Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ebook_M.Ed._Checoรับทราบหลักสูตรปรับปรุง 2562 (3 กย 64)_flipbook

ebook_M.Ed._Checoรับทราบหลักสูตรปรับปรุง 2562 (3 กย 64)_flipbook

Published by Kasem S. Kdmbooks, 2021-09-06 13:51:56

Description: ebook_M.Ed._Checoรับทราบหลักสูตรปรับปรุง 2562 (3 กย 64)_flipbook

Search

Read the Text Version

๓ ก.ย. ๖๔ หลักสูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒) ภาควชิ าบรหิ ารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

รายละเอยี ดของหลักสตู รครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา https://tinyurl.com/yz7us6fa ภาควชิ าบรหิ ารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั สภามหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย อนมุ ัติ ในการประชมุ ครง้ั ที่ ๔/๒๕๖๒ เมอ่ื วนั อังคารที่ ๓๐ เดอื นเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒

๓ คานา ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ได้เปิด หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เม่ือ พ.ศ.๒๕๔๙ และเปิดหลักสูตร ครศุ าสตรดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา เม่ือ พ.ศ.๒๕๕๔ หลักสูตรมีวัตถุประสงค์หลัก เพ่อื ใหบ้ ัณฑิต ๑.มีความรู้ ความเข้าใจ และมีวิสัยทัศน์ในการบริหารการศึกษาระดับสากล สามารถบูรณา การองคค์ วามรู้เฉพาะดา้ นเขา้ กับหลักพุทธธรรมและศาสตร์สมัยใหมไ่ ด้อยา่ งกลมกลนื ๒.มคี วามเช่ียวชาญเฉพาะด้านบรหิ ารการศึกษา สามารถสังเคราะห์ วิเคราะห์ วิจัย จัดระบบ ประเมนิ ผลขอ้ มลู และพฒั นาองคค์ วามรู้ใหม่ได้ ๓.มีภาวะผู้นา และเป็นแบบอย่างทีดี ฉลาดสามารถนาความรู้คู่คุณธรรมตามหลัก พระพทุ ธศาสนาที่ลึกซึ้งสู่การพฒั นาท่ยี ั่งยืนท้งั ดา้ นกายภาพ สังคม จิตใจ และปัญญา ต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มีการปรับปรุงเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้ปรับชื่อหลักสูตรเป็นครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา ได้ทาการ ปรับปรุงเนือ้ หาให้มีความทันสมยั และสอดคล้องกบั ขอ้ บงั คับคุรุสภา โดยแบ่งเป็นหมวด ตามแนวการ เขียนรายละเอียดของหลักสูตร (Program Specification) ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดบั อุดมศึกษาแห่งชาติ (มคอ. ๒) ประกอบด้วย หมวด ๑ ข้อมลู ทัว่ ไปเกยี่ วกบั หลักสตู ร หมวด ๒ ข้อมลู เฉพาะของหลักสตู ร หมวด ๓ ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลกั สูตร หมวด ๔ ผลการเรียนรู้ กลยุทธก์ ารสอน และการประเมินผล หมวด ๕ หลักเกณฑ์ในการประเมนิ ผลนกั ศกึ ษา หมวด ๖ การพฒั นาคณาจารย์ หมวด ๗ การประกนั คณุ ภาพหลักสูตร หมวด ๘ การประเมนิ และปรบั ปรงุ การดาเนนิ การของหลักสตู ร ขอขอบคณุ ผูบ้ ริหารคณะครุศาสตร์ ผู้บริหารระดับสงู ของมหาวทิ ยาลัย คณะกรรมการบริหาร หลักสูตร คณะทางานหลักสูตร และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีให้ความร่วมมือในการปรับปรุงและ พัฒนาหลักสูตรจนสาเร็จลุล่วงด้วยดี และจะได้นาไปใช้ในการจดั การศึกษาตามวตั ถปุ ระสงคต์ ่อไป ภาควชิ าบริหารการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔ สารบัญ หมวดท่ี ๑ ขอ้ มูลทั่วไป ๑ หมวดที่ ๒ ขอ้ มูลเฉพาะของหลกั สูตร ๕ หมวดท่ี ๓ ระบบการจัดการศึกษา การดาเนนิ การ และโครงสร้างของหลักสูตร ๗ หมวดที่ ๔ ผลการเรียนรู้ กลยุทธก์ ารสอน และการประเมินผล ๒๑ หมวดท่ี ๕ หลกั เกณฑใ์ นการประเมินผล ๓๕ หมวดที่ ๖ การพัฒนาคณาจารย์ ๓๘ หมวดที่ ๗ การประกนั คณุ ภาพหลกั สตู ร ๔๐ หมวดที่ ๘ การประเมนิ และปรบั ปรงุ การดาเนนิ การของหลกั สูตร ๔๗ ภาคผนวก ก คาอธบิ ายรายวิชาในหลักสตู ร ๔๙ ภาคผนวก ข ประวัตแิ ละผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจาหลักสูตร ๖๐ ภาคผนวก ค คาสั่งมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๘๕ เร่ือง แตง่ ต้ังคณะกรรมการพัฒนาและปรบั ปรุงหลกั สตู รฯ พ.ศ. ๒๕๖๒ ภาคผนวก ง ข้อกาหนดมหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๘๙ เรื่อง การจัดตั้งสว่ นงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ (ราชกจิ จานุเบกษา ๒๗ ต.ค.๒๕๔๑) ภาคผนวก จ ประกาศมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๙๓ เรื่อง ปรญิ ญาในสาขาวิชาและอักษรย่อสาหรบั สาขาวิชา ภาคผนวก ฉ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๙๕ ภาคผนวก ช ๑๐๖ คาสง่ั แต่งตงั้ ตาแหนง่ ทางวชิ าการอาจารย์ประจาหลกั สูตร ตารางเปรยี บเทยี บการปรับปรุงหลกั สูตรฯ พ.ศ. ๒๕๖๐ กบั พ.ศ. ๒๕๖๒ หลกั สตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศกึ ษา (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒) ************** ชอื่ สถาบนั อดุ มศึกษา มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะครุศาสตร์ ภาควิชาบรหิ ารการศึกษา หมวดท่ี ๑ ขอ้ มลู ท่ัวไป ๑. รหัสและช่อื หลักสูตร รหัสหลกั สตู ร : ๒๕๔๙๑๘๕๑๑๐๐๑๖๗ ชื่อภาษาไทย : หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา ชื่อภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Buddhist Educational Administration ๒. ช่อื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า ช่อื เต็ม (ไทย) : ครุศาสตรมหาบัณฑิต (พทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา) ชอ่ื ย่อ (ไทย) : ค.ม. (พทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา) ชื่อเตม็ (อังกฤษ) : Master of Education (Buddhist Educational Administration) ช่ือย่อ (อังกฤษ) : M.Ed. (Buddhist Educational Administration) ๓. วิชาเอก หรอื ความเช่ียวชาญเฉพาะของหลักสูตร - ๔. จานวนหน่วยกิตท่ีเรียนตลอดหลกั สูตร แผน ก แบบ ก ๒ จานวน ๔๒ หนว่ ยกิต ๕. รปู แบบของหลักสูตร ๕.๑ รูปแบบ : เป็นหลักสตู รระดับปริญญาโท หลักสูตร ๒ ปี ๕.๒ ภาษาทใ่ี ช้ : การจดั การเรยี นการสอนเป็นภาษาไทย ๕.๓ การรับเข้าศกึ ษา : ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศทีส่ ามารถใช้ภาษาไทยได้ ๕.๔ ความร่วมมือกับสถาบนั อ่นื : เป็นหลกั สูตรเฉพาะสถาบนั ๕.๕ การใหป้ รญิ ญาผู้สาเร็จการศึกษา : ปริญญาครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา ๖. สถานภาพของหลักสตู ร ๖.๑ หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๒ ปรบั ปรุงจากหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหาร การศกึ ษา (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๖.๒ กาหนดเปิดสอนภาคการศึกษาที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ๖.๓ สภาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เห็นชอบหลักสูตรในการประชุมคร้ังท่ี ๔/๒๕๖๒ เมอื่ วนั เสาร์ท่ี ๒๐ เดอื นเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ๖.๔ สภามหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย อนุมัติหลักสูตรและอนุมัติให้เปิดสอนในการประชุม ครั้งท่ี ๔/๒๕๖๒ เม่ือวนั อังคารท่ี ๓๐ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒

๖ ๗. ความพรอ้ มในการเผยแพร่หลักสตู รทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๘. อาชพี ที่ประกอบได้หลงั สาเร็จการศึกษา ๘.๑ อาจารยใ์ นสถาบันการศึกษา ๘.๒ ผ้บู ริหารการศกึ ษาองค์กรของรฐั เอกชน หรอื คณะสงฆ์ ๘.๓ นักวชิ าการศึกษา ครู พนกั งานของรฐั อนุศาสนาจารย์ประจากองทัพ ๘.๔ นกั พัฒนาสังคม วทิ ยากรอบรมคุณธรรมจริยธรรม พระวิปัสสนาจารย์ ๘.๕ นกั วจิ ัย หรอื วิชาการอิสระ ๙. อาจารย์ผ้รู ับผิดชอบหลกั สตู ร ชอื่ -นามสกลุ เลขประจาตัวประชาชน ตาแหน่ง และคณุ วุฒิการศกึ ษาของอาจารย์ผ้รู ับผิดชอบหลักสูตร ที่ ชอ่ื –ฉายา/สกลุ ตาแหนง่ คณุ วฒุ /ิ สาขาวิชา สถาบันท่สี าเรจ็ ปีที่ และเลขประจาตวั ประชาชน ทางวิชาการ สาเรจ็ พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศกึ ษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๑ นายเกษม แสงนนท์ อาจารย์ วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) ม. ศรปี ทุม ๒๕๕๘ พธ.บ. (การบริหารรฐั กจิ ) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๔๘ ๓ ๔๓๐๕ ๐๐๔๒๓ xx x อาจารย์ พธ.ด. (พทุ ธบรหิ ารการศึกษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๓๘ ร.ม. (รฐั ศาสตร์) ม. รามคาแหง ๒ พระครกู ิตติญาณวสิ ิฐ อาจารย์ พธ.บ. (พระพทุ ธศาสนา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๗ (ธนา หอมหวล) พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศกึ ษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๒ ๕ ๒๑๐๑ ๐๐๐๓๔ xx x พธ.ม. (การบรหิ ารการศกึ ษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๐ พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๓ พระครโู อภาสนนทกิตติ์ ๒๕๕๗ (ศักดา โอภาโส/แสงทอง) ๒๕๕๕ ๓ ๑๐๑๖ ๐๐๗๗๕ xx x ๒๕๕๓ ๑๐. สถานทจี่ ัดการเรยี นการสอน คณะครศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ทตี่ ้ัง : เลขที่ ๗๙ หมทู่ ี่ ๑ ตาบลลาไทร อาเภอวงั น้อย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ๑๓๑๗๐ ๑๑. สถานการณ์ภายนอกหรอื การพฒั นาทีจ่ าเปน็ ในการวางแผนหลกั สูตร ๑๑.๑ สถานการณห์ รือการพฒั นาทางเศรษฐกิจ ปจั จบุ นั สงั คมไทยมีการแข่งขันสูง ประชาชนมงุ่ พัฒนาเศรษฐกิจ รวมถึงการไหลบ่าของวัฒนธรรมตะวันตก ทาให้สังคมเป็นสังคมวัตถุนิยมไม่ค่อยคานึงถึงด้านจิตใจ การพัฒนามนุษย์ในสังคมจะต้องพัฒนาทั้งร่างกายและ จติ ใจ โดยอาศัยการศึกษาควบคู่กับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปบูรณาการใช้กับตนเอง องค์กร ชุมชน และ ประเทศชาติ ๑๑.๒ สถานการณ์หรือการพฒั นาทางสังคมและวฒั นธรรม สังคมและวัฒนธรรมมปี ัญหาที่เพม่ิ ข้ึนทกุ วัน เช่น ความรุนแรง การทุจริตคอรัปชั่น ความเลื่อมล้าใน สังคม การใช้กฎหมายอย่างไม่เป็นธรรม การขาดหลักธรรมาภิบาลในองค์กร เป็นต้น การศึกษาวิทยาการ อยา่ งเดยี วโดยไมไ่ ด้ศึกษาหลกั ธรรมด้วย ก็จะแกไ้ ขปัญหาดังกลา่ วได้ยาก การศึกษาจึงควรควบคู่ไปกับการพัฒนา คุณภาพจิตใจ เช่ือมโยงหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและมีความกลมกลืนกับวัฒนธรรม การดารงชีวิตของ มนษุ ยจ์ งึ สมบรู ณ์ได้ หลกั สูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๗ ๑๒. ผลกระทบจากข้อ ๑๑ ๑๒.๑ การพฒั นาหลกั สูตร เพ่ือสร้างบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วยการศึกษาและสามารถ นาหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาไปบูรณาการกับการบริหารการศกึ ษาอย่างลึกซ้ึง และสอดคล้องกับสถานการณ์ ทางเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง และวัฒนธรรม ๑๒.๒ ความเกยี่ วขอ้ งกับพันธกิจของสถาบนั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชปณิธานที่จะสร้างมหาวิทยาลัยแห่งน้ีให้เป็น ที่ศึกษาพระไตรปิฎกและวิชาการช้ันสูง เพ่ือผลิตบัณฑิตที่มีความรู้คู่คุณธรรมไปรับใช้สังคมและประเทศชาติ ขณะเดียวกันทางหลักสูตรก็ต้องผลิตมหาบัณฑิตท่ีสอดคล้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย ๔ ด้านคือ จัด การศึกษาอย่างมีคุณภาพ วิจัยและพัฒนา บริการวิชาการแก่สังคม และทานุบารุงศิลปะวัฒนธรรมและส่งเสริม พระพุทธศาสนา ๑๓. ความสัมพนั ธก์ ับหลักสูตรอ่ืนทเี่ ปิดสอนในคณะ/สาขาวชิ าอืน่ ของมหาวทิ ยาลยั ๑๓.๑ กลมุ่ วิชา/รายวิชาในหลักสูตรนท้ี เ่ี ปดิ สอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลกั สตู รอ่นื วิชาภาษาอังกฤษ วิชาพื้นฐานภาษาบาลี และวิชาวิปัสสนากรรมฐาน เป็นรายวิชาบังคับที่กาหนดให้ นิสิตเรยี น เพือ่ ใหม้ คี วามรรู้ ะดบั สากลและเปน็ วิชาอตั ลักษณ์ของสถาบนั ๑๓.๒ กลุ่มวิชา/รายวชิ าในหลกั สูตรทเี่ ปิดสอนใหภ้ าควชิ า/หลกั สตู รอ่นื ตอ้ งมาเรียน -ไม่มี ๑๓.๓ การบริหารจัดการหลกั สูตร มีแนวทางในการบรหิ ารจดั การใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ดงั น้ี ๑. แตง่ ตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสตู ร ผอู้ านวยการหลกั สูตร และอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบ ๒. มอบหมายใหค้ ณะกรรมการกากับดูแลการจดั การศึกษาตามมาตรฐานของหลักสูตร ๓. แต่งต้ังผู้ประสานงานหลักสูตร หรือเลขานุการหลักสูตร ทาหน้าท่ีประสานงานกับอาจารย์ ผู้บรรยาย และผู้เกี่ยวข้องต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอก เพื่อให้การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล และ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของหลกั สูตร เปน็ ไดด้ ว้ ยความเรยี บรอ้ ย หลักสตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๘ หมวดท่ี ๒ ขอ้ มูลเฉพาะของหลกั สูตร ๑. ปรัชญา ความสาคัญ และวตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร ๑.๑ ปรชั ญาและความสาคญั ของหลักสตู ร มุ่งพัฒนาผู้บริหารการศึกษาและบริหารสถานศึกษาให้มีความรู้ที่กว้างขวาง ลึกซ้ึง สามารถวิจัยและ พฒั นานวัตกรรมต่างๆ ไดอ้ ย่างสากล ทันเหตุการณแ์ ละยุคสมัย Thailand ๔.๐ และสามารถบูรณาการหลักพุทธ ธรรมเพ่ือการบริหารการศึกษา การจัดการเรียนการสอน การพัฒนามนุษย์ การบริการ ตลอดถึงการดาเนินชีวิต ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สามารถดารงอย่ใู นโลกท่ีเปล่ียนแปลงไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ปัจจุบันการบริหารการศึกษาสมัยใหม่ แม้จะมีความเจริญก้าวหน้าด้านวิทยาการและเทคโนโลยีเป็น อย่างมาก แต่หลักคณุ ธรรมและจริยธรรมยังมีจาเป็นอยู่ทุกยุคสมัย หลักสูตรจึงเน้นการบูรณาการหลักพุทธธรรม กับศาสตร์สมัยใหม่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ผู้ทรงสถาปนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยข้ึน ให้เป็นสถานศึกษา พระไตรปฎิ กและวชิ าช้นั สูงสาหรับพระภิกษสุ ามเณรและคฤหัสถ์ ๑.๒ วัตถุประสงคข์ องหลักสตู ร หลักสตู รมีวัตถุประสงค์ ดงั นี้ ๑. เพ่ือผลิตมหาบัณฑิตให้เป็นผู้มีความรู้และเข้าใจศาสตร์ด้านบริหารการศึกษาอย่างกว้างขวาง มี วสิ ัยทศั น์กว้างไกล มีความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ และมีภาวะผู้นาในทางวชิ าการ ๒. เพ่ือผลิตมหาบัณฑิตให้เป็นผู้มีความสามารถในการใช้งาน และพัฒนานวัตกรรมการบริหาร การศกึ ษา การวิจัย และสรา้ งสรรองคค์ วามร้ใู หม่ๆ ทเ่ี หมาะกับภาระงานหรือบริการแกส่ งั คม ๓. เพ่ือผลิตมหาบัณฑิตให้สามารถบูรณาการหลักพุทธธรรมกับการบริหารการศึกษาอย่างเหมาะสม เปน็ ผมู้ คี วามรู้คคู่ ณุ ธรรม รูเ้ ท่าทันสถานการณ์ และดารงตนอย่ใู นสังคมอยา่ งมคี วามสุข ๒. แผนพัฒนาปรบั ปรงุ หลกั สตู ร แผนการพฒั นา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่งช้ี ๑. ปรบั ปรงุ หลกั สตู รใหไ้ ดต้ าม - ม่งุ พฒั นาหลกั สูตรให้มาตรฐาน - เอกสารปรบั ปรงุ หลกั สูตร มาตรฐาน สกอ. ครุ สุ ภา ระดับสากล สอดคล้องกบั - รายงานผลการประเมิน และสอดคล้องกบั แผนการ มาตรฐาน สกอ. และครุ สุ ภา หลักสูตร ศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ -๒๕๗๙ - ตดิ ตามประเมนิ หลกั สตู รอย่าง ๒. ปรับปรุงหลักสตู รให้ สม่าเสมอ สอดคลอ้ งกับความต้องการ ของภาครฐั เอกชน และคณะ - ติดตามความเปลีย่ นแปลงใน - รายงานผลประเมินความ สงฆ์ ความตอ้ งการขององค์กรภาครัฐ พึงพอใจของผู้เรียนต่อ เอกชน และคณะสงฆ์ ความรู้และความทันสมยั - นานวตั กรรมและเทคโนโลยี ของหลักสูตร ใหมๆ่ มาใชใ้ นการเรียนการ - รายงานผลการประเมนิ สอน เพ่ิมศักยภาพของหลกั สูตร ความพึงพอใจของผู้ใช้ - ตดิ ตามความพงึ พอใจของผู้ใช้ บัณฑติ บณั ฑิต หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๙ แผนการพฒั นา/เปลีย่ นแปลง กลยทุ ธ์ หลกั ฐาน/ตวั บ่งช้ี ๓. พฒั นาบุคลากรด้านการเรียน - อาจารยท์ ุกคนต้องอบรม - รายชือ่ อาจารย์ที่เข้ารบั การสอน และการบรกิ าร เกีย่ วกบั หลักสตู ร เทคนิคการ การอบรม วิชาการ สอน การวจิ ัย และการวัดผล ประเมินผล สมา่ เสมอ - ปริมาณงานบริการ วิชาการต่ออาจารยใ์ น - สง่ เสรมิ คณาจารย์ให้บริการ หลักสตู ร วชิ าการแก่สังคมในรปู แบบ ตา่ งๆ - รายงานผลประเมินความ พงึ พอใจของผ้ใู ช้บริการ - ส่งเสริมใหน้ าความรทู้ ้ังทฤษฎี วิชาการ และผลจากงานวิจยั ไปใชเ้ พ่ือ ประโยชน์แกช่ ุมชน สงั คมหรือ - จานวนโครงการ/กจิ กรรม คณะสงฆ์ ท่เี ป็นประโยชน์ต่อชมุ ชน - ใบรบั รองวชิ าชีพ (กรณีมี การสง่ เขา้ อบรม) หลักสตู รครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศึกษา (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๑๐ หมวดที่ ๓ ระบบการจัดการศกึ ษา การดาเนินการและโครงสร้างหลักสตู ร ๑. ระบบการจดั การศกึ ษา ๑.๑ ระบบ ระบบการศึกษาใช้ระบบทวิภาค โดย ๑ ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกตมิ เี วลาศกึ ษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ ท้ังน้ีให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ ราชวทิ ยาลยั วา่ ด้วยการศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๑ (ฉบบั ที่ ๓) แกไ้ ขเพ่มิ เติมพุทธศักราช ๒๕๔๙ ๑.๒ การจัดการศึกษาภาคฤดรู ้อน อาจจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนได้ ๑ ภาคการศึกษา มีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๘ สัปดาห์ โดยให้เป็นไป ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ และ ฉบบั แกไ้ ขเพ่มิ เติม พ.ศ. ๒๕๔๙ ๒. การดาเนนิ การของหลกั สตู ร ๒.๑ วนั เวลา ในการดาเนินการเรยี นการสอน จัดการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน ๕ ปีการศึกษา โดย แบง่ เปน็ ภาคการศึกษา วัน เวลา ในการดาเนินการเรียนการสอน ดงั น้ี ภาคการศึกษาที่ ๑ ระหวา่ งเดือนมถิ นุ ายน ถงึ เดอื นตลุ าคม วันพฤหัสบดี – วนั ศกุ ร์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. วนั เสาร์ – วันอาทิตย์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. ภาคการศกึ ษาที่ ๒ ระหว่างเดอื นพฤศจิกายน ถงึ เดอื นมนี าคม วนั พฤหัสบดี – วันศกุ ร์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. วนั เสาร์ – วนั อาทิตย์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. ภาคฤดูรอ้ น ระหวา่ งเดอื นเมษายน ถึง เดอื นพฤษภาคม วันพฤหัสบดี – วนั ศุกร์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. วันเสาร์ – วนั อาทิตย์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. ๒.๒ คุณสมบตั ขิ องผ้เู ขา้ ศกึ ษา ผู้เขา้ ศกึ ษาต้องมคี ณุ สมบัติ ดังนี้ ๑. จบปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ทุกสาขา จากสถาบันที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และสานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) รับรอง และมีผลการเรียนเฉล่ีย ๒.๕๐ ข้ึนไป ยกเว้นมปี ระสบการณ์ทางานตดิ ตอ่ กนั ไม่น้อยกว่า ๒ ปี นบั แต่จบการศกึ ษา หรือ ๒. จบเปรยี ญธรรม ๙ ประโยค หรือ บาลศี ึกษา ๙ จากระบบการศกึ ษาของคณะสงฆ์ไทย ๓. ไม่เป็นโรคติดต่อรา้ ยแรง โรคทีส่ ังคมรงั เกยี จ หรือโรคทเ่ี ป็นอปุ สรรคต่อการศกึ ษา ๔. ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วทิ ยาลยั ๕. คุณสมบัติอ่ืน ให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัย หรือตามท่ีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร กาหนด หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๑๑ ๒.๓ วธิ ีคัดเลอื กผู้เขา้ ศกึ ษา มวี ธิ ีการคดั เลือกผ้เู ขา้ ศกึ ษา ดงั น้ี ๑. ประชุมคณะกรรมการประจาหลักสูตร กาหนดการรับสมัครประจาปีการศึกษา สอบข้อเขียน สอบสัมภาษณ์ ประกาศผลสอบ ผู้สมคั รต้องผา่ นกระบวนการคัดเลอื กตามที่หลักสูตรกาหนด ๒. วิธีคัดเลือกอ่นื ให้ปฏิบตั ติ ามข้อบงั คับมหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยว่าด้วยการศึกษา ระดับบณั ฑิตศึกษา หรือตามท่ีคณะกรรมการบริหารหลักสตู รกาหนด ๒.๔ ปัญหาของนิสิตแรกเขา้ ปญั หาของนิสติ โดยสรปุ มดี ังนี้ ๑. มคี วามรพู้ ้ืนฐานด้านการบริหารการศึกษาน้อย ๒. มีทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาบาลี และการติดต่อส่อื สารนอ้ ย ๓. มที ักษะด้านการวิเคราะห์สถติ ิ และการใชเ้ ทคโนโลยีเพื่อการศึกษาน้อย ๔. มคี วามเข้าใจเก่ียวกับข้นั ตอน กระบวนการ และการเขียนรายงานวจิ ัยนอ้ ย ๕. มคี วามรเู้ ก่ียวกบั การบูรณาการหลกั พทุ ธธรรมกับการศึกษาน้อย ๒.๕ กลยุทธ์ในการดาเนนิ การเพื่อแกไ้ ขปญั หา/ข้อจากัดของนิสิต หลกั สูตรมีกลยุทธ์ในการแกไ้ ขปญั หา/ข้อจากัดของนสิ ิต ดังนี้ ๑. จัดสอนรายวชิ าพน้ื ฐานความร้ดู า้ นการจัดการศกึ ษาสาหรับผจู้ บไมต่ รงสาขา ๒. สอนเสรมิ ภาษาอังกฤษตามมาตรฐานสากล และภาษาบาลีท่เี ป็นอัตลักษณ์สถาบัน ๓. จัดทาโครงการคลีนิควทิ ยานิพนธ์ แนะนาการทาวิทยานพิ นธใ์ ห้สาเรจ็ ตามระยะเวลา ๔. สอนวิธีการใช้นวัตกรรม และเทคนิคการวิเคราะห์ รวมถึงการบูรณาการหลักพุทธธรรมกับการ เรียนการสอน การวิจัย และการนาไปใชใ้ นการบริหารการศึกษา ๒.๖ แผนการรับนสิ ติ และจานวนผสู้ าเร็จการศกึ ษาในระยะเวลา ๕ ปี ชัน้ ปกี ารศกึ ษา จานวนนสิ ติ แต่ละปกี ารศกึ ษา* ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ช้นั ปที ่ี ๑ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ชน้ั ปที ี่ ๒ - ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ รวม ๖๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ จานวนท่ีคาดวา่ จะสาเร็จการศึกษา - ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ * จดั การศึกษาจานวน ๒ หอ้ ง ๆ ละ ๓๐ คน ๒.๗ งบประมาณตามแผน (คิดเปน็ รวมค่ากลางสาหรบั ทุกแห่ง) ๒.๗.๑ งบประมาณรายรับ หลักสูตรมีแผนรับนิสิตปีละ ๖๐ รูป/คน แต่ละคนมีค่าบารุงการศึกษา ค่าลงทะเบียนเรียน และ ค่าธรรมเนยี มอืน่ ๆ ตลอดหลกั สูตรเฉล่ียคนละ ๑๐๕,๐๐๐ บาท เฉลี่ยตอ่ ปี คนละ ๕๒,๕๐๐ บาท รายการรบั ประมาณการรายรบั ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ค่าธรรมการศกึ ษา (เหมาจา่ ย) ประกอบดว้ ย ค่าบารงุ การศกึ ษา, ๕๒,๕๐๐ ๕๒,๕๐๐ ๕๒,๕๐๐ ๕๒,๕๐๐ ๕๒,๕๐๐ ค่าลงทะเบยี นเรียน, คา่ ธรรมอื่นๆ จานวนนิสติ (คน) ๑๓๐ ๑๓๐ ๑๓๐ ๑๓๐ ๑๓๐ หลักสตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๑๒ รวมทั้งสน้ิ ๖,๘๒๕,๐๐๐ ๖,๘๒๕,๐๐๐ ๖,๘๒๕,๐๐๐ ๖,๘๒๕,๐๐๐ ๖,๘๒๕,๐๐๐ ๒.๗.๒ งบประมาณรายจา่ ย รายการจา่ ย ประมาณรายรับในปีงบประมาณ (พ.ศ.) ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๑. คา่ ตอบแทนการบรรยาย (ปลี ะ ๘ วชิ าๆ ละ ๔๕ ชม. X ๔ แห่ง รวม ๑,๔๔๐,๐๐๐ ๑,๔๔๐,๐๐๐ ๑,๔๔๐,๐๐๐ ๑,๔๔๐,๐๐๐ ๑,๔๔๐,๐๐๐ เป็น ๑,๔๔๐ ชม.ๆ ละ ๑,๐๐๐) ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๒. ค่าตอบแทนกรรมการสอบหัวขอ้ และ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ ๓๒๕,๐๐๐ โครงร่างวทิ ยานพิ นธ์ (นสิ ิต ๑๓๐ ๕๒๐,๐๐๐ ๕๒๐,๐๐๐ ๕๒๐,๐๐๐ ๕๒๐,๐๐๐ ๕๒๐,๐๐๐ คนๆ ละ ๒,๕๐๐) ๒๖๐,๐๐๐ ๒๖๐,๐๐๐ ๒๖๐,๐๐๐ ๒๖๐,๐๐๐ ๒๖๐,๐๐๐ ๓. ค่าตอบแทนที่ปรึกษาวิทยา นพิ นธ์ (นสิ ติ ๑๓๐ คนๆ ละ ๒,๕๐๐) ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐ ๔. คา่ ตอบแทน กก.สอบป้องกัน ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ วทิ ยานิพนธ์ (๑๓๐ คน เฉลีย่ คนละ ๓๒๐,๐๐๐ ๔,๐๐๐) ๖๘๒,๕๐๐ ๓๒๐,๐๐๐ ๓๒๐,๐๐๐ ๓๒๐,๐๐๐ ๓๒๐,๐๐๐ ๖๘๒,๕๐๐ ๖๘๒,๕๐๐ ๖๘๒,๕๐๐ ๖๘๒,๕๐๐ ๕. คา่ พาหนะอาจารย์นิเทศนสิ ิตฝกึ ปฏิบัตวิ ิชาชีพบรหิ ารการศึกษา (เฉลี่ยนสิ ติ ๑๓๐ คนๆ ละ ๒,๐๐๐) ๖. ค่าจัดกจิ กรรมเสรมิ ความเปน็ ผ้นู า ทางวชิ าชพี บรหิ ารการศึกษา (ปลี ะ ๒ โครงการ ๆ ละ ๑๐๐,๐๐๐) ๗. คา่ ใช้สอย (๔ แห่ง เฉล่ยี แหง่ ละ ๑๐๐,๐๐๐๐) ๘. ค่าวัสดุ หรอื ครภุ ณั ฑ์ (๔ แห่ง เฉลย่ี แหง่ ละ ๘๐,๐๐๐๐) ๙. คา่ บารงุ สถาบนั (รอ้ ยละ ๑๐ ต่อป)ี ๑๐. รายจ่ายอน่ื ----- รวมท้งั สนิ้ ๔,๔๗๒,๕๐๐ ๔,๔๗๒,๕๐๐ ๔,๔๗๒,๕๐๐ ๔,๔๗๒,๕๐๐ ๔,๔๗๒,๕๐๐ ๒.๘ รูปแบบการจดั การศกึ ษา แบบช้ันเรยี น พรอ้ มทัง้ มกี ารสัมมนา ศกึ ษาดงู าน และฝึกประสบการณบ์ ริหารการศกึ ษา ๒.๙ การเทียบโอนหนว่ ยกิต รายวชิ า และการลงทะเบียนข้ามสถาบัน ไม่มี ๓. หลักสตู ร และอาจารย์ผูส้ อน ๓.๑ หลกั สูตร ๓.๑.๑ จานวนหน่วยกติ การเรียนตลอดหลักสูตรมี ๔๒ หน่วยกิต จัดการศึกษาตาม แผน ก แบบ ก ๒ ผู้เรียนต้องศึกษา รายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๑ หน่วยกิต และทาวิทยานิพนธ์ท่ีมีค่าเทียบไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต โดยใช้เวลาใน การศึกษาไม่เกิน ๕ ปกี ารศกึ ษา หลกั สตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา (หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๑๓ ๓.๑.๒ โครงสรา้ งหลกั สตู ร หลักสตู รประกอบด้วยหมวดวชิ าต่างๆ ดงั นี้ ๑. หมวดวิชาบังคับ หมายถึง วิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามท่ีตนเองถนัดหรือสนใจ มี ทักษะในการแสวงหาความรู้ การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรมและเทคโนโลยี หรือวิชาท่ีต้องการ เสริมสร้างคณุ ลักษณะเฉพาะของหลักสตู รหรอื สถาบัน ๒. หมวดวิชาเอก หมายถึง วิชาแกน หรือวิชาเฉพาะด้าน หรือวิชาชีพท่ีมุ่งหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบตั ิได้จรงิ รวมถงึ การฝึกประสบการณภ์ าคสนาม เพ่ือเสริมสร้างความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ ตรงของนสิ ติ ตามสาขาวิชาทศ่ี ึกษา ๓. หมวดวิชาเลือก หมายถึง วิชาท่ีเสริมสร้างความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความรอบรู้ เข้าใจและ เห็นคณุ ค่าของตนเอง ผู้อื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ดาเนินชีวิตอย่างมี คุณธรรม พร้อมช่วยเหลอื เพ่ือนมนษุ ย์ และเป็นพลเมอื งทมี่ คี ณุ คา่ ของสังคมไทยและสังคมโลก ๔. วทิ ยานพิ นธ์ หมายถึง งานวจิ ัยหรือการค้นควา้ ที่นิสิตทาเพอื่ การศึกษาหรือพฒั นาองค์ความรู้ใหม่ ตามเกณฑ์ของหลกั สูตร ผู้เข้าศึกษาต้องสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษสาหรับบัณฑิตศึกษา และทากิจกรรมทางวิชาการ สัมมนา ศึกษาดูงาน และปฏิบัติกรรมฐาน ตามที่หลักสูตรหรือมหาวิทยาลัยกาหนดข้ึน เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเชีย่ วชาญ และอัตลกั ษณเ์ ฉพาะแกน่ ิสิต สรุปเปน็ ตารางดังน้ี ที่ โครงสรา้ งหลกั สตู ร แผน ก แบบ ก ๒* ๑ หมวดวชิ าบงั คับ - - วชิ าบังคับ นับหนว่ ยกิต ๙ - วิชาบังคบั ไม่นับหนว่ ยกิต (๓) ๒ หมวดวิชาเอก ๒๑ ๓ หมวดวชิ าเลือก (๓) ๔ วทิ ยานพิ นธ์ ๑๒ รวมทั้งส้ิน ๔๒ *เลขใน (....) เป็นวชิ าท่ีไม่นบั หนว่ ยกิต ๓.๑.๓ รายวิชาในหลกั สตู ร ภาคการศึกษาปกติ ใหล้ งทะเบียนเรียนได้ไมเ่ กิน ๑๕ หนว่ ยกติ โดยกาหนดรหสั วชิ า ดงั นี้ เลข ๓ ตัวแรก = ตวั ท่ี ๑ แสดงคณะ ตัวท่ี ๒-๓ แสดงสาขาวิชา/ภาควิชา เลข ๓ ตัวหลัง = ตวั ท่ี ๑ แสดงหมวดวชิ า ตวั ท่ี ๒-๓ แสดงชอ่ื วิชา มรี ายวิชาทตี่ อ้ งศึกษาตามหมวดตา่ งๆ ดังนี้ ๑. หมวดวิชาบังคับ เน้นให้ศึกษาถึงอัตลักษณ์ของสถาบันและเคร่ืองมือในการศึกษา ค้นคว้า และ วิจัยต่อไป แบ่งเปน็ ๒ กล่มุ คือ ๑.๑ วิชาบังคับ นับหน่วยกิต จานวน ๙ หนว่ ยกิต ๒๑๐ ๑๐๑ สมั มนากจิ กรรมการเรยี นรู้เชงิ พทุ ธบูรณาการ ๓ (๒-๒-๕) Seminar on Buddhist Integrational Active Learning ๒๑๐ ๑๐๒ ระเบยี บวธิ กี ารวจิ ยั ทางพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ๓ (๒-๒-๕) Buddhist Educational Administration Research Methodology หลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๑๔ ๒๑๐ ๑๐๓ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการบริหารโรงเรียนวิถีพทุ ธ ๓ (๒-๒-๕) Innovation and Tecnology for Buddhist School Administration ๑.๒ วิชาบงั คบั ไม่นับหนว่ ยกติ จานวน ๑ รายวิชา ๒๑๐ ๑๐๔ กรรมฐาน (๓) (๒-๒-๕) Meditation ๒. หมวดวิชาเอก เป็นวิชาเฉพาะสาขาที่ต้องศึกษา โดยมีเนื้อหาสอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานความรู้ ผบู้ ริหารการศกึ ษาของครุ สุ ภา และสถานการณ์ปจั จบุ นั จานวน ๒๑ หน่วยกติ ๒๑๐ ๒๐๑ การพฒั นาวชิ าชีพทางการศกึ ษา ๓ (๒-๒-๕) Professional Development in Education ๒๑๐ ๒๐๒ ภาวะผนู้ าทางการศึกษา ๓ (๒-๒-๕) Educational Leadership ๒๑๐ ๒๐๓ นโยบายและหลักการบริหารการศึกษา ๓ (๒-๒-๕) Policy and Principle of Educational Administration ๒๑๐ ๒๐๔ การพัฒนาหลกั สูตรและส่งเสรมิ คณุ ภาพการศึกษา ๓ (๒-๒-๕) Curriculum Development and Educational Quality Promoting ๒๑๐ ๒๐๕ การประกนั คุณภาพการศกึ ษา ๓ (๒-๒-๕) Quality Assurance in Education ๒๑๐ ๒๐๖ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี ๓ (๒-๒-๕) Morality and Professional Ethics ๒๑๐ ๒๐๗ การฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารวชิ าชพี บรหิ ารสถานศึกษา ๓ (๙๐) Training Experience in Educational Administration ๓. หมวดวิชาเลือก เป็นวิชาเสริมความรู้ความเช่ียวชาญในสาขา อัตลักษณ์ของสถาบัน และเป็นไป ตามความสนใจของนิสิต ศึกษาโดยไมน่ ับหนว่ ยกิต ไม่น้อยกวา่ ๑ รายวชิ า (ใชเ้ ปน็ หนว่ ยกิต) ๒๑๐ ๓๐๑ ภาษาองั กฤษสาหรับพุทธบริหารการศึกษา (๓) (๒-๒-๕) English for Buddhist Educational Administration ๒๑๐ ๓๐๒ พื้นฐานภาษาบาลี (๓) (๒-๒-๕) Basic Pali Language ๒๑๐ ๓๐๓ การบริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลศิ (๓) (๒-๒-๕) School Administration for Excellence ๒๑๐ ๓๐๔ การวิจยั แบบผสานวิธี (๓) (๒-๒-๕) Mixed Methodology Research ๒๑๐ ๓๐๕ การบรหิ ารสูค่ วามเป็นโรงเรียนวิถพี ทุ ธ (๓) (๒-๒-๕) Buddhist School Administration ๒๑๐ ๓๐๖ การศกึ ษาอสิ ระทางพุทธบรหิ ารการศึกษา (๓) (๒-๒-๕) Independent Studies in Buddhist Educational Administration ๔) วิทยานพิ นธ์ ๑๒ หน่วยกิต ๒๑๐ ๔๐๑ วทิ ยานิพนธ์ Thesis หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๑๕ ๓.๑.๔ แผนการศกึ ษา มีแผนการจดั การศกึ ษา ๔ ภาคการศึกษาปกติ ดังน้ี รหสั วิชา ชน้ั ปีที่ ๑ ภาคการศกึ ษาท่ี ๑ หน่วยกิต ๒๑๐ ๒๐๑ ๓ (๒-๒-๕) ช่ือวิชา ๒๑๐ ๑๐๒ ๓ (๒-๒-๕) การพฒั นาวิชาชีพทางการศึกษา ๒๑๐ ๒๐๒ Professional Development in Education ๓ (๒-๒-๕) ระเบียบวิธกี ารวิจัยทางพุทธบรหิ ารการศกึ ษา ๒๑๐ ๑๐๓ Buddhist Educational Administration Research Methodology ๓ (๒-๒-๕) ภาวะผู้นาทางการศึกษา Educational Leadership ๑๒ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการบรหิ ารโรงเรยี นวถิ ีพุทธ Innovation and Tecnology for Buddhist School Administration รวม รหัสวชิ า ชัน้ ปีที่ ๑ ภาคการศกึ ษาท่ี ๒ หนว่ ยกิต ๒๑๐ ๒๐๓ ๓ (๒-๒-๕) ชอื่ วิชา ๒๑๐ ๒๐๔ ๓ (๒-๒-๕) นโยบายและหลักการบริหารการศกึ ษา ๒๑๐ ๒๐๕ Policy and Principle of Educational Administration ๓ (๒-๒-๕) การพัฒนาหลักสูตรและสง่ เสริมคุณภาพการศึกษา ๒๑๐ ๒๐๖ Curriculum Development and Promoting Educational Quality ๓ (๒-๒-๕) การประกันคุณภาพการศึกษา Quality Assurance in Education ๑๒ คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ Morality and Professional Ethics รวม รหัสวิชา ช้ันปที ี่ ๒ ภาคการศึกษาที่ ๑ หน่วยกิต ๒๑๐ ๑๐๔ (๓) (๒-๒-๕) ชอ่ื วิชา ๒๑๐ ๓๐๒ (๓) (๒-๒-๕) กรรมฐาน ๒๑๐ ๑๐๑ Meditation ๓ (๒-๒-๕) พน้ื ฐานภาษาบาลี ๒๑๐ ๒๐๗ Basic Pali Language ๓ (๙๐) สัมมนากิจกรรมการเรยี นรูเ้ ชิงพทุ ธบูรณาการ Seminar on Buddhist Integrational Active Learning ๖ (๖) การฝกึ ปฏิบตั กิ ารวิชาชีพบริหารการศึกษา Training Experience in Educational Administration รวม หลักสตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๑๖ รหสั วิชา ช้นั ปีท่ี ๒ ภาคการศกึ ษาท่ี ๒ หน่วยกติ (๓) (๒-๒-๕) XXX XXX ช่ือวิชา ๑๒ ๒๑๐ ๔๐๑ วิชาเลือก หรอื วิชาเสริมทบ่ี ัณฑิตวทิ ยาลัยกาหนด .................................................................................. วทิ ยานพิ นธ์ Thesis รวม ๑๒ (๓) ๓.๑.๕ คาอธบิ ายรายวิชา ดูรายละเอียดในภาคผนวก ก ๓.๒ ชื่อ-นามสกลุ เลขประจาตวั ประชาชน ตาแหนง่ และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ ๓.๒.๑ อาจารย์ประจาหลกั สูตร ช่ือ–ฉายา/สกลุ ตาแหน่ง คณุ วุฒ/ิ สาขาวชิ า สถาบนั ทีส่ าเร็จ ปีที่ ภาระงานบรรยายใน ที่ และเลขประจาตวั ทางวชิ าการ สาเร็จ หลักสูตร/รายวชิ า ประชาชน อาจารย์ พธ.ด. (พทุ ธบริหารการศกึ ษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๘ - นวตั กรรมและ ๑ นายเกษม แสงนนท์ * วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) ม. ศรปี ทมุ ๒๕๔๘ เทคโนโลยกี ารบรหิ าร อาจารย์ พธ.บ. (การบรหิ ารรัฐกจิ ) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๓๘ โรงเรียนวถิ พี ุทธ ๓ ๔๓๐๕ ๐๐๔๒๓ xx x พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศกึ ษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั อาจารย์ ร.ม. (รฐั ศาสตร์) ม. รามคาแหง ๒๕๕๗ - ภาวะผนู้ าทาง ๒ พระครกู ติ ติญาณวิสฐิ * พธ.บ. (พระพทุ ธศาสนา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๒ การศึกษา (ธนา หอมหวล) รอง พธ.ด. (พุทธบริหารการศึกษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๕๐ ๕ ๒๑๐๑ ๐๐๐๓๔ xx x ศาสตราจารย์ พธ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ด้านบริหาร พธ.บ. (พระพทุ ธศาสนา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๕๗ - กรรมฐาน ๓ พระครโู อภาสนนทกิตติ์ * การศึกษา Ph.D. (Social Science) Magadh University, India ๒๕๕๕ (ศกั ดา โอภาโส/แสงทอง) M.A. (Political Science) University of Mysore, India ๒๕๕๓ ๓ ๑๐๑๖ ๐๐๗๗๕ xx x รอง พธ.บ. (มานษุ ยสงเคราะหศ์ าสตร)์ ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ศาสตราจารย์ ๒๕๕๐ - สมั มนากจิ กรรมการ ๔ นายสมศักดิ์ บุญปู่ ด้านบรหิ าร Ph.D. (Educational Nagpur University, India ๒๕๒๘ เรียนรู้เชิงพทุ ธบูรณา ๓ ๖๖๐๑ ๐๐๕๑๘ xx x การศึกษา Administration) Nagpur University, India ๒๕๒๕ การ M.Ed. (Educational ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๕ นายสุทธพิ งษ์ ศรวี ิชยั รอง Administration) ๒๕๓๘ - นโยบายและหลกั ๔ ๑๐๒๒ ๐๐๐๒๑ xx x ศาสตราจารย์ พธ.บ. (บรหิ ารการศกึ ษา) Magadh University, India ๒๕๓๐ บรหิ ารการศกึ ษา ดา้ นบรหิ าร Ph.D. (Educational Pune University, India ๒๕๒๖ ๖ นายอนิ ถา ศิรวิ รรณ การศกึ ษา Administration) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๓ ๕๐๑๒ ๐๐๓๓๗ xx x M.Ed. (Educational ๒๕๓๙ - คุณธรรม จริยธรรม รอง Administration) Punjab University, India ๒๕๓๑ และจรรยาบรรณ ๗ นายสิน งามประโคน ศาสตราจารย์ พธ.บ. (สังคมศึกษา) Punjab University, India ๒๕๒๗ วชิ าชีพ ๓ ๓๑๐๘ ๐๐๒๒๖ xx x ด้านบรหิ าร Ph.D. (Educational ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั การศึกษา Administration) ๒๕๓๗ - ระเบยี บวธิ วี จิ ยั ทาง M.A. (Educational ๒๕๓๑ พุทธบริหารการศกึ ษา Administration) ๒๕๒๗ พธ.บ. (บรหิ ารการศึกษา) หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๑๗ ที่ ชื่อ–ฉายา/สกลุ ตาแหนง่ คุณวุฒิ/สาขาวชิ า สถาบนั ทส่ี าเรจ็ ปที ี่ ภาระงานบรรยายใน และเลขประจาตัว ทางวิชาการ สาเร็จ หลกั สูตร/รายวชิ า ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ประชาชน ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๘ พระครสู งั ฆรกั ษจ์ ักรกฤษณ์ ผชู้ ว่ ย พธ.ด. (พทุ ธบริหารการศึกษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๕๘ - การประกนั คุณภาพ ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๔ การศึกษา ภรู ปิ ญฺโญ (กตั ยิ ัง) ศาสตราจารย์ พธ.ม. (การบริหารการศกึ ษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๔๖ ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๕ ๔๘๐๕ ๐๐๐๑๙ xx x ด้านสงั คมศกึ ษา พธ.บ. (ศาสนา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๘ - การพัฒนาหลกั สูตร ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๕๔ และสง่ เสริมคุณภาพ ๙ พระครสู ถิตบญุ วฒั น์ อาจารย์ พธ.ด. (พทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๒ การศกึ ษา ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั (ชาญ ถิรปุญโฺ ญ) เชิดชู พธ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๘ - การพัฒนาวชิ าชีพ ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๔ ทางการศึกษา ๓ ๑๐๑๒ ๐๓๔๗๐ xx x พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๕๒ ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ๑๐ พระครสู าทรปรยิ ตั คิ ณุ อาจารย์ พธ.ด. (พทุ ธบรหิ ารการศึกษา) มหาวทิ ยาลยั สยาม ๒๕๕๘ - สัมมนากจิ กรรมการ มมหาวทิ ยาลยั ราชภฎั เพชรบุรี ๒๕๕๔ เรียนรู้เชงิ พทุ ธบูรณา (สนิท ฉนฺทปาโล/ดว้ ยอาพนั ธ)์ พธ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ ๒๕๕๒ การ ๕ ๖๒๐๖ ๙๐๐๐๙ xx x พธ.บ. (พระพทุ ธศาสนา) ๒๕๕๙ - พ้นื ฐานภาษาบาลี ๒๕๕๔ ๑๑ พระครูภทั รธรรมคุณ อาจารย์ พธ.ด. (พทุ ธบริหารการศึกษา) ๒๕๕๒ (อานาจ อติภทโฺ ท/ป้ันมยุรา) พธ.ม. (การบรหิ ารการศกึ ษา) ๒๕๕๖ -การฝึกปฏบิ ัตกิ าร ๒๕๕๑ วชิ าชีพบรหิ าร ๓ ๑๘๐๔ ๐๐๐๕๙ xx x พธ.บ. (พระพทุ ธศาสนา) ๒๕๒๖ การศกึ ษา/ ๑๒ พระครูวิรุฬหส์ ตุ คุณ อาจารย์ พธ.ด. (พุทธบริหารการศกึ ษา) สถานศกึ ษา (อุดมศกั ด์ิ อุตตฺ มสกโฺ ก/อ้น พธ.ม. (การบริหารการศกึ ษา) ทับ)๓ ๓๐๒๑ ๐๐๓๓๖ xx x พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) ๑๓ นายบญุ เชิด ชานศิ าสตร์ ผชู้ ่วย ปร.ด. (การบรหิ ารการศึกษา) ๓ ๗๖๐๖ ๐๐๓๖๗ xx x ศาสตราจารย์ ค.ม. (ปฐมวยั ) ดา้ นบริหาร กศ.บ. (สุขศกึ ษา) การศกึ ษา * ลาดับท่ี ๑-๓ อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสตู ร ๓.๒.๒ อาจารยพ์ เิ ศษ เปน็ ไปตามทีค่ ณะกรรมการประจาหลักสูตรพิจารณาเห็นสมควร ๔. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณภ์ าคสนาม นิสิตในหลักสูตรจะต้องมีการฝึกปฏิบัติการวิชาชีพและทักษะการเป็นผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหาร สถานศึกษา ในด้านต่าง ๆ ประกอบด้วย การพัฒนาวิชาชีพทางการบรหิ ารการศึกษา ความเป็นผู้นาทางวิชาการ การบริหารสถานศึกษา/หน่วยงานทางการศึกษา หลักสูตร การสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กิจการ และกิจกรรมนักเรียน การประกันคุณภาพการศึกษา คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ภายใต้การ แนะนาของผู้บริหารทเี่ ปน็ พ่ีเลย้ี งและอาจารยน์ ิเทศก์ เป็นเวลาไมน่ อ้ ยกว่า ๙๐ ชั่วโมง ๔.๑ มาตรฐานผลการเรยี นรขู้ องประสบการณ์ภาคสนาม หลกั สตู รมคี วามคาดหวังจากนิสติ ที่ไดฝ้ ึกปฏบิ ัติการวิชาชีพในภาคสนาม ดังน้ี ๑. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการพฒั นาวิชาชพี ทางการบรหิ ารการศึกษา ความเปน็ ผนู้ าทางวิชาการ หลักสตู ร การสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กจิ การและกจิ กรรมนักเรยี น การประกนั คุณภาพ การศกึ ษา ตลอดถงึ หลกั ธรรมาภิบาล อนั เปน็ หลักการพ้นื ฐานของการบริหารการศกึ ษารศึกษาและการบริหาร สถานศกึ ษามากยิง่ ขนึ้ ๒. มมี นุษยสมั พันธแ์ ละสามารถทางานร่วมกับผ้อู ื่นไดด้ ี ๓. มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เขา้ ใจวฒั นธรรมองค์กร และสามารถปรับตวั เขา้ กับสถานศกึ ษาได้ ๔. มีภาวะผนู้ าทางวิชาการ กลา้ แสดงออก มีความคิดสรา้ งสรรค์ และมีจติ สาธารณะ ๕. มีทักษะในการปฏิบตั ิงานเกีย่ วกบั การบรหิ ารการศึกษา/สถานศึกษา ตามหลกั การเบ้ืองต้นยงิ่ ขน้ึ ๖. สามารถบูรณาการความรู้ทีเ่ รียนมาเพ่ือนาไปแกป้ ัญหาในการทางานได้อย่างเหมาะสม หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๑๘ ๔.๒ ชว่ งเวลา ภาคการศกึ ษาท่ี ๑ หรือ ๒ ของนิสิต ชน้ั ปีท่ี ๒ ๔.๓ การจดั เวลาและตารางสอน มีเวลาฝึกการบริหารสถานศึกษาและบรหิ ารการศกึ ษา ไม่น้อยกวา่ ๙๐ ชวั่ โมง ดงั น้ี ๑. ฝึกปฏิบตั ิการวชิ าชีพบริหารสถานศึกษา ๘-๑๖ ช่วั โมง/สัปดาห์ รวมไม่นอ้ ยกว่า ๔๕ ช่ัวโมง ๒. ฝกึ ปฏิบัตกิ ารวิชาชพี บริหารการศึกษา ๘–๑๖ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ รวมไม่นอ้ ยกว่า ๔๕ ชัว่ โมง ๔.๔ กระบวนการประเมนิ ผล มหี ลกั เกณฑใ์ นการประเมินผลจากความรู้ ทักษะ สมรรถภาพ และหลักฐาน ดงั น้ี ๑. ความรู้ความเข้าใจในหลักการบริหารการศึกษา ๒. ความรว่ มมอื ในการสัมมนาโครงการฝกึ ปฏบิ ัติการวชิ าชพี ๓. ทักษะและสมรรถภาพในการปฏิบัติงาน ๔. ความสามารถในการบรู ณาการความรู้กบั การแก้ไขปญั หา ๕. ประเมนิ จากสมุดบันทึกการฝึกปฏิบัติการวชิ าชพี ๕. ขอ้ กาหนดเกย่ี วกับการทาวิทยานิพนธ์ ๕.๑ คาอธิบายโดยย่อ หลักสูตรกาหนดให้ศึกษา ค้นคว้า และวิจัยเก่ียวกับการพัฒนาวิชาชีพทางการบริหารการศึกษา ความ เป็นผู้นาทางวิชาการ การบริหารสถานศึกษา/หน่วยงานทางการศึกษา หลักสูตร การสอน การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ กิจการและกิจกรรมนักเรียน การประกันคุณภาพการศึกษา คุณธรรมจริยธรรมและ จรรยาบรรณวชิ าชีพ หรือประเดน็ ท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อหน่วยงาน องค์กร สถานศึกษา หรือส่วนท่ีเก่ียวข้อง เพื่อให้ สามารถอธิบายทฤษฎีและนามาประยุกต์ในการทาวิจัย มีขอบเขตการวิจัยที่สามารถทาสาเร็จในเวลาท่ีกาหนด ภายใตก้ ารแนะนาของอาจารยท์ ป่ี รึกษา ๕.๒ มาตรฐานผลการเรยี นรู้ หลักสูตรคาดหวังว่านสิ ติ ท่ีได้ศกึ ษาเก่ยี วกับการวิจยั จะมีความรคู้ วามสามารถ ดงั นี้ ๑. มคี วามร้คู วามเขา้ ใจในกระบวนการทาวิจัยอย่างเป็นระบบ ๒. ดาเนนิ การวิจัยตามกระบวนวิจยั ท่ีเป็นสากลได้อยา่ งถูกต้อง ๓. ประยกุ ต์ศาสตร์ดา้ นบริหารการศึกษากบั ศาสตร์ต่าง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม ๔. บรู ณาการหลักพทุ ธธรรมกับการวจิ ัยได้อย่างเหมาะสม ๕. เขยี นรายงานเพอ่ื นาเสนอผลการวิจยั ต่อสาธารณะได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๕.๓ ชว่ งเวลา นสิ ิตศึกษารายวิชามาแลว้ ไม่น้อยกวา่ ๑ ภาคการศึกษาปกติ และมหี นว่ ยกิตสะสมไมน่ ้อยกว่า ๙ หนว่ ย กติ จึงจะเสนอหวั ข้อและโครงร่างวทิ ยานิพนธ์ได้ ๕.๔ จานวนหนว่ ยกติ วทิ ยานิพนธ์ จานวน ๑๒ หนว่ ยกติ ๕.๕ การเตรียมการ หลักสูตรไดเ้ ตรยี มการเพ่ือการทาวิทยานิพนธ์ของนิสิต ดงั นี้ ๑. มกี ารเรียนการสอนรายวชิ าเกี่ยวกบั การวิจัยทางการศกึ ษา ๒. อบรม สัมมนา หรือฝึกปฏบิ ัติการใชเ้ คร่ืองมือและโปรแกรมคอมพิวเตอรเ์ พื่อการวิจยั หลักสูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๑๙ ๓. แต่งตั้งปรกึ ษาอาจารยป์ ระจาหลักสูตรเปน็ อาจารยท์ ปี่ รึกษาใหแ้ ก่นสิ ิต ๔. จดั ให้มีคลีนิควจิ ัยและกาหนดชั่วโมงให้คาปรกึ ษา ๕. อาจารยท์ ีป่ รึกษาแนะนาการเลือกหัวข้อและกระบวนการศึกษาค้นคว้า ๖. มีตวั อย่างงานวิจยั ให้ศึกษา ๗. มีคู่มือการเขยี นรายงานการวิจัย ๕.๖ กระบวนการประเมินผล มกี ระบวนการประเมินผลวทิ ยานิพนธ์ ดงั น้ี ๑. นิสิตศกึ ษารายวชิ าครบตามทีห่ ลกั สตู รกาหนด และได้เกรดเฉล่ียไม่น้อยกว่า ๓.๐๐ ๒. นสิ ิตใช้เวลาในการทาการวจิ ัยไมน่ ้อยกวา่ ๓ เดือน นบั จากวนั ลงทะเบียนทาวทิ ยานพิ นธ์ ๓. แตง่ ต้ังกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ประชมุ พิจารณาประเมินผล ๔. มีการจดบันทึกรายละเอยี ดเก่ียวกบั การประเมนิ ผลวิทยานิพนธท์ กุ ครั้ง ๕. หากคณะกรรมการตรวจสอบมมี ตใิ หแ้ ก้ไข ตอ้ งแก้ไขวทิ ยานิพนธใ์ นระยะเวลาทกี่ าหนด ๖. การประเมินผลวิทยานพิ นธ์กาหนดเปน็ ๔ ระดบั คือ A, B+, B และ F ๗. วทิ ยานิพนธต์ อ้ งไดร้ ับการแกไ้ ขทั้งรูปแบบและเนื้อหาเรยี บรอ้ ยแล้ว กรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ จึงจะลงนามในหนา้ อนมุ ตั ิ หลกั สตู รครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๒๐ หมวดที่ ๔ ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ารสอน และการประเมนิ ผล ๑. การพัฒนาคณุ ลักษณะพเิ ศษของผ้เู รียน หลักสูตรมีแนวทางในการพัฒนานิสิตให้มีคุณลักษณะพิเศษตามอัตลักษณ์ของนิสิตที่พึงประสงค์ตามท่ี มหาวิทยาลัยกาหนด ๙ ประการ เรียกว่า “นวลักษณ์” ตาอักษรย่อภาษาอังกฤษ “MAHACHULA” มี ความหมาย ดังนี้ M – Morality มมี ารยาททางกายและวาจาที่เหมาะสมตามกาลเทศะ A – Awareness รเู้ ทา่ ทนั ความเปลยี่ นแปลงทางสงั คม H – Helpfulness มีศรทั ธา อุทศิ ตนเพอ่ื พระพทุ ธศาสนา A – Ability มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา C – Curiosity มคี วามใฝร่ ้ใู ฝ่คิด H – Hospitality มีน้าใจเสียสละเพ่ือสว่ นรวม U – Universality มีโลกทัศน์กว้างไกล L – Leadership มคี วามเปน็ ผู้นาด้านจติ ใจและปัญญา A – Aspiration มีความมุ่งมั่นพัฒนาตนใหเ้ พียบพรอ้ มด้วยคุณธรรมจริยธรรม โดยมีกลยุทธ์หรือกิจกรรมสาหรับนิสิตพฒั นานสิ ติ ดงั สรปุ ในตารางนี้ คุณลกั ษณะพิเศษ/คุณสมบตั ิทีพ่ ึง่ ประสงค์ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนิสติ ๑. มคี ณุ ธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณ - จัดกจิ กรรมเชงิ วชิ าการและภาคปฏิบัติทีส่ ง่ เสรมิ วิชาชพี รับผิดชอบตอ่ สังคม สามารถ การเรียนรู้ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม ฝึกฝนความมี แก้ไขปญั หาบนหลักการเหตผุ ลและ นา้ ใจ เสยี สละเพ่ือพุทธศาสนาและสงั คม คา่ นยิ มดนั ดงี าม มภี าวะผูน้ าด้าน คณุ ธรรมจริยธรรม เป็นแบบอยา่ งใน - ฝึกฝนการกระทา การพดู การคดิ ใหต้ ั้งอย่บู นความ สังคมได้ เมตตากรุณา ลด ละ อกศุ ลต่างๆ - จัดกจิ กรรมเสรมิ ในรายวิชาท่เี นน้ การปลกู ฝงั ให้นิสิต มีระเบยี บวินยั ในตนเอง และแก้ไขปญั หาของ ตนเองและสงั คมไดบ้ นพืน้ ฐานของเหตผุ ล - ฝกึ ปฏิบตั กิ รรมฐาน เสริมสร้างภาวะความเปน็ ผนู้ า ด้านคุณธรรมจริยธรรม ๒. มีความรคู้ วามเข้าใจในศาสตร์การ - จดั การเรยี นโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มุ่งให้ บรหิ ารการศึกษาอยา่ งกวา้ งขวาง ลึกซึ้ง นสิ ิตมีความเข้าใจหลักการบริหารการศกึ ษา ปฏิบัติ สามารถบรู ณาการกบั หลักพุทธธรรมได้ ในสภาพแวดล้อมจริง กระตุ้นใหเ้ กิดการคดิ ตลอดจนสามารถพฒั นาต่อยอดองค์ วิเคราะห์ และตดั สินใจดว้ ยตนเอง ความรู้ สร้างนวตั กรรมและองค์ความรู้ - จดั กิจกรรมการเรียนรู้ศาสตร์สมัยใหมค่ วบคู่กบั จากงานวจิ ยั เพื่อการพัฒนาองคก์ ร การบรู ณาการพุทธธรรมและการบริหารการศึกษา ตอบสนองความต้องการทางสังคม - มีแหล่งขอ้ มูลการศึกษาคน้ คว้า วจิ ัย ด้วยตนเอง ใน การพฒั นานวตั กรรมและองค์ความรู้ใหม่ - สง่ เสรมิ ให้มกี ารวิจัย คน้ ควา้ หาองค์ความรู้ใน พระไตรปิฎก และนาองค์ความรู้มาประยุกตใ์ ช้ได้ หลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๒๑ คณุ ลักษณะพิเศษ/คุณสมบัติท่ีพ่งึ ประสงค์ กลยทุ ธ์หรอื กจิ กรรมของนสิ ิต อย่างเหมาะสม ๓. สามารถคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์อยา่ ง - ฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการ เป็นระบบ สรา้ งสรรคอ์ งค์ความรใู้ หม่ๆ แกไ้ ขปัญหาต่างๆ อย่างเหมาะสม และสร้างสรรค์ ทางการบรหิ ารการศึกษาได้ สามารถ - เน้นการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง และสามารถปฏบิ ตั ิงานได้ ค้นควา้ สรรหา แกป้ ัญหา พัฒนาและ จริงในสถานการณต์ า่ ง ๆ เผยแพร่ผลงานทางวิชาการหรอื งานวิจัย - ศึกษาดูงาน เรียนรู้จากประสบการณ์ และวิธีการ ในระดับชาติ และนานาชาตไิ ด้ จากแหล่งเรียนรูต้ ่างๆ เพื่อกระตุ้นการเรยี นรู้ - จดั ประชมุ สมั มนา หรืออภิปรายกลุ่ม ๔. มคี วามรบั ผิดชอบ มีระเบียบวินัย - จัดกจิ กรรมในรายวชิ าท่ีเน้นการเรียนการสอนที่มี สามารถทางานร่วมกบั ผ้อู ่นื ได้ รับฟงั การปฏิสมั พันธ์ทด่ี ีระหวา่ งผูเ้ รยี นและผู้สอน ความคิดเห็นของผู้อืน่ ทางานเป็นทมี ได้ - ฝกึ ฝนภาวะความเป็นผู้นา ผู้ตาม การแสดงออกถึง ตามโอกาสและสถานการณ์ต่าง ๆ ภาวะความเปน็ ผ้นู าและผตู้ ามที่ดี การมมี นุษย สามารถตัดสนิ ใจดว้ ยตนเอง ประเมิน สัมพนั ธ์ทด่ี กี ับผรู้ ว่ มงาน การรับฟังความคิดเหน็ ตนเอง รวมทัง้ วางแผนปรบั ปรงุ ตนเอง ผู้อน่ื เมื่อทางานเปน็ ทมี และองค์กรได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ - ฝึกการทากิจกรรมเพ่ือสังคม และการวางตัวที่ เหมาะสมตามกาลเทศะ - ฝกึ ฝนการประสานงานกับผอู้ ื่นทัง้ ภายในและ ภายนอกสถาบนั การศึกษา ๕. มีทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ - จัดการเรียนการสอนรายวิชาเฉพาะด้าน เพื่อให้ สอื่ สาร และเทคโนโลยสี ารสนเทศ มี นสิ ิตไดฝ้ กึ ทักษะการใช้สถติ ิ และเทคโนโลยี หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถติ ใิ น - จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้มุ่งให้ผเู้ รียนได้ฝึกฝนทกั ษะ การแก้ไขปัญหา ใช้เทคโนโลยเี พือ่ การ การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทสต่างๆ สอื่ สารกบั บคุ คลหรือกลุ่มบคุ คลทง้ั ใน ด้วยตนเองและรว่ มกับผอู้ น่ื วงการวิชาการวชิ าชพี ชุมชน การ - จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เพื่อใหน้ สิ ิตไดฝ้ ึกทักษะด้าน คน้ ควา้ ข้อมลู การศกึ ษา และการทา การใช้เทคโนโลยเี พื่อคน้ คว้า วิจัย การศึกษา และ วทิ ยานิพนธ์ การนาเสนอผลงานต่างๆ ๖. มีทักษะวิชาชีพทางดา้ นบริหาร - จดั การเรียนการสอนและกจิ กรรมการเสริมความรู้ท่ี การศกึ ษาและบริหารสถานศึกษา มงุ่ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ ึกทกั ษะตามวัตถุประสงค์ สามารถจัดการศึกษารปู แบบตา่ งๆ ได้ รายวิชา และนาเทคโนโลยตี ่างๆ มาประยุกต์ใช้ อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ทนั สมยั - อบรม ศึกษาดงู าน หรือจัดกิจกรรมเสรมิ เพ่ือให้ และสอดคล้องกับความต้องการของ นิสิตไดฝ้ ึกทักษะวชิ าชพี ประกอบการค้นควา้ สงั คม และนาองค์กรสู่ความเป็นมอื รายงาน และการทาวทิ ยานิพนธ์ อาชพี - ฝกึ ปฏิบตั กิ ารทางวิชาชีพการบริหารสถานศึกษา และบรหิ ารการศกึ ษา ไมน่ ้อยกว่าเกณฑท์ ี่องค์กร วิชาชพี กาหนด - ให้มกี ารรายงานและการแสดงออกถึงความเปน็ ผนู้ า ทางวชิ าการและวชิ าชีพการประยุกต์ใชค้ วามร้ใู น สงั คมได้อยา่ งเหมาะสม หลกั สูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๒๒ ๒. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแตล่ ะดา้ น ๒.๑ คณุ ธรรมจริยธรรม ๒.๑.๑ ผลการเรียนรู้ ๑) เป็นผู้ทมี่ คี ณุ ธรรมและจริยธรรม สามารถให้บริการงานวิชาการแก่สังคม ๒) มศี กั ยภาพที่จะพัฒนาตนเองให้เพยี บพรอ้ มด้วยคุณธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ ๓) สามารถวินิจฉยั และแกไ้ ขปัญหาบนฐานของหลกั การและเหตุผลและค่านยิ มดันดีงาม ๔) มีภาวะผนู้ าดา้ นความประพฤตติ ามหลกั คุณธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี ๒.๑.๒ กลยทุ ธก์ ารสอนท่ใี ช้ ๑) จัดกิจกรรมเชิงวิชาการและภาคปฏิบัติท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นผู้มี น้าใจ เสียสละ อทุ ศิ ตนเพ่อื พระพุทธศาสนาและสงั คม ๒) ฝกึ ฝนให้มีความใฝร่ ู้ ใฝ่คดิ เปน็ ผู้นาด้านจิตใจและปญั ญา เพอ่ื พฒั นาตนเองและสงั คม ๓) การจดั กจิ กรรมในรายวิชาท่ีเน้นการปลูกฝังให้นิสิตมีระเบียบวินัยในตนเอง และแก้ไขปัญหาของ ตนเองและสงั คมได้ ๔) ฝกึ ฝนภาวะความเป็นผู้นา ผู้ตาม ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ๒.๑.๓ กลยทุ ธใ์ นการประเมินผล ๑) ประเมนิ ด้วยผลงานวชิ าการ และการบาเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชน์ตอ่ สงั คม ๒) ประเมินด้วยแบบทดสอบด้วยการสังเกต สมั ภาษณ์ การสนทนากล่มุ และแบบวดั ผล ๓) ประเมนิ จากความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานเป็นทีม การทางานวิจัย และการเข้าร่วมกิจกรรม ในการใชอ้ งค์ความรู้ทางการศึกษาทาประโยชนต์ ่อสงั คม ๔) ผเู้ รยี นประเมินตนเอง และประเมินโดยเพ่ือนและอาจารย์ โดยใชแ้ บบประเมินและแบบวดั ผล ๒.๒ ความรู้ ๒.๒.๑ ผลการเรยี นรู้ ๑) มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเน้ือหาสาระหลักของสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ตลอดจนหลักการและทฤษฎที ่สี าคญั และนามาประยุกต์ใชใ้ นการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏบิ ตั ิงาน ๒) มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพัฒนาวิชาการสมัยใหม่ สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิชา พระพทุ ธศาสนาด้านการบรหิ ารการศกึ ษาได้ ๓) มคี วามเขา้ ใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏบิ ัติในสาขาวชิ าการบริหารการศึกษา สามารถประยุกต์ หลกั ธรรมมาใช้กบั แนวคดิ ในทางทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ และการวิจยั ๔) สามารถพฒั นานวตั กรรมหรือสรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ สรา้ งองค์ความรู้จากงานวิจัยเพื่อเชื่อมโยงกับ การพัฒนาองคก์ ร เพอ่ื ตอบสนองความต้องการทางสงั คมในดา้ นวิชาการบรหิ ารการศึกษา ๒.๒.๒ กลยทุ ธ์การสอนทใ่ี ช้ ๑) จัดการเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และมุ่งเน้นให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจสาขาวิชาการ บริหารการศึกษา โดยใช้วิธีการเรียนการสอนที่เน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ทางปฏิบัติใน สภาพแวดล้อมจริง กระตุ้นใหเ้ กดิ การคิด วิเคราะห์ และตดั สินใจด้วยตนเอง ๒) จดั กิจกรรมการเรียนรู้วิชาการศาสตร์สมัยใหม่ควบคู่กับวิชาการพระพุทธศาสนาด้านการบริหาร การศกึ ษา ๓) จดั ใหม้ กี ารศึกษาค้นคว้า วจิ ยั ด้วยตนเอง ในการพฒั นานวัตกรรมและองค์ความรใู้ หม่ หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๒๓ ๔) ส่งเสริมให้มีการวิจัยและค้นคว้าองค์ความรู้ในพระไตรปิฎกและนาองค์ความรู้ท่ีค้นพบมา ประยกุ ตใ์ ช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๒.๒.๓ กลยุทธ์ในการประเมนิ ผล ๑) ประเมินดว้ ยการสอบข้อเขยี น ๒) ประเมินด้วยการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ๓) ประเมนิ ด้วยการนาเสนอรายงานและการทางานเป็นทีม ๔) ประเมินด้วยการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ ๒.๓ ทักษะทางปัญญา ๒.๓.๑ ผลการเรยี นรู้ ๑) สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพ่ือการพัฒนาและ สรา้ งสรรค์องค์ความร้ใู หม่ทางดา้ นการบริหารการศึกษาอย่างเหมาะสม ๒) สามารถสืบคน้ ข้อมลู ผลงานวจิ ยั สิง่ ตพี มิ พ์ทางวิชาการ จากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย สังเคราะห์ และนาไปใชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาความคดิ ใหมๆ่ ๓) สามารถประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและองค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาในการแก้ปัญหาหรือ พัฒนาการบริหารงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและสรา้ งสรรค์ ๔) สามารถตดั สนิ ใจเรื่องที่ซับซอ้ นทีเ่ กีย่ วกับการพัฒนาองค์ความรใู้ หม่ และสามารถผลิตผลงานทาง วชิ าการและงานวจิ ยั ในระดบั ชาติ และนานาชาติ ๒.๓.๒ กลยุทธ์การสอนทใ่ี ช้ ๑) ฝึกทกั ษะการคดิ และการแก้ไขปญั หา ๒) เนน้ การเรยี นรู้ด้วยตนเอง และการปฏิบัติงานจริง ๓) เน้นการเรียนรู้ทส่ี ามารถประยกุ ตใ์ ชก้ ับสถานการณจ์ รงิ ใช้ปัญหากระตุน้ การเรยี นรู้ ๔) การอภปิ รายกลมุ่ ๒.๓.๓ กลยุทธ์ในการประเมนิ ผล ๑) วดั การแสดงออกทางการกระบวนการคดิ และการแก้ไขปญั หา ๒) วัดผลการปฏบิ ตั ิงานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ๓) การนาเสนอผลงาน การอธิบาย การถามและตอบคาถาม ๔) การโต้ตอบส่อื สารกบั ผู้อนื่ ๕) การอภปิ รายกลุ่ม ๒.๔ ดา้ นทักษะความสัมพนั ธ์ระหว่างบคุ คลและความรับผดิ ชอบ ๒.๔.๑ ผลการเรยี นรู้ ๑) มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง ในการพัฒนาความรู้ของตนเอง องคก์ ร และสงั คม ๒) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นาองค์กร แก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนด้วยตนเอง และ เปลี่ยนแปลงสงั คมในทางที่เหมาะสม ๓) สามารถทางานเป็นทีม เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีปฏิสัมพันธ์อย่าง สรา้ งสรรคก์ บั ผรู้ ่วมงาน ๔) แสดงภาวะความเป็นผู้นาในองค์กร บริหารการทางานเป็นทีมได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและ สถานการณ์ เพอื่ เพิ่มพนู ประสทิ ธภิ าพในการทางานของกล่มุ หลักสตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศกึ ษา (หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๒๔ ๕) สามารถตัดสินใจในการดาเนินงานด้วยตนเอง ประเมินตนเอง รวมท้ังวางแผนปรับปรุงตนเอง และองคก์ รไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ๒.๔.๒ กลยุทธก์ ารสอนที่ใช้ ๑) การจัดกิจกรรมในรายวิชาท่ีเน้นการเรียนการสอนท่ีมีการปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียนและ ผสู้ อน ๒) ฝึกฝนภาวะความเป็นผูน้ า ผู้ตาม การแสดงออกถงึ ภาวะความเป็นผ้นู าและผตู้ ามทดี่ ี การมีมนุษย สมั พนั ธ์ทด่ี ีกับผู้ร่วมงาน การรับฟังความคิดเห็นผู้อ่ืนเมอื่ ทางานเป็นทีมและทางานวจิ ยั ๓) ฝึกฝนการทากจิ กรรมเพ่อื สังคม และการวางตัวทีเ่ หมาะสมตามกาลเทศะ ๔) ฝึกฝนการประสานงานกับผู้อนื่ ทัง้ ภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา ๒.๔.๓ กลยทุ ธใ์ นการประเมนิ ผล ๑) สังเกตพฤตกิ รรมและการแสดงออกของนิสิตในหลายๆ ด้าน ระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน เชน่ พฤตกิ รรมความสนใจ ตง้ั ใจเรียนรู้ และพฒั นาตนเอง ๒) สังเกตพฤติกรรมการแสดงบทบาทภาวะผู้นาและผู้ตามที่ดี ความสามารถในการทางานร่วมกับ ผูอ้ นื่ ๓) สงั เกตพฤติกรรมความรบั ผิดชอบในการเรียนและงานทไี่ ดร้ ับมอบหมาย การนาเสนอผลงาน การ ทางานวจิ ยั และการรว่ มทากจิ กรรมเพ่ือสงั คม ๒.๕ ดา้ นทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การส่อื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ๒.๕.๑ ผลการเรยี นรู้ ๑) สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา เช่ือมโยงประเด็นปัญหาที่สาคัญ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้าน พระพุทธศาสนาในเชิงลกึ ไดเ้ ป็นอย่างดี ๒) สามารถสอ่ื สารด้านการพูด การอา่ นการฟงั การเขียนการนาเสนอ ส่ือสารกับกลุ่มบุคคลต่างๆทั้ง ในวงการวิชาการวชิ าชีพและชมุ ชนไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล เพื่อประกอบการศึกษาและการทา วทิ ยานิพนธ์ รวมทัง้ การตดิ ตอ่ ส่ือสาร ๒.๕.๒ กลยทุ ธก์ ารสอนท่ีใช้ ๑) จัดการเรียนการสอนรายวชิ าตา่ งๆ เพ่ือใหน้ ิสติ ไดฝ้ ึกทักษะการวเิ คราะห์ การวิจารณ์ ๒) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะการส่ือสาร และการนาเสนอโดย ใชเ้ ทคโนโลยที ง้ั ดว้ ยตนเองและร่วมกับผูอ้ นื่ ๓) จดั กจิ กรรมการเรียนการสอน เพ่ือให้นิสิตได้ฝึกทักษะด้านการใช้เทคโนโลยีประกอบการค้นคว้า และการทาวิทยานิพนธ์ ๒.๕.๓ กลยุทธใ์ นการประเมินผล ๑) การทดสอบความรูแ้ ละเทคนคิ การวิเคราะหแ์ ละวจิ ารณ์ทฤษฎหี รือแนวคดิ ใหม่ ๆ ๒) การทางานวจิ ยั ตงั้ แตเ่ ร่มิ ต้นจนถึงขั้นตอนการเขยี นรายงาน และการนาเสนอผลงาน ๒.๖ ด้านทกั ษะวชิ าชีพ ๒.๖.๑ ผลการเรยี นรู้ ๑) สามารถพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา การบริหารการศึกษา และการจัดการศึกษารูปแบบต่างๆ ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามหลักวชิ าการ ทันสมัย และสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของสังคม หลกั สูตรครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๒๕ ๒) สามารถแสดงออกถึงความเปน็ ผู้นาทางวิชาการ เป็นผู้นาความรู้ ความคิด และนาองค์ความรู้มา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓) สามารถนิเทศหรือแนะแนวการศึกษา เพ่ือให้เกิดความรู้ความเข้าใจแก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง หรอื ผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งใหเ้ ห็นความสาคญั ของการศึกษาทจ่ี ะเปน็ เคร่ืองมือพฒั นาคนในสังคม ๔) สามารถบริหารสถานศึกษาซ่ึงเป็นองค์กรที่มีปัจจัยในการบริหาร เช่น บุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ วัสดคุ รภุ ัณฑ์ เป็นต้น พัฒนาอย่างตอ่ เน่อื ง มั่นคง ๕) สามารถพัฒนาหลักสูตร จัดกิจกรรมนักเรียน เพื่อให้งานด้านวิชาการ การเรียนการสอน และ การส่งเสริมทกั ษะของนักเรียนอย่างสอดคลอ้ งและมปี ระสิทธิภาพ ๖) สามารถวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ และขน้ั ตอนทางวิชาการ สามารถนาไปบรู ณาการจัดการศึกษาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งขนึ้ ๗) เป็นผู้ดารงตนอยู่ในหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถเป็นแบบอย่าง ด้านความประพฤตแิ กค่ รู นกั เรยี น และชุมชนได้ ๒.๖.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้ ๑) จัดการเรยี นการสอนเพือ่ ใหน้ สิ ิตได้ฝึกทักษะตามขอบข่ายเนอื้ หาวชิ าตา่ งๆ เต็มท่ี ๒) จัดกิจกรรมการเสริมความรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะตามวัตถุประสงค์รายวิชา และนา นวตั กรรมและเทคโนโลยีตา่ งๆ มาประยกุ ต์ใชใ้ หไ้ ด้ดว้ ยตนเอง และร่วมกบั ผอู้ ่นื ๓) อบรม ศึกษาดูงาน หรือจัดกิจกรรมเสริม เพ่ือให้นิสิตได้ฝึกทักษะแต่ละด้านตามทักษะวิชาชีพที่ ระบุ ประกอบการค้นคว้ารายงาน และการทาวิทยานิพนธ์ ๒.๖.๓ กลยทุ ธ์ในการประเมนิ ผล ๑) การทดสอบความรู้ การวเิ คราะห์ วจิ ารณท์ ฤษฎีหรือแนวคิดใหม่ ๆ ๒) การลงมือปฏิบัตติ ามขน้ั ตอนปฏบิ ัติ การพสิ จู นว์ ิธีการปฏบิ ัติทถ่ี กู ตอ้ ง แม่นยา ๒) การทางานวิจยั ต้ังแตเ่ รม่ิ ต้นจนถงึ ขนั้ ตอนการเขยี นรายงาน และการนาเสนอผลงาน หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา (หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๒๖ ๓. แผนทแี่ สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) แสดงให้เหน็ วา่ แต่ละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ในด้านใดบ้าง โดยระบุว่าเป็นความ รับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรอง โดยท่ีผลการเรียนรู้แต่ละข้อของด้านต่างๆ ในตารางมีความหมาย ดงั ต่อไปน้ี ๓.๑ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๑) เปน็ ผู้ทม่ี ีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม สามารถใหบ้ ริการงานวิชาการแก่สังคม ๒) มศี ักยภาพท่ีจะพัฒนาตนเองใหเ้ พียบพรอ้ มด้วยคณุ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี ๓) สามารถวินิจฉัยและแกไ้ ขปัญหาบนฐานของหลักการและเหตผุ ลและคา่ นิยมดันดงี าม ๔) มภี าวะผนู้ าด้านความประพฤตติ ามหลักคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ ๓.๒ ดา้ นความรู้ ๑) มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ตลอดจนหลักการและทฤษฎที ่ีสาคัญ และนามาประยุกต์ใช้ในการศกึ ษาค้นควา้ ทางวชิ าการหรือการปฏบิ ัตงิ าน ๒) มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพัฒนาวิชาการสมัยใหม่ สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิชา พระพุทธศาสนาด้านการบริหารการศึกษาได้ ๓) มคี วามเข้าใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัตใิ นสาขาวิชาการบริหารการศึกษา สามารถประยุกต์ หลกั ธรรมมาใชก้ บั แนวคดิ ในทางทฤษฎี ปฏิบตั ิ และการวิจัย ๔) สามารถพัฒนานวัตกรรมหรือสรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ สร้างองค์ความรู้จากงานวิจัยเพ่ือเช่ือมโยงกับ การพัฒนาองค์กร เพือ่ ตอบสนองความต้องการทางสงั คมในดา้ นวิชาการบริหารการศกึ ษา ๓.๓ ดา้ นทักษะทางปญั ญา ๑) สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อการพัฒนาและ สรา้ งสรรคอ์ งคค์ วามรู้ใหม่ทางดา้ นการบรหิ ารการศึกษาอยา่ งเหมาะสม ๒) สามารถสืบค้นข้อมลู ผลงานวจิ ัย สงิ่ ตีพิมพ์ทางวิชาการ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สังเคราะห์ และนาไปใชป้ ระโยชน์ในการพัฒนาความคดิ ใหมๆ่ ๓) สามารถประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและองค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาในการแก้ปัญหาหรือ พฒั นาการบริหารงานได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ ๔) สามารถตัดสนิ ใจเรอ่ื งท่ซี ับซอ้ นที่เกีย่ วกบั การพัฒนาองคค์ วามรูใ้ หม่ และสามารถผลิตผลงานทาง วชิ าการและงานวจิ ยั ในระดบั ชาติ และนานาชาติ ๓.๔ ดา้ นทักษะความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรับผิดชอบ ๑) มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง ในการพัฒนาความรู้ของตนเอง องค์กร และสังคม ๒) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช้ีนาองค์กร แก้ไขปัญหาท่ีมีความซับซ้อนด้วยตนเอง และ เปล่ยี นแปลงสังคมในทางทเ่ี หมาะสม ๓) สามารถทางานเป็นทีม เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีปฏิสัมพันธ์อย่าง สร้างสรรคก์ ับผูร้ ว่ มงาน ๔) แสดงภาวะความเป็นผู้นาในองค์กร บริหารการทางานเป็นทีมได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและ สถานการณ์ เพอื่ เพิ่มพูนประสทิ ธิภาพในการทางานของกลมุ่ ๕) สามารถตัดสินใจในการดาเนินงานด้วยตนเอง ประเมินตนเอง รวมทั้งวางแผนปรับปรุงตนเอง และองคก์ รได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศึกษา (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๒๗ ๓.๕ ด้านทักษะการวิเคราะห์ การสอ่ื สาร และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑) สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา เช่ือมโยงประเด็นปัญหาท่ีสาคัญ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้าน พระพุทธศาสนาในเชงิ ลกึ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ๒) สามารถสื่อสารด้านการพูด การอา่ นการฟงั การเขยี นการนาเสนอ สื่อสารกับกลุ่มบุคคลต่างๆทั้ง ในวงการวชิ าการวชิ าชพี และชุมชนได้อย่างเหมาะสม ๓) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล เพื่อประกอบการศึกษาและการทา วิทยานพิ นธ์ รวมท้งั การตดิ ต่อสอ่ื สาร ๓.๖ ด้านทักษะวชิ าชีพ ๑) สามารถพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา การบริหารการศึกษา และการจัดการศึกษารูปแบบต่างๆ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ ทันสมัย และสอดคล้องกับความต้องการของสงั คม ๒) สามารถแสดงออกถึงความเปน็ ผ้นู าทางวิชาการ เป็นผู้นาความรู้ ความคิด และนาองค์ความรู้มา ประยกุ ตใ์ ช้ในสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓) สามารถนิเทศหรือแนะแนวการศึกษา เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจแก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง หรอื ผูม้ สี ว่ นเก่ียวขอ้ งใหเ้ หน็ ความสาคัญของการศกึ ษาท่ีจะเปน็ เคร่ืองมือพฒั นาคนในสงั คม ๔) สามารถบริหารสถานศึกษาซึ่งเป็นองค์กรท่ีมีปัจจัยในการบริหาร เช่น บุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ วสั ดุครภุ ัณฑ์ เปน็ ต้น พฒั นาอย่างตอ่ เน่อื ง มัน่ คง ๕) สามารถพัฒนาหลักสูตร จัดกิจกรรมนักเรียน เพื่อให้งานด้านวิชาการ การเรียนการสอน และ การสง่ เสริมทักษะของนักเรียนอยา่ งสอดคล้องและมีประสิทธิภาพ ๖) สามารถวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาได้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ และข้ันตอนทางวิชาการ สามารถนาไปบรู ณาการจดั การศึกษาให้มปี ระสทิ ธภิ าพยงิ่ ขึ้น ๗) เป็นผู้ดารงตนอยู่ในหลักคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถเป็นแบบอย่าง ด้านความประพฤติแกค่ รู นักเรยี น และชุมชนได้ หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา (หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๒๘ แผนท่แี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลกั สูตรสูร่ ายวิชา (Curriculum Mapping)  ความรบั ผิดชอบหลัก  ความรบั ผดิ ชอบรอง รายวชิ า ๑.ด้านคุณธรรม ๒.ดา้ นความรู้ ๓. ด้านทกั ษะ ๔. ดา้ นทักษะความสมั พนั ธ์ ๕. ด้านทักษะ ๖. ด้านทกั ษะวิชาชพี จริยธรรม ทางปัญญา ระหว่างบคุ คลฯ การส่อื สารและ ๒๓๔๕๖ เทคโนโลยีฯ ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๕๑๒๓๑ ๗ หมวดวชิ าบงั คับ   ๒๑๐ ๑๐๑ สัมมนากจิ กรรมการเรียนร้เู ชิงพุทธบรู ณาการ  Seminar on Buddhist Intregation Active Learning   ๒๑๐ ๑๐๒ วธิ กี ารวจิ ัยทางพทุ บริหารการศึกษา  Buddhist Educational Administration Research Methodology   ๒๑๐ ๑๐๓ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการบรหิ ารโรงเรยี นวิถีพุทธ  Innovation and technology for Buddhist school administration   ๒๑๐ ๑๐๔ กรรมฐาน  Meditation หมวดวชิ าเอก ๒๑๐ ๒๐๑ การพัฒนาวชิ าชพี ทางการศกึ ษา Professional Development in Education ๒๑๐ ๒๐๒ ภาวะผ้นู าทางการศกึ ษา Educational Leadership ๒๑๐ ๒๐๓ นโยบายและหลกั การบริหารการศึกษา Policy and Principle of Educational Administration ๒๑๐ ๒๐๔ การพฒั นาหลกั สูตรและส่งเสรมิ คุณภาพการศกึ ษา Curriculum Development and Educational Quality Promoting ๒๑๐ ๒๐๕ การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา Quality Assurance in Education ๒๑๐ ๒๐๖ คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ Morality and Professional Ethics ๒๑๐ ๒๐๗ การฝกึ ปฏิบตั กิ ารวิชาชพี บรหิ ารการศกึ ษา Training Experience in Educational Administration หลกั สตู รครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา (หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒)

๒๙ รายวิชา ๑.ด้านคณุ ธรรม ๒.ดา้ นความรู้ ๓. ด้านทักษะ ๔. ด้านทักษะความสมั พันธ์ ๕. ดา้ นทกั ษะ ๖. ด้านทักษะวิชาชพี จรยิ ธรรม ทางปัญญา ระหวา่ งบุคคลฯ การสื่อสารและ หมวดวชิ าเลือก เทคโนโลยฯี ๒๑๐ ๓๐๑ ภาษาองั กฤษสาหรบั การบรหิ ารการศึกษา ๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๕๑๒๓๑๒๓๔๕๖๗ English for Educational Administration ๒๑๐ ๓๐๒ พน้ื ฐานภาษาบาลี  Basic Pali Language  ๒๑๐ ๓๐๓ การบริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ  School Administration for Excellence  ๒๑๐ ๓๐๔ การวจิ ัยแบบผสานวิธี  Mixed Methodology Research  ๒๑๐ ๓๐๕ การบรหิ ารสูค่ วามเป็นโรงเรียนวถิ พี ทุ ธ Buddhist School Administration  ๒๑๐ ๓๐๖ การศึกษาอสิ ระทางพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา Independent Studies in Buddhist Educational Administration วทิ ยานิพนธ์ ๒๑๐ ๔๐๑ วทิ ยานิพนธ์ Thesis หลักสูตรครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๓๐ ๔. ความคาดหวังของผลสัมฤทธ์กิ ารเรยี นรู้เมอื่ สิ้นปกี ารศึกษา จบการศกึ ษาชน้ั ปีที่ ๑ นิสิตมีความรู้และเข้าใจในการพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา ระเบียบวิธีการวิจัยทางพุทธ บริหารการศึกษา ภาวะผู้นาทางการศึกษา และนวัตกรรมและเทคโนโลยีการบริหารโรงเรียนวิถีพุทธ นโยบายและหลักการบริหารการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรและส่งเสริมคุณภาพการศึกษา การ ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี อกี ท้งั ยงั สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างเป็นระบบ สร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ๆ ทางการบริหารการศึกษาได้ สามารถค้นคว้า สรรหาแก้ปัญหา พฒั นาและเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการหรืองานวจิ ัยในระดับชาติและนานาชาติได้ จบปกี ารศกึ ษาชน้ั ปีที่ ๒ นิสิตมีความรู้และเข้าใจกรรมฐานนาไปปฏิบัติให้เกิดผลดีในชีวิต เข้าใจพื้นฐานภาษาบาลี สัมมนากิจกรรมการเรียนรู้เชิงพุทธบูรณาการ มีทักษะและประสบการณ์การฝึกปฏิบัติการวิชาชีพ บริหารการศึกษาที่ได้จากการลงพ้ืนท่ีเก็บประสบการณ์ ๙๐ ช่ัวโมง และพัฒนาวิทยานิพนธ์สามารถ ผ่านการสอบวิทยานิพนธ์สาเร็จการศึกษาเป็นมหาบัณฑิตท่ีสมบูรณ์ท้ังด้านวิชาการและวิชาชีพ เป็น ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษาอย่างมืออาชีพต่อไป หลักสตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๓๑ หมวดท่ี ๕ หลกั เกณฑ์ในการประเมินผล ๑. กฎ ระเบยี บ หรอื หลักเกณฑใ์ นการใหร้ ะดับคะแนน (เกรด) ใช้ระบบการประเมนิ ผลการศึกษารายวิชาของบณั ฑติ วิทยาลัย ๗ ระดับ (บฑ.มจร.๔๙) ดงั น้ี ระดบั * คา่ ระดับ เกณฑค์ ะแนน วชิ าเลอื ก วชิ าบังคับ/วิชาเอก A ๔.๐ ๙๕ – ๑๐๐ ๙๕ – ๑๐๐ A- ๓.๖๗ ๙๐ – ๙๔ ๙๐ – ๙๔ B+ ๓.๓๓ ๘๕ - ๘๙ ๘๕ - ๘๙ B ๓.๐๐ ๘๐ – ๘๔ ๘๐ – ๘๔ C+ ๒.๕๐ ๗๕ – ๗๙ ตา่ กวา่ ๘๐ C ๒.๐๐ ๗๐ - ๗๔ F ๐ ตา่ กว่า ๗๐ * ถ้าเปน็ รายวิชาท่ไี มน่ ับหนว่ ยกิต ให้แสดงผลการศึกษาในรายวชิ าน้นั ด้วยสัญลกั ษณด์ ังนี้ สญั ลกั ษณ์ ผลการศึกษา S (Satisfactory) เป็นทีพ่ อใจ U (Unsatisfactory) ไมเ่ ปน็ ที่พอใจ ๒. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนิสติ การกาหนดระบบและกลไกการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ เกิดขึ้นเพื่อแสดงหลักฐาน ยืนยันหรือสนับสนุนว่านิสิตและมหาบัณฑิตทุกคนมีมาตรฐานผลกา รเรียนรู้ทุกด้านเป็นไปตามที่ กาหนดไว้ในมาตรฐานคุณวฒุ ิ เป็นอยา่ งนอ้ ย ๒.๑ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนร้ขู ณะนสิ ิตยงั ไมส่ าเร็จการศกึ ษา การทวนสอบในทุกรายวิชา ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การทาวิทยานิพนธ์ จะต้อง สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ผลการเรียนรู้แต่ละด้าน และกลยุทธ์การประเมินผลการ เรียนรู้ โดยให้เป็นความรับผิดชอบของคณะกรรมการหลักสูตร อาจารย์ผู้สอนและคณะกรรมการ ผ้ทู รงคุณวฒุ ทิ ั้งจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย ๒.๒ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนร้หู ลงั จากนิสิตสาเรจ็ การศึกษา ทาการวิจยั สัมฤทธผิ ลของการประกอบอาชพี หรือการศกึ ษาต่อของมหาบัณฑิต แล้วนาผล ที่ได้มาเป็นข้อมลู ในการประเมนิ คุณภาพ การพฒั นาหรอื ปรับปรุงหลกั สูตร และกระบวนการเรียนการ สอน โดยมหี ัวขอ้ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้ ดังตอ่ ไปน้ี ๑. สภาวะการได้งานทาหรือศึกษาต่อของมหาบัณฑิต ประเมินจากการได้งานทาหรือ ศึกษาต่อตรงตามสาขาหรือในสาขาที่เกี่ยวข้อง และระยะเวลาในการหางาน โดยทาการประเมินจาก มหาบณั ฑิตแตล่ ะรนุ่ ท่สี าเรจ็ การศกึ ษา ๒. ตาแหน่งงานและความก้าวหนา้ ในสายงานของมหาบัณฑิต หลักสตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๓๒ ๓. ความพงึ พอใจของมหาบณั ฑิต ต่อความรู้ความสามารถท่ไี ดเ้ รยี นรู้จากหลักสูตร ท่ีใช้ใน การประกอบอาชีพหรอื ศกึ ษาตอ่ พร้อมกบั เปดิ โอกาสใหม้ ีการเสนอขอ้ คิดเห็นในการปรับปรุงหลักสูตร ให้มปี ระสทิ ธิภาพย่งิ ขนึ้ ๔. ความพึงพอใจของผู้ใช้มหาบัณฑิตหรือนายจ้าง พร้อมกับเปิดโอกาสให้มีข้อเสนอแนะ ตอ่ ส่ิงทีค่ าดหวังหรอื ตอ้ งการจากหลักสูตรในการนาไปใช้ในการปฏบิ ัติงานในสถานประกอบการ ๕. ความพึงพอใจของสถาบันการศึกษาอ่ืน ซ่ึงรับมหาบัณฑิตท่ีสาเร็จจากหลักสูตรเข้า ศึกษาตอ่ เพ่ือปรญิ ญาทส่ี ูงข้ึน โดยประเมินทางด้านความรู้ ความพร้อม และคณุ สมบตั อิ น่ื ๆ ๖. ความเหน็ และข้อเสนอแนะจากอาจารยพ์ ิเศษและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของมหาบัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษา กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ องค์ความรู้ และการ ปรบั ปรุงหลักสตู ร ใหม้ ีความเหมาะสมกับสถานการณท์ างการศกึ ษา และสงั คมในปัจจุบนั มากยิง่ ข้นึ ๗. ผลงานของนิสิตและวทิ ยานิพนธ์ทส่ี ามารถวดั เป็นรูปธรรมได้ เช่น ๑) จานวนผลงานวจิ ยั ท่ีเผยแพร่ ๒) จานวนสทิ ธิบตั ร ๓) จานวนกิจกรรมเพื่อสังคมและประเทศชาติ ๔) จานวนกจิ กรรมอาสาสมคั รในองคก์ รทท่ี าประโยชน์เพื่อสังคม ๓. เกณฑ์การสาเรจ็ การศึกษาตามหลกั สตู ร นสิ ติ ต้องดาเนินการตามข้นั ตอนต่อไปนี้ครบ จึงจะสาเรจ็ การศกึ ษาตามเกณฑข์ องหลกั สูตร ๑. ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉล่ียไม่ต่า กว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า พร้อมทั้ง เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการ สอบปากเปลา่ ขัน้ สุดท้ายโดยคณะกรรมการทบ่ี ณั ฑติ วิทยาลัยแต่งตั้ง และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจ เขา้ รบั ฟังได้ ๒. ผลงานวิทยานิพนธ์หรอื สว่ นหน่ึงของวทิ ยานพิ นธ์ตอ้ งไดร้ บั การตพี มิ พ์ หรืออยา่ งน้อยได้รับ การยอมรบั ให้ตพี มิ พใ์ นวารสารระดบั ชาติหรือระดับนานาชาติทีม่ ีคณุ ภาพตามประกาศ คณะกรรมการ การอุดมศึกษา เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ ผลงานทาง วิชาการ หรือนาเสนอต่อท่ีประชุมวิชาการโดยบทความที่นาเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ได้รับ การตพี มิ พใ์ นรายงานสบื เนอ่ื งจากการประชมุ วชิ าการ (Proceedings) ดังกล่าว ๓. ผ่านการฝึกปฏบิ ัติการวชิ าชพี บริหารการศึกษา ตามเกณฑ์ท่หี ลักสตู รกาหนด ๔. สอบผ่านการประเมนิ ผลวทิ ยานิพนธ์ และสง่ วิทยานิพนธ์ฉบบั สมบรู ณ์ตามที่ มหาวทิ ยาลัยกาหนด ๕. ตอ้ งสอบผา่ นวชิ าภาษาต่างประเทศ ตามเกณฑ์ที่มหาวทิ ยาลยั กาหนด ๖. ปฏิบตั กิ รรมฐาน สะสมวันได้ไม่น้อยกว่า ๓๐ วัน หรือตามท่ีมหาวทิ ยาลัยกาหนด หลกั สตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศกึ ษา (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๓๓ หมวดท่ี ๖ การพัฒนาคณาจารย์ ๑. การเตรยี มการสาหรบั อาจารยใ์ หม่ หลักสูตรมีการเตรียมการสาหรบั อาจารยใ์ หม่ ดังนี้ ๑. จดั ปฐมนเิ ทศแนะแนวอาจารย์ใหม่ ให้มีความร้แู ละเข้าใจนโยบายของสถาบนั ๒. มอบหมายภาระและบทบาทหนา้ ทีต่ ามพนั ธกิจของสถาบัน ๓. สง่ เสริมให้มคี วามรู้ ประสบการณ์ ในด้านการเรียนการสอน การวจิ ยั อย่างตอ่ เน่อื ง ๔. แนะนาใหท้ ราบถึงสิทธิผลประโยชนข์ องอาจารย์ และกฎระเบียบต่างๆ ๕. แนะนาใหเ้ ข้าใจหลกั สูตร การจดั การเรียนการสอน และกิจกรรมตา่ งๆ ของสาขาวิชาฯ ๖. มอี าจารยอ์ าวุโสเป็นอาจารยพ์ ่เี ล้ียง โดยมหี นา้ ทใ่ี หค้ าปรึกษาดา้ นตา่ งๆ มีการนิเทศการสอน ทง้ั ภาคทฤษฎีและภาคปฏบิ ตั ิ ๗. มีการประเมนิ และตดิ ตามความก้าวหน้าในการปฏบิ ัติงานของอาจารยใ์ หม่ ๘. ปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานสาหรับอาจารย์ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลยั ๒. การพัฒนาความรแู้ ละทกั ษะใหแ้ กค่ ณาจารย์ มีกระบวนการให้ความรู้วิธีการปฏิบัติงานตามหน้าท่ีรับผิดชอบ และเปิดโอกาสคณาจารย์ พัฒนาตนเองทางวชิ าชพี และวชิ าการตามสายงาน โดยอาจารย์ทุกคนต้องได้รับการพัฒนาไม่น้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมงต่อปี ๒.๑ การพัฒนาทกั ษะการจัดการเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล หลักสตู รมแี นวทางในการพฒั นาทกั ษะการจัดการเรียนการสอน การวัด และประเมนิ ผล ๑. ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพิ่มพูนความรู้ สร้างสมประสบการณ์ในงานท่ีเกี่ยวข้องกับ สาขาวิชาทร่ี บั ผดิ ชอบ เพือ่ ส่งเสริมการสอนและการวิจัยอย่างต่อเน่ืองท้ังอาจารย์เก่าและอาจารย์ใหม่ โดยการสนับสนุนด้านการศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่างๆ การ ประชุมทางวชิ าการท้งั ในประเทศและ/หรือต่างประเทศ การลาเพื่อเพิม่ พนู ความรูแ้ ละประสบการณ์ ๒. การเพิม่ พนู ทักษะการจดั การเรียนการสอนและการประเมินผลให้ทนั สมยั ๓. การมสี ่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่ชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้และ คุณธรรม ๔. มกี ารกระตุ้นอาจารย์พฒั นาผลงานทางวชิ าการสายตรงในสาขาวิชา ๕. ส่งเสริมการทาวิจยั สรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่เป็นหลักและเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและ มคี วามเชยี่ วชาญในสาขาวชิ าชีพเป็นรอง ๒.๒ การพฒั นาวชิ าการและวชิ าชพี ด้านอ่ืน ๆ หลักสูตรมแี นวทางในการพฒั นาวิชาการและวิชาชพี ด้านอ่ืน ๆ ๑. การสนับสนนุ การเข้ารว่ มฟัง และการนาเสนอผลงานทางวิชาการในทีป่ ระชุมวิชาการ ๒. การฝึกอบรมพฒั นาข้อเสนอโครงการวจิ ยั และการเขียนบทความวิจยั ตีพิมพ์ในวารสาร นานาชาติ หลักสูตรครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๓๔ ๓. การสนบั สนนุ การรว่ มมือในงานวิจัยท้ังในและตา่ งประเทศ ๔. การสนับสนนุ การเขา้ รับการฝึกอบรม การประชมุ สมั มนาเพ่ิมพูนความรู้ หลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๓๕ หมวดที่ ๗ การประกันคณุ ภาพหลกั สูตร ๑. การกากบั มาตรฐานหลกั สูตร จดั ใหม้ ีคณะกรรมการผู้รับผิดชอบแต่ละรายวิชาท่ีเปิดสอนในหลักสูตร พร้อมทั้งมีกระบวนการ จดั การเรียนการสอนโดยดาเนินการตามรายละเอยี ดต่อไปน้ี ๑. มีการจัดทารายละเอียดของรายวชิ า (มคอ.๓) ๒. รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนทหี่ ลากหลาย ๓. มีอาจารย์ประจาหลักสูตรทั้งอาจารย์ประจา อาจารย์พิเศษ อาจารย์ที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ มีคุณสมบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา พ.ศ.๒๕๕๘ และข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วย การศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ ๔. มกี ารพฒั นาทักษะการสอนและการใหค้ าปรึกษาวทิ ยานิพนธข์ องอาจารย์ ๕. มกี ารประเมินและวเิ คราะห์ข้อสอบใหไ้ ดม้ าตรฐาน ๖. มีระบบฐานขอ้ มลู เกยี่ วกบั รายวชิ าในหลักสูตร ๗. มีการประกันคุณภาพวิทยานิพนธ์ โดยให้ดาเนินการตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลยั วา่ ด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ ในหวั ข้อหลัก ดงั น้ี ๑) การทาวทิ ยานพิ นธ์ ๒) การสอบปอ้ งกันวิทยานพิ นธ์ ๓) การนาเสนอผลงานวจิ ยั ในเวทีสาธารณะ เปา้ หมาย การดาเนินการ การประเมินผล ๑. พัฒนาหลักสูตรใหท้ ันสมัยโดย ๑. จดั ใหห้ ลกั สูตรสอดคล้องกบั มาตรฐาน ๑. หลกั สูตรทส่ี ามารถอ้างอิงกับ อาจารยแ์ ละนิสิตสามารถกา้ ว วชิ าชพี ด้านเทคโนโลยใี นระดับสากลหรอื มาตรฐานทกี่ าหนดโดยหนว่ ยงาน ทนั หรอื เป็นผู้นาในการสรา้ ง ระดับชาติ (หากมกี ารกาหนด) วชิ าชพี ดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ องค์ความร้ใู หม่ๆ ทางพระ มีความทันสมยั และมกี ารปรบั ปรงุ พทุ ธศาสนาดา้ นบริหาร สม่าเสมอ การศกึ ษา ๒. กระตุน้ ให้นิสิตเกดิ ความใฝร่ ู้ ๒. ปรบั ปรุงหลักสูตรให้ทันสมยั โดยมีการ ๒. จานวนวชิ าเรยี นที่มภี าคปฏบิ ตั ิ มแี นวทางการเรียนทส่ี รา้ งทง้ั พจิ ารณาปรับปรงุ หลกั สตู รทุกๆ ๔ ปี และวชิ าเรยี นทม่ี ีแนวทางให้ ความรคู้ วามสามารถใน นักศกึ ษาได้ศึกษาคน้ คว้าความรู้ วิชาการวชิ าชพี ท่ที นั สมัย ใหม่ได้ดว้ ยตนเอง ๓. ตรวจสอบและปรบั ปรงุ ๓. จดั แนวทางการเรียนในวชิ าเรยี นให้มที ัง้ ๓. จานวนและรายชอื่ คณาจารย์ หลกั สตู รให้มคี ณุ ภาพ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ และมแี นว ประจาประวัตอิ าจารย์ดา้ นคุณวฒุ ิ มาตรฐาน ทางการเรียนหรอื กิจกรรมประจาวิชาให้ ประสบการณ์ และการพฒั นา นสิ ติ ได้ศึกษาความรทู้ ที่ นั สมัยดว้ ยตนเอง อบรมของอาจารย์ หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๓๖ เปา้ หมาย การดาเนนิ การ การประเมินผล ๔. มีการประเมินมาตรฐานของ ๔. จัดให้มผี ู้สนบั สนนุ การเรียนรูแ้ ละหรือ ๔. จานวนบคุ ลากรผู้สนบั สนนุ การ หลักสูตรอยา่ งสม่าเสมอ ผ้ชู ว่ ยสอน เพอ่ื ให้นิสิตเกดิ ความใฝ่รู้ เรียนรแู้ ละบนั ทกึ กจิ กรรมในการ สนบั สนนุ การเรยี นรู้ ๕. กาหนดให้อาจารย์ที่สอนมีคุณวฒุ ิไมต่ า่ ๕. ผลการประเมินการเรยี นการสอน กว่าปริญญาโท หรอื เปน็ ผูม้ ี อาจารย์ผสู้ อน และการสนับสนนุ ประสบการณห์ ลายปมี ีจานวนคณาจารย์ การเรียนร้ขู องผูส้ นับสนุนการ ประจาไม่นอ้ ยกว่าเกณฑม์ าตรฐาน เรยี นรูโ้ ดยนิสติ ๖. สนับสนนุ ใหอ้ าจารย์ผู้สอนเป็นผนู้ า ๖. ประเมินผลโดยคณะกรรมการที่ ในทางวชิ าการ และหรอื เป็นผเู้ ช่ยี วชาญ ประกอบดว้ ยอาจารย์ภายในคณะฯ ทุก ๒ ปี ทางวชิ าชีพด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ หรือในด้านท่ีเกี่ยวขอ้ ง ๗. ส่งเสรมิ อาจารยป์ ระจาหลกั สูตรใหไ้ ปดู ๗. ประเมินผลโดยคณะกรรมการ งานในหลกั สูตรหรอื วิชาการทีเ่ ก่ียวข้อง ผทู้ รงคณุ วฒุ ภิ ายนอก ทกุ ๆ ๔ ปี ทั้งในและตา่ งประเทศ ๘. มีการประเมินหลกั สูตรโดย ๘. ประเมินผลโดยบณั ฑิตผสู้ าเรจ็ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒภิ ายในทกุ ปี การศึกษาทกุ ๆ ๒ ปี และภายนอกอยา่ งนอ้ ยทกุ ๔ ปี ๙. จัดทาฐานขอ้ มลู ทางดา้ นนสิ ติ อาจารย์ อปุ กรณ์เคร่ืองมือวิจยั งบประมาณ ความ รว่ มมือกบั ต่างประเทศ ผลงานทาง วิชาการทุกภาคการศึกษาเพือ่ เปน็ ขอ้ มลู ในการประเมินของคณะกรรมการ ๑๐. ประเมนิ ความพึงพอใจของหลกั สตู รและ การเรียนการสอนโดยมหาบณั ฑติ ท่ี สาเรจ็ การศึกษา ๒. บณั ฑติ หลกั สตู รมกี ารศกึ ษาและวิเคราะห์เพอื่ การผลิตให้มีคุณภาพ ดังนี้ ๑. มีการศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม เพื่อเป็นข้อมูลพ้ืนฐานใน การเปดิ และการปรับปรุงและพัฒนาหลักสตู รอยา่ งตอ่ เน่ืองทุกๆ ๕ ปี ๒. มกี ารศกึ ษาความพงึ พอใจของผใู้ ชม้ หาบัณฑติ และนายจา้ ง (ทกุ ๆ ปีการศกึ ษา) ๓. มีการติดตามการพัฒนาอาชีพและความก้าวหน้าในการทางานของมหาบัณฑิต เพื่อให้ได้ ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั มาพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร ๔. มผี ลงานของนกั ศกึ ษาและผู้สาเร็จการศกึ ษาไดร้ ับการตพี ิมพ์หรือเผยแพร่ หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๓๗ ๓. นิสติ ๓.๑ การให้คาปรกึ ษาดา้ นวชิ าการและอืน่ ๆ แก่นิสิต เพ่อื พัฒนานิสติ ให้มีคณุ ภาพ หลักสตู รดาเนนิ การดงั นี้ ๑. มกี ระบวนการรบั นสิ ติ ใหมแ่ ละการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ๒. มีการแตง่ ตงั้ อาจารย์ทปี่ รกึ ษาทางวิชาการใหแ้ กน่ ิสิตทกุ คน ๓. มกี ารกาหนดชั่วโมงให้คาปรกึ ษาเพอ่ื ใหน้ สิ ติ เขา้ ปรึกษาได้ ๔. มีการควบคุมดูแลและให้คาปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธห์ รือคลนี คิ วิทยานพิ นธ์สาหรบั นสิ ติ ๕. มกี ารแสดงผลการดาเนินงาน (การคงอยู่ การสาเร็จการศึกษา สถานภาพนสิ ติ ) ๔. อาจารย์ ๔.๑ การรับอาจารยใ์ หม่ มีระบบการคดั เลอื กและพฒั นาอาจารย์ใหม่ ดงั น้ี ๑. มรี ะบบการคดั เลอื กอาจารยใ์ หม่ตามระเบยี บและหลกั เกณฑ์ของมหาวทิ ยาลัย ๒. มีการพฒั นาอาจารย์ให้มคี วามรู้และใช้เทคโนโลยีใหม่ในการเรยี นการสอน ๓. อาจารย์ในหลกั สตู รมคี ณุ สมบัติทเี่ หมาะสมและเพียงพอ มีความรู้ความเช่ียวชาญทาง สาขาวชิ าและมคี วามก้าวหนา้ ในการผลติ ผลงานทางวิชาการอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ๔.๒ การมสี ่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลกั สูตร คณาจารย์จะมีการประชุมร่วมกันในการวางแผนจัดการเรียนการสอน การประเมินผล การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร การทาให้บรรลุเป้าหมายตามที่หลักสูตรหรือ มหาวทิ ยาลยั กาหนด ๔.๓ การแต่งตั้งคณาจารยพ์ ิเศษ มีการแต่งต้ังและเชิญอาจารย์พิเศษ หรือผู้ทรงคุณวุฒิมาบรรยาย อภิปราย สัมมนา สมา่ เสมอ ๕. หลกั สูตร การเรยี นการสอน การประเมินผเู้ รยี น ๕.๑ หลักสตู ร มีการออกแบบและประเมนิ หลกั สตู ร ดงั นี้ ๑. มีการออกแบบหลักสูตร หน่วยการเรียน ตรงตามเกณฑ์มาตรฐานของ สกอ. และคุรุ สภา ๒. มีการประเมินและรายงานผลการดาเนนิ การของหลักสูตรทุกปีการศึกษา เพื่อปรับปรุง พัฒนาหลกั สูตรเปน็ ระยะ ๆ อย่างนอ้ ยตามรอบระยะเวลาของหลกั สูตร หรอื ทุกรอบ ๕ ปี ๕.๒ การเรยี นการสอน มีแผนและการจัดการเรียนการสอนเพอ่ื ให้มคี ุณภาพ ดังน้ี ๑. มีแผนการเรียน การปรับปรุงแผน และวิธีการเรียนการสอน เนื้อหาวิชาให้ทันสมัย เสมอ ๒. จัดการเรียนการสอน การส่งเสริมเรียนรู้ การสัมมนาวิชาการ ศึกษาดูงาน และฝึก ปฏบิ ัติ เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนได้รับความรอู้ ยา่ งเต็มที่ ๕.๓ การประเมนิ ผเู้ รียน หลักสูตรครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๓๘ มีการประเมินผู้เรียนตามสภาพจริง ด้วยวิธีการประเมินที่หลากหลาย เช่น แบบประเมิน ตามประเดน็ หรือหัวขอ้ ทีก่ าลงั เป็นท่สี นใจ การทาแบบทดสอบ การนาเสนอรายงานโดยนสิ ิต ๖. สงิ่ สนบั สนุนการเรยี นรู้ ๖.๑ การบรหิ ารงบประมาณ มีการจัดสรรงบประมาณประจาปี เพื่อจัดซ้ือหนังสือ ตารา สื่อ คอมพิวเตอร์ เพ่ือ เอือ้ อานวยต่อการเรียนการสอน มีคุณภาพ เพียงพอและเหมาะสมท้ังในห้องเรียนและการเรียนรู้ด้วย ตนเองของนสิ ิต ๖.๒ ทรพั ยากรการเรยี นการสอนทมี่ อี ยเู่ ดมิ หลกั สูตรมีความพร้อมด้านหนังสือ ตาราเฉพาะทาง งานวิจัย ส่ิงพิมพ์ ส่ือ เทคโนโลยีเพื่อ การศกึ ษา และอปุ กรณท์ ีใ่ ช้สนบั สนุนการจดั การเรียนการสอนอย่างพอเพียง และสัมพันธ์กับสาขาวิชา ท่ีเปดิ สอน ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ดังนี้ ตาราภาษาไทย ๑๐๓,๓๐๐ เลม่ ตาราภาษาอังกฤษ ๑๒,๗๙๐ เลม่ วารสารภาษาไทยและอังกฤษ ๒๕๐ ชอ่ื เรื่อง ฐานขอ้ มลู ออนไลน์ ๒,๐๐๐,๐๐๐ ชื่อเร่ือง นอกจากน้ี ยังมีส่ือการศึกษาในรูปแบบอื่นๆ เช่น เว็บไซต์เกี่ยวกับการศึกษา ผลการวิจัย หนังสือ ในรูปแบบส่ือ Online และส่ือ Offline ท่ีเป็น VCD, DVD, CD-ROM, แผนที่ และบริการ ห้องสมดุ ผ่านระบบอินเทอร์เนต็ ทว่ั ประเทศ (Journal-Link) และฐานข้อมลู อิเล็กทรอนิกส์ ๖.๓ การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพ่มิ เตมิ หลกั สูตรไดจ้ ัดเตรียมความพรอ้ มทรัพยากรเพื่อการเรียนการสอน ดงั นี ๑. มีห้องสมดุ คณะครุศาสตร์ และประสานงานกับห้องสมุดของมหาวิทยาลัยในการจัดซ้ือ หนังสือ และตาราท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือบริการให้อาจารย์และนิสิตได้ค้นคว้า และใช้ประกอบการเรียนการ สอน ๒. อาจารยผ์ สู้ อนมสี ่วนร่วมในการเสนอแนะรายช่ือหนงั สือ ตลอดจนสอ่ื อ่นื ๆ ทจ่ี าเป็น ๖.๔ การประเมนิ ความเพยี งพอของทรพั ยากร มีการประเมินความพอเพียงของหนังสือ ตารา นอกจากนี้มีเจ้าหน้าท่ี ด้านโสตทัศน์ อุปกรณ์ ซง่ึ จะอานวยความสะดวกในการใชส้ ื่อของอาจารย์ ๗. ตวั บง่ ชผ้ี ลการดาเนินงาน (Key Performance Indicatore) ผลการดาเนนิ การบรรลุตามเปา้ หมายตวั บ่งช้ีท้ังหมดอยู่ในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง ๒ ปี การศึกษาเพื่อ ติดตามการดาเนินการตาม TQF ต่อไป ทั้งน้ีเกณฑ์การประเมินผ่าน คือ มีการดาเนินงานตามข้อ ๑-๕ และอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ ๘๐ ของตวั บ่งชผี้ ลการดาเนินงานท่ีระบไุ วใ้ นแต่ละปี ดัชนบี ่งชผี้ ลการดาเนนิ งาน ปที ่ี ๑ ปที ี่ ๒ ปที ี่ ๓ ปีท่ี ๔ ปีท่ี ๕ ××××× ๑. อาจารยป์ ระจาหลักสูตรอย่างน้อยรอ้ ยละ ๘๐ มีสว่ นรว่ มใน การประชุมเพือ่ วางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนนิ งาน หลักสูตร หลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศกึ ษา (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๓๙ ดชั นบี ง่ ชี้ผลการดาเนินงาน ปีที่ ๑ ปที ี่ ๒ ปที ่ี ๓ ปที ่ี ๔ ปีท่ี ๕ ๒. มีรายละเอียดของหลกั สูตร ตามแบบ มคอ.๒ ท่ีสอดคล้องกบั × × × × × มาตรฐานคุณวฒุ ิระดับปริญญาโทสาขาวิชาบริหารการศกึ ษา ๓. มีรายละเอยี ดของรายวชิ า และประสบการณภ์ าคสนาม (ถา้ มี) ตามแบบ มคอ.๓ และ มคอ.๔ ก่อนเปิดสอนในแตล่ ะภาค × × × × × การศกึ ษาครบทุกรายวชิ า ๔. จดั ทารายงานผลการดาเนินการของรายวชิ า และ ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ. ๕, ๖ ภายใน × × × × × ๓๐ วัน หลังสนิ้ สุดภาคการศึกษาทีเ่ ปิดสอนให้ครบทุก รายวิชา ๕. มกี ารจดั ทารายงานผลการดาเนนิ การของหลกั สตู ร ตามแบบ × × × × × มคอ.๗ ภายใน ๖๐ วัน หลังสน้ิ สดุ ปกี ารศกึ ษา ๖. มีการทวนสอบผลสมั ฤทธิ์ของนิสติ ตามมาตรฐานผลการ เรยี นรูท้ ่กี าหนดใน มคอ.๓ และ มคอ.๔ (ถ้ามี) อยา่ งน้อยรอ้ ย × × × × × ละ ๒๕ ของรายวชิ าท่ีเปดิ สอนในแต่ละปีการศึกษา ๗. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการเรยี นการสอน กลยทุ ธ์การสอน หรอื การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จากผลการประเมินที่รายงาน - × × × × ใน มคอ.๗ ปีท่ผี ่านมา ๘. อาจารย์ใหม่ (ถา้ มี) ทุกคน ไดร้ บั การปฐมนิเทศหรอื คาแนะนา × × × × × ดา้ นการจดั การเรียนการสอน ๙. อาจารยป์ ระจาหลกั สูตรทุกคนได้รบั การพฒั นาทางวิชาการ × × × × × และ/หรือวิชาชีพอยา่ งน้อยปีละหน่งึ คร้ัง ๑๐. จานวนบคุ ลากรสนับสนนุ การเรยี นการสอน (ถา้ มี) ได้รบั การพัฒนาวิชาการ และ/หรอื วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ × × × × × ต่อไป ๑๑. ระดบั ความพึงพอใจของนิสติ ปีสดุ ท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีตอ่ - × × × × คุณภาพหลกั สตู ร เฉลยี่ ไมน่ ้อยกวา่ ๓.๕ จากคะแนน ๕.๐ ๑๒. ระดบั ความพงึ พอใจของผ้ใู ช้บณั ฑิตที่มีตอ่ บัณฑิตใหมเ่ ฉล่ีย - - ××× ไม่นอ้ ยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเตม็ ๕.๐ หลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔๐ หมวดท่ี ๘ การประเมินและปรบั ปรุงการดาเนินการของหลักสูตร ๑. การประเมินประสิทธิผลของการสอน ๑.๑. การประเมนิ กลยุทธ์การสอน หลกั สตู รมีการประเมินกลยุทธ์การสอนเพื่อใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพการศึกษา ดังน้ี ๑. อาจารย์ผู้สอนประเมินผู้เรียนจากการทดสอบย่อย สังเกตพฤติกรรม การอภิปราย การโต้ตอบ และการตอบคาถามของเพ่ือนนสิ ติ ในชัน้ เรียน ๒. ประชมุ ผูบ้ ริหารและคณาจารยใ์ นหลักสตู รเพ่ือแลกเปลยี่ นเรียนร้แู ละขอคาแนะนา ๓. ปรับเปลี่ยนวิธีสอน หรือทดสอบความรู้แบบใหม่ๆ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนใน โอกาสต่อไป ๔. การสอบถามจากผู้เช่ยี วชาญ หรือจากนสิ ิต ๑.๒ การประเมนิ ทักษะของอาจารยใ์ นการใช้แผนกลยทุ ธก์ ารสอน มีการประเมินทกั ษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน ดังน้ี ๑. ให้นิสิตประเมินการสอนของอาจารย์ในทุกด้าน เช่น ทักษะความรู้ กลยุทธ์การสอน การตรงตอ่ เวลา การชีแ้ จงเป้าหมายการเรียน วัตถุประสงค์รายวิชา การวัดและประเมินผล และการ ใชส้ ื่อการสอน ๒. ใหอ้ าจารย์ประเมนิ ตนเอง และโดยเพ่ือนร่วมงาน ๒. การประเมินหลกั สตู รในภาพรวม ๒.๑ ประเมนิ จากนิสิตและศษิ ย์เกา่ เปิดโอกาสใหน้ ิสิตและศษิ ย์เก่าประเมินหลักสตู รโดยการ ๑. ใหน้ สิ ิตทกุ ชน้ั ปีประเมนิ หลกั สตู รในภาคการศกึ ษาสดุ ทา้ ยแต่ละปีการศึกษา ๒. ให้ศิษย์เก่าประเมินทางออนไลน์ หรือในโอกาสประชุมศิษย์เก่า หรือตามโอกาสท่ี เหมาะสม ๒.๒ ประเมนิ จากนายจา้ งหรือสถานประกอบการ มีการสัมภาษณห์ รือสอบถามจากสถานประกอบการ หรือผูใ้ ชบ้ ณั ฑิตถึงความพึงพอใจ ๒.๓ ประเมินโดยผู้ทรงคณุ วุฒหิ รือทป่ี รกึ ษา มีเชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ความเห็น หรือจากข้อมูลในรายงานผลการดาเนินงานหลักสูตร หรือจากรายงานของการประเมนิ ผลการประกันคุณภาพภายใน ๓. การประเมนิ ผลการดาเนนิ งานตามรายละเอียดหลกั สตู ร มีการประเมินตามตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานท่ีระบุไว้ในหมวด ๗ ข้อ ๗ โดยคณะกรรมการ ประเมินอยา่ งนอ้ ย ๓ คน ซึง่ ต้องประกอบดว้ ยผทู้ รงคุณวฒุ ิในสาขาวิชาเดียวกันอยา่ งน้อย ๑ คน หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔๑ ๔. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรงุ หลกั สูตร ถ้าได้รับทราบปัญหาของการบริหารหลักสูตร กรณีที่พบปัญหาของรายวิชา จะดาเนินการ แก้ไขปรับปรุงในรายวิชาน้ันๆ ทันที ส่วนการปรับปรุงหลักสูตรท้ังฉบับจะกระทาทุก ๕ ปี เพื่อให้ หลกั สูตรมีความทันสมยั และสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผใู้ ชบ้ ัณฑติ อยู่เสมอ มีกระบวนการทางาน ตามขั้นตอนดังน้ี ๑. นาข้อมูลจากการรายงานผลการดาเนินการรายวชิ าเสนออาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลักสตู ร ๒. อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตรสรปุ ผลการดาเนนิ การประจาปเี สนอหัวหนา้ ภาควชิ า ๓. ประชุมอาจารยป์ ระจาหลักสูตรเพื่อพิจารณาทบทวนผลการดาเนินการหลักสูตร ******************* หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศึกษา (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔๒ ภาคผนวก ก คาอธบิ ายรายวิชา หลักสูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศกึ ษา หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒ หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศึกษา (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔๓ ๑. หมวดวิชาบังคับ เป็นวิชาที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ตามที่ตนเองถนัดหรือสนใจ มีทักษะในการ แสวงหาความรู้ การวิจยั เพ่ือพฒั นาองคค์ วามรู้ นวตั กรรมและเทคโนโลยี หรือวชิ าท่ีต้องการเสริมสร้าง คณุ ลกั ษณะเฉพาะของหลักสูตรหรือสถาบนั แบ่งเปน็ วิชาบังคบั นับหนว่ ยกิต และไม่นบั หน่วยกติ ๑.๑ วิชาบงั คับ นับหนว่ ยกติ จานวน ๙ หน่วยกติ ๒๑๐ ๑๐๑ สัมมนากิจกรรมการเรียนรเู้ ชิงพุทธบูรณาการ ๓ (๒-๒-๕) Seminar on Buddhist Integrational Active Learning ศึกษาหลักการศึกษาในพระพุทธศาสนา พระไตรปิฎกและเอกสารวิชาการทาง พระพุทธศาสนา ระบบการศึกษาของคณะสงฆ์ไทย บทบาทคณะสงฆ์กบั การศกึ ษา การบรู ณาการพุทธธรรมกับกิจกรรมเสรมิ หลักสูตร กจิ กรรมพฒั นาศักยภาพและทักษะ ผู้เรียนใหค้ ิดเปน็ ทาเป็น แกป้ ัญหาเปน็ กิจกรรมสง่ เสริมวนิ ัย คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม การบรหิ ารจัดการให้เกิดการชว่ ยเหลอื ดูแลผเู้ รยี น Educational system and administration in Buddhism, Tipitaka and Buddhist textbooks, Thai Sangha educational system, Sankha role in Education, Buddhist integrated active learning, learners' skills, discipline and morality development, supervising and caring of learners, activity and students' affairs management ๒๑๐ ๑๐๒ ระเบยี บวิธีการวจิ ยั ทางพทุ ธบริหารการศกึ ษา ๓ (๒-๒-๕) Buddhist Educational Administration Research Methodology ศกึ ษาหลักการแสวงหาความรู้และสร้างองค์ความร้ใู หม่ด้วยวิธีการวิจัย พุทธวิธกี ารวิจยั จรรยาบรรณนกั วิจัย ประเภทของการวจิ ัย การวิจัยทางการศึกษา กระบวนการและ ขนั้ ตอนการวจิ ยั การเขียนโครงรา่ งวจิ ัย เอกสารและงานวจิ ัยที่เกี่ยวขอ้ ง เคร่ืองมือการ วจิ ัย ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง วธิ ดี าเนินการวิจยั สถิติเพอื่ การวิจัย โปรแกรม ประยกุ ต์เพ่อื การวเิ คราะหข์ ้อมูล โปรแกรมประยุกต์เพื่อการเขยี นรายงานการวิจยั โปรแกรมประยุกต์เพ่ือการนาเสนอผลการวจิ ยั ในเวทตี ่างๆ Knowledge seeking and building a new body of knowledge through research, buddhist research methodology, researher ethics, types of research, educational research, research process and step, research proposal writing, documents and research works concerned, research instrument, population and sample, research conducting, statistics used in research, application for data analysis, application for research report writing and presentation หลักสูตรครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔๔ ๒๑๐ ๑๐๓ นวัตกรรมและเทคโนโลยีการบริหารโรงเรียนวิถีพุทธ ๓ (๒-๒-๕) Innovation and Technology for Buddhist School Administration ศึกษาการบริหารโรงเรียนวถิ ีพทุ ธ บทบาทครูและนักเรยี นวิถพี ทุ ธ เทคนคิ การสอนและ สือ่ การศึกษาวิถีพทุ ธ พนื้ ฐานระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ระบบสารสนเทศเพื่อการ จดั การ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการบรหิ ารสถานศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยี การศึกษาในศตวรรษท่ี ๒๑ โปรแกรมประยุกตเ์ พื่อการผลิตสือ่ การศึกษา การสร้างผัง มโนทศั น์ และการสร้างโมเดลทางการศึกษา Buddhist school administration, Buddhist teacher and student role, Buddhist teaching technic and learning media, information technology fundamental, Management information system, Information technology for school administration, Innovation and technology for education in ๒๑st Century, Application for learning media, mind map and model creation ๑.๒ วชิ าบังคบั ไม่นบั หน่วยกติ จานวน ๑ รายวิชา ๒๑๐ ๑๐๔ กรรมฐาน (๓) (๒-๒-๕) Meditation ศึกษาความเปน็ มาของการบริหารจิตและการเจรญิ สติ การกาเนิดและองค์ประกอบของ ชวี ติ มนษุ ย์ ทีส่ ุดสองอย่างและทางสายกลาง ธรุ ะ ๒ กรรมฐานหรอื ภาวนา ๒ ประโยชนข์ องกรรมฐาน อุปสรรคของกรรมฐาน การปฏิบตั ติ ามหลักสตปิ ฏั ฐาน สานัก กรรมฐานสายต่างๆ กรรมฐานในชวี ติ ประจาวัน แนวโนม้ การปฏิบัตกิ รรมฐานในสงั คม โลก หลกั พุทธธรรมเพอ่ื การศึกษาและพัฒนาคุณภาพชวี ติ Background of mental training and mindfulness cultivation, origin and factors of human life, two extreme practices and the Middle Path, two types of dhura, two types of meditation, the practice of the Four Foundations of Mindfulness, meditation centers, mental training and mindfulness development in daily life, tendency of mental training and mindfulness development in society, Buddha-dhamma for education and life quality development ๒. หมวดวชิ าเอก เป็นวิชาเฉพาะด้าน หรือวิชาชีพท่ีมุ่งหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ปฏิบัติได้จริง รวมถงึ การฝกึ ประสบการณภ์ าคสนาม เพ่อื เสริมสร้างความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ตรงของนิสิต มี เน้ือหาสอดคล้องกับมาตรฐานความรู้ผู้บริหารสถานศึกษาและบริหารการศึกษาของคุรุสภา (๒๑ หนว่ ยกิต) หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา (หลกั สตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔๕ ๒๑๐ ๒๐๑ การพฒั นาวชิ าชีพทางการศึกษา ๓ (๒-๒-๕) Professional Development in Education ศึกษาจิตวิญญาณและอุดมการณ์ของนักบริหาร การพัฒนาวชิ าชพี เชิงพทุ ธ ความเป็น ผู้บริหารมอื อาชีพ สถาบนั หรือองค์กรทางวชิ าชีพ มาตรฐานวชิ าชีพผบู้ ริหาร สถานศกึ ษา กระบวนการผลิตครแู ละผบู้ ริหารมืออาชีพ การจดั การความรู้เกี่ยวกบั การ บรหิ าร การวิจยั เพื่อการพัฒนาวชิ าชีพ Spirit and ideal of administrator, ideal of Buddhist administrator, buddha- dhamma in professional development, professional administrator, professional organization or institution, professional standard, school administrator, professional teacher and administrator producing process, knowledge management and administration, research for professional development ๒๑๐ ๒๐๒ ภาวะผู้นาทางการศกึ ษา ๓ (๒-๒-๕) Educational Leadership ศกึ ษาการพฒั นาภาวะผู้นา ภาวะผู้นาเชิงพทุ ธ พฤติกรรมและบทบาทผู้นากบั สงั คมท่ี เปลยี่ นแปลง การปฏสิ มั พนั ธ์และการพฒั นาเพื่อนรว่ มงาน การบรหิ ารงานระบบ เครือข่าย การบริหารความเส่ียงและความขัดแย้ง การสร้างความสมั พนั ธ์กับชุมชนและ ท้องถิน่ การระดมทรัพยากรเพอื่ การศึกษา การนเิ ทศการศกึ ษาเพื่อพัฒนาครู Concept and theory of leadership, Buddhist leadership, leadership behavior and role in social change, leadership development, motivation building, decision making, reaction and peer-development, risk and conflict management, community and local relation building, educational supervision ๒๑๐ ๒๐๓ นโยบายและหลกั การบรหิ ารการศกึ ษา ๓ (๒-๒-๕) Policy and Principle of Educational Administration ศึกษาหลักการ กระบวนการ และหนา้ ทใี่ นการบริหาร การบริหารการศึกษาเชิงพุทธ นโยบายและการวางแผนเพ่ิมประสทิ ธิภาพการศึกษา การบรหิ ารองค์กรและหน่วยงาน ทางการศกึ ษา การบรหิ ารงานวชิ าการส่คู วามเปน็ เลศิ การบริหารงานบคุ คล การ บรหิ ารงานธุรการ การเงนิ พสั ดุ และอาคารสถานที่ การบรหิ ารแหลง่ เรียนรู้และ สิ่งแวดล้อมทางการศึกษา กฎหมายเกย่ี วกบั การศึกษาและผบู้ รหิ ารการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารการศึกษา Concept and theory of educational administration, Buddhist educational administrator, educational administration effectiveness increase planning, educational organization and unit, administration of personnel, budget, finance, accounting and procurement, student affairs administration, laws หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔๖ and regulations concerning education and school administrator, modern innovation and technology in educational administration ๒๑๐ ๒๐๔ การพัฒนาหลกั สตู รและส่งเสริมคุณภาพการศึกษา ๓ (๒-๒-๕) Curriculum Development and Educational Quality Promoting ศึกษาหลักปรัชญาการศกึ ษา ปรชั ญาการศึกษาเชิงพุทธ หลกั สูตรและการจดั การเรยี น การสอนเชงิ พุทธ หลักสตู รการศึกษาไทยและนานาชาติ การพฒั นาหลกั สูตรและ หลักสตู รสถานศึกษา การจัดการเรยี นร้แู ละเทคนคิ การสอน การพฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ และส่งิ แวดลอ้ มเพื่อสง่ เสริมการเรียนรู้ การพฒั นาศักยภาพผเู้ รียน การวัดและ ประเมินผลการเรยี นรู้ การประเมินผลหลกั สูตร การวจิ ัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา Principle of educational philosophy, Buddhist educational philosophy, Buddha-dhamma in educational quality promoting, educational curriculum in Thailand and other countries, curriculum development and curriculum in school, knowledge management and teaching techniques, learning resource and environment development for learning promoting, students’ potential development, learning measurement and evaluation, research for educational development, curriculum assessment ๒๑๐ ๒๐๕ การประกันคุณภาพการศึกษา ๓ (๒-๒-๕) Quality Assurance in Education ศกึ ษาหลักการและกระบวนการประกนั คุณภาพการศึกษา การประกันคณุ ภาพภายใน และภายนอก การกาหนดตวั บง่ ชีต้ ่างๆ การกากบั ติดตามการประกันคุณภาพการศึกษา การตรวจประเมนิ คุณภาพการศึกษา การนาผลการประเมินไปใชเ้ พ่ือพัฒนาคณุ ภาพ การศกึ ษา บูรณาการพุทธธรรมกับการประกันคุณภาพการศกึ ษา Principle of educational quality assurance, Buddist educational quality assurance, internal and external quality assurance, educational quality assurance process, indicators specified, educational quality assurance invigilation, educational quality assurance monitor, putting the educational quality assurance result into educational development ๒๑๐ ๒๐๖ คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวิชาชพี ๓ (๒-๒-๕) Morality and Professional Ethics ศึกษาหลักธรรมาภิบาลและความซือ่ สัตย์สุจรติ หลกั พุทธธรรม หลักคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา การพัฒนาคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม กฏหมายเก่ยี วกบั จรรยาบรรณวชิ าชีพ เกณฑ์มาตรฐานวิชาชพี ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา จรรยาบรรณวชิ าชพี ทค่ี รุ สุ ภากาหนด Principle of good governance, buddhist good governance, Buddhist moral หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔๗ and etiquette of school administrator, professional standard and etiquette organization, moral and ethics principles of school administrators, professional standard criteria of school administrator, professional etiquettes of school administrator, moral and ethic ๒๑๐ ๒๐๗ การฝกึ ปฏบิ ตั ิการวิชาชีพบริหารการศึกษา ๓ (๙๐) Training Experience in Educational Administration ศึกษาและฝึกปฏิบัตเิ ก่ยี วกับการพัฒนาวชิ าชีพทางการศึกษา ความเปน็ ผ้นู าทางวิชาการ การนิเทศกห์ รอื แนะแนว การบรหิ ารสถานศกึ ษา หลกั สตู ร การเรียนการสอน การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ กิจการและกจิ กรรมนักเรยี น คุณธรรมจรยิ ธรรมและ จรรยาบรรณวิชาชพี การประกันคณุ ภาพการศึกษา ภายใต้การแนะนาของผู้บรหิ ารที่ เป็นพีเ่ ลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ การบูรณาการพทุ ธธรรมกบั การบริหารสถานศึกษา Practicum for experience in educational administration in institution specified, a practice in educational profession development, academic leadership, supervision or demonstration, administration in school, curriculum, teaching and learning, learning measurement and evaluation, students’ affairs and activities, professional moral, ethics and etiquette, and educational quality assurance under the supervision of advisor or supervising teacher, integration of Buddha-dhamma in Training Experience in Educational Administration ๓. หมวดวิชาเลอื ก เปน็ วชิ าท่ีเสรมิ สร้างความเป็นมนษุ ยท์ ่ีสมบรู ณ์ มคี วามรอบรู้ เข้าใจและเห็นคณุ ค่าของตนเอง ผอู้ ่ืน เสริมสรา้ งความร้แู ละอัตลักษณ์ท่ีเหมาะให้แก่นสิ ติ และสถาบัน สงั คม ศิลปวัฒนธรรม พัฒนา ตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง ดาเนนิ ชีวติ อยา่ งมีคุณธรรม พร้อมชว่ ยเหลือเพ่ือนมนษุ ย์ และเป็นพลเมอื งที่มี คณุ คา่ ของสังคมไทยและสังคมโลก เรียนโดยไมน่ ับหนว่ ยกิต ไมน่ ้อยกว่า ๑ รายวชิ า ๒๑๐ ๓๐๑ ภาษาองั กฤษสาหรบั การบริหารการศกึ ษา (๓) (๒-๒-๕) English for Educational Administration ศกึ ษาหลักภาษาองั กฤษ ทักษะการฟงั ทักษะการพดู ทักษะการอา่ น ทักษะการเขยี น ทกั ษะการติดต่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ ภาษาอังกฤษเชงิ วชิ าการ ภาษาอังกฤษกบั การบรหิ ารการศึกษา พืน้ ฐานพทุ ธธรรมกับภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษกับการเรียนรู้ พระพทุ ธศาสนา Principle of English, skills in listening, speaking, reading and writing, communication skills in situations, academic English, English and หลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา (หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔๘ educational administration, Buddha-dhamma and English basics, English for Buddhist learning ๒๑๐ ๓๐๒ พน้ื ฐานภาษาบาลี (๓) (๒-๒-๕) Basic Pali Language ศกึ ษาความเป็นมาและความสาคญั ของภาษาบาลี ภาษาบาลีหรอื สันสกฤตในภาษาไทย พระปรยิ ัตธิ รรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ หลักบาลไี วยากรณ์ การอา่ น การพูด การ เขยี น และการแปลภาษาบาลี การแปลบทสวดมนต์ตา่ งๆ การประยุกต์ใชภ้ าษาบาลีใน ชวี ิตประจาวัน Background and significance of the Pali language, Pali and Sanskrit in Thai language, Phrapariyattidhamma in Pali Division of the Thai Sangha, Pali grammar, reading, speaking, writing and translating in Pali, chanting stanza translation, application of Pali in daily life use ๒๑๐ ๓๐๓ การบริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลศิ (๓) (๒-๒-๕) School Administration for Excellence ๓ (๓-๐-๖) ศกึ ษาหลักการบริหารการศึกษา พุทธวิธีบรหิ ารการศึกษา โรงเรยี นวิถีพทุ ธชนั้ นา นโยบายและแผนการจดั การศึกษา ตวั ชวี ดั การพฒั นาสู่ความเปน็ เลศิ การบรหิ ารองค์กร ทางการศึกษาของไทย การจัดระบบบรหิ ารงานภายในสถานศกึ ษา นวัตกรรมและ เทคโนโลยกี ารบริหารการศึกษายุคใหม่ การตงั้ เปา้ หมายและการดาเนนิ งานตามแผน การตดิ ตามประเมินผลการดาเนินงาน การประกันคณุ ภาพการศึกษา Principle of Educational administration, buddhist educational administration, best practice of buddhist school, educational management policy and plan, indicator in administration for excellence, educational organization administration in Thailand, school internal administration system management, innovation and technology for modern educational administration, goal setting and planned performance, performance follow-up and assessment, educational quality assurance ๒๑๐ ๓๐๔ การวจิ ัยแบบผสานวิธี (๓) (๒-๒-๕) Mixed Methodology Research ศกึ ษาแนวคิดทฤษฎีการวิจัยแบบผสานวิธี พุทธวิธีการวิจัย กรอบความคิดพื้นฐานของการ วจิ ัยแบบผสานวิธี การกาหนดปัญหาการวิจัย การออกแบบการวิจยั การเก็บรวบรวม ข้อมลู การแปลผลข้อมูล ข้อจากัดของการวิจัยแบบผสานวิธี การวจิ ัยเชิงประวตั ศิ าสตร์ การวจิ ยั และพัฒนา การสนทนากล่มุ การปฏิบัติการแบบมีสว่ นรว่ ม การเขยี นและวาง แผนการวจิ ยั แบบผสานวิธี การฝกึ ปฏบิ ตั ิภาคสนาม เทคนิคการวจิ ัยใหม่ ๆ ฝกึ ปฏิบตั ิ ด้านการวจิ ยั แบบผสานวธิ ี หลักสตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๔๙ Concepts and theories of mixed methodology research, Buddhist research methodology, basic conceptual framework of mixed methodology research, determination of research problems, research design, data collection, data interpretation, limitations of the mixed methodology research, historical research, research and development, focus group discussion, participatory action, writing and planning of mixed methodology research, field practice, new research techniques, mixed methodology research practice ๒๑๐ ๓๐๕ การบริหารสู่ความเปน็ โรงเรียนวถิ ีพุทธ (๓) (๒-๒-๕) Buddhist School Administration ศกึ ษาหลักการบรหิ ารโรงเรียนวถิ พี ทุ ธ การบรหิ ารงานบุคคล งานวิชาการ การเงนิ และ พัสดุอาคารสถานท่ี กิจการและกิจกรรมนกั เรียน การสรา้ งความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง โรงเรียนกับวัดและชมุ ชน วิเคราะห์ตัวชี้วัดการดาเนนิ งานโรงเรยี นวถิ ีพทุ ธ ปัจจัยและ กระบวนการพฒั นาส่เู ปา้ หมาย ปญั หาอปุ สรรคและผลกระทบ การตดิ ตามและ ประเมินผล บรู ณาการพทุ ธธรรมกบั การบรหิ ารโรงเรียน Principle of Buddhist school administration, administration in personnel, academic, finance and buildings, students’ affairs and activities, building relation between school and temple and community, analysis of performance indicators in Buddhist school, factors and development process leading to the goal, problems, obstacles and impacts, follow-up and assessment, integration of Buddha-dhamma in school administration ๒๑๐ ๓๐๖ การศกึ ษาอิสระทางพทุ ธบริหารการศึกษา (๓) (๒-๒-๕) Independent Studies in Buddhist Educational Administration ศกึ ษาการเขียนโครงการวิจัยหรอื โครงการสัมมนา โดยศกึ ษาเกย่ี วกบั การบริหาร การศกึ ษาตามประเด็นทเี่ กย่ี วขอ้ งเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงหรือหลายเรอื่ ง ดงั นี้ หลักพทุ ธบริหาร การศกึ ษา การวิจัยและการพัฒนาวิชาชีพ นโยบายหรอื แผนการศกึ ษา ภาวะผ้นู า ทกั ษะ การบรหิ าร การนิเทศกห์ รือแนะแนว การบริหารวชิ าการ พฒั นาหลกั สตู ร การจัดการ เรียนการสอน การบริหารองค์กร/สถานศึกษา บรหิ ารงานบุคคล งบประมาณ ธรุ การ และพสั ดุ เทคนิคการสอน ส่ือการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษา กจิ กรรมนักเรยี น และการวดั ประเมนิ ผลการเรียนรู้ ทรัพยากรสนับสนนุ การศึกษาและความสัมพันธ์กับ ชมุ ชน คุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ การประกนั คุณภาพการศึกษา Writing research projects or seminar projects in educational administration in the following aspects: Principle of Buddhist educational administration, professional research and development, educational policy or plan, leadership, administration skills, academic administration supervision, หลกั สตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา (หลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)

๕๐ curriculum development, teaching and learning management, organization/school administration, administration in personnel, budget, secretary and procurement, teaching techniques, instructional media and educational innovation, students’ activities, learning measurement and evaluation, education-assist- resources and community relation, professional moral, ethics and etiquette, educational quality assurance ๒๑๐ ๔๐๑ วิทยานพิ นธ์ ๑๒ หนว่ ยกติ Thesis การวิจัยเพ่อื สร้างสรรค์ความรู้ใหม่ หรอื นวตั กรรมทางการบริหารการศึกษาหรือการ บริหารการศกึ ษาเชิงพุทธเป็นการบรู ณาการกบั การบริหารเพอื่ การพัฒนาประเทศเป็น รายบุคคล โดยใช้ระเบยี บวธิ วี จิ ัยท่ีดแี ละเหมาะสม ภายใต้การแนะนาของคณะทีป่ รึกษา Research to Create New Knowledge or Innovation in Educational Administration or Buddhist Education Administration is Integrated with the Administration for National Development Individually. By using Good and Appropriate Research Methodology under the Guidance of an Advisory Panel หลักสตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา (หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook