสภาพภูมอิ ากาศ - มกี ารใช้นำ้� และมาตรการประหยัดน้�ำอยา่ งเหมาะสม รวมทัง้ การเกบ็ น�ำ้ ฝนในบางคร้ังท่ีมนี �้ำมาก มีข้อกำ� หนดด้านสาธารณสขุ และความปลอดภยั - น้�ำฝนท่ีรองรับไว้ หรือน้�ำเสียท่ีผ่านการบ�ำบัดแล้ว สามารถใช้ล้างห้องน้�ำ ท�ำความสะอาดพ้ืนทางเดิน กลางแจ้ง รดน้ำ� ตน้ ไม้ไดอ้ ยา่ งปลอดภัย - มีระบบติดตามตรวจสอบน�้ำเสีย ในบริเวณที่ให้บริการดูแลรักษาผู้ป่วยที่พบการติดเชื้อ ในระยะเร่ิมต้น หรือต้องควบคมุ การตดิ เช้ือ

หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจ้าหนา้ ที่สาธารณสุข 71 เพ่อื รองรับระบบสขุ ภาพทีย่ ดื หยุน่ รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Iinntsearvneitnattiioonnsafnodr ehnyvgiireonnemmenatnaalgseumsteanintability MONITORING & • Developed climate resilient water safety plans must be in place in all HCFs ASSESSMENT • Surveillance of diseases related to insufficient quality water and sanitation • Regular maintenance checks of drains and sewers • Assessing scope for renewable energy sources for pumping wastewater RISK • Optimize water use for flushing and cleaning in drought prone areas MANAGEMENT • Use of materials less likely to fracture for latrines and septic tanks reducing risk of groundwater contamination in drought prone areas • Regular pumping or emptying of latrines to minimize sludge build-up • Use of composting latrines HEALTH & • Hand hygiene facilities (water and soap and alcohol-based hand rub) are SAFETY available within five meters of all toilets REGULATION • Hand hygiene facilities are available at points of care and before health care facility entry during outbreaks, epidemics and pandemics มาตรการสำ� หรบั การสรา้ งสง่ิ แวดลอ้ มที่ยัง่ ยืน ส�ำหรบั การจดั การสุขาภิบาลและสุขลักษณะในสถานบริการสาธารณสุข การประเมินและติดตาม เฝา้ ระวงั - ตรวจสอบว่าแผนการจัดการน้�ำสะอาด ท่ียืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทีพ่ ฒั นาขนึ้ จะตอ้ งพรอ้ มใช้ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทัง้ หมด - เฝ้าระวังโรคที่เกีย่ วข้องกับการจดั การคุณภาพนำ�้ ท่ไี มด่ ีและการสุขาภบิ าลที่ไมเ่ พยี งพอ - ตรวจสอบการบำ� รงุ รกั ษาระบบท่อน้�ำทิ้งและท่อระบายนำ�้ เป็นประจำ� - ประเมนิ ความครอบคลุมของแหลง่ พลงั งานหมนุ เวียนท่ใี ชส้ �ำหรับสำ� หรับการสูบน�ำ้ เสีย การจัดการความเสีย่ ง - เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการใช้นำ้� เพอื่ การชะลา้ งในส้วม และนำ�้ สำ� หรับท�ำความสะอาดในพนื้ ทีเ่ สยี่ งภัยแล้ง - การใช้วัสดุท่ีมีโอกาสแตกหักน้อย ส�ำหรับห้องส้วมและถังบ�ำบัดน้�ำเสีย ลดความเสี่ยงของการปนเปื้อน ของน้ำ� ใต้ดนิ ในพนื้ ท่ีเสย่ี งภัยแล้ง - สบู ส้วมเป็นประจ�ำเพ่อื ลดการสะสมของตะกอน - การใชป้ ยุ๋ หมกั จากสว้ ม มขี ้อก�ำหนดดา้ นสาธารณสุขและความปลอดภัย - มีจุดบรกิ ารลา้ งมอื (ด้วยนำ้� และสบู่ และแอลกอฮอลล์ ้างมือ) อยา่ งเพียงพอภายใน 5 เมตรจากหอ้ งสว้ ม ท้งั หมด - มจี ดุ บรกิ ารลา้ งมอื อยา่ งเพยี งพอ ณ จดุ ดแู ลรกั ษา และจดุ กอ่ นเขา้ สถานพยาบาลในชว่ งทมี่ กี ารระบาดโรค

72 หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุข เพ่อื รองรบั ระบบสุขภาพที่ยืดหยนุ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Iinntweravsetnetimonasnafogremenevnirtonmental sustainability MONITORING & • Classify and assess types of waste issues and hazards to establish ASSESSMENT appropriate segregation and collection • Implement and monitor a waste reduction program including waste management training for all staff RISK • Establish and implement a waste segregation, storage and disposal MANAGEMENT system in mandated color-coded bins • Phase –out from incineration to less polluting non-burn technologies • Replace chemicals of concern like mercury and those in cleaning products and disinfectants with sustainable environmentally friendly substitutes • Improved packaging, labelling and handling of chemical, radioactive and other hazardous waste categories HEALTH & • Safe and compliant waste management of liquid waste and other SAFETY healthcare waste categories under all conditions REGULATION • Waste water recycling and reuse in HCFs follows all regulatory requirements with no risk of contaminating community water มาตรการสำ� หรบั การสร้างสิ่งแวดล้อมท่ียง่ั ยืน ส�ำหรบั การจดั การขยะมูลฝอย ในสถานบริการสาธารณสุข การประเมนิ และติดตาม เฝา้ ระวงั - จำ� แนกจดั กลมุ่ ประเภทของขยะมลู ฝอย และประเมนิ อนั ตรายทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ เพอ่ื ทจ่ี ะกำ� หนดการแยกขยะ และรวบรวมทเี่ หมาะสม - ดำ� เนนิ การและตดิ ตามกจิ กรรมการลดขยะมลู ฝอย รวมถงึ มกี ารฝกึ อบรมการจดั การขยะสำ� หรบั พนกั งาน ทุกคน การจัดการความเส่ยี ง - ก�ำหนดระบบสีของถงั ขยะ ส�ำหรับการคัดแยก การจดั เก็บ และกำ� จัดขยะมูลฝอย - ยุตกิ ารเผาในเตาเผา มาใช้เทคโนโลยีทไ่ี ม่ใช้การเผาและกอ่ ให้เกิดมลพิษน้อยลง - แทนที่สารเคมีที่เป็นปัญหา เช่น ปรอท และสารเคมีในผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาดและสารฆ่าเช้ือ ดว้ ยสารทดแทนทีเ่ ป็นมิตรต่อส่งิ แวดลอ้ มอย่างยง่ั ยืน - ปรบั ปรงุ บรรจภุ ณั ฑ์ การตดิ ฉลาก และการจดั การ ตามกลมุ่ ประเภทสารเคมี กมั มนั ตภาพรงั สี และของเสยี อันตรายอื่นๆ มีข้อกำ� หนดดา้ นสาธารณสุขและความปลอดภัย - กำ� กบั ตดิ ตามการจดั การของเสยี ทป่ี ลอดภยั และเปน็ ไปตามขอ้ กำ� หนดสำ� หรบั ของเสยี ทเี่ ปน็ ของเหลวและ ของเสยี อ่นื ๆจากสถานบริการสาธารณสุข ภายใต้ทกุ เง่อื นไข - การรไี ซเคลิ นำ้� เสยี และการนำ� กลบั มาใชซ้ ำ�้ ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ เปน็ ไปตามขอ้ กำ� หนดดา้ นกฎระเบยี บ ท้งั หมดโดยไม่กอ่ ให้เกดิ ความเสีย่ งตอ่ การปนเปื้อนแหลง่ นำ้� ในชุมชน

หลกั สตู รพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุข 73 เพ่ือรองรบั ระบบสุขภาพทย่ี ืดหยุน่ รองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ MVualnldeivraebsilGityreAennaClylsimisaatendSmRaerptoHrtospitals - Hospital INTRODUCTION ASSESSMENT DOMAINS • The Maldives Health protection Agency (HPA) • The facilities were assessed in various conducted a vulnerability assessment of 7 domains for preparedness and vulnerabilities to typical Maldives healthcare facilities in 2018. respond to surge situations • This facility is managed via Indira Gandhi • Building, water, waste management, enegy Merorial Hospital (IGMH) close by in male City procurement, food, chemicals, pharmaceuticals and primarily provides OPD and dialysis; transport and leadership Consultants Conduct surgeries once or twice a week. Patients requiring overnight or advanced treatment typically travel to IGMH initiatives for this small island state VULNERABILITIES • Low-lying and prone to sea level rise and floods • Storm surges can impact care delivery due to disruption of access and energy supply • Waste management, sanitation and hygiene can be impacted when inundated by floods โรงพยาบาลสเี ขยี วและอจั ฉรยิ ะดา้ นสภาพภมู อิ ากาศ ประเทศมลั ดฟี ส์ จากการรายงานและการวเิ คราะหค์ วามเปราะบาง ของโรงพยาบาล ทม่ี า - สำ� นกั งานคุม้ ครองสขุ ภาพแหง่ มลั ดฟี ส์ (HPA) ไดด้ ำ� เนินการประเมินความเปราะบางของสถานพยาบาล ท่ัวไปในมลั ดีฟส์ 7 แหง่ ในปี ค.ศ.2018 - สถานบริการสาธารณสุขแห่งน้ี ได้รับการดูแลจากโรงพยาบาล Indira Gandhi Memorial Hospital (IGMH) ซ่งึ อยู่ใกลๆ้ ในเมอื งมาเล และใหบ้ รกิ าร OPD และการฟอกไตเป็นหลกั แพทยจ์ ะท�ำการผ่าตดั สปั ดาหล์ ะครง้ั หรอื สองครง้ั ผปู้ ว่ ยทต่ี อ้ งรกั ษาขา้ มคนื หรอื การรกั ษาขน้ั สงู มกั จะเดนิ ทางไปทโี่ รงพยาบาล IGMH ความเปราะบาง - ตงั้ อยบู่ นพืน้ ทตี่ �่ำและมีแนวโน้มที่จะได้รบั ผลกระทบจากระดับน้ำ� ทะเลท่สี งู ขึ้นและน้�ำท่วม - พายคุ ลนื่ ทรี่ นุ แรง อาจสง่ ผลกระทบตอ่ การสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยไปรกั ษาเนอื่ งจากอปุ สรรคดา้ นการเขา้ ถงึ และการจดั หา พลังงาน - การจัดการของเสีย การสขุ าภบิ าล และสขุ อนามยั อาจไดร้ ับผลกระทบเมือ่ น�้ำทว่ ม มติ ิการประเมินผลกระทบ - สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ไดร้ บั การประเมนิ ในหลายมติ สิ ำ� หรบั การเตรยี มความมพรอ้ มและ ความเปราะบาง ในการตอบโตต้ ่อสถานการณร์ ุนแรง - ตกึ อาคาร นำ�้ การจดั การของเสยี พลงั งาน การจดั ซอ้ื การจดั อาหาร เคมภี ณั ฑ์ ยา การขนสง่ และความเปน็ ผนู้ ำ�

74 หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ เพอ่ื รองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ืดหยนุ่ รองรบั การเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ VMualnldeivraebsilGityreAennaClylsimisaatendsmRaerptohrot spitals - Hospital Findings: Water and Waste Recommendations: Stakeholder Consultation • Facility uses water from city supply with no • Implement rainwater harvesting and safe storage back-up options to reduce energy consumption of desalination • Distilled water is supplied by IGMH; a small RO processes and for emergency use plant provides high purity water in the dialysis • Install drinking water dispensers to eliminate unit waste from single use plastic bottles • Waste water and sewage disposal uses an • Promote waste segregation and correct waste on-site septic system. management and disposal processes • Digital imaging is being used in the hospital, • Phase out incineration and promote policies on eliminating the large quantities of process water autoclave use and silver contaminated waste water associated • Conduct regular waste audits, identify gaps in with the x-ray film developing. waste streams and facilitate zero waste where • Waste is segregated at the source, including infectious, noninfectious and sharps. However all wastes are collected by the same company and segregation is not maintained. • There is no laboratory waste autoclave, but no microbial culturing is conducted in the laboratory, so highly infectious cultures are not produced โรงพยาบาลสเี ขยี วและอจั ฉรยิ ะดา้ นสภาพภมู อิ ากาศ ประเทศมลั ดฟี ส์ จากการรายงานและการวเิ คราะหค์ วามเปราะบาง ของโรงพยาบาล ผลการประเมนิ ประเด็น นำ�้ และของเสีย - สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ใช้น�ำ้ จากแหล่งผลิตน�้ำประปาในเมืองโดยไม่มีทางเลอื กอน่ื ส�ำรอง - น�้ำกลนั่ มาจาก รพ. IGMH โดยมีโรงงานขนาดเลก็ ผลิตน้ำ� กรองดว้ ยระบบ RO มีความบริสุทธิ์สงู ส�ำหรบั ใช้ในหนว่ ยฟอกไต - น้�ำเสยี และสง่ิ ปฏกิ ลู ถกู ก�ำจัดโดยใชร้ ะบบบ�ำบัดน�้ำเสยี แบบ onsite - มีการใช้ภาพดจิ ติ อลในโรงพยาบาล ตอ้ งมีการก�ำจดั นำ�้ จ�ำนวนมากทีใ่ ชใ้ นกระบวนการผลติ และน�้ำเสยี ทป่ี นเป้อื นเงนิ (Silver) จากกระบวนการพัฒนาฟลิ ม์ เอ็กซเ์ รย์ - ขยะมลู ฝอยจะถกู คดั แยกทตี่ ้นทาง รวมทง้ั ของเสยี ที่ตดิ เชอ้ื ไมต่ ิดเชือ้ และของมคี ม อย่างไรก็ตาม ของเสียท้ังหมดจะถกู รวบรวมโดยบริษัทเดยี วกันและไม่มีการคดั แยก - ไมม่ หี มอ้ นงึ่ ฆา่ เชอื้ สำ� หรบั ของเสยี ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร แตไ่ มม่ กี ารดำ� เนนิ การเพาะเชอ้ื จลุ นิ ทรยี ใ์ นหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ดงั นั้นจงึ ไม่มกี ารผลิตเชอื้ ทต่ี ดิ เชือ้ ได้สูง

หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุข 75 เพื่อรองรบั ระบบสุขภาพท่ียดื หยุ่นรองรบั การเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศ คำ� แนะนำ� : การให้คำ� ปรกึ ษาผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสยี - ใช้การเก็บน้�ำฝนและการจัดเก็บที่ปลอดภัยเพื่อลดการใช้พลังงานในกระบวนการการกลั่นและส�ำหรับ การใช้ในกรณฉี ุกเฉิน - ตดิ ต้งั ตนู้ �้ำดม่ื เพอื่ ก�ำจดั ขยะขวดพลาสตกิ แบบใชค้ รงั้ เดยี วทงิ้ - ส่งเสรมิ การแยกขยะและกระบวนการจดั การและกำ� จัดของเสยี ทถี่ ูกตอ้ ง - ยุติการเผาขยะและส่งเสริมนโยบายการใชห้ มอ้ น่ึงความดนั - ดำ� เนนิ การประเมนิ ตดิ ตามและตรวจสอบการจดั การของเสยี เปน็ ประจำ� คน้ หาจดุ ออ่ นในวงจรการจดั การ ของเสีย และก�ำกบั ตดิ ตามใหส้ ถานบรกิ ารสาธารณสขุ ไมม่ ีขยะหากเป็นไปได้ Key Takeaways • Optimizing resources such as water and efficient utilization and waste water management in healthcare facilities has health and environmental benefits • Safe and efficient waste handling in healthcare facilities is an important area of climate resilient and environmentally sustainable healthcare services • Contingency plans for efficient water and healthcare waste management during acute climate events must include capacity and awareness building • Waste segregation, collection, treatment and disposal at all levels of health care must follow established national and sub-national regulations สรปุ ประเด็นส�ำคัญ - การเพ่ิมประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากรน�้ำ และการจัดการน�้ำเสียและการใช้ประโยชน์อย่างมี ประสิทธิภาพในสถานพยาบาลนั้น มีประโยชน์ตอ่ สขุ ภาพและสง่ิ แวดล้อม - การจัดการของเสียอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพในสถานพยาบาลเป็นสิ่งท่ีที่ส�ำคัญของการบริการ ดา้ สาธารณสขุ ท่ีมคี วามยดื หยนุ่ พรอ้ มรับมือตอ่ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและสง่ิ แวดล้อมท่ียง่ั ยืน - แผนฉกุ เฉนิ สำ� หรบั การจดั การนำ�้ และของเสยี จากสถานบรกิ ารสาธารณสขุ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพในชว่ งเหตกุ ารณ์ การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศเฉียบพลันตอ้ งรวมถึงการพัฒนาศกั ยภาพและสรา้ งการรบั รู้ - การแยก การรวบรวม การบ�ำบัด และการก�ำจัดของเสียในการดูแลสุขภาพทุกระดับ ต้องเป็นไปตาม ระเบยี บข้อบังคบั ของประเทศ และหน่วยงานที่กำ� หนดข้นึ

76 หลักสตู รพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสขุ เพือ่ รองรบั ระบบสุขภาพทย่ี ดื หยนุ่ รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ

กองประเมนิ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ กรมอนามยั 77 5Module พลงั งานแกลาะกราจรดัเปกล่ียารนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ

78 หลกั สตู รพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ เพ่ือรองรับระบบสุขภาพท่ียดื หยนุ่ รองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Module 5 การจดั การพลงั งานและการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ ขอบเขตเนือ้ หา 1. รูปแบบการใชพ้ ลังงานในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ 2. ผลกระทบของเหตกุ ารณก์ ารเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศเฉียบพลนั ทีท่ �ำใหก้ ารบริการต้องหยุดชะงัก 3. มาตรการของสถานบริการสาธารณสุขส�ำหรับการจัดการพลังงานที่มีความย่ังยืนด้านส่ิงแวดล้อมและ ยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ 4. วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของการดำ� เนนิ งานทป่ี ระสบความสำ� เรจ็ ประกอบดว้ ย การประเมนิ และตดิ ตามเฝา้ ระวงั การจดั การความเสีย่ ง และการปฏบิ ัติตามข้อก�ำหนดด้านสาธารณสุขและความปลอดภัย 5. ตัวอยา่ งมาตรการเฉพาะด้านพลังงาน ระยะเวลา 60 นาที กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. เรียนรผู้ า่ นการบรรยาย 2. แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ระหวา่ งผ้สู อนและผเู้ รียน เนอื้ หา การจัดการพลังงาน และการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Climate Resilient & Environmentally Sustainable Healthcare facilities Energy การจัดการด้านพลังงานมีความส�ำคัญต่อการสร้างส่ิงแวดล้อมท่ีย่ังยืนและยืดหยุ่นรองรับการเปลี่ยนแปลง สภาพภมู อิ ากาศในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ โดยใหค้ วามสำ� คญั ตอ่ การใชพ้ ลงั งานอยา่ งคมุ้ คา่ และการใชพ้ ลงั งานสะอาด ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ

หลักสูตรพฒั นาศกั ยภาพเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ 79 เพอื่ รองรับระบบสุขภาพทย่ี ดื หยุ่นรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Learning objectives • Explain the importance of efficient energy use in healthcare facilities • Describe interventions for optimal use of energy in services and equipment • Case study of best practices วัตถปุ ระสงคใ์ นการเรยี นรู้ - อธบิ ายความสำ� คัญของการใช้พลังงานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ - อธบิ ายมาตรการเพอ่ื การใชพ้ ลงั งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสงู สดุ ในการใหบ้ รกิ ารและใชส้ ำ� หรบั อปุ กรณต์ า่ ง ๆ - กรณศี กึ ษาแนวทางปฏบิ ัติทดี่ ที ีส่ ดุ Contents • Energy utilization patterns in healthcare facilities • Impacts of acute climate events on disrupted services • Facility-level interventions for climate resilient and environmentally sustainable energy management • Key objectives of successful implementation including Monitoring and assessment, risk management and following health and safety regulations • Examples of specific energy interventions เนือ้ หาในบทนีจ้ ะกล่าวถงึ - รปู แบบการใชพ้ ลงั งานในสถานบริการสาธารณสขุ - ผลกระทบของเหตกุ ารณก์ ารเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศเฉียบพลนั ท่ีทำ� ใหก้ ารบริการตอ้ งหยดุ ชะงัก - มาตรการของสถานบริการสาธารณสุขส�ำหรับการจัดการพลังงานที่มีความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อมและ ยืดหยนุ่ พรอ้ มรับมอื ต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ - วัตถุประสงค์หลักของการด�ำเนินงานท่ีประสบความส�ำเร็จ ประกอบด้วยการประเมินและติดตาม เฝา้ ระวงั การจัดการความเสย่ี ง และการปฏิบตั ติ ามข้อกำ� หนดด้านสาธารณสขุ และความปลอดภยั - ตัวอย่างมาตรการเฉพาะด้านพลงั งาน

80 หลกั สูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หน้าทส่ี าธารณสุข เพอ่ื รองรับระบบสขุ ภาพทยี่ ืดหยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ Understanding Healthcare Energy Use In-patient services Equipment Delivery services Functionality Out-patient services Electrification National Care Staff Water Retention Supply Immunization services Laboratory services Electricity is a critical enabler for health system ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้พลังงานในสถานบริการสาธารณสุขกระแสไฟฟ้ามีความจ�ำเป็นอย่างยิ่งส�ำหรับ ระบบบริการสุขภาพ เน่ืองจากไฟฟ้ามีส่วนต่อการท�ำงานในสถานบริการสาธารณสุขแทบทุกกระบวนการ ต้ังแต่ การใชท้ ำ� งานของอปุ กรณต์ า่ งๆ การใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ เพอื่ การผลติ นำ้� ประปา รวมทงั้ ยงั สง่ ผลตอ่ สภาพการทำ� งานของ บุคลากรดว้ ย ซ่ึงกระแสไฟฟา้ มีผลตอ่ กระบวนการท�ำงานในสถานบริการสาธารณสขุ เช่น การรกั ษา การใหบ้ ริการ คนไข้ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เป็นต้น

หลกั สตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสขุ 81 เพือ่ รองรับระบบสุขภาพทีย่ ืดหยนุ่ รองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ Role of sustainable energy in healthcar • Access to electricity in healthcare is critical to provision of universal healthcare and achieving SDG targets including improving maternal health, reducing child mortality and preventing disease • Health and well-being of care-providers, patients and communities is dependent on safe and continuous supply of electricity services • Lighting, heating , cooling, vaccine services, laboratory, labor room and operations are dependent on uninterrupted energy supply. • Acute climate events may compromise care delivery practices and a contingency plan must be ready at all times for climate-related emergencies • Inefficient energy utilization contributes to fuel waste and to air pollution, thereby affecting health and the environment บทบาทของพลงั งานทยี่ ่ังยืนในการดูแลด้านสขุ ภาพ - การเขา้ ถงึ ไฟฟา้ เพอ่ื การดแู ลดา้ นสขุ ภาพมคี วามสำ� คญั อยา่ งยง่ิ ตอ่ การจดั เตรยี มระบบบรกิ ารสขุ ภาพสากล และการบรรลเุ ปา้ หมาย SDGs รวมถงึ การปรับปรงุ สขุ ภาพของมารดา การลดอัตราการเสยี ชวี ิตของเด็ก และการป้องกันโรค - สขุ ภาพและความเปน็ อยทู่ ดี่ ขี องผใู้ หบ้ รกิ าร ผปู้ ว่ ย และชมุ ชนตอ้ งพง่ึ พาการใหบ้ รกิ ารดา้ นไฟฟา้ ทปี่ ลอดภยั และตอ่ เน่อื ง - การมีแสงสว่าง การท�ำความร้อน การท�ำความเย็น การบริการวัคซีน ห้องปฏิบัติการ ห้องท�ำคลอด และการผา่ ตดั ข้ึนอยกู่ ับการจา่ ยพลงั งานอย่างตอ่ เน่ือง - เหตกุ ารณก์ ารเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศเฉียบพลัน อาจกระทบตอ่ แนวทางปฏบิ ัติในการบรกิ ารส่งต่อ ผปู้ ว่ ย รวมทง้ั แผนฉกุ เฉินต้องพร้อมตลอดเวลาส�ำหรบั เหตุฉุกเฉินทเี่ กีย่ วขอ้ งกับสภาพภูมิอากาศ - การใชพ้ ลงั งานอยา่ งไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ทำ� ใหเ้ กดิ ของเสยี จากเชอ้ื เพลงิ และมลพษิ ทางอากาศ ซง่ึ สง่ ผลกระทบ ต่อสุขภาพและสิง่ แวดลอ้ ม

82 หลักสูตรพัฒนาศักยภาพเจา้ หนา้ ทีส่ าธารณสุข เพือ่ รองรบั ระบบสขุ ภาพทย่ี ดื หยนุ่ รองรบั การเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Ccoamrbpoonnfeonottprint of healthcare and the energy Source: Health Care’s Climate footprint-2019 (https://noharm-global.org/sites/default/files/documents-files/5961/HealthCaresClimateFootprint_092319.pdf) Energy footprint of healthcare comes from both direct and indirect operations that use purchased energy. Fossil fuel combustion is at the heart of health care’s emissions. คาร์บอนฟุตพรน้ิ ท์ หรือปรมิ าณกา๊ ซเรอื นกระจกท่ปี ล่อยออกมาจากการใหบ้ ริการสขุ ภาพและองคป์ ระกอบดา้ นพลงั งาน - 40% จากการผลติ และส่งตอ่ กระแสไฟฟ้า ก๊าซและความร้อนหรอื ความเย็น - 13% จากการปลอ่ ยมลพิษจากการดำ� เนนิ งานของสถานบรกิ ารสาธารณสขุ - 11% จากภาคการผลติ อนื่ ๆ เช่น โลหะ ใยสงั เคราะห์ และผลติ ภัณฑ์อาหาร เปน็ ต้น - 9% จากภาคการเกษตร (การจดั เตรียมอาหารและผลิตภณั ฑ์ตา่ งๆ) - 8% จากภาคส่วนอ่นื ๆ - 7% จากการขนส่ง (การเดินทาง การขนสง่ ท่เี ก่ยี วข้อง การใหบ้ ริการสง่ ตอ่ ผ้ปู ่วย) - 5% จากยาและผลติ ภัณฑท์ ่เี ปน็ สารเคมี - 3% จากการบ�ำบัดของเสยี - 3% จากอตุ สาหกรรมเบอ้ื งตน้ (เช่น เหมอื ง ปา่ ไม้ ประมง เป็นต้น) คาร์บอนฟุตพร้ินท์ (ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมา) จากการรักษาพยาบาลมาจากการด�ำเนินงาน ท้ังทางตรงและทางอ้อม ซึ่งนั่นเป็นพลังงานท่ีสถานบริการสาธารณสุขต้องใช้ โดยการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล เปน็ หวั ใจส�ำคัญของการปลอ่ ยมลพษิ จากสถานบริการสาธารณสขุ

หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข 83 เพื่อรองรบั ระบบสขุ ภาพทยี่ ดื หยุ่นรองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ Impacts of climate variability on energy use in health facilities • Floods and storms can disrupt services by destroying power lines, affecting solar panels and battery storage • Interrupted electricity in healthcare facilities can affect both in-patient and out-patient outcomes • Heatwaves may increase use of air conditioning and lead to power outages • Functioning of on-site diesel generators may be disrupted by acute climatic events • Food , laundry and laboratory services can be disrupted leading to diminished services, health worker and patient discomfort • Supply chains also heavily dependent on energy use can face disruptions leading to sub-optimal service delivery thereby affecting health and the environment ผลกระทบจากความแปรปรวนของสภาพภมู อิ ากาศต่อการใช้พลังงานในสถานบริการสาธารณสุข - นำ�้ ทว่ มและพายสุ ามารถขดั ขวางการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ได้ จากความเสยี หายของระบบไฟฟา้ หรอื สง่ ผลกระทบ ตอ่ แผงโซลาร์เซลล์ และการจัดเกบ็ แบตเตอรี่ - ไฟฟา้ ท่ขี ดั ขอ้ งในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ส่งผลกระทบตอ่ สุขภาพทงั้ ผูป้ ว่ ยในและผู้ป่วยนอก - คลน่ื ความรอ้ น อาจเพิม่ การใชเ้ ครอื่ งปรบั อากาศและส่งผลท�ำใหไ้ ฟฟา้ ดับได้ - การทำ� งานของเครอ่ื งกำ� เนดิ ไฟฟา้ ทขี่ บั เคลอ่ื นดว้ ยเครอ่ื งยนตด์ เี ซล (Diesel Generator)** อาจถกู รบกวน จากเหตกุ ารณก์ ารเปลย่ี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศเฉยี บพลนั - การบริการด้านอาหาร ซักรีด และห้องปฏิบัติการ อาจหยุดชะงักได้ ส่งผลให้มีบริการขัดข้อง สร้างความไมส่ ะดวกตอ่ เจา้ หนา้ ที่ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ และผปู้ ่วย - ห่วงโซ่อุปทาน (การท�ำงานท่ีต้องใช้กระแสไฟฟ้า) ที่พ่ึงพาการใช้พลังงานเป็นอย่างมากอาจเผชิญกับ การหยุดชะงักซึ่งนำ� ไปสู่การให้บรกิ ารในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ทีไ่ มม่ ีประสิทธภิ าพ ** เครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าท่ีขับเคล่ือนด้วยเครื่องยนต์ดีเซล (Diesel Generator) คือ เครื่องปั่นไฟท่ีปัจจุบันนิยมใช้ เนือ่ งจากมีความแขง็ แรง ทนทาน การดแู ลบำ� รงุ รกั ษาต่�ำ และมีความเสถียรตอ่ การท�ำงาน

84 หลักสตู รพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ทส่ี าธารณสุข เพ่ือรองรบั ระบบสุขภาพท่ียดื หยุ่นรองรับการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ qOubajelictytivceasrefor Energy Efficiency for safe and MONITORING & ASSESSMENT RISK MANAGEMENT HEALTH & SAFETY • Assess facilities for availability • Training to identify climate REGULATION & patterns of energy use hazards • Generate awareness on • Document baseline energy • Collect information on energy management laws management practices to plan climate risks & impacts on • Build capacity to communicate action energy management & coordinate action • Build capacity of health • Prepare contingency plan • Ensure role of other personnel to handle & action framework for sectors environmentally sustainable energy use energy management actions วตั ถปุ ระสงคใ์ นการประหยัดพลงั งานเพ่อื การดแู ลรักษาที่ปลอดภยั และมคี ุณภาพ การประเมนิ และติดตามเฝา้ ระวัง - ประเมินสถานบรกิ ารสาธารณสุขถงึ ความพรอ้ มและรปู แบบการใชพ้ ลงั งาน - จดั ท�ำแนวทางการจัดการพลังงานพน้ื ฐานท่ีเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร เพอ่ื วางแผนการดำ� เนนิ การ - สร้างขีดความสามารถของบุคลากรด้านการแพทย์และสาธารณสุขในการจัดการพลังงานท่ีย่ังยืนต่อ สง่ิ แวดลอ้ ม การจัดการความเสย่ี ง - การฝกึ อบรมเพอื่ ใหส้ ามารถระบสุ งิ่ คุกคามด้านสภาพภมู ิอากาศ - รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับความเส่ียงของสภาพภูมิอากาศและผลกระทบตอ่ การจัดการพลงั งาน - เตรียมแผนฉุกเฉินและกรอบการทำ� งานส�ำหรับการใช้พลงั งานในสถานบริการสาธารณสขุ ข้อก�ำหนดดา้ นสาธารณสุขและความปลอดภยั - สรา้ งความตระหนักรู้ดา้ นกฎทเี่ กีย่ วขอ้ งกับการจัดการพลังงาน - พฒั นาศกั ยภาพในการส่ือสารและประสานงานการดำ� เนนิ การ - ท�ำใหท้ ราบถงึ บทบาทของภาคส่วนอ่ืนๆ

หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ 85 เพ่อื รองรับระบบสขุ ภาพท่ยี ืดหย่นุ รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ rInetseoruvrecnetiomnasnfaogreCmleimnat tien rheesaillitehncfaecifloitrieesnergy MONITORING & • Assess energy needs through energy audits to map the energy utilization patterns ASSESSMENT • Assess all heating, ventilation and air conditioning ductwork pipes, ensuring they are in good condition and supported adequately by the facility building structure • Map availability and scope of alternative sources of renewable energy • Assess location of energy backup and infrastructure can withstand extreme weather events (such as strong winds, hail, floods) RISK • Voltage stabilizers are available to protect equipment from electrical damage that MANAGEMENT may be caused by voltage frequency fluctuations and surges from the grid • Emergency plan in place for dealing with supply disruptions during acute events HEALTH & • Regular maintenance checks of all appliances and adoption of energy efficient SAFETY medical equipment REGULATION • Adequate lighting, communications, refrigeration and sterilization equipment are available during climate emergencies for essential services • Backup energy equipment sufficiently elevated in areas prone to floods มาตรการส�ำหรับการสร้างความยืดหยุ่นพร้อมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส�ำหรับการจัดการทรัพยากร พลงั งานในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ การประเมนิ และตดิ ตามเฝ้าระวงั - ประเมินความต้องการพลังงาน ผ่านการติดตามตรวจสอบ และท�ำแผนท่ีแสดงปริมาณและรูปแบบ การใช้พลังงาน - ประเมินระบบท่อทั้งหมด ทั้งของการท�ำความร้อน การระบายอากาศ และเครื่องปรับอากาศทั้งหมด ให้อยู่ในสภาพดีและอยูใ่ นจดุ ทเ่ี หมาะสมกับโครงสรา้ งอาคารและสถานที่ - จัดท�ำแผนทแ่ี สดงความพร้อมใช้งานและขอบเขตของแหล่งพลังงานทดแทน - ประเมินสถานท่ี ส�ำหรับการส�ำรองพลังงานและระบบโครงสร้างพ้ืนฐาน ให้สามารถทนต่อเหตุการณ์ สภาพอากาศท่ีรนุ แรง (เช่น ลมแรง ลกู เหบ็ น้ำ� ทว่ ม) การจัดการความเสีย่ ง - มีตัวปรับแรงดันไฟฟ้า เพ่ือป้องกันอุปกรณ์เสียหายจากกระแสไฟฟ้าที่อาจเกิดความผันผวนของความถ่ี แรงดนั ไฟฟา้ และไฟกระชากจากโครงข่าย - มแี ผนฉกุ เฉินเพื่อรับมอื กบั การหยดุ ชะงกั ของการผลติ ไฟฟ้าในช่วงเหตกุ ารณ์รนุ แรง - ตรวจสอบบ�ำรุงรักษาเครื่องใช้ไฟฟ้าท้ังหมดอย่างสม�่ำเสมอและการน�ำอุปกรณ์ทางการแพทย์ท่ีประหยัด พลงั งานมาใช้ ข้อกำ� หนดดา้ นสาธารณสุขและความปลอดภยั - มีอุปกรณ์ให้แสงสว่าง เคร่ืองมือการสื่อสาร เครื่องท�ำความเย็น และฆ่าเชื้อท่ีเพียงพอส�ำหรับให้บริการ ทจี่ �ำเปน็ ในภาวะฉุกเฉินด้านสภาพภูมอิ ากาศ - มอี ปุ กรณ์ที่เปน็ แหลง่ พลังงานสำ� รองท่ีเพยี งพอ หากต้องอพยพในพ้ืนทีเ่ สี่ยงอทุ กภัย

86 หลกั สูตรพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหน้าทส่ี าธารณสขุ เพ่ือรองรบั ระบบสขุ ภาพท่ียดื หย่นุ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ IrnetseoruvrecnetiomnasnfaogreCmleimnat tien rheesaillitehncfaecifloitrieesnergy MONITORING & • Assess percentage of energy mix from grid and renewable energy options ASSESSMENT • Assess energy use patterns and scope for reduction in consumption of energy in service operations and equipment • Assess use of air conditioning and map reduction in use RISK • Replacement of lighting fixtures with energy-efficient LED lights, place MANAGEMENT occupancy sensors in less frequently occupied areas and enhance use of natural lighting • Thermal insulation of buildings and windows • Regular defrosting of refrigerators with essential drugs, vaccines HEALTH & • Energy management training of hospital administrators with good SAFETY cross-sectoral and inter-departmental co-ordination to ensure REGULATION uninterrupted power supply for essential services • Installation of solar panels with good operations and maintenance of off-grid photo-voltaic cells มาตรการเพอื่ ความย่งั ยนื ด้านส่งิ แวดล้อม ส�ำหรบั การจดั การทรพั ยากรพลังงานในสถานบรกิ ารสาธารณสุข การประเมนิ และติดตามเฝ้าระวงั - ประเมินร้อยละของพลงั งานทใ่ี ช้ได้ ทงั้ จากระบบโครงขา่ ยไฟฟา้ และพลงั งานทดแทนท่ีเป็นทางเลอื ก - ประเมินรูปแบบการใช้พลังงานและปริมาณการลดการใช้พลังงานในการด�ำเนินงานให้บริการและ การใช้อุปกรณ์ตา่ งๆ - ประเมนิ การใช้เครื่องปรบั อากาศและการทำ� แผนท่ีการลดในการใชง้ าน การจดั การความเสี่ยง - การเปลยี่ นหลอดไฟสอ่ งสวา่ ง เปน็ ไฟ LED แบบประหยดั พลงั งาน ตดิ ตงั้ เซน็ เซอรต์ รวจจบั การเคลอ่ื นไหว ในพน้ื ท่ที ีม่ ผี ู้ใชบ้ รกิ ารน้อย และเพม่ิ การใชแ้ สงธรรมชาติ - ใช้ฉนวนปอ้ งกันความรอ้ นที่ตัวอาคารและหน้าต่าง - ละลายน�ำ้ แขง็ เปน็ ประจำ� ส�ำหรบั ต้เู ยน็ แชว่ คั ซีนหรือยาท่จี ำ� เป็น ขอ้ ก�ำหนดดา้ นสาธารณสขุ และความปลอดภัย - ฝึกอบรมการจัดการพลังงาน ส�ำหรับฝ่ายบริหารของโรงพยาบาล เพ่ือให้มีการประสานงานระหว่าง ภาคส่วนและระหว่างแผนกที่ดี และใหแ้ นใ่ จว่ามีการจ่ายไฟฟ้าอยา่ งต่อเนอ่ื งส�ำหรับบริการทจ่ี ำ� เป็น - ตดิ ต้ังแผงโซลาร์เซลล์ท่ีมสี ภาพการท�ำงานทด่ี ี และบ�ำรงุ รักษาเซลลโ์ ฟโตโวลตาอิก หรอื เซลลแ์ สงอาทติ ย์ ทเ่ี ปน็ แหลง่ พลงั งานนอกโครงข่าย

หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หนา้ ที่สาธารณสขุ 87 เพอ่ื รองรับระบบสขุ ภาพที่ยดื หยนุ่ รองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Environmentally sustainable energy resource management in health facilities–more interventions • Optimal use of off-grid energy services when grid services are unreliable, or disruption is likely • Harnessing solar energy through photovoltaic cells to heat water or generate electricity (which can be stored in batteries) • Energy production on site through other renewable sources, such as wind, biomass, or hydroelectricity • In-facility measures including use of energy-efficient lighting fixtures, medical equipment, occupancy sensor switches for unoccupied areas, regular checks of ACs and refrigerators, optimize building design (roofs, ventilation, lighting etc.) and energy-efficient mobility and transport fleets to reduce energy use • Emergency backup plan covering at least all critical service areas and equipment and backup energy equipment must be sufficiently elevated in areas prone to floods and anchored in areas prone to strong winds • Collaboration with public health authorities and urban planners is also key มาตรการเพมิ่ เติมส�ำหรับการจัดการทรัพยากรพลังงานทีย่ ั่งยืนดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มในสถานบริการสาธารณสุข - การใช้พลงั งานนอกโครงขา่ ยอย่างเหมาะสม เมอ่ื บริการในโครงข่ายไม่เสถียรหรอื มคี วามขดั ข้อง - การเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ผ่านเซลล์แสงอาทิตย์ เพ่ือท�ำน้�ำร้อนหรือผลิตไฟฟ้า (ซ่ึงสามารถเก็บไว้ ในแบตเตอรไี่ ด)้ - การผลติ พลงั งาน ณ ทตี่ ั้ง ดว้ ยแหลง่ พลังงานหมนุ เวยี นอ่นื ๆ เชน่ ลม ชีวมวล หรอื ไฟฟ้าพลงั นำ�้ - มมี าตรการภายในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ไดแ้ ก่ การใชอ้ ปุ กรณแ์ บบประหยดั พลงั งานสำ� หรบั การสอ่ งสวา่ ง อปุ กรณท์ างการแพทย์ เซน็ เซอรต์ รวจจบั สำ� หรบั แสดงพน้ื ทวี่ า่ ง การตรวจสอบเครอื่ งปรบั อากาศ และตเู้ ยน็ เปน็ ประจ�ำ การออกแบบอาคารอย่างเหมาะสม (ท้ังหลงั คา การระบายอากาศ แสงสวา่ ง ฯลฯ) รวมท้งั ลดปรมิ าณการใชพ้ ลังงาน โดยใช้การเคลอื่ นยา้ ยและการขนส่งทปี่ ระหยัดพลังงาน - มีแผนส�ำรองฉุกเฉินท่คี รอบคลมุ ทกุ พ้นื ทที่ ี่ให้บรกิ ารส�ำคญั และครอบคลุมเครือ่ งมอื อุปกรณต์ า่ งๆ รวมทง้ั อุปกรณ์ท่ีเป็นแหล่งพลังงานส�ำรองต้องเตรียมพร้อมกับการอพยพให้ทันในพื้นที่ที่มีแนวโน้มเกิดน้�ำท่วม และ มีการปักตั้งหลักในพน้ื ท่ีท่ีมลี มแรง - มีการประสานความร่วมมอื กับหน่วยงานด้านสาธารณสขุ และนกั ผงั เมอื ง

88 หลกั สูตรพฒั นาศักยภาพเจา้ หน้าท่ีสาธารณสุข เพอ่ื รองรบั ระบบสุขภาพทย่ี ืดหยุ่นรองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ Case Study – Philippines Keeping the Energy Unit Index (EUI) as Philippine Heart Center Grows INTRODUCTION HOW DID THEY DO THIS? NEXT STEPS • The Philippine Heart Centre • Equipment that was changed • The Philippine Heart Center aims demonstrated energy efficiency as it included: lighting, air conditioning to continually improve their grew its services units (ACU), motors and other program in energy saving through • Their energy consumption is at par office equipment upgrade of programs and policies. with the Standard Building Power • A Green Procurement Team was • The hospital will also continue to Density/m2/Annum formed to ensure that the replace appliances such as lights • The standard is at 400kWh/m2/annum purchases made were not just and computer monitors in phases based on ASEAN Energy Efficiency. energy efficient but also produced Philippine Heart Center recorded with minimal environmental 177.7132 kWh/m2/annum in 2014 impacts • This is less than half of the specified • Energy efficient criteria were standard considering development considered for procurement. made within the hospital กรณศี กึ ษา – การรักษา “ดัชนแี สดงหน่วยพลงั งาน (EUI)” ไปพรอ้ มกับการเตบิ โตของศูนยห์ ัวใจ ประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ ท�ำอย่างไร - ทำ� การเปลย่ี นแปลงอปุ กรณ์ ไดแ้ ก่ ไฟสอ่ งสวา่ ง เครอื่ งปรบั อากาศ (ACU) มอเตอร์ และอปุ กรณส์ ำ� นกั งานอน่ื ๆ - จดั ตง้ั ทมี จดั ซอ้ื จดั จา้ งทเ่ี ปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม เพอื่ ใหแ้ นใ่ จวา่ การจดั ซอ้ื ไมเ่ พยี งแตใ่ ชพ้ ลงั งานอยา่ งประหยดั แตย่ งั มีผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อมน้อยทีส่ ุด - คำ� นึงถึงเกณฑก์ ารประหยดั พลงั งาน ในการจดั ซือ้ จดั จ้าง ขั้นตอนต่อไป - ศนู ยห์ วั ใจแหง่ ฟลิ ปิ ปนิ สม์ เี ปา้ หมายทจี่ ะปรบั ปรงุ แผนการประหยดั พลงั งานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งผา่ นการพฒั นาแผน และนโยบายให้เป็นปัจจุบนั - โรงพยาบาลจะดำ� เนนิ การเปลยี่ นเคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ เช่น หลอดไฟและจอคอมพวิ เตอร์เป็นระยะตอ่ ไป

หลกั สูตรพฒั นาศกั ยภาพเจ้าหน้าทสี่ าธารณสุข 89 เพอ่ื รองรับระบบสุขภาพทยี่ ดื หยุ่นรองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Case study – Indonesia (Papua province) Climate Resilient & Environmentally Sustainable HCF • Typography: Pegunungan Bintang is one of the rural districts in Papua Province.Intense rainfall and floods can affect and threaten up to around 80,000 population. • From the flooding in 2019, one health care facility was damaged and supply of electricity was interrupted • Green Hospital is promoted since 2018 and the provision of solar panel is prioritized for primary healthcare centres in disaster prone area and with intermittent electricity • The facility uses solar panels for reliable energy access to provide essential medical services, including during extreme weather events • The procurement of products that were energy efficient was also adopted which helps lower energy environmental footprint. กรณีศกึ ษา - สถานบรกิ ารสาธารณสุขที่มสี ง่ิ แวดลอ้ มย่งั ยนื และยดื หยนุ่ พรอ้ มรับมือต่อการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ จังหวัดปาปวั ประเทศอินโดนเี ซีย - ลักษณะภูมิอากาศ: Pegunungan Bintang เป็นเขตชนบทแห่งหนึ่งในจังหวัด Papua มีฝนตกหนกั และ น�ำ้ ทว่ มขัง ที่สง่ ผลกระทบและคุกคามประชากรไดถ้ ึง 80,000 คน - จากเหตุการณอ์ ทุ กภยั ในปี พ.ศ. 2562 สถานพยาบาลแหง่ หน่ึงไดร้ บั ความเสียหายและไฟฟ้าหยดุ ชะงกั - มีการส่งเสริมให้เป็น โรงพยาบาลที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 ซึ่งได้รับความส�ำคัญ ในการตดิ ตั้งแผงโซลารเ์ ซลล์ ในศนู ยส์ ุขภาพปฐมภมู ิ ในพน้ื ท่เี ส่ียงภยั ตา่ งๆและไฟฟา้ ดบั - สถานบริการสาธารณสุขนี้ใช้แผงโซล่าเซลล์ เป็นแหล่งพลังงานเพื่อให้บริการทางการแพทย์ท่ีจ�ำเป็น รวมถึงในระหวา่ งเหตกุ ารณส์ ภาพอากาศที่รุนแรง - การจดั ซอื้ ผลิตภณั ฑท์ ปี่ ระหยัดพลังงานถกู น�ำมาใช้ เพ่อื ชว่ ยลดการใชพ้ ลงั งานทท่ี ำ� ลายสิง่ แวดล้อม

90 หลักสูตรพัฒนาศกั ยภาพเจ้าหนา้ ท่สี าธารณสขุ เพอ่ื รองรับระบบสขุ ภาพท่ยี ดื หยนุ่ รองรบั การเปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ Key Takeaways • Interrupted electricity in healthcare facilities affects patient and caregiver health and comfort besides affecting overall service delivery • Transition from fossil-fuel dependent energy grids to cleaner, renewable sources of energy has health and environmental co-benefits • Effective planning of energy utilization includes measures that ensure climate resilience and environmentally sustainable interventions • Contingency plans for efficient energy management during acute climate events must include capacity and awareness building of health workers at all levels • Inter-sectoral co-ordination with energy departments and city planners can ensure smooth energy supplies for healthcare during climate emergencies สรุปประเด็นส�ำคญั - ไฟฟ้าขัดข้องในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ นอกจากจะสง่ ผลต่อการให้บรกิ ารโดยรวมแลว้ ยังสง่ ผลกระทบ ต่อสุขภาพและความสะดวกของผู้ปว่ ยและผู้ดแู ลผู้ป่วย - การเปล่ียนจากโครงข่ายพลังงานท่ีพึ่งพาเช้ือเพลิงฟอสซิล ไปสู่แหล่งพลังงานหมุนเวียนท่ีสะอาดกว่า มปี ระโยชนท์ เ่ี อือ้ ตอ่ ทั้งสขุ ภาพและสง่ิ แวดล้อม - การวางแผนการใชพ้ ลงั งานอยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล ควรคำ� นงึ ถงึ มาตรการทช่ี ว่ ยสรา้ งความยดื หยนุ่ พรอ้ มรบั มอื ต่อการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและความยั่งยนื ดา้ นสงิ่ แวดล้อมดว้ ย - แผนฉุกเฉินเพ่ือการจัดการพลังงานอย่างประหยัด ในช่วงเหตุการณ์การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ เฉียบพลนั ตอ้ งรวมถงึ การสร้างขดี ความสามารถและจติ ส�ำนึกของผู้ปฏบิ ตั งิ านด้านสุขภาพทกุ ระดับ - การประสานงานระหว่างภาคส่วน ท้ังกับภาคพลังงานและนักวางผังเมือง สามารถช่วยให้แน่ใจได้ว่า มีการจดั หาพลงั งานที่ราบร่ืนส�ำหรบั สถานบริการสาธารณสขุ ในช่วงภาวะฉุกเฉนิ ดา้ นสภาพภมู ิอากาศ

กองประเมินผลกระทบตอ่ สุขภาพ กรมอนามยั 91 Module ระบบสาธารณปู โภค เทคโนโลยี และผลิตภัณฑท์ ใ่ี ชใ้ นสถานบรกิ ารสาธารณสุข

92 หลักสูตรพฒั นาศักยภาพเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุข เพ่อื รองรับระบบสขุ ภาพท่ียืดหยุ่นรองรับการเปลย่ี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ Module 6 ระบบสาธารณูปโภค เทคโนโลยี และผลติ ภัณฑ์ทีใ่ ชใ้ นสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ขอบเขตเนือ้ หา 1. รปู แบบการใช้พลงั งานในสถานบริการสาธารณสขุ 2. ผลกระทบของเหตุการณ์การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศเฉยี บพลนั ทีท่ ำ� ใหก้ ารบริการต้องหยดุ ชะงกั 3. มาตรการของสถานบริการสาธารณสุขส�ำหรับการจัดการพลังงานที่มีความย่ังยืนด้านส่ิงแวดล้อมและ ยดื หยนุ่ พร้อมรบั มือต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ 4. วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของการดำ� เนนิ งานทปี่ ระสบความสำ� เรจ็ ประกอบดว้ ย การประเมนิ และตดิ ตามเฝา้ ระวงั การจัดการความเส่ยี ง และการปฏิบตั ิตามขอ้ ก�ำหนดด้านสาธารณสุขและความปลอดภัย 5. ตัวอยา่ งมาตรการเฉพาะด้านพลังงาน ระยะเวลา 45 นาที กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. เรยี นร้ผู ่านการบรรยาย 2. แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ระหว่างผสู้ อนและผูเ้ รียน เนอื้ หา ระบบสาธารณูปโภค เทคโนโลยี และผลติ ภัณฑ์ที่ใช้ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ Climate Resilient & Environmentally Sustainable Healthcare facilities Infrastructure, technology and product interventions in healthcare facilities


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook