1 รจู้ กั กับกระทรวงมหาดไทย (มท.) วสิ ัยทัศนก์ ระทรวงมหาดไทย : เปน็ กระทรวงหลักในการบริหารจัดการและบรู ณาการ ทกุ ภาคสว่ น เพื่อบาบัดทุกข์ บารุงสขุ ประชาชน รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงมหาดไทย : พลเอกอนุพงษ์ เผา่ จินดา เว็บไซต์ : www.moi.go.th กระทรวงมหาดไทยมีอานาจและหนา้ ท่เี ก่ียวกับการบาบัดทุกข์ บารงุ สุข การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การอานวยความเป็นธรรมของสงั คม การส่งเสริมและพัฒนาการเมือง การปกครอง การพฒั นาการบริหารราชการส่วน ภมู ิภาค การปกครองท้องท่ี การส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ินและการพัฒนาชมุ ชน การทะเบียนราษฎร ความมนั่ คงภายใน กิจการสาธารณภัย และการพฒั นาเมือง และราชการอนื่ ตามท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าทขี่ องกระทรวงมหาดไทย หรอื สว่ นราชการที่สังกัดกระทรวงมหาดไทย กระทรวงมหาดไทย แบง่ การบรหิ ารเป็น 8 ส่วน E กรมทดี่ ิน A สานักงานรฐั มนตรี F กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั B สานกั งานปลัดกระทรวงมหาดไทย G กรมโยธาธิการและผังเมือง C กรมการปกครอง H กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่นิ *** D กรมการพฒั นาชุมชน ใหเ้ ราโฟกัสไปที่ H คือ กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น นั่นคือ อปท เกีย่ วข้องและจะดูรายละเอียดต่างๆในส่วนนี้ เงินเดอื นของขา้ ราชการสว่ น อปท จะมาจากงบกรมนเ้ี อง
2 หนว่ ยงานรัฐวสิ าหกจิ กระทรวงมหาดไทย 3. การประปานครหลวง 1. การไฟฟ้านครหลวง 2. การไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าค 4. การประปาสว่ นภมู ิภาค 5. องคก์ ารตลาด ทาความเข้าใจกับคาศัพท์ คาย่อ มท : กระทรวงมหาดไทย สถ : กรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถิน่ สถ.จ. : สานักงานสง่ เสริมการปกครองท้องถนิ่ จังหวัด กสถ. คณะกรรมการกลางการสอบแขง่ ขันพนกั งานส่วนทอ้ งถิ่น (เกยี่ วกับการสอบภาพรวมทัง้ ประเทศ) กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถน่ิ กระทรวงมหาดไทย (สถ.) อธิบดีกรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิน่ : นายประยรู รัตนเสนีย์ เว็บไซต์กรมฯ www.dla.go.th กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) มภี ารกจิ เกยี่ วกบั การสง่ เสรมิ และสนบั สนุนองคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น (อปท) โดยพัฒนาและให้คาปรึกษา แนะนาองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในดา้ นการจดั ทาแผนพัฒนาทอ้ งถิ่น การบรหิ ารงานบุคคล การเงิน การคลังและการบรหิ ารจดั การเพือ่ ให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ มคี วามเขม้ แขง็ และมีศกั ยภาพในการใหบ้ ริการสาธารณะ เพ่ือทาความเข้าใจกบั ผอู้ า่ นวา่ การบริหารสว่ นกลางก็หมายถงึ การทางานที่รบั ผดิ ชอบโดยรวมทงั้ ประเทศของงานซงึ่ เก่ียวข้อง ในส่วนต่างๆของกรมดังกล่าวนี้ นั่นเอง (ภาพรวมของประเทศ)
3 การแบ่งส่วนราชการกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่นิ (ราชกจิ จานุเบกษา 18 มกราคม 2559) (๑) สานักงานเลขานุการกรม (๒) กองการเจ้าหน้าท่ี (๓) กองคลงั (๔) กองกฎหมายและระเบียบท้องถิน่ (๕) กองตรวจสอบระบบการเงินบญั ชีท้องถนิ่ (๖) กองพัฒนาและสง่ เสรมิ การบริหารงานทอ้ งถ่นิ (๗) กองยุทธศาสตร์และแผนงาน (๘) กองสง่ เสรมิ และพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถนิ่ (๙) ศูนยเ์ ทคโนโลยสี ารสนเทศทอ้ งถ่นิ (๑๐) สถาบนั พฒั นาบคุ ลากรทอ้ งถน่ิ (๑๑) สานกั บรหิ ารการคลงั ท้องถ่ิน (๑๒) สานักพฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลสว่ นท้องถ่นิ สานกั งานส่งเสริมการปกครองท้องถน่ิ จังหวัด (เปน็ ส่วนงานท่ีกระจายไปดาเนินการในแต่ละจงั หวัด) สว่ นนี้เอง ซ่ึงเปน็ หนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบงานสง่ เสริมสนบั สนุนองค์การปกครองสว่ นท้องถ่ิน ในแต่ละจังหวดั โดยยอ่ วา่ สถ.จ. เชน่ สถ.จ. พษิ ณโุ ลก ก็หมายถงึ สานักงานส่งเสริมการปกครอง ทอ้ งถน่ิ จังหวดั พษิ ณโุ ลก สานกั งานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวดั มอี านาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) ดาเนินการเก่ียวกับอานาจหน้าท่ีของกรมในเขตพ้ืนทจ่ี ังหวัด (๒) อานวยการประสาน ปฏิบตั ิงาน ส่งเสริม และสนับสนุนงานอันเปน็ อานาจหน้าท่ขี อง ผวู้ า่ ราชการจังหวดั และนายอาเภอด้านการกากับดูแลองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ (๓) ปฏิบัติงานรว่ มกับหรือสนบั สนุนการปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอนื่ ทเี่ กย่ี วขอ้ งหรือทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
4 บคุ คลระดบั สาคญั ฝ่ายบรหิ ารระดับสงู ที่ควรรจู้ ัก กระทรวงมหาดไทย พลเอกอนุพงษ์ เผา่ จินดา รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย นายนพิ นธ์ บุญญามณี นายทรงศักด์ิ ทองศรี รัฐมนตรชี ว่ ยวา่ การฯ รฐั มนตรชี ว่ ยว่าการฯ นายฉัตรชัย พรหมเลิศ ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถนิ่ Department of Local Administration ABCDE FGH ก รมสง่ เสริม ให้เราโฟกสั ไปที่ H คอื กรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถ่นิ น่ันคือ อปท เกี่ยวข้องและจะดรู ายละเอียดตา่ งๆในสว่ นนี้ การ เงนิ เดือนของขา้ ราชการสว่ น อปท จะมาจากงบกรมน้เี อง ท่านอธิบดีของกรมอน่ื ๆ A – G อาจไม่จาเป็นต้องรจู้ กั กไ็ ด้ ปกครอง ท้องถิ่น D epartme nt of นายประยูร รัตนเสนยี ์ Local Administ อธิบดีกรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถิ่น ration - นายประยรู รตั นเสนยี ์ รับตาแน่งอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถน่ิ 1 ตุลาคม 2562 – ปัจจุบนั ร - กระทรวงมหาดไทยก่อนนมี้ ีรฐั มนตรีชว่ ยฯ คนเดียว มีมาช่วงรัฐบาลพลเอกประยุทธใ์ หม่น้ีทม่ี ี 2 คน ม ส่ ง เ ส ริ ม
5 องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ (อปท) องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน (อปท.) คือหนว่ ยงานของรฐั ที่ดาเนินงานเป็นอิสระจากสว่ นกลาง มีสถานะเป็นนติ บิ ุคคล ทาหนา้ ท่บี ริหารจัดการกิจการต่างๆในทอ้ งถ่นิ ของตน โดยรัฐเองกห็ วงั ใหม้ ี การกระจายอานาจลงมาสู่ระดบั ท้องถน่ิ ชว่ ยให้ประชาชนมสี ่วนร่วมในการใชอ้ านาจรัฐดูแลตนเอง มากข้นึ แนวคิดการกระจายอานาจสทู่ อ้ งถิ่นน้ันเชอื่ ว่าจะมกี ารพัฒนาไดด้ ี การบริหารท้องถ่นิ ต่างๆ จะสามารถขบั เคลื่อนงานไดส้ อดคล้องกับพนื้ ที่ซึง่ ตนเองดาเนินการอยู่ การเบิกจา่ ยงบประมาณ ตา่ งๆก็คงตรงตามความต้องการของประชาชนในแต่ละพ้ืนทก่ี ่อให้เกดิ ประสทิ ธิภาพมากขึ้น งบประมาณท้องถิน่ ท่รี ฐั บาลส่วนกลางจัดสรรให้ อปท. จะขน้ึ อยกู่ บั จานวน ประชากรในทอ้ งถิ่น โดยจดุ เร่ิมต้นสาคญั ของการปฏิรปู อปท. เกิดขึน้ ในปี พ.ศ. 2542 ได้มกี ารประกาศพระราช บัญญตั ิกาหนดแผนและขน้ั ตอนการ กระจายอานาจใหแ้ ก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ อย่างชดั เจนเปน็ ฉบับแรก ของประเทศไทย ทาให้กระบวนการกระจายอานาจมกี ารปฏิรูปอย่างเป็น ระบบทงั้ สง่ ผลใหม้ ีการจดั สรรภาษีและโอนภารกจิ ตา่ งๆจากรฐั บาลให้ อปท. “องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ” หรือ อปท. ได้แก่ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล (อบต.) เทศบาล และองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวัด (อบจ.) มีสมาชกิ สภาและนายกสภาท่มี าจากการ เลอื กตง้ั โดยตรงจากประชาชน ซึง่ มกี ารปกครองส่วนท้องถน่ิ ในรปู แบบพเิ ศษ 2 แห่ง ไดแ้ ก่ 1. กรงุ เทพมหานคร 2. เมอื งพัทยา รปู แบบพิเศษมกี ารบริหารจดั การไม่เหมอื นกับรปู แบบทวั่ ไปจะมีข้นึ เป็นกรณๆี ไปใน ประเทศอนื่ ๆสว่ นใหญจ่ ะเป็นเขตเมืองใหญ่อยา่ งเมืองหลวงหรือเมืองท่องเทีย่ วซ่ึงไมเ่ หมาะสม ท่จี ะใช้รปู แบบทัว่ ไปมาใช้ในการปกครอง โดยประเทศไทยมกี รงุ เทพมหานครและเมอื งพัทยา
6 สำหรบั ข้ำรำชกำร อปท จะทำงำนในสว่ น เทศบำล อบจ หรือ อบต โดยมีผบู้ งั คับบัญชำ เช่น นำยกเทศมนตรี ในกำกบั ของผูว้ ่ำรำชกำรจงั หวดั (มีผูว้ ำ่ ฯคอยคุมอย่อู กี ทีประมำณนัน้ ) ขำ้ รำชกำรจะไดร้ บั เงินเดือนต่ำงๆจำกงบของกรมส่งเสริมกำรปกครองทอ้ งถนิ่ (สถ.) ซ่ึงอยู่ ในสงั กัดกระทรวงมหำดไทย แต่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ไม่ไดส้ งั กดั กระทรวงมหำดไทย คอื ไม่มี สงั กัด / ใหเ้ ปน็ อิสระจำกสว่ นกลำง เพียงแต่กรมส่งเสรมิ กำรปกครองท้องถ่ิน (กระทรวงมหำดไทย) เป็นฝ่ำยท่ีช่วยสนับสนนุ ส่งเสริมชว่ ยเหลอื องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ นน่ั เอง องค์กรปกครองท้องถน่ิ โดยทว่ั ไป แบ่งโครงสรา้ งการบริหารจดั การออกเปน็ 2 ส่วน คือ 1. สภาท้องถ่นิ มีบทบาทอานาจหนา้ ทใี่ นการ ตราข้อกาหนดของท้องถิ่น ซึ่งจะเปน็ กฎหมายท่มี ีผลบงั คบั ใช้ ในระดบั ท้องถิน่ นัน้ ท้งั ในเรอ่ื งทีเ่ กยี่ วกับการงบประมาณประจาปีที่ ฝ่ายบรหิ ารเสนอ และเร่อื งอน่ื ๆ ใหช้ ุมชนในท้องถ่นิ นัน้ ได้ยดึ ถอื ปฏบิ ัติ หรือเปน็ กติกาของสงั คม สภาทอ้ งถิน่ ยังมบี ทบาทในการตรวจสอบการบรหิ ารจัดการ ของคณะกรรมการบริหาร องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน โดยการพจิ ารณาอนมุ ตั งิ บประมาณตา่ งๆใหเ้ หมาะสมนาไปใช้ 2. ฝา่ ยบรหิ ารองคก์ ารบรหิ ารส่วนท้องถิ่น นาโดยผูบ้ งั คับบญั ชาของ อปท นั้นๆ มี อานาจหน้าทใี่ นการบรหิ ารจัดการ กจิ การตา่ งๆ ท่ีเปน็ อานาจหนา้ ทขี่ ององคก์ รปกครองสว่ น ทอ้ งถ่ิน และดาเนนิ การให้เกิดการบงั คับใชต้ ามกฎหมายท้องถ่นิ ทสี่ ภาทอ้ งถ่ินไดต้ ราข้ึนเพื่อ ประโยชนข์ องประชาชนในท้องถิน่ น้ันๆ ผ้บู ังคบั บัญชา กาหนดนโยบายและรับผดิ ชอบการบริหารงานขององค์การบริหารสว่ น ท้องถิ่น องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวัด ไดแ้ ก่ นายกองค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั เทศบาลนคร ไดแ้ ก่ นายกเทศมนตรเี ทศบาลนคร เทศบาลเมอื ง ไดแ้ ก่ นายกเทศมนตรเี ทศบาลเมอื ง เทศบาลตาบล ได้แก่ นายกเทศมนตรีเทศบาลตาบล องคก์ ารบริหารส่วนตาบล ได้แก่ นายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบล เมอื งพัทยา ได้แก่ นายกเมอื งพัทยา กรุงเทพมหานคร ได้แก่ ผวู้ า่ ราชการกรุงเทพมหานคร
7 เทคนิคการทาความเขา้ ใจ องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวัด ข้อมูลของแต่ละ อปท คอื สภา อบจ นายก อบจ ให้แยกสว่ นตามผงั ตัวอยา่ ง ใหด้ เู ป็นตัวอยา่ งของ อบจ ข้อมลู จานวนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน ๗๖ แห่ง ๑. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวัด ๒,๔๗๒ แหง่ ๒. เทศบาล ๓๐ แห่ง เทศบาลนคร ๑๙๕ แหง่ เทศบาลเมือง ๒,๒๔๗ แหง่ เทศบาลตาบล ๕,๓๐๐ แหง่ ๓. องคก์ ารบริหารส่วนตาบล ๔. องคก์ รปกครองท้องถนิ่ รูปแบบพเิ ศษ ๒ แห่ง (กรงุ เทพมหานครและเมืองพัทยา) รวมทัง้ สนิ้ ๗,๘๕๐ แหง่ หมายเหตุ ระวังให้ดี ข้อมูล อบต ปีต่างๆมีก่ีแหง่ จะเปลย่ี นแทบทกุ ปี ควรตดิ ตาม อัพเดตขอ้ มูลเป็นระยะๆ ขอ้ มลู ท่แี สดงหน้าน้ี คือ ณ เดอื นกุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ดังนนั้ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ จึงบรหิ ารงานดว้ ยตัวเองในลกั ษณะนิติบุคคล ปลายปมี โี บนัสสาหรับขา้ ราชการ พนกั งานด้วย (แล้วแต่การบริหารของ อปท นนั้ ๆ) แตก่ ็ถือเปน็ ราชการ ใครบรรจใุ นตาแหนง่ ขา้ ราชชการได้ กถ็ อื เป็นข้าราชการเพราะเขา มชี ่อื ว่า “ราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ ” เพยี งแตว่ า่ อปท หรือส่วนนี้จะได้รับการสนบั สนุนหรือ เกีย่ วขอ้ งกับกรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถิ่นจากสังกัดของกระทรวงมหาดไทยนนั่ เอง
8 ตัวอย่างแนวข้อสอบ อปท ที่เคยออกจริง 1. หนว่ ยงานทม่ี ีตัวอกั ษรยอ่ มท. ทาหนา้ ท่หี ลักดา้ นใด ก. ดูแลกิจการปกป้องประเทศให้สงบสขุ ปอ้ งกนั การรกุ รานจากศตั รู ข. บาบัดทุกข์ บารงุ สุข การรกั ษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน ค. ให้บรกิ ารสาธารณะเก่ียวกับการแพทย์ การศกึ ษา และการคมนาคม ง. บริหารราชการแผน่ ดนิ ดแู ลการเงนิ การคลัง งบประมาณบริหารประเทศ 2. บคุ คลใดดารงตาแหน่งรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย ก. พลเอกประวติ ร วงษส์ วุ รรณ ข. พลเรอื เอกณรงค์ พพิ ฒั นาศยั ค. พลเอกดาว์พงษ์ รตั นสุวรรณ ง. พลเอกอนพุ งษ์ เผา่ จินดา 3. เว็บไซต์ของกระทรวงมหาดไทย คอื ข. www.moi.go.th ก. www.obec.go.th ง. www.ptt.go.th ค. www.thaigov.go.th 4. ขอ้ ใดไมใ่ ช่หนว่ ยงานรฐั วสิ าหกจิ ในกระทรวงมหาดไทย ก. การไฟฟา้ ส่วนภูมิภาค ข. การประปานครหลวง ค. องค์การการค้า ง. องค์การตลาด 5. ข้อใดคอื หนว่ ยงานทีท่ าหน้าทีส่ นับสนนุ ส่งเสรมิ งานขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ก. กรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่นิ ข. สานกั บริหารการคลังทอ้ งถน่ิ ค. สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถ่นิ ง. กองพัฒนาการบริหารงานทอ้ งถน่ิ 6. สถ ยอ่ มาจากอะไร ข. กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ ก. องคก์ รปกครองท้องถน่ิ ง. กรมส่งเสรมิ การปกครองสว่ นท้องถ่นิ ค. องค์การปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
7. อปท ย่อมาจากข้อใด 9 ก. องค์กรสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิ่น ค. องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ข. องค์กรปกครองท้องถิ่น ง. องคก์ ารปกครองส่วนท้องถ่นิ 8. อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองทอ้ งถน่ิ ปจั จบุ นั คอื ใคร ก. นายจรนิ ทร์ จกั กะพาก ข. นายสุทธพิ งษ์ จุลเจริญ ค. นายชัยวัฒน์ ช่ืนโกสมุ ง. นายประยรู รัตนเสนีย์ 9. ข้อใดเปน็ ส่วนราชการภายใน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ก. สถ.จ ข. อบจ ค. อบต ง. กทม 10. ข้อใดกล่าวถูกตอ้ งเก่ียวกบั องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น ก. บรหิ ารและสรรหางบประมาณด้วยตนเอง ข. เป็นราชการสว่ นภูมิภาค ค. บริหารเปน็ อสิ ระไม่ข้ึนตรงต่อสว่ นกลาง ง. ถูกทกุ ข้อ 11. ขอ้ ใดหมายถงึ อปท ท่มี รี ปู แบบการปกครองพิเศษ ในประเทศไทย ก. กรุงเทพมหานคร ข. เมืองพทั ยา ค. เทศบาลนครรังสิต ง. ทง้ั ก และ ข 12. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ก. สถ.จ ข. อบต ค. อบจ ง. เทศบาล 13. องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ในประเทศไทย มกี ่ีแหง่ ก. 75 แห่ง ข. 76 แห่ง ค. 77 แหง่ ง. 78 แหง่ 14. องคก์ ารบริหารสว่ นจังหวดั มีผูบ้ งั คับบญั ชาเป็นผ้กู าหนดนโยบายและส่ังปฏบิ ัตริ าชการคอื ขอ้ ใด ก. ผูว้ ่าราชการจงั หวดั ข. นายกเทศมนตรจี ังหวัด ค. นายกองค์การบริหารสว่ นจังหวดั ง. ปลดั จังหวัด
10 15. ผูใ้ ดมีหน้าที่ตรากฎหมายหรือบทบัญญัติของทอ้ งถน่ิ ใหบ้ งั คับใช้ในราชการส่วนทอ้ งถ่ินน้ันๆ ก. นายกองคก์ ารบริหารทอ้ งถนิ่ น้ันๆ ข. สภาองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ นัน้ ๆ ค. คณะกรรมการกฎหมายของท้องถ่นิ น้นั ๆ ง. ผู้วา่ ราชการจังหวดั ทก่ี ากับดแู ลทอ้ งถน่ิ 16. ข้อใดต่อไปนีไ้ มใ่ ชเ่ ทศบาล ในราชการสว่ นท้องถน่ิ ของประเทศไทย ก. เทศบาลนคร ข. เทศบาลเมอื ง ค. เทศบาลตาบล ง. เทศบาลสขุ าภิบาล 17. องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินใด มจี านวนมากทส่ี ดุ ในประเทศไทย ก. เทศบาล ข. องค์การบริหารส่วนจงั หวดั ค. องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ รูปแบบพเิ ศษ ง. องค์การบรหิ ารส่วนตาบล 18. องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ เกี่ยวขอ้ งกบั กรมใดในปัจจบุ ัน ก. กรมการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ข. กรมส่งเสรมิ การปกครองทอ้ งถ่ิน ค. กรมพฒั นาสังคม ง. กรมการบริหารงานสว่ นทอ้ งถิ่น 19. ขอ้ ใดไมใ่ ชผ่ ูบ้ รหิ ารองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน ก. ผ้วู า่ ราชการจังหวดั ชลบุรี ข. นายกเมอื งพทั ยา ค. นายกเทศมนตรีเทศบาลนครรังสติ ง. ผู้วา่ ราชการกรุงเทพมหานคร 20. เทศบาลมีก่ปี ระเภท ข. 2 ประเภท ก. 1 ประเภท ง. 4 ประเภท ค. 3 ประเภท เฉลย 1. ข 2. ง 3. ข 4. ค 5. ก 6. ข 7. ค 8. ง 9. ก 10. ค 11. ง 12. ก 13. ข 14. ค 15. ข 16. ง 17. ง 18. ข 19. ก 20. ค
11 ระเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ประกาศในราชกิจจา นเุ บกษา วันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2534 และมีการแก้ไขเพิ่มเติมถงึ ปัจจุบัน ฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2553 ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา วันท่ี 7 ธนั วาคม พ.ศ. 2553 ใหน้ ายกรัฐมนตรี รักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ นายอานนั ท์ ปนั ยารชนุ (รับสนองพระบรมราชโองการ ฉบับแรก ) นายอภิสิทธิ์ เวชชาชวี ะ (รบั สนองพระบรมราชโองการ ฉบับท่ี 8 ) การบริหารราชการตามพระราชบญั ญตั ินีต้ อ้ งเป็นไปเพ่อื ประโยชนส์ ขุ ของประชาชน เกิด ผลสมั ฤทธ์ติ ่อภารกิจของรฐั ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชงิ ภารกจิ แหง่ รัฐ การลดขน้ั ตอน การปฏิบัตงิ าน การลดภารกจิ และยุบเลิกหนว่ ยงานทีไ่ ม่จาเปน็ การกระจายภารกจิ และทรัพยากร ให้แกท่ อ้ งถิ่น การกระจายอานาจตัดสนิ ใจ การอานวย ความสะดวกและตอบสนองความต้องการ ของประชาชนทงั้ นโ้ี ดยมีผ้รู บั ผดิ ชอบตอ่ ผลของงาน ระเบียบบรหิ ารราชการแผ่นดนิ มี 3 ลกั ษณะ 1.ระเบยี บบริหารราชการ 2.ระเบียบบริหารราชการ 3.ระเบียบบริหารราชการ ส่วนกลาง ส่วนภมู ิภาค ส่วนท้องถ่นิ 1. สานักนายกรัฐมนตรี 1. จงั หวัด 1. องค์การบริหารส่วนจงั หวดั 2. กระทรวง หรือ ทบวงท่มี ี 2. อาเภอ 2. เทศบาล ฐานะเทยี บเท่ากระทรวง 3. สขุ าภบิ าล 3. ทบวงซ่ึงสังกดั สานกั 4. ส่วนราชการอ่ืนตามท่ี นายกรัฐมนตรี หรือ กฎหมายกาหนด เชน่ กระทรวง - กทม. 4. กรม หรือ ส่วนราชการ - เมอื งพทั ยา อืน่ ทม่ี ีฐานะเปน็ กรม - อบต
12 วา่ ดว้ ยเรือ่ งพระราชบญั ญัติยกเลิกสขุ าภิบาลในปี พ.ศ.2542 ชอื อยา่ งเปน็ ทางการคือ “พระราชบญั ญตั เิ ปล่ยี นแปลงฐานะของสขุ าภบิ าลเป็นเทศบาล พ.ศ.2542” ในปี 2542 ยุคท่านชวน หลีกภยั เปน็ นายกรฐั มนตรี ไดม้ ีการจริงจงั เรอื่ ง อปท อยา่ งมากเปน็ คร้งั แรกของประเทศไทย (แต่ถา้ เรานับคอื ก็ 20 กวา่ ปแี ล้ว ใช่ป่ะ) ถา้ นึก ถงึ ว่าตอนน้ันซงึ่ ผู้เขียนกาลังเรียนระดับมหาวิทยาลัยอยู่ ตอ้ งถอื เปน็ เรือ่ งใหญ่ในแวดวง ของท้องถิ่น มตี ราพระราชบัญญัติการกระจายอานาจให้ทอ้ งถ่นิ และมีการยกระดบั ของ สุขาภบิ าล เปน็ เทศบาลหมดเลย ไมม่ แี ล้ว ตัง้ แต่นั้นเปน็ ตน้ มา ด้วย พ.ร.บ. ดังกลา่ วนี้ สรปุ สขุ าภิบาล ถูกเลิกไป (จริงๆใชค้ าว่าเปล่ียนแปลงฐานะเปน็ เทศบาล) ไม่มแี ล้ว แต่วา่ ในทางกฎหมายน้นั พระราชบญั ญัติระเบยี บบริหารราชการแผน่ ดิน ไมไ่ ด้ประกาศให้ มีการยกเลิก หรือตดั สุขาภิบาลออกไปนะ นึกออกไหม ยงั มีข้อความ คือ มาตรา ๗๐ ให้จัดระเบยี บบริหารราชการสวนท้องถิ่นดังนี้ (๑) องค์การบริหารสวนจังหวัด (๒) เทศบาล (๓) สุขาภบิ าล (๔) ราชการส่วนท้องถนิ่ อนื่ ตามทมี่ ีกฎหมายกาหนด ซ่ึงพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผน่ ดนิ ฯ ยงั ไม่ได้ประกาศยกเลิก ตราอีกฉบบั ในปอี น่ื ๆ ก็ไม่ยกเลิก ตราฉบับที่ 8 พ.ศ.2553 ก็ไมไ่ ดย้ กเลิก จงึ ตามน้ี แตว่ า่ การสอบพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารฯ ตัวนี้ มสี อบราชการหลายสงั กัด ซึง่ เราได้ พบข้อสอบจริงตา่ งๆนานา แลว้ แตป่ ตี อ่ ปี จึงอยากให้ความรู้และลองสังเกต ดงั ต่อไปนี้
13 ข้อสอบท้องถิ่น ออกจรงิ เคยถามว่า ข้อนตี้ ้องตอบ ง. ไม่ใช่ ขอ้ ใดไมใ่ ชอ่ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เราจงึ สงั เกตไดว้ า่ แสดงวา่ ก. องค์การบริหารส่วนจงั หวัด ผอู้ อกสอบ ยงั นับและถอื วา่ ข. เทศบาล สขุ าภิบาล เปน็ อปท นัน่ เอง ค. สุขาภบิ าล ง. อาเภอ ขอ้ สอบทส่ี อบพนักงานราชการ ถามว่า ขอ้ ใดเปน็ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เฉลย ค. สุขาภบิ าล เป็น อปท แสดงวา่ ผู้ออกสอบยงั นบั สขุ าภิบาล ก. จังหวัด ข. อาเภอ เปน็ อปท อยู่ ตามกฎหมายนั่นเอง ค. สุขาภิบาล ง. ตาบล แตข่ อ้ สอบ กศน มที ่ถี ามว่า อันน้ีแหล่ะ มดี ราม่านิดๆเพราะ ข้อใดไม่ใช่ราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ บางคนตอบวา่ ค. ไม่ใช่ (เพราะว่า ก. องค์การบริหารส่วนจงั หวดั ไม่มแี ล้ว) จึงคดิ วา่ นา่ จะตอบ ค นะ ข. เทศบาล เสียดาย ขอ้ น้ี ไมไดม้ ีการเฉลยจาก ค. สุขาภิบาล ผจู้ ดั สอบจริงๆ เลยไม่รู้วา่ ตอบอะไร ง. กรงุ เทพมหานคร แตค่ ิดว่าน่าจะตอบ ค นั่นเองแหล่ะ ดงั นัน้ ผเู้ ขียนให้ข้อมูลเรื่องสุขาภิบาล ทีป่ รากฏอยู่ในมาตรา 70 และมีพบเจอ ประเดน็ ขอ้ สอบจริงตามนน้ั (แต่วา่ สุขาภิบาลเขาไมมแี ล้ว ตรา พ.ร.บ. เปลี่ยนแปลง ไปหมดแล้ว ดังไดอ้ ธิบายไป) ฝากให้ดเู จตนาของคนออกสอบดว้ ย ประเมินวา่ เขานน้ั คดิ ประมาณไหน อยากใหต้ อบแบบใด ปกติ ขอ้ สอบของทอ้ งถน่ิ จะออกแบบสองขอ้ บน คือว่ายงั นับสขุ าภิบาลอยู่ในรายการขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นอยู่เป็นปกตนิ ่นั เอง
14 แตถ่ า้ สมมติ วนั ดี คืนดี เกิดไปเจอข้อสอบจรงิ ประมาณน้ี ถามว่า ขอ้ ใดไมใ่ ช่องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ แล้วช้อยส์มนั มีดงั ตอ่ ไปนี้ ก. องค์การบริหารส่วนจงั หวัด ข. เทศบาล ค. องค์การบริการส่วนตาบล ง. สขุ าภบิ าล เจอแบบนี้ ผอู้ า่ นควรจะประเมินได้วา่ ผ้อู อกสอบคงจงใจใหเ้ รา ตอบ ง. นัน่ แหล่ะ ทไี่ มใ่ ช่ (ต้องสังเกตลักษณะข้อสอบด้วยเนาะ) แตถ่ า้ สมมติ ไปเจอขอ้ สอบว่า ข้อใดไมใ่ ช่องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ก. อบจ อบต ข. สุขาภบิ าล ค. กทม และ เมืองพัทยา ง. จงั หวดั และอาเภอ แบบน้ี เราก็ควรจะรู้วา่ ผ้อู อกสอบท่านน้ี ยงั นับ สขุ าภิบาลอยใู่ น สารบบของ อปท อยนู่ น่ี า (ท้งั ที่มนั ไม่มแี ล้ว ยกเลิกไปแลว้ นั่นเอง) ตอบ ง. จังหวดั และอาเภอ ไมใ่ ช่ เพราะเปน็ ราชการส่วนภมู ภิ าค ดงั น้นั ผู้อา่ นจาเป็นต้องใช้สตพิ จิ ารณาข้อมูลให้ดี เพราะสขุ าภิบาล ไม่มแี ล้วตอนน้ี แต่ยังปรากฏอยใู่ นมาตรา 70 ของพระราชบญั ญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดนิ อยา่ งไรก็ดี ผูเ้ ขียนก็ขอภาวนาอยากให้ผู้อ่านไปเจอข้อสอบจริงงา่ ยๆ ไมต่ ้องดรามา่ เชน่ ถามว่าข้อใดไมใ่ ช่องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน ก. อบจ ข. อบต ค. อาเภอ ง. เทศบาล แบบน้ีเปน็ ตน้ จะไดต้ อบแบบงา่ ยๆ ไม่ดราม่า ไมล่ ังเล คือ ค. ไม่ใช่ อปท นัน่ เอง
15 แนวทางการจัดการอานาจ ราชการสว่ นกลาง = ใช้วิธรี วมอานาจ ราชการสว่ นภูมภิ าค = ใช้วธิ ีแบง่ อานาจ ราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ = ใชว้ ธิ กี ระจายอานาจ ขอ้ สอบถามอย่างงา่ ย แตท่ ่ีตอบไม่ได้ เน่อื งจากยังไมม่ ีฐานความรูจ้ ริง เชน่ ขอ้ ใดกลา่ วถกู ต้องเกย่ี วกบั การจดั การอานาจของราชการส่วนกลาง ก. เป็นการรวมอานาจ ข. เป็นการแบ่งอานาจ ค. เป็นการกระจายอานาจ ง. ถกู ทุกขอ้ ข้อสอบขอ้ นี้ “อยา่ งง่าย” ไมต่ อ้ งคิดเยอะเลย ตอบวา่ “รวมอานาจ” อานาจอยทู่ ศ่ี นู ยก์ ลาง หลายคนไมเ่ ข้าใจกเ็ ดาเอา สว่ นใหญน่ ึกไม่ออก ก็ไปเดาเอา ขอ้ ง. กผ็ ดิ ไปเลย เสยี ไป 1 คะแนน ฐานความรู้ ยังไมด่ ีพอ การบรหิ ารกระทรวง เป็นการบรหิ ารลกั ษณะใด ก. รวมอานาจ ข. แบง่ อานาจ ค. กระจายอานาจ ง. ถกู ทกุ ขอ้ ตอบ ก. รวมอานาจ เพราะกระทรวงฯ คือ ราชการส่วนกลาง = รวมอานาจ การบรหิ ารอานาจใดทตี่ อ้ งใชว้ ิธกี าร “แบ่งอานาจ” ก. สานกั นายกรัฐมนตรี ข. กระทรวง / ทบวง / กรม ค. จังหวัดและอาเภอ ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ตอบ ค. จังหวัดและอาเภอ เป็น ราชการส่วนภูมภิ าค = การแบง่ อานาจ ข้อใดกล่าวถูกต้องเกยี่ วกับราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ ก. รวมอานาจ ข. แบ่งอานาจ เฉลย กระจายอานาจ ค. กระจายอานาจ ง. ใหอ้ านาจ
16 จัดระเบยี บบริหารราชการส่วนกลาง ดงั นี้ (๑) สานักนายกรัฐมนตรี (สานกั นายกรฐั มนตรีมีฐานะเปน็ กระทรวง) (๒) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมฐี านะเทียบเท่ากระทรวง (๓) ทบวง ซง่ึ สงั กัดสานกั นายกรัฐมนตรหี รอื กระทรวง (๔) กรม หรือสว่ นราชการทีเ่ รียกช่ืออยา่ งอ่ืนและมีฐานะเป็นกรม ซ่ึงสงั กัดหรือไม่สงั กัดสานกั นายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง ส่วนราชการทั้ง 4 ข้อท่ีกล่าวมานัน้ มีฐานะเป็นนติ ิบุคคล 1. สานักนายกรัฐมนตรี 2. กระทรวง 2. ทบวง 3. ทบวง 4. กรม 3. ทบวง 4. กรม 4. กรม 4. กรม ข้อสังเกต ทบวง มีสองแบบ แบบแรก ทบวงทอ่ี ยู่ในระดบั กระทรวง --- ขอ้ 2 แบบทส่ี อง คือ ทบวงทีอ่ ยู่ในสังกดั (สังกัดสานกั นายกฯ และสงั กดั กระทรวง) --- ข้อ 3 สว่ นกรม กม็ ี กรมสงั กัด (สังกัดสานักนายกฯ และสังกดั กระทรวง) กับ กรมท่ไี มไ่ ดส้ ังกัด การจัดตงั้ การรวม หรอื การโอนส่วนราชการทง้ั ส่ีขอ้ น้ันใหต้ ราเปน็ พระราชบญั ญัติ การรวมหรือการโอนส่วนราชการดงั กล่าวถา้ ไม่มกี ารกาหนดตาแหนง่ หรอื อัตราของข้าราชการหรือ ลกู จ้างเพ่มิ ข้ึนให้ตราเป็นพระราชกฤษฎกี า (กลา่ วคือถ้ารวมหรอื โอนสว่ นราชการแล้วไม่ตอ้ งมกี าร จา้ งข้าราชการเพิม่ ขนึ้ แค่รวมหรอื โอนสว่ นของหน่วยงาน สว่ นราชการ ไม่มีการเพมิ่ คนทางาน) สานักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือนและสานักงบประมาณ มหี นา้ ทีต่ รวจสอบดแู ลมใิ ห้ มีการกาหนดตาแหนง่ หรืออตั ราของข้าราชการลูกจ้างเพิ่มขน้ึ (จากกรณีการรวมหรือโอนที่ใหต้ รา เป็นพระราชกฤษฎกี า) จนกว่าจะครบกาหนดสามปีนับตง้ั แตว่ นั ทพ่ี ระราชกฤษฎีกามีผลบังคบั ใช้
17 การเปลี่ยนช่ือสว่ นราชการท้ังสี่ ใหต้ ราเป็นพระราชกฤษฎีกา การยบุ ส่วนราชการทง้ั สี่ ใหต้ ราเปน็ พระราชกฤษฎีกา การแบง่ สว่ นราชการภายในสานักงานรัฐมนตรี กรม หรือสว่ นราชการอื่นที่มฐี านะเปน็ กรม ให้ ออกเป็นกฎกระทรวง โดยให้รฐั มนตรีเจ้ากระทรวงนั้นๆ เป็นผู้ออกกฎกระทรวงในการแบง่ สว่ น ราชการดังกล่าว ประเทศไทย มี 20 ส่วนราชการท่ีมฐี านะเทยี บเท่ากระทรวง หรอื ทบวงประกอบด้วย 1. สานกั นายกรฐั มนตรี 2. กระทรวงกลาโหม 3. กระทรวงการคลัง 4. กระทรวงการต่างประเทศ 5. กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกฬี า 6. กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ ๖/๑ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม 7. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 8. กระทรวงคมนาคม 9. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 10. กระทรวงดิจิทลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคม (ปรับเปลีย่ นและโอนงานจากกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ ตง้ั แต่ 16 กันยายน 2559) 11. กระทรวงพลังงาน 12. กระทรวงพาณชิ ย์ 13. กระทรวงมหาดไทย 14. กระทรวงยุติธรรม 15. กระทรวงแรงงาน
18 16. กระทรวงวัฒนธรรม 17. ------ (ไมม่ แี ล้ว เดิมทเี ปน็ กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี) 18. กระทรวงศึกษาธกิ าร 19. กระทรวงสาธารณสุข 20. กระทรวงอตุ สาหกรรม กระทรวงลาดับที่ 13 คอื กระทรวงมหาดไทย (เคยมีข้อสอบถามลาดับท่ขี องกระทรวงด้วย) เคยมีขอ้ สอบหลอกถาม ขอ้ ใดต่อไปนไ้ี ม่ใช่กระทรวงในประเทศไทย โดยเอาชอื่ ของกระทรวง ท้งั หมดมาออกสอบ แต่ว่าดดั แปลงชอ่ื นิดๆหนอ่ ยๆ ไมใ่ หต้ รงกับชอื่ อยา่ งเป็นทางการดังกลา่ ว ตวั หลอก เชน่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ กระทรวงการท่องเทย่ี ว 1. การจดั ระเบียบราชการในสานกั นายกรฐั มนตรี ท่ีควรรจู้ ักเม่ือแบ่งส่วนในสานกั นายกรัฐมนตรีมี สามสานักเดน่ ๆ (และมีกรมอนื่ ๆด้วย) แตด่ ู 3 ตัว สานกั นายกรฐั มนตรี สานักเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สานักงานปลดั สานัก นายกรฐั มนตรี เลขาธิการนายกรัฐมนตรี เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี ตาแหน่งเหลา่ นเ้ี ป็นผบู้ ังคบั บัญชาสานกั นนั้ ๆ ขน้ึ ตรงต่อนายกรัฐมนตรี (กล่าวคอื ทา่ นท่ดี ารงตาแหน่งต่างท่ีเห็นน้ันเป็นลกู นอ้ งโดยตรงของนายกฯ) ให้ส่วนราชการในสานกั นายกรฐั มนตรบี รรดาทีก่ าหนดไวใ้ นกฎหมายวา่ ดว้ ย การปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม มีฐานะเป็น กรม ***ข้อสอบเคยถามว่า สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี มฐี านะเปน็ อะไร กต็ อบวา่ กรม
19 ขอ้ สอบเคยถามบอ่ ยๆ สานกั งานปลดั สานักนายกรัฐมนตรี มฐี านะเป็นอะไร ตอ้ งตอบ ง. “กรม” ส่วนใหญ่ ถ้าขึ้นตน้ ดว้ ยคาวา่ ก. กระทรวง ข. ทบวง สานกั งานปลัดฯ จะเป็นฐานะ เดียวกนั กับกรมหมดแทบท้งั สนิ้ ค. สว่ นราชการ ง. กรม ตวั อย่างข้อสอบจรงิ เพิ่มเตมิ สานกั งานปลัดกระทรวง มฐี านะเปน็ อะไร ก. กระทรวง ข. ทบวงทีเ่ ทยี บเท่ากระทรวง เฉลย ง. กรม ค. ทบวง ง. กรม สรุปการบริหารภายในสานกั นายกรัฐมนตรี สานักนายกรัฐมนตรี ขา้ ราชการการเมือง นายกรัฐมนตรี รองนายกรฐั มนตรี รฐั มนตรีประจาสานักนายกรฐั มนตรี สานักเลขาธิการ สานกั เลขาธิการ สานักงานปลดั สานกั กรม นายกรฐั มนตรี คณะรฐั มนตรี นายกรฐั มนตรี อธบิ ดี เลขาธิการนายกฯ เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี ข้าราชการ ข้าราชการการเมือง ขา้ ราชการพลเรอื นสามัญ ข้าราชการพลเรอื นสามญั พลเรือนสามญั
20 สานักนายกรัฐมนตรี (หนว่ ยใหญ่สดุ ระดับเทยี บเทา่ กระทรวง มฐี านะเป็นกระทรวง) นายกรัฐมนตรีเป็นผู้บงั คบั บัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการกาหนดนโยบาย เปา้ หมาย และผลสมั ฤทธ์ิของงานในสานักนายกรฐั มนตรีใหส้ อดคล้องกบั นโยบายทคี่ ณะรฐั มนตรีแถลงไว้ตอ่ รฐั สภาหรือท่ีคณะรฐั มนตรกี าหนดหรอื อนมุ ัติ รองนายกรฐั มนตรีและรฐั มนตรปี ระจาสานกั นายกรัฐมนตรีเป็นผู้ชว่ ยสัง่ และปฏิบตั ิราชการ รจู้ ักกบั 2 สว่ นแรก สานกั เลขาธิการนายกรฐั มนตรี และ สานกั เลขาธิการคณะรฐั มนตรี สานกั เลขาธิการนายกรฐั มนตรี มีอานาจหนา้ ทีเ่ กยี่ วกับราชการทางการเมือง มเี ลขาธิการนายกรฐั มนตรเี ปน็ ผ้บู งั คบั บัญชา -----> เป็นขา้ ราชการการเมือง รองเลขาธิการนายกรฐั มนตรีฝ่ายการเมอื ง -----> เป็นข้าราชการการเมอื ง รองเลขาธิการนายกรฐั มนตรฝี ่ายบรหิ าร -----> เปน็ ขา้ ราชการพลเรือนสามญั ผชู้ ่วยเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี -----> เปน็ ขา้ ราชการพลเรือนสามัญ สานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เกยี่ วกบั ราชการของคณะรัฐมนตรี รฐั สภา และราชการใน พระองค์ เลขาธิการคณะรัฐมนตรเี ปน็ ผู้บังคบั บญั ชา -----> เปน็ ขา้ ราชการพลเรอื นสามัญ รองเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี -----> เป็นข้าราชการพลเรือนสามญั ผู้ชว่ ยเลขาธิการคณะรัฐมนตรี -----> เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ข้อสอบออกถามเกี่ยวกับสานกั เลขาธิการท้งั สองสานกั นี้ เชน่ สว่ นราชการใดมีอานาจหนา้ ทเ่ี กี่ยวกบั ราชการในพระองค์ 1. สานักนายกรัฐมนตรี 2. สานักปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี 3. สานักเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี 4. สานกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ตอบ 4. สานักเลขาธิการคณะรฐั มนตรี
21 ส่วนท่ี 3 นอกจากสองสานกั ดังกลา่ วแล้ว ทค่ี วรร้จู ักตอ่ ไปคือสานักงานปลดั สานกั นายกรฐั มนตรี สานกั งานปลดั สานกั นายกรฐั มนตรี -----> เป็นขา้ ราชการพลเรอื นสามัญ ปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี เปน็ ผบู้ งั คบั บญั ชา -----> เปน็ ขา้ ราชการพลเรอื นสามญั รองปลดั สานักนายกรัฐมนตรี -----> เปน็ ข้าราชการพลเรอื นสามัญ ผชู้ ว่ ยปลดั สานักนายกรัฐมนตรี สานกั งานปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี มอี านาจหนา้ ทีเ่ กีย่ วกบั งานราชการประจาทวั่ ไปของ สานกั นายกรัฐมนตรี และราชการท่คี ณะรฐั มนตรีมไิ ดก้ าหนดใหเ้ ป็นหนา้ ที่ของกรมใดกรมหนง่ึ ใน สังกัดสานกั นายกรฐั มนตรีโดยเฉพาะ (กล่าวคอื งานทวั่ ไปท่ีไม่ได้เป็นภาระงานทจี่ ดั อยใู่ นสงั กัดไหน แบบชดั เจน ไม่รจู้ ะใหใ้ ครทา ก็ใหส้ านักงานปลดั สานักนายกรัฐมนตรีรับผิดชอบ) รวมท้ังกากับ และเร่งรัด การปฏิบตั ริ าชการของสว่ นราชการในสานักนายกรัฐมนตรี ให้ เป็นไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของสานกั นายกรัฐมนตรี ยกเว้น ราชการของสว่ นราชการ ซ่ึงกฎหมายกาหนดใหห้ วั หนา้ สว่ นราชการข้นึ ตรงต่อนายกรฐั มนตรี (อธบิ ายง่ายๆคือ ปลดั ฯ เปน็ ใหญพ่ อสมควร เป็นผบู้ ังคับบัญชาระดบั รองจาก นายกฯ รองนายกฯ รัฐมนตรปี ระจาสานกั นายกฯ เพียงแต่ยงั ไม่มีสทิ ธไิ ปสัง่ งาน ทางานหรอื ไม่ไดเ้ ปน็ หัวหน้าของพวก ขา้ ราชการในสานักเลขาธิการรัฐมนตรี และสานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี นน่ั เอง เพราะสองสว่ น ราชการดงั กล่าวนข้ี ้ึนตรงต่อนายกรฐั มนตรี) นายกรัฐมนตรี สานักนายกรัฐมนตรี ทบวง ถา้ มี สานักเลขาธิการ สานักเลขาธิการ สานกั งานปลดั สานัก กรม นายกรฐั มนตรี คณะรัฐมนตรี นายกรฐั มนตรี หรอื อืน่ ๆ เลขาธิการนายกรฐั มนตรี เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี อธบิ ดี
22 รู้จักกับข้าราชการการเมอื ง คืออะไร? ข้าราชการในประเทศไทยมหี ลายประเภทมากๆ เช่น ขา้ ราชการตารวจ ข้าราชการทหาร ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา และอ่นื ๆอีก แตท่ ่เี ราควรรจู้ ัก มักจะเก่ียวกบั ข้อสอบ กม็ ีอยู่ สองสามประเภท ณ ตอนนี้ จะมาแนะนาใหร้ ู้จกั กบั ข้าราชการการเมอื ง ข้าราชการ คือ คนท่ที างาน หรือกิจการต่างๆแทนพระราชา หรือเป็นขา้ ของพระราชา ขา้ + ราชา + การ ทางานการแทนพระราชาเพอื่ ความสงบรม่ เย็นปกติสุขของแผ่นดิน นยิ ามแบบภาษาปกติของเราๆเท่าไป ก็คือ คนที่ทางานรบั ใช้ประเทศชาติ โดยกินเงนิ เดือน สวสั ดิการจากภาษขี องประชาชน (เหมือนว่ารบั ใชพ้ ระเจ้าแผน่ ดินช่วยพระราชาดูแลบา้ นเมอื ง) คนทีเ่ ปน็ ข้าราชการได้ค่าจา้ ง ค่าสวสั ดิการ ค่าดูแลตา่ งๆ โดยเปน็ งบจากงบของแผน่ ดนิ น่ันเอง มารจู้ กั กับขา้ ราชการการเมือง ก็คือ คนที่ทางานทางการเมือง ปกตจิ ะเป็นทา่ นระดบั สงู ๆ ตาแหน่งสูงๆของกระทรวง ทบวง กรมตา่ งๆนน่ั แหล่ะ คือ ท่านพวกนี้ ไม่ใชน่ ักการเมอื งหรอก แต่เปน็ คนที่ไดร้ ับแต่งตั้งเพือ่ มาทางาน หรอื จดั บริหารวางนโยบายของส่วนราชการต่างๆ ขา้ ราชการการเมืองกม็ ีวาระเทา่ ทต่ี นเองดารงในตาแหน่ง (ปกติกป็ ระมาณ 4 ป)ี มสี วัสดกิ าร เงินเดือนอะไร ก็ ณ ตอนท่ตี นเองทางานนนั้ ไม่มีอายเุ กษียณ ถา้ ทางานได้ คณุ สมบตั ิได้กม็ าเลย เขากแ็ ตง่ ตง้ั ใหม้ าทางาน สมมติว่าหมดวาระแลว้ กห็ มดไป ไม่มีบาเน็จ บาบาญไวก้ ินเหมอื นกับที่ เปน็ ขา้ ราชการพลเรือนสามญั (หรอื ข้าราชการท่ัวไป) น่ีคอื ความตา่ งระหวา่ งขา้ ราชการท่ัวไปกบั ข้าราชการการเมอื ง ข้าราชการพลเรอื นสามัญมบี าเนจ็ บานาญ รับสวสั ดิการหลังเกษยี ณ 60 ปี และมอี ายุเกษียณ พน้ 60 ปี แลว้ ต้องเลิกงาน หยุด ทาต่อไมไ่ ด้ ต้องออกจากราชการในภาษาที่ เรยี กกันว่าเกษียณ (ต่อให้ทางานไดด้ กี ต็ อ้ งไป จบไป) แต่ข้าราชการการเมือง ไมใ่ ช่นะ ตราบเท่า ทีย่ งั ทางานได้ อายจุ ะแก่เทา่ ไร ถา้ ทางานได้ รัฐบาลเขาแตง่ ตัง้ มาทางานตาแหนง่ ใดๆก็คือเป็นได้ ขา้ ราชการพลเรอื นสามัญ ต้องสอบแขง่ ขนั กนั เขา้ มา แบบเราๆสอบไต่เต้ามาตงั้ แตส่ มยั หนุ่มๆสาวๆ แลว้ ก็พฒั นาตนเอง ยกระดับเล่ือนขนั้ เลื่อนตาแหนง่ ไปเร่อื ยๆ ไต่เต้าข้ึนไป สะสม ประสบการณ์ ความรคู้ วามสามารถขนึ้ ตามอายไุ ปเรอื่ ยๆ จนเกษียณ 60 ปี กไ็ มต่ ้องทางานอีก
23 ขำ้ รำชกำรกำรเมอื งไม่ต้องสอบ ไมต่ อ้ งไต่เตำ้ เขำพิจำรณำว่ำใครควรไดเ้ ป็น ตำแหน่งนั้น ตำแหนง่ น้ี ทีมคณะรัฐมนตรี หรือทีมรฐั บำลเขำกแ็ ตง่ ตั้งมำทำงำนเองนะ เช่น สมมติว่ำอยูด่ ๆี นำยกฯ เห็นว่ำชำยคนหนึ่ง อำยุ 58 ปี มคี วำมรู้ ควำมสำมำรถ ตำแหน่งพลเอก ไม่เคยทำงำนจริงจังด้ำนวัฒนธรรมเลย นำยกฯ กม็ ำขอใหร้ ับตำแหน่ง เลขำนุกำรรฐั มนตรีวำ่ กำรกระทรวงวัฒนธรรม อยำ่ งนี้ ชำยคนนั้นรับทำ ได้แตง่ ต้ังให้ มำเปน็ มำทำงำนตำแหน่งนั้น กจ็ ะได้ไปทำงำน แลว้ กไ็ ด้เป็นขำ้ รำชกำรกำรเมอื งน่นั เอง มาดวู ่ากฏหมายระบใุ หใ้ ครบ้าง หรือตาแหนง่ ไหนบา้ ง ถอื เปน็ ขา้ ราชการการเมือง ขา้ ราชการการเมอื ง คือบคุ คลซ่ึงรับราชการในตาแหนง่ ข้าราชการการเมืองดังตอ่ ไปน้ี ๑. นายกรัฐมนตรี ๑๑. เลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี ๒. รองนายกรฐั มนตรี ๑๒. รองเลขาธิการนายกรฐั มนตรฝี ่ายการเมือง ๓. รัฐมนตรวี ่าการกระทรวง ๑๓. โฆษกประจาสานกั นายกรฐั มนตรี ๔. รัฐมนตรีประจาสานักนายกรัฐมนตรี ๑๔. รองโฆษกประจาสานกั นายกรฐั มนตรี ๕. รฐั มนตรีว่าการทบวง ๑๕. เลขานุการรัฐมนตรปี ระจาสานกั นายกรัฐมนตรี ๖. รัฐมนตรชี ว่ ยว่าการกระทรวง ๑๖. ประจาสานกั เลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี ๗. รฐั มนตรีชว่ ยว่าการทบวง ๑๗. เลขานกุ ารรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ๘. ท่ปี รึกษานายกรัฐมนตรี ๑๘. ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ ารรฐั มนตรีวา่ การกระทรวง ๙. ทป่ี รกึ ษารองนายกรฐั มนตรี ๑๙. เลขานกุ ารรัฐมนตรีวา่ การทบวง ๑๐. ที่ปรกึ ษารัฐมนตรี และทป่ี รกึ ษา ๒๐. ผชู้ ่วยเลขานุการรัฐมนตรีวา่ การทบวง รฐั มนตรีประจาสานกั นายกรฐั มนตรี (พระราชบญั ญัติ ระเบยี บขา้ ราชการการเมือง พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๔) ถ้าข้าราชการ การเมอื งซง่ึ ดารงตาแหน่งสมาชิกวุฒิสภาหรอื สมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรดว้ ย ได้รบั เงินประจา ตาแหนง่ หรือเงินเพม่ิ สาหรบั สมาชิกสภาดงั กลา่ วแลว้ ไมม่ ีสิทธิได้รับเงนิ เดอื นและเงนิ ประจา ตาแหน่งในฐานะข้าราชการการเมืองอกี (มาตรา ๖) เบ้อื งต้นทาความรู้จักกับขา้ ราชการการเมืองไปแล้ว ต่อไปมาศกึ ษาระเบยี บบริหารกันต่อ
24 สรุปส่วนราชการสาคัญและบคุ คลระดับบรหิ ารทกี่ ลา่ วถงึ ในพระราชบัญญัตนิ ้หี มวดแรก สานกั นายกรัฐมนตรี (อยใู่ นระดับกระทรวง) นายกรัฐมนตรี สานกั เลขาธิการนายกรฐั มนตรี รองนายกรัฐมนตรี รฐั มนตรปี ระจาสานักนายกรัฐมนตรี สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สานักงานปลดั สานกั นายกรัฐมนตรี เลขาธิการนายกรัฐมนตรี รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง รองเลขาธิการนายกรฐั มนตรีฝ่ายบรหิ าร ผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี เลขาธิการคณะรฐั มนตรี รองเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี ผชู้ ่วยเลขาธิการคณะรฐั มนตรี ปลดั สานักนายกรฐั มนตรี รองปลดั สานักนายกรฐั มนตรี ผชู้ ่วยปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี ในฐานะหวั หน้ารฐั บาล มอี านาจหน้าที่ ดังนี้ 1. กากับท่วั ไปซง่ึ การบริหารราชการแผ่นดนิ เพ่ือการนจ้ี ะสง่ั ใหร้ าชการส่วนกลาง ราชการ ส่วนภมู ภิ าค และสว่ นราชการซง่ึ มีหนา้ ทีค่ วบคุมราชการสว่ นท้องถิน่ ช้ีแจง แสดงความคิดเห็น ทารายงานเก่ยี วกับการปฏิบัตริ าชการ ในกรณจี าเปน็ จะยับย้ังการปฏิบัติราชการใดๆทข่ี ดั ต่อ นโยบาย หรือมตขิ องคณะรัฐมนตรกี ไ็ ด้ และมอี านาจสง่ั สอบสวนข้อเท็จจริงเกีย่ วกบั การปฏิบตั ิ ราชการของราชการส่วนกลาง ราชการสว่ นภูมิภาค และราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ 2. มอบหมายใหร้ องนายกรัฐมนตรีกากบั การบริหารราชการของกระทรวง หรือทบวงหนึ่ง หรือหลายกระทรวงหรือทบวง
25 3. บงั คบั บัญชาขา้ ราชการฝา่ ยบรหิ ารทกุ ตาแหนง่ ซึ่งสงั กดั กระทรวง ทบวง กรม และ สว่ นราชการท่ีเรียกชอื่ อย่างอ่ืนท่มี ฐี านะเปน็ กรม 4. สง่ั ใหข้ า้ ราชการซง่ึ สงั กดั กระทรวง ทบวง กรมหนง่ึ มาปฏบิ ตั ริ าชการสานกั นายก รฐั มนตรี โดยจะให้ขาดจากอัตราเงนิ เดือนทางสงั กัดเดมิ หรือไม่ก็ได้ ในกรณที ใี่ ห้ขาดจากอตั รา เงินเดือนทางสังกดั เดมิ ใหไ้ ดร้ ับเงินเดือนในสานักนายกรฐั มนตรีในระดับ และขนั้ ท่ไี มส่ งู กวา่ เดิม 5. แตง่ ตงั้ ขา้ ราชการซึ่งสังกดั กระทรวง ทบวง กรมหนงึ่ ไปดารงตาแหนง่ ของอีกกระทรวง ทบวง กรมหนึง่ โดยให้ได้รับเงนิ เดอื นจากกระทรวง ทบวง กรมเดมิ ในกรณีเช่นนใ้ี ห้ข้าราชการซึ่ง ไดร้ ับแตง่ ตั้งมีฐานะเสมือนเปน็ ข้าราชการสงั กัดกระทรวง ทบวง กรม ซ่ึงตนมาดารงตาแหนง่ นน้ั ทุกประการ แตถ่ ้าเปน็ การแต่งตง้ั ขา้ ราชการตัง้ แตต่ าแหน่งอธบิ ดหี รอื เทียบเท่าข้ึนไปตอ้ งได้รบั อนุมัติจากคณะรฐั มนตรี 6. แต่งตั้งผทู้ รงคุณวุฒิเป็นประธานทป่ี รึกษา ท่ีปรกึ ษา หรอื คณะทป่ี รึกษาของ นายกรฐั มนตรี หรือเปน็ คณะกรรมการเพื่อปฏบิ ตั ิราชการใดๆและกาหนดอตั ราเบีย้ ประชุมหรอื ค่าตอบแทนให้แก่ผซู้ งึ่ ไดร้ บั แต่งตงั้ 7. แตง่ ต้ังขา้ ราชการการเมอื งใหป้ ฏิบัตริ าชการในสานักนายกรัฐมนตรี 8. วางระเบยี บปฏบิ ัติราชการเพือ่ ใหก้ ารบริหารราชการแผ่นดนิ เป็นไปโดยรวดเร็วและมี ประสิทธภิ าพเทา่ ที่ไมข่ ดั หรือแย้งกบั พระราชบัญญัติหรอื กฎหมายอ่นื (กรณดี ังกลา่ วในข้อ 8 น้ี เมือ่ คณะรฐั มนตรใี หค้ วามเห็นชอบแล้วจึงใช้บงั คับได้) 9. ดาเนินการอน่ื ๆในการปฏิบตั ิตามนโยบาย การสั่งและการปฏิบตั ริ าชการของรองนายกรฐั มนตรี หรือรัฐมนตรีประจาสานัก นายกรัฐมนตรีใหเ้ ป็นไปตามท่ีนายกรัฐมนตรมี อบหมาย *** ข้อสอบจริงในการสอบราชการสว่ นท้องถนิ่ การสั่งและการปฏิบตั ิราชการของรองนายกรัฐมนตรใี หเ้ ปน็ ไปตามขอ้ ใด เคยออกถาม ข้อสอบจรงิ เฉลย ง. เป็นไปตามที่นายกรฐั มนตรีมอบหมาย
26 ถา้ เกดิ กรณตี อ่ ไปนกี้ ับนายกรัฐมนตรี อนั ไดแ้ ก่ ตาย / ขาดคุณสมบัติ ตอ้ งคาพพิ ากษาใหจ้ าคกุ ถา้ นายกรฐั มนตรี สภาผูแ้ ทนราษฎรมมี ติไม่ไวว้ างใจ วุฒสิ ภามมี ตใิ หถ้ อดถอนจากตาแหนง่ ศาลรฐั ธรรมนูญวินจิ ฉยั ว่าความเป็นรัฐมนตรีของนายกรฐั มนตรีสิน้ สุดลง กล่าวคือ ถา้ อยู่ดีๆ โดยยังไม่หมดวาระ แต่ไม่มีนายกรฐั มนตรี จะทาอยา่ งไรละ? คณะรัฐมนตรมี อบหมายใหร้ องนายกฯคนใดคนหนง่ึ เปน็ ผปู้ ฏิบตั ิหนา้ ท่ี แทนนายกรฐั มนตรี ถ้าไม่มรี องนายกรฐั มนตรีหรอื มีแต่ไม่อาจปฏบิ ตั ริ าชการได้ ใหค้ ณะรฐั มนตรีมอบหมายใหร้ ัฐมนตรีคนใดคนหนง่ึ เป็นผปู้ ฏิบตั หิ น้าทแ่ี ทน ในระหว่างที่คณะรฐั มนตรตี อ้ งอยู่ในตาแหน่งเพือ่ ปฏิบตั หิ นา้ ทตี่ อ่ ไปจนกวา่ คณะรัฐมนตรี ทต่ี งั้ ข้ึนใหม่จะเข้ารับหน้าท่ีให้คณะรัฐมนตรีดงั กลา่ วอานวยความสะดวกให้หัวหน้าสว่ นราชการตา่ งๆ ดาเนนิ การใดๆเทา่ ที่จาเปน็ เพอ่ื รบั แนวทางการบรหิ ารราชการแผน่ ดินจากนายกรฐั มนตรีคนใหม่มา เตรียมการดาเนินการได้ จำกที่ผู้อำ่ นได้ศกึ ษำมำรำวสิบกวำ่ หนำ้ เบอ้ื งต้น กฎหมำยถำมขอ้ สอบไม่ไดย้ ำกเทำ่ ไร เพยี งแค่ถำมเนื้อหำว่ำพอจะจดจำหรือทำควำมเข้ำใจบัญญัตติ ่ำงๆไดด้ ีไหมเท่ำน้ัน เชน่ ข้อใดกล่าวถกู ต้องทันทที ีร่ ับทราบวา่ นายกรฐั มนตรขี าดคณุ สมบตั ิ ก. เลือกต้งั นายกรฐั มนตรีคนใหม่ในกรอบระยะเวลาทเ่ี รว็ ท่ีสุด ข. ให้นายกรัฐมนตรีแต่งตง้ั ผูร้ กั ษาการแทนตนเองจนกว่าจะเลอื กนายกคนใหม่ ค. คณะรฐั มนตรีมอบหมายรองนายกรัฐมนตรคี นใดคนหนง่ึ ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่แทนนายกฯ ง. คณะรัฐมนตรแี ตง่ ต้งั รัฐมนตรกี ว่าการกระทรวงคนใดคนหนง่ึ รกั ษาการแทนนายกฯ เฉลยขอ้ ค
27 ปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี มีอานาจหนา้ ท่ี ดงั น้ี 1. รบั ผิดชอบควบคุมราชการประจาสานักนายกรัฐมนตรี กาหนดแนวทางและ แผนการปฏิบัติราชการของสานักนายกรฐั มนตรี และลาดบั ความสาคัญของแผนการปฏบิ ัติ ราชการประ จาปีของส่วนราชการในสานักนายกรัฐมนตรีให้เป็นไปตามนโยบายที่ นายกรัฐมนตรีกาหนด รวมท้ัง กากับ เร่งรัด ติดตามและประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการในสานักนายกรฐั มนตรี 2. เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของสว่ นราชการในสานักนายกรัฐมนตรีรองจาก นายกรฐั มนตรี รองนายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรีประจาสานักนายกรฐั มนตรี ยกเวน้ ข้าราชการ ของสว่ นราชการซง่ึ หวั หน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อนายกรฐั มนตรี 3. เป็นผบู้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรแี ละรับผิดชอบ ในการปฏิบัตริ าชการของสานกั งานปลดั สานักนายกรฐั มนตรี รองปลดั สานกั นายกรฐั มนตรี และ ผู้ชว่ ยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี มีอานาจหน้าที่ ตามทีป่ ลดั สานักนายกรฐั มนตรีมอบหมาย กรณีที่สานกั นายกรฐั มนตรมี ที บวงอยใู่ นสังกัดและยงั ไม่สมควรจัดตัง้ สานักปลดั ทบวง ตามกฎหมายน้นั จะใหส้ านกั ปลดั สานักนายกรฐั มนตรีทาหน้าท่สี านักงานปลัดทบวงดว้ ยกไ็ ด้ ขอ้ สอบจริงที่เคยออก : ผูท้ ่รี ับผดิ ชอบควบคุมราชการประจาสานกั นายกรฐั มนตรีกาหนดแนวทางและแผนการปฏิบตั ิ ราชการให้เปน็ ไปตามนโยบาย คือขอ้ ใด ตอบ ค. ปลดั สานกั นายกรฐั มนตรี (ขอ้ 1 ดา้ นบน) จงใจเอาข้อน้มี าออกสอบ เพื่อให้คนจานวนมากพลาดไปตอบ นายกรัฐมนตรี (ซึ่งก็ได้ผล คนตอบผดิ เยอะ) เทคนิคให้จาคอื ผู้ท่ีออกนโยบาย วางนโยบาย ไดแ้ ก่ นายกฯ คนควบคมุ ใหป้ ฏิบัติได้ตามนโยบายคือปลดั ฯ ข้อสอบโจทยแ์ บบน้กี ถ็ ามในการบรหิ ารเทศบาลเหมือนกนั ตอบ ปลัดเทศบาล เพื่อหลอกให้คน ตอบ นายกเทศมนตรี (นายกเทศมนตรเี ป็นผู้ออกนโยบาย วางนโนบาย ไม่ใช่ควบคุมใหป้ ฏิบัต)ิ
28 แบบฝกึ หัดทบทวนการบริหารราชการสว่ นกลาง สว่ นที่ 1 เร่ืองสานกั นายกรัฐมนตรี เตมิ ขอ้ ความใน …………….. ตัวเลขใหเ้ ตมิ ชอื่ ตาแหน่งบุคคล สว่ น อกั ษร ใหเ้ ตมิ ส่วนราชการ 1. ……………………………….. (ตาแหนง่ บงั คับบัญชา) 2. ………………………………... (ช่วยปฏิบตั ริ าชการ) 3. …………………………………. (ชว่ ยปฏิบตั ริ าชการอกี คน) สานักนายกรัฐมนตรี A. .....… B………..………… C…………………….. สานักงานปลดั สานกั D………..……. นายกรัฐมนตรี 4………………………….. 8………………………… 11. ……………… อธบิ ดี / เลขาธกิ าร 5………………………… 6…………………………… 9. ………………………. 12. ……………………… ผอ. / อน่ื ๆ 7. ………………………….. 10……………………….. 13. ………………………. ทบทวนเร่อื งการแบ่งส่วนราชการบรหิ ารแผ่นดนิ ทาเครอื่ งหมาย ถูก หรอื ผิด หนา้ ขอ้ ความ 1. ……………….. สว่ นราชการบรหิ ารแผ่นดนิ แบง่ เป็น 4 ส่วน 2. ……………….. ราชการสว่ นกลาง มี 4 ข้อ (4 ส่วนราชการ / 4 เร่อื ง) 3. ……………….. ราชการส่วนกลาง ส่วนแรก คอื สานกั นายกรฐั มนตรี 4. ………………. ราชการสว่ นภูมิภาค มี จงั หวัด อาเภอ และ ตาบล 5. ………………. ราชการสว่ นท้องถน่ิ คอื อาเภอ และ จงั หวัด 6. ………………. สานกั นายกรัฐมนตรี มรี ฐั มนตรีเปน็ ผูบ้ ังคับบญั ชา 7. ……………….. ผบู้ ังคบั บัญชาสานกั เลขาธิการนายกรฐั มนตรี คือ เลขาธิการนายกรฐั มนตรี 8. ………………. กรม มีผู้บังคับบัญชาข้าราชการในกรม คอื อธิบดี 9. ………………. ปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี รับผดิ ชอบบังคบั บญั ชาในสานักปลดั กระทรวงฯ 10. ……………… เลขาธกิ าร กพฐ มีระดับเทียบเทา่ อธบิ ดีกรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถิน่
29 เฉลยแบบฝึกหดั เตมิ ข้อความใน …………….. ตัวเลขให้เตมิ ชื่อตาแหนง่ บุคคล ส่วน อกั ษร ใหเ้ ติม ส่วนราชการ 1. นายกรฐั มนตรี A ทบวง 2. รองนายกรัฐมนตรี B สานกั เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 3. รัฐมนตรีประจาสานกั นายกรฐั มนตรี C สานกั เลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี 4. เลขาธิการนายกรฐั มนตรี D กรม หรอื ส่วนราชการมีชอ่ื อย่างอน่ื 5. รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรฝี ่ายการเมอื ง 6. รองเลขาธิการนายกรฐั มนตรีฝ่ายบริหาร 7. ผชู้ ่วยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 8. เลขาธิการคณะรฐั มนตรี 9. รองเลขาธกิ ารคณะรัฐมนตรี 10. ผูช้ ่วยเลขาธิการคณะรฐั มนตรี 11. ปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี 12. รองปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี 13. ผชู้ ่วยปลัดสานักนายกรัฐมนตรี 1. ผดิ ต้องแบง่ สามสว่ น คือ ส่วนกลาง สว่ นภูมิภาค สว่ นท้องถ่ิน 2. ถกู มี 4 สว่ น / เร่ือง 1. สานักนายกรัฐมนตรี 2. กระทรวงหรือทบวง 3. ทบวงทีส่ ังกดั สานักนายกรฐั มนตรี หรอื กระทรวง 4. กรมหรอื อ่นื ๆ 3. ถกู ราชการสว่ นกลาง ส่วนแรก คือ สานกั นายกรฐั มนตรี 4. ผดิ ราชการสว่ นภูมภิ าค มี จังหวัด อาเภอ ไมม่ ตี าบล 5. ผิด อาเภอ และ จังหวดั เรยี กว่า ราชการสว่ นภูมิภาค 6. ผดิ สานักนายกรฐั มนตรี ต้องมีนายกรฐั มนตรเี ป็นผูบ้ งั คบั บัญชา 7. ถูก ผูบ้ ังคับบญั ชาสานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี คือ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 8. ถกู . กรม มผี ูบ้ ังคบั บญั ชาข้าราชการในกรม คือ อธบิ ดี 9. ผดิ บงั คบั บญั ชาในสานกั งานปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี 10. ถูก เลขาธกิ าร กพฐ มีระดบั เทียบเทา่ อธบิ ดีกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่ิน
30 สรุปการแบ่งสว่ นราชการในประเทศไทย (ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน) แบง่ เปน็ สามส่วน (ส่วนกลาง / สว่ นภมู ภิ าค / สว่ นทอ้ งถน่ิ ) ราชการส่วนกลาง (มี 4 เร่อื ง) 1. สานกั นายกรฐั มนตรี 2. กระทรวง / ทบวง AB C 4. กรม D E 4. กรม 3. ทบวงสังกัด สานักงาน กอง 3. ทบวงสงั กดั สานกั งาน กอง สานักนายก เลขานุการกรม กระทรวง เลขานุการกรม A สานักเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี D สานักงานรฐั มนตรี B สานักเลขาธิการคณะรฐั มนตรี E สานกั งานปลดั กระทรวง C สานกั งานปลัดสานักนายกรฐั มนตรี ราชการส่วนภมู ิภาค (มี 2 เร่ือง ) ราชการส่วนทอ้ งถิน่ (มี 4 เรือ่ ง) จังหวัด อาเภอ อบจ เทศบาล สขุ าภิบาล อน่ื ๆ (อบต พัทยา กทม) สว่ นกลาง แยกเปน็ 4 หัวข้อ และในแตล่ ะหวั ข้อ กจ็ ะแยกเรื่องย่อยๆไปอกี ราชการส่วนกลาง (มี 4 เรือ่ ง) เรอื่ งแรกของสว่ นกลาง คอื สานกั นายกรัฐมนตรี 1. สานักนายกรฐั มนตรี ท่ผี ่านมา กาลังศกึ ษากนั เรอ่ื งนี้ A B C 4. กรม A สานักเลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี B สานักเลขาธิการคณะรฐั มนตรี C สานกั งานปลดั สานักนายกรัฐมนตรี
31 บุคคลระดับบรหิ ารในสานกั นายกรฐั มนตรี ชว่ งปี 2563 สานักนายกรฐั มนตรี นายกรัฐมนตรี รองนายกรฐั มนตรี รฐั มนตรปี ระจาสานักนายกรฐั มนตรี พลเอกประยุทธ์ จันทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี นายดสิ ทตั โหตระกิตย์ นายธรี ะพงษ์ วงศศ์ ิวะวลิ าส นายธีรภทั ร ประยรู สิทธิ เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี เลขาธิการคณะรฐั มนตรี ปลัดสานักนายกรฐั มนตรี สานกั เลขาธิการนายกรฐั มนตรี สานกั เลขาธิการคณะรัฐมนตรี สานกั งานปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี กรม / อื่นๆ เลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี เลขาธิการคณะรฐั มนตรี รองฯ การเมอื ง / รองฯบริหาร รองเลขาธิการคณะรฐั มนตรี ปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี อธบิ ดี ผู้ชว่ ยเลขาธกิ ารนายกรฐั มนตรี ผูช้ ว่ ยเลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี รองปลดั สานกั นายกรฐั มนตรี รองอธิบดี ผู้ช่วยปลดั สานักนายกรฐั มนตรี อักษรตวั เอยี งคอื ชือ่ ตาแหนง่ ของบุคคลระดับสงู ทท่ี างานในสานักงานนน้ั ๆเรียงลาดับตาแหนง่ ลงมา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ทผี่ ่านมาก่อนหน้าน้ี เรายงั อยเู่ พยี งสว่ นที่ 1 นเี้ ท่านนั้ เอาให้รอดกอ่ น จดจาให้ได้วา่ ใครเป็นใคร สานักอะไร เปน็ อะไร มองผงั ใหอ้ อก อย่ามนึ เพราะหน้าถัดไป เราจะไปซมู ดใู นเรอื่ งที่ 2 กค็ อื 2. กระทรวง / ทบวง เรือ่ งต่อไปที่จะเรียนรู้ D E 4. กรม D สานกั งานรฐั มนตรี E สานกั งานปลดั กระทรวง
32 2. การจัดระเบียบราชการในกระทรวงหรือทบวง ให้จดั ระเบยี บราชการของกระทรวง ดังน้ี (๑) สานักงานรัฐมนตรี (๒) สานักงานปลัดกระทรวง มฐี านะเปน็ กรม (๓) กรม หรอื สว่ นราชการท่เี รียกช่อื อย่างอ่ืน มีฐานะเปน็ กรม เวน้ แตบ่ างกระทรวงเหน็ วา่ ไมม่ คี วามจาเปน็ จะไมแ่ ยกส่วนราชการต้ังข้นั เปน็ กรมก็ได้ รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงเปน็ ผบู้ ังคับบัญชาข้าราชการ รับผดิ ชอบในการกาหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ของงานใน กระทรวงให้ สอดคลอ้ งกบั นโยบายทคี่ ณะรฐั มนตรแี ถลงไว้ตอ่ รัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนดหรอื อนุมัติ รฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวง เป็นผชู้ ว่ ยส่ังและปฏบิ ตั ริ าชการ โดยการสง่ั การหรอื การปฏิบัตริ าชการใหเ้ ปน็ ไปตามรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงมอบหมาย สานักงานรัฐมนตรี (ของแตล่ ะกระทรวง) จะมอี านาจหน้าที่เก่ียวกบั ราชการทางการเมือง เลขานุการรัฐมนตรี เป็นผ้บู ังคับบัญชา (เป็นขา้ ราชการการเมือง) มผี ชู้ ่วยเลขานุการรฐั มนตรี (เป็นข้าราชการการเมอื ง) ปลดั กระทรวง เป็นผู้บงั คับบญั ชาข้าราชการของสว่ นราชการในกระทรวงรองจาก รัฐมนตรี และเป็นผบู้ ังคับบัญชาขา้ ราชการในสานักงานปลดั กระทรวง หนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบในการ ปฏิบตั ิราชการของสานักงานปลดั กระทรวง กากบั การทางานของส่วนราชการในกระทรวงให้ เกดิ ผลสัมฤทธแ์ิ ละประสานการปฏบิ ตั ิงานของสว่ นราชการในกระทรวงใหม้ เี อกภาพสอดคล้องกัน รวมท้งั เร่งรดั ตดิ ตามและประเมนิ ผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวง ให้มรี องปลัดกระทรวงหนึ่งคนเปน็ ผู้ชว่ ยสั่งและปฏิบัตริ าชการตามทป่ี ลัดมอบหมาย สานักงานปลดั กระทรวง มีอานาจหนา้ ท่ีเกยี่ วกบั ราชการประจาทั่วไปของกระทรวงและ ราชการท่ีคณะรฐั มนตรีมไิ ด้กาหนดให้เป็นหน้าท่ขี องกรมใดกรมหน่ึงในสงั กดั กระทรวงโดยเฉพาะ รวมท้ังกากับและเร่งรดั การปฏิบตั ริ าชการของสว่ นราชการในกระทรวงให้เปน็ ไปตามนโยบาย
33 กระทรวง รัฐมนตรีว่าการกระทรวง สานกั งานรฐั มนตรี สานกั งานปลดั กระทรวง กรมอ่นื ๆ หน่วยอ่ืนๆระดบั กรม เลขานุการรฐั มนตรี ปลัดกระทรวง ที่อาจไม่ไดช้ ื่อว่ากรม อธิบดีกรม เลขาธกิ ารฯ / อื่นๆ ตัวเอียงหมายถงึ ตาแหนง่ ของผู้บังคบั บญั ชาข้าราชการ พนกั งาน บุคลากร และลกู จา้ งในสังกัด หนว่ ยอนื่ ๆทม่ี รี ะดับกรม แต่มชี ื่ออย่างอน่ื เช่น สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (ไม่ได้มชี ่ือว่า กรมอาหารและยา / มชี ่อื อยา่ งอ่ืน) สานักงานคณะกรรมการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค (ไมไ่ ด้มีชอ่ื วา่ กรมค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภค / ชือ่ อย่างอนื่ ) แต่พวกนี้ ถือวา่ ระดับเดียวกบั กรม หวั หน้าหรือผูบ้ ังคบั บัญชาของสานักงานเหล่าน้จี งึ ไมไ่ ด้มี ช่อื ตาแหน่งวา่ อธบิ ดี แตม่ ชี ่ือตาแหน่งวา่ เลขาธิการฯ ซงึ่ ถอื ว่าอย่ใู นระดับเดยี วกบั อธิบดี เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ผู้บังคบั บญั ชาส่วนราชการระดบั กรม เลขาธิการคณะกรรมการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค อธิบดีกรมประมง อธบิ ดกี รมการส่งเสรมิ การปกครองท้องถิ่น ตาแหน่งเหล่านีอ้ ยูใ่ นระดบั เดยี วกัน (ถ้าสานักงานนัน้ ๆถูกจดั ตง้ั ให้เปน็ ระดบั กรม) บางทสี านักงานน้นั ๆก็อาจมีชื่อผบู้ งั คับบัญชาเป็นช่อื ตาแหนง่ อนื่ ๆ เชน่ ผูอ้ านวยการ เป็นตน้ แลว้ แต่สานักนนั้ ๆเลยว่าจะได้ออกกฏเกณฑ์ใหต้ าแหนง่ อะไรเป็นผู้บงั คับบัญชา แต่เขากม็ ีศกั ด์ศิ รี หรือระดับเทยี บเท่า อธิบดี (เพยี งแต่ไมไ่ ดช้ อ่ื ตาแหนง่ วา่ อธิบด)ี เพราะสว่ นราชการที่เขาทางาน หรือบงั คบั บัญชาน้ันมรี ะดบั เทยี บเท่ากรม เพยี งแต่ไมไ่ ดช้ ่ือวา่ กรม น่นั เอง ในภาษาราชการจงึ ใช้ คาวา่ วา่ ส่วนราชการระดบั กรมท่มี ีช่ืออยา่ งอ่นื (ภาษากฎหมาย ฟังแลว้ อาจทาความเข้าใจยาก)
34 รายละเอยี ดเพ่ิมเติมเก่ียวกบั กระทรวง กระทรวงใดมีความจาเป็นต้องมีส่วนราชการเพื่อทาหนา้ ท่จี ดั ทานโยบายและแผน กากับ เร่งรดั และติดตามนโยบายและแผนการปฏิบตั ริ าชการของกระทรวงจะจดั ระเบียบให้มี สานักนโยบายและแผนเปน็ ส่วนราชการภายใน ขึน้ ตรงต่อรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงกไ็ ด้ (แต่ โดยอนมุ ัตคิ ณะรัฐมนตรีก่อน) --------------------------------------------------------------------- กระทรวงใดจะตราพระราชกฤษฎกี าจดั ตง้ั ส่วนราชการเพ่ือรบั ผดิ ชอบภาระหน้าท่ีใดๆ โดยเฉพาะซึ่งไมม่ ฐี านะเปน็ กรม แต่มีผบู้ ังคับบญั ชาเปน็ อธบิ ดีหรือตาแหน่งทม่ี ีชอ่ื อย่างอ่นื ทมี่ ฐี านะ เปน็ อธิบดกี ไ็ ด้ โดยใหอ้ ธบิ ดี (หรอื ที่ชื่อตาแหน่งอย่างอื่น) มอี านาจหน้าทสี่ าหรับส่วนราชการน้ัน เช่นเดยี วกบั อธิบดี ให้อนุกรรมการสามญั ประจากระทรวงทาหนา้ ที่อนกุ รรมการสามญั ประจากรม ของสว่ นราชการนนั้ การตราพระราชกฤษฎีกาดงั กล่าวน้นั ต้องใหน้ ายกรฐั มนตรีสง่ รา่ งพระราชกฤษฎีกา ใหส้ ภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒิสภาเพ่ือทราบ จากนน้ั คณะรฐั มนตรจี ะให้ความเหน็ ชอบ การแต่งต้ังอธิบดหี รอื ทช่ี ื่อตาแหน่งอย่างอืน่ ให้รฐั มนตรีเปน็ ผู้เสนอคณะรัฐมนตรพี จิ ารณาอนมุ ตั ิ ------------------------------------------------------------- หากในกระทรวงออกกฎกระทรวงเกี่ยวกบั กลุ่มภารกจิ ก็ได้ คือ สว่ นราชการ ระดับกรมต้งั แตส่ องส่วนข้นึ ไปอย่ภู ายใต้กลุม่ ภารกจิ เดยี วกัน ในแตล่ ะกลุ่มภารกิจให้ ผ้ดู ารงตาแหน่งไมต่ า่ กว่าอธิบดีคนหนง่ึ เปน็ หัวหน้ากลุ่มภารกจิ ให้รบั ผดิ ชอบปฏบิ ัติ ราชการและบงั คับบญั ชาขา้ ราชการของสว่ นราชการในกลุ่มภารกิจดงั กล่าวโดยปฏิบัติ ราชการขึ้นตรงตอ่ ปลดั กระทรวงหรอื ข้นึ ตรงตอ่ รฐั มนตรี (ตามทก่ี ฎกระทรวงน้นั ได้ กาหนดไว)้ หากให้ขน้ึ ตรงต่อรฐั มนตรีตอ้ งรายงานผลการดาเนนิ งานตอ่ ปลัดกระทรวง กระทรวงใดมีปรมิ าณงานมากแต่ไมไ่ ด้จดั ใหม้ กี ลมุ่ ภารกิจจะใหม้ ีรองปลดั กระทรวง เปน็ ผู้ช่วยสงั่ และปฏบิ ัติราชการเพ่ิมขน้ึ เปน็ สองคนก็ได้หรือหากกระทรวงใดทม่ี กี ารจัดกลุ่ม ภารกิจจะใหม้ รี องปลดั กระทรวงเพม่ิ ขึน้ เปน็ หัวหนา้ กลุ่มภารกจิ ก็ได้ และใหอ้ านาจหนา้ ท่ี ของปลัดกระทรวงที่เก่ยี วกับราชการของสว่ นราชการในกลุ่มภารกิจเปน็ อานาจหนา้ ทีข่ อง กลุ่มภารกจิ นั้น
35 กระทรวงใดมภี ารกจิ เพ่มิ ขน้ึ และมคี วามจาเปน็ อยา่ งยงิ่ ต้องมีรองปลัดกระทรวง มากกว่าท่กี าหนดท้ังน้ีคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื นและคณะกรรมการพัฒนาระบบ ราชการ ก็จะรว่ มกันอนมุ ตั ิให้กระทรวงน้นั มีรองปลัดกระทรวงเพม่ิ ขน้ึ เปน็ กรณพี เิ ศษโดย มตทิ ่ีได้ดังกลา่ วตอ้ งเสนอให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาอนมุ ัติตอ่ ไปกอ่ น (จึงจะสามารถเพม่ิ จานวนปลัดกระทรวงไดน้ น่ั เอง) ในกรณีทก่ี ระทรวงมที บวงอยู่ในสังกดั และยังไม่สมควรจัดตงั้ สานกั งานปลดั ทบวง จะใหส้ านักงานปลัดกระทรวงทาหนา้ ทสี่ านกั งานปลัดทบวงดว้ ยกไ็ ด้ จบไปแลว้ เรอ่ื งท่ี 2 2. กระทรวง / ทบวง D E 4. กรม D สานักงานรฐั มนตรี E สานกั งานปลดั กระทรวง กระทรวง ทบวง รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง รัฐมนตรวี า่ การทบวง รฐั มนตรีชว่ ยว่าการกระทรวง รัฐมนตรีช่วยว่าการทบวง สานักงานรัฐมนตรี สานักงานปลดั กระทรวง กรม อ่ืนๆ สานักงานรัฐมนตรี สานักงานปลดั ทบวง เลขานกุ ารรฐั มนตรี ปลัดกระทรวง อธิบดี เลขานกุ ารรฐั มนตรี ปลดั ทบวง ผ้ชู ่วยเลขานกุ ารรัฐมนตรี รองปลดั กระทรวง ผชู้ ว่ ยเลขานุการรัฐมนตรี รองปลัดทบวง ทบวง ไมต่ ้องสนใจก็ได้ เพราะปจั จบุ นั ไมม่ ี แต่ใหด้ วู ่า ถา้ มี ทบวง คอื อะไร ก็เหมือนกระทรวง ------------------------------------------------------------------------ กลา่ วคือ กระทรวง กับ ทบวง เหมอื นกันทุกประการตา่ งกนั ตรงช่ือเรยี กเท่านน้ั เพราะเขาเขยี นไว้ในแบบแผนเดยี วกันเปะ๊ ๆ และทาให้มคี าว่า “หรอื ” กั้นกลาง
36 ทบทวน ต้ังแต่ส่วนที่ 1 สานกั นายกรฐั มนตรี และ สว่ นที่ 2 (กระทรวง ทบวง) 1. ราชการสว่ นกลางมอี ะไรบ้าง = สานักนายกรฐั มนตรี / กระทรวง ทบวง / ทบวงทีอ่ ยใู่ นสังกัด / กรม [ 1 2 3 4 ] 2. ใครเปน็ ผบู้ ังคบั บัญชาสานกั นายกรฐั มนตรี = นายกรฐั มนตรี 3. เลขาธิการนายกรัฐมนตรบี งั คบั บัญชาสานกั อะไร = สานกั เลขาธิการนายกรัฐมนตรี 4. ใครบังคบั บญั ชาสานกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี = เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี 5. ราชการส่วนแรกสุดท่แี บง่ ในกระทรวง คอื อะไร = สานักงานรฐั มนตรี (ทุกกระทรวงต้องม)ี 6. ราชการส่วนท่ีสองทแ่ี บง่ ในกระทรวง คอื อะไร = สานกั งานปลดั กระทรวง (ทุกกระทรวงม)ี 7. ราชการสว่ นท่สี ามท่กี ล่าวถึงในการแบง่ กระทรวง คือ = กรม (มีกไ็ ด้ ไม่มกี ็ได้ แล้วแต่ควร) เพราะในกฎหมายระบไุ ว้วา่ กระทรวงใด ไมเ่ ห็นสมควรแบง่ แยกจัดตัง้ กรม ก็ไมต่ ้องทาก็ได้ 8. อธบิ ดกี รม ทส่ี งั กัดสานกั นายกรัฐมนตรี กับ อธบิ ดกี รมทส่ี ังกัดกระทรวง เทา่ กันไหม = เทา่ สิ 9. ใครเป็นผบู้ งั คับบญั ชาสานกั งานปลัดสานกั นายกรฐั มนตรี = ปลัดสานกั นายกรัฐมนตรี 10.ใครเปน็ ผูบ้ ังคับบัญชาสานักงานปลัดกระทรวง = ปลดั กระทรวง 11.ใครเปน็ ผ้บู ังคบั บญั ชาในกระทรวง = รัฐมนตรวี ่าการกระทรวง 12. ใครเป็นผู้บังคับบญั ชาในสานักงานรัฐมนตรี = เลขานกุ ารรัฐมนตรี ขอ้ ความจะสลบั ไปมา ไม่ได้เรยี งเรอ่ื ง ใหล้ องอ่านพจิ ารณาและนึกตามดวู า่ จบั ประเด็นไดไ้ หม ลักษณะขอ้ สอบกฎหมำย หรือ พระรำชบญั ญัติต่ำงๆจะเปน็ กำรคดั ลอกเอำ ข้อมลู หรือเนอื้ หำส่วนใดส่วนหนง่ึ มำทำเป็นข้อสอบและสรำ้ งชอ้ ยสต์ วั เลอื ก ถำ้ เรำสำมำรถจำขอ้ มูลได้ครอบคลุมหมด ก็จะช่วยให้ตอบคำถำมได้ดีมำกๆ ทำงเรำจึงไดส้ รำ้ งนวตั กรรมคลิปเสียง แบบดีมำก สำหรับออนไลน์ใหเ้ ปน็ ทำงเลอื กในกำรสรำ้ งควำมทรงจำขอ้ มูล ฟงั บ่อยๆ ฟังตลอด กจ็ ะจำขอ้ มูล เนอื้ หำสำระไดเ้ องโดยไมต่ ้องอ่ำนหนงั สือ ผูส้ นใจสำมำรถตดิ ตอ่ ขอเข้ำร่วม ออนไลน์นวัตกรรม ตดิ ตอ่ ที่เฟสบคุ๊ หรอื เว็บไซต์ของเรำ นวัตกรรมทด่ี ีกวำ่ กำรเข้ำตวิ สดตำมโรงแรม ซง่ึ เป็นกำรประหยัดกวำ่ ท้ังเรื่องเวลำและค่ำใช้จ่ำย
37 สานกั นายกรฐั มนตรี ทบวง ถ้ามี สานักเลขาธกิ าร สานักเลขาธกิ าร สานกั งานปลัดสานกั กรม นายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี นายกรฐั มนตรี หรืออ่นื ๆ เลขาธกิ ารนายกฯ เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรี ปลดั สานักนายกฯ อธิบดี / เลขาธิการ ผ้อู านวยการ / อน่ื ๆ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวง / ทบวง กระทรวง / ทบวง ทบวง ถา้ มี สานกั งานรัฐมนตรี สานกั งาน กรม หรืออื่นๆ ปลัดกระทรวง เลขานกุ ารรฐั มนตรี ปลัดกระทรวง อธบิ ดี / เลขาธกิ าร / ผ้อู านวยการ / อ่นื ๆ รฐั มนตรีว่าการทบวง ทบวง สานักงานรัฐมนตรี สานักงานปลดั ทบวง กรม หรอื อนื่ ๆ เลขานุการรัฐมนตรี ปลดั ทบวง อธบิ ดี / เลขาธกิ าร / ผอู้ านวยการ / อน่ื ๆ อธิบดี กรม สานกั งานเลขานกุ ารกรม กอง หรือ อน่ื ๆ เลขานกุ ารกรม ผู้อานวยการกอง / หวั หนา้ กอง
38 3. การจดั ระเบียบราชการในทบวงซ่ึงสงั กดั สานกั นายกรัฐมนตรหี รอื กระทรวง ราชการส่วนใดซ่ึงโดยสภาพและปรมิ าณของงานไมเ่ หมาะสมทีจ่ ะจดั ตงั้ เป็นกระทรวง หรอื ทบวงซ่ึงมฐี านะเทียบเท่ากระทรวงจะจดั ต้ังเป็นทบวงสงั กัดสานกั นายกรฐั มนตรหี รอื กระทรวง เพอ่ื ให้มรี ฐั มนตรวี า่ การทบวงเป็นผ้บู ังคบั บัญชาข้าราชการ และรบั ผดิ ชอบในการปฏิบัตริ าชการ ของทบวงก็ได้ ทบวงในขอ้ ท่ี 3 นี้ แตกต่างจากทบวง ข้อ 2 ท่ีรู้จักมาแล้วนะ คนละอันกนั แตว่ ่ามีชอื่ เรียกเหมือนกัน ในภาษากฎหมายทบ่ี อกว่าราชการส่วนใดไม่เหมาะ จะจัดต้ังเปน็ กระทรวง (ก็หมายถึง ใหญไ่ ม่พอเป็นกระทรวง) หรือทบวงซึง่ มี ฐานะเทยี บเท่ากระทรวง ก็หมายความว่า ราชการส่วนใดใหญ่ไมพ่ อทีจ่ ะจัดต้ัง เป็นทบวงตามขอ้ 2 ก็ให้จัดตั้งเป็นทบวง ตามขอ้ 3 ทกี่ าลงั ศกึ ษาอยู่นน้ี ั่นเอง ทบวงจะมีรัฐมนตรวี า่ การทบวงเป็นผูบ้ งั คับบญั ชาขา้ ราชการและกาหนดนโยบายของ ทบวงใหส้ อดคล้องกบั นโยบายที่คณะรฐั มนตรกี าหนดหรอื อนมุ ตั ิ และรบั ผิดชอบในการปฏิบตั ิ ราชการของทบวงมีรฐั มนตรีชว่ ยวา่ การทบวงเป็นผู้ชว่ ยส่ังและปฏิบตั ริ าชการก็ได้ โดยใหเ้ ป็น ไปตามทร่ี ัฐมนตรีมอบหมาย หากสังกดั สานักนายกรฐั มนตรี รัฐมนตรีว่าการทบวงปฏบิ ัติราชการภายใตก้ ารกากบั ของนายกฯ หากสังกัดกระทรวง รฐั มนตรีว่าการทบวงนน้ั ให้ปฏิบตั ริ าชการภายใตก้ ารกากบั ของรัฐมนตรฯี ให้จัดระเบียบราชการในทบวงดงั น้ี มฐี านะเป็นกรม 1. สานักงานรัฐมนตรี มฐี านะเป็นกรม 2. สานกั งานปลัดทบวง 3. กรม หรอื ส่วนราชการทีเ่ รยี กช่อื อยา่ งอน่ื เว้นแตบ่ างทบวงซงึ่ เห็นวา่ ไม่มีความจาเป็นจะไมแ่ ยกส่วนราชการต้งั ขน้ึ เป็นกรมก็ได้
39 กรณที บวงดังกลา่ วมปี รมิ าณและคณุ ภาพของราชการในทบวงยังไม่สมควรจัดต้ัง สานกั งานปลดั ทบวงจะใหส้ านกั งานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี (กรณีทีท่ บวงทีว่ ่านี้สังกดั สานัก นายกรัฐมนตร)ี หรอื สานักงานปลัดกระทรวง (กรณีทบวงทว่ี ่านไ้ี ดส้ ังกดั ในกระทรวง) ทาหน้าที่ สานักงานปลัดทบวงดว้ ยก็ได้ ปลัดทบวง เปน็ ผ้บู งั คับบญั ชาข้าราชการในทบวงรองจากรฐั มนตรี รบั ผิดชอบคมุ ราชการประจาปขี องส่วนราชการในทบวง กาหนดแนวทางและแผนการ ปฏิบตั ริ าชการของทบวงและลาดบั ความสาคญั ของแผนการปฏบิ ัตริ าชการประจาปีของสว่ นราช- การในทบวงใหเ้ ป็นไปตามนโยบายทีร่ ฐั มนตรกี าหนด อกี ทง้ั เร่งรัด ตดิ ตามและประเมินผลการ ปฏิบตั ริ าชการในทบวง ปลดั ทบวง เป็นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการในสานกั งานปลดั ทบวงและรับผิดชอบในการ ปฏบิ ัติราชการของสานักงานปลดั ทบวง (ใหม้ ีอานาจหน้าท่ดี งั เช่นปลัดกระทรวงฯ ตามกฎหมาย หากไม่มบี ญั ญัตไิ ว้) รองปลัดทบวง และ ผชู้ ว่ ยปลดั ทบวง เป็นผ้ชู ว่ ยส่งั และปฏิบตั ิราชการ ทบวง (ท่ีอยู่ในสงั กดั สานักนายกฯ / สงั กัดกระทรวง) 1. สานักงานรฐั มนตรี 2. สานกั งานปลดั ทบวง 3. กรม / อน่ื ๆ 1. สานักงานรัฐมนตรี มอี านาจหน้าทเ่ี กี่ยวกบั ราชการทางการเมอื ง โดยเลขานกุ าร รฐั มนตรี (เป็นขา้ ราชการการเมอื ง) เป็นผู้บังคบั บญั ชา มี ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรี (ขา้ ราชการ การเมือง) ช่วยสงั่ และปฏิบัติราชการแทนเลขานกุ ารรัฐมนตรี 2. สานักงานปลัดทบวง มีอานาจหนา้ ที่ เกยี่ วกบั ราชการประจาทัว่ ไปของทบวง และราชการท่ี คณะรัฐมนตรมี ไิ ด้กาหนดให้เปน็ หนา้ ทข่ี องกรมใดกรมหนึ่งในสังกดั ทบวงโดยเฉพาะ รวมทั้งกากับและเร่งรัดการ ปฏิบตั ิราชการของสว่ นราชการในทบวงใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบาย แนวทางและแผนการปฏบิ ัติราชการของทบวง
40 4. การจัดระเบยี บสว่ นราชการระดับกรม อธิบดี เปน็ ผูบ้ ังคบั บญั ชาขา้ ราชการและรบั ผดิ ชอบในการปฏิบตั ริ าชการของกรม ใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธิ์และเป็นไปตามเป้าหมาย แนวทาง และแผนการปฏบิ ตั ิราชการของกระทรวง รองอธิบดี เปน็ ผูบ้ งั คบั บญั ชาข้าราชการรองจากอธิบดแี ละชว่ ยอธิบดปี ฏบิ ัตริ าชการ แบ่งสว่ นราชการภายในกรม ดังนี้ (๑) สานักงานเลขานุการกรม อานาจหนา้ ที่เกีย่ วกบั ราชการทัว่ ไปของกรมและราชการทมี่ ไิ ด้แยกใหเ้ ป็นหน้าทข่ี องกอง หรอื สว่ นราชการใดโดยเฉพาะ เลขานุการกรม เป็นผบู้ ังคบั บัญชาขา้ ราชการและรับผดิ ชอบใน การปฏิบัตริ าชการ (๒) กองหรอื ส่วนราชการท่ีมฐี านะเทียบกอง (กรมใดเห็นว่าไม่ควรแยกสว่ นต้งั เปน็ กองกไ็ ด)้ มอี านาจหนา้ ท่ีตามท่ไี ดก้ าหนดไวใ้ นกองหรือส่วนราชการนั้นๆ (ตามทีอ่ อกกฎกระทรวงต้งั มา) ผ้บู ังคบั บัญชาขา้ ราชการและรับผดิ ชอบในการปฏิบัตริ าชการ มชี ื่อตาแหน่งวา่ ผูอ้ านวยการกอง หวั หน้ากอง หรอื หัวหน้าอน่ื ๆ (แลว้ แตช่ ่ือของสว่ นราชการ ที่ตง้ั ขนึ้ มาวา่ ชอื่ อะไร = เทยี บระดับได้กบั ผ้อู านวยการกอง) กรมใดมคี วามจาเป็นแบ่งส่วนราชการอื่นๆเพ่มิ เติมจากหนึง่ และสองก็ได้ (ให้ออกเปน็ กฎกระทรวง) ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ เร่อื งราวเกีย่ วกบั เขต กระทรวง ทบวง หรือ กรมใดมเี หตุพิเศษจะตราพระราชกฤษฎีกาแบ่งท้องที่ออกเปน็ เขต เพ่อื ใหม้ ีหัวหนา้ สว่ นราชการประจาเขตแลว้ แต่จะเรียกชื่อเพอื่ ปฏบิ ตั ิงานทางวชิ าการก็ได้ หัวหนา้ ส่วนราชการประจาเขต มอี านาจหนา้ ทเ่ี ป็นผรู้ บั นโยบายและคาสั่งจากกระทรวง ทบวง กรมมาปฏบิ ัติงานทางวิชาการ และเปน็ ผ้บู ังคับบัญชาข้าราชการประจาสานกั งานเขตน้นั ๆ *ข้อความในมาตรานี้ ไม่บังคบั ใชแ้ ก่การแบ่งเขตและการปกครองบังคับบัญชาของตารวจ ซึง่ ได้กาหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
41 กระทรวง ทบวง หรือกรมใดสภาพและปรมิ าณของงานสมควรมีผ้ตู รวจราชการก็ให้ กระทาได้ ให้ผูต้ รวจราชการมีอานาจหน้าท่ีตรวจและแนะนาการปฏบิ ตั ริ าชการ ส่วนราชการอ่นื ๆระดบั กรมท่มี ีช่อื เปน็ อย่างอ่นื ไม่ไดช้ ื่อกรม ผบู้ ังคับบัญชาและรบั ผดิ ชอบ ปฏบิ ตั ิราชการคอื เลขาธกิ าร ผอู้ านวยการ หรือตาแหนง่ อยา่ งอ่ืนซ่งึ เทยี บเท่ากบั ปลดั กระทรวง หรอื อธบิ ดี และอาจใหม้ ีรองเลขาธิการ รองผู้อานวยการ รองช่ืออ่นื ๆ หรอื ให้มผี ชู้ ว่ ยเลขาธกิ าร ผู้ช่วยผูอ้ านวยการ ผู้ช่วยชื่ออ่ืนๆ หรือให้มที ง้ั รองฯ และผู้ช่วยฯ เปน็ ผบู้ งั คับบญั ชาข้าราชการและ ช่วยปฏิบัตริ าชการแทนกไ็ ด้ การปฏบิ ัติราชการแทน ผูด้ ารงตาแหนง่ อาจมอบอานาจใหผ้ ู้ดารงตาแหน่งอ่ืนใน ส่วนราชการเดยี วกันหรอื สว่ นราชการอนื่ หรือผวู้ า่ ราชการจังหวัดราชการแทนได้ การมอบอานาจ ให้ทาเป็นหนังสือ การมอบอานาจให้ปฏบิ ตั ริ าชการแทนให้พจิ ารณาถงึ การอานวยความสะดวก แกป่ ระชาชน ความรวดเร็วในการปฏิบตั ิราชการ การกระจายความรบั ผดิ ชอบตามสภาพของ ตาแหนง่ ของผู้รับมอบอานาจ การปฏบิ ัตริ าชการแทน เป็นการมอบอานาจใหบ้ คุ คลอ่นื ทาหนา้ ท่ีหรอื ปฏิบัตหิ นา้ ที่ แทนตนเองซง่ึ จริงๆแลว้ ตัวเองยงั ปฏบิ ตั ิงานน้ันได้ แตว่ ่าเพอื่ ความรวดเรว็ อานวยความสะดวกและ ประโยชนต์ ่องานหรือตอ่ ประชาชน จงึ ใหม้ กี ารมอบอานาจให้บุคคลอนื่ ๆในระดบั รองลงไป เพ่อื ทา หน้าทแี่ ทนตนเอง การรักษาราชการแทน เมื่อไมม่ ีผูด้ ารงตาแหนง่ หรอื ผอู้ ยใู่ นตาแหนง่ น้ันมีแตไ่ ม่ สามารถปฏิบตั หิ น้าท่ไี ด้ จงึ ต้องใหบ้ ุคคลที่มีตาแหน่งระดบั รองลงไปตามลาดบั มารกั ษาราชการ แทน (หรือทางานแทน) การรกั ษาราชการแทน ภายในสานักนายกรฐั มนตรี นายกรัฐมนตรีไม่อาจปฏิบตั ริ าชการได้ ใหร้ องนายกรฐั มนตรีเปน็ ผรู้ กั ษาราชการแทน ถา้ มรี องฯ หลายคน ให้คณะรัฐมนตรมี อบหมายให้รองนายกรัฐมนตรคี นใดคนหน่ึงเป็นผรู้ ักษาราชการแทน ถา้ ไมม่ รี องนายกรฐั มนตรี (มีแตไ่ ม่อาจปฏบิ ัตริ าชการได)้ ใหค้ ณะรัฐมนตรีมอบหมายใหร้ ฐั มนตรีคน หน่งึ รักษาราชการแทน
42 การรักษาราชการแทน ภายในกระทรวง (ทบวงกม็ ีแนวปฏบิ ัตเิ หมือนกระทรวง) - ถ้าไมม่ รี ัฐมนตรวี ่าการกระทรวง (หรือมแี ต่ไม่อาจปฏบิ ัตริ าชการได)้ ใหร้ ฐั มนตรชี ว่ ยว่าการ กระทรวงเปน็ ผรู้ กั ษาราชการแทน (ถา้ มีหลายคนให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายใหร้ ัฐมนตรีช่วยฯคนใดคนหนงึ่ รกั ษาราชการแทน) การรกั ษาราชการแทน ภายในสานักงานรฐั มนตรี - กรณีที่ไม่มีผูด้ ารงตาแหนง่ เลขานกุ ารรฐั มนตรี (หรือมีแต่ไมอ่ าจปฏบิ ตั ิราชการได้) ใหผ้ ู้ชว่ ยเลขานกุ ารรัฐมนตรเี ปน็ ผ้รู กั ษาราชการแทน (ถา้ มหี ลายคน ใหร้ ฐั มนตรีว่าการกระทรวง มอบหมายให้คนใดคนหนึ่งเป็นผ้รู ักษาราชการแทน) - ถา้ ไม่มผี ูช้ ่วยเลขานุการรฐั มนตรีใหร้ ัฐมนตรวี ่าการกระทรวงแต่งตั้งข้าราชการในกระทรวง คนหนงึ่ รกั ษาราชการแทน การรกั ษาราชการแทน ภายในสานักงานปลัดกระทรวง - กรณีท่ีไม่มีผูด้ ารงตาแหนง่ ปลดั กระทรวงหรือมแี ต่ไมอ่ าจปฏบิ ตั ิราชการได้ให้รองปลดั กระทรวง เปน็ ผรู้ ักษาราชการแทน (ถ้ามรี องปลดั ฯหลายคนให้นายกรัฐมนตรีสาหรบั สานกั นายกรฐั มนตรี หรือรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงแต่งตง้ั รองปลัดฯคนใดคนหนึง่ เป็นผรู้ กั ษาราชการแทน) - ถา้ ไม่มีรองปลดั ฯหรอื มแี ต่ไม่อาจปฏิบตั ริ าชการได้ใหน้ ายกรฐั มนตรีสาหรบั สานกั นายกรัฐมนตรี หรอื รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงแตง่ ตง้ั ขา้ ราชการในกระทรวงซ่ึงดารงตาแหน่งไมต่ า่ กวา่ อธิบดีหรอื เทยี บเทา่ เป็นผรู้ กั ษาราชการแทน - ในกรณที ่ีไม่มผี ู้ดารงตาแหนง่ รองปลดั กระทรวงหรอื มีแตไ่ ม่อาจปฏบิ ตั ิราชการได้ปลดั กระทรวง จะแต่งต้งั ขา้ ราชการในกระทรวง ซ่งึ ดารงตาแหนง่ ไมต่ า่ กว่าผูอ้ านวยการกองหรอื เทียบเทา่ เป็น ผูร้ กั ษาราชการแทนกไ็ ด้ การรกั ษาราชการแทนภายในกรม (หรือสว่ นราชการระดบั กรมชือ่ อย่างอ่ืนก็ใชแ้ บบเดียวกนั ) - ในกรณที ไ่ี มม่ ีผู้ดารงตาแหนง่ อธบิ ดีหรือมแี ต่ไมอ่ าจปฏิบัตริ าชการได้ ใหร้ องอธบิ ดีเปน็ ผรู้ กั ษา ราชการแทน ถ้ามีรองหลายคน ใหป้ ลัดกระทรวงแตง่ ตงั้ รองอธิบดีคนใดคนหน่ึงเปน็ ผู้รกั ษา ราชการแทน - ถ้าไมม่ ีผู้ดารงตาแหนง่ รองอธบิ ดีมีแตไ่ มอ่ าจปฏบิ ตั ิราชการได้ใหป้ ลัดกระทรวงแตง่ ต้ังขา้ ราชการ ในกรมซ่งึ ดารงตาแหนง่ เทยี บเท่ารองอธบิ ดหี รอื ขา้ ราชการต้งั แตต่ าแหน่งหวั หน้ากองหรือเทียบ เทา่ ข้ึนไปคนใดคนหน่งึ เปน็ ผู้รักษาราชการแทน - ถ้านายกรฐั มนตรหี รอื รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงเห็นสมควรเพือ่ ความเหมาะสมแก่การรับผดิ ชอบ การปฏบิ ตั ิราชการในกรมนั้น จะแต่งตงั้ ข้าราชการคนใดคนหนึง่ ซ่ึงดารงตาแหนง่ ไม่ต่ากว่ารอง อธบิ ดหี รอื เทยี บเทา่ เป็นผู้รักษาราชการแทนก็ได้
43 - กรณีท่ีไม่มีผู้ดารงตาแหน่งรองอธิบดี (หรอื มีแต่ไม่อาจปฏิบตั ิราชการได้) อธิบดีจะแตง่ ตั้ง ข้าราชการในกรมซง่ึ ดารงตาแหนง่ เทยี บเทา่ รองอธบิ ดี หรอื ข้าราชการตง้ั แต่ตาแหน่ง หวั หนา้ กองหรอื เทยี บเท่าขึน้ ไปเป็นผ้รู ักษาราชการแทนก็ได้ ผรู้ กั ษาราชการแทนมอี านาจหน้าท่ีเช่นเดียวกับผซู้ ึง่ ตนแทน การรกั ษาราชการแทนไม่กระทบกระเทือนอานาจตาแหนง่ ของผบู้ ังคบั บญั ชาทจี่ ะแต่งตั้ง เป็นผรู้ ักษาราชการแทนตามอานาจหน้าท่ีทมี่ อี ยูต่ ามกฎหมาย ผรู้ กั ษาราชการแทน พ้นจากความเปน็ ผ้รู ักษาราชการแทน นบั แต่ผู้ดารงตาแหน่งตวั จริงเข้ารับหนา้ ท่ี การปฏิบัตริ าชการแทนและรกั ษาราชการแทนน้ี มิใหใ้ ชบ้ ังคับแกร่ าชการในกระทรวงท่ี เก่ียวกบั ทหาร การบริหารราชการในต่างประเทศ คณะผู้แทน หมายความว่า บรรดาข้าราชการฝา่ ยพลเรอื น หรอื ข้าราชการฝ่ายทหาร ประจาการในตา่ งประเทศ ซง่ึ ได้รับการแตง่ ต้งั ให้ดารงตาแหน่งใน - สถานเอกอัครราชทูต - สถานกงสุลใหญ่ - สถานรองกงสุล - สว่ นราชการของกระทรวงการต่างประเทศซึง่ เรยี กชื่ออย่างอ่นื หวั หนา้ คณะผูแ้ ทน หมายความวา่ ขา้ ราชการสงั กัดกระทรวงการตา่ งประเทศซ่ึงไดร้ บั แต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งหวั หน้าคณะผูแ้ ทนตามระเบียบพธิ ีการทตู หรอื ระเบียบพธิ ีการกงสลุ โดยอาจมี รองหัวหน้าคณะผู้แทน เปน็ ผ้ชู ่วยสง่ั และปฏิบัตริ าชการแทนหัวหน้าคณะผู้แทน หวั หน้าคณะผ้แู ทนเปน็ ผู้รับนโยบายและคาส่งั จากนายกรัฐมนตรมี าปฏิบตั ิการให้ เหมาะสมกับการปฏิบตั ิราชการในตา่ งประเทศ และเป็นหัวหน้าบงั คับบัญชาบุคคลในคณะ ผู้แทน การส่งั และการปฏิบตั ิราชการของกระทรวง ทบวง กรม ตอ่ บคุ คลในคณะผแู้ ทนให้ เป็นไปตามระเบียบทคี่ ณะรัฐมนตรีกาหนด
44 หวั หน้าคณะผู้แทนมีอานาจและหนา้ ที่ ดังน้ี 1. บรหิ ารราชการตามกฎหมายและระเบยี บแบบแผนของทางราชการ 2. บริหารราชการตามทค่ี ณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมายหรอื ตามที่ นายกรัฐมนตรสี ัง่ การในฐานะหวั หน้ารัฐบาล 3. บงั คับบญั ชาบุคคลในคณะผู้แทนและขา้ ราชการฝ่ายพลเรอื นทีม่ ใิ ชบ่ ุคคลในคณะผู้แทน ซ่ึงประจาอย่ใู นประเทศท่ีตนมอี านาจหน้าท่ี เพือ่ ใหก้ ารปฏิบตั ิราชการเป็นไปตาม กฏหมาย ระเบียบ ข้อบงั คับ หรอื คาสั่งของกระทรวง ทบวง กรม หรือมตขิ อง คณะรัฐมนตรหี รอื การส่ังการของนายกรัฐมนตรใี นฐานะหัวหน้ารัฐบาล 4. รายงานขอ้ เทจ็ จรงิ และความเหน็ เกย่ี วกับผลการปฏิบตั ริ าชการของบุคคลตามขอ้ 3. เพอื่ ประกอบการพิจารณาของผบู้ งั คับบัญชาของสว่ นราชการตน้ สังกัดเก่ียวกับการ แตง่ ต้ังและการเลื่อนขั้นเงินเดอื น ---------------------------------------------------------- ขอ้ สอบเคยถามเกีย่ วกบั เหตผุ ลในการประกาศใชพ้ ระราชบัญญัติระเบียบบรหิ าร ราชการแผน่ ดนิ (ฉบบั ที่ 6) พ.ศ. 2546 เพราะวา่ ได้มีการโอนกรมตารวจไปจดั ต้ังเปน็ สานักงานตารวจแห่งชาตแิ ละกาหนดใหผ้ บู้ ังคบั การตารวจภูธรจังหวัดทาหนา้ ท่ีหัวหนา้ ตารวจภูธรจังหวัด จึงสมควรแกไ้ ขเพิ่มเตมิ กฎหมายว่าด้วยระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดิน ในสว่ นของชอื่ กรมตารวจและตาแหนง่ ของข้าราชการตารวจในกรมการจงั หวดั ใหส้ อดคลอ้ งกนั ขอ้ มูลทเี่ ปน็ ขอ้ สอบเก่ียวกับสานักงานตารวจแห่งชาติ - สานักงานตารวจแห่งชาติ (Royal Thai Police Headquarters) - เปน็ ส่วนราชการระดบั กรม มีฐานะเป็นนิตบิ ุคคล - ข้นึ ตรงตอ่ นายกรัฐมนตรี ไมไ่ ดส้ ังกัดสานกั นายกรัฐมนตรแี ละไม่ได้สังกดั กระทรวงใด - มผี ูบ้ ญั ชาการตารวจแหง่ ชาติ เปน็ ผูบ้ งั คับบัญชาสูงสุด - ในอดีตเคยเป็นกรมตารวจ สังกัดกระทรวงมหาดไทย ต่อมาเปล่ียนเป็นแบบปัจจุบันนี้ การเปลยี่ นแปลงน่ีเองท่ีทาใหต้ อ้ งแก้ไข พ.ร.บ. ระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ล่าสดุ
45 แนวข้อสอบเกยี่ วกบั การจดั ระเบียบ กระทรวง ทบวง กรม 1. ผบู้ งั คบั บัญชาระดบั กระทรวงคือขอ้ ใด 5. ข้อใดกล่าวถูกต้องเก่ียวกับอานาจ ก. อธิบดี หนา้ ทเ่ี กย่ี วกบั ราชการทางการเมอื ง ข. เลขาธกิ าร ของแตล่ ะกระทรวง ค. นายกรัฐมนตรี ก. สานกั งานรัฐมนตรี ง. รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง ข. สานักงานปลัดกระทรวง ค. กรมใดกรมหนง่ึ 2. สว่ นราชการแรกสุดของแตล่ ะกระทรวง ง. กองใดกองหนึง่ ซ่ึงมีฐานะเปน็ กรม คือ ขอ้ ใด ก. สานักงานเลขานุการรัฐมนตรี 6. หากจัดตง้ั ทบวงในสงั กดั กระทรวง ข. สานักงานรฐั มนตรี จะมผี ้บู ังคบั บญั ชาคอื ค. สานกั งานปลัดกระทรวง ก. ปลดั ทบวง ง. กรม หรอื สว่ นราชการชอ่ื อยา่ งอ่นื ข. ปลัดกระทรวง ค. รฐั มนตรวี ่าการทบวง 3. ข้อใดกล่าวถูกตอ้ งเกยี่ วกับการแบง่ ส่วน ง. รฐั มนตรวี ่าการกระทรวง ราชการและการบริหารจัดการกระทรวง ก. ทกุ กระทรวงจาเป็นตอ้ งมีกรม 7. ส่วนราชการสว่ นแรกภายในกรม ข. รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงบังคับ คอื ขอ้ ใด บัญชาในสานกั งานรฐั มนตรี ก. สานกั งานอธบิ ดี ค. เลขานกุ ารรัฐมนตรีบงั คับบญั ชาใน ข. สานักงานรฐั มนตรี สานกั งานรัฐมนตรี ค. สานกั งานเลขานกุ ารกรม ง. สานกั ปลัดกระทรวงไม่ได้มีฐานะ ง. สานกั งานเลขาธิการกรม เทียบเท่ากบั กรม เฉลย 4. ผู้รับผิดชอบกาหนดนโยบาย เป้าหมาย 1. ง 5. ก และผลสมั ฤทธข์ิ องงานแต่ละกระทรวง 2. ข 6. ค ก. นายกรัฐมนตรี 3. ค 7. ค ข. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง 4. ข ค. ปลัดกระทรวง ง. คณะรฐั มนตรี
46 การจัดระเบยี บบรหิ ารราชการส่วนภูมิภาค ให้จัดระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค ดงั น้ี (๑) จังหวัด (๒) อำเภอ หมวด 1 จงั หวดั ใหร้ วมท้องทหี่ ลาย ๆ อาเภอตั้งขึ้นเป็นจังหวัดมีฐานะเป็นนิติบคุ คล การตั้ง ยบุ และเปลีย่ นแปลงเขตจังหวดั ใหต้ ราเปน็ พระราชบญั ญัติ แบง่ ส่วนราชการของจังหวดั ดังน้ี (๑) สำนกั งานจงั หวดั มหี ัวหน้าสำนักงานจังหวัดเป็นผู้บังคับบัญชาขา้ ราชการ (๒) สว่ นตา่ งๆซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ไดต้ งั้ ขน้ึ มีหัวหน้าสว่ นราชการประจาจังหวดั เป็น ผู้ปกครองบังคบั บญั ชารับผิดชอบ มีคณะกรมการจงั หวดั ทาหนา้ ท่ีเปน็ ทป่ี รกึ ษาของผู้วา่ ราชการจงั หวดั ในการบริหารราชการแผ่นดิน คณะกรมการจังหวัดประกอบดว้ ย - ผู้ว่าราชการจงั หวดั เป็นประธาน - รองผู้ว่าราชการจงั หวดั หนึ่งคนตามท่ผี ู้ว่าฯมอบหมาย - ปลดั จงั หวดั - อยั การจังหวัดซึ่งเป็นหัวหน้าท่ีทาการอัยการจังหวัด - ผูบ้ งั คับการตารวจภูธรจังหวัด - หัวหน้าส่วนราชการจากกระทรวง ทบวงต่างๆ เป็นกรมการและเลขานุการ - หัวหน้าสานกั งานจังหวดั ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผ้รู ับนโยบายจากฝ่ายบริหารประเทศมาปฏิบัติการใหเ้ หมาะสม กบั ทอ้ งท่ีและประชาชนและเปน็ หัวหน้าบังคบั บญั ชาบรรดาข้าราชการฝ่ายบริหาร ซง่ึ ปฏิบัตหิ นา้ ท่ี ในราชการส่วนภูมภิ าคในเขตจังหวัด และรับผิดชอบในราชการจังหวัดและอาเภอ
47 ให้มีรองผูว้ ่าราชการจังหวัด หรอื ผชู้ ่วยผ้วู า่ ราชการจังหวัด ท้งั ผูว้ า่ ราชการจังหวัด รองผ้วู า่ ฯ หรอื ผ้ชู ่วยผู้วา่ ฯ ให้สังกดั กระทรวงมหาดไทย ใหม้ ีปลัดจังหวดั และหวั หน้าส่วนราชการประจาจังหวัดซง่ึ กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ส่งมาประจาในแตล่ ะจังหวัด ใหจ้ งั หวัดจดั ทำแผนพฒั นาจงั หวดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั แนวทางการพฒั นาเศรษฐกจิ และ สังคมในระดบั ชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถน่ิ ในจังหวัด ในจงั หวดั หน่งึ นอกจากกรงุ เทพมหานคร มคี ณะกรรมการธรรมาภิบาลจงั หวัด ยอ่ ว่า “ก.ธ.จ.” ทาหนา้ ทส่ี อดสอ่ งและเสนอแนะการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ของหน่วยงานของรฐั ในจงั หวดั (ขอ้ สอบทมี่ กั จะออกเปน็ ประจาเลย คอื ถามว่า ก.ธ.จ. ย่อมาจากอะไร และ มีหนา้ ทอ่ี ย่างไร) ก.ธ.จ. ประกอบดว้ ย เปน็ ประธาน ผูต้ รวจราชการสำนักนายกรัฐมนตรีซึ่งมีเขตอำนาจในจังหวัด กรรมการ ผูแ้ ทนภาคประชาสังคม กรรมการ ผู้แทนสมา ชิ ก ส ภา ท้ อ งถ่ิ น ท่ีไม่ ได้ ดาร งตา แ หน่ งผู้ บริ หา ร กรรมการ ผูแ้ ทนภาคธุรกิจเอกชน ในกรณที ่ี ก.ธ.จ. พบว่ามกี ารละเลยไม่ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย ระเบยี บ หรอื ขอ้ บงั คบั หรอื มี กรณที ี่เปน็ การ ทุจริต ให้เป็นหน้าที่ของ ก.ธ.จ. ทจ่ี ะต้องแจ้งให้ผู้ว่าราชการจังหวดั หัวหน้า ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือ หน่วยงานอน่ื ของรัฐทเี่ กีย่ วขอ้ ง แล้วแตก่ รณี เพื่อดำเนนิ การตาม อำนาจหนา้ ที่ต่อไป สรุปผงั โครงสรา้ งการบริหารจังหวัด จงั หวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัด) ก.ธ.จ. สอดส่อง เสนอแนะ คณะกรมการจังหวัด เปน็ ที่ปรึกษาผู้ว่าฯ สานักงานจังหวัด หนว่ ยราชการอื่นๆ หวั หนา้ สานักงานจังหวัด หวั หนา้ ส่วนราชการนั้นๆ
48 จงั หวัดมอี านาจภายในเขตจงั หวัด ดงั ต่อไปนี้ 1. นาภารกิจของรัฐและนโยบายของรฐั บาลไปปฏิบัตใิ ห้เกดิ ผลสัมฤทธิ์ 2. ดูแลใหม้ ีการปฏิบตั แิ ละบงั คับการให้เปน็ ไปตามกฎหมาย เพอ่ื ให้เกิดความสงบเรียบรอ้ ย และเป็นธรรมในสังคม 3. จัดให้มีการค้มุ ครอง ปอ้ งกัน ส่งเสริม และชว่ ยเหลือประชาชนและชมุ ชนที่ดอ้ ยโอกาส เพ่อื ใหไ้ ดร้ ับความเปน็ ธรรมทั้งดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คมในการดารงชีวติ อยา่ งพอเพยี ง 4. จัดให้มกี ารบริการภาครัฐเพอื่ ให้ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ไดอ้ ยา่ งเสมอหนา้ รวดเรว็ และมคี ุณภาพ 5. จดั ให้มีการสง่ เสริม อดุ หนุน และสนบั สนุนองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เพ่ือใหส้ ามารถ ดาเนนิ การตามอานาจหน้าทขี่ ององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น และให้มีขีดความสามารถ พร้อมท่จี ะดาเนนิ การตามภารกจิ ทไี่ ด้รับการถ่ายโอนจากกระทรวง ทบวง กรม 6. ปฏบิ ตั ิหน้าทีอ่ ่ืนตามทคี่ ณะรฐั มนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอืน่ ของรฐั มอบหมายหรือทม่ี ีกฎหมายกาหนด หนา้ ทขี่ องส่วนราชการของรัฐทีป่ ระจาอย่ใู นเขตจังหวดั น้นั ต้องปฏิบัติให้สอดคล้องและเปน็ ไปตามแผนพัฒนาจังหวัด การรักษาราชการแทนในระดบั จงั หวัด กรณที ไ่ี ม่มผี ูด้ ารงตาแหน่งผวู้ า่ ราชการจงั หวดั (หรือมแี ต่อาจปฏิบัตริ าชการได้) ผูร้ ักษาราชการแทนดงั นี้ - รองผู้ว่าราชการจงั หวัด (ถ้ามีรองฯ หลายคน ใหป้ ลดั กระทรวง แต่งตั้งคนใดคนหนึง่ ) - ผูช้ ่วยผูว้ า่ ราชการจงั หวดั (ถ้ามีผู้ช่วยฯ หลายคน ใหป้ ลัดกะทรวง แตง่ ตั้งคนใดคนหนงึ่ ) - ปลัดจงั หวัด (ถา้ มีปลดั ฯ หลายคน ให้ปลดั กระทรวง แต่งต้งั คนใดคนหน่งึ ) ถ้าไมม่ ที ง้ั หมดท่กี ลา่ วมา ให้หวั หน้าสว่ นราชการประจาจงั หวัดซึง่ มอี าวโุ สเปน็ ผรู้ กั ษาราชการแทน *** อาวุโสในการรักษาราชการแทน หมายถึง อาวโุ สตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ
49 พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ตรานานแลว้ และแก้ไขก่อนการรัฐประหาร โดยปงี บประมาณ 2560 นี้ (เริม่ ต้ังแต่ ตุลาคม 2559) มกี ารเปลย่ี นแปลงมากมายในประเทศไทย ขอ้ มูลหลายอย่างน้ันคลาดเคลอ่ื นจากความจรงิ อย่างชดั เจน เพราะโมเดลพฒั นาประเทศของยุคนี้ มีผลตอ่ การกาหนดนโยบายและแนวทางการทางานของส่วนราชการตา่ งๆดว้ ย *** ข้อควรระวงั เรื่องเกยี่ วกับแผนพัฒนาจังหวัด ตามพระราชบัญญัติ มาตรา ๕๓/๑ ระบวุ ่า ใหจ้ งั หวดั จดั ทำแผนพัฒนาจงั หวัดให้ สอดคลอ้ งกบั แนวทางการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมในระดบั ชาตแิ ละความต้องการของ ประชาชนในท้องถน่ิ ในจงั หวัด หากมีโอกาสอา่ นในหนังสือเล่มเดิมๆทว่ั ไป ก็จะระบแุ ละเนน้ ใหต้ วั นี้ ว่าใหต้ อบแบบน้ีนะ เพราะเปน็ ตาราที่อ้างองิ ข้อมลู เตรียมสอบชว่ งปี 2557 แตส่ าหรับตาราเล่มน้ี รุน่ อัพเดต ร่นุ เตรียมสอบปี 2564 ก็จะแนะนาเก่ียวกับนาขอ้ สอบและข้อมลู ตา่ งๆใหค้ ณุ ไดร้ บั ทราบ เป็นข้อมูลจรงิ ที่ทันต่อกระแสปจั จุบนั แนวทางเนื้อหาสาระท่ีจะปรากฏในข้อสอบ 2564 ปจั จบุ ัน การดาเนินการบรหิ ารตา่ งๆในความจรงิ มคี วามยดื หยุ่นและมแี ผนตา่ งๆออกมา ใหมเ่ สมอ ตวั อย่างเช่น กระทรวงมหาดไทยได้สง่ แนวทางหลกั เกณฑก์ ารทาแผนพฒั นาจงั หวดั ให้นาไปสู่การปฏบิ ัติงานตา่ งๆ โดยกาหนดไว้ว่า ให้ดาเนินการสอดคลอ้ ง เชอ่ื มโยงกบั นโยบาย ยุทธศาสตรช์ าติและยุทธศาสตร์การพฒั นาของกระทรวงฯ บูรณาการทุกภาคสว่ น ดังนั้น ผอู้ า่ น ต้องพิจารณาตัวขอ้ สอบและเนอื้ หาตัวเลือกดว้ ยวา่ ถามอะไรมา เพราะผู้ออกสอบระดบั อาจารย์ มหาวทิ ยาลยั มกั ออกข้อสอบซึง่ ใชก้ ารคิดวเิ คราะหห์ รอื กระแสของปจั จุบนั กบั การบริหารงานจรงิ นัน่ เอง (ลองพจิ ารณาดู หากเจอข้อสอบ) ปจั จบุ นั ช่วงปี 2560 เป็นตน้ มา มีการกล่าวถึงคาวา่ “ยทุ ธศาสตร์” อย่างมากเพราะ ถอื เป็นตัวกาหนดแนวทางในการพฒั นาดา้ นต่างๆของประเทศน่ันเอง คานีไ้ ดป้ รากฏออกมา ในรฐั ธรรมนูญฉบบั ถาวรที่ได้ประกาศใช้เมื่อวนั ท่ี 6 เมษายน 2560 และจะเป็นตัวขับเคล่อื น สาคัญตอ่ ไป
50 หมวด 2 อาเภอ ในจงั หวัดหนึง่ ให้มีหนว่ ยราชการบรหิ ารรองจากจังหวัดเรยี กวา่ อำเภอ การตัง้ ยบุ และเปล่ียนเขตอำเภอ ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ให้แบ่งส่วนราชการของอำเภอดงั น้ี (๑) สานกั งานอำเภอ มหี นา้ ท่ีเกย่ี วกบั ราชการท่ัวไปของอาเภอ มนี ายอำเภอเปน็ ผูป้ กครองบังคบั บญั ชาข้าราชการและรับผดิ ชอบงานในสานกั งานอาเภอ (๒) สว่ นราชการอน่ื ๆ มหี ัวหน้าส่วนราชการประจาอาเภอนั้นๆ เป็นผู้ปกครองบังคับบัญชา รบั ผดิ ชอบ อานาจหนา้ ทีข่ องอาเภอภายในเขตอาเภอ 1. ใหน้ าข้อความอานาจหน้าทขี่ องจงั หวดั ทัง้ 6 ข้อนน้ั มาใช้ใหเ้ ปน็ อานาจหนา้ ท่ขี องอาเภอด้วย 2. ส่งเสรมิ สนับสนุน และจดั ให้มกี ารบริการร่วมกนั ของหนว่ ยงานของรฐั ในลักษณะศนู ย์บรกิ ารร่วม 3. ประสานงานกบั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ เพอ่ื ร่วมมือกับชมุ ชนในการดาเนนิ การให้มีแผนชุมชน เพ่ือรองรับการสนบั สนนุ งบประมาณจากองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน จังหวดั และกระทรวง ทบวง กรม 4. ไกลเ่ กลยี่ หรอื จัดให้มกี ารไกล่เกลยี่ ประนอมขอ้ พพิ าทเพอ่ื ใหเ้ กิดความสงบเรยี บร้อยในสงั คม อาเภอหน่งึ ใหม้ คี ณะบุคคลผูท้ าหน้าทไี่ กล่เกล่ียและประนอมข้อพิพาทของ ประชาชนทคี่ กู่ รณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีภมู ลิ าเนาอยใู่ นเขตอาเภอเรอื่ งทพ่ี ิพาท ทางแพง่ เกีย่ วกับทด่ี ินมรดกและขอ้ พพิ าททางแพง่ อน่ื ทีม่ ีทนุ ทรพั ยไ์ ม่เกนิ สองแสนบาทหรือมากกวา่ น้ันตามทีก่ าหนดในพระราชกฤษฏกี า นายอำเภอ (สังกดั กระทรวงมหาดไทย) เปน็ หวั หนา้ ปกครองบงั คับบัญชาบรรดาขา้ ราชการ ในอำเภอ ปลดั อำเภอและหัวหน้าส่วนราชการประจำอำเภอ ช่วยนายอา เภอบริหาร งา นใน แต่ ละ ส่วน ของต น - นายอาเภอยงั เป็นผู้ควบคุมดแู ลการบริหารราชการส่วนท้องถ่ินในอาเภอตามกฎหมายดว้ ย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231