Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มคอ2 ค.ด. checo 31-12-63_flipbook

มคอ2 ค.ด. checo 31-12-63_flipbook

Published by Kasem S. Kdmbooks, 2021-09-04 17:04:32

Description: มคอ2 ค.ด. checo 31-12-63_flipbook

Search

Read the Text Version

๓๑ ธ.ค. ๖๓ หลกั สตู รครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา (หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒) ภาควิชาบรหิ ารการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

รายละเอยี ดหลกั สตู รครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา ภาควิชาบรหิ ารการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย สภามหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติ ในการประชุมคร้งั ที่ ๔/๒๕๖๒ เมื่อวันองั คารที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒

หลักสตู รครุศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศกึ ษา | ค สารบญั หมวดท่ี หนา้ หมวดที่ ๑ ขอ้ มูลทั่วไป ๑ หมวดท่ี ๒ ขอ้ มลู เฉพาะของหลกั สตู ร ๖ หมวดที่ ๓ ระบบการจดั การศึกษา การดาเนินการ และโครงสรา้ งของหลักสตู ร ๘ หมวดท่ี ๔ ผลการเรยี นรู้ กลยทุ ธก์ ารสอนและการประเมินผล ๒๓ หมวดท่ี ๕ หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา ๓๔ หมวดที่ ๖ การพฒั นาคณาจารย์ ๓๗ หมวดท่ี ๗ การประกนั คณุ ภาพหลักสตู ร ๓๘ หมวดท่ี ๘ การประเมนิ และปรับปรงุ การดาเนินการของหลักสตู ร ๔๒ ภาคผนวก ๔๕ ภาคผนวก ก คาอธิบายรายวิชา ๕๕ ภาคผนวก ข ตารางเปรียบเทียบหลักสูตร ๗๔ ภาคผนวก ค ขอ้ บังคบั ระเบยี บ และประกาศที่เกี่ยวข้อง ๑๑๗ ภาคผนวก ง ประวัติและผลงานทางวชิ าการอาจารยป์ ระจาหลกั สูตร ๑๓๖ ภาคผนวก จ คาสั่งแตง่ ต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลกั สตู รและประกาศอนุมัติหลักสตู ร

มคอ.๒ หลกั สตู รพุทธศาสตรดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา | ๑ รายละเอยี ดหลกั สตู รครุศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒) *************** ช่ือสถาบนั อุดมศกึ ษา : มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา : คณะครุศาสตร์ ภาควชิ าบริหารการศึกษา หมวดท่ี ๑ ข้อมลู ท่ัวไป ๑. ช่ือหลกั สตู ร รหัสหลกั สตู ร : ๒๕๕๔๑๘๕๑๑๐๒๑๗๖ ช่ือหลกั สตู รภาษาไทย : หลักสูตรครศุ าสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา ชอื่ หลักสตู รภาษาอังกฤษ : Doctor of Education Program in Buddhist Educational Administration ๒. ชือ่ ปรญิ ญาและสาขาวิชา ชื่อเตม็ ภาษาไทย : ครศุ าสตรดุษฎีบัณฑิต (พุทธบริหารการศกึ ษา) ชื่อยอ่ ภาษาไทย : ค.ด. (พุทธบรหิ ารการศึกษา) ชือ่ เต็มภาษาองั กฤษ : Doctor of Education (Buddhist Educational Administration) ช่อื ยอ่ ภาษาอังกฤษ : Ed.D. (Buddhist Educational Administration) ๓. วชิ าเอก - ๔. จานวนหน่วยวิชาทเ่ี รียนตลอดหลกั สตู ร ๓.๑ หลักสูตรแบบ ๑.๑ จานวน ๖๐ หน่วยกิต ๓.๒ หลักสตู รแบบ ๒.๑ จานวน ๖๐ หน่วยกิต ๕. รปู แบบของหลักสูตร ๕.๑ รูปแบบ : หลกั สูตรระดับปรญิ ญาเอก หลกั สูตร ๓ ปี ๕.๒ ภาษาทใ่ี ช้ : ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ๕.๓ การรับเข้าศึกษา : รับนสิ ิตไทยและนิสติ ต่างประเทศ ๕.๔ ความร่วมมอื กับสถาบันอนื่ : เป็นหลักสูตรเฉพาะของสถาบัน ๕.๕ การให้ปริญญาแก่ผู้สาเรจ็ การศึกษา : ให้ปริญญาเพียงสาขาเดียว คือ พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พทุ ธบริหารการศกึ ษา) ๖. สถานภาพของหลกั สตู รและการพจิ ารณาอนุมัต/ิ เห็นชอบหลกั สูตร ๑) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒ ปรับปรุงจากหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหาร การศึกษา (หลกั สูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ๒) กาหนดเปิดสอนภาคการศึกษาที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ๓) สภาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เห็นชอบหลักสูตรในการประชุมคร้ังที่ ๔/๒๕๖๒ เมื่อวันเสาร์ท่ี ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ๔) สภามหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรและอนุมัติให้เปิดสอนในการประชุมคร้ังที่ ๔/๒๕๖๒ เม่อื วันอังคารที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศึกษา | ๒ ๗. ความพรอ้ มในการเผยแพร่หลกั สตู รที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรท่ีมีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมา ตรฐานคุณวุฒิ ระดบั อุดมศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ในปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ๘. อาชีพท่ปี ระกอบได้หลงั สาเร็จการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา นักวิจัยด้านการบริหารการศึกษา นักวิชาการด้านการบริหาร การศึกษา อาจารย์ในสถาบันอดุ มศกึ ษา ท้ังภาครัฐและเอกชน ๙. ชื่อ-นามสกุล เลขประจาตวั ประชาชน ตาแหนง่ และคุณวฒุ ิการศึกษาของอาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลกั สตู ร ตาแหนง่ ชื่อ-ฉายา/สกลุ คณุ วฒุ ิ/สาขาวชิ า ชื่อสถาบนั ทส่ี าเรจ็ การศกึ ษา ปีที่ วิชาการ สาเร็จ พระมหาญาณวัฒน์ พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศึกษา) ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ผูช้ ่วย ฐิตวฑฺฒโน (บุดดาวงษ์) ศศ.ม. (นโยบายและการจัดการทรัพยากร มหาวิทยาลัยเกรกิ ๒๕๕๗ ศาสตราจารย์ ๓ ๑๒๐๒ ๐๐๔๗๕ xx x ๒๕๔๘ และสง่ิ แวดล้อม) (บริหาร ป.ธ.๙ กองบาลสี นามหลวง ๒๕๔๓ การศกึ ษา) ผู้ช่วย พระมหาสมบตั ิ ธนปญโฺ ญ พธ.ด. (พุทธบริหารการศกึ ษา) ม.มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ๒๕๕๗ ศาสตราจารย์ (ฉลองนติ ิตกิ์ ลุ ) พธ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) ม.มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ๒๕๕๔ ๓ ๒๑๐๓ ๐๐๒๘๑ xx x น.บ. ม.มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ๒๕๖๐ (บริหาร พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) ม.มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย ๒๕๕๒ การศกึ ษา) ผูช้ ว่ ย นายระวิง เรอื งสงั ข์ ค.ด. (บริหารการศึกษา) ม.ราชภฎั วไลยอลงกรณ์ ๒๕๕๘ ศาสตราจารย์ ๓ ๑๘๐๕ ๐๐๖๘๑ xx x บธ.ม. (การจดั การตลาด) ม.ธุรกจิ บณั ฑติ ย์ ๒๕๔๘ พธ.บ. (รฐั ศาสตร์) ม.มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๓๘ (บรหิ าร การศึกษา) ๑๐. สถานทจ่ี ดั การเรยี นการสอน คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๗๙ หมู่ท่ี ๑ ตาบลลาไทร อาเภอวังน้อย จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ๑๑. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาท่ีจาเปน็ ตอ้ งนามาพจิ ารณาในการวางแผนหลักสตู ร ๑๑.๑ สถานการณ์หรอื การพฒั นาทางเศรษฐกิจ จากสถานการณ์ของโลกท่ีเปล่ียนแปลงเข้าสู่ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม ๔.๐ ซ่ึงเป็นยุคนวัตกรรม ปัจจัยทาง เศรษฐกิจมีผลต่อตลาดแรงงานและตลาดการศึกษา เนื่องจากการกาหนดลักษณะของแรงงานท่ีต้องการ เศรษฐกิจ ยุคใหมม่ กี ารแขง่ ขันกนั ด้านนวัตกรรมใหม่ๆ ซง่ึ ต้องอาศยั การวิจัยและพฒั นา การศึกษาต้องพัฒนาคนให้มีทักษะการ ทาวิจัย ให้สามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ที่มีคุณค่าต่อระบบเศรษฐกิจ การเปิดเสรีทางการค้าและการลงทุนของ อาเซียน เกิดการเคลื่อนย้ายสินค้า และเงินลงทุนจากต่างประเทศมากขึ้น ประเทศต่างๆ มีการลดการกีดกันการ แข่งขัน และแข่งขันด้านคุณภาพสินค้า ซ่ึงต้องอาศัยแรงงานท่ีมีฝีมือ มีทักษะความสามารถท่ีหลากหลาย เช่น ความร้ดู า้ นเทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ การบริหาร เป็นต้น ซ่ึงเป็นหน้าท่ีของผู้บริหารการศึกษาท่ีจะพัฒนาคนให้ มคี ุณภาพ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ภายใต้การบริหารหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหาร การศึกษา มุ่งพัฒนาผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจในสหสาขา มีทักษะด้านการบริหาร และบูรณาการความรู้ทางพุทธศาสตร์รวมถึงการเชื่อมโยงกับศาสตร์สมัยใหม่ ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้และ ประสบการณ์ที่จะนาไปประยุกต์ใช้ประโยชน์เพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้มีประสิทธิภาพ โดยมีการปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๘ ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันของประเทศไทย ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๔) กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙) นโยบาย ความม่นั คงแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๕๘-๒๕๖๔) และแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๔) ที่มีทิศทางมุ่ง

หลักสตู รครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศกึ ษา | ๓ ยกระดับคุณภาพการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และลดความเหลื่อมล้าอย่างท่ัวถึง ผลิตและพัฒนา ก า ลั ง ค น ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร แ ล ะ ร อ ง รั บ แ น ว ท า ง ก า ร ป ฏิ รู ป ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง กระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาประเทศไปสู่ยุคประเทศไทย ๔.๐ บนรากฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการ พัฒนาที่สมดุลท้ังตัวบุคคล ชุมชน สังคม เศรษฐกิจและส่ิงแวดล้อมเพ่ือนาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และความอยู่ดีมี สขุ ของคนไทย ตอ่ ไป ๑๑.๒ สถานการณห์ รอื การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ตามแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๗๔) ระบุข้อมูลการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างประชากรเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัย ทาให้เกิดปัญหาทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพของประชากรในทุกช่วง วัย เนื่องจากประชากรวัยเด็กของไทยมีจานวนลดลงอย่างรวดเร็ว เด็กวัยเรียนและประชากรวัยทางานลดลง ผลิต ภาพแรงงานเพ่ิมข้ึนช้า เป็นข้อจากัดต่อการพัฒนาในระยะต่อไป กลุ่มผู้สูงอายุวัยกลางและวัยปลายมีแนวโน้มเพ่ิม สูงข้ึน สะท้อนถึงภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพที่เพิ่มมากขึ้น มีความเหล่ือมล้าของการกระจายรายได้ อันเป็นผลมา จากโครงสร้างเศรษฐกิจท่ีไม่สมดุล ส่งผลให้การกระจายประโยชน์ของการพัฒนาไปยังกลุ่มคนต่างๆ ในสังคมไม่ ทวั่ ถึง ปัญหาความเหล่ือมล้าด้านสินทรัพย์ บริการการศึกษาและสาธารณสุข ประชากรที่อาศัยในเขตเมืองมี โอกาสเข้าถึงบริการมากกว่าประชากรในชนบท โอกาสในการเข้าถึงการศึกษาในระดับต่างๆ แตกต่างกันตามฐานะ วัฒนธรรมอนั ดีงามของไทยเร่ิมเสอ่ื มถอยและสงั คมไทยมีแนวโน้มเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมมากข้ึน คนไทยส่วนใหญ่มี ปัญหาด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยเฉพาะด้านความซื่อสัตย์สุจริต และการทุจริตคอร์รัปชัน ต้องมีการส่งเสริม คุณธรรมจรยิ ธรรมในสงั คมไทยเร่งดว่ น จากสถานการณ์ข้างต้น แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ จึงมีเป้าหมายท่ีจะพัฒนา ศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศและการสร้างสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ โดยกาหนดให้ การศกึ ษาและการเรียนรู้ได้รับการพัฒนาคุณภาพ สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งเป็นฐานรากท่ีเอ้ือต่อการพัฒนา คน นับเป็นบทบาทสาคัญของนักบริหารที่มีศักยภาพสูงในการประยุกต์ความรู้ทางทฤษฎี การศึกษาวิจัย และองค์ ความรใู้ หม่ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ความรทู้ างการศึกษา และองค์ความรู้ทางพระพุทธศาสนา เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคน ทมี่ ีคณุ ภาพและคณุ ธรรมปอ้ นสูส่ ังคม ๑๒. ผลกระทบข้อ ๑๐ ๑๒.๑ การพฒั นาหลักสูตร จากสถานภาพด้านเศรษฐกจิ และสังคมในปจั จุบัน และแนวโน้มการพัฒนาสู่ยคุ ประเทศไทย ๔.๐ นาไปสู่ การปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพิ่มประสิทธิภาพและความเสมอภาคทาง การศึกษา เพื่อพัฒนาคนที่มีคุณภาพทั้งด้านความรู้และศีลธรรมสู่สังคม ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ ไดต้ ระหนักถึงความสาคัญและความจาเป็นในการผลติ บคุ ลากรท่ีมคี วามรูค้ วามสามารถทางด้านการบริหารศึกษาที่มี คุณภาพ มีองค์ความรู้และประสบการณ์ในลักษณะท่ีเป็นผู้รู้จริงและปฏิบัติได้ กระตุ้นให้เกิดการใช้ความรู้ทางการ บริหารการศึกษาและภาวะผู้นาทางการศึกษา ในการสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการบนพื้นฐานของการมีศีลธรรม จงึ เปดิ การสอนในหลกั สตู รพุทธศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๕๕๔ ปัจจุบันจึงมี การปรบั ปรงุ หลักสตู รใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกจิ สงั คม และเทคโนโลยยี ิง่ ข้นึ โดยปรับปรงุ รายวชิ าให้สอดคล้อง กับมาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๖ ท่ีคุรุสภาได้กาหนดมาตรฐานด้านความรู้ ที่ประกอบด้วย หลกั และกระบวนการบริหารการศึกษา นโยบายและการวางแผนการศึกษา การบรหิ ารจดั การการศึกษา การบริหาร ทรพั ยากร การพฒั นาหลักสูตร การวิจยั ทางการศึกษา การบริหารด้านวชิ าการ การบริหารด้านธุรการ การเงิน พัสดุ และอาคารสถานที่ การบริหารงานบุคคล การประกันคุณภาพการศึกษา การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารการประชาสมั พนั ธแ์ ละความสัมพนั ธ์ชุมชน และคุณธรรมและจริยธรรมสาหรับผู้บริหารการศึกษา ผนวก กับปรัชญาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คือ จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา | ๔ สมยั ใหม่ พัฒนาจิตใจและสังคม โดยมกี ารเชอื่ มโยงรายวิชากบั ศาสตรส์ มยั ใหม่อย่างบูรณาการ ให้ผู้เรียนได้ตระหนัก ถึงปรากฎการณ์และความคาดหวังท้ังภายในและภายนอกประเทศที่จะมีผลต่อเน่ืองถึงปัญหาและคุณภาพของการ บริหารการศึกษา ตระหนักถึงแนวโน้มและนวัตกรรมเพ่ือการบริหารการศึกษาที่เกิดข้ึน อย่างผู้มีวิสัยทัศน์ทั้งใน ระดับภูมภิ าค ระดับประเทศและระดับโลก มีปฏิบัติการวิชาชีพบริหารการศึกษา รวมท้ังจัดให้มีรายวิชาการบริหาร การศึกษาเชิงพุทธ และรายวิชาภาวะผู้นาและธรรมาภิบาลท่ีดีในการบริหารการศึกษา เพื่อให้นาเอาหลักธรรมคา สอนทางพุทธศาสนาเข้ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารการศึกษาอย่างจริงจังและเป็นระบบ สามารถเชื่อมโยง เข้ากับทิศทางการทาดุษฎีนิพนธ์ของนิสิตได้หลากหลายประเด็น ภายใต้การให้คาปรึกษาจากผู้เช่ียวชาญทั้งภายใน และภายนอกมหาวิทยาลัย ทาให้เกิดความลุ่มลึกในการทาวิจัยระดับสูง นาไปสู่งานวิจัยที่มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็น ทย่ี อมรับของวงวชิ าการ เกดิ องคค์ วามรทู้ ีน่ าไปประยกุ ต์ใช้ประโยชน์ในสายงานวิชาชีพต่อไป ๑๒.๒ ความเกย่ี วขอ้ งกบั พนั ธกจิ ของสถาบัน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีพันธกิจ ๔ ด้านดังน้ี ๑) ผลิตและพัฒนาบัณฑิตให้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๙ ประการ คือ มีปฏิปทาน่าเล่ือมใส ใฝ่รู้ใฝ่คิด เป็นผู้นาด้านจิตใจและปัญญา มี ความสามารถในการแก้ปัญหา มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา รู้จักเสียสละเพ่ือส่วนรวม รู้เท่าทันควา ม เปลย่ี นแปลงของสังคม มโี ลกทศั น์กวา้ งไกล มีศักยภาพท่จี ะพัฒนาตนเอง ให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมและจริยธรรม ๒) การวิจัยและค้นคว้า เพื่อสร้างองค์ความรู้ควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการสอน เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ใน พระไตรปิฎก โดยวิธีสหวิทยาการแล้วนาองค์ความรู้ที่ค้นพบมาประยุกต์ใช้แก้ปัญหา ศีลธรรม และจริยธรรมของ สังคม รวมท้ังพัฒนา คุณภาพงานวิชาการด้านพระพุทธศาสนา ๓) ส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่ สังคม ตามปณธิ านการจัดต้งั มหาวทิ ยาลยั ด้วยการปรับปรงุ กจิ กรรมตา่ งๆ ให้ประสานสอดคล้อง เอื้อต่อการส่งเสริม สนับสนุนกิจการคณะสงฆ์ สร้างความรู้ ความเข้าใจหลักคาสอนทางพระพุทธศาสนา สร้างจิตสานึกด้านคุณธรรม จรยิ ธรรมแกป่ ระชาชน จดั ประชุม สมั มนา และฝึกอบรม เพือ่ พัฒนาพระสงฆ์และบุคลากรทางศาสนา ให้มีศักยภาพ ในการธารงรกั ษา เผยแผ่หลักคาสอน และเปน็ แกนหลกั ในการพฒั นาจิตใจในวงกวา้ ง ๔) เสริมสรา้ งและพัฒนาแหล่ง การเรียนรู้ดา้ นการทานบุ ารุงศลิ ปวฒั นธรรม ให้เอ้ือต่อการศกึ ษา เพอ่ื สรา้ งจิตสานึกและความภาคภูมิใจในความเป็น ไทย สนบั สนุนให้มีการนาภมู ิปัญญาท้องถนิ่ มาเป็นรากฐานของการพัฒนาอย่างมีดลุ ยภาพ จากพันธกิจดังกล่าว หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา จึงจาเป็น จะตอ้ งมีการปรบั ปรุงให้ตอบสนองต่อพันธกิจ ในการพัฒนาบุคลากรให้เข้าถึงแก่นแท้ของศาสตร์ เพื่อทาหน้าที่ผลิต งานวจิ ัยเชิงบูรณาการท่ถี อดองคค์ วามรูท้ างพระพุทธศาสนาผสมผสานกับศาสตร์ทางด้านการบริหารทั้งแบบวิถีพุทธ และแบบตะวันตก นอกจากน้ัน ยังสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ตามมาตรฐาน TQF และมาตรฐานวิชาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษาที่กาหนดโดยคุรุสภา เพ่ือพัฒนาทักษะการสื่อสาร การทางานเป็นหมู่คณะ การแก้ปัญหา การ รับความเสี่ยง การออกแบบและความสร้างสรรค์ ความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและต่อผู้อ่ืน การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การบริหารจัดการตนเอง รวมไปถึงจริยธรรม เพ่อื พฒั นาผู้เรียนใหเ้ ปน็ ผู้นาท่มี ีคุณภาพและคุณธรรม เป็นกาลังสาคัญ ในการพฒั นาสงั คมตอ่ ไป ๑๓. ความสมั พนั ธ์กับหลกั สูตรอื่นในสถาบนั ๑๓.๑ มีการเชิญอาจารย์จากบัณฑิตวิทยาลัย คณะพุทธศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ มาบรรยายในเรอ่ื งท่ีเกีย่ วข้อง ๑๓.๑ มีการเชิญอาจารย์จากบัณฑิตวิทยาลัย คณะพุทธศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์ มาเป็นผู้บรรยายหรือผู้ร่วมบรรยายในบางรายวิชาท่ีเก่ียวเน่ืองกับการศึกษาพระไตรปิฎกหรือแก่นธรรม นพระพุทธ ศาสนา รวมท้ังมีการใช้อุปกรณ์ ประกอบการเรยี นการสอน รว่ มกนั กับหลกั สตู รเหลา่ นดี้ ว้ ย ๑๓.๒ การบรหิ ารจัดการหลกั สตู ร ๑๓.๒.๑ แตง่ ต้ังผปู้ ระสานงานรายวชิ าทกุ รายวชิ า เพือ่ ทาหนา้ ที่ประสานงานกับภาควิชา อาจารย์ผู้สอน และนิสิต ในการพจิ ารณาข้อกาหนดรายวชิ า การจดั การเรยี นการสอน และการประเมินผลการดาเนินการ

หลักสตู รครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศึกษา | ๕ ๑๓.๒.๒ มอบหมายให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา พุทธบริหาร การศึกษา ควบคมุ การดาเนินการเก่ยี วกับการจัดการเรยี นการสอนเพ่ือใหเ้ ปน็ ไปตามข้อกาหนดรายวิชา

หลกั สตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา | ๖ หมวดท่ี ๒ ข้อมลู เฉพาะของหลักสตู ร ๑. ปรชั ญา ความสาคญั และวัตถุประสงคข์ องหลกั สูตร ๑.๑ ปรัชญาของหลักสตู ร หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา ของภาควิชาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนท่ีเน้นการขยายการศึกษา เพ่ือผลิต ดุษฎีบัณฑิตท่ีเป็นบรรพชิตและคฤหัสถ์ ในสาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา ให้มีความรู้และความเช่ียวชาญ ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ มีความรับผิดชอบและมีคุณธรรม ทางานและส่ือสารร่วมกับบุคคลอื่นได้เป็นอย่างดี สามารถเรยี นร้แู ละนาแนวคดิ ทางด้านการบริหารการศึกษาสมยั ใหมม่ าใช้ให้เกดิ ประโยชน์ต่อสังคม อันสอดคล้องกับ การท่ีพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาจฬุ าลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ได้ทรงสถาปนา มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัยขึ้น เพอื่ เปน็ ทีศ่ ึกษาพระไตรปิฎก และวชิ าช้ันสูงสาหรับพระภิกษสุ ามเณรและคฤหสั ถท์ ัว่ ไป ๑.๒ วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร ๑.๒.๑ เพ่อื ผลติ ครศุ าสตรดษุ ฎบี ัณฑิต ให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจวิชาการทางพระพุทธศาสนา ประยุกต์เข้า กบั วิชาการแห่งการบริหารการศึกษา พร้อมกับบรู ณาการกบั ศาสตร์สมัยใหม่ได้อยา่ งกลมกลนื ๑.๒.๒ เพอ่ื ผลิตครศุ าสตรดุษฎีบัณฑิต ให้นาความรู้ในวิชาการทางพระพทุ ธศาสนา ไปประยกุ ตใ์ ช้ในการ บรหิ ารการศึกษาและเน้นถงึ ความรู้คคู่ ณุ ธรรมตามหลักพระพุทธศาสนา มีความลึกซง้ึ ด้านจิตภาวนา สขุ สงบ เยือก เยน็ แจม่ ใส ใฝร่ ู้ สรา้ งสรรค์ และมีวสิ ยั ทศั น์กวา้ งไกล มีความเพยี บพรอ้ ม เป็นตน้ แบบหรือตัวอย่างทีด่ ีใหแ้ กส่ งั คม ๑.๒.๓ เพอื่ ผลิตครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต ให้มีความรู้ความสามารถในการสังเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ วิจัย จดั ระบบ และประเมนิ ผลขอ้ มลู จนเกิดองคค์ วามรู้ใหม่ เพื่อความเจริญก้าวหน้าทางวิชาการพระพุทธศาสนาท่ีบูรณา การเขา้ กับวิชาการทางดา้ นการบรหิ ารการศกึ ษา ตลอดจนพัฒนาสงั คมและประเทศชาติ ๒. แผนพฒั นาปรับปรุง หลักสูตรครศุ าสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา มแี ผนพัฒนาปรบั ปรงุ ที่มรี ายละเอยี ดของ แผนการพฒั นา ยทุ ธศาสตร์ และตัวบ่งช้ีการพฒั นาปรับปรงุ ซง่ึ คาดวา่ จะดาเนนิ การแลว้ เสรจ็ ภายใน ๕ ปี นับจาก เปดิ การเรียนการสอนตามหลักสตู ร ดงั น้ี แผนการพัฒนา/ปลย่ี นแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตวั บ่งช้ี การพฒั นาหลักสูตร ๑. ทาวจิ ยั ประเมินผลและการใช้ ๑.๑ นาผลการประเมินการดาเนินงานที่ (๑) มคอ.๗ รายงานผลการดาเนนิ การของ หลักสตู ร รายงานใน มคอ.๗ มาเป็นข้อมลู ในการ หลักสตู ร ปรับปรุงหลกั สตู ร ๑.๒ กาหนดให้นสิ ติ ปีสดุ ท้ายอาจารย์ (๒) รายงานผลการประเมินจากนสิ ิตปี ผ้สู อน และอาจารย์พเิ ศษประเมนิ สดุ ทา้ ย อาจารย์ผสู้ อน และอาจารย์ หลกั สตู ร พิเศษ ๑.๓ ประเมนิ ความพึงพอใจของบณั ฑิต (๓) รายงานการประเมนิ ความพึงพอใจ และผ้ใู ชบ้ ณั ฑิตทม่ี ีคณุ ภาพของ ของบัณฑิตและผูใ้ ชบ้ ัณฑิตทีม่ ี หลักสตู ร คณุ ภาพของหลกั สตู ร ๑.๔ วเิ คราะหส์ ถานการณภ์ ายนอกท่มี ี (๔) สรปุ บทวิเคราะหป์ ัจจัยทสี่ ่งผลตอ่ ผลกระทบตอ่ การผลิตบณั ฑิต ความตอ้ งการของผูใ้ ช้บัณฑติ ๒. ปรับปรงุ หลักสูตรใหส้ อดคล้องกับ ๑.๑ ตดิ ตามความเปลีย่ นแปลงในความ (๑) รายงานผลการวิพากษ์จาก ความตอ้ งการของมหาวทิ ยาลยั คณะ ต้องการของมหาวิทยาลยั คณะสงฆ์ ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ สงฆแ์ ละสถาบนั การศกึ ษา และสถาบนั การศึกษา ๑.๒ เชญิ ผทู้ รงคณุ วุฒิจาก

หลักสตู รครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา | ๗ แผนการพฒั นา/ปลี่ยนแปลง กลยทุ ธ์ หลักฐาน/ตัวบง่ ชี้ สถาบันการศึกษา จากภาครฐั และ เอกชน รวมทั้งผปู้ ระกอบการมา วพิ ากษ์หลักสตู ร ๑.๓ ปรบั ปรงุ หลักสตู รตามผลการวพิ ากษ์ (๒) หลกั สตู รฉบับปรับปรุง การพฒั นาการเรียนการสอน ๓. พัฒนาบุคลากร ด้านการเรียน การ ๑.๑ อาจารย์ทุกคนโดยเฉพาะอาจารย์ (๑) รอ้ ยละของอาจารย์ประจาที่มี สอนและบริการวชิ าการ ใหม่ต้องเข้าอบรมเก่ียวกับหลักสูตร งานวิจยั การสอนรปู แบบตา่ งๆ และการวัดผล ป ร ะ เ มิ น ผ ล ท้ั ง นี้ เ พื่ อ ใ ห้ มี ค ว า ม รู้ ความสามารถในการประเมินผลตาม ก ร อ บ ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ ที่ ผู้ ส อ น จะต้องสามารถวัดและประเมินผลได้ เป็นอยา่ งดี ๑.๒ สนับสนุนแหล่งทุนในการตีพิมพ์ (๒) รอ้ ยละของอาจารย์ประจาทีม่ ี เ ผ ย แ พ ร่ ผ ล ง า น วิ จั ย ท้ั ง ใ น ผลงานวจิ ัยตพี มิ พ์เผยแพร่ ระดับประเทศและต่างประเทศ ๑.๓ สนับสนุนให้อาจารย์เข้าร่วมประชุม (๓) ร้อยละของอาจารย์ประจาทเ่ี ข้าร่วม วิชาการและเสนอผลงานวิจัยใน ประชุมวชิ าการ หรือนาเสนอ ประเทศและตา่ งประเทศ ผลงานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ ๑.๔ สนับสนุนให้อาจารย์ลาศึกษาต่อ ศึกษาดูงาน และทาวิจัยร่วมกับ (๔) รอ้ ยละของอาจารย์ประจาทีล่ าศึกษา ค ณ า จ า ร ย์ ใ น ส ถ า บั น อื่ น ท้ั ง ใ น ตอ่ ศกึ ษาดงู าน และทาวจิ ัยรว่ มกบั ระดับประเทศและตา่ งประเทศ คณาจารยใ์ นสถาบนั อื่นท้ังใน ๑.๕ บูรณาการการเรียนการสอนกับการ ระดับประเทศและต่างประเทศ บรกิ ารวชิ าการเพ่ือความเข้มแข็งของ (๕) รอ้ ยละของกิจกรรมหรอื โครงการ การนาทฤษฎีสู่การปฏิบัติ และ บรกิ ารวิชาการและวชิ าชีพที่ งานวิจัยไปใช้จริงเพ่ือทาประโยชน์ ตอบสนองความต้องการพฒั นาและ ให้แก่ชุมชนและคณะสงฆ์ เสรมิ สร้างความเขม้ แขง็ ของสงั คมตอ่ ๑.๖ สนับสนุนบุคลากรด้านการเรียนการ อาจารย์ประจา สอนให้ มีกา รนาความ รู้ท้ังจา ก ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ และงานวิจัย (๖) ร้อยละของกิจกรรมหรือโครงการ ไปใช้จริงเพ่ือทาประโยชน์ให้แก่ บรกิ ารวิชาการและวชิ าชีพท่ีเป็น ชุมชนและคณะสงฆ์ ประโยชนต์ อ่ ชุมชน และคณะสงฆ์

หลกั สตู รครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา | ๘ หมวดท่ี ๓ ระบบการจดั การศกึ ษา การดาเนนิ การ และโครงสร้างหลักสูตร ๑. ระบบการจัดการศกึ ษา ๑.๑ ระบบการศึกษา ๑.๑.๑ จัดการศึกษาระบบเป็นแบบทวิภาค โดยแบ่งเวลาการศึกษาในแต่ละปีการศึกษาออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ โดยแต่ละภาคการศึกษามีเวลาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ โดยความเห็นชอบของบัณฑิตวิทยาลัย คณะครุศาสตร์หรือคณะกรรมการบริหารหลกั สตู ร ๑.๒ การจดั การศกึ ษาภาคฤดรู ้อน อาจจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนได้ ๑ ภาคการศึกษา มีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๘ สัปดาห์ โดยให้เป็นไป ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ และฉบับแก้ไข เพม่ิ เตมิ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑.๓ การเทยี บเคยี งหนว่ ยกิตในระบบทวิภาค ไมม่ ี ๒. การดาเนินการของหลักสูตร ๒.๑ วนั -เวลาในการดาเนนิ การเรียนการสอน ให้มีระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า ๖ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน ๑๐ ภาค การศึกษาปกติ โดยแบ่งเปน็ ภาคการศึกษา ดังน้ี ภาคการศึกษาท่ี ๑ เดือน มิถนุ ายน ถึง เดอื นตุลาคม ภาคการศกึ ษาท่ี ๒ เดอื น พฤศจิกายน ถงึ เดอื นมีนาคม ภาคฤดูร้อน เดือน เมษายน ถงึ เดอื นพฤษภาคม วนั พฤหัสบดี – วันศกุ ร์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. วนั เสาร์ – วนั อาทติ ย์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. ๒.๒ การเปดิ โอกาสให้ผเู้ ขา้ ศกึ ษา แบบศกึ ษาเต็มเวลา ๒.๒ คุณสมบัติของผู้เข้าศกึ ษา ๒.๒.๑ คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาในหลักสูตร แบบ ๑.๑ (เน้นการวิจัยโดยมีการทาดุษฎีนิพนธ์อย่าง เดียว) ๑) เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเท่า จากสถาบันท่ีสานักงาน คณะกรรมการอดุ มศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการรับรอง และตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิอ่นื ตามทม่ี หาวทิ ยาลยั กาหนด ๒) คุณสมบัติข้ออ่ืนๆ ให้เป็นไปตามประกาศซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบเป็นปีๆ ไป หลังจากคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รพิจารณาแลว้ เหน็ สมควรให้รับเข้าศึกษาได้ ๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑท์ ี่มหาวทิ ยาลยั กาหนด ๒.๒.๒ คุณสมบตั ขิ องผ้เู ขา้ ศึกษาในหลักสูตร แบบ ๒.๑ (เน้นการวิจัยโดยมีการทาดุษฎีนิพนธ์และมี การเรียนการสอน) ๑) เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเท่า จากสถาบันท่ีสานักงาน คณะกรรมการอดุ มศึกษา กระทรวงศึกษาธิการรับรอง ได้รับค่าเฉล่ียสะสมในระดับมหาบัณฑิต ไม่ต่าหว่า ๓.๕ จาก ระบบ ๔ แต้ม และตอ้ งมคี ุณสมบตั อิ ่นื ตามท่มี หาวทิ ยาลัยกาหนด ๒) คุณสมบัติข้ออื่นๆ ให้เป็นไปตามประกาศซ่ึงบัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศให้ทราบเป็นปีๆ ไป หลังจากคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรพิจารณาแลว้ เห็นสมควรใหร้ ับเข้าศึกษาได้

หลักสตู รครุศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา | ๙ ๓) มผี ลสอบภาษาองั กฤษได้ตามเกณฑ์ทมี่ หาวทิ ยาลยั กาหนด ๒.๓ ปญั หาของนิสติ แรกเขา้ ๒.๓.๑ นิสิตมีพื้นฐานทางความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี ทางการศึกษาและบริหาร การศึกษาทีแ่ ตกตา่ งกัน เน่อื งจากสาเร็จการศึกษามาจากสถาบันการศึกษาท่ีแตกต่างกัน จานวนปีที่สาเร็จการศึกษา ทแี่ ตกตา่ งกัน ประสบการณก์ ารทางานและอายุการทางานทแี่ ตกตา่ งกนั และอน่ื ๆ ๒.๓.๒ นิสิตมีข้อจากัดทางด้านการใชท้ ักษะภาษาอังกฤษ และการวิจัยจึงส่งผลกระทบต่อการปรับตัวใน การเรียนของนสิ ติ ๒.๓.๓ นิสิตสาเร็จการศึกษาปรญิ ญามหาบัณฑิตหรือเทียบเท่าในแผน ข (ไม่ทาวิทยานิพนธ์) ขาดทักษะ สถิติของการวิจัย และประสบการณ์ในการทาวจิ ัย ๒.๔ วธิ ีคัดเลือกผเู้ ขา้ ศกึ ษา บัณฑิตวทิ ยาลยั ร่วมกบั คณะครศุ าสตรจ์ ะดาเนินการเก่ียบกับการรับสมัครนิสิตใหม่ โดยพิจารณาแต่งต้ัง คณะกรรมการสอบคัดเลือกผู้สมัครเข้าศึกษาในระดับปริญญาเอก ในแต่ละปีการศึกษา โดยมีหลักเกณฑ์และวิธี ปฏิบัตโิ ดยสังเขป ดงั ต่อไปนี้ ๑. ผสู้ มคั รต้องเสนอหัวข้อและโครงรา่ งดุษฎนี พิ นธ/์ งานวิจัยที่มีความเป็นไปได้ มีรายละเอียดครอบคลุม ประเดน็ ดงั ต่อไปนี้ ๑.๑ หวั ข้อดุษฎนี ิพนธท์ ้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ๑.๒ รายช่ือคณะกรรมการควบคมุ ดษุ ฎนี พิ นธ์ ๑.๓ ความเปน็ มาและความสาคญั ของปญั หา ๑.๔ วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย ๑.๕ ขอบเขตการวิจัย ๑.๖ ปญั หาที่ต้องการทราบ (ถ้ามี) ๑.๗ สมมตฐิ านการวิจัย (ถา้ ม)ี ๑.๘ นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะที่ใชใ้ นการวจิ ัย ๑.๙ ทบทวนเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ๑.๑๐ วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย ๑.๑๑ กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ๑.๑๒ ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ ๑.๑๓ โครงร่างของดษุ ฎนี พิ นธ์ (สารบัญชั่วคราว) ๑.๑๔ บรรณานกุ รมและเชงิ อรรถ ๑.๑๕ ประวตั ผิ ูว้ จิ ยั ๒. ผู้สมัครต้องผ่านสอบข้อเขียนวัดความรู้ในรายวิชาตามที่บัณฑิตวิทยาลัย คณะครุศาสตร์ หรือ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษากาหนด และสอบวัดความรู้ด้านภาษาอังกฤษท่ี ดาเนินการโดยสถาบนั ภาษา ของมหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ผู้สมัครสอบต้องสอบผ่านการวัดความรู้ ภาษาองั กฤษตามเกณฑ์ทีกาหนดไว้ดังนี้ ๑) ทกั ษะด้านการฟงั (Listening) ๑๐๐ คะแนน ๒) ทกั ษะดา้ นการพูด (Speeking) ๑๐๐ คะแนน ๓) ทกั ษะดา้ นการอา่ น (Reading) ๑๐๐ คะแนน ๔) ทกั ษะด้านการเขยี น (Writing) ๑๐๐ คะแนน ผู้สมัครท่ไี ด้ผลสอบเกนิ ร้อยละ ๖๐ จากคะแนนเต็ม ถือวา่ สอบผ่านการวัดความรู้ดา้ นภาษาอังกฤษ

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา | ๑๐ ๓. ผสู้ อบผ่านข้อเขยี นต้องสอบสัมภาษณ์ในเน้ือหาโครงร่างดุษฎีนิพนธ์/งานวิจัยท่ีเสนอ ตามข้อ ๑ และ ความรู้ความสามารถดา้ นอ่นื ๆ ตามท่ีบณั ฑิตวทิ ยาลยั คณะครศุ าสตร์ หรือกรรมการบริหารหลกั สตู รกาหนด ๔. ผู้สอบเข้าได้ตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ต้องเข้ารายงานตัวตามวัน เวลา และสถานท่ีบัณฑิต วิทยาลัย หรือคณะครุศาสตร์กาหนด ๒.๔ กลยุทธใ์ นการดาเนนิ การเพือ่ แก้ไขปญั หา/ข้อจากดั ของนิสิต ปญั หาของนิสิต กลยุทธ์ในการดาเนนิ การแก้ไขปญั หา ขาดความรู้พ้นื ฐานในสาขาวชิ า ลงทะเบนี เรียนวิชาปรบั พืน้ ฐาน ทักษะสถิตกิ ารวจิ ัย ลงทะเบียนเรียนวิชาสถิติโดยจัดอาจารย์ที่ปรึกษาให้ เปน็ กรณีพิเศษ ทักษะภาษาอังกฤษ ลงทะเบียนเรยี นวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานสาหรับนิสิต ระดับปริญญาเอก และสร้างความคุ้นเคยกับภาษ อังกฤษโดยใช้เอกสารภาษาองั กฤษประกอบการสอน การเขยี นโครงการวิจยั จัดคลินิกวิจัยไว้ให้นิสิตเข้าปรึกษาเรื่องการวิจัยเป็น การเฉพาะ * ท้งั น้ี ใหข้ ึ้นอยกู่ บั ดลุ ยพนิ จิ ของคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รเป็นหลกั ๒.๕ แผนการรบั นิสิตและจานวนผสู้ าเรจ็ การศึกษาในระยะเวลา ๕ ปี แผนการรับนิสิตแบบ ๑.๑ และ แบบ ๒.๑ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ส่วนกลาง อาเภอวงั น้อย จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา จานวนิสิต (รูป/คน) ระดับช้ันปี ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ๑.๑ ๒.๑ ๑.๑ ๒.๑ ๑.๑ ๒.๑ ๑.๑ ๒.๑ ๑.๑ ๒.๑ ชั้นปีที่ ๑ ๑๐ ๓๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐ ๓๐ ช้นั ปีท่ี ๒ ๑๐ ๓๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐ ๓๐ ช้ันปที ี่ ๓ ๑๐ ๓๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐ ๓๐ รวมจานวนนิสติ ๑๐ ๓๐ ๒๐ ๖๐ ๓๐ ๙๐ ๓๐ ๙๐ ๓๐ ๙๐ จานวนนิสิตทีค่ าดว่า ๑๐ ๓๐ ๑๐ ๓๐ ๑๐ ๓๐ จะสาเรจ็ การศกึ ษา ๒.๖ งบประมาณตามแผน (คิดรวมเปน็ ชุดเดียว) ๒.๖.๑ งบประมาณรายรบั รายการ ประมาณรายรับในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ ค่าธรรมเนียมการศกึ ษา (๑๓๓,๓๓๓ บาท/คน/ปี) ๑๖,๐๐๐,๐๐๐ ๑๖,๐๐๐,๐๐๐ ๑๖,๐๐๐,๐๐๐ ๑๖,๐๐๐,๐๐๐ ๑๖,๐๐๐,๐๐๐ รายไดอ้ นื่ ๆ (สทุ ธิ) - รายรบั จากงานวิจยั - การบริการวชิ าการ ๘๐๐,๐๐๐ ๘๐๐,๐๐๐ ๘๐๐,๐๐๐ ๘๐๐,๐๐๐ ๘๐๐,๐๐๐ เงนิ อดุ หนนุ จากรัฐบาล ----- รวม ๑๖,๘๐๐,๐๐๐ ๑๖,๘๐๐,๐๐๐ ๑๖,๘๐๐,๐๐๐ ๑๖,๘๐๐,๐๐๐ ๑๖,๘๐๐,๐๐๐ * ค่าใชจ้ า่ ยของนสิ ติ ต่อหัวต่อปี (สงู สุด) ประมาณ ๑๓๓,๓๓๓ บาท

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา | ๑๑ ๒.๖.๒ งบประมาณรายจ่าย รายการ ประมาณความตอ้ งการในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖ งบดาเนินการ ประกอบด้วย - ค่าตอบแทนบคุ ลากรประจาสาย ๒,๗๐๐,๐๐๐ ๒,๗๐๐,๐๐๐ ๒,๗๐๐,๐๐๐ ๒,๗๐๐,๐๐๐ ๒,๗๐๐,๐๐๐ สนบั สนุน (๑๕ x ๑๕,๐๐๐ x ๑๒) -คา่ ตอบแทนวิทยากร อาจารย์ ๑๐,๐๕๐,๐๐๐ ๑๐,๐๕๐,๐๐๐ ๑๐,๐๕๐,๐๐๐ ๑๐,๐๕๐,๐๐๐ ๑๐,๐๕๐,๐๐๐ พเิ ศษ ค่าเดินทาง ค่าท่ีพัก -ค่าจัดซ้อื หนงั สือและวารสาร ๕๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ -คา่ วัสดุอปุ กรณก์ ารเรียนการสอน ๕๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ งบลงทุน -ค่าครุภณั ฑ์ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ -ค่าทด่ี ินและสิ่งก่อสร้าง ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ งบพัฒนาบุคลากร (๑๒x ๙๐๐,๐๐๐ ๙๐๐,๐๐๐ ๙๐๐,๐๐๐ ๙๐๐,๐๐๐ ๙๐๐,๐๐๐ ๖๐,๐๐๐) รวม ๑๕,๔๕๐,๐๐๐ ๑๕,๔๕๐,๐๐๐ ๑๕,๔๕๐,๐๐๐ ๑๕,๔๕๐,๐๐๐ ๑๕,๔๕๐,๐๐๐ * มีพนกั งานสายสนบั สนนุ ประจาหลักสตู ร ๑๕ รูป/คน ๒.๗ ระบบการศกึ ษา แบบชน้ั เรยี น ๒.๘ การเทียบโอนหน่วยกิต รายวชิ า และการลงทะเบียนขา้ มสถาบัน ไม่มี ๓. หลกั สูตรและอาจารยผ์ สู้ อน ๓.๑ หลักสตู ร ๓.๑.๑ จานวนหนว่ ยกติ ๑) แบบ ๑.๑ นิสติ ทาดุษฎนี ิพนธ์จานวน ๖๐ หน่วยกิต ๒) แบบ ๒.๑ นสิ ิตลงทะเบยี นรายวชิ าและทาดุษฎีนพิ นธ์ จานวน ๖๐ หน่วยกติ ๓.๑.๒ โครงสรา้ งหลกั สตู ร แบ่งเป็น ๒ แบบ คอื ๑) หลักสูตรแบบ ๑.๑ เป็นแบบการศึกษาที่เน้นการวิจัยโดยมีการทาดุษฎีนิพนธ์ท่ีก่อให้เกิดองค์ ความรู้ใหม่ ทาดุษฎีนิพนธ์ จานวน ๖๐ หน่วยกิต และศึกษาหมวดวิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต จานวน ๒๔ หน่วยกิต โดยทั้งน้ีทางหลักสูตรอาจให้ศึกษารายวิชาหรือทากิจกรรมทางวิชาการอ่ืนๆ เพ่ิมเติมโดยไม่นับหน่วยกิต แต่ต้องมี ผลสมั ฤทธ์ติ ามทม่ี หาวิทยาลัยกาหนดตามโครงสร้างหลักสูตร ๒) หลักสูตรแบบ ๒.๑ เป็นแผนการศึกษาท่ีเน้นการวิจัย โดยมีการทาดุษฎีนิพนธ์ท่ีมีคุณภาพสูง และก่อให้เกดิ ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการและวชิ าชีพและศกึ ษารายวชิ าเพม่ิ เติม ทาดษุ ฎนี ิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วย กิต และศึกษารายวิชารวมไม่น้อยกว่า ๒๗ หน่วยกิต คือ หมวดวิชาบังคับนับหน่วยกิต จานวน ๙ หน่วยกิต หมวด วชิ าเอก จานวน ๙ หน่วยกติ และหมวดวชิ าเลือก จานวน ๖ หน่วยกิต รวมท้ังส้ินจานวน ๖๐ หน่วยกิต และศึกษา หมวดวิชาบงั คบั ไม่นับหนว่ ยกิต จานวน ๙ หน่วยกิต โดยท้ังนที้ างหลกั สูตร อาจให้ศกึ ษารายวิชาหรอื ทากิจกรรมทาง วชิ าการอื่นๆ เพมิ่ เติมโดยไม่นบั หน่วยกิตแต่ตอ้ งมผี ลสัมฤทธิ์ตามทม่ี หาวิทยาลัยกาหนด

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา | ๑๒ โดยมีตารางแสดงรายละเอยี ดในแตล่ ะแผนการศึกษา ดงั น้ี หมวดวชิ า หน่วยกติ แบบ ๑.๑ หนว่ ยกิต แบบ ๒.๑ ๑. หมวดวิชาบังคับ ๙ (๙) ๑.๑ นับหน่วยกติ - ๙ ๖ ๑.๒ ไม่นับหนว่ ยกติ (๒๔) ๓๖ ๖๐ ๒. หมวดวิชาเอก - ๓. หมวดวชิ าเลือก - ๔. ดษุ ฎนี พิ นธ์ ๖๐ จานวนหน่วยกติ ตลอดหลักสูตร ๖๐ หมายเหตุ : รายวิชาในวงเล็บ ( ) นสิ ิตตอ้ งเรียนโดยไม่นบั หนว่ ยกิต *สาหรบั ผู้ไมเ่ คยได้เรียนสาขาวิชาบริหารการศึกษาหรือไม่ได้เรียนรายวิชาเหล่านี้มาก่อน เว้นแต่ผู้ ทไ่ี ดส้ อนหรอื มีผลงานทางวชิ าการที่ตรงกบั รายวชิ าเหลา่ นี้ ๓.๑.๓ รายวชิ าในหลักสตู ร สาหรับหลักสูตร แบบ ๑.๑ ๑) หมวดวิชาบังคับ: ไม่นับหน่วยกิต ๘ รายวิชา ซึ่งเป็นวิชาพ้ืนฐานท่ีนิสิตระดับดุษฎีบัณฑิตจะต้องศึกษา ดังน้ี ๘๐๖ ๑๐๑ สัมมนาภาษาองั กฤษสาหรับบรหิ ารการศึกษา (๓) (๓-๐-๖) (Seminar on Professional English for Educational Administration) ๘๐๖ ๑๐๒ สมั มนาวิธวี จิ ยั ทางการบรหิ ารการศึกษา (๓) (๓-๐-๖) (Seminar on Research Methodology in Educational Administration) ๘๐๖ ๑๐๓ สัมมนากลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพทางการบรหิ ารการศึกษาเชิงพุทธ (๓) (๓-๐-๖) (Seminar on Strategies in Buddhist Educational Administration Quality Development) ๘๐๖ ๑๐๔ สัมมนาการศกึ ษาคณะสงฆก์ บั การบริหารการศึกษา (๓) (๓-๐-๖) (Seminar on Sangha Education and Education Administration) ๘๐๖ ๒๐๕ สมั มนากรรมฐาน (๓) (๒-๒-๕) (Seminar on Meditation) ๘๐๖ ๒๐๖ สมั มนาพุทธวิธกี ารบริหารการศึกษา (๓) (๓-๐-๖) (Seminar on Buddha’s Education Administration Method) ๘๐๖ ๒๐๗ สัมมนาการบรหิ ารทรัพยากรทางการการศกึ ษา (๓) (๓-๐-๖) (Seminar on Resources Administration in Education) ๘๐๖ ๒๐๘ สัมมนาการบริหารและการนาสถานศึกษาสคู่ วามสาเร็จ (๓) (๓-๐-๖) (Seminar on Managing and Leading School to Success) หมายเหตุ: รายวิชาเหลา่ นี้เป็นวิชาบงั คบั พ้นื ฐานที่นสิ ติ ระดบั ดุษฎบี ัณฑิตจะตอ้ งศึกษาโดยไมน่ บั หน่วยกิต ๒) ดุษฎนี พิ นธ์ ๘๐๐ ๒๐๐ ดุษฎีนพิ นธ์ ๖๐ หน่วยกติ (Dissertation)

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา | ๑๓ สาหรบั หลักสตู ร แบบ ๒.๑ ๑) หมวดวิชาบังคับ: ซึ่งเป็นวิชาพื้นฐานท่ีนิสิตดุษฎีบัณฑิตจะต้องศึกษาโดยกาหนดให้เป็นวิชานับ หนว่ ยกติ จานวน ๙ หน่วยกิต และศกึ ษาวิชาอืน่ ๆ ทไี่ ม่นบั หน่วยกิต จานวน ๙ หนว่ ยกติ ประกอบดว้ ย ๑.๑) วชิ าบงั คับไม่นบั หนว่ ยกติ จานวน ๓ รายวิชา ๘๐๖ ๑๐๙ ภาษาองั กฤษสาหรับบริหารการศกึ ษา (๓) (๓-๐-๖) (Professional English for Educational Administration) ๘๐๖ ๑๑๐ วธิ วี ิจยั ทางการบริหารการศกึ ษา (๓) (๓-๐-๖) (Research Methodology in Educational Administration) ๘๐๐ ๒๑๑ กรรมฐาน (๓) (๒-๒-๕) (Meditation) วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต : สาหรับผู้ไม่เคยได้เรียนสาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา หรือไม่เคยเรียน รายวชิ านีม้ าก่อน เว้นแตผ่ ู้ที่ได้สอนหรือมผี ลงานทางวชิ าการที่ตรงกับรายวชิ าเหล่านคี้ ือ ๒๑๐ ๒๐๓ นโยบายและหลกั บรหิ ารการศึกษา (๓) (๓-๐-๖) (Policy and Principle of Educational Administration) ๒๑๐ ๒๐๔ การพัฒนาหลกั สูตรและส่งเสรมิ คณุ ภาพการศึกษา (๓) (๓-๐-๖) (Curriculum Development and Educational Quality Promoting) หมายเหตุ: รายวชิ าเหล่าน้ี เปน็ วิชาบงั คบั พนื้ ฐานทนี่ สิ ติ ระดบั ดษุ ฎบี ณั ฑิต จะต้องศกึ ษาโดยไม่นับหนว่ ยกติ ๑.๒) วิชาบังคับนับหนว่ ยกิต จานวน ๙ หน่วยกติ ๘๐๖ ๑๑๒ กลยทุ ธ์การพฒั นาคณุ ภาพทางการบริหารการศึกษาเชิงพุทธ ๓ (๓-๐-๖) (Strategies in Buddhist Educational Administration Quality Development) ๘๐๖ ๒๑๓ การศึกษาคณะสงฆ์กับการบริหารการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) (Sangha Education and Education Administration) ๘๐๖ ๒๑๔ พทุ ธวิธกี ารบรหิ ารการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) (The Buddha’s Education Administration Method) ๒) หมวดวิชาเอก: หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา จานวน ๙ หน่วย กิต คือ ๘๐๖ ๒๑๕ การบรหิ ารทรพั ยากรทางการบริหารการศกึ ษา ๓ (๓-๐-๖) (Resources Administration in Education) ๘๐๖ ๒๑๖ การบรหิ ารและการนาสถานศึกษาสู่ความสาเร็จ ๓ (๓-๐-๖) (Managing and Leading School to Success) ๘๐๖ ๓๑๗ ปฏิบัตกิ ารวชิ าชพี ทางการบริหารการศึกษา ๓ (๐-๐-๙๐) (Professional Practicum of Educational Administration) ๓) หมวดวชิ าเลอื ก : ไมน่ ้อยกว่า ๖ หน่วยกิต ๓ (๓-๐-๖) ๘๐๖ ๓๑๙ การพฒั นาเคา้ โครงวจิ ัยทางการบริหารการศึกษา (Research Proposal Development in Educational Administration) ๘๐๖ ๓๒๐ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการบริหารการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) (Innovation and Information Technology for Educational Administration) ๘๐๖ ๓๑๘ การเปลย่ี นแปลงองคก์ รทางการศึกษา ๓ (๓-๐-๖) (Educational Organization Change)

หลกั สตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศึกษา | ๑๔ ๘๐๖ ๓๒๑ ภาวะผนู้ าเพ่อื การเรยี นรู้ ๓ (๓-๐-๖) (Leadership for Learning) ๓๖ หนว่ ยกติ ๔) ดษุ ฎีนพิ นธ์ ๘๐๐ ๓๐๐ ดษุ ฎีนิพนธ์ (Dissertation) ความหมายของเลขประจาวิชา หลักเกณฑก์ ารกาหนดรหัสประจารายวิชา หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา กาหนดรหัสประจารายวิชา ประกอบด้วยตัวเลข ๖ หลกั “๘๐๖ ๑๐๑” มีความหมาย ดงั นี้ ตัวท่ี ๑ เลข “๘” หมายถงึ หลกั สูตรระดับดษุ ฎีบณั ฑติ ตวั ที่ ๒ และ ๓ เลข “๐๖” หมายถึง หลกั สูตร พธ.ด. (พทุ ธบรหิ ารการศึกษา) โดยนับเลขตามลาดับการเปิด สาขาวิชา ตวั ที่ ๔ เลข “๑” หมายถึง ภาคการศึกษาทีจ่ ัดใหม้ ีการศกึ ษารายวชิ านั้น ตวั ท่ี ๕ และ ๖ เลข “๐๑” หมายถึง ลาดบั รายวิชาในหลักสตู ร พธ.ด. (พทุ ธบรหิ ารการศึกษา)

หลกั สตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศกึ ษา | ๑๕ ๓.๑.๔ แผนการศึกษา ๑) แผนการศึกษา แบบ ๑.๑ ชัน้ ปที ี่ ๑ ภาคการศึกษาท่ี ๑ รหสั วชิ า ชื่อรายวิชา หน่วย แบบ ๑.๑ กติ * ๘๐๖ ๑๐๓ วิชาบังคับ ทฤษฎี ปฏบั ัติ ศึกษาดว้ ย สมั มนากลยทุ ธก์ ารพัฒนาคณุ ภาพทางการบริหารการศกึ ษา (๓) ตนเอง ๘๐๖ ๒๐๘ เชิงพุทธ ๘๐๖ ๑๐๑ สมั มนาการบรหิ ารและการนาสถานศึกษาสคู่ วามสาเรจ็ (๓) ๓๐ ๖ ๘๐๖ ๑๐๒ สัมมนาภาษาองั กฤษสาหรับบริหารการศึกษา (๓) สมั มนาวธิ วี ิจยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษา (๓) ๓๐ ๖ วิชาเอก ๓๐ ๖ ๓๐ ๖ วิชาเลือก รวมนับหนว่ ยกติ - รวมไม่นบั หน่วยกติ (๑๒) ชน้ั ปีท่ี ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒ รหสั วชิ า ชือ่ รายวิชา หน่วย แบบ ๑.๑ กิต* ๘๐๖ ๑๐๔ วิชาบงั คับ ทฤษฎี ปฏบั ัติ ศกึ ษาด้วย ๘๐๖ ๒๐๖ สัมมนาการศกึ ษาคณะสงฆก์ บั การบรหิ ารการศกึ ษา (๓) ตนเอง ๘๐๖ ๒๐๗ สัมมนาพทุ ธวธิ กี ารบรหิ ารการศกึ ษา (๓) ๘๐๖ ๒๐๕ สมั มนาการบรหิ ารทรพั ยากรทางการการศึกษา (๓) ๓๐ ๖ สมั มนากรรมฐาน (๓) ๓๐ ๖ วิชาเอก ๓๐ ๖ ๒๒ ๕ วชิ าเลอื ก ๘๐๐ ๒๐๐ ดุษฎนี พิ นธ์ ๑๒ ๑๒ รวมนบั หนว่ ยกิต (๑๒) รวมไม่นับหน่วยกติ

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา | ๑๖ ชน้ั ปีท่ี ๒ ภาคการศกึ ษาที่ ๑ รหัสวิชา ช่อื รายวิชา หนว่ ย แบบ ๑.๑ วิชาบังคบั กิต* วิชาเอก ทฤษฎี ปฏับตั ิ ศกึ ษาดว้ ย วชิ าเลือก ตนเอง ๘๐๐ ๒๐๐ ดุษฎนี ิพนธ์ รวมนบั หน่วยกิต ๑๒ รวมไมน่ ับหนว่ ยกติ ๑๒ รหัสวิชา - วิชาบงั คบั วชิ าเอก ช้ันปที ่ี ๒ ภาคการศกึ ษาท่ี ๒ วชิ าเลือก ชื่อรายวชิ า หนว่ ย แบบ ๑.๑ ๘๐๐ ๒๐๐ ดษุ ฎนี พิ นธ์ กติ * ทฤษฎี ปฏบั ัติ ศึกษาด้วย รหัสวิชา ตนเอง วชิ าบังคับ วชิ าเอก รวมนบั หน่วยกติ ๑๒ วชิ าเลือก รวมไมน่ บั หนว่ ยกติ ๑๒ - ๘๐๐ ๒๐๐ ดุษฎนี พิ นธ์ ชั้นปที ่ี ๓ ภาคการศึกษาที่ ๑ ช่ือรายวิชา หนว่ ย แบบ ๑.๑ กติ * ทฤษฎี ปฏบั ัติ ศกึ ษาด้วย ตนเอง รวมนบั หนว่ ยกิต ๑๒ รวมไมน่ ับหนว่ ยกิต ๑๒ -

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศกึ ษา | ๑๗ ช้ันปีท่ี ๓ ภาคการศึกษาท่ี ๒ รหัสวชิ า ชอื่ รายวชิ า หนว่ ย แบบ ๑.๑ กิต* วิชาบงั คับ ทฤษฎี ปฏับัติ ศึกษาด้วย ตนเอง วิชาเอก - วิชาเลือก ๘๐๐ ๒๐๐ ดษุ ฎีนพิ นธ์ ๑๒ ๑๒ รวมนับหนว่ ยกติ - รวมไม่นับหนว่ ยกิต ๒) แผนการศกึ ษา แบบ ๒.๑ ชน้ั ปที ่ี ๑ ภาคการศกึ ษาที่ ๑ รหสั วชิ า ชอ่ื รายวชิ า หน่วย แบบ ๒.๑ กติ * ๘๐๖ ๑๑๒ วชิ าบงั คับ ทฤษฎี ปฏบั ตั ิ ศกึ ษาดว้ ย ๘๐๖ ๑๐๙ กลยทุ ธก์ ารพัฒนาคณุ ภาพทางการบริหารการศกึ ษาเชิงพทุ ธ ๓ ตนเอง ๘๐๖ ๑๑๐ ภาษาองั กฤษสาหรับบริหารการศกึ ษา (๓) วิธีวจิ ัยทางการบรหิ ารการศึกษา (๓) ๓๐ ๖ ๘๐๖ ๒๑๖ วชิ าเอก ๓๐ ๖ การบริหารและการนาสถานศึกษาสคู่ วามสาเรจ็ ๓ ๓๐ ๖ วชิ าเลือก ๓๐ ๖ รวมนับหน่วยกติ ๖ รวมไม่นบั หน่วยกิต (๖) ชั้นปที ี่ ๑ ภาคการศกึ ษาท่ี ๒ รหัสวิชา ชื่อรายวชิ า หน่วย แบบ ๒.๑ กติ * ทฤษฎี ปฏบั ัติ ศกึ ษาดว้ ย ๓ ตนเอง ๓ ๘๐๖ ๒๑๓ วชิ าบงั คับ (๓) ๓๐ ๖ ๘๐๖ ๒๑๔ การศึกษาคณะสงฆก์ บั การบรหิ ารการศึกษา ๓๐ ๖ ๘๐๐ ๒๑๑ พุทธวธิ ีการบริหารการศึกษา ๓ ๒๒ ๕ กรรมฐาน ๘๐๖ ๒๑๕ วชิ าเอก ๐๖ ๓ การบริหารทรัพยากรทางการบรหิ ารการศึกษา วชิ าเลือก รวมนบั หน่วยกิต ๙ รวมไมน่ บั หนว่ ยกิต (๓)

หลกั สตู รครุศาสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา | ๑๘ ชั้นปีท่ี ๒ ภาคการศึกษาที่ ๑ รหสั วิชา ช่ือรายวิชา หน่วย แบบ ๒.๑ วชิ าบังคับ กติ * ทฤษฎี ปฏบั ัติ ศึกษาดว้ ย ตนเอง วชิ าเอก ๓ ๐ ๐ ๙๐ ๘๐๖ ๓๑๗ ปฏิบัตกิ ารวชิ าชีพทางการบรหิ ารการศึกษา XXX XXX วิชาเลือก (๒ รายวชิ า) ๓ ๓๐ ๖ XXX XXX เลอื กศึกษาจากหมวดวชิ าเลือก ๓ ๓๐ ๖ เลอื กศกึ ษาจากหมวดวชิ าเลือก ๙ รวมนบั หน่วยกิต - รวมไมน่ บั หนว่ ยกิต ชั้นปีท่ี ๒ ภาคการศึกษาที่ ๒ รหัสวิชา ชื่อรายวชิ า หน่วย แบบ ๒.๑ วิชาบังคับ กิต* ทฤษฎี ปฏบั ัติ ศกึ ษาดว้ ย ตนเอง วิชาเอก วิชาเลือก รวมนบั หนว่ ยกติ ๑๒ ๘๐๐ ๓๐๐ ดษุ ฎีนพิ นธ์ รวมไม่นับหน่วยกติ ๑๒ - รหัสวิชา วชิ าบงั คับ ชนั้ ปีที่ ๓ ภาคการศึกษาท่ี ๑ วิชาเอก วชิ าเลือก ชือ่ รายวชิ า หน่วย แบบ ๒.๑ กติ * ๘๐๐ ๓๐๐ ดษุ ฎีนพิ นธ์ ทฤษฎี ปฏบั ตั ิ ศกึ ษาด้วย ตนเอง รวมนบั หนว่ ยกติ ๑๒ รวมไมน่ ับหนว่ ยกติ ๑๒

หลกั สตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา | ๑๙ ช้นั ปีที่ ๓ ภาคการศึกษาท่ี ๒ รหัสวิชา ชอ่ื รายวิชา หน่วย แบบ ๒.๑ วชิ าบังคบั กิต* ทฤษฎี ปฏบั ัติ ศกึ ษาด้วย ตนเอง วชิ าเอก วชิ าเลือก ๘๐๐ ๓๐๐ ดษุ ฎีนิพนธ์ ๑๒ ๑๒ รวมนับหนว่ ยกติ รวมไม่นับหน่วยกิต ๓.๑.๕ คาอธิบายรายวชิ า ดรู ายละเอยี ดใน ภาคผนวก ก ๓.๒ ชอ่ื สกุล เลขประจาตวั ประชาชน ตาแหน่งและคุณวุฒกิ ารศึกษาของอาจารย์ ๓.๒.๑ อาจารยป์ ระจาหลักสูตร ตาแหนง่ ทาง ช่อื – ฉายา/สกุล คุณวฒุ /ิ สาขาวิชา สถาบันทสี่ าเรจ็ ปที ี่ ภาระงานบรรยายใน วชิ าการ การศึกษา สาเรจ็ หลกั สตู ร รายวิชา ผชู้ ว่ ย พระมหาญาณวัฒน์ * พธ.ด. (พุทธบรหิ ารการศึกษา) ม.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ๒๕๕๗ ศาสตราจารย์ ฐติ วฑฺฒโน (บดุ ดาวงษ)์ ศศ.ม. (นโยบายและการจัดการ ๑.การบริหารทรัพยากร ๓ ๑๒๐๒ ๐๐๔๗๕ xx x มหาวิทยาลัยเกรกิ ๒๕๔๘ ท า ง ก า ร บ ริ ห า ร (บรหิ าร ทรพั ยากรและสิง่ แวดลอ้ ม) การศกึ ษา การศึกษา) ป.ธ.๙ กองบาลสี นามหลวง ๒๕๔๓ ๒. สัมมนาการบริหาร ผชู้ ว่ ย พระมหาสมบตั ิ ธนปญฺโญ * พธ.ด. (พทุ ธบริหารการศกึ ษา) ม.มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ๒๕๕๗ ท รั พ ย า ก ร ท า ง ก า ร ศาสตราจารย์ ม.มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ๒๕๕๔ การศึกษา (ฉลองนิติตก์ิ ุล) พธ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) ม.มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๖๐ (บริหาร ม.มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย ๒๕๕๒ ๑ . ก ล ยุ ท ธ์ ก า ร พั ฒ น า การศึกษา) ๓ ๒๑๐๓ ๐๐๒๘๑ xx x น.บ. คุ ณ ภ า พ ท า ง ก า ร บริหารการศึกษาเชิง พธ.บ. (พระพุทธศาสนา) พุทธ ผู้ชว่ ย นายระวงิ เรืองสงั ข์* ค.ด. (บริหารการศกึ ษา) ม.ราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ๒๕๕๘ ๒. กรรมฐาน ศาสตราจารย์ ๓ ๑๘๐๕ ๐๐๖๘๑ xx x บธ.ม. (การจดั การตลาด) ม.ธรุ กจิ บณั ฑิตย์ ๒๕๔๘ ๓. สมั มนากรรมฐาน พธ.บ. (รฐั ศาสตร)์ ม.มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๓๘ ๑. วิธีวิจัยทางการบริหาร (บรหิ าร นายสมศกั ดิ์ บญุ ปู่ การศกึ ษา) ๓ ๖๖๐๑ ๐๐๕๑๘ xx x Ph.D. (Social Science) Magadh University, India ๒๕๕๐ การศกึ ษา M.A. (Political Science) University of Mysore, India ๒๕๒๘ ๒. สัมมนาวิธีวิจัยทางการ รอง นายสทุ ธิพงษ์ ศรวี ชิ ัย พธ.บ. (มานษุ ยสงเคราะห์ศาสตร์) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๒๕ ศาสตราจารย์ ๔ ๑๐๒๒ ๐๐๐๒๑ xx x บริหารการศกึ ษา Ph.D. (Educational Administration) Nagpur University, India ๒๕๓๘ (บริหาร ๒๕๓๐ สั ม ม น า ก า ร ศึ ก ษ า ค ณ ะ การศกึ ษา) M.Ed. (Educational Administration) Nagpur University, India ๒๕๒๖ ส ง ฆ์ กั บ ก า ร บ ริ ห า ร การศกึ ษา รอง พธ.บ. (บรหิ ารการศกึ ษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ศาสตราจารย์ ๑. ภาษาอังกฤษสาหรับ บรหิ ารการศึกษา (บรหิ าร การศึกษา) ๒. สัมมนาภาษาอังกฤษ ส า ห รั บ บ ริ ห า ร การศกึ ษา

หลักสตู รครุศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา | ๒๐ ตาแหนง่ ทาง ชื่อ – ฉายา/สกุล คณุ วุฒ/ิ สาขาวชิ า สถาบันทีส่ าเรจ็ ปที ่ี ภาระงานบรรยายใน วชิ าการ การศึกษา สาเรจ็ หลกั สูตร รายวชิ า รอง นายอินถา ศิริวรรณ Ph.D. (Educational Administration) Magadh University, India ๒๕๓๙ ๑. การศึกษาคณะสงฆ์กับ ศาสตราจารย์ ๓ ๕๐๑๒ ๐๐๓๓๗ xx x M.Ed. (Educational Administration) Pune University, India ๒๕๓๑ การบริหารการศกึ ษา (บริหาร การศกึ ษา) พธ.บ. (สงั คมศกึ ษา) ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๒๗ ๒.สัมมนา กลยุทธ์กา ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ท า ง ก า ร บ ริ ห า ร การศกึ ษาเชงิ พุทธ รอง นายสนิ งามประโคน Ph.D. (Educational Administration) Punjab University, India ๒๕๓๗ ๑. สัมมนาพทุ ธวิธกี าร ศาสตราจารย์ ๓ ๓๑๐๘ ๐๐๒๒๖ xx x M.A. (Educational Administration) Punjab University, India ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ๒๕๓๑ บริหารการศกึ ษา (บรหิ าร พธ.บ. (บรหิ ารการศกึ ษา) การศกึ ษา) ม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒๕๒๗ ๒. พุทธวธิ กี ารบรหิ าร ม. มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั ผูช้ ว่ ย ม. มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย การศึกษา ศาสตราจารย์ (สงั คมศึกษา) พระครูสงั ฆรกั ษ์จักรกฤษณ์ พธ.ด. (พทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา) ๒๕๕๘ ๑. การบรหิ ารและการนา ภูรปิ ญฺโญ (กัติยงั ) พธ.ม. (การบรหิ ารการศึกษา) ๒๕๕๔ สถานศกึ ษาสู่ ๕ ๔๘๐๕ ๐๐๐๑๙ xx x พธ.บ. (ศาสนา) ๒๕๔๖ ความสาเรจ็ ๒. สัมมนาการบรหิ ารและ การนาสถานศกึ ษาสู่ ความสาเร็จ ผชู้ ว่ ย นายบุญเชดิ ชานิศาสตร์ ปร.ด. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลยั สยาม ๒๕๕๖ ปฏิบตั กิ ารวิชาชพี ทางการ ศาสตราจารย์ ๓ ๗๖๐๖ ๐๐๓๖๗ xx x ค.ม. (ปฐมวยั ) มมหาวิทยาลยั ราชภฎั เพชรบุรี กศ.บ. (สขุ ศึกษา) มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ๒๕๕๑ บริหารการศึกษา (บรหิ าร การศึกษา) ๒๕๒๖ * อาจารย์ผูร้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร ๓.๒.๓ อาจารยพ์ ิเศษ เป็นไปตามที่คณะกรรมการประจาหลกั สตู รพิจารณาเห็นสมควร ๔. องคป์ ระกอบเก่ยี วกับประสบการณภ์ าคสนาม หลกั สตู รนยี้ ึดถอื รายละเอียดแนบท้ายประกาศครุ ุสภา เร่ือง การรับรองปรญิ ญา และประกาศนียบัตรทางการ ศึกษาเพื่อการประกอบวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๗ ในส่วนของมาตรฐานวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหาร การศึกษา ซ่งึ กาหนดใหม้ ีวชิ าปฏบิ ัตกิ ารวชิ าชพี บรหิ ารการศึกษาระหว่างเรียนตามหลักสูตรท่ีคุรุสภารับรอง มีเกณฑ์ ดังน้ี ๔.๑ มาตรฐานผลการเรียนรขู้ องประสบการณ์ภาคสนาม หลกั สตู รมีความคาดหวงั จากนสิ ติ ทไี่ ดฝ้ กึ ปฏบิ ัติการวิชาชพี ในภาคสนาม ดังน้ี ๑. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการพัฒนาวิชาชีพทางการบริหารการศึกษา และการบริหารสถานศึกษา มคี วามเปน็ ผู้นาทางวิชาการ หลักสูตรการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ กิจการและกิจกรรมนักเรียน การ ประกันคุณภาพการศึกษา ตลอดถึงหลักธรรมาภิบาล อันเป็นหลักการพ้ืนฐานของการบริหารการศึกษารศึกษาและ การบรหิ ารสถานศึกษามากย่งิ ข้ึน ๒. มีมนษุ ยสมั พันธแ์ ละสามารถทางานร่วมกับผูอ้ ืน่ ได้เปน็ อยา่ งดี ๓. มรี ะเบยี บวินยั ตรงต่อเวลา เข้าใจวฒั นธรรมองค์กรและสามารถปรบั ตวั เข้ากบั สถานศึกษาได้ ๔. มภี าวะผ้นู าทางวชิ าการ กล้าแสดงออก มีความคิดสรา้ งสรรค์ และมจี ิตสาธารณะ ๕. มีทักษะในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับการบริหารการศึกษา และการบริหารสถานศึกษา ตามหลักการ เบอ้ื งตน้ มากยิ่งขนึ้ ๖. สามารถบูรณาการความรู้ทเ่ี รยี นมาเพือ่ นาไปแก้ปัญหาในการทางานได้อย่างเหมาะสม

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศึกษา | ๒๑ ๔.๒ ช่วงเวลา ชัน้ ปที ่ี ๒ ภาคการศึกษาที่ ๑ ๔.๓ การจดั เวลาและตารางสอน มีเวลาฝกึ การบรหิ ารสถานศกึ ษาและบริหารการศึกษา ไมน่ ้อยกวา่ ๙๐ ชั่วโมง ดังน้ี ๑. ฝึกปฏิบตั ิการวิชาชีพบริหารสถานศกึ ษา ๘-๑๖ ชวั่ โมง/สปั ดาห์ รวมไม่นอ้ ยกว่า ๔๕ ช่วั โมง ๒. ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารวิชาชีพบรหิ ารการศกึ ษา ๘–๑๖ ช่วั โมง/สัปดาห์ รวมไมน่ อ้ ยกวา่ ๔๕ ชวั่ โมง ๔.๔ กระบวนการประเมินผล มหี ลักเกณฑใ์ นการประเมินผลจากความรู้ ทักษะ สมรรถภาพ และหลกั ฐาน ดงั น้ี ๑. ความรคู้ วามเขา้ ใจในหลกั การบริหารการศกึ ษา ๒. ความรว่ มมอื ในการสัมมนาโครงการฝกึ ปฏิบตั ิการวชิ าชพี ๓. ทกั ษะและสมรรถภาพในการปฏบิ ตั งิ าน ๔. ความสามารถในการบูรณาการความรกู้ บั การแก้ไขปัญหา ๕. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงการวจิ ัย ๕.๑ คาอธบิ ายโดยย่อ หลักสูตรกาหนดให้นิสิตท้ังหลักสูตรแบบ ๑.๑ และ ๒.๑ ทาดุษฎีนิพนธ์ในศาสตร์ของสาขาวิชาอันเป็น ส่วนหนึ่งของการสาเร็จการศึกษาเพ่ือความก้าวหน้าทางวิชาการในสาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา ภายใต้การดูแล ของคณะกรรมการและอาจารย์ท่ีปรึกษาซ่ึงมีหน้าท่ีให้คาปรึกษาและควบคุมการทาดุษฎีนิพนธ์ของนิสิตแต่ละคนจน แลว้ เสรจ็ พรอ้ มเรียบเรยี งเขียนเปน็ ดุษฎนี พิ นธ์ และตีพมิ พ์หรือเผยแพร่ผ่านสอ่ื ทางวิชาการหรือวชิ าชพี ต่างๆ ๕.๒ มาตรฐานผลการเรยี นรู้ นิสิตมีความรู้ลึกในศาสตร์ของสาขาวิชา มีจรรยาบรรณของนักวิจัย สามารถคิดอย่างมีจารณญาณ คิด สร้างสรรค์ คิดแก้ปัญหาในการวิจัย ศักยภาพในการเรียนรู้ด้วยตนเอง สามารถคิดและวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็น ระบบและมีหลักการ สามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์ทั้งทางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติด้านศึกษาศาสตร์ ครุศาสตร์ ในสาขาวิชาต่างๆ และผลการเรียนรู้ทั้ง ๖ ด้าน (ดังแสดงในหมวดท่ี ๔ ข้อ ๒) มาใช้ในการทา ดุษฎนี ิพนธ์ได้ผลเปน็ ทน่ี า่ พงึ พอใจ ๕.๓ ช่วงเวลา ๕.๓.๑ นิสิตแบบ ๑.๑ สามารถเสนอหัวข้อและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์เพื่อขออนุมัติลงทะเบียน ทาดุษฎี นพิ นธ์ได้หลงั จากขึ้นทะเบียนเป็นนสิ ิตแล้ว ๕.๓.๒ นิสิตแบบ ๒.๑ สามารถเสนอหัวข้อและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์เพ่ือขออนุมัติลงทะเบียน ทาดุษฎี นพิ นธ์ได้ เมื่อศึกษารายวิชามาแล้วไม่น้อยกว่า ๒ ภาคการศึกษาปกติและมีหน่วยกิตสะสมในรายวิชาไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต ๕.๓.๓ นสิ ติ แบบ ๑.๑ มสี ทิ ธิ์ขอสอบดษุ ฎนี ิพนธ์ไดต้ ่อเมื่อทาดุษฎีนพิ นธ์เสรจ็ สมบูรณ์โดยใช้เวลาทาดุษฎี นิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๖ ภาคการศึกษาปกติ นับจากวันลงทะเบียนทาดุษฎนี ิพนธ์ ๕.๓.๔ นิสิตแบบ ๒.๑ มีสิทธิ์ขอสอบดุษฎีนิพนธ์ได้เมื่อศึกษารายละเอียดครบตามที่กาหนดได้ค่าระดับ เฉลี่ยสะสมในรายวิชาไม่น้อยกว่า ๓.๐๐ และทาดุษฎีนิพนธ์เสร็จสมบูรณ์โดยใช้เวลาทาดุษฎีนิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๘ เดือนนบั จากวันลงทะเบยี นทาดุษฎนี พิ นธ์ ๕.๔ จานวนหน่วยกิต แบบ ๑.๑ จานวน ๖๐ หน่วยกติ แบบ ๒.๑ จานวน ๖๐ หนว่ ยกติ ๕.๕ การเตรยี มการ ๕.๕.๑ จัดเตรียมคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ ห้องเรียน ห้องสมุดและอุปกรณ์การศึกษาให้พร้อมในแต่ละปี การศกึ ษาให้พรอ้ มทจี่ ะทางาน ๕.๕.๒ เตรยี มคณาจารย์ผใู้ ห้คาปรึกษา แนะนาแกน่ ิสิต และให้นิสิตจัดทาหัวข้อและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ โดยความเหน็ ชอบของผู้ทีจ่ ะได้รบั แตง่ ตงั้ เปน็ ประธานหรือกรรมการควบคมุ ดุษฎีนพิ นธ์ ๕.๕.๓ อาจารยจ์ ัดทาตารางการเรียนการสอนและตารางสาหรับใหค้ าปรกึ ษาแกน่ ิสิตเป็นรายบุคคล

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา | ๒๒ ๕.๕.๔ หลักสูตรกาหนดให้มีการจัดสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ และให้นิสิตเข้าร่วมประชุมหรือสัมมนาด้านการ บรหิ ารการศกึ ษาท้ังในประเทศและตา่ งประเทศเกี่ยวกับแนวโน้ม ทิศทาง และประเด็นสาคัญท่ีเกี่ยวข้องกับประเด็น การทาวิจยั ด้านพทุ ธบริหารการศกึ ษา ๕.๕.๕ อาจารย์ท่ปี รึกษาดษุ ฎีนิพนธ์ที่ให้คาปรึกษาในการเลือกหัวข้อดุษฎีนิพนธ์ การจัดเตรียมโครงร่าง การสอบโครงร่าง กระบวนการศึกษาค้นคว้า การจัดทารายงานดุษฎนี พิ นธ์ และการประเมินผลกระบวนการทาดุษฎี นพิ นธข์ องผเู้ รียนใหเ้ สร็จตามระยะเวลาของหลกั สูตร ๕.๖ กระบวนการประเมินผล ๕.๖.๑ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้งคณะกรรมการสอบดุษฎีนิพนธ์ โดยอาจารย์ผูสอบดุษฎีนิพนธ์ ต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจาหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน รวมไม่น้อยกว่า ๕ คน เป็น คณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ โดยประธานสอบดุษฎีนิพนธ์ต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน ท้ังนี้ให้มี กรรมการอยา่ งนอ้ ย ๑ คนมาจากสาขาวชิ าเดยี วกนั หรอื เกี่ยวข้องกัน ซ่ึงมิใช่อาจารย์ที่ปรึกษา และให้คณะกรรมการ สอบวัดคุณสมบัตบิ รหิ ารการสอบใหเ้ ป็นไปด้วยความเรยี บร้อย ๕.๖.๒ แบบ ๑.๑ สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทา ดุษฎีนิพนธ์ เสนอดุษฎีนิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าข้ันสุดท้ายโดยคณะกรรมการท่ีสถาบันอุดมศึกษาน้ัน แตง่ ตง้ั ซ่งึ จะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบันและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับ ฟังได้ สาหรับผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการตีพิมพ์ใน วารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เร่ืองหลักเกณฑ์การพิจารณา วารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ แบบ ๒.๑ ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามท่ีกาหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้คะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มี สิทธิขอทาดุษฎีนิพนธ์ เสนอดุษฎีนิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการท่ี สถาบนั อุดมศึกษานน้ั แตง่ ตั้ง ซงึ่ จะต้องประกอบดว้ ยผทู้ รงคุณวุฒจิ ากภายในและภายนอกสถาบันและต้องเป็นระบบ เปดิ ให้ผูส้ นใจเข้ารบั ฟงั ได้ สาหรับผลงานดษุ ฎีนพิ นธ์หรือสว่ นหนงึ่ ของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อย ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติท่ีมีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวชิ าการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ๕.๖.๓ ในการสอบดษุ ฎีนิพนธ์ นิสิตตอ้ งสอบผา่ นการสอบปากเปลา่ ขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการสอบใน การตอบข้อซกั ถามตา่ งๆ เกีย่ วกบั ดุษฎีนพิ นธห์ รอื เรื่องท่เี ก่ียวขอ้ ง หลังจากสอบแลว้ ให้คณะกรรมการตรวจสอบดุษฎี นพิ นธ์ประชุมพจิ ารณาประเมนิ ผล ๕.๖.๔ ใหม้ กี ารจดบันทึกรายละเอยี ดเก่ียวกับการประเมินผลดุษฎนี ิพนธท์ ุกคร้ัง ๕.๖.๕ ให้คณะกรรมการตรวจสอบดุษฎีนิพนธ์ประเมินคุณภาพดุษฎีนิพนธ์ โดยกาหนดเป็น ๔ ระดับ ดงั น้ี ผลการศกึ ษา ระดับ ดีเยย่ี ม (Excellence) A ดี (Good) B+ ผ่าน (Passed) B ตก (Failed) F ทงั้ น้ี ใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บบณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยวิธีปฏิบัติ เกี่ยวกบั ดุษฎนี ิพนธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ หมวดท่ี ๖ ขอ้ ท่ี ๑๔

หลักสตู รครุศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศึกษา | ๒๓ หมวดท่ี ๔ ผลการเรยี นรู้ กลยุทธก์ ารสอนและการประเมนิ ผล ๑. การพฒั นาคุณลกั ษณะพเิ ศษของนิสติ หลักสูตรมีแนวทางในการพัฒนานิสิตให้มีคุณลักษณะพิเศษตามอัตลักษณ์ของนิสิตท่ีพึง ประสงค์ตามท่ี มหาวิทยาลัยกาหนด ๙ ประการ เรียกว่า “นวลักษณ์” ตามอักษรย่อภาษาอังกฤษ “MAHACHULA” มีความหมาย ดังน้ี M – Morality มมี ารยาททางกายและวาจาที่เหมาะสมตามกาลเทศะ A – Awareness รู้เทา่ ทนั ความเปลย่ี นแปลงทางสงั คม H – Helpfulness มีศรทั ธา อุทิศตนเพ่ือพระพทุ ธศาสนา A – Ability มคี วามสามารถในการแก้ปัญหา C – Curiosity มคี วามใฝ่รู้ใฝค่ ดิ H – Hospitality มนี ้าใจเสยี สละเพื่อสว่ นรวม U – Universality มีโลกทศั น์กวา้ งไกล L – Leadership มคี วามเปน็ ผ้นู าด้านจติ ใจและปญั ญา A – Aspiration มีความมุ่งมั่นพัฒนาตนให้เพียบพร้อมด้วยคุณธรรมจริยธรรม โดยมีกล ยุทธ์หรอื กจิ กรรมสาหรบั นสิ ิตพัฒนานสิ ิต ดังสรุปในตารางนี้ คณุ ลกั ษณะพิเศษ กลยุทธห์ รือกิจกรรมของนิสิต ๑ . มี คุ ณ ธ ร ร ม จ ริ ย ธ ร ร ม แ ล ะ - จัดกิจกรรมเชิงวิชาการและภาคปฏิบัติท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ด้าน จรรยาบรรณวิชาชีพ รับผิดชอบต่อ คุณธรรม จริยธรรม ฝึกฝนความมีน้าใจ เสียสละเพ่ือพุทธ สังคม สามารถแก้ไข ปัญหาบน ศาสนาและสงั คม หลักการเหตุผลและค่านิยมอันดีงาม - ฝึกฝนการกระทา การพูด การคิด ให้ตั้งอยู่บนความเมตตา มีภาวะผู้นาด้านคุณธรรมจริยธรรม กรณุ า ลด ละ อกศุ ลต่างๆ เป็นแบบอยา่ งในสังคมได้ - จัดกิจกรรมเสริมในรายวิชาท่ีเน้นการปลูกฝังให้นิสิตมีระเบียบ วินัยในตนเอง และแก้ไขปัญหาของตนเองและสังคมได้บน พ้ืนฐานของเหตผุ ล - ฝกึ ปฏบิ ตั กิ รรมฐาน เสรมิ สร้างภาวะความเปน็ ผ้นู าด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม ๒. มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์การ - จัดการเรียนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มุ่งให้นิสิตมีความ บริหารการศึกษาอย่างกว้างขวาง เข้าใจหลักการบริหารการศึกษา ปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง ลึกซ้ึงสามารถบูรณาการกับหลักพุทธ กระตุน้ ใหเ้ กดิ การคดิ วเิ คราะห์ และตดั สินใจดว้ ยตนเอง ธรรมได้ตลอดจนสามารถพัฒนาต่อ - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ศาสตร์สมัยใหม่ควบคู่กับการบูรณาการ ยอดองค์ความรู้ สร้างนวัตกรรมและ พทุ ธธรรมและการบรหิ ารการศึกษา องค์ความรู้จากงานวิจยั เพือ่ การพัฒนา - มีแหล่งข้อมูลการศึกษาค้นคว้า วิจัย ด้วยตนเอง ในการพัฒนา องค์กรตอบสนองความต้องการทาง นวัตกรรมและองคค์ วามรูใ้ หม่ สังคม - สง่ เสริมให้มกี ารวจิ ัย ค้นคว้าหาองค์ความรู้ในพระไตรปิฎก และ นาองคค์ วามรมู้ าประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้อย่างเหมาะสม ๓. สามารถคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่าง - ฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการแก้ไขปัญหา เป็นระบบ สร้างสรรค์องค์ความรู้ ต่างๆ อยา่ งเหมาะสม และสร้างสรรค์

หลกั สตู รครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา | ๒๔ คุณลักษณะพเิ ศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนิสิต ใหม่ๆ ทางการบริหารการศึกษาได้ - เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถปฏิบัติงานได้จริงใน สามารถค้นคว้า สรรหา แก้ปัญหา สถานการณ์ตา่ งๆ พัฒ น า แ ละ เ ผ ย แพ ร่ ผ ล งา น ท า ง - ศึกษาดูงาน เรียนรู้จากประสบการณ์ และวิธีการจากแหล่ง วิชาการหรืองานวิจัยในระดับชาติ เรียนรตู้ า่ งๆ เพือ่ กระต้นุ การเรียนรู้ และนานาชาตไิ ด้ - จัดประชมุ สัมมนา หรืออภปิ รายกลมุ่ ๔. มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย - จัดกิจกรรมในรายวิชาท่ีเน้นการเรียนการสอนที่มีการ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ รับฟัง ปฏิสัมพนั ธ์ท่ีดรี ะหว่างผู้เรยี นและผู้สอน ความคิดเห็นของผู้อื่น ทางานเป็นทีม - ฝึกฝนภาวะความเป็นผู้นา ผู้ตาม การแสดงออกถึงภาวะความ ได้ตามโอกาสและสถานการณ์ต่างๆ เป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงาน สามารถตัดสินใจด้วยตนเอง ประเมิน การรับฟงั ความคิดเหน็ ผูอ้ ่ืนเม่อื ทางานเปน็ ทีม ตนเอง รวมทัง้ วางแผนปรับปรุงตนเอง - ฝึกการทากิจกรรมเพ่ือสังคม และการวางตัวท่ีเหมาะสมตาม และองคก์ รได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ กาลเทศะ - ฝึกฝนการประสานงานกับผู้อื่นทั้งภายในและภายนอก สถาบนั การศกึ ษา ๕. มีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ - จัดการเรียนการสอนรายวิชาเฉพาะด้าน เพ่อื ใหน้ สิ ิตได้ฝึกทักษะ สื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ มี การใชส้ ถติ ิ และเทคโนโลยี หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ - จัดกิจกรรมการเรียนรู้มุ่งให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะการส่ือสาร ในการแก้ไขปัญหา ใช้เทคโนโลยีเพ่ือ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทสต่างๆ ด้วยตนเองและร่วมกับ การส่ือสารกับบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ผอู้ ื่น ท้ังในวงการวิชาการวิชาชีพ ชุมชน - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้นิสิตได้ฝึกทักษะด้านการใช้ การค้นคว้าข้อมูล การศึกษา และการ เทคโนโลยีเพื่อค้นคว้า วิจัย การศึกษา และการนาเสนอผลงาน ทาวทิ ยานิพนธ์ ต่างๆ ๖. มีทักษะวิชาชีพทางด้านบริหาร - จัดการเรียนการสอนและกิจกรรมการเสริมความรู้ท่ีมุ่งเน้นให้ การศึกษาและบริหารสถานศึกษา ผูเ้ รียนได้ฝึกทักษะตามวัตถุประสงค์รายวิชา และนาเทคโนโลยี สามารถจัดการศึกษารูปแบบต่างๆ ได้ ตา่ งๆ มาประยุกต์ใช้ อยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ ทันสมัย - อบรม ศึกษาดูงาน หรือจัดกิจกรรมเสริม เพ่ือให้นิสิตได้ฝึก และสอดคล้องกับความต้องการของ ทักษะวิชาชีพประกอบการค้นคว้ารายงาน และการทา สังคม และนาองค์กรสู่ความเป็นมือ วิทยานพิ นธ์ อาชพี - ฝึกปฏิบัติการทางวิชาชีพการบริหารสถานศึกษาและบริหาร การศึกษา ไม่นอ้ ยกวา่ เกณฑ์ที่องค์กรวชิ าชพี กาหนด - ใหม้ กี ารรายงานและการแสดงออกถงึ ความเป็นผู้นาทางวิชาการ และวชิ าชพี การประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ในสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม

หลักสตู รครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา | ๒๕ ๒. การพัฒนาผลการเรียนร้ใู นแตล่ ะดา้ น ๒.๑ คุณธรรมจรยิ ธรรม ๒.๑.๑ ผลการเรยี นรู้ ๑) เปน็ ผทู้ ี่มีคุณธรรมและจรยิ ธรรม สามารถให้บริการงานวิชาการแกส่ งั คม ๒) มศี ักยภาพทีจ่ ะพฒั นาตนเองใหเ้ พยี บพรอ้ มด้วยคณุ ธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี ๓) สามารถวนิ ิจฉยั และแก้ไขปัญหาบนฐานของหลกั การและเหตผุ ลและค่านิยมดันดงี าม ๔) มภี าวะผ้นู าด้านความประพฤตติ ามหลักคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในพระพุทธศาสนา ๒.๑.๒ กลยทุ ธ์การสอนท่ีใช้ ๑) จดั กจิ กรรมเชงิ วิชาการและภาคปฏิบตั ทิ ีส่ ่งเสริมการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้เป็นผู้มี น้าใจ เสียสละ อทุ ศิ ตนเพ่อื พระพุทธศาสนาและสังคม ๒) ฝกึ ฝนให้มีความใฝ่รู้ ใฝค่ ิด เปน็ ผูน้ าดา้ นจิตใจและปญั ญา เพือ่ พฒั นาตนเองและสงั คม ๓) การจดั กจิ กรรมในรายวิชาที่เน้นการปลูกฝังให้นิสิตมีระเบียบวินัยในตนเอง และแก้ไข ปัญหา ของ ตนเองและสังคมได้ ๔) ฝกึ ฝนภาวะความเปน็ ผนู้ า ผู้ตาม ดา้ นคณุ ธรรมจริยธรรม ๒.๑.๓ กลยุทธใ์ นการประเมนิ ผล ๑) ประเมนิ ด้วยผลงานวชิ าการ และการบาเพ็ญตนใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ สงั คม ๒) ประเมินด้วยแบบทดสอบดว้ ยการสังเกต สัมภาษณ์ การสนทนากลมุ่ และแบบวัดผล ๓) ประเมินจากความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานเป็นทีม การทางานวิจัย และการเข้า ร่วม กิจกรรมในการใชอ้ งค์ความรูท้ างการศึกษาทาประโยชนต์ อ่ สงั คม ๔) ผู้เรียนประเมินตนเอง และประเมินโดยเพื่อนและอาจารย์ โดยใช้แบบประเมินและ แบบ วัดผล ๒.๒ ความรู้ ๒.๒.๑ ผลการเรยี นรู้ ๑) มคี วามรูแ้ ละความเขา้ ใจอยา่ งถอ่ งแท้ ในเนอื้ หาสาระหลกั ของสาขาวิชาการบริหาร การศึกษา ตลอดจนหลักการและทฤษฎที ่ีสาคัญ และนามาประยกุ ต์ใช้ในการศึกษาค้นควา้ ทางวิชาการ หรือการปฏบิ ัตงิ าน ๒) มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพัฒนาวิชาการสมัยใหม่ สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิชา พระพทุ ธศาสนาดา้ นการบรหิ ารการศึกษาได้ ๓) มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา สามารถ ประยกุ ตห์ ลักธรรมมาใช้กับแนวคิดในทางทฤษฎี ทางปฏิบัติ และการวิจยั ๔) สามารถพัฒนานวัตกรรมหรอื สร้างองคค์ วามรใู้ หม่ สรา้ งองคค์ วามรจู้ ากงานวิจัยเพื่อ เชื่อมโยง กับการพัฒนาองค์กร เพ่ือตอบสนองความต้องการทางสังคมในด้านวิชาการพระพุทธศาสนาด้านการบริหาร การศกึ ษา ๒.๒.๒ กลยทุ ธ์การสอนทีใ่ ช้ ๑) จัดการเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และมุ่งเน้นให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจ สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา โดยใช้วิธีการเรียนการสอนที่เน้นหลักการทางทฤษฎี และการ ประยุกต์ทางปฏิบัติใน สภาพแวดลอ้ มจริง กระตุ้นใหเ้ กิดการคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจด้วยตนเอง ๒) จัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาการศาสตร์สมัยใหม่ควบคู่กับวิชาการพระพุทธศาสนาด้าน การ บรหิ ารการศึกษา ๓) จัดให้มีการศกึ ษาคน้ คว้า วจิ ัยด้วยตนเอง ในการพฒั นานวตั กรรมและองคค์ วามรู้ใหม่

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาพทุ ธบริหารการศกึ ษา | ๒๖ ๔) ส่งเสริมให้มีการวิจัยและค้นคว้าองค์ความรู้ในพระไตรปิฎกและนาองค์ความรู้ที่ ค้นพบมา ประยุกต์ใชไ้ ด้อย่างเหมาะสม ๒.๒.๓ กลยุทธ์ในการประเมินผล ๑) ประเมนิ ด้วยการสอบขอ้ เขยี น ๒) ประเมนิ ดว้ ยการสอบป้องกันวทิ ยานพิ นธ์ ๓) ประเมนิ ดว้ ยการนาเสนอรายงานและการทางานเปน็ ทีม ๔) ประเมนิ ดว้ ยการนาความรูไ้ ปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ ๒.๓ ทกั ษะทางปัญญา ๒.๓.๑ ผลการเรียนรู้ ๑) สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อการ พัฒนา และสร้างสรรคอ์ งค์ความร้ใู หมท่ างพระพุทธศาสนาดา้ นการบรหิ ารการศกึ ษาอย่างเหมาะสม ๒) สามารถสืบค้นข้อมูลผลงานวิจัย ส่ิงตีพิมพ์ทางวิชาการ จากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย สังเคราะห์ และนาไปใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนาความคิดใหม่ๆ ได้ ๓) สามารถประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและองค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาในการแก้ปัญหา หรือ พัฒนาการบรหิ ารงานไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและสร้างสรรค์ได้ ๔) สามารถตดั สนิ ใจเรื่องท่ีซบั ซ้อนทเ่ี กย่ี วกบั การพฒั นาองค์ความรู้ใหม่ และสามารถ ผลิตผลงาน ทางวชิ าการและงานวิจัย ในระดับชาติ และนานาชาติได้ ๒.๓.๒ กลยทุ ธก์ ารสอนท่ใี ช้ ๑) ฝกึ ทักษะการคดิ และการแก้ไขปญั หา ๒) เน้นการเรียนรดู้ ้วยตนเอง และการปฏบิ ตั งิ านจริง ๓) เนน้ การเรยี นรู้ท่ีสามารถประยุกต์ใช้กบั สถานการณ์จริง ใช้ปัญหากระตุ้นการเรยี นรู้ ๔) การอภิปรายกลมุ่ ๒.๓.๓ กลยทุ ธใ์ นการประเมนิ ผล ๑) วัดการแสดงออกทางการกระบวนการคิดและการแก้ไขปัญหา ๒) วัดผลการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ๓) การนาเสนอผลงาน การอธิบาย การถามและตอบคาถาม ๔) การโต้ตอบสือ่ สารกับผ้อู ื่น ๕) การอภปิ รายกลมุ่ ๒.๔ ด้านทักษะความสมั พนั ธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรับผิดชอบ ๒.๔.๑ ผลการเรยี นรู้ ๑) มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง ในการพัฒนาความรู้ ของ ตนเอง องค์กร และสังคม ๒) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช้ีนาองค์กร แก้ไขปัญหาท่ีมีความซับซ้อนด้วยตนเอง และ เปลี่ยนแปลงสังคมในทางท่ีเหมาะสมได้ ๓) สามารถทางานเป็นทีม เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน และมีปฏิสัมพันธ์ อย่าง สร้างสรรค์กบั ผู้รว่ มงานได้ ๔) แสดงภาวะความเป็นผู้นาในองค์กร บริหารการทางานเป็นทีมได้อย่างเหมาะสมตาม โอกาส และสถานการณ์ เพ่ือเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทางานของกลุ่ม ๕) สามารถตดั สนิ ใจในการดาเนนิ งานดว้ ยตนเอง ประเมนิ ตนเอง รวมทั้งวางแผน ปรับปรุงตนเอง และองค์กรไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบรหิ ารการศึกษา | ๒๗ ๒.๔.๒ กลยุทธก์ ารสอนทใ่ี ช้ ๑) การจัดกิจกรรมในรายวิชาท่ีเน้นการเรียนการสอนท่ีมีการปฏิสัมพันธ์ท่ีดีระหว่าง ผู้เรียนและ ผู้สอน ๒) ฝึกฝนภาวะความเป็นผู้นา ผู้ตาม การแสดงออกถึงภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามท่ีดี การมี มนษุ ยสัมพันธ์ทด่ี กี บั ผู้รว่ มงาน การรบั ฟังความคดิ เหน็ ผู้อน่ื เมื่อทางานเป็นทมี และทางานวิจยั ๓) ฝกึ ฝนการทากิจกรรมเพ่อื สังคม และการวางตัวทีเ่ หมาะสมตามกาลเทศะ ๔) ฝึกฝนการประสานงานกบั ผู้อนื่ ทงั้ ภายในและภายนอกสถาบนั การศึกษา ๒.๔.๓ กลยทุ ธใ์ นการประเมินผล ๑) สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนิสิตในหลายๆ ด้าน ระหว่างกิจกรรมการเรียนการ สอน เช่น พฤติกรรมความสนใจ ตั้งใจเรยี นรู้ และพัฒนาตนเอง ๒) สังเกตพฤติกรรมการแสดงบทบาทภาวะผู้นาและผู้ตามที่ดี ความสามารถในการทางาน ร่วมกับผอู้ น่ื ๓) สงั เกตพฤตกิ รรมความรับผิดชอบในการเรียนและงานที่ได้รับมอบหมาย การนาเสนอ ผลงาน การทางานวิจยั และการรว่ มทากิจกรรมเพ่อื สังคม ๒.๕ ด้านทกั ษะการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒.๕.๑ ผลการเรยี นรู้ ๑) สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษา ค้นคว้า ปัญหา เชื่อมโยงประเด็นปัญหาที่สาคัญ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้าน พระพุทธศาสนาในเชิงลกึ ได้เปน็ อยา่ งดี ๒) สามารถสอ่ื สารดา้ นการพดู การอ่านการฟงั การเขียนการนาเสนอ สื่อสารกับกลุ่ม บุคคลต่างๆ ทงั้ ในวงการวิชาการวิชาชีพและชุมชนไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล เพ่ือประกอบการศึกษาและการ ทา วทิ ยานพิ นธ์ รวมทง้ั การตดิ ตอ่ ส่อื สาร ๒.๕.๒ กลยุทธ์การสอนที่ใช้ ๑) จัดการเรียนการสอนรายวชิ าตา่ งๆ เพื่อให้นิสติ ไดฝ้ กึ ทักษะการวเิ คราะห์ การวิจารณ์ ๒) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะการส่ือสาร และการ นาเสนอ โดยใช้เทคโนโลยที ัง้ ดว้ ยตนเองและรว่ มกับผู้อนื่ ๓) จัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือให้นิสิตได้ฝึกทักษะด้านการใช้เทคโนโลยี ประกอบการ ค้นคว้าและการทาวทิ ยานพิ นธ์ ๒.๕.๓ กลยุทธใ์ นการประเมินผล ๑) การทดสอบความรแู้ ละเทคนิคการวิเคราะหแ์ ละวิจารณท์ ฤษฎีหรอื แนวคดิ ใหมๆ่ ๒) การทางานวจิ ยั ตงั้ แต่เริ่มตน้ จนถงึ ขนั้ ตอนการเขยี นรายงาน และการนาเสนอผลงาน ๒.๖ ด้านทกั ษะวชิ าชพี ๒.๖.๑ ผลการเรียนรู้ ๑) สามารถพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา การบริหารการศึกษา และการจัดการศึกษา รูปแบบ ต่างๆ โดยกาหนดนโยบาย แผน กลยุทธ์ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการทันสมัย และสอดคล้องกับความต้องการ ของสงั คม ๒) สามารถแสดงออกถึงความเป็นผู้นาทางวิชาการ เป็นผู้นาความรู้ ความคิด และนาองค์ความรู้ มาประยกุ ต์ใชใ้ นสังคมได้อย่างเหมาะสม

หลักสตู รครุศาสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา | ๒๘ ๓) สามารถนเิ ทศหรือแนะแนวการศกึ ษา เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรคู้ วามเข้าใจแก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง หรือผู้มีส่วนเก่ียวขอ้ งใหเ้ ห็นความสาคัญของการศกึ ษาท่ีจะเป็นเครื่องมือพัฒนาคนในสังคม ๔) สามารถบริหารสถานศึกษา และบริหารการศึกษา และกากับติดตามการประกันคุณภาพ การศึกษา อีกทังส่งเสริม และประเมินสถานศึกษา นาผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง และมน่ั คง ๕) สามารถพัฒนาหลักสูตร ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้งานด้านวิชาการ การเรียนการ สอน และการสง่ เสรมิ ทกั ษะของนักเรยี นอยา่ งสอดคล้องและมีประสิทธิภาพ ๖) สามารถวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาได้ถูกต้องตาม วัตถปุ ระสงค์ และขัน้ ตอนทางวิชาการ สามารถนาไปบรู ณาการจัดการศกึ ษาให้มีประสทิ ธภิ าพยิ่งขนึ้ ๗) เปน็ ผูด้ ารงตนอยูใ่ นหลกั คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถเป็น แบบอย่าง ดา้ นความประพฤตแิ ก่ครู นกั เรียน และชมุ ชนได้ ๒.๖.๒ กลยุทธก์ ารสอนที่ใช้ ๑) จัดการเรยี นการสอนเพอื่ ใหน้ สิ ิตไดฝ้ ึกทักษะตามขอบข่ายเนือ้ หาวิชาตา่ งๆ เต็มท่ี ๒) จัดกิจกรรมการเสริมความรู้ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะตามวัตถุประสงค์ รายวิชา การ บริหารและการนาสถานศึกษาสู่ความสาเร็จ การบริหารทรัพยากรทางการบริหารการศึกษา ปฏิบัติการวิชาชีพ ทางการบริหารการศึกษา และนานวตั กรรมและเทคโนโลยตี า่ งๆ มาประยุกตใ์ ช้ใหไ้ ด้ดว้ ยตนเอง และร่วมกบั ผู้อื่น ๓) อบรม ศกึ ษาดูงาน หรอื จดั กิจกรรมเสริม เพ่ือให้นิสิตได้ฝึกทักษะแต่ละด้านตามทักษะ วิชาชีพที่ระบุ ประกอบการค้นคว้ารายงาน และการทาวิทยานิพนธ์ ๒.๖.๓ กลยุทธใ์ นการประเมินผล ๑) การทดสอบความรู้ การวเิ คราะห์ วจิ ารณท์ ฤษฎหี รอื แนวคดิ ใหม่ๆ ๒) การลงมอื ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนปฏบิ ตั ิ การพิสจู น์วธิ ีการปฏบิ ัตทิ ี่ถูกตอ้ ง แมน่ ยา ๓) การทางานวจิ ยั ต้ังแต่เรมิ่ ต้นจนถงึ ข้นั ตอนการเขยี นรายงาน และการนาเสนอผลงาน

หลกั สตู รครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศึกษา | ๒๙ ๓. แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรจู้ ากหลกั สตู รสู่รายวิชา (Curriculum mapping) แสดงให้เห็นว่าแต่ละรายวิชาในหลักสูตรรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ในด้านใดบ้าง (สัมพันธ์กับการพัฒนาผล การเรียนรู้แต่ละด้านตามข้อ ๒ ) โดยระบุว่าเป็นความรับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรอง โดยที่ผลการเรียนรู้ แตล่ ะข้อของด้านตา่ งๆ ในตารางมีความหมาย ดงั ตอ่ ไปนี้ ๓.๑ ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรม ผลการเรียนรู้ ๑) เปน็ ผูท้ ม่ี คี ณุ ธรรมและจริยธรรม สามารถใหบ้ รกิ ารงานวชิ าการแก่สังคม ๒) มศี ักยภาพทจี่ ะพฒั นาตนเองใหเ้ พียบพรอ้ มดว้ ยคณุ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี ๓) สามารถวนิ จิ ฉยั และแก้ไขปัญหาบนฐานของหลักการและเหตุผลและค่านิยมดนั ดงี าม ๔) มภี าวะผนู้ าดา้ นความประพฤตติ ามหลักคุณธรรมและจริยธรรมในพระพทุ ธศาสนา ๓.๒ ดา้ นความรู้ ผลการเรียนรู้ ๑) มคี วามรแู้ ละความเข้าใจอยา่ งถ่องแท้ ในเนอื้ หาสาระหลกั ของสาขาวิชาการบริหาร การศึกษา ตลอดจนหลักการและทฤษฎีทสี่ าคัญ และนามาประยุกตใ์ ช้ในการศึกษาคน้ คว้าทางวิชาการ หรือการปฏบิ ัติงาน ๒) มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการพัฒนาวิชาการสมัยใหม่ สามารถประยุกต์ใช้ร่วมกับวิชา พระพทุ ธศาสนาดา้ นการบริหารการศกึ ษาได้ ๓) มีความเข้าใจทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา สามารถ ประยกุ ต์หลักธรรมมาใชก้ ับแนวคดิ ในทางทฤษฎี ทางปฏิบัติ และการวจิ ยั ๔) สามารถพฒั นานวตั กรรมหรือสร้างองค์ความรูใ้ หม่ สร้างองค์ความรูจ้ ากงานวิจัยเพ่ือ เช่ือมโยง กับการพัฒนาองค์กร เพื่อตอบสนองความต้องการทางสังคมในด้านวิชาการพระพุทธศาสนาด้านการบริหาร การศกึ ษา ๓.๓ ดา้ นทักษะทางปญั ญา ผลการเรยี นรู้ ๑) สามารถใช้ความรู้ทางทฤษฎีและปฏิบัติในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ เพื่อการ พัฒนา และสรา้ งสรรค์องค์ความรู้ใหม่ทางพระพุทธศาสนาดา้ นการบรหิ ารการศึกษาอย่างเหมาะสม ๒) สามารถสืบค้นข้อมูลผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สงั เคราะห์ และนาไปใช้ประโยชนใ์ นการพฒั นาความคิดใหม่ๆ ได้ ๓) สามารถประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและองค์ความรู้ทางด้านพุทธศาสนาในการแก้ปัญหา หรือ พฒั นาการบรหิ ารงานได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์ได้ ๔) สามารถตดั สนิ ใจเรอื่ งทซ่ี ับซอ้ นทเ่ี กยี่ วกับการพฒั นาองค์ความรู้ใหม่ และสามารถ ผลิตผลงาน ทางวชิ าการและงานวจิ ัย ในระดับชาติ และนานาชาติได้ ๓.๔ ด้านทกั ษะความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคลและความรับผดิ ชอบ ผลการเรยี นรู้ ๑) มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง ในการพัฒนาความรู้ ของ ตนเอง องค์กร และสงั คม ๒) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช้ีนาองค์กร แก้ไขปัญหาท่ีมีความซับซ้อนด้วยตนเอง และ เปลี่ยนแปลงสังคมในทางท่เี หมาะสมได้ ๓) สามารถทางานเป็นทีม เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีปฏิสัมพันธ์ อย่าง สรา้ งสรรคก์ ับผรู้ ่วมงานได้

หลักสตู รครุศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศกึ ษา | ๓๐ ๔) แสดงภาวะความเป็นผู้นาในองค์กร บริหารการทางานเป็นทีมได้อย่างเหมาะสมตาม โอกาส และสถานการณ์ เพอ่ื เพ่ิมพูนประสทิ ธิภาพในการทางานของกลุ่ม ๕) สามารถตดั สินใจในการดาเนนิ งานดว้ ยตนเอง ประเมินตนเอง รวมทั้งวางแผน ปรบั ปรุงตนเอง และองค์กรไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ๓.๕ ด้านทกั ษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ผลการเรียนรู้ ๑) สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษา ค้นคว้า ปัญหา เชื่อมโยงประเด็นปัญหาที่สาคัญ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้าน พระพุทธศาสนาในเชงิ ลึกได้เป็นอยา่ งดี ๒) สามารถส่ือสารด้านการพูด การอา่ นการฟงั การเขยี นการนาเสนอ สื่อสารกับกลุ่ม บุคคลต่างๆ ทัง้ ในวงการวชิ าการวชิ าชีพและชุมชนได้อย่างเหมาะสม ๓) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการค้นคว้าข้อมูล เพื่อประกอบการศึกษาและการ ทา วทิ ยานิพนธ์ รวมทั้งการตดิ ต่อส่ือสาร ๓.๖ ดา้ นทกั ษะวิชาชีพ ผลการเรยี นรู้ ๑) สามารถพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษา การบริหารการศึกษา และการจัดการศึกษา รูปแบบ ต่างๆ โดยกาหนดนโยบาย แผน กลยุทธ์ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการทันสมัย และสอดคล้องกับความต้องการ ของสงั คม ๒) สามารถแสดงออกถึงความเป็นผู้นาทางวิชาการ เป็นผู้นาความรู้ ความคิด และนาองค์ความรู้ มาประยกุ ต์ใช้ในสังคมได้อยา่ งเหมาะสม ๓) สามารถนเิ ทศหรือแนะแนวการศกึ ษา เพอ่ื ให้เกดิ ความร้คู วามเข้าใจแก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง หรือผมู้ สี ว่ นเกี่ยวข้องให้เหน็ ความสาคญั ของการศกึ ษาที่จะเปน็ เคร่ืองมือพฒั นาคนในสังคม ๔) สามารถบริหารสถานศึกษา และบริหารการศึกษา และกากับติดตามการประกันคุณภาพ การศึกษา อีกทังส่งเสริม และประเมินสถานศึกษา นาผลการประกันคุณภาพการศึกษาไปใช้พัฒนาอย่างต่อเน่ือง และมั่นคง ๕) สามารถพัฒนาหลักสูตร ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้งานด้านวิชาการ การเรียนการ สอน และการสง่ เสริมทักษะของนักเรียนอย่างสอดคลอ้ งและมปี ระสิทธภิ าพ ๖) สามารถวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การประกันคุณภาพการศึกษาได้ถูกต้องตาม วัตถปุ ระสงค์ และข้ันตอนทางวชิ าการ สามารถนาไปบูรณาการจดั การศกึ ษาใหม้ ีประสิทธิภาพยิง่ ขึ้น ๗) เป็นผดู้ ารงตนอยใู่ นหลกั คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ สามารถเปน็ แบบอย่าง ด้านความประพฤติแก่ครู นักเรยี น และชมุ ชนได้

แผนทแี่ สดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นร้จู ากหลกั สูตรสูร่ ายวิชา (Curriculum Mapping)  ความรบั ผิดชอบหลกั  ความรับผดิ ชอบรอง แบบ ๑.๑ รายวิชา ๑.ดา้ นคุณธรรมและ ๒. ด้านความรู้ ๓. ดา้ นทักษะทางปญ้ ญา ๔. ดา้ นทกั ษะความสัมพนั ธ์ ๕. ดา้ นทกั ษะกา ๖. ดา้ นทักษะวิชาชพี จรยิ ธรรม ระหวา่ งบุคคลและความ วิเคราะห์ การ สื่อสาร และ ๓๔๕๖ รับผดิ ชอบ เทคโนโลยี    ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๑๒ ๗ มคอ.๒ หลักสตู รครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา | ๓๑   ๘๐๖ ๑๐๑ สัมมนาภาษาอังกฤษสาหรบั บริหารการศึกษา                        ๘๐๖ ๑๐๒ สัมมนาวิธวี ิจยั ทางการบริหารการศึกษา                           ๘๐๖ ๑๐๓ สมั มนากลยุทธ์การพฒั นาคณุ ภาพทางการบริหาการศึกษา                         เชิงพทุ ธ      ๘๐๖ ๑๐๔ สัมมนาการศกึ ษาคณะสงฆ์กบั การบริหารการศกึ ษาไทย                         ๘๐๖ ๒๐๕ สัมมนากรรมฐาน                       ๘๐๖ ๒๐๖ สมั มนาพทุ ธวิธกี ารบรหิ ารการศกึ ษา                      ๘๐๖ ๒๐๗ สมั มนาการบรหิ ารทรพั ยากรทางการการศึกษา                ๘๐๖ ๒๐๘ สมั มนาการบรหิ ารและการนาสถานศกึ ษาสู่ความสาเรจ็                       ๘๐๐ ๒๐๐ ดุษฎีนิพนธ์                      รวมท้ังหมด ๖๐ หน่วยกิต

แบบ ๒.๑ ๔. ดา้ นทักษะความสัมพันธ์ ๕. ด้านทักษะกา ระหว่างบุคคลและความ รายวิชา ๑.ด้านคุณธรรมและ ๒. ดา้ นความรู้ ๓. ด้านทักษะทางปญ้ ญา วเิ คราะห์ การ ๖. ดา้ นทักษะวิชาชพี จริยธรรม ๑๒๓๔ ๑๒๓๔ รบั ผิดชอบ สอื่ สาร และ วิชาบังคับไมน่ บั หน่วย ๓ รายวชิ า ๘๐๖ ๑๐๙ ภาษาอังกฤษสาหรับบรหิ ารการศึกษา ๑๒๓๔ ๑๒๓๔๕ เทคโนโลยี ๘๐๖ ๑๑๐ วิธวี ิจัยทางการบรหิ ารการศึกษา ๘๐๐ ๒๑๑ กรรมฐาน ๑ ๒ ๓ ๑๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ วชิ าบังคับ ๙ หน่วยกิต ๘๐๖ ๑๑๒ กลยุทธก์ ารพฒั นาคุณภาพทางการบรหิ ารการศึกษาเชิง                                พุทธ                      ๘๐๖ ๒๑๓ การศกึ ษาคณะสงฆก์ บั การบรหิ ารการศกึ ษาไทย ๘๐๖ ๒๑๔ พทุ ธวธิ กี ารบรหิ ารการศึกษา                 มคอ.๒ หลักสตู รครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา | ๓๒ วชิ าเอก ๙ หน่วยกติ                  ๘๐๖ ๒๑๕ การบริหารทรพั ยากรทางการบริหารการศึกษา                      ๘๐๖ ๒๑๖ การบรหิ ารและการนาสถานศกึ ษาสูค่ วามสาเร็จ ๘๐๖ ๓๑๗ ปฏิบตั ิการวิชาชพี ทางการบรหิ ารการศกึ ษา                 วิชาเลือก ๖ หน่วยกิต      ๘๐๖ ๓๑๘ การเปลยี่ นแปลงองค์กรทางการศกึ ษา                  ๘๐๖ ๓๑๙ การพัฒนาเคา้ โครงวิจยั ทางการบรหิ ารการศกึ ษา ๘๐๖ ๓๒๐ นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการบริหาร                         การศึกษา   ๘๐๖ ๓๒๑ ภาวะผนู้ าเพื่อการเรียนรู้              ดษุ ฎนี พิ นธ์ ๓๖ หน่วยกิต ๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนพิ นธ์        วชิ าปรับพนื้ ฐานสาหรับผไู้ มจ่ บบริหารการศึกษา ๒๑๐ ๒๐๓ นโยบายและหลกั บริหารการศึกษา                           ๒๑๐ ๒๐๔ การพฒั นาหลักสูตรและส่งเสริมคณุ ภาพการศึกษา             

มคอ.๒ หลักสูตรครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา | ๓๓ ๔. ความคาดหวงั ของผลลพั ธก์ ารเรยี นรูเ้ มือ่ สิน้ ปกี ารศึกษา จบการศึกษาช้นั ปที ี่ ๑ นิสิตมีความรู้และเข้าใจในหลักการบริหารการศึกษา การบริหารสถานศึกษา/หน่วยงานทางการศึกษา สามารถค้นคว้า วิจัย และพัฒนาวิชาชีพทางการบริหารสถานศึกษาและการบริหารการศึกษา อีกท้ังยังสามารถคิด วเิ คราะห์ สงั เคราะหอ์ ยา่ งเปน็ ระบบ สร้างสรรคอ์ งค์ความรใู้ หมๆ่ ทางการบรหิ ารการศึกษาได้ สามารถค้นคว้า สรรหา แก้ปัญหา พฒั นาและเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการหรอื งานวิจยั ในระดบั ชาติ และนานาชาติได้ จบปีการศึกษาชนั้ ปที ่ี ๒ นิสิตมีความเป็นผู้นาทางวิชาการ สามารถพัฒนาหลักสูตร พัฒนาการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล การเรียนรู้ กิจการและกิจกรรมนักเรียน รวมถึงการประกันคุณภาพการศึกษา และมีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์การ บริหารการศึกษาอย่างกว้างขวาง ลึกซึ้งสามารถบูรณาการกับหลักพุทธธรรมได้ตลอดจนสามารถพัฒนาต่อยอดองค์ ความรู้ สร้างนวัตกรรมและองคค์ วามรูจ้ ากงานวจิ ัยเพือ่ การพฒั นาองค์กรตอบสนองความต้องการทางสังคม จบปีการศกึ ษาชัน้ ปที ี่ ๓ เม่ือนสิ ติ สาเร็จการศกึ ษาแล้วสามารถอธิบายหลักการ แนวคิด ทฤษฎีการบริหารการศึกษา สามารถนาสู่การ ปฏิบัติ การวิจัย และการประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการบริหารการศึกษา และมีทักษะวิชาชีพทางด้าน บรหิ ารการศึกษาและบริหารสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษารูปแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ทันสมัย และสอดคล้องกับความตอ้ งการของสังคม และนาองคก์ รสคู่ วามเปน็ มอื อาชีพ

มคอ.๒ หลกั สตู รครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา | ๓๔ หมวดท่ี ๕ หลกั เกณฑใ์ นการประเมินผลนสิ ติ ๑. กฎระเบียบหรือหลกั เกณฑใ์ นการใหร้ ะดับคะแนน (เกรด) การให้คะแนน หรือ เกรดเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษา ระดบั บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ.๒๕๔๑ หรอื ขอ้ บังคบั ทป่ี ระกาศใหม่ ระดับ* ค่าระดับ เกณฑ์คะแนน วิชาเลอื ก วชิ าบงั คบั /วชิ าเอก A ๔.๐ ๙๕ – ๑๐๐ ๙๕ – ๑๐๐ A- ๓.๖๗ ๙๐ – ๙๔ ๙๐ – ๙๔ B+ ๓.๓๓ ๘๕ - ๘๙ ๘๕ - ๘๙ B ๓.๐๐ ๘๐ – ๘๔ ๘๐ – ๘๔ C+ ๒.๕๐ ๗๕ – ๗๙ ตา่ กว่า ๘๐ C ๒.๐๐ ๗๐ - ๗๔ F ๐ ต่ากวา่ ๗๐ *ถา้ เป็นรายวิชาที่ไม่นบั หน่วยกติ ให้แสดงผลการศึกษาในรายวิชานน้ั ด้วยสัญลักษณ์ ดงั น้ี สญั ลักษณ์ ผลการศกึ ษา S (Satisfactory) เปน็ ที่พอใจ U (Unsatisfactory) ไม่เป็นท่ีพอใจ ๒. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ิของนิสติ การกาหนดระบบและกลไกการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ เกิดข้ึนเพื่อแสดงหลักฐานยืนยันหรือ สนับสนุนว่านิสิตและดุษฎีบัณฑิตทุกคนมีมาตรฐานผลการเรียนรู้ทุกด้านเป็นไปตามท่ีกาหนดไ ว้ในมาตรฐานคุณวุฒิ เปน็ อยา่ งน้อย ๒.๑ กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนิสติ ขณะท่เี ปน็ นิสติ แต่งตั้งคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตโดยให้มีผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกสถาบัน มาเป็นคณะกรรมการร่วม และกาหนดให้เป็นเงื่อนไขในกระบวนการประกันคุณภาพทั้งภายในสถาบันและภายนอก สถาบัน สุ่มประเมินรายละเอียดของรายวิชาถึงผลการเรียนรู้ ประเมินถึงความสอดคล้องกับความรับผิดชอบใน หลักสูตร มีกระบวนการประเมินผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ิของนิสิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ แต่ละ รายวิชาโดยพิจารณาจากการสอบ ซึ่งผ่านเกณฑ์ตามมาตรฐานท่ีกาหนด (ร้อยละ ๗๕ ของแต่ละหมวดวิชา) การ ประเมินผลคุณภาพการวัดผลจากข้อสอบและรายงานการวิเคราะห์ข้อสอบและพิจารณาจากการทาวิทยานิพนธ์ของ นักศึกษาสาเร็จตามระยะเวลาท่ีกาหนด การสอบวทิ ยานิพนธ์โดยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ๒.๒ กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธ์ขิ องนิสติ หลังจากจบการศึกษา การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนิสิตสาเร็จการศึกษา เน้นการทาวิจัยสัมฤทธิผลของการ ประกอบอาชีพหรือทาการวิจัยอย่างต่อเนื่อง แล้วนาผลท่ีได้มาเป็นข้อมูลในการประเมินคุณภาพของหลักสูตร การ พัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร และกระบวนการเรียนการสอน โดยมีหัวข้อการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ ดังตอ่ ไปนี้ ๒.๒.๑ สภาวะการได้งานทาประเมินจากการได้งานทาระยะเวลาในการหางาน โดยทาการประเมิน จากดุษฎีบณั ฑิต แต่ละรนุ่ ทสี่ าเรจ็ การศกึ ษา

มคอ.๒ หลกั สตู รครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศกึ ษา | ๓๕ ๒.๒.๒ ตาแหนง่ งานและความกา้ วหนา้ ในสายงานของดุษฎีบณั ฑิต ๒.๒.๓ ความพึงพอใจของดุษฎีบัณฑิต ต่อความรู้ความสามารถท่ีได้เรียนรู้จากหลักสูตร ที่ใช้ในการ ประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อ พร้อมกับเปิดโอกาสให้มีการเสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ ยง่ิ ขึ้น ๒.๒.๔ ความพงึ พอใจของผู้ใช้ดุษฎีบัณฑิต หรือนายจ้าง พร้อมกับเปิดโอกาสให้มีข้อเสนอแนะต่อสิ่ง ท่ีคาดหวังหรือต้องการจากหลกั สูตรในการนาไปใชใ้ นการปฏิบตั ิงานในสถานประกอบการ ๒.๒.๕ ความพึงพอใจของสถาบันการศึกษาอ่ืน ซึ่งรับดุษฎีบัณฑิต ท่ีสาเร็จจากหลักสูตรเข้าศึกษา ต่อเพื่อปรญิ ญาทส่ี ูงข้ึน โดยประเมินทางดา้ นความรู้ ความพรอ้ ม และคุณสมบัติอน่ื ๆ ๒.๒.๖ ความเห็นและข้อเสนอแนะจากอาจารย์พิเศษและผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกต่อผลสัมฤทธ์ิทาง การศึกษาของดุษฎีบัณฑิต ท่ีสาเร็จการศึกษา กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้องค์ความรู้ และการปรับปรุงหลักสูตร ใหม้ คี วามเหมาะสมกับสถานการณ์ทางการศึกษา และสังคมในปจั จุบันมากยิง่ ขน้ึ ๒.๒.๗ ผลงานของนิสิตและวิทยานิพนธ์ทีส่ ามารถวดั เปน็ รูปธรรมได้ เช่น (๑) จานวนผลงานวจิ ัยท่ีเผยแพร่ (๒) จานวนสทิ ธบิ ตั ร (๓) จานวนกิจกรรมเพอื่ สงั คมและประเทศชาติ (๔) จานวนกิจกรรมอาสาสมคั รในองคก์ รทีท่ าประโยชนเ์ พื่อสงั คม (๕) จานวนรางวัล ผลงาน ประกาศเกยี รติคณุ ที่ได้รบั ระดับชาติและนานาชาติ ๓. เกณฑก์ ารสาเรจ็ การศึกษาของหลกั สตู ร แบบ ๑.๑ ๑. สอบผา่ นการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพ่ือเป็นผู้มีสิทธิขอทาดุษฎีนิพนธ์ เสนอดุษฎี นพิ นธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการท่ีบัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้ง ซึ่งจะต้องประกอบด้วย ผูท้ รงคุณวฒุ ิจากภายในและภายนอกสถาบนั และต้องเป็นระบบเปดิ ให้ผสู้ นใจเข้ารับฟังได้ ๒. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของผลงานดุษฎีนิพนธ์ของนักศึกษาจะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่าง น้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรอื่ ง หลักเกณฑก์ ารพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพรง่ านทางวิชาการ อยา่ งน้อย ๒ เรื่อง ๓. สอบผ่านภาษาอังกฤษ และเลือกสอบภาษาต่างประเทศอีก ๑ ภาษา คือ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเยอรมัน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีน หรือภาษาฝรั่งเศส นิสิตชาวต่างประเทศท่ีจบการศึกษาระดับปริญญาโทจาก สถาบนั การศึกษาในตา่ งประเทศ สามารถเลอื กภาษาไทยเปน็ ภาษาตา่ งประเทศได้ ๔. เกณฑ์อื่นๆ ต้องปฏบิ ตั กิ รรมฐานตามที่มหาวิทยาลยั กาหนด แบบ ๒.๑ ๑. ศึกกษารายวิชาครบถ้วนตามท่ีกาหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า ๓.๐๐ จาก ระบบ ๔ ระดับคะแนนหรอื เทยี บเท่า สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอ ทาดุษฎีนิพนธ์ เสนอดุษฎีนิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการท่ีสถาบันอุดมศึกษาน้ัน แต่งตง้ั ซึง่ จะต้องประกอบดว้ ยผทู้ รงคุณวฒุ จิ ากภายในและภายนอกสถาบนั และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟัง ได้ ๒. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหน่ึงของผลงานดุษฎีนิพนธ์ของนักศึกษาจะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่าง น้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการอุ ดมศึกษา เรือ่ ง หลักเกณฑก์ ารพจิ ารณาวารสารทางวิชาการสาหรบั การเผยแพรง่ านทางวิชาการ

มคอ.๒ หลักสูตรครศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศกึ ษา | ๓๖ ๔. สอบผ่านภาษาอังกฤษ และเลือกสอบภาษาต่างประเทศอีก ๑ ภาษา คือ ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเยอรมัน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีน หรือภาษาฝร่ังเศส นิสิตชาวต่างประเทศที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทจาก สถาบนั การศกึ ษาในตา่ งประเทศ สามารถเลือกภาษาไทยเปน็ ภาษาต่างประเทศได้ ๕. เกณฑ์อื่นๆ ต้องปฏิบตั กิ รรมฐานตามที่มหาวิทยาลยั กาหนด

มคอ.๒ หลกั สตู รครศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา | ๓๗ หมวดท่ี ๖ การพฒั นาคณาจารย์ ๑. การเตรยี มการสาหรบั อาจารยใ์ หม่ จัดให้มีการปฐมนิเทศแนะแนวอาจารย์ใหม่ ให้มีความรู้และเข้าใจนโยบายของสถาบันอุดมศึกษา คณะและ หลกั สตู รท่สี อน โดยสาระประกอบด้วย - บทบาทหน้าทขี่ องอาจารยใ์ นพนั ธกจิ ของสถาบนั - สทิ ธผิ ลประโยชนข์ องอาจารย์และกฎระเบยี บต่างๆ - หลักสูตรการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมต่างๆ ของสาขาวิชาฯ และมีอาจารย์อาวุโสเป็น อาจารยพ์ ีเ่ ล้ียงโดยมีหน้าท่ีให้คาแนะนาและการปรึกษาเพ่ือเรียนรู้และปรับตัวเองเข้าสู่การเป็นอาจารย์ในสาขาวิชาฯ มีการนิเทศการสอนท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่ต้องสอน และมีการประเมินและติดตามความก้าวหน้าในการ ปฏิบัตงิ านของอาจารย์ใหม่ ๒. การพฒั นาความรูแ้ ละทักษะใหแ้ ก่คณาจารย์ ๒.๑ การพัฒนาทกั ษะการจดั การเรียนการสอน การวดั และการประเมนิ ผล - ส่งเสริมให้อาจารย์ได้เข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาตนเองด้านการจัดการเรียนการสอน การวัดและ การประเมนิ ผล เพื่อเพ่มิ พูนทกั ษะการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลใหท้ นั สมยั - ส่งเสริมให้อาจาย์ได้มีโอกาสในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการจัดการเรียนการสอน ระหว่างอาจารย์ในหลักสูตร หรือการทาวิจัยการเรียนการสอนท่ีสามารถนาไปเผยแพร่ในการประชุมวิชาการที่มี จดั การเรียนการสอนในสาขาวิชาเดียวกนั ของหลายๆ สถาบัน ๒.๒ การพัฒนาวชิ าการและวิชาชีพดา้ นอน่ื ๆ - ส่งเสริมให้อาจารย์ได้มีการเพ่ิมพูนความรู้ สร้างสมประสบการณ์ในงานที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาท่ี รับผิดชอบ เพ่ือส่งเสริมการสอนและการวิจัยอย่างต่อเนื่องท้ังอาจารย์เก่าและอาจารย์ใหม่ โดยการสนับสนุนการ ฝกึ อบรม ดูงานทางวิชาการ และวิชาชีพในองค์กรต่างๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศ และต่างประเทศ เพ่ือ เพมิ่ พูนความรูแ้ ละประสบการณใ์ นวิชาชพี - ส่งเสริมให้อาจารย์ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่ชุมชนท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนา ความรแู้ ละคณุ ธรรม - ส่งเสริมใหอ้ าจารยพ์ ฒั นาและผลติ ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ และการนาเสนอผลงานใน การประชมุ วิชาการ และสง่ เสรมิ การทาวจิ ยั ทส่ี ร้างองคค์ วามรู้ใหมเ่ พ่ือนาไปพัฒนาการเรียนการสอนและเสริมสร้างให้ อาจารย์มคี วามเช่ียวชาญในสาขาวชิ าชีพ

มคอ.๒ หลักสตู รครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศกึ ษา | ๓๘ หมวดที่ ๗ การประกนั คุณภาพหลกั สูตร ๑. การกากบั มาตรฐานหลักสูตร การบริหารจัดการหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่ประกาศใช้และเป็นไปตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาตหิ รือมาตรฐานคณุ วุฒสิ าขาวิชา โดยมีกระบวนการดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ให้เป็นไปตามเกณฑ์และมีคุณสมบัติ ผลงานวิทางชาการ เป็นไปตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ และเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ระดับบัณฑิตศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยทาหน้าท่ีในการบริหารและพัฒนาหลักสูตร และการเรียนการสอน ต้ังแต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผล ติดตามประเมินผลและการ พฒั นาหลักสตู รตลอดระยะเวลาทจี่ ัดการศกึ ษา และมหี นา้ ทใี่ นการเปน็ อาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์และ/หรืออาจารย์ ผสู้ อบดุษฎนี พิ นธ์ และ/หรืออาจารยผ์ ู้สอน ๒. มีอาจารย์ประจาหลักสูตร ให้เป็นไปตามเกณฑ์และมีคุณสมบัติ ผลงานวิทางชาการ เป็นไปตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ และเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บณั ฑิตศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๘ ทาหน้าที่รับผิดชอบตามพันธกิจของการอุดมศึกษาและ ปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา มีหน้าที่ในการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์และ/หรืออาจารย์ผู้สอบดุษฎีนิพนธ์ และ/หรือ อาจารยผ์ ูส้ อน ๓. มีการควบคุมภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑติ ศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ.๒๕๕๘ ๔. ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหน่ึงของดุษฎีนิพนธ์ของผู้สาเร็จการศึกษาได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อย ได้รบั การยอมรับใหต้ ีพิมพใ์ นวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน หลกั สตู รระดบั บัณฑิตศึกษา ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ.๒๕๕๘ ๕. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร ซ่ึงมีคุณสมบัติเป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เพอ่ื รับผดิ ชอบในการวางแผนปรับปรงุ พัฒนาหลักสตู รอย่างตอ่ เน่ืองทุกๆ ๕ ปี ๖. มีการประเมินหลกั สูตรตามรอบระยะเวลาท่กี าหนด โดยมีการวางแผน มีการประเมินและรายงานผลการ ดาเนินงานของหลักสูตรทุกปีการศึกษา (มคอ.๗) และนาข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรเป็นระยะๆ อย่างน้อย ทุกรอบ ๕ ปี ๗. มีผลการดาเนินการบรรลุตามเป้าหมายตัวบ่งชี้ท่ี ๑ - ๕ และมีผลการดาเนินการบรรลุเป้าหมายตัวบ่งชี้ อยา่ งน้อยรอ้ ยละ ๘๐ ของทั้งหมดอยใู่ นเกณฑ์ดตี ่อเน่ือง ๒ ปกี ารศึกษาก่อนการรบั รอง ๒. บัณฑติ ๑. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต เพ่ือวัดผลและควบคุมคุณภาพบัณฑิตให้เป็นไปตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ ๒. มีการพัฒนาและส่งเสริม ควบคุมและติดตามให้ผลงานนิสิตและผู้สาเร็จการศึกษาได้รับการตีพิมพ์ หรือ เผยแพร่ผลงานวิชาการในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติท่ีมีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาวารสารทางวิชาการสาหรบั การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ

มคอ.๒ หลักสตู รครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา | ๓๙ ๓. นสิ ติ ๑. มกี ารกาหนดคณุ สมบัตขิ องผ้เู ขา้ ศึกษาให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘ และมีการวางแผนกระบวนการรับนิสิตอย่างมีระบบ มีกลไก นาไปสู่การปฏิบัติและ จัดให้มีการวัดผลประเมินผลเพ่ือติดตามและนามาปรับปรุงแก้ไขพัฒนาคุณภาพกระบวนการรับนิสิต โดยกาหนด คุณสมบัติของนิสิตให้สอดคล้องกับลักษณะธรรมชาติของหลักสูตร เกณฑ์ในการคัดเลือกมีความโปรงใส ชัดเจน มเี คร่อื งมอื ในการคดั เลอื กนิสิตท่มี ีความพร้อมสามารถสาเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาทหี่ ลักสูตรกาหนด ๒. สาหรับนิสิตที่มีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ท่ีกาหนดในการประกาศรับ หลักสูตรมีกระบวนการใน การเตรียมความพร้อมให้กับนิสิตก่อนเข้าศึกษา อย่างมีระบบ มีกลไก นาไปสู่การปฏิบัติและมีการประเมินผลติดตาม เพื่อนามาพัฒนาปรับปรุงแก้ไขกระบวนการเตรียมความพร้อมให้นิสิตก่อนเข้าการศึกษาหรือได้รับการพัฒนาจนมี คณุ สมบัตคิ รบผ่านเกณฑ์ขั้นตา่ เพื่อให้สามารถเรยี นในหลกั สูตรไดจ้ นสาเรจ็ การศกึ ษา ๓. มกี ระบวนการในการส่งเสรมิ และพัฒนานสิ ิต มีการวางแผนการดาเนนิ งานอย่างเป็นระบบมีกลไกท่ีนาไปสู่ การปฏิบัติและมีการประเมินผลเพื่อนามาปรับปรุงและพัฒนา โดยการจัดกิจกรรมการพัฒนาความรู้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งกิจกรรมในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีกิจกรรมเสริมสร้างความเปน็ พลเมืองท่ีดมี ีจิตสานึกสาธารณะ ๔. มกี ระบวนการในการดูแลให้คาปรึกษาจากอาจารย์ท่ีปรึกษาวิชาการ และมีการวางระบบการป้องกันหรือ การบริหารจัดการความเสย่ี งของนสิ ติ เพอื่ ใหน้ ิสติ สามารถสาเร็จการศกึ ษาได้ตามระยะเวลาทหี่ ลักสูตรกาหนด ๕. มีการรกั ษาอตั ราความคงอยู่ อัตราความสาเร็จการศึกษา โดยการควบคุมติดตามและประเมินผลความพึง พอใจของนิสิตต่อการหลักสูตร และมีการจัดรายงานผลการจัดการข้อร้องเรียนของนิสิต เพื่อนามาพัฒนาคุณภาพ หลกั สูตร ๔. อาจารย์ หลักสูตรมีกระบวนการบริหารและพัฒนาอาจารย์ ต้ังแต่ระบบการรับอาจารย์ใหม่ การคัดเลือกอาจารย์ โดยให้ความสาคัญกับคุณสมบัติความรู้ ความเช่ียวชาญทางด้านสันติศึกษา และความมุ่งมั่นในการผลิตผลงานทาง วิชาการ โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี ๑. การรบั อาจารยใ์ หม่ มีการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ซึ่งต้องมีคุณสมบัติเป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐาน คุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ และตามระเบียบและหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย และต้องสอบผ่าน ภาษาองั กฤษตามเกณฑท์ ่ีมหาวิทยาลยั กาหนด ๒. การบริหารอาจารย์ หลักสูตรมีการกาหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรอย่างชัดเจน โดยมอบหมายภาระงานตามความเหมาะสมกับคุณวุฒิ ความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ ส่งเสริมจูงใจ สนับสนุนในการพัฒนาผลงานทางวิชาการ มีระบบยกย่องและธารงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้อัตราการคงอยู่ ของอาจารย์อยู่ในระดบั สูง และมกี ารประเมนิ คะแนนความพงึ พอใจของอาจารย์ อาจารย์ผ้รู บั ผดิ ชอบหลักสูตรและผู้สอน จะต้องประชุมร่วมกันในการวางแผนจัดการเรียนการสอน การ ประเมินผลและให้ความเห็นชอบการประเมินผลทุกรายวิชา เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อเตรียมไว้สาหรับการปรับปรุง หลกั สตู ร ตลอดจนปรกึ ษาหารอื แนวทางทจ่ี ะทาใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายตามหลักสูตร และได้บัณฑิตเป็นไปตามคุณลักษณะ บัณฑติ ท่ีพงึ ประสงค์

มคอ.๒ หลกั สูตรครศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา | ๔๐ ๓. การส่งเสรมิ และพฒั นาอาจารย์ หลักสูตรสนับสนุนให้อาจารย์ทุกรูป/คน ได้รับการพัฒนาด้านวิชาการหรือวิชาชีพ ส่งเสริมให้อาจารย์ พัฒนาตนเองในการสร้างผลงานทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง โดยอาจารย์ทุกท่านจะต้องผลิตผลงานทางวิชาการให้ได้ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๕. หลักสูตร การเรยี นการสอน การประเมินผูเ้ รียน ๑. มีกระบวนการในการวางแผนควบคุมกากับสาระของรายวิชาในหลักสูตร อย่างมีระบบ มีกลไก ที่นาไปสู่ การปฏิบัติและการติดตามประเมินผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา ในการการจัดทารายวิชาต่างๆ ให้มีเนื้อหาท่ี ทนั สมัย มีความกา้ วหน้าก้าวทนั วทิ ยาการทเี่ ปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยมีการบริหารจัดการเปิดรายวิชาต่างๆ ทั้งวิชา บงั คับและวิชาเลือก ท่เี น้นนสิ ิตเปน็ สาคัญ สามารถตอบสนองความตอ้ งการของนิสิตและตลาดแรงงาน ๒. มีกระบวนการในการควบคุมกากับมาตรฐานของหัวข้อดุษฎีนิพนธ์ที่เน้นความสามารถในการใช้การวิจัย เพื่อสรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่หรอื การนาไปใช้ในการดาเนินชีวติ และการพัฒนาสงั คม ๓. มีกระบวนการในการวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน อย่างมีระบบ มีกลไกในการ นาไปสู่การปฏิบัติและการประเมินผลเพื่อปรับปรุงและพัฒนา โดยมีการพิจารณากาหนดผู้สอนในแต่ละรายวิชาท่ีมี ความรู้ความสามารถและมีความเช่ียวชาญในวิชาท่ีสอน และมีการกากับติดตามอาจารย์ในการจัดทา มคอ. ๓ และ มคอ.๔ ๔. มกี ารกาหนดเกณฑ์ในการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรกึ ษาดษุ ฎนี พิ นธ์ทีม่ ีความเหมาะสมกบั หวั ขอ้ ดุษฎีนิพนธ์ และ มกี ระบวนการในการตดิ ตามกากับควบคมุ การใหค้ วามช่วยเหลือในการทาดุษฎีนิพนธ์ ต้ังแต่กระบวนการพัฒนาหัวข้อ จนถงึ การทาดษุ ฎีนิพนธ์ การสอบป้องกัน และการเผยแพร่ผลงานวจิ ัยจนสาเร็จการศกึ ษา ๕. มีกระบวนการในประเมินผู้เรียนที่มีระบบ มีกลไกท่ีนาไปสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผลเพื่อการ ปรับปรุงและพัฒนา ในการติดตามการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มีการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนิสิต การกากับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและประเ มิน หลักสูตร (มคอ.๓ มคอ.๕ มคอ.๗) และมกี ารวางระบบการประเมินดุษฎนี ิพนธ์ทม่ี ีคณุ ภาพ ๖. มกี ารวดั ผลและรายงานผลการดาเนนิ งานหลกั สตู รตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ ๖. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ มกี ระบวนการในการจัดการความพร้อมของส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ท่ีมีระบบ มีกลไกที่นาไปสู่การปฏิบัติและ การตดิ ตามประเมนิ ผลเพ่ือการปรับปรุงและพัฒนา ส่ิงสนับสนุนการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย ความพร้อมทางกายภาพ เช่น ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องทาวิจัย อุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด การบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มี การบริการอินเตอร์เน็ต เพียงพอและทั่วถึงตามความต้องการของนิสิต ท่ีส่งเสริมสนับสนุนให้นิสิตสามารถเรียนรู้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กาหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ โดยพิจารณาการดาเนินการปรับปรุงพัฒนาจากผลการประเมินความพึงพอใจของนิสิตและอาจารย์ต่อส่ิง สนับสนนุ การเรยี นรทู้ เ่ี พยี งพอและมคี วามเหมาะสมต่อการจัดการเรยี นการสอน

มคอ.๒ หลกั สูตรครศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาพุทธบรหิ ารการศกึ ษา | ๔๑ ๗. ตวั บง่ ชี้ผลการดาเนนิ งาน ผลการดาเนินการบรรลุตามเป้าหมายตัวบ่งช้ีท้ังหมดอยู่ในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง ๒ ปีการศีกษา เพ่ือติดตามการ ดาเนนิ การตาม TQF ต่อไป ทงั้ นี้ เกณฑก์ ารประเมนิ ผา่ น คือ มีการดาเนินงานตามข้อ ๑-๕ และอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ ของตวั บ่งชผี้ ลการดาเนินงานท่รี ะบไุ ว้ในแต่ละปี ที่ ดัชนบี ง่ ชีผ้ ลการดาเนนิ งาน ปีท่ี ปีท่ี ปที ่ี ปีที่ ปีท่ี ๑๒๓๔๕ ๑ อาจารย์ประจาหลักสูตรอยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ ๘๐ มีสว่ นร่วมในการประชุม เพื่อวางแผน ติดตาม x x x x x และทบทวนการดาเนนิ การของหลักสูตร ๒ มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๒ ท่ีสอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน x x x x x คณุ วฒุ แิ ห่งชาติ และ/หรือ มาตรฐานคณุ วุฒิสาขา ๓ มีรายละเอียดของรายวิชา ตามแบบมคอ.๓ (มี มคอ.๔ รายละเอียดของ x x x x x ประสบการณ์ภาคสนาม) อย่างน้อยก่อนเปิดการสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ ครบทกุ รายวิชา ๔ จดั ทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ามี) x x x x x ตามแบบ มคอ.๕ และ ๖ ภายใน ๓๐ วันหลังส้ินสุดภาคการศึกษาท่ีเปิดสอนให้ ครบทุกรายวิชา ๕ จดั ทารายงานการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๗ ภายใน ๖๐ วันหลัง x x x x x สนิ้ สดุ ปีการศกึ ษา ๖ มกี ารทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิของนิสติ ตามมาตรฐานผลการเรียนรทู้ ่ีกาหนดใน มคอ.๓ x x x x x อย่างนอ้ ยรอ้ ยละ ๒๕ ของรายวชิ า ท่เี ปดิ สอนในแตล่ ะปีการศกึ ษา ๗ มีการพัฒนาและปรับปรงุ การเรยี นการสอน กลยุทธก์ ารสอน หรือประเมินผลการ - x x x x เรยี นรู้ จากผลการประเมนิ การดาเนินงาน ทร่ี ายงานใน มอค. ๗ ปีที่แล้ว ๘ อาจารย์ใหม่ทุกคน (ถา้ มี) ได้รับการปฐมนเิ ทศหรอื แนะนาด้านการเรียนการสอน x x x x x ๙ อาจารย์ทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือ วิชาชีพอย่างน้อยปีละ ๑ x x x x x ครง้ั ๑๐ จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/ x x x x x หรอื วิชาชพี อยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ ๕๐ ต่อปี ๑๑ ระดับความพึงพอใจของนิสิตปีสุดท้าย/ดุษฎีบัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร - - x x x เฉล่ยี ไมน่ ้อยกวา่ ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕.๐ ๑๒ ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ดุษฎีบัณฑิตต่อดุษฎีบัณฑิตใหม่เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕ - - - x x จากคะแนนเตม็ ๕.๐

มคอ.๒ หลกั สูตรครศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑติ สาขาวิชาพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา | ๔๒ หมวดท่ี ๘ การประเมินและปรับปรงุ การดาเนินการของหลกั สูตร ๑. การประเมินประสิทธผิ ลของการสอน ๑.๑ การประเมินกลยทุ ธ์การสอน การตรวจสอบการวางแผนการสอนตลอดภาคการศึกษาของแต่ละรายวิชาตามที่หลักสูตรกาหนด โดยมี กระบวนการที่จะใชใ้ นการประเมนิ และปรบั ปรุงยทุ ธศาสตร์ทว่ี างแผนไว้เพื่อพัฒนาการเรยี นการสอนน้ัน พิจารณาจาก ตัวผู้เรียน โดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องประเมินผู้เรียนในทุกๆหัวข้อว่ามีความเข้าใจหรือไม่ โดยอาจประเมินจากการ ทดสอบย่อย การสังเกตพฤติกรรมของนิสิตการอภิปรายโต้ตอบจากนิสิตการตอบคาถามของนิสิตในชั้นเรียนซึ่งเมื่อ รวบรวมข้อมลู จากท่กี ล่าวข้างต้นแล้วก็ควรจะสามารถประเมินเบ้ืองต้นได้ว่า ผู้เรียนมีความเข้าใจหรือไม่หากวิธีการท่ี ใช้ไมส่ ามารถทาให้ผ้เู รยี นเขา้ ใจได้กจ็ ะต้องมีการปรับเปล่ยี นวธิ ีสอน การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียนจะ สามารถชี้ได้ว่าผู้เรียนมีความเข้าใจหรือไม่ในเน้ือหาที่ได้บรรยายไปหากพบว่ามีปัญหาก็จะต้องมีการดาเนินการวิจัย เพือ่ พัฒนาการเรยี นการสอนในโอกาสต่อไป ๑.๒ การประเมินทกั ษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธก์ ารสอน ๑) การประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา เช่น กลวิธีการสอน การตรงต่อเวลา การช้ีแจงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ของรายวิชา เกณฑ์การวัดและประเมินผลและการใช้ส่ือการสอน ทุกส้ินภาค การศกึ ษา ตามระบบของมหาวิทยาลยั ๒) การประเมนิ การสอนของอาจารยโ์ ดยประธานหลักสูตร หรือเพ่ือนร่วมงานตามระบบการประเมินผล การปฏิบัตงิ านประจาปีของอาจารย/์ พนกั งานสายผู้สอน ๒. การประเมินหลักสตู รในภาพรวม ๒.๑ ประเมินจากนสิ ิตและศิษยเ์ กา่ ประเมินหลักสูตรจากนิสิตและศิษย์เก่า โดยติดตามผลการนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจาก การศกึ ษาในหลักสตู รไปใช้ในการทางาน หรืออาจจะจัดประชมุ ศษิ ย์เกา่ ตามโอกาสที่เหมาะสม ๒.๒ ประเมนิ จากนายจา้ งหรือสถานประกอบการ ดาเนนิ การโดยการสมั ภาษณ์จากสถานประกอบการ หรอื ใช้วิธีการสง่ แบบสอบถามไปยงั ผู้ใช้ดุษฎบี ัณฑิต ๒.๓ ประเมินโดยผูท้ รงคณุ วุฒิหรอื ท่ปี รกึ ษา ดาเนินการโดยเชญิ ผ้ทู รงคณุ วุฒิมาให้ความเหน็ หรอื จากข้อมลู ในรายงานผลการดาเนินงานหลักสูตรหรือ จากรายงานของการประเมนิ ผลการประกนั คุณภาพภายใน ๓. การประเมนิ ผลการดาเนินงานตามท่กี าหนดในรายละเอียดหลกั สตู ร ให้ประเมนิ ตามตวั บง่ ชผี้ ลการดาเนินงานที่ระบุไว้ในหมวด ๗ ข้อ ๗ โดยคณะกรรมการประเมิน อย่างน้อย ๓ คนซ่งึ ต้องประกอบดว้ ยผทู้ รงคุณวุฒใิ นสาขาวิชาเดยี วกันอย่างน้อย ๑ คน (ควรเป็นคณะกรรมการประเมินชุดเดียวกับ การประกันคุณภาพภายใน) ๔. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรบั ปรงุ ๔.๑ อาจารย์ประจาวิชา อาจารย์ผู้สอน นาผลการประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา ผู้บังคับบัญชา และ/หรือเพื่อนร่วมงาน แล้วแต่กรณี มาปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาท่ีตน รบั ผดิ ชอบ ๔.๒ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นาผลประเมินตามระบบการจัดการหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ซ่ึง ดาเนินการทุกสิ้นปีการศึกษามาทบทวนและวิเคราะห์ พร้อมนาเสนอแนวทางปรับปรุงแก้ไขในจุดที่มีข้อบกพร่อง สาหรับปกี ารศกึ ษาถดั ไป

มคอ.๒ หลกั สูตรครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา | ๔๓ ๔.๓ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นาผลประเมินภาพรวมของหลักสูตรโดยนักศึกษาปัจจุบันและอาจารย์ โดยศิษย์เก่า และโดยผู้ใช้บัณฑิต เพ่ือทบทวนและพิจารณาในการนาไปแก้ไขปรับปรุงหลักสูตร ตามรอบระยะเวลาท่ี กาหนดในระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลัย

มคอ.๒ หลักสตู รครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบริหารการศกึ ษา | ๔๔ ภาคผนวก

มคอ.๒ หลักสตู รครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา | ๔๕ ภาคผนวก ก คาอธิบายรายวิชาหลกั สตู รครศุ าสตรดษุ ฎีบัณฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศึกษา

มคอ.๒ หลกั สตู รครศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา | ๔๖ คาอธบิ ายรายวิชาหลักสตู รครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพุทธบริหารการศกึ ษา (หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๒) -------------------- ๑. หมวดวชิ าบงั คับ ๑.๑ วิชาบังคับ : ไมน่ บั หนว่ ยกิต ๑.๑.๑ วิชาบังคบั : ไม่นบั หนว่ ยกิต ๘ รายวิชา (แบบ ๑.๑) Compulsory Course (Non-credit) ๘ subjects (Plan 1.1) ๘๐๖ ๑๐๑ สัมมนาภาษาอังกฤษสาหรบั บรหิ ารการศึกษา (๓) (๓-๐-๖) (Seminar on Professional English for Educational Administration) สัมมนาการส่งเสริมและพัฒนาทักษะชั้นสูงและกลวิธีในการอ่าน การเขียน การตีความ ภาษาอังกฤษ การนาเสนอ ผลงานทางวชิ าการ การเขยี นบทความตารา และการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ด้านการศกึ ษากบั นักวชิ าการตา่ งชาติ Seminar enhancement and development of advanced skills and techniques in English reading, writing and interpreting, academic work presentation, academic article and text writing and educational skills exchange with international academics ๘๐๖ ๑๐๒ สมั มนาวธิ วี ิจยั ทางการบรหิ ารการศึกษา (๓) (๓-๐-๖) (Seminar on Research Methodology in Educational Administration) สมั มนาการแสวงหาความรแู้ ละการสร้างองค์ความรใู้ หมด่ ว้ ยวธิ กี ารวิจัย กระบวนการดาเนินการวิจัยเชิง นโยบาย การวิจัยอนาคต การวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิจัยและพัฒนา การพัฒนาตัวบ่งชี้ การสร้างโมเดลสมการ โครงสร้าง การวิจัยการประเมิน การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานการวิจัย การเขียนบทความและนาเสนอ ผลการวิจยั บรู ณาการพทุ ธธรรมกบั การวจิ ยั ซึง่ ใชว้ ิจยั เป็นฐานในการสมั มนา Seminar knowledge searching and building a new body of knowledge through research, policy research methodology, research for the future, action research, research and development, indicator development, model building, equation structure, assessment research, data analysis, research report writing, research article writing and presentation, integration of Buddha-dhamma in research as a research based seminar implementation. ๘๐๖ ๑๐๓ สัมมนากลยทุ ธก์ ารพฒั นาคุณภาพทางการบรหิ ารการศกึ ษาเชงิ พุทธ (๓)(๓-๐-๖) (Seminar on Strategies in Buddhist Educational Administration Quality Development) สัมมนาแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารองค์กรทางการศึกษา การจัดการเชิงกลยุทธ์ กระบวนการจัดการ เชิงกลยุทธ์และกลยุทธ์ท่ีสาคัญ การนากลยุทธ์การบริหารการศึกษาสู่การปฏิบัติ การกาหนดทิศทางการบริหาร การศกึ ษา การประยุกต์แนวคิดเก่ียวกบั การบริหารองค์กรสมัยใหม่สู่การบริหารองค์กรทางการศึกษาให้เท่าทันกันการ เปลี่ยนแปลงของโลกและสังคม และการบูรณาการการบริหารการศึกษาด้วยกลยุทธ์ให้มีคุณภาพตามหลักพุทธธรรม ซึ่งใชว้ จิ ัยเปน็ ฐานในการสมั มนา Seminar concept in educational organization administration, strategic administration, significant strategic administration and strategy, putting educational administration strategy into practice,

มคอ.๒ หลกั สูตรครศุ าสตรดุษฎีบณั ฑติ สาขาวชิ าพทุ ธบรหิ ารการศกึ ษา | ๔๗ educational administration directing, application of modern organization administration concept in educational organization administration, changing the world and society and integration of Buddha- dhamma in strategy of Buddhist educational administration quality development as a research based seminar implementation. ๘๐๖ ๑๐๔ สัมมนาการศกึ ษาคณะสงฆ์กบั การบริหารการศึกษา (๓) (๓-๐-๖) (Seminar on Sangha Education and Education Administration) สัมมนาระบบและวิธีจัดการศึกษาในพระพุทธศาสนาสมัยพุทธกาล การสังคายนาพระไตรปิฎก ตาราวิชาการ ทางพระพุทธศาสนา กาเนิดมหาวิทยาลัยในพระพุทธศาสนา ระบบการศึกษาของคณะสงฆ์นานาชาติ ระบบการศึกษา ของคณะสงฆ์ไทย มหาวิทยาลยั สงฆ์กับการบริหารศึกษาโลก คณะสงฆ์กับการวิจัยทางการบริหารการศึกษา ใช้วิจัยเป็นฐานในการ สมั มนา Seminar educational system and management in Buddhism in the Buddha’s time, the Tipitaka Rehearsal, Buddhist academic texts, the establishment of Buddhist universities, international Sangha’s education system, Sangha’s education system in Thailand, Buddhist universities and world educational administration, Sangha and educational administration research as a research based seminar implementation. ๘๐๖ ๒๐๕ สัมมนากรรมฐาน (๓)(๒-๒-๕) (Seminar on Meditation) สัมมนาความเป็นมาของสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน การกาเนิดและองค์ประกอบของชีวิต มนุษย์ การปฏบิ ตั ิตามทางสายกลางวิธีการปฏิบัติกรรมฐาน การปฏิบัติตามหลักสติปัฏฐาน สานักกรรมฐานสายต่างๆ การบริหารจิตและเจริญสติในชีวิตประจาวัน และแนวโน้มการบริหารจิตและเจริญสติในสังคมโลก ซึ่งใช้วิจัยเป็นฐาน ในการสัมมนา Seminar background of Concentration meditation and insight meditation, origin and factors of human life, the practice in the middle path, meditation practice method, the practice in the Four Foundations of Mindfulness, meditation centers, mental development and mental control in daily life, the trends of mental development and mindfulness development worldwide as a research based seminar implementation. ๘๐๖ ๒๐๖ สัมมนาพทุ ธวิธกี ารบรหิ ารการศกึ ษา (๓)(๓-๐-๖) (Seminar on Buddha’s Education Administration Method) สัมมนาการศึกษาวิเคราะห์สังเคราะห์ พุทธวิธีการบริหารการศึกษาตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และการวิเคราะห์แนวนโยบายและแผนการศึกษา ภาวะผู้นาทางการศึกษา การบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา การบรหิ ารองค์กรทางการศึกษา การบริหารกิจกรรมเสริมหลักสูตรและกิจกรรมนักเรียนให้เกิดการพัฒนาทักษะชีวิต การดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้รู้จักการจัดการและคิดเป็น ความเป็นครูและเทคนิคการสอน หลักการพัฒนาการเรียนรู้ ของผู้เรียน การส่งเสริมการเรียนรู้ หลักการบริหารชุมชนสัมพันธ์ และการวัดประเมินผลการเรียนรู้ การบูรณาการ หลกั พุทธธรรมกับการบรหิ ารการศกึ ษา ซึง่ ใช้วิจยั เป็นฐานในการสัมมนา Seminar a study synthesis analysis the Buddha’s educational administration method according to Buddhist principles and analysis educational policy and plan, educational leadership, academic administration in educational institution, educational organization administration,


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook