Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

20

Published by pramahabancha, 2018-07-04 00:05:17

Description: 20

Search

Read the Text Version

ข้อ ๕ การนัดประชุมมหาเถรสมาคม ต้องออกหนังสือนัดล่วงหน้าไม่น้อยกว่า ๓ วันหากเปน็ การด่วน จะนดั เรว็ กว่าน้ี หรอื นดั โดยวิธอี ่ืนก็ได้ ข้อ ๖ การนัดประชุมมหาเถรสมาคม ให้ส่งระเบียบวาระการประชุมด้วย เว้นแต่เป็นการด่วน ข้อ ๗ การตัง้ ระเบยี บวาระการประชุม โดยปกตใิ ห้ตัง้ ตามลาดับ ดงั นี้ (๑) รบั รองรายงานการประชุม (๒) เรือ่ งดว่ น (๓) เร่ืองอ่นื ๆ ข้อ ๘ เม่ือประธานมีเรื่องที่จะแจ้งให้ท่ีประชุมทราบ ก่อนเริ่มปรึกษาตามระเบียบวาระกใ็ ห้แจ้งต่อท่ีประชมุ แลว้ ดาเนินการประชมุ ตามระเบียบวาระ เว้นแต่ท่ีประชุมจะตกลงเป็นอย่างอื่นในคราวน้นั ข้อ ๙ ในการประชุมมหาเถรสมาคม ให้เลขาธิการมหาเถรสมาคมทารายงานการประชุม และเมื่อท่ีประชุมกรรมการมหาเถรสมาคม หรือกรรมการมหาเถรสมาคมที่ได้เข้าประชุมในครัง้ น้นั ทกุ รปู ได้รบั รองแล้ว ให้ประธานกรรมการมหาเถรสมาคมลงนามไวเ้ ป็นสาคัญ ข้อ ๑๐ เม่ือมีปัญหาเกี่ยวกับการประชุมมหาเถรสมาคม ซึ่งมิได้กาหนดไว้ในกฎมหาเถรสมาคมนี้ ใหป้ ฏบิ ัตติ ามมติของทปี่ ระชมุ มหาเถรสมาคม หมวด ๒ การประชมุ ข้อ ๑๑ การประชุมปกติ ได้แก่ การประชุมตามวาระ ท่ีมหาเถรสมาคมกาหนดไว้เป็นการประจา เพอื่ พจิ ารณาดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของมหาเถรสมาคม ข้อ ๑๒ การประชุมพิเศษ ได้แก่ การประชุมนอกจากวาระท่ีได้กาหนดไว้เป็นการประจา เพอ่ื พจิ ารณาดาเนนิ การอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ตามอานาจหนา้ ท่ี ขอ้ ๑๓ ร่างกฎมหาเถรสมาคม ร่างข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง หรือประกาศมหาเถรสมาคม ให้มบี ันทกึ หลักการและเหตุผลประกอบด้วย ให้เลขาธิการมหาเถรสมาคม ส่งร่างกฎมหาเถรสมาคม ร่างข้อ บังคับ ระเบียบ คาสั่งหรือประกาศมหาเถรสมาคม แก่กรรมการมหาเถรสมาคมล่วงหน้าอย่างน้อย ๓ วัน ก่อนวันประชมุ เวน้ แต่เปน็ การดว่ น ข้อ ๑๔ ที่ประชุมจะต้องพิจารณาร่างกฎมหาเถรสมาคม ร่างข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่งหรอื ประกาศมหาเถรสมาคมเป็น ๓ วาระ หรอื จะพจิ ารณารวดเดยี ว ๓ วาระก็ได้ ๔๕ คู่มอื พระสังฆาธิการ

ในการพิจารณาเป็น ๓ วาระน้ัน ให้เลขาธิการมหาเถรสมาคมส่งร่างน้ันไปให้กรรมการ-มหาเถรสมาคมพิจารณาโดยละเอียด ภายในเวลาซึ่งที่ประชุมกาหนด เว้นแต่ท่ีประชุมจะตกลงเปน็ อย่างอ่นื กรรมการมหาเถรสมาคมรูปใด เห็นควรจะแก้ไขเพ่ิมเติมในเร่ืองใดก็ให้แก้ต่อประธานกรรมการมหาเถรสมาคม ข้อ ๑๕ ให้กรรมการมหาเถรสมาคมทารายงานและบันทึกความเห็นพร้อมด้วยร่างเดิมและร่างที่แก้ไขเพิ่มเติม ย่ืนต่อประธานกรรมการมหาเถรสมาคมเพ่ือพิจารณาในวาระที่ ๒ ต่อไปหรือจะเสนอด้วยวาจาในทปี่ ระชุมก็ได้ ข้อ ๑๖ ในการพิจารณาวาระที่ ๒ ให้ที่ประชุมพิจารณาเรียงตามลาดับข้อ เว้นแต่ที่ประชมุ จะเห็นเปน็ อยา่ งอนื่ ในการน้ี ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม จะอนุญาตให้ผู้ใดเข้าช้ีแจงประกอบการพจิ ารณาหรอื รับฟงั การประชมุ ดว้ ยก็ได้ ข้อ ๑๗ ในการพิจารณาวาระที่ ๓ ให้ท่ีประชุมพิจารณาร่างที่ได้แก้ไขแล้วน้ันว่าสมควรจะตราเป็นกฎมหาเถรสมาคม ออกข้อบังคับ วางระเบียบ ออกคาส่ัง หรือออกประกาศมหาเถรสมาคมหรือไม่ ถา้ ทปี่ ระชุมพิจารณาเห็นชอบแล้ว ใหด้ าเนินการเพ่ือใช้บงั คบั ต่อไป ข้อ ๑๘ การลงมติข้อปรึกษาในการประชุมมหาเถรสมาคม ถ้าข้อปรึกษาน้ันเป็นปัญหาเก่ียวกับการตีความพระธรรมวินัย เมื่อมีข้อสงสัยให้ตีความไปในทางรักษาพระธรรมวินัยโดยเครง่ ครัด ถ้าข้อปรึกษานั้นเก่ียวกับกิจการพระศาสนา ซ่ึงมิได้บัญญัติไว้ในพระธรรมวินัยให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ ถ้ามีจานวนเสียงเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมช้ีขาด หรือจะให้ระงบั เรื่องน้นั ไวก้ ไ็ ด้ ตราไว้ ณ วนั ท่ี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๕ สมเด็จพระญาณสังวร สมเดจ็ พระสงั ฆราช ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม ๔๖ คูม่ ือพระสังฆาธิการ

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๓๕) คือเนื่องจากมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งให้อานาจมหาเถรสมาคม ตรากฎมหาเถรสมาคมออกข้อบังคับวางระเบียบหรอื ออกคาสั่งมหาเถรสมาคมไดถ้ ูกยกเลกิ และได้บัญญัติอานาจหน้าท่ีของมหาเถรสมาคมดังกล่าวขึ้นใหม่เป็นมาตรา ๑๕ ตรี แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ อนึ่ง การประชุมมหาเถรสมาคม การประชุมคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการที่มหาเถรสมาคมแต่งตัง้ เดิมอาศัยกฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑ (พ.ศ. ๒๕๐๖) ว่าด้วยระเบียบการประชุมมหาเถรสมาคมฉบบั เดยี วกันเม่ือพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๓๕มาตรา ๑๙ บัญญัติ ให้สมเด็จพระสังฆราช ทรงแต่งต้ังคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ ตามมติมหาเถรสมาคม การจัดให้มีคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการพ้นจากตาแหน่งของคณะกรรมการ หรือคณะอนกุ รรมการและระเบียบวาระการประชมุ ให้เป็นไปตามระเบยี บของมหาเถรสมาคม จงึ จาเป็นต้องตรากฎมหาเถรสมาคมน้ี ๔๗ คู่มอื พระสังฆาธิการ

กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) วา่ ด้วยจานวนและเขตปกครองคณะสงฆ์สว่ นภูมิภาค ๓๖ --------------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี แหง่ พระราชบัญญตั คิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั คิ ณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ และมาตรา ๒๑ วรรคสองแหง่ พระราชบญั ญตั คิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ มหาเถรสมาคมตรากฎมหาเถรสมาคมไว้ ดงั ต่อไปนี้ ข้อ ๑ กฎมหาเถรสมาคมนี้เรียกว่า “กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕)วา่ ด้วยจานวนและเขตปกครองคณะสงฆส์ ว่ นภูมิภาค” ข้อ ๒ กฎมหาเถรสมาคมนี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์เป็นต้นไป ข้อ ๓ ตัง้ แตว่ นั ใช้กฎมหาเถรสมาคมนี้ ให้ยกเลิก (๑) กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๐๖) วา่ ดว้ ยจานวนและเขตปกครองคณะสงฆส์ ว่ นภูมิภาค (๒) ฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๓ แกไ้ ขเพมิ่ เติม (พ.ศ. ๒๕๑๕) (๓) กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๓ แก้ไขเพ่ิมเติม (พ.ศ. ๒๕๑๕) (๔) กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๓ แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (พ.ศ. ๒๕๒๐) (๕) กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๓ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ (พ.ศ. ๒๕๒๑) (๖) กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๓ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ (พ.ศ. ๒๕๒๖) บรรดากฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง มติ หรือประกาศอ่ืนใดในส่วนท่ีกาหนดไว้แล้วในกฎมหาเถรสมาคมนี้ หรอื ซง่ึ ขดั หรอื แยง้ กับกฎมหาเถรสมาคมน้ี ใหใ้ ช้กฎมหาเถรสมาคมนี้แทน ข้อ ๔ ให้มีจานวนภาค ๑๘ ภาค และให้รวมเขตปกครองจังหวัดต่าง ๆ เป็นเขตปกครองภาคดงั ตอ่ ไปน้ี๓๖ ประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์ เล่ม ๘๐ ฉบับพิเศษ (๒) วันท่ี ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๕ ๔๘ คูม่ อื พระสังฆาธิการ

ภาค ๑ มีจังหวัด ๔ จังหวัด คือ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานีและจังหวัดสมุทรปราการ ภาค ๒ มีจังหวัด ๓ จังหวัด คือ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา จังหวัดอ่างทอง และจังหวัดสระบุรี ภาค ๓ มีจังหวัด ๔ จังหวัด คือ จังหวัดลพบุรี จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดชัยนาท และจังหวัดอุทัยธานี ภาค ๔ มีจังหวัด ๔ จังหวัด คือ จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดกาแพงเพชร จังหวัดพิจิตรและจังหวัดเพชรบรู ณ์ ภาค ๕ มีจังหวัด ๔ จังหวัด คือ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดสุโขทัย จังหวัดตาก และจังหวัดอุตรดติ ถ์ ภาค ๖ มีจงั หวดั ๕ จงั หวดั คือ จงั หวัดลาปาง จงั หวดั พะเยา จังหวัดเชียงราย จังหวัดแพร่และจงั หวัดน่าน ภาค ๗ มีจงั หวดั ๓ จงั หวัด คอื จังหวดั เชียงใหม่ จังหวัดลาพนู และจังหวัดแม่ฮอ่ งสอน ภาค ๘ มีจังหวัด ๖ จังหวัด คือ จังหวัดอุดรธานี จังหวัดหนองคาย จังหวัดเลย และจงั หวดั สกลนคร จงั หวดั หนองบวั ลาภู* และจงั หวดั บงึ กาฬ** ภาค ๙ มีจังหวัด ๔ จังหวัด คือ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดกาฬสินธุ์และจังหวัดร้อยเอด็ ภาค ๑๐ มีจังหวัด ๖ จังหวัด คือ จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดนครพนมจงั หวัดยโสธร จังหวดั มกุ ดาหาร และจังหวดั อานาจเจริญ* ภาค ๑๑ มีจังหวัด ๔ จังหวัด คือ จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์และจงั หวดั สุรินทร์ ภาค ๑๒ มีจังหวัด ๔ จังหวัด คือ จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดนครนายก จังหวัดฉะเชิงเทราและจังหวดั สระแกว้ * ภาค ๑๓ มีจังหวัด ๔ จังหวัด คือ จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี และจังหวดั ตราด ภาค ๑๔ มีจังหวัด ๔ จังหวัด คือ จังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดกาญจนบุรีและจังหวดั สมทุ รสาคร* กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๒ (พ.ศ. ๒๕๓๙)** มตมิ หาเถรสมาคม ครง้ั ท่ี ๑๙/๒๕๕๔ มตทิ ี่ ๔๒๙/๒๕๕๔ ๔๙ คู่มอื พระสงั ฆาธิการ

ภาค ๑๕ มีจังหวัด ๔ จังหวัด คือ จังหวัดราชบุรี จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสมุทรสงครามและจงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ ภาค ๑๖ มีจังหวัด ๓ จังหวัด คือ จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสุราษฎร์ธานี และจงั หวดั ชมุ พร ภาค ๑๗ มีจังหวัด ๕ จังหวัด คือ จังหวัดภูเก็ต จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา จังหวัดกระบ่ีและจังหวดั ระนอง ภาค ๑๘ มีจังหวัด ๖ จังหวัด คือ จังหวัดสงขลา จังหวัดพัทลุง จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจงั หวัดยะลา และจังหวดั นราธิวาส ข้อ ๕ จานวนและเขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค ในชั้นจังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานครและจังหวัดนอกจากกรุงเทพมหานครก็ดี ช้ันอาเภอ ได้แก่ เขตในกรุงเทพมหานคร และอาเภอในจังหวัดนอกจากกรุงเทพมหานครก็ดี ชั้นตาบล ได้แก่ แขวงในกรุงเทพมหานคร และตาบลในจังหวัดนอกจากกรุงเทพมหานครก็ดี ให้อนุโลมตามจานวนและเขตบริหารราชการ แห่งราชอาณาจักรแต่ละช้ัน แล้วแต่กรณี แต่ถ้ามีกรณีพิเศษจะกาหนดให้เป็นอย่างอื่นย่อมทาได้โดยระเบียบมหาเถร-สมาคม ตราไว้ ณ วนั ที่ ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๕ (สมเดจ็ พระญาณสังวร) สมเด็จพระสังฆราช ประธานกรรมการมหาเถรสมาคมหมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช้กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๔ (๒๕๐๕) คือเนื่องจากมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งให้อานาจมหาเถรสมาคม ตรากฎมหาเถรสมาคม ออกข้อบังคับวางระเบยี บ หรอื ออกคาส่งั มหาเถรสมาคม ไดถ้ ูกยกเลกิ และได้บัญญตั อิ านาจหน้าทข่ี องมหาเถรสมาคมดงั กล่าวขน้ึ ใหม่เป็นมาตรา ๑๕ ตรี แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ จงึ จาเปน็ ต้องตรากฎมหาเถรสมาคม ๕๐ คมู่ ือพระสังฆาธิการ

กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๗ (พ.ศ. ๒๕๓๖) ว่าด้วยการแต่งตงั้ ถอดถอนพระอุปชั ฌาย์ ๓๗ --------------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๓๕ และมาตรา ๒๓ แห่งพระราช-บัญญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ มหาเถรสมาคมตรากฎมหาเถรสมาคมไว้ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ กฎมหาเถรสมาคมนี้เรียกว่า “กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๗ (พ.ศ. ๒๕๓๖)วา่ ด้วยการแต่งต้ังถอดถอนพระอปุ ัชฌาย์” ขอ้ ๒ กฎมหาเถรสมาคมนี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์เปน็ ตน้ ไป ขอ้ ๓ ตง้ั แตว่ ันใช้กฎมหาเถรสมาคมน้ี ให้ยกเลิก (๑) กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๐๖ ) ว่าด้วยการแต่งต้ังถอดถอนพระอุปัชฌาย์ (๒) กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๗ แกไ้ ขเพิ่มเตมิ (พ.ศ. ๒๕๑๕ ) บรรดากฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คาส่ัง มติ หรือประกาศอื่นใด ในส่วนท่ีกาหนดไว้แล้วในกฎมหาเถรสมาคมนี้ หรอื ซ่ึงขดั หรือแยง้ กับกฎมหาเถรสมาคมนี้ ให้ใชก้ ฎมหาเถรสมาคมน้แี ทน หมวด ๑ บททว่ั ไป ข้อ ๔ ในกฎมหาเถรสมาคมน้ี “พระอุปัชฌาย์” หมายความว่า พระภิกษุผู้ได้รับแต่งต้ังให้มีหน้าที่เป็นประธานและรับผิดชอบในการให้บรรพชาอุปสมบทตามบทบัญญัติแห่งกฎมหาเถร -สมาคมน้ี๓๗ ประกาศในแถลงการณค์ ณะสงฆ์ เล่ม ๘๑ ตอนท่ี ๓ วนั ท่ี ๒๕ มีนาคม ๒๕๓๖ ๕๑ คู่มอื พระสังฆาธกิ าร

ขอ้ ๕ พระอุปัชฌาย์ มี ๒ ประเภท (๑) พระอปุ ชั ฌายส์ ามญั ไดแ้ ก่ พระอปุ ชั ฌาย์ที่ได้รับแตง่ ต้ังจากเจ้าคณะใหญ่ (๒) พระอุปัชฌาย์วิสามัญ ได้แก่ พระอุปัชฌาย์ที่ได้รับแต่งต้ังจากสมเด็จ-พระสงั ฆราช ข้อ ๖ พระภิกษุผู้ได้รับตราต้ังพระอุปัชฌาย์อยู่ก่อนใช้กฎมหาเถรสมาคมน้ี ให้คงเป็นพระอุปชั ฌาย์ ตามบทบญั ญัตแิ ห่งกฎมหาเถรสมาคมน้ี หมวด ๒ การแต่งตงั้ พระอปุ ชั ฌาย์ ข้อ ๗ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ตาบลหนึ่ง ให้มีพระอุปัชฌาย์เพียงหนึ่งรูป เว้นแต่มีกรณพี ิเศษ ขอ้ ๘ พระภกิ ษผุ ้จู ะดารงตาแหนง่ พระอปุ ชั ฌายต์ ้องประกอบดว้ ยคณุ สมบตั ิ ดงั ต่อไปนี้ (๑) มตี าแหนง่ ในทางปกครองช้นั เจา้ อาวาสขึ้นไป เว้นแต่พระอารามหลวง (๒) มพี รรษาพน้ ๑๐ (๓) ไม่เป็นผู้มีร่างกายทุพพลภาพไร้ความสามารถ หรือมีจิตฟั่นเฟือน ไม่สมประกอบหรืออาพาธเปน็ โรคตดิ ต่อ เช่น โรคเรื้อน หรือวณั โรคในระยะอันตราย (๔) มีประวัติความประพฤตดิ ี (๕) เปน็ ที่นับถือของประชาชน ท้ังบรรพชิตและคฤหสั ถ์ (๖) เป็นเปรียญหรือนักธรรมช้ันเอก เว้นแต่ในบางท้องถ่ินซึ่งเจ้าคณะพิจารณาเหน็ สมควรผ่อนผนั (๗) มคี วามสามารถฝกึ สอนผู้อยู่ในปกครองให้เปน็ ภกิ ษุสามเณรท่ดี ี ตามพระธรรมวนิ ยั และสามารถบาเพ็ญกรณยี กจิ อนั อยใู่ นหน้าทขี่ องพระอุปัชฌาย์ได้ (๘) มีความรคู้ วามสามารถ ทาอุปสมบทกรรมให้ถูกต้องตามพระวินัย และระเบยี บแบบแผนของคณะสงฆ์ ขอ้ ๙ ในการแตง่ ตง้ั พระสังฆาธกิ ารผู้ดารงตาแหนง่ ตา่ กวา่ เจ้าคณะจังหวัดเป็น พระอุปัชฌาย์ให้พิจารณาเลือกพระสังฆาธิการผู้ประกอบด้วยคุณสมบัติตามข้อ ๘ แล้วรายงานรับรอง ขอแต่งต้ังเสนอขน้ึ ไปตามลาดบั จนถงึ เจ้าคณะภาค ดงั น้ี (๑) ต้ังรองเจ้าคณะจังหวัด หรือเจ้าคณะอาเภอเป็นพระอุปัชฌาย์ ให้เจ้าคณะจังหวัดเป็นผูเ้ สนอรายงานรับรองขอแต่งต้ัง ๕๒ คู่มอื พระสงั ฆาธกิ าร

(๒) ต้ังรองเจ้าคณะอาเภอ หรือเจ้าคณะตาบลเป็นพระอุปัชฌาย์ ให้เจ้าคณะอาเภอเปน็ ผู้เสนอรายงานรับรองขอแตง่ ตงั้ (๓) ตั้งรองเจ้าคณะตาบล หรือเจ้าอาวาสเป็นพระอุปัชฌาย์ ให้เจ้าคณะตาบลเป็นผู้เสนอรายงานรับรองแต่งต้งั เม่ือเจ้าคณะภาคได้รับรายงานรับรองขอแต่งตั้งแล้ว ให้ดาเนินการฝึกซ้อมอบรม หรือสอบความรู้ตามความในข้อ ๔๑ เม่ือเห็นเป็นการสมควรแล้ว ให้เสนอรายงานรับรองไปยังเจ้าคณะใหญ่เพอ่ื พิจารณาแตง่ ตงั้ เปน็ พระอุปัชฌาย์ต่อไป ข้อ ๑๐ ในการแต่งต้ังเจ้าคณะภาค รองเจ้าคณะภาค หรือเจ้าคณะจังหวัด เป็นพระอุปัชฌาย์ ให้ผู้บังคับบัญชาเหนือรายงานตามลาดับ เพ่ือสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งต้ังตามมติ มหาเถรสมาคม ในการแต่งตั้งเจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส หรือผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวงเป็นพระอุปัชฌาย์ ให้เจ้าคณะจังหวัดพิจารณาเลือกแล้วเสนอรายงานรับรองตามลาดับ เพื่อทรงแต่งตั้งตามความในวรรคตน้ ข้อ ๑๑ พระสงั ฆาธกิ ารจะปฏิบัติหน้าที่พระอปุ ชั ฌาย์ได้ ต่อเมื่อได้รับตราตงั้ พระอุปัชฌาย์แล้ว หมวด ๓ หน้าที่พระอุปชั ฌาย์ ข้อ ๑๒ พระอุปัชฌาย์มีหน้าท่ีให้บรรพชาอุปสมบทแก่กุลบุตรได้เฉพาะตน และเฉพาะภายในเขต ตามทบ่ี ญั ญตั ไิ วใ้ นหมวด ๔ แหง่ กฎมหาเถรสมาคมน้ี ขอ้ ๑๓ พระอุปัชฌาย์ตอ้ งพบและสอบสวนกุลบุตรให้ได้คุณลักษณะก่อนจึงรับให้บรรพชาอุปสมบทได้ คณุ ลักษณะของกลุ บตุ รนั้น ดังนี้ (๑) เป็นคนมีภูมิลาเนาอยู่ในเขตตาบลหรืออาเภอที่จะบวช และมีหลักฐานมีอาชีพชอบธรรม หรือแม้มีภูมิลาเนาอยู่ในเขตอ่ืน แต่เม่ือสอบสวนแล้วปรากฏว่าเป็นคนมีหลักฐานมีอาชพี ชอบธรรม มีทอ่ี ยู่เป็นหลกั แหล่ง ไมใ่ ชค่ นจรจัด (๒) เป็นสุภาพชน มีความประพฤติดีประพฤติชอบไม่มีความประพฤติเสียหายเช่น ตดิ สุราหรือยาเสพติดให้โทษ เปน็ ต้น (๓) มีความรอู้ า่ นและเขยี นหนงั สือไทยได้ (๔) ไมเ่ ปน็ ผู้มีทิฏฐิวบิ ัติ (๕) เป็นผู้ปราศจากบรรพชาโทษ และมีร่างกายสมบูรณ์ อาจบาเพ็ญสมณกิจไดไ้ ม่เป็นคนชรา ไรค้ วามสามารถหรือทุพพลภาพ หรอื พิกลพกิ าร (๖) มสี มณบรขิ ารครบถ้วนและถกู ต้องตามพระวนิ ยั ๕๓ คู่มือพระสังฆาธกิ าร

(๗) เป็นผู้สามารถกล่าวคาขอบรรพชาอุปสมบทได้ด้วยตนเองและถูกต้องไมว่ ิบตั ิ ข้อ ๑๔ พระอุปัชฌาย์ต้องงดเวน้ การให้บรรพชาอุปสมบทแก่คนต้องห้ามเหล่าน้ี (๑) คนทาความผิดหลบหนีอาญาแผ่นดิน (๒) คนหลบหนีราชการ (๓) คนตอ้ งหาในคดีอาญา (๔) คนเคยถูกตัดสนิ จาคุกโดยฐานเป็นผรู้ ้ายสาคญั (๕) คนถูกห้ามอุปสมบทเด็ดขาดทางพระศาสนา (๖) คนมโี รคตดิ ต่อเปน็ ทนี่ า่ รงั เกยี จ เชน่ วณั โรคในระยะอันตราย (๗) คนมอี วัยวะพกิ ารจนไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิกจิ พระศาสนาได้ ข้อ ๑๕ พระอุปัชฌาย์จะให้บรรพชาอุปสมบทในวัดใด ต้องได้รับนิมนต์ของเจ้าอาวาสวดั นัน้ ห้ามเขา้ ไปใหบ้ รรพชาอุปสมบทในวดั ของผู้อ่นื โดยมิไดร้ บั นิมนตข์ องเจา้ อาวาส ขอ้ ๑๖ เจ้าอาวาสผู้เป็นพระอุปัชฌาย์จะรับผู้ใดบวช ต้องมีผู้รับรองและให้ผู้รับรองของผู้น้ันนาผู้จะบวชมามอบตัวพร้อมด้วยใบสมัครและใบรับรองผู้จะบรรพ ชาอุปสมบทตามความในข้อ ๔๑ ซ่งึ จะขอได้จากพระอุปัชฌาย์ กอ่ นถงึ วนั บรรพชาอปุ สมบทไม้น้อยกว่า ๑๕ วัน ให้เจ้าอาวาสผู้เป็นพระอุปัชฌาย์ สอบสวนผู้จะมาบวชตามความในข้อ ๑๓ และข้อ ๑๔ซ่ึงปรากฏตามข้อปฏิญญาในใบสมัครขอบรรพชาอุปสมบท และสอบถามผู้รับรองตามข้อรับรองผู้จะบรรพชาอุปสมบท จนเป็นท่ีเข้าใจถูกต้องตรงกันดีแล้ว จึงรับใบสมัครขอบรรพชาอุปสมบทและใบรบั รอง แลว้ ดาเนินการฝึกซอ้ มผจู้ ะบวชตอ่ ไป ข้อ ๑๗ เจ้าอาวาสผู้มิได้เป็นพระอุปัชฌาย์ จะรับผู้ใดบวชในวัดของตนให้นาผู้สมัครขอบรรพชาอุปสมบทน้ัน ไปมอบตัวแก่พระอุปัชฌาย์พร้อมทั้งใบสมัครขอบรรพชาอุปสมบท และใบรับรองผ้จู ะบรรพชาอปุ สมบท ก่อนถงึ วนั บรรพชาอุปสมบทไม่นอ้ ยกว่า ๑๕ วัน ในกรณีเชน่ นี้ ใหพ้ ระอุปชั ฌาย์ผู้จะรับบวชปฏบิ ัติตามความในข้อ ๑๖ วรรค ๒ ขอ้ ๑๘ ใบสมัครขอบรรพชาอุปสมบท และใบรับรองผู้จะบรรพชาอุปสมบทให้ย่ืนต่อเจ้าอาวาสผู้มิได้เป็นพระอุปัชฌาย์ ๒ ฉบับ เพ่ือเจ้าอาวาสเก็บรักษาไว้ฉบับหนึ่ง และพระอุปัชฌาย์เก็บรกั ษาไวฉ้ บบั หน่ึง ถา้ เจา้ อาวาสเป็นพระอปุ ชั ฌายใ์ หย้ ่นื เพยี งฉบบั เดียว ข้อ ๑๙ พระอุปัชฌาย์เมื่อให้บรรพชาอุปสมบทแก่กุลบุตรแล้ว มีหน้าท่ีต้องถือเป็นภารธุระปกครองดูแลสั่งสอนสัทธิวิหาริกของตนให้ต้ังอยู่ในสัมมาปฏิบัติ ต้องขวนขวายให้ได้รับการศึกษาพระธรรมวินัย และต้องออกหนังสือสุทธิให้แก่สัทธิวิหาริกตามความในข้อ ๔๑ เพ่ือแสดงสงั กดั ถน่ิ ทอี่ ยู่และความบริสทุ ธแ์ิ ห่งสมณเพศ ๕๔ คมู่ ือพระสังฆาธกิ าร

ถ้าสัทธิวิหาริกผู้มีพรรษายังไม่พ้น ๕ จะไปอยู่ในวัดอื่นใด เมื่อพระอุปัชฌาย์เห็นสมควรก็ให้สอบถามไปยังเจ้าอาวาสวัดนั้น เมื่อได้รับคายืนยันรับรองที่จะปกครองดูแลส่ังสอนแทนได้จึงให้ทาหนังสือฝากและมอบภารธรุ ะแกเ่ จา้ อาวาสวดั นั้น ใหเ้ ป็นผปู้ กครองดแู ลสั่งสอนแทนตน ถา้ สทั ธวิ หิ ารกิ ผ้นู ้นั มีพรรษายังไม่พ้น ๕ จะย้ายไปอยู่ในวัดอื่นต่อไปอีก ให้เจ้าอาวาสผู้รับฝากปกครองแจ้งไปยังพระอุปัชฌาย์ เพื่อได้ปฏิบัติการตามความในมาตรา ๒ แต่ถ้าพระอุปัชฌาย์น้ันพ้นจากความเป็นพระอปุ ัชฌายแ์ ลว้ ก็ให้เจา้ อาวาสผู้ปกครองปฏบิ ัตกิ ารตามความในวรรค ๒ ขอ้ ๒๐ พระอปุ ัชฌายต์ ้องส่งบัญชสี ทั ธวิ หิ าริกของตนตามความในข้อ ๔๑ หมวด ๔ เขตพระอุปชั ฌาย์ ข้อ ๒๑ พระอุปัชฌาย์จะให้บรรพชาอุปสมบทแก่กุลบุตรได้ภายในเขตที่ระบุไว้ในตราตั้งหรอื เขตอานาจที่ตนปกครองอยู่ในปจั จุบนั คอื ถ้าเป็น (๑) เจา้ อาวาส ภายในวดั ของตน (๒) เจา้ คณะตาบล ภายในเขตตาบลของตน (๓) เจา้ คณะอาเภอ ภายในเขตอาเภอของตน (๔) เจ้าคณะจังหวดั ภายในเขตจงั หวดั ของตน (๕) เจ้าคณะภาค ภายในเขตภาคของตน (๖) เจา้ คณะใหญ่ ภายในเขตหนของตน พระอปุ ัชฌาย์ท่ีดารงตาแหน่งประธานและกรรมการมหาเถรสมาคม ไมจ่ ากัดเขต ข้อ ๒๒ ถ้าไม่มีคาสั่งเป็นอย่างอ่ืน พระอุปัชฌาย์ผู้เป็นกิตติมศักดิ์ในตาแหน่งปกครองให้บรรพชาอุปสมบทได้ในเขตอนุรูปแก่ตาแหน่งปกครองเดิมของตน ตลอดเวลาท่ีตนยังสานักอยู่ในวัด หรือในเขตที่ตนเคยปกครองน้ัน เว้นแต่เป็นเจ้าคณะภาคกิตติมศักด์ิ แม้มิได้อยู่ในเขตทต่ี นเคยปกครองกใ็ ห้บรรพชาอุปสมบทในเขตทีต่ นเคยปกครองนน้ั ได้ ข้อ ๒๓ พระอุปัชฌาย์ผู้ลาออกจากตาแหน่ง หรือพ้นจากตาแหน่ง หรือถูกให้ออกจากตาแหน่งในทางปกครอง และไม่ได้เป็นกิตติมศักดิ์ แต่ยังคงเป็นเจ้าอาวาส ให้เป็นพระอุปัชฌาย์ไดเ้ ฉพาะในวัดของตน ขอ้ ๒๔ พระอุปชั ฌายจ์ ะให้บรรพชาอุปสมบทนอกเขตการปกครองของตนได้ ต่อเม่ือเจ้าของเขตขอร้อง หรือได้ขออนุญาตเจ้าของเขตตามฐานานุรูปดังกล่าวในข้อ ๒๑ และได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าของเขตแล้ว หรือได้ขอและรับอนุญาตเป็นกรณีพิเศษ เป็นลายลักษณ์อักษรจากเจ้าคณะภาคเจา้ สงั กดั เปน็ ครั้งคราว ๕๕ ค่มู อื พระสังฆาธิการ

หมวด ๕ การระงบั หน้าทีพ่ ระอปุ ชั ฌาย์ ขอ้ ๒๕ หน้าทพ่ี ระอุปชั ฌายต์ ้องระงบั ในเมื่อ (๑) พ้นจากตาแหน่งหน้าท่ีในทางปกครอง และมิได้เป็นกิตติมศักดิ์ในตาแหน่งนั้น ๆ หรอื ถูกใหพ้ ้นจากตาแหนง่ หน้าท่ีในทางปกครอง (๒) ขาดคุณสมบตั อิ ย่างใดอย่างหนึง่ ตามความในข้อ ๘ (๓) ถกู เปน็ จาเลยในอธิกรณ์ที่มีโทษถึงให้สึก และอยใู่ นระหว่างไต่สวนพิจารณาวนิ จิ ฉยั (๔) ถูกถอดถอนจากตาแหน่งหน้าท่พี ระอปุ ัชฌาย์ ข้อ ๒๖ การระงับหน้าท่ีพระอุปัชฌาย์ตามความในข้อ ๒๕ (๒) และ (๓) ของพระสังฆาธิการตาแหน่งต่ากว่าช้ันเจ้าคณะอาเภอให้พระสังฆาธิการผู้บังคับบัญชาของพระอุปัชฌาย์รูปน้ันรายงานตามลาดับจนถึงเจ้าคณะจังหวัด เพื่อพิจารณาส่ังระงับจากหน้าท่ีพระอุปัชฌาย์ ถ้าเป็นเจ้าคณะอาเภอให้เจา้ คณะจงั หวัดพิจารณาสัง่ ระงบั จากหน้าที่พระอปุ ชั ฌาย์ ส่วนพระสังฆาธิการตาแหน่งตั้งแต่เจ้าคณะจังหวัดข้ึนไป ให้ผู้บังคับบัญชาเหนือพิจารณาส่งั ระงบั ข้อ ๒๗ การถอดถอนพระอุปัชฌาย์ตามความในข้อ ๒๕ (๔) ให้เป็นไปตามที่บัญญัติไว้ในหมวด ๖ แห่งกฎมหาเถรสมาคมนี้ หมวด ๖ จริยาพระอปุ ัชฌาย์ สว่ นท่ี ๑ จริยา ข้อ ๒๘ พระอุปัชฌาย์ ต้องเอื้อเฟื้อ สังวร ประพฤติ ตามพระธรรมวินัย และกฎหมายอย่างเครง่ ครัด เพอ่ื เปน็ แบบอย่างอนั ดีของสัทธิวหิ าริก ขอ้ ๒๙ พระอปุ ัชฌาย์ ต้องปฏบิ ัติหนา้ ทต่ี ามบทบัญญัติแห่งกฎมหาเถรสมาคมน้ี ข้อ ๓๐ พระอุปัชฌาย์ ต้องปฏิบัติหน้าที่ตามคาส่ังหรือคาแนะนาชี้แจงของพระสังฆาธิการผู้บังคับบัญชา ซึง่ ส่ังโดยชอบดว้ ยพระธรรมวินยั และกฎมหาเถรสมาคมนี้ ข้อ ๓๑ พระอุปัชฌาย์ ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความระมัดระวัง มิให้บรรพชาอุปสมบทกรรมวบิ ัติบกพร่องไม่วา่ ดว้ ยเหตุใด ๕๖ คู่มอื พระสงั ฆาธิการ

ส่วนท่ี ๒ การรักษาจริยา ข้อ ๓๒ ให้พระสังฆาธิการผบู้ ังคับบญั ชาตามลาดบั ชั้น มหี น้าที่ควบคุมดูแลแนะนาช้ีแจงหรอื สง่ั พระอุปัชฌาย์ในเขตบังคับบญั ชาของตน ใหป้ ฏิบตั ิตามจริยาพระอุปชั ฌายโ์ ดยเคร่งครดั ส่วนท่ี ๓ การละเมิดจริยา ขอ้ ๓๓ พระอุปัชฌาย์รูปใด ปฏิบัติหน้าที่โดยละเมิดจริยาต้องได้รับโทษฐานละเมิดจริยาอย่างใดอยา่ งหนง่ึ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ให้ถอดถอนจากตาแหน่งหน้าท่ีพระอปุ ัชฌาย์ (๒) ให้ระงับหน้าท่ีพระอปุ ชั ฌาย์ช่ัวคราวไมเ่ กิน ๒ ปี (๓) เรยี กตวั มาอบรมชั่วคราวไม่เกิน ๑ ปี (๔) ใหท้ าทณั ฑบ์ น (๕) ตาหนโิ ทษเป็นลายลักษณ์อักษร ข้อ ๓๔ การให้ถอดถอนจากตาแหน่งหน้าที่พระอุปัชฌาย์น้ัน จะทาได้ต่อเมื่อพระอปุ ชั ฌาย์ละเมิดจริยาโดยจงใจใหบ้ รรพชาอปุ สมบทแก่คนตอ้ งห้ามตามความในขอ้ ๑๔ ในกรณีเช่นนี้ ให้พระสังฆาธิการผู้บังคับบัญชาของพระอุปัชฌาย์รูปนั้น รายงานโดยลาดับจนถึงผู้มีอานาจแต่งต้ัง เมื่อได้สอบสวนและได้ความจริงตามรายงานนั้นแล้วให้ผู้มีอานาจแต่งตั้งส่งั ถอดถอนจากตาแหน่งหนา้ ทีพ่ ระอุปัชฌาย์ ในระหว่างท่ียังไม่มีคาสั่ง พระสังฆาธิการผู้บังคับบัญชาเหนืออาจส่ังให้พักหน้าที่พระอุปัชฌาย์ก่อนได้ แต่ถ้าพระอุปัชฌาย์รูปน้ันดารงตาแหน่งพระสังฆาธิการต่ากว่าเจ้าคณะจังหวัดใหเ้ จ้าคณะจงั หวัดเปน็ ผู้ส่งั พัก ข้อ ๓๕ พระอุปัชฌาย์รูปใด ละเมิดจริยาอย่างใดอย่างหน่ึง นอกจากที่บัญญัติไว้ในข้อ ๓๔ เม่ือผู้บังคับบัญชาพิจารณาเห็นสมควรลงโทษสถานเบาลงมาสถานเดียว หรือหลายสถานโดยสมควรแกค่ วามผิด (๑) ถ้าพระอุปัชฌาย์รูปน้ันดารงตาแหน่งพระสังฆาธิการต่ากว่าเจ้าคณะจังหวัดให้ผู้บังคับบัญชารายงานเสนอตามลาดับจนถึงเจ้าคณะภาค เพ่ือพิจารณาสั่งลงโทษแล้วรายงานผมู้ ีอานาจแตง่ ตัง้ ทราบ ๕๗ ค่มู ือพระสังฆาธิการ

(๒) ถา้ พระอปุ ชั ฌายร์ ปู นนั้ ดารงตาแหนง่ พระสังฆาธิการตั้งแต่เจ้าคณะจังหวัดข้ึนไปให้ผบู้ ังคบั บญั ชารายงานเสนอตามลาดบั จนถงึ ผู้มีอานาจแต่งต้ังเพื่อพิจารณาสง่ั ลงโทษ ข้อ ๓๖ ในกรณีท่ีพระอุปัชฌาย์เคยถูกลงโทษตามข้อ ๓๓ (๓) (๔) และ (๕) มาแล้วไม่เขด็ หลาบ กระทาผดิ อกี ใหล้ งโทษในสถานทีห่ นกั กว่าโทษเดิม ข้อ ๓๗ พระอุปัชฌาย์รูปใด ถูกระงับหน้าท่ีพระอุปัชฌาย์ตามข้อ ๒๕ ก็ดี ถูกระงับหน้าท่ีพระอุปัชฌาย์ตามข้อ ๓๓ (๒) ก็ดี ถูกพักหน้าท่ีพระอุปัชฌาย์ตามข้อ ๓๔ วรรค ๓ ก็ดี หากฝ่าฝืนให้บรรพชาอุปสมบทแก่กุลบุตรอีก หรือถูกลงโทษตามความในข้อ ๓๓ (๒) แล้วไม่เข็ดหลาบละเมิดซ้าอีก ให้ถือว่าเป็นการละเมิดจริยาพระสังฆาธิการอย่างร้ายแรง ฐานขัดคาส่ังผู้บังคับบัญชาตามความในข้อ ๕๔ (๓) แห่งกฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๖ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ว่าด้วยการแต่งตั้งถอดถอนพระสงั ฆาธิการ ในกรณีเชน่ น้ี ให้ผู้บังคับบัญชารายงานโดยลาดับ จนถงึ ผมู้ ีอานาจแต่งตั้งพระสังฆาธิการผเู้ ป็นพระอุปชั ฌาย์รปู น้นั เพ่ือพจิ ารณาสัง่ ถอดถอนจากตาแหนง่ หน้าท่ีพระสังฆาธิการ หมวด ๗ เบ็ดเตล็ด ข้อ ๓๘ พระภิกษุรูปใดไม่ได้รับแต่งต้ังเป็นพระอุปัชฌาย์ หรือถูกถอดถอนจากความเป็นพระอุปัชฌาย์ตามกฎมหาเถรสมาคมนี้ บังอาจให้บรรพชาอุปสมบทแก่กุลบุตรต้องระวางโทษตามความในมาตรา ๔๒ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ( ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๓๕ ข้อ ๓๙ บุคคลผู้ได้รับบรรพชาอุปสมบทตามความในข้อ ๓๗ และข้อ ๓๘ ให้ถือว่าบรรพชาอุปสมบทโดยมชิ อบ ไมม่ สี ิทธิไดร้ ับประโยชน์อันพระภิกษสุ ามเณรจะพึงได้ ข้อ ๔๐ ในกรณีแต่งต้ังหรือถอดถอนพระอุปัชฌาย์ ให้ผู้แต่งตั้งหรือผู้ถอดถอนแจ้งการแต่งต้งั หรือการถอดถอนไปยังสานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม ในกรณีท่ีพระอุปัชฌาย์พ้นจากตาแหน่งหน้าท่ีด้วยประการใด ให้พระสังฆาธิการผู้บังคบั บญั ชาปฏิบัตติ ามความในวรรคต้น ๕๘ คู่มอื พระสงั ฆาธกิ าร

ข้อ ๔๑ วิธีปฏิบัติในการฝึกซ้อมอบรม หรือสอบความรู้พระอุปัชฌาย์ก็ดี ในการทาใบสมัครและใบรับรองผู้จะบรรพชาอุปสมบทก็ดี ในการออกหนังสือสุทธิให้แก่สัทธิวิหาริกก็ดี ในการสง่ บัญชี สทั ธวิ หิ ารกิ ก็ดี ใหเ้ ป็นไปตามทก่ี าหนดในระเบียบมหาเถรสมาคม ตราไว้ ณ วนั ที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ (สมเดจ็ พระญาณสงั วร) สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก ประธานกรรมการมหาเถรสมาคมหมายเหตุ : - เหตุผลในการประกาศใช้กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๗ (พ.ศ. ๒๕๓๖) คือเนื่องจากมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึ่งให้อานาจมหาเถรสมาคม ตรากฎมหาเถรสมาคม ออกข้อบังคับวางระเบียบ หรอื ออกคาสั่งมหาเถรสมาคม ได้ถกู ยกเลกิ และได้บัญญัติอานาจหน้าท่ขี องมหาเถรสมาคมดังกล่าวข้ึนใหม่เปน็ มาตรา๑๕ ตรี แหง่ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๕๓๕ จึงจาเปน็ ตอ้ งตรากฎมหาเถรสมาคมนี้ ๕๙ คู่มือพระสังฆาธกิ าร

กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๑๘ (พ.ศ.๒๕๓๖) ว่าดว้ ยการแตง่ ตง้ั ถอดถอนไวยาวัจกร ๓๘ --------------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๕ และมาตรา ๒๓ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ มหาเถรสมาคมตรากฎมหาเถรสมาคม ไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี ขอ้ ๑ กฎมหาเถรสมาคมนี้ เรียกว่า “กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๘ (พ.ศ.๒๕๓๖)วา่ ดว้ ยการแต่งตง้ั ถอดถอนไวยาวจั กร” ขอ้ ๒ กฎมหาเถรสมาคมนี้ ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆเ์ ปน็ ต้นไป ข้อ ๓ ตั้งแต่วันใช้กฎมหาเถรสมาคมนี้ ให้ยกเลิกกฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๘ (พ.ศ. ๒๕๐๖)ว่าด้วยการแต่งต้ังถอดถอนไวยาวัจกรบรรดากฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คาส่ัง มติ หรือประกาศอื่นใดในส่วนที่กาหนดไว้แล้วในกฎมหาเถรสมาคมนี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับกฎมหาเถรสมาคมน้ี ให้ใช้กฎมหาเถรสมาคมน้แี ทน ขอ้ ๔ ในกฎมหาเถรสมาคมนี้ “ไวยาวัจกร” หมายถึง คฤหัสถ์ผู้ได้รับแต่งต้ังให้มีหน้าท่ีเบิกจ่ายนิตยภัต และจะมีอานาจหน้าที่ดูแลรักษาจัดการทรัพย์สินของวัดได้ ตามท่ีเจ้าอาวาสมอบหมายเปน็ หนังสือ ขอ้ ๕ ไวยาวจั กรผ้ไู ดร้ บั การแต่งตั้งอยกู่ อ่ นวนั ใชก้ ฎมหาเถรสมาคมน้ี ให้ถือว่าเป็นไวยาวัจกรตามกฎมหาเถรสมาคมน้ีต่อไป๓๘ ประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์ เลม่ ๘๑ ตอนที่ ๔ วันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๓๖ ๖๐ คมู่ อื พระสงั ฆาธกิ าร

หมวด ๑ การแต่งตั้งไวยาวัจกร ข้อ ๖ คฤหัสถผ์ จู้ ะไดร้ บั การแต่งตั้งเปน็ ไวยาวจั กร ต้องประกอบด้วยคุณสมบตั ิ ดงั ต่อไปนี้ (๑) เป็นชาย มสี ัญชาตไิ ทย นบั ถอื พระพุทธศาสนา (๒) มอี ายุไมต่ ่ากว่า ๒๕ ปบี รบิ ูรณ์ (๓) เป็นผู้มีหลกั ฐานมั่นคง (๔) เปน็ ผมู้ คี วามรูค้ วามสามารถที่จะปฏบิ ตั ิหนา้ ทไ่ี วยาวัจกรได้ (๕) เป็นผู้เลอื่ มใสในการปกครองตามระบอบรฐั ธรรมนญู (๖) ไม่เป็นผู้ท่ีมีร่างกายทุพพลภาพ ไร้ความสามารถ หรือมีจิตฟ่ันเฟือนไม่สมประกอบหรอื มีโรคเป็นทร่ี งั เกียจแกส่ ังคม (๗) ไม่เป็นผู้บกพร่องในศีลธรรมอันดี เช่น มีความประพฤติเสเพล เป็นนักเลงการพนันเสพสุราเป็นอาจิณ หรอื ตดิ ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (๘) ไม่เปน็ ผมู้ หี นีส้ ินลน้ พน้ ตัว (๙ ) ไม่เป็นผทู้ เ่ี คยถูกลงโทษให้ออกจากราชการ หรือองค์การของรฐั บาล หรือบริษัทหา้ งร้านเอกชน ในความผดิ หรอื มีมลทินมวั หมองในความผิดเกยี่ วกบั การเงนิ (๑๐) ไม่เป็นผู้ท่ีเคยถูกลงโทษจาคุก เว้นแต่ความผิดท่ีเป็นลหุโทษหรือความผิดอนั ได้กระทาโดยประมาท ข้อ ๗ ในการแต่งตั้งไวยาวัจกรของวัดใด ให้เป็นอานาจหน้าท่ีของเจ้าอาวาสวัดน้ันปรึกษาสงฆ์ในวัดพิจารณาคัดเลือกคฤหัสถ์ผู้มีคุณสมบัติตามความในข้อ ๖ เม่ือมีมติเห็นชอบในคฤหัสถ์ผใู้ ดก็ใหเ้ จ้าอาวาสแตง่ ตั้งคฤหสั ถ์ผนู้ ัน้ เปน็ ไวยาวัจกร โดยอนมุ ตั ิของเจา้ คณะอาเภอ ในการแต่งตั้งไวยาวัจกรตามความในวรรคต้น เพ่ือความเหมาะสมจะแต่งต้ังไวยาวัจกรคนเดยี วหรอื หลายคนกไ็ ด้ ในกรณีท่ีมีไวยาวัจกรหลายคน ให้เจ้าอาวาสมอบหมายหน้าท่ีการงานตามข้อ ๔แกไ่ วยาวจั กรแต่ละคนเปน็ หนงั สือ หมวด ๒ การพ้นจากหนา้ ท่ีไวยาวจั กร ข้อ ๘ ไวยาวจั กรย่อมพ้นจากหน้าที่ เม่ือ (๑) ตาย (๒) ลาออก ๖๑ คู่มอื พระสงั ฆาธกิ าร

(๓) พ้นจากความเป็นคฤหสั ถ์ (๔) เจ้าอาวาสผู้แต่งต้ังพน้ จากตาแหนง่ หนา้ ที่ (๕) ขาดคุณสมบตั อิ ย่างใดอย่างหนง่ึ ตามความในข้อ ๖ (๖) ใหอ้ อกจากหนา้ ท่ี (๗) ถูกถอดถอนออกจากหนา้ ที่ ขอ้ ๙ ไวยาวัจกรผู้ใดประสงค์จะลาออกจากหน้าท่ีก็ย่อมทาได้ เม่ือเจ้าอาวาสสั่งอนุญาตแล้วจงึ เป็นอันพ้นจากหนา้ ที่ และใหเ้ จา้ อาวาสรายงานเจ้าคณะอาเภอทราบ ข้อ ๑๐ ไวยาวัจกรผู้พ้นจากหน้าท่ีตามความในข้อ ๘ (๔) ให้รักษาการในหน้าท่ีต่อไปจนกวา่ จะมกี ารแตง่ ต้ังใหม่ ขอ้ ๑๑ ไวยาวจั กรผขู้ าดคุณสมบตั ิตามความในข้อ ๘ (๕) ใหเ้ จ้าอาวาสส่ังให้พน้ จากหนา้ ที่แลว้ รายงานเจา้ คณะอาเภอทราบ ข้อ ๑๒ ในกรณีที่ไวยาวัจกรหย่อนความสามารถด้วยเหตุใดๆ ในการปฏิบัติหน้าที่เมื่อเจ้าอาวาสเห็นสมควรใหอ้ อกจากหนา้ ท่ี กส็ ่ังให้ออกได้ โดยอนุมัติของเจา้ คณะอาเภอ ข้อ ๑๓ การถอดถอนไวยาวัจกรออกจากหน้าที่ จะทาได้เม่ือไวยาวัจกรประพฤติมิชอบอยา่ งใดอย่างหนึ่ง ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ทุจริตตอ่ หนา้ ท่ี (๒) ไมป่ ฏิบตั ิหน้าท่จี นเป็นเหตุใหเ้ กิดความเสยี หายอย่างรา้ ยแรง (๓) ขัดคาสั่งของเจ้าอาวาส ซ่ึงสั่งโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบแบบแผนเปน็ เหตใุ ห้เกิดความเสียหายแกว่ ดั อยา่ งร้ายแรง (๔) ประมาทเลินเล่อในหน้าที่เป็นเหตุใหเ้ กดิ ความเสียหายแก่วัดอย่างร้ายแรง (๕) ประพฤติช่ัวอย่างร้ายแรง ในกรณีเช่นนี้ ให้เจ้าอาวาสสั่งถอดถอนไวยาวัจกรผู้นั้นออกจากหน้าท่ี โดยอนุมัติของเจ้าคณะอาเภอ ข้อ ๑๔ ในกรณีที่ไวยาวัจกรพ้นจากหน้าท่ีตามความในข้อ ๘ (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) หรือ (๗)ไวยาวัจกรผู้นั้นจะพ้นจากความรับผิดชอบในหน้าที่ต่อเม่ือได้มอบหมาย หน้าที่การงานพร้อมด้วยทรัพย์สินและหลักฐานต่าง ๆ ซ่งึ อยู่ในความรับผิดชอบของตน แกผ่ รู้ บั หนา้ ทีแ่ ทนตนเรียบร้อยแล้ว การมอบหมายตามความในวรรคแรก ให้กระทาภายใน ๓๐ วัน นับจากวันท่ีพ้นจากหน้าที่ถ้ามิได้มอบหมายภายในกาหนดให้ถือว่าเป็นเจ้าพนักงานปฏิบัติหน้าท่ี โดยมิชอบตามความในประมวลกฎหมายอาญา ๖๒ คู่มอื พระสังฆาธิการ

ข้อ ๑๕ ในกรณีท่ีไวยาวัจกรว่างลง และจะแต่งตั้งทันทีมิได้ ให้เจ้าอาวาสแต่งตั้งผู้รักษาการแทนไวยาวัจกร และให้ดาเนินการเพ่ือให้มีการแต่งต้ังไวยาวัจกรภายในเวลาไม่เกิน๙๐ วนั ผ้รู ักษาการแทนไวยาวจั กร ให้มอี านาจหน้าทีเ่ ช่นเดยี วกับไวยาวัจกร หมวด ๓ เบ็ดเตล็ด ขอ้ ๑๖ เม่ือมีการแต่งตั้งไวยาวัจกร หรือผู้รักษาการแทนไวยาวัจกร หรือเม่ือไวยาวัจกรพ้นจากหน้าท่ตี ามความในข้อ ๘ (๑)ในกรงุ เทพมหานคร ให้เจ้าอาวาสแจ้งไปยังกรมการศาสนา (๒) ในจังหวัดอื่น ให้เจ้าอาวาสแจ้งแก่นายอาเภอ เพื่อรายงานไปยังผู้ว่าราชการจังหวัดและกรมการศาสนา ขอ้ ๑๗ คาส่ังของเจ้าอาวาสในการแต่งต้ังไวยาวัจกร หรือผู้รักษาการแทนไวยาวัจกรกด็ ี ในการใหไ้ วยาวจั กรหรือผู้รกั ษาการแทนไวยาวจั กร พน้ จากหน้าที่ก็ดี ใหก้ ระทาเปน็ หนังสือ ตราไว้ ณ วันที่ ๓๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๓๖ (สมเดจ็ พระญาณสังวร) สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก ประธานกรรมการมหาเถรสมาคมหมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๘ (พ.ศ. ๒๕๓๖ ) คือ เนื่องจากมาตรา ๑๘แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซ่ึงให้อานาจมหาเถรสมาคม ตรากฎมหาเถร-สมาคม ออกข้อบังคับวางระเบียบ หรือออกคาส่ังมหาเถรสมาคม ได้ถูกยกเลิกและได้บัญญัติอานาจหน้าท่ีของมหาเถรสมาคม ดังกล่าวข้นึ ใหมเ่ ปน็ มาตรา ๑๕ ตรีแห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ จึงจาเปน็ ต้องตรากฎมหาเถรสมาคมน้ี ๖๓ ค่มู อื พระสังฆาธิการ

กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๑๙ (พ.ศ.๒๕๓๖) วา่ ด้วยการแตง่ ตง้ั ผู้รกั ษาการแทนเจ้าอาวาส ๓๙ --------------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๓๕ และมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบญั ญตั ิคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ มหาเถรสมาคมตรากฎมหาเถรสมาคมไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี ข้อ ๑ กฎมหาเถรสมาคมนี้เรียกว่า “กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๙ (พ.ศ.๒๕๓๖)ว่าดว้ ยการ แตง่ ต้งั ผูร้ กั ษาการแทนเจา้ อาวาส” ข้อ ๒ กฎมหาเถรสมาคมน้ี ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์ เปน็ ตน้ ไป ข้อ ๓ ตงั้ แตว่ ันใชก้ ฎมหาเถรสมาคมนี้ ให้ยกเลกิ (๑) กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๐ (พ.ศ.๒๕๑๓) วา่ ดว้ ยการแต่งตง้ั ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส (๒) กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๐ แก้ไขเพิ่มเติม (พ.ศ.๒๕๒๑) (๓) กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๐ แก้ไขเพมิ่ เติม (พ.ศ.๒๕๓๓) บรรดากฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง มติ หรือประกาศอ่ืนใดในส่วนท่ีกาหนดไว้แล้วในกฎมหาเถรสมาคมนี้ หรือซึง่ ขัดหรอื แย้งกับกฎมหาเถรสมาคมน้ี ใหใ้ ช้กฎมหาเถรสมาคมน้แี ทน ข้อ ๔ ในกรณีไม่มีเจ้าอาวาส และจะแต่งตั้งเจ้าอาวาสทันทีมิได้ ให้เจ้าคณะตาบลน้ันแต่งตั้งรองเจ้าอาวาสเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส ถ้าไม่มีรองเจ้าอาวาสหรือรองเจ้าอาวาสไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้แต่งต้ังผู้ช่วยเจ้าอาวาสเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส ถ้าไม่มีผู้ช่วยเจ้าอาวาสหรือผู้ช่วยเจ้าอาวาสไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้แต่งต้ังพระภิกษุรูปใดรูปหนึ่งที่เห็นสมควรเป็นผู้รักษาการแทนเจา้ อาวาส แต่ถา้ มีรองเจ้าอาวาสหรือผู้ช่วยเจ้าอาวาสหลายรูปให้แต่งต้ังรูปใดรูปหน่ึงเป็นผ้รู กั ษาการแทนเจ้าอาวาส แลว้ รีบรายงานตามลาดับจนถึงเจ้าคณะจังหวัด๓๙ ประกาศในแถลงการณค์ ณะสงฆ์ เล่ม ๘๑ ตอนท่ี ๖ วนั ท:ี่ ๒๕ เมษายน ๒๕๓๖ ๖๔ คมู่ ือพระสงั ฆาธิการ

ถ้าเป็นพระอารามหลวง ให้เจ้าคณะจังหวัดแต่งตั้งผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสตามความ ในวรรคแรก แล้วรีบรายงานตามลาดับจนถึงมหาเถรสมาคม และแจ้งให้กรมการศาสนาทราบ ภายในกาหนด ๓๐ วัน เว้นแต่ (๑) ในกรณีท่ีเจ้าคณะภาคเห็นสมควรแต่งตั้งเจ้าคณะจังหวัดเจ้าสังกัดเป็นผูร้ กั ษาการแทนเจา้ อาวาสพระอารามหลวงนน้ั ในชั่วระยะเวลาหนง่ึ หรือ (๒) ในกรณีท่ีพระภิกษุผู้สมควรจะดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสพระอารามหลวงนั้นเป็นเจ้าคณะจังหวดั หรือเป็นผ้รู กั ษาการแทนเจ้าคณะจังหวัดอยดู่ ้วย ในกรณีดังกล่าวใน (๑) หรือ (๒) ให้เจ้าคณะภาคแต่งตั้งเจ้าคณะจังหวัดเจ้าสังกัด หรือพระภิกษุผู้สมควรจะดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสพระอารามหลวงนั้นแล้วแต่กรณี เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสแล้วรีบรายงานตามลาดับจนถึงมหาเถรสมาคม และแจ้งให้กรมการศาสนาทราบภายในกาหนด ๓๐ วัน เมื่อได้มีการแต่งตั้งผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสตามความในข้อน้ีแล้ว ให้เจ้าคณะตาบลและเจ้าคณะอาเภอ หรือเจ้าคณะจังหวัด หรือเจ้าคณะภาค แล้วแต่กรณี ดาเนินการเพ่ือให้มีการแต่งตงั้ เจ้าอาวาสภายในเวลาไมเ่ กนิ หน่งึ ปี ในท้องท่ีกันดารและยังไม่มี หรือหาพระภิกษุมีพรรษาพ้น ๕ มิได้ ให้มีผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสเกินหนึ่งปีได้ เม่ือมีพระภิกษุพรรษาพ้น ๕ แล้ว ให้ดาเนินการตามความในวรรค ๔ โดยอนโุ ลม สาหรับพระอารามหลวง เม่ือยังไม่มี หรือหาพระภิกษุผู้เหมาะสมท่ีจะดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสมิได้ ให้มีผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสเกินหนึ่งปีได้ แต่มิให้เกินห้าปี ให้เจ้าคณะจังหวัดหรอื เจา้ คณะภาคแลว้ แตก่ รณี ดาเนนิ การให้มีการแต่งต้งั เจ้าอาวาส ขอ้ ๕ ในกรณที ่เี จ้าอาวาสไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ เพราะเหตุใดเหตุหนึ่ง ให้เจ้าคณะตาบลด้วยความเห็นชอบของเจ้าคณะอาเภอ ส่ังแต่งต้ังรองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส หรือพระภิกษุรูปใดรูปหนึ่งท่ีเห็นสมควร เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส ตามข้อเสนอของเจ้าอาวาส และรายงานตามลาดบั จนถึงเจ้าคณะจังหวดั ถ้าเป็นพระอารามหลวง ให้เจ้าคณะจังหวัดด้วยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคมสั่งแต่งต้ังรองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส หรือพระภิกษุรูปใดรูปหน่ึง ท่ีเห็นสมควรเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสตามขอ้ เสนอของเจ้าอาวาส ๖๕ คมู่ ือพระสงั ฆาธกิ าร

ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสตามความในข้อน้ี พ้นจากหน้าท่ีในเม่ือเจ้าอาวาสพ้นจากตาแหน่งหรือผู้ส่ังแต่งต้ังด้วยความเห็นชอบของเจ้าคณะอาเภอหรือมหาเถรสมาคม แล้วแต่กรณี ให้พ้นจากหนา้ ที่ตามข้อเสนอของเจา้ อาวาส ขอ้ ๖ ในกรณีดังกล่าวในข้อ ๕ ถ้าเจ้าอาวาสอาพาธจนไม่อาจเสนอผู้ที่สมควรเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสได้ ให้เจ้าคณะตาบลหรือเจ้าคณะจังหวัดโดยความเห็นชอบของเจ้าคณะอาเภอหรือมหาเถรสมาคมแล้วแต่กรณี แต่งต้ังรองเจ้าอาวาสเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส ถ้าไม่มีรองเจ้าอาวาส หรือรองเจ้าอาวาสไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้แต่งตั้งผู้ช่วยเจ้าอาวาสเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส ถ้าไม่มีผู้ช่วยเจ้าอาวาสหรือผู้ช่วยเจ้าอาวาสไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้แต่งต้ังพระภิกษุรูปใดรูปหนึ่งที่เห็นสมควรเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส แต่ถ้ามีรองเจ้าอาวาสหรือผู้ช่วยเจ้าอาวาสหลายรูป ให้แต่งตั้งรูปใดรูปหนึ่งเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส เว้นแต่ในกรณีที่เจ้าคณะภาคเห็นสมควรให้เจ้าคณะจังหวัดเจ้าสังกัด เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสพระอารามหลวงน้ัน ก็ให้เจ้าคณะภาคโดยความเห็นชอบของมหาเถรสมาคมแต่งตั้งเจ้าคณะจังหวัดเจ้าสังกัดเป็นผู้รักษาการแทนเจา้ อาวาสพระอารามหลวงน้ัน เม่ือได้มีการแต่งต้ังผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสตามความในวรรคแรกแล้ว ให้ผู้แต่งต้ังรบี รายงานตามลาดับจนถึงเจา้ คณะจังหวดั หรอื มหาเถรสมาคมแล้วแต่กรณี ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสตามความในข้อนี้ พ้นจากหน้าท่ีเมื่อเจ้าอาวาสพ้นจากตาแหน่งหรือผู้สั่งแต่งต้ังด้วยความเห็นชอบของเจ้าคณะอาเภอ หรือมหาเถรสมาคม แล้วแต่กรณี ให้พ้นจากหนา้ ทีห่ รอื เจา้ อาวาสสามารถปฏิบตั หิ นา้ ทไี่ ด้ ข้อ ๗ ในกรณีท่ีเจ้าอาวาสไม่อยู่ และไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ชั่วครั้งช่ัวคราวให้เจ้าอาวาสสั่งแต่งต้ังรองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาสหรือพระภิกษุรูปใดรูปหน่ึง ท่ีเห็นสมควรเป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาส ถ้ามีการแต่งต้ังผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสตามความในวรรคแรกเป็นเวลาติดต่อกันเกินกว่า ๓๐ วนั ใหเ้ จา้ อาวาสรายงานตามลาดบั จนถงึ เจา้ คณะจงั หวดั ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสตามความในวรรคแรก พ้นจากหน้าท่ีในเมื่อเจ้าอาวาสให้พ้นจากหนา้ ที่ หรอื เจา้ อาวาสไม่อาจปฏบิ ตั ิหน้าทไ่ี ด้ หรือเจ้าอาวาสกลบั มาปฏิบตั หิ นา้ ทต่ี ามเดมิ ๖๖ คมู่ อื พระสังฆาธกิ าร

ขอ้ ๘ การแต่งต้ังผูร้ กั ษาการแทนเจา้ อาวาส ใหท้ าเป็นหนังสอื ตราไว้ ณ วนั ท่ี ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ (สมเดจ็ พระญาณสังวร) สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก ประธานกรรมการมหาเถรสมาคมหมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๑๙ (พ.ศ. ๒๕๓๖ ) คือ เนื่องจากมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญตั ิคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซึง่ ใหอ้ านาจมหาเถรสมาคม ตรากฎมหาเถร-สมาคม ออกข้อบังคับ วางระเบียบหรือออกคาส่ังมหาเถรสมาคม ได้ถูกยกเลิกและได้บัญญัติอานาจหน้าท่ีของมหาเถรสมาคม ดังกล่าวข้ึนใหม่เป็นมาตรา ๑๕ ตรีแห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๕๓๕ จึงจาเป็นตอ้ งตรากฎมหาเถรสมาคมนี้ ๖๗ คู่มอื พระสังฆาธกิ าร

บนั ทึกหลกั การและเหตุผล ประกอบกฎมหาเถรสมาคม (ฉบบั ท่ี ๒๑) พ.ศ. ๒๕๓๘ ว่าดว้ ยการใหพ้ ระภกิ ษุสละสมณเพศ --------------------- หลกั การ ให้มกี ฎมหาเถรสมาคมว่าด้วยการใหพ้ ระภกิ ษสุ ละสมณเพศ เหตุผล เนื่องจากมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒ ) พ.ศ. ๒๕๓๕ กาหนดว่าการวินิจฉัยให้พระภิกษุที่ต้องด้วยกรณีข้อใดข้อหนึ่ง ตามมาตราดังกล่าว สละสมณเพศเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการทีก่ าหนดในกฎมหาเถรสมาคม จึงจาเปน็ ตอ้ งตรากฎมหาเถรสมาคมน้ี ๖๘ ค่มู ือพระสังฆาธิการ

กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๒๑ (พ.ศ.๒๕๓๘) วา่ ด้วยการใหพ้ ระภิกษุสละสมณเพศ๔๐ --------------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี และมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์พ.ศ.๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๕ มหาเถรสมาคมตรากฎมหาเถรสมาคมไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ กฎมหาเถรสมาคมนี้ เรียกว่า \"กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๑ (พ.ศ.๒๕๓๘)วา่ ดว้ ยการใหพ้ ระภิกษสุ ละสมณเพศ” ข้อ ๒ กฎมหาเถรสมาคมน้ี ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ในกรณีพระภิกษุรูปใด (๑) ประพฤติล่วงละเมิดพระธรรมวินัยเร่ืองเดียวกัน หรือหลายเร่ืองเป็นอาจิณให้เจ้าอาวาสวัดซ่ึงพระภิกษุนั้นสังกัด หรือพานักอาศัยมีอานาจหน้าท่ีแนะนา ชี้แจง ตักเตือนให้พระภิกษุรูปนั้นประพฤติตามพระธรรมวินัยเป็นลายลักษณ์อักษร โดยกาหนดเวลาให้ปฏิบัติหากพระภิกษุรูปนั้นไม่ปฏิบัติตามคาแนะนา ชี้แจง ตักเตือนภายในเวลาที่กาหนด ให้เจ้าอาวาสวัดซึ่งพระภิกษุรูปนั้นสังกัดหรือพานักอาศัย รายงานโดยลาดับ จนถึงเจ้าคณะอาเภอเจ้าสังกัดเพอ่ื วินจิ ฉัยให้สละสมณเพศตอ่ ไป (๒) ไม่สงั กัดอยู่ในวัดใดวัดหน่ึง หรือไม่มีวัดเป็นท่ีอยู่เป็นหลักแหล่ง ให้พระภิกษุผู้ดารงตาแหน่งปกครองวัด หรือพระภิกษุผู้ดารงตาแหน่งปกครองคณะสงฆ์ในเขตท้องท่ีที่พบพระภิกษรุ ปู น้ัน มอี านาจวินิจฉัยให้พระภิกษรุ ปู นนั้ สละสมณเพศเสยี ได้๔๐ ประกาศในแถลงการณค์ ณะสงฆ์ เล่ม ๘๓ ตอนพิเศษ วันที่ ๒๒ มนี าคม ๒๕๓๘ ๖๙ คู่มอื พระสงั ฆาธกิ าร

ขอ้ ๔ ในกรณีท่ีมีการฟ้องว่า พระภิกษุรูปใดกระทาความผิดอันเป็นครุกาบัติ เม่ือคณะผู้พิจารณาชั้นต้นไต่สวนมูลฟ้องตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๒๑) ว่าด้วยการลงนิคหกรรมแล้ว มีคาสั่งประทับฟ้องเพ่ือดาเนินการพิจารณาวินิจฉัยต่อไปก็ดี คณะผู้พิจารณาชั้นต้นวินจิ ฉัยแลว้ ไมว่ ่าจะลงนิคหกรรมหรือไม่ก็ตาม และเร่ืองยังอยู่ภายในกาหนดเวลาอุทธรณ์ก็ดี หรือมีการอทุ ธรณภ์ ายในกาหนดเวลาแลว้ ไม่ว่าคณะผพู้ ิจารณาชั้นอุทธรณ์จะมีคาส่ังหรือวินิจฉัยอย่างไรก็ดีให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้นหรือคณะผู้พิจารณาชั้นอุทธรณ์แล้วแต่กรณีรายงานข้อเท็จจริงข้อกฎหมายและพระธรรมวินัยทเี่ กี่ยวข้องต่อมหาเถรสมาคม ในกรณีท่ีการพิจารณาวินิจฉัยการลงนิคหกรรมอยู่ในช้ันฎีกา กรรมการมหาเถรสมาคมรูปใดรูปหนึ่งอาจรายงานต่อมหาเถรสมาคมเพ่ือให้ดาเนินการตามข้อน้ี นอกเหนือจากการพิจารณาวนิ ิจฉยั การลงนคิ หกรรมก็ได้ ในกรณีท่ีมหาเถรสมาคมพิจารณาจากรายงานดังกล่าว และพยานหลักฐานอ่ืนประกอบกนั แลว้ เหน็ วา่ พระภกิ ษุผู้เปน็ จาเลยประพฤติล่วงละเมิดพระธรรมวินัยเรื่องเดียวกัน หรือหลายเร่ืองอันเป็นโลกวัชชะเป็นอาจิณ ทั้งความประพฤตินั้นเมื่อพิจารณาจากพฤติการณ์ท่ีล่วงมาแล้ว หากให้ดารงเพศบรรพชิตต่อไป จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่พระศาสนาและการปกครองของคณะสงฆ์มหาเถรสมาคมมีอานาจวินิจฉัยให้พระภิกษุรูปน้ันสละสมณเพศได้ ทั้งน้ีไม่กระทบต่อการพิจารณาวินิจฉยั การลงนิคหกรรมทก่ี าลงั ดาเนนิ การอยู่ไม่วา่ ในช้ันใดๆ ขอ้ ๕ คาวนิ จิ ฉยั ใหพ้ ระภิกษุสละสมณเพศตามข้อ ๓ หรอื ข้อ ๔ ใหเ้ ปน็ อนั ถงึ ท่สี ุด ขอ้ ๖ เมื่อมีคาวินิจฉัยให้พระภิกษุรูปใดสละสมณเพศตามข้อ ๓ หรือข้อ ๔ แล้วให้เจ้าอาวาสซ่ึงพระภิกษุรูปน้ันสังกัดหรือพานักอาศัยหรือพระภิกษุผู้ดารงตาแหน่งปกครองวัด หรือพระภิกษุผู้ดารงตาแหน่งปกครองคณะสงฆ์ในเขตท้องที่ท่ีพบพระภิกษุรูปนั้นแล้วแต่กรณี แจ้งผลคาวินจิ ฉยั ให้พระภกิ ษรุ ปู นัน้ ทราบ และจัดการใหพ้ ระภิกษุรูปนนั้ สละสมณเพศ ในกรณีท่ีไม่อาจพบพระภิกษุรูปนั้น หรือพระภิกษุรูปน้ันไม่ยอมรับทราบคาวินิจฉัยเม่ือปิดประกาศคาวินิจฉัยไว้ ณ ท่ีพานักอาศัยของพระภิกษุรูปนั้น ถือว่าพระภิกษุรูปน้ันทราบคาวนิ ิจฉัยดังกลา่ วแล้ว ขอ้ ๗ พระภิกษุผู้ต้องคาวินิจฉัยให้สละสมณเพศต้องสึกภายในสามวัน นับแต่วันทราบหรอื ถือวา่ ทราบคาวินิจฉยั น้นั ในกรณีที่พระภิกษุรูปน้ันไม่สึกภายในกาหนดเวลาดังกล่าว ให้พระภิกษุผู้มีหน้าท่ีจัดการให้พระภิกษุรูปนั้นสละสมณเพศขออารักขาต่อเจ้าหน้าที่ฝ่ายราชอาณาจักร เพ่ือปฏิบัติการ ให้เป็นไปตามคาวินจิ ฉัย ๗๐ ค่มู อื พระสงั ฆาธกิ าร

ข้อ ๘ ให้คณะผู้พิจารณาช้ันต้น หรือช้ันอุทธรณ์แล้วแต่กรณี ซ่ึงอยู่ระหว่างพิจาณานิจฉัยการลงนิคหกรรมตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๒๑) ว่าด้วยการลงนิคหกรรมและการพิจารณาน้ันยังไม่ถึงที่สุด ปฏิบัติตามกฎมหาเถรสมาคมนี้ และกฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๑(พ.ศ. ๒๕๒๑) ตอ่ ไป ตราไว้ ณ วันท่ี ๒๒ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๓๘ (สมเด็จพระญาณสงั วร) สมเดจ็ พระสังฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม ๗๑ คู่มือพระสงั ฆาธกิ าร

บนั ทกึ หลักการและเหตุผล ประกอบการรา่ งกฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๒๒ (พ.ศ. ๒๕๓๙) แก้ไขเพ่มิ เติมกฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ว่าด้วยจานวนและเขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนภมู ิภาค --------------------- หลักการ แก้ไขเพ่ิมเติมกฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๔ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ว่าด้วยจานวนและเขตปกครองคณะสงฆส์ ่วนภมู ภิ าค เหตผุ ล เน่ืองจากฝ่ายราชอาณาจักรได้แยกอาเภอหนองบัวลาภู อาเภอนากลาง อาเภอโนนสังอาเภอศรีบุญเรือง และอาเภอสุวรรณคูหา ออกจากจังหวัดอุดรธานี แล้วรวมต้ังข้ึนเป็นจังหวัดหนองบัวลาภู ได้แยกอาเภออานาจเจริญ อาเภอชานุมาน อาเภอปทุมราชวงศา อาเภอพนาอาเภอเสนางคนิคม อาเภอหัวตะพาน และก่ิงอาเภอลืออานาจ ออกจากจังหวัดอุบลราชธานีแล้วรวมตั้งขึน้ เป็นจังหวัดอานาจเจรญิ และได้แยกอาเภอสะแกว้ อาเภอคลองหาด อาเภอตาพระยาอาเภอวังน้าเย็น อาเภอวัฒนานคร และอาเภออรัญประเทศ ออกจากจังหวัดปราจีนบุรี แล้วรวมตั้งข้ึนเป็นจังหวัดสระแก้ว ตามพระราชบัญญัติต้ังจังหวัดหนองบัวลาภู จังหวัดอานาจเจริญ และจงั หวดั สระแก้ว วนั ท่ี ๒๗ สิงหาคม ๒๕๓๖ เพ่ือให้เขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค สอดคล้องกับพระราชบัญญัติตั้งจังหวัดข้ึนใหม่ของฝ่ายราชอาณาจกั ร จึงจาเป็นต้องตรากฎมหาเถรสมาคมน้ี ๗๒ คมู่ อื พระสังฆาธิการ

กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๒ (พ.ศ. ๒๕๓๙)๔๑ แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ที่ ๑๔ (พ.ศ.๒๕๓๕) ว่าดว้ ยจานวนและเขตปกครองคณะสงฆ์สว่ นภูมิภาค --------------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี แหง่ พระราชบัญญตั ิคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕แกไ้ ขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๓๕ และมาตรา ๒๑ วรรคสองแหง่ พระราชบญั ญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ มหาเถรสมาคมตรากฎมหาเถรสมาคมไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑ กฎมหาเถรสมาคมนี้เรียกว่า “กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๒๒ (พ.ศ.๒๕๓๙)แก้ไขเพ่ิมเติมกฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๔ (พ.ศ.๒๕๓๕) ว่าด้วยจานวนและเขตปกครองคณะสงฆส์ ว่ นภูมิภาค” ข้อ ๒ กฎมหาเถรสมาคมน้ี ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์ เป็นต้นไป ข้อ ๓ ให้ยกเลิกข้อความในข้อ ๔ ภาค ๘ ภาค ๑๐ และภาค ๑๒ แห่งกฎมหาเถรสมาคมฉบับท่ี ๑๔ (พ.ศ.๒๕๓๕) ว่าด้วยจานวนและเขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค และให้ใช้ข้อความดังตอ่ ไปนแี้ ทน “ภาค ๘ มีจังหวัด ๕ จังหวัด คือ จังหวัดอุดรธานี จังหวัดหนองบัวลาภู จังหวัดหนองคายจังหวดั เลย และจงั หวดั สกลนคร” “ภาค ๑๐ มจี ังหวัด ๖ จังหวัด คือ จังหวัดอบุ ลราชธานี จังหวดั อานาจเจริญ จงั หวัดยโสธรจงั หวัดศรสี ะเกษ จงั หวดั นครพนม และจงั หวัดมุกดาหาร”๔๑ ประกาศในแถลงการณค์ ณะสงฆ์ เลม่ ๘๔ ตอนท่ี ๖ วันที่ ๒๕ มถิ นุ ายน ๒๕๓๙ ๗๓ คู่มอื พระสงั ฆาธิการ

“ภาค ๑๒ มจี งั หวัด ๔ จังหวัด คอื จงั หวัดปราจนี บุรี จังหวดั สระแกว้ จังหวัดนครนายกและจงั หวดั ฉะเชิงเทรา” ตราไว้ ณ วนั ที่ ๓ เดอื นมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๙ (สมเดจ็ พระญาณสังวร) สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม ๗๔ คมู่ ือพระสังฆาธิการ

บันทึกหลกั การและเหตผุ ล ประกอบกฎมหาเถรสมาคม ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๔๑ --------------------- หลักการ ยกเลิกกฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๑๕ (พ.ศ. ๒๕๓๕) วา่ ด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ เหตผุ ล เพื่อยกย่องเชิดชูเจ้าคณะและรองเจ้าคณะ และเพื่อประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าคณะและรองเจ้าคณะ สมควรให้มีเลขานุการทาหน้าท่ีการเลขานุการของรองเจ้าคณะจังหวัดรองเจา้ คณะอาเภอ และเจา้ คณะตาบล จึงจาเปน็ ต้องตรากฎมหาเถรสมาคมน้ี ๗๕ คูม่ ือพระสังฆาธิการ

กฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๒๓ (พ.ศ.๒๕๔๑)๔๒ ว่าด้วยระเบยี บการปกครองคณะสงฆ์ --------------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี มาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๐ ทวิ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๓๕ มหาเถร-สมาคมตรากฎมหาเถรสมาคมไว้ ดงั ต่อไปน้ี ขอ้ ๑ กฎมหาเถรสมาคมน้ีเรียกว่า “กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๒๓ (พ.ศ.๒๕๔๑)ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์” ขอ้ ๒ กฎมหาเถรสมาคมนี้ ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์ เป็นต้นไป ขอ้ ๓ ต้ังแต่วันใช้กฎมหาเถรสมาคมนี้ ให้ยกเลิกกฎมหาเถรสมาคมฉบับท่ี ๑๕(พ.ศ. ๒๕๓๕) วา่ ดว้ ยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ บรรดากฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คาส่ัง มติ หรือประกาศอ่ืนใด ในส่วนที่กาหนดไว้แล้วในกฎมหาเถรสมาคมน้ี หรือซึง่ ขดั หรือแยง้ กบั กฎมหาเถรสมาคมน้ี ให้ใชก้ ฎมหาเถรสมาคมน้แี ทน หมวด ๑ บททั่วไป ข้อ ๔ การปกครองคณะสงฆ์ ทุกส่วนทุกชั้น ให้มีเจ้าคณะมหานิกายและเจ้าคณะธรรมยุตปกครองบังคับบญั ชาวัด และพระภกิ ษสุ ามเณรในนิกายนั้น๔๒ ประกาศในแถลงการณค์ ณะสงฆ์ เล่มท่ี ๘๖ ฉบับพิเศษ วนั ท่ี ๓ ตุลาคม ๒๕๔๑ ๗๖ คูม่ ือพระสังฆาธิการ

หมวด ๒ ระเบียบการปกครองคณะสงฆส์ ว่ นกลาง ข้อ ๕ วธิ ีดาเนินการเพ่ือความเรียบร้อยดีงาม วธิ ีดาเนนิ การศาสนศึกษาและศึกษาสงเคราะห์วิธดี าเนนิ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา วิธีดาเนินการสาธารณปู การและสาธารณสงเคราะห์ อันเก่ียวกบัการคณะสงฆ์และการพระศาสนา ใหเ้ ปน็ ไปตามที่กาหนดในระเบียบมหาเถรสมาคม ข้อ ๖ เพื่อประโยชน์แก่การปกครองคณะสงฆ์ ตามข้อ ๔ ให้เจ้าคณะใหญ่ปฏิบัติหน้าที่เก่ยี วกบั การคณะสงฆ์นิกายนัน้ ๆ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ดงั น้ี (๑) เจา้ คณะใหญ่หนกลาง ปฏิบตั หิ น้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค ๑ ภาค ๒ภาค ๓ ภาค ๑๓ ภาค ๑๔ และภาค ๑๕ (๒) เจ้าคณะใหญ่หนเหนือ ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค ๔ ภาค ๕ภาค ๖ และภาค ๗ (๓) เจ้าคณะใหญ่หนตะวันออก ปฏิบัติหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค ๘ภาค ๙ ภาค ๑๐ ภาค ๑๑ และภาค ๑๒ (๔) เจ้าคณะใหญ่หนใต้ ปฏิบัติหน้าท่ีในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค ๑๖ ภาค ๑๗และภาค ๑๘ (๕) เจ้าคณะใหญค่ ณะธรรมยุต ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีในเขตปกครองคณะสงฆ์ธรรมยุตภาคทกุ ภาค ขอ้ ๗ เจา้ คณะใหญ่มีอานาจหน้าทป่ี กครองคณะสงฆ์ในเขตหนของตน ดังน้ี (๑) ดาเนินการปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎมหาเถรสมาคม ขอ้ บงั คับ ระเบยี บ คาส่ัง มติ ประกาศ พระบญั ชาสมเดจ็ พระสงั ฆราช (๒) ควบคุมและส่งเสริมการรักษาความเรียบร้อยดีงาม การศาสนศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ ให้ดาเนินไปดว้ ยดี (๓) วนิ ิจฉัยการลงนิคหกรรม วนิ ิจฉยั ข้ออุทธรณ์คาสง่ั หรอื คาวินจิ ฉยั ช้ันภาค หรอืมอี านาจหนา้ ท่ีในกรณที ี่ไดร้ บั มอบหมายอย่างอื่นจากมหาเถรสมาคม (๔) แก้ไขข้อขดั ขอ้ งของเจา้ คณะภาคให้เป็นไปโดยชอบ (๕) ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าคณะ และเจ้าอาวาส ตลอดถึงพระภิกษุสามเณรผู้อยู่ในบังคับบัญชาหรืออยู่ในเขตปกครองของตน และช้ีแจงแนะนาการปฏิบัติหน้าท่ีของผู้อยู่ในบงั คบั บญั ชา ให้เปน็ ไปโดยความเรียบร้อย (๖) ตรวจการและประชุมพระสงั ฆาธิการในเขตปกครองของตน ๗๗ คู่มอื พระสงั ฆาธิการ

ข้อ ๘ ในเม่ือไม่มีเจา้ คณะใหญ่ หรือเจ้าคณะใหญ่ไม่อาจปฏิบตั หิ นา้ ท่ีได้ สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งต้งั พระภกิ ษุรูปใดรูปหนึง่ โดยความเหน็ ชอบของมหาเถรสมาคม รักษาการแทนเจ้าคณะใหญ่ ในกรณีที่ไม่มีเจ้าคณะใหญ่ เม่ือได้ปฏิบัติตามความในวรรคต้นแล้ว ให้ดาเนินการเพื่อมีพระบัญชาแต่งตั้งเจ้าคณะใหญภ่ ายในเวลาไมเ่ กนิ ๑ ปี ให้ผู้รกั ษาการแทนเจา้ คณะใหญ่มีอานาจหนา้ ที่เชน่ เดยี วกับเจ้าคณะใหญ่ ข้อ ๙ เพ่ือประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าคณะใหญ่ ให้มีเลขานุการเจ้าคณะใหญ่๒ รูป ทาหน้าทก่ี ารเลขานกุ าร หมวด ๓ ระเบียบการปกครองคณะสงฆ์สว่ นภมู ภิ าค สว่ นท่ี ๑ ภาค ขอ้ ๑๐ เจ้าคณะภาคมีอานาจหน้าทปี่ กครองคณะสงฆ์ในเขตภาคของตน ดงั น้ี (๑) ดาเนินการปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปตามพระธรรมวินัย กฎหมายกฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคบั ระเบยี บ คาสัง่ มติ ประกาศ พระบัญชาสมเดจ็ พระสังฆราช (๒) ควบคุมและส่งเสริมการรักษาความเรียบร้อยดีงาม การศาสนศึกษาการศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ให้ดาเนินไปดว้ ยดี (๓) วินจิ ฉัยการลงนคิ หกรรม วนิ ิจฉัยขอ้ อทุ ธรณ์คาส่ังหรือคาวินิจฉยั ช้ันจังหวัด (๔) แก้ไขข้อขัดขอ้ งของเจ้าคณะจังหวัดใหเ้ ปน็ ไปโดยชอบ (๕) ควบคุม ผู้บังคับบัญชาเจ้าคณะ และเจ้าอาวาส ตลอดถึงพระภิกษุสามเณรผู้อยู่ในบังคับบัญชาหรือ อยู่ในเขตปกครองของตน และช้ีแจงแนะนาการปฏิบัติหน้าที่ของผูอ้ ยใู่ นบงั คับบญั ชา ใหเ้ ปน็ ไปโดยความเรยี บร้อย (๖) ตรวจการและประชมุ พระสงั ฆาธิการในเขตปกครองของตน ขอ้ ๑๑ ในเมื่อไม่มีเจ้าคณะภาค หรือเจ้าคณะภาคไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้เจ้าคณะใหญ่แต่งตั้งรองเจ้าคณะภาครักษาการแทนเจ้าคณะภาค ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะภาค หรือรองเจ้าคณะภาคไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้แต่งต้ังพระภิกษุรูปใดรูปหน่ึงที่เห็นสมควรรักษาการแทนเจ้าคณะภาคแล้วรายงานให้มหาเถรสมาคมทราบ ในกรณีท่ีไม่มีเจ้าคณะภาค เมื่อได้ปฏิบัติตามความในวรรคต้นแล้ว ให้เจ้าคณะใหญ่ดาเนินการเพ่ือมกี ารแต่งต้ังเจ้าคณะภาคภายในเวลาไมเ่ กิน ๑ ปี ๗๘ ค่มู อื พระสงั ฆาธิการ

ให้ผรู้ กั ษาการแทนเจา้ คณะภาคมอี านาจหน้าทเ่ี ช่นเดยี วกับเจ้าคณะภาค ข้อ ๑๒ รองเจ้าคณะภาคเป็นผู้ช่วยเจ้าคณะภาค มีอานาจหน้าที่ตามที่เจ้าคณะภาคมอบหมาย ข้อ ๑๓ เพื่อประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าคณะภาคและรองเจ้าคณะภาค ให้มีเลขานกุ ารเจา้ คณะภาค และเลขานุการรองเจา้ คณะภาค ทาหนา้ ท่ีการเลขานุการ ส่วนท่ี ๒ จังหวดั ข้อ ๑๔ เจ้าคณะจังหวัด หมายถึง เจ้าคณะกรุงเทพมหานคร และเจ้าคณะจังหวัดนอกจากกรงุ เทพมหานคร รองเจ้าคณะจังหวัด หมายถึง รองเจ้าคณะกรุงเทพมหานคร และรองเจ้าคณะจังหวัดนอกจากกรุงเทพมหานคร ในกรณที ่ีมขี ้อความกลา่ วถงึ เจ้าคณะจังหวดั รองเจา้ คณะจังหวัดทป่ี รากฏอยใู่ นกฎมหาเถรสมาคมนี้ กฎมหาเถรสมาคมอนื่ ข้อบงั คบั ระเบียบ คาสง่ั มติ ประกาศ สาหรบั กรุงเทพมหานครใหห้ มายถงึ เจ้าคณะกรุงเทพมหานครและรองเจา้ คณะกรงุ เทพมหานคร ข้อ ๑๕ เจา้ คณะจังหวัดมีอานาจหนา้ ที่ปกครองคณะสงฆ์ในเขตจงั หวดั ของตน ดังนี้ (๑) ดาเนินการปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปตามพระธรรมวินัย กฎหมายกฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบ คาส่ัง มติ ประกาศ พระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช คาสั่งของผู้บังคับบัญชาเหนือตน (๒) ควบคุมและส่งเสริมการรักษาความเรียบร้อยดีงาม การศาสนศึกษาการศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ใหด้ าเนินไปดว้ ยดี (๓) ระงับอธิกรณ์ วินิจฉัยการลงนิคหกรรม วินิจฉัย ข้ออุทธรณ์คาสั่งหรือคาวนิ ิจฉัยชนั้ เจา้ คณะอาเภอ (๔) แก้ไขขอ้ ขดั ขอ้ งของเจา้ คณะอาเภอใหเ้ ป็นไปโดยชอบ (๕) ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าคณะและเจ้าอาวาส ตลอดถึงพระภิกษุสามเณรผู้อยู่ในบังคับบัญชาหรืออยู่ในเขตปกครองของตน และช้ีแจงแนะนาการปฏิบัติหน้าที่ของผู้อยู่ในบงั คับบัญชา ใหเ้ ปน็ ไปโดยความเรยี บรอ้ ย (๖) ตรวจการและประชมุ พระสงั ฆาธกิ ารในเขตปกครองของตน ข้อ ๑๖ ในเม่ือไม่มีเจ้าคณะจังหวัด หรือเจ้าคณะจังหวัดไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ให้เจ้าคณะภาคแต่งตั้งรองเจ้าคณะจังหวัดรักษาการแทนเจ้าคณะจังหวัด ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะจังหวัดหรือรองเจ้าคณะจังหวัดไมอ่ าจปฏบิ ัติหนา้ ท่ีได้ ใหแ้ ต่งตัง้ พระภิกษรุ ปู ใดรปู หนึ่งทเี่ ห็นสมควรรักษาการแทนเจา้ คณะจังหวัด แล้วรายงานใหเ้ จ้าคณะใหญ่ทราบ ๗๙ คมู่ อื พระสังฆาธิการ

ในกรณีที่ไม่มีเจ้าคณะจังหวัด เมื่อได้ปฏิบัติตามวรรคต้นแล้ว ให้เจ้าคณะภาค ดาเนินการเพือ่ มีการแตง่ ตั้งเจา้ คณะจงั หวัดภายในเวลาไมเ่ กนิ ๑ ปี ใหผ้ ้รู กั ษาการแทนเจ้าคณะจงั หวดั มอี านาจหนา้ ท่เี ชน่ เดียวกับเจา้ คณะจงั หวัด ข้อ ๑๗ รองเจ้าคณะจังหวัดเป็นผู้ช่วยเจ้าคณะจังหวัด มีอานาจหน้าท่ีตามที่เจ้าคณะจังหวัดมอบหมาย ข้อ ๑๘ เพ่ือประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าคณะจังหวัดและรองเจ้าคณะจังหวัดใหม้ เี ลขานุการเจ้าคณะจังหวดั และเลขานุการรองเจ้าคณะจงั หวัด ทาหนา้ ท่กี ารเลขานุการ ส่วนที่ ๓ อาเภอ ข้อ ๑๙ เจ้าคณะอาเภอ หมายถึง เจ้าคณะเขตในกรุงเทพมหานคร และเจ้าคณะอาเภอในจังหวัดนอกจากกรุงเทพมหานคร รองเจ้าคณะอาเภอ หมายถึง รองเจ้าคณะเขตในกรุงเทพมหานคร และรองเจ้าคณะอาเภอในจงั หวัดนอกจากกรุงเทพมหานคร ในกรณีที่มีข้อความกล่าวถึงเจ้าคณะอาเภอ รองเจ้าคณะอาเภอที่ปรากฏอยู่ในกฎมหาเถรสมาคมน้ี กฎมหาเถรสมาคมอื่น ข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง มติ ประกาศ สาหรับกรงุ เทพมหานคร ใหห้ มายถงึ เจา้ คณะเขตและรองเจ้าคณะเขต ขอ้ ๒๐ เจ้าคณะอาเภอมอี านาจหน้าทีป่ กครองคณะสงฆ์ในเขตอาเภอของตน ดังน้ี (๑) ดาเนินการปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบ คาส่ัง มติ ประกาศ พระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช คาส่ังของผู้บังคบั บัญชาเหนอื ตน (๒) ควบคุมและส่งเสริมการรักษาความเรียบร้อยดีงาม การศาสนศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ ให้ดาเนินไปด้วยดี (๓) ระงับอธิกรณ์ วินิจฉัยการลงนิคหกรรม วินิจฉัยข้ออุทธรณ์คาส่ังหรือคาวินิจฉยั ช้นั เจา้ คณะตาบล (๔) แกไ้ ขข้อขดั ข้องของเจา้ คณะตาบลให้เปน็ ไปโดยชอบ (๕) ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าคณะและเจ้าอาวาส ตลอดถึงพระภิกษุสามเณรผู้อยู่ในบังคับบัญชาหรืออยู่ในเขตปกครองของตนและชี้แจงแนะนาการปฏิบัติหน้าที่ของผู้อยู่ในบังคบั บัญชา ใหเ้ ป็นไปโดยความเรยี บรอ้ ย (๖) ตรวจการและประชมุ พระสังฆาธิการในเขตปกครองของตน ๘๐ ค่มู ือพระสงั ฆาธกิ าร

ข้อ ๒๑ ในเม่ือไม่มีเจ้าคณะอาเภอ หรือเจ้าคณะอาเภอไม่อาจปฏิบัติหน้าท่ีได้ ให้เจ้าคณะจังหวัดแต่งต้ังรองเจ้าคณะอาเภอรักษาการแทนเจ้าคณะอาเภอ ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะอาเภอ หรือรองเจ้าคณะอาเภอไม่อาจปฏบิ ตั ิหน้าทไี่ ด้ ใหแ้ ต่งตัง้ พระภกิ ษุรูปใดรูปหน่ึงทีเ่ หน็ สมควรรักษาการแทนเจ้าคณะอาเภอ แล้วรายงานใหเ้ จ้าคณะภาคทราบ ในกรณีที่ไม่มีเจา้ คณะอาเภอ เมือ่ ได้ปฏิบัตติ ามวรรคตน้ แล้ว ให้เจ้าคณะจังหวัดดาเนินการเพอ่ื มกี ารแตง่ ตงั้ เจา้ คณะอาเภอภายในเวลาไมเ่ กนิ ๑ ปี ให้ผรู้ ักษาการแทนเจ้าคณะอาเภอมอี านาจหนา้ ท่ีเช่นเดียวกับเจ้าคณะอาเภอ ข้อ ๒๒ รองเจ้าคณะอาเภอเป็นผู้ช่วยเจ้าคณะอาเภอ มีอานาจหน้าท่ีตามท่ีเจ้าคณะอาเภอมอบหมาย ข้อ ๒๓ เพื่อประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าคณะอาเภอและรองเจ้าคณะอาเภอใหม้ เี ลขานุการเจา้ คณะอาเภอ และเลขานุการรองเจา้ คณะอาเภอ ทาหน้าที่การเลขานกุ าร สว่ นท่ี ๔ ตาบล ข้อ ๒๔ เจ้าคณะตาบล หมายถึง เจ้าคณะแขวงในกรุงเทพมหานคร และเจ้าคณะตาบลในจังหวัดนอกจากกรงุ เทพมหานคร รองเจา้ คณะตาบล หมายถงึ รองเจ้าคณะแขวงในกรุงเทพมหานคร และรองเจ้าคณะตาบลในจงั หวดั นอกจากกรงุ เทพมหานคร ในกรณีที่มีข้อความกล่าวถึงเจ้าคณะตาบล รองเจ้าคณะตาบลที่ปรากฏอยู่ในกฎมหาเถร-สมาคมน้ี กฎมหาเถรสมาคมอ่ืน ข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง มติ ประกาศ สาหรับกรุงเทพมหานครใหห้ มายถึงเจ้าคณะแขวงและรองเจา้ คณะแขวง ข้อ ๒๕ เจา้ คณะตาบลมีอานาจหน้าที่ปกครองคณะสงฆใ์ นเขตตาบลของตน ดังน้ี (๑) ดาเนินการปกครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปตามพระธรรมวินัย กฎหมายกฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง มติ ประกาศ พระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช คาสั่งของผู้บงั คับบัญชาเหนอื ตน (๒) ควบคุมและส่งเสริมการรักษาความเรียบร้อยดีงาม การศาสนศึกษาการศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ให้ดาเนนิ ไปด้วยดี (๓) ระงบั อธิการกรณ์ วินิจฉัยการลงนิคหกรรม วินิจฉัยข้ออุทธรณ์คาสั่ง หรือคาวนิ จิ ฉัยชัน้ เจ้าอาวาส ๘๑ คู่มือพระสังฆาธกิ าร

(๔) แก้ไขข้อขัดขอ้ งของเจา้ อาวาสใหเ้ ปน็ ไปโดยชอบ (๕) ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าอาวาสและพระภิกษุสามเณร ผู้อยู่ในบังคับบัญชาหรืออยู่ในเขตปกครองของตน และช้ีแจงแนะนาการปฏิบัติหน้าท่ีของผู้อยู่ในบังคับบัญชา ให้เป็นไปโดยความเรยี บรอ้ ย (๖) ตรวจการและประชุมพระสังฆาธิการในเขตปกครองของตน ข้อ ๒๖ ในเมื่อไม่มีเจ้าคณะตาบล หรือเจ้าคณะตาบลไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้เจ้าคณะอาเภอแต่งตั้งรองเจ้าคณะตาบลรักษาการแทนเจ้าคณะตาบล ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะตาบล หรือรองเจ้าคณะตาบลไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้แต่งตั้งพระภิกษุรูปใดรูปหน่ึงท่ีเห็นสมควรรักษาการแทนเจา้ คณะตาบล แลว้ รายงานให้เจา้ คณะจงั หวัดทราบ ในกรณีที่ไม่มีเจ้าคณะตาบล เมื่อได้ปฏิบัติตามวรรคต้นแล้ว ให้เจ้าคณะอาเภอดาเนินการเพอ่ื มกี ารแตง่ ตัง้ เจ้าคณะตาบลภายในเวลาไม่เกิน ๑ ปี ให้ผ้รู ักษาการแทนเจา้ คณะตาบลมีอานาจหน้าท่ีเชน่ เดียวกับเจา้ คณะตาบล ข้อ ๒๗ รองเจ้าคณะตาบลเป็นผู้ช่วยเจ้าคณะตาบล มีอานาจหน้าท่ีตามที่เจ้าคณะตาบลมอบหมาย ข้อ ๒๘ เพือ่ ประโยชน์แก่การปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าคณะตาบล ให้มีเลขานุการเจ้าคณะตาบลทาหน้าท่กี ารเลขานุการ หมวด ๔ บทเบ็ดเตล็ด ข้อ ๒๙ เพื่อยกย่องเชิดชูเจ้าคณะและรองเจ้าคณะผู้ปฏิบัติหน้าที่มาโดยความเรียบร้อยมหาเถรสมาคมจะใหม้ ที ป่ี รึกษาของเจ้าคณะในสว่ นภูมภิ าคช้ันใดๆ ก็ได้ ให้ทป่ี รกึ ษามหี น้าที่ใหค้ าปรึกษาแก่เจา้ คณะช้นั น้นั ๆ ตราไว้ ณ วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๑ (สมเดจ็ พระญาณสงั วร) สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม ๘๒ ค่มู ือพระสงั ฆาธกิ าร

บันทกึ หลกั การและเหตุผล ประกอบกฎมหาเถรสมาคม ฉบบั ท่ี ๒๔ (พ.ศ. ๒๕๔๑) ว่าดว้ ยการแต่งตัง้ ถอดถอนพระสังฆาธกิ าร --------------------- หลกั การ ยกเลิกกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๖ (พ.ศ.๒๕๓๕) ว่าด้วยการแต่งตั้งถอดถอนพระสังฆาธิการและกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๐ (พ.ศ. ๒๕๓๖) แก้ไขเพ่ิมเติมกฎมหาเถรสมาคมฉบับท่ี ๑๖ (พ.ศ.๒๕๓๕) วา่ ด้วยการแตง่ ตงั้ ถอดถอนพระสังฆาธกิ าร เหตผุ ล ๑. เน่ืองจากการแต่งตั้งเจ้าคณะตาแหน่งต่าง ๆ ตามบทบัญญัติในกฎมหาเถรสมาคมฉบับที่ ๑๖ (พ.ศ.๒๕๓๕) ว่าด้วยการแต่งต้ังถอดถอนพระสังฆาธิการ ยังใช้คาต่างกันอยู่บางแห่งฉะนัน้ ในกฎมหาเถรสมาคมน้ีจึงเหน็ สมควรกาหนดใชค้ าว่า “พระภิกษ”ุ ให้เหมือนกันทกุ แหง่ ๒. เน่ืองจากพระสังฆาธิการระดับรองเจ้าคณะภาค มิได้กาหนดระยะเวลาการดารงตาแหน่งไว้ ดังนั้น จึงเห็นสมควรกาหนดระยะเวลาในการดารงตาแหน่งรองเจ้าคณะภาคไว้เช่นเดยี วกบั พระสังฆาธิการระดบั เจ้าคณะภาค ๓. เน่อื งจากพระสังฆาธกิ ารระดบั เจา้ คณะ ตัง้ แตเ่ จา้ คณะตาบลขึ้นไปจนถึงรองเจ้าคณะจังหวัดมภี าระหน้าท่ีในการปกครองดูแลคณะสงฆ์ภายในเขตอานาจของตน จึงเห็นสมควรให้ผู้ดารงตาแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะอาเภอ และเจ้าคณะตาบล มีอานาจแต่งต้ังเลขานุการทาหน้าที่เลขานุการไดเ้ ชน่ เดียวกบั เจ้าคณะช้ันอ่ืน ๔. เน่ืองจากการแต่งตั้งเจ้าอาวาสนอกจากพระอารามหลวง เป็นหน้าท่ีของเจ้าคณะตาบลน้ันกับเจ้าคณะอาเภอปรึกษาสงฆ์และทายกทายิกาแห่งวัดน้ัน พิจารณาคัดเลือกมักเกิดปัญหาในทางปฏิบัติ ฉะนั้น จึงเห็นสมควรให้เป็นหน้าท่ีของเจ้าคณะผู้ปกครองเจ้าสังกัดโดยตรงร่วมกันพจิ ารณาคัดเลอื ก ๘๓ คู่มือพระสงั ฆาธิการ

๕. เนื่องจากพระสังฆาธิการผู้ดารงตาแหน่ง หรือเคยดารงตาแหน่งต้ังแต่ระดับเจ้าคณะภาคลงมาจนถึงรองเจ้าคณะตาบล ได้ปฏิบัติหน้าที่มาโดยเรียบร้อยจนมีอายุครบ ๘๐ ปีบริบูรณ์ สมควรได้รับการยกย่องเชิดชูแตง่ ตัง้ ใหเ้ ปน็ ทีป่ รกึ ษาเจ้าคณะช้ันนนั้ ๆ ๖. เน่ืองจากการพ้นจากตาแหน่งหน้าท่ีพระสังฆาธิการ ตามบทบัญญัติขอ ๓๕ (๔) ยังไม่สอดคล้องกับบทบัญญัติว่าด้วยการแต่งต้ังพระสังฆาธิการระดับเจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัดเจ้าคณะอาเภอ รองเจ้าคณะอาเภอ เจ้าคณะตาบล และรองเจ้าคณะตาบล จึงเห็นสมควรกาหนดการยา้ ยออกไปนอกเขตทต่ี นมสี านักอยใู่ ห้ชัดเจน ๗. เน่ืองจากพระสังฆาธิการผู้ได้รับโทษถูกถอดถอน หรือถูกปลดจากตาแหน่งหน้าที่ฐานละเมิดจริยา ยังคงดารงตาแหน่งพระสังฆาธิการบางตาแหน่งได้อยู่ ฉะน้ัน จึงเห็นสมควรให้พน้ จากตาแหนง่ พระสังฆาธกิ ารทกุ ตาแหนง่ ๘. เน่ืองจากพระสังฆาธิการระดับเจ้าคณะภาคและรองเจ้าคณะภาคสมควรได้รับการแต่งตั้งและการพ้นจากตาแหนง่ หน้าท่พี ร้อมกัน เพื่อความเรียบร้อยดีงามแห่งการคณะสงฆ์ และการพระศาสนาจึงเห็นสมควรให้เจ้าคณะภาค และรองเจ้าคณะภาค ซ่ึงดารงตาแหน่งอยู่ก่อนวันประกาศใช้กฎมหาเถรสมาคมน้ี ให้พ้นจากตาแหน่ง ต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศกฎมหาเถรสมาคมในแถลงการณ์คณะสงฆเ์ ปน็ ตน้ ไป จงึ สมควรตรากฎมหาเถรสมาคมฉบับนี้ ๘๔ คมู่ ือพระสังฆาธกิ าร

กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๒๔ (พ.ศ.๒๕๔๑)๔๓ วา่ ด้วยการแตง่ ตัง้ ถอดถอนพระสงั ฆาธิการ --------------------- อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๕ ตรี มาตรา ๒๐ ทวิ แหง่ พระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ และมาตรา ๒๓แห่งพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ มหาเถรสมาคมตรากฎมหาเถรสมาคมไว้ ดงั ต่อไปน้ี ข้อ ๑ กฎมหาเถรสมาคมน้ีเรียกว่า \"กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๒๔ (พ.ศ. ๒๕๔๑)ว่าด้วยการแต่งตัง้ ถอดถอนพระสงั ฆาธกิ าร\" ขอ้ ๒ กฎมหาเถรสมาคมน้ี ให้ใชบ้ งั คบั ตงั้ แต่วันถัดจากวันประกาศในแถลงการณ์คณะสงฆ์เปน็ ต้นไป ขอ้ ๓ ตง้ั แต่วันใช้กฎมหาเถรสมาคมน้ี ให้ยกเลกิ (๑) กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๑๖ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ว่าด้วยการแต่งตั้งถอดถอนพระสงั ฆาธกิ าร (๒) กฎมหาเถรสมาคม ฉบับท่ี ๒๐ (พ.ศ.๒๕๓๖) แก้ไขเพิ่มเติมกฎมหาเถรสมาคมฉบับท่ี ๑๖ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ว่าด้วยการแต่งต้ังถอดถอนพระสังฆาธกิ าร บรรดากฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คาส่ัง มติ หรือประกาศอื่นใดในส่วนท่ีกาหนดไว้แล้วในกฎมหาเถรสมาคมนี้ หรือซึ่งขดั หรือแยง้ กับกฎมหาเถรสมาคมน้ี ให้ใช้กฎมหาเถรสมาคมนแ้ี ทน๔๓ ประกาศในแถลงการณค์ ณะสงฆ์ เลม่ ท่ี ๘๖ ฉบับพิเศษ วันท่ี ๓ ตุลาคม ๒๕๔๑ ๘๕ คู่มือพระสงั ฆาธิการ

หมวด ๑ บททว่ั ไปข้อ ๔ ในกฎมหาเถรสมาคมน้ี พระสังฆาธิการ หมายถึง พระภิกษุ ผู้ดารงตาแหน่งปกครองคณะสงฆ์ ดังต่อไปน้ี ๑. เจา้ คณะใหญ่ ๒. เจ้าคณะภาค รองเจา้ คณะภาค ๓. เจ้าคณะจงั หวดั รองเจ้าคณะจังหวดั ๔. เจ้าคณะอาเภอ รองเจ้าคณะอาเภอ ๕. เจ้าคณะตาบล รองเจ้าคณะตาบล ๖. เจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ผ้ชู ่วยเจ้าอาวาสส่วนตาแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น จะได้มีระเบียบมหาเถรสมาคมกาหนดเทียบกับตาแหน่งที่กลา่ วแลว้ข้อ ๕ พระภิกษุผู้ดารงตาแหน่งพระสังฆาธิการตามข้อ ๔ อยู่ก่อนวันใช้กฎมหาเถรสมาคมน้ีให้ถือวา่ เปน็ พระสังฆาธกิ ารผู้ดารงตาแหน่งดังกล่าวนั้น ตามกฎมหาเถรสมาคมนี้ผู้รักษาการแทนในตาแหน่งดังกล่าวในวรรคต้น ก่อนวันใช้กฎมหาเถรสมาคมนี้ ให้ถือว่าเป็นผรู้ ักษาการแทนในตาแหนง่ นนั้ ๆ ตามกฎมหาเถรสมาคมน้ีด้วย หมวด ๒ การแต่งตง้ั พระสงั ฆาธิการ ข้อ ๖ พระภิกษผุ ้จู ะดารงตาแหนง่ ตามข้อ ๔ ตอ้ งมีคุณสมบัติทว่ั ไป ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) มีพรรษาสมควรแก่ตาแหนง่ (๒) มีความรสู้ มควรแก่ตาแหนง่ (๓) มคี วามประพฤตเิ รยี บรอ้ ยตามพระธรรมวนิ ยั (๔) เปน็ ผ้ฉู ลาดสามารถในการปกครองคณะสงฆ์ (๕) ไม่เป็นผู้มีร่างกายทุพพลภาพไร้ความสามารถ หรือมีจิตฟ่ันเฟือนไม่สมประกอบหรือเป็นโรคเร้ือน หรอื เป็นวณั โรคในระยะอนั ตรายจนเปน็ ทน่ี า่ รังเกียจ (๖) ไม่เคยต้องคาวนิ ิจฉัยลงโทษในอธิกรณ์ที่พึงรังเกยี จมาก่อน (๗) ไม่เคยถกู ถอดถอนหรือถูกปลดจากตาแหน่งใด เพราะความผิดมากอ่ น ๘๖ คูม่ อื พระสงั ฆาธกิ าร

ส่วนที่ ๑ เจา้ คณะใหญ่ ขอ้ ๗ พระภิกษุผู้จะดารงตาแหน่งเจ้าคณะใหญ่ ต้องมีคุณสมบัติโดยเฉพาะอีกส่วนหน่ึงดงั นี้ (๑) มพี รรษาพน้ ๓๐ และ (๒) มสี มณศักด์ิไมต่ ่ากวา่ รองสมเด็จพระราชาคณะ ขอ้ ๘ สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งต้ังพระภิกษุผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๖ และข้อ ๗ให้ดารงตาแหนง่ เจา้ คณะใหญ่ โดยความเหน็ ชอบของมหาเถรสมาคม ข้อ ๙ พระภิกษผุ จู้ ะเป็นเลขานกุ ารเจ้าคณะใหญ่ ต้องมีคุณสมบัติตามข้อ ๖ โดยอนโุ ลม ในการแต่งตงั้ เลขานุการเจา้ คณะใหญ่ ใหเ้ จา้ คณะใหญ่พิจารณาแตง่ ตั้ง เลขานุการเจา้ คณะใหญ่พน้ จากหน้าที่ ในเม่อื ผแู้ ตง่ ตั้งให้พ้นจากหนา้ ทหี่ รอื ผู้แตง่ ตง้ั พ้นจากตาแหน่ง เมอื่ มกี ารแตง่ ต้ังหรือพ้นจากหน้าท่แี ลว้ ให้แจง้ กรมการศาสนา เพื่อรายงานมหาเถรสมาคมทราบ สว่ นที่ ๒ เจ้าคณะภาค ข้อ ๑๐ พระภิกษุผู้จะดารงตาแหน่งเจ้าคณะภาค ต้องมีคุณสมบัติโดยเฉพาะอีกส่วนหนึ่งดังนี้ (๑) มีพรรษาพน้ ๒๐ และ (๒) กาลังดารงตาแหนง่ รองเจา้ คณะภาคน้ันมาแลว้ ไม่ต่ากวา่ ๒ ปี หรอื (๓) กาลังดารงตาแหน่งเจา้ คณะจังหวัดในภาคนนั้ มาแลว้ ไมต่ ่ากว่า ๔ ปี หรือ (๔) มีสมณศักดไิ์ มต่ า่ กว่าพระราชาคณะช้ันเทพ หรือ (๕) เปน็ พระราชาคณะซง่ึ เปน็ พระคณาจารยเ์ อก หรอื เป็นเปรยี ญธรรม ๙ ประโยค ถ้าจะคัดเลือกพระภิกษุผู้มีคุณสมบัติตาม (๒) (๓) (๔) หรือ (๕) ไม่ได้ หรือได้แตไ่ ม่เหมาะสม มหาเถรสมาคมอาจพิจารณาผ่อนผันไดเ้ ฉพาะกรณี ขอ้ ๑๑ ในการแต่งตั้งเจ้าคณะภาค เป็นหน้าที่ของเจ้าคณะใหญ่ พิจารณาคัดเลือกพระภิกษุผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๖ และข้อ ๑๐ เสนอมหาเถรสมาคมพิจารณา เพื่อมีพระบัญชาแต่งตั้งตามมติมหาเถรสมาคม ๘๗ คมู่ ือพระสงั ฆาธกิ าร

เจ้าคณะภาคอย่ใู นตาแหนง่ คราวละ ๔ ปี และอาจได้รบั แตง่ ตั้งอีกได้ ในกรณีท่ีเจ้าคณะภาคพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้เจ้าคณะภาคซึ่งได้รับแต่งต้ังแทนอยู่ในตาแหนง่ ตามวาระของผซู้ ึง่ ตนแทน ขอ้ ๑๒ ในการแต่งต้ังรองเจ้าคณะภาค ให้นาบทบัญญัติในข้อ ๑๑ วรรคแรก มาใช้บงั คบั โดยอนโุ ลม รองเจ้าคณะภาค อยใู่ นตาแหน่งคราวละ ๔ ปี และอาจไดร้ บั แตง่ ตง้ั อีกได้ ในกรณีที่รองเจ้าคณะภาคพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ให้รองเจ้าคณะภาค ซ่ึงได้รับแตง่ ตง้ั แทน อยู่ในตาแหน่งตามวาระของผซู้ ่ึงตนแทน ขอ้ ๑๓ พระภิกษุผู้จะเป็นเลขานุการเจ้าคณะภาคหรือเลขานุการรองเจ้าคณะภาคต้องมีคุณสมบัติตามข้อ ๖ โดยอนุโลม ในการแตง่ ตง้ั เลขานุการดงั กล่าวในวรรคแรก ให้เจ้าคณะภาคหรือรองเจ้าคณะภาคแล้วแต่กรณี พจิ ารณาแตง่ ตงั้ เลขานุการดังกล่าวในวรรคสอง พ้นจากหน้าท่ี ในเม่ือผู้แต่งตั้งให้พ้นจากหน้าที่ หรือผู้แต่งต้ังพน้ จากตาแหน่ง เมื่อมีการแต่งต้ังหรือพ้นจากหน้าที่แล้ว ให้แจ้งกรมการศาสนาและรายงานเจ้าคณะใหญ่เพ่ือทราบ สว่ นท่ี ๓ เจ้าคณะจังหวดั ข้อ ๑๔ พระภิกษุผู้จะดารงตาแหน่งเจ้าคณะจังหวัด ต้องมีคุณสมบัติโดยเฉพาะอีกสว่ นหนึ่ง ดงั น้ี (๑) มพี รรษาพ้น ๑๐ กับมีสานกั อยูใ่ นเขตจังหวัดนั้น และ (๒) กาลังดารงตาแหน่งรองเจ้าคณะจังหวัดนั้นมาแล้วไม่ต่ากวา่ ๒ ปี หรอื (๓) กาลังดารงตาแหน่งเจ้าคณะอาเภอในจังหวดั น้นั มาแล้วไม่ต่ากว่า ๔ ปี หรอื (๔) มีสมณศักดิ์ไม่ต่ากว่าพระราชาคณะช้ันสามัญ หรือ เป็นพระคณาจารย์โทขึน้ ไป หรือเปน็ เปรียญธรรมไม่ตา่ กว่า ๖ ประโยค ถา้ จะคัดเลอื กพระภิกษุผ้มู ีคณุ สมบตั ิตาม (๒) (๓) หรือ (๔) ไม่ไดห้ รือได้แต่ไมเ่ หมาะสมมหาเถรสมาคมอาจพจิ ารณาผ่อนผนั ไดเ้ ฉพาะกรณี ข้อ ๑๕ ในการแต่งต้ังเจ้าคณะจังหวัดในภาคใด ให้เจ้าคณะภาคน้ันพิจารณาคัดเลือกพระภิกษุผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๖ และข้อ ๑๔ เสนอเจ้าคณะใหญ่พิจารณา เพ่ือมีพระบัญชาแตง่ ตัง้ ตามมติมหาเถรสมาคม ๘๘ ค่มู ือพระสงั ฆาธิการ

ข้อ ๑๖ ในการแต่งต้ังรองเจ้าคณะจังหวัด ให้นาบทบัญญัติในข้อ ๑๕ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ ๑๗ พระภิกษุผู้จะเป็นเลขานุการเจ้าคณะจังหวัดหรือเลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัดต้องมีคณุ สมบตั ิตามขอ้ ๖ โดยอนุโลม ในการแต่งตั้งเลขานุการดังกล่าวในวรรคแรก ให้เจ้าคณะจังหวัดหรือรองเจ้าคณะจังหวัดแล้วแต่กรณี พิจารณาแต่งตง้ั เลขานุการดังกล่าวในวรรคสอง พ้นจากหน้าที่ ในเม่ือผู้แต่งต้ังให้พ้นจากหน้าท่ี หรือผแู้ ต่งต้ังพน้ จากตาแหนง่ เมื่อมีการแต่งต้ังหรือพ้นจากหน้าท่ีแล้ว ให้แจ้งกรมการศาสนาและรายงานเจ้าคณะภาคเพ่อื ทราบ สว่ นที่ ๔ เจ้าคณะอาเภอ ข้อ ๑๘ พระภิกษุผู้จะดารงตาแหน่งเจ้าคณะอาเภอ ต้องมีคุณสมบัติโดยเฉพาะอกี สว่ นหนึง่ ดังน้ี (๑) มีพรรษาพ้น ๑๐ กบั มสี านักอยู่ในเขตจังหวดั นนั้ และ (๒) กาลงั ดารงตาแหน่งรองเจ้าคณะอาเภอน้ันมาแล้วไมต่ ่ากว่า ๒ ปี หรือ (๓) กาลงั ดารงตาแหน่งเจา้ คณะตาบลในอาเภอนัน้ มาแล้วไม่ตา่ กว่า ๔ ปี หรอื (๔) มีสมณศักด์ิไม่ต่ากว่าช้ันสัญญาบัตร หรือเป็นพระคณาจารย์ตรีขึ้นไป หรือเป็นเปรียญธรรมไม่ต่ากวา่ ๔ ประโยค ถ้าจะคัดเลือกพระภิกษุผู้มีคุณสมบัติตาม (๒) (๓) หรือ (๔) ไม่ได้หรือได้ แต่ไม่เหมาะสมเจา้ คณะภาคอาจพิจารณาผ่อนผนั ไดเ้ ฉพาะกรณี โดยอนมุ ตั ขิ องเจา้ คณะใหญ่ ขอ้ ๑๙ ในการแต่งต้ังเจ้าคณะอาเภอในจังหวัดใด ให้เจ้าคณะจังหวัดนั้นคัดเลือกพระภิกษุผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๖ และข้อ ๑๘ เสนอเจ้าคณะภาค เพื่อพิจารณาแต่งต้ังโดยอนุมัติของเจ้าคณะใหญ่ ข้อ ๒๐ ในการแต่งต้ังรองเจ้าคณะอาเภอ ให้นาบทบัญญัติในข้อ ๑๙ มาใช้บังคับโดยอนุโลม ข้อ ๒๑ พระภิกษุผู้จะเป็นเลขานุการเจ้าคณะอาเภอหรือเลขานุการรองเจ้าคณะอาเภอต้องมคี ุณสมบัตติ ามขอ้ ๖ โดยอนโุ ลม ๘๙ คูม่ อื พระสังฆาธิการ

ในการแต่งต้ังเลขานุการดังกล่าวในวรรคแรก ให้เจ้าคณะอาเภอหรือรองเจ้าคณะอาเภอแลว้ แต่กรณี พิจารณาแต่งต้ัง เลขานุการดังกล่าวในวรรคสอง พ้นจากหน้าท่ี ในเมื่อผู้แต่งต้ังให้พ้นจากหน้าที่ หรือผแู้ ตง่ ตั้งพน้ จากตาแหนง่ เมื่อมีการแต่งต้ังหรือพ้นจากหน้าท่ีแล้ว ให้แจ้งกรมการศาสนาและรายงานเจ้าคณะจังหวัดเพื่อทราบ ส่วนท่ี ๕ เจ้าคณะตาบล ขอ้ ๒๒ พระภิกษุผู้จะดารงตาแหน่งเจ้าคณะตาบล ต้องมีคุณสมบัติโดยเฉพาะอีกส่วนหน่ึงดังนี้ (๑) มีพรรษาพ้น ๕ กบั มีสานักอยู่ในเขตอาเภอนั้น และ (๒) กาลงั ดารงตาแหนง่ รองเจ้าคณะตาบลนนั้ มาแลว้ ไม่ต่ากว่า ๒ ปี หรือ (๓) กาลังดารงตาแหนง่ เจา้ อาวาสในตาบลน้ันมาแล้วไมต่ ่ากว่า ๔ ปี หรือ (๔) เป็นพระภิกษุมีสมณศักด์ิ หรือเป็นพระคณาจารย์ หรือเป็นเปรียญธรรมหรอื เปน็ นกั ธรรมช้นั เอก ถา้ จะคัดเลอื กพระภกิ ษุผมู้ ีคุณสมบตั ติ าม (๒) (๓) หรือ (๔) ไม่ไดห้ รือได้แต่ไมเ่ หมาะสมเจา้ คณะจงั หวดั อาจพิจารณาผ่อนผนั ได้เฉพาะกรณี โดยอนมุ ัติของเจา้ คณะภาค ข้อ ๒๓ ในการแต่งต้ังเจ้าคณะตาบลในอาเภอใด ให้เจ้าคณะอาเภอน้ันคัดเลือกพระภิกษุผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๖ และข้อ ๒๒ เสนอเจ้าคณะจังหวัดพิจารณาแต่งตั้ง เมื่อได้แต่งต้ังแล้วใหแ้ จ้งกรมการศาสนาและรายงานเจ้าคณะภาคเพอ่ื ทราบ ข้อ ๒๔ ในการแต่งตั้งรองเจ้าคณะตาบล ให้นาบทบัญญตั ใิ นข้อ ๒๓ มาใชบ้ งั คับ โดยอนโุ ลม ขอ้ ๒๕ พระภิกษุผจู้ ะเป็นเลขานุการเจา้ คณะตาบล ตอ้ งมีคณุ สมบัติตามข้อ ๖ โดยอนุโลม ในการแตง่ ต้งั เลขานุการเจ้าคณะตาบล ให้เจ้าคณะตาบลพิจารณาแตง่ ตง้ั เลขานุการเจ้าคณะตาบล พ้นจากหน้าที่ ในเมื่อผู้แต่งตั้งให้พ้นจากหน้าที่ หรือผู้แต่งต้ังพ้นจากหน้าที่ เมื่อมีการแต่งตั้งหรือพ้นจากหน้าที่แล้ว ให้แจ้งกรมการศาสนาและรายงานเจ้าคณะอาเภอเพื่อทราบ ๙๐ คูม่ อื พระสงั ฆาธิการ

ส่วนท่ี ๖ เจา้ อาวาส ขอ้ ๒๖ พระภิกษุผู้จะดารงตาแหน่งเจ้าอาวาส ต้องมีคุณสมบัติโดยเฉพาะอีกส่วนหน่ึงดงั น้ี (๑) มีพรรษาพ้น ๕ และ (๒) เปน็ ผ้ทู รงเกยี รตคิ ุณเป็นที่เคารพนบั ถือของบรรพชติ และคฤหัสถ์ในถนิ่ นัน้ ข้อ ๒๗ ในการแต่งตั้งเจ้าอาวาสนอกจากพระอารามหลวงในตาบลใด ให้เป็นหน้าท่ีของเจ้าคณะอาเภอ รองเจ้าคณะอาเภอ เจ้าคณะตาบล รองเจ้าคณะตาบล เจ้าสังกัด ถ้าไม่มีรองเจ้าคณะอาเภอ ไม่มีรองเจ้าคณะตาบล ให้เจ้าคณะอาเภอเลือกเจ้าอาวาสในตาบลน้ันรวมกันท้ังหมดไม่น้อยกว่า ๓ รูป ร่วมกันพิจารณาคัดเลือกพระภิกษุผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๖ และ ข้อ ๒๖แลว้ ให้เจ้าคณะอาเภอรายงานเสนอเจา้ คณะจงั หวดั เพื่อพจิ ารณาแต่งต้งั ถ้าพระภิกษุผู้จะดารงตาแหน่งเจ้าอาว าส วัดนั้นดารงตา แหน่งเจ้าคณะจังหวัดอยู่ด้ว ยให้เจ้าคณะอาเภอรายงานเสนอเจา้ คณะจงั หวดั เพ่อื เจ้าคณะภาคพจิ ารณาแตง่ ต้งั ข้อ ๒๘ ในการแต่งต้ังรองเจ้าอาวาส ผู้ช่วยเจ้าอาวาส นอกจากพระอารามหลวงให้เจ้าอาวาสวัดน้ันพิจารณาคัดเลือกพระภิกษุผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๖ และข้อ ๒๖ และระบุหน้าที่ทต่ี นจะมอบหมายใหป้ ฏบิ ัติ แล้วเสนอผู้บงั คบั บัญชาตามลาดับ เพื่อเจ้าคณะจังหวดั พจิ ารณาแต่งต้ัง ข้อ ๒๙ พระภิกษุผู้จะดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสพระอารามหลวงในกรุงเทพมหานครต้องมคี ณุ สมบตั โิ ดยเฉพาะอกี ส่วนหน่ึง ดงั นี้ (๑) มีพรรษาพน้ ๑๐ (๒) เปน็ ผู้ทรงเกยี รตคิ ุณเปน็ ทเ่ี คารพนบั ถือของบรรพชิตและคฤหัสถ์ และ (๓) มีสมณศักดิ์ (ก) ไม่ต่ากว่าพระราชาคณะชน้ั ราช สาหรับพระอารามหลวงชัน้ เอก (ข) ไมต่ ่ากว่าพระราชาคณะชั้นสามญั สาหรบั พระอารามหลวงชน้ั โท (ค) ไมต่ ่ากวา่ พระครูผู้ชว่ ยเจา้ อาวาสชน้ั เอก สาหรับพระอารามหลวงช้นั ตรี ข้อ ๓๐ พระภิกษุผู้จะดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสพระอารามหลวงในจังหวัดอื่นนอกจากกรงุ เทพมหานคร ตอ้ งมคี ณุ สมบัตโิ ดยเฉพาะอกี สว่ นหนง่ึ ดังนี้ (๑) มพี รรษาพน้ ๑๐ (๒) เป็นผู้ทรงเกยี รตคิ ุณเปน็ ทีเ่ คารพนบั ถือของบรรพชิตและคฤหัสถ์ และ (๓) มสี มณศักดิ์ ๙๑ คมู่ ือพระสังฆาธกิ าร

(ก) ไมต่ า่ กว่าพระราชาคณะชน้ั สามัญ สาหรบั พระอารามหลวงชน้ั เอก (ข) ไมต่ ่ากวา่ พระครูผชู้ ว่ ยเจา้ อาวาสชั้นเอก สาหรบั พระอารามหลวงชัน้ โท (ค) ไม่ต่ากว่าพระครูผู้ช่วยเจ้าอาวาสชั้นโท หรือพระครูสัญญาบัตรท่ีมีนิตยภัตไม่ต่ากวา่ พระครูผู้ชว่ ยเจ้าอาวาสชนั้ โท สาหรบั พระอารามหลวงช้นั ตรี ขอ้ ๓๑ ในการแต่งต้ังเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ให้เป็นหน้าที่ของเจ้าคณะจังหวัดพิจารณาคัดเลือกพระภิกษุผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๖ และข้อ ๒๙ หรือข้อ ๓๐ แล้วแต่กรณีเสนอผบู้ ังคับบญั ชาตามลาดบั เพ่อื มหาเถรสมาคมพจิ ารณา ถ้าพระภิกษุผู้จะดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ตามข้อ ๒๙ หรือข้อ ๓๐แล้วแต่กรณี ดารงตาแหน่งเจ้าคณะจังหวัดอยู่ด้วย ให้เป็นหน้าที่ของเจ้าคณะภาคดาเนินการตามความในวรรคต้น ข้อ ๓๒ ในการแต่งตั้งรองเจ้าอาวาสหรือผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ให้เจ้าอาวาสพระอารามหลวงนั้นพิจารณาคัดเลือกพระภิกษุผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๖ และข้อ ๒๖ และระบุหน้าที่ท่ีตนจะมอบหมายให้ปฏิบัติแล้วรายงานเจ้าคณะจังหวัดเพื่อพิจารณาเสนอตามลาดับจนถงึ มหาเถรสมาคม ข้อ ๓๓ สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งต้ังเจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส และผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง ตามมติมหาเถรสมาคม สว่ นท่ี ๗ ทป่ี รึกษาเจ้าคณะ ข้อ ๓๔ การแต่งต้ังที่ปรึกษาเจ้าคณะตามข้อ ๒๙ แห่งกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๓(พ.ศ. ๒๕๔๑) ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ ใหเ้ ป็นไปดังน้ี พระสังฆาธิการผู้ดารงตาแหน่ง หรือเคยดารงตาแหน่ง เจ้าคณะภาค รองเจ้าคณะภาคเจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอาเภอ รองเจ้าคณะอาเภอ เจ้าคณะตาบล และรองเจ้าคณะตาบล ได้ปฏิบัติหน้าที่มาโดยเรียบร้อย จนมีอายุครบ ๘๐ ปีบริบูรณ์ ให้ยกย่องเชิดชูเป็นท่ีปรึกษาเจ้าคณะในช้ันน้ันๆ เว้นแต่ทุพพลภาพ หรือพิการ ถ้ายังมีความเหมาะสม หรือยังหาผู้ดารงตาแหน่งในช้ันน้ันๆ ไม่ได้ หรือได้แต่ไม่เหมาะสม มหาเถรสมาคมจะพิจารณาให้ดารงตาแหน่งเดิมต่อไปอีกไม่เกิน ๓ ปี เฉพาะกรณี ในการแต่งตั้งที่ปรึกษา ให้ผู้บังคับบัญชาใกล้ชิดเสนอตามลาดับจนถึงมหาเถรสมาคมพิจารณา เพอื่ มีพระบญั ชาแต่งตัง้ ตามมตมิ หาเถรสมาคม ๙๒ คู่มอื พระสังฆาธิการ

สว่ นท่ี ๘ เบด็ เตลด็ ขอ้ ๓๕ เมือ่ ได้มีการแตง่ ตั้งพระภิกษใุ หด้ ารงตาแหน่งตามหมวด ๑ แห่งกฎมหาเถรสมาคมนี้แลว้ ใหผ้ มู้ ีอานาจแต่งต้ังแจง้ ใหก้ รมการศาสนาทราบภายใน ๓๐ วนั นบั แต่วันทแี่ ตง่ ตง้ั หมวด ๓ การพน้ จากตาแหนง่ หน้าที่พระสงั ฆาธิการ ขอ้ ๓๖ พระสังฆาธิการย่อมพ้นจากตาแหนง่ หน้าท่ี เม่ือ (๑) ถงึ มรณภาพ (๒) พน้ จากความเปน็ พระภกิ ษุ (๓) ลาออก (๔) ยา้ ยออกไปนอกเขตท่ีตนมสี านกั อยู่ (๕) ยกเป็นกติ ติมศักดิ์ (๖) รับตาแหน่งหนา้ ท่เี จ้าคณะหรือรองเจา้ คณะอื่น (๗) ให้ออกจากตาแหน่งหน้าท่ี (๘) ถกู ปลดจากตาแหนง่ หน้าที่ (๙) ถูกถอดถอนจากตาแหน่งหน้าที่ ข้อ ๓๗ พระสังฆาธิการรูปใดประสงค์จะลาออกจากตาแหน่งหน้าที่ก็ย่อมทาได้ เมื่อผูม้ ีอานาจแตง่ ตงั้ ได้พจิ ารณาอนญุ าตแล้ว จึงเปน็ อนั พ้นจากตาแหนง่ หนา้ ท่ี ข้อ ๓๘ ในกรณีที่พระสังฆาธิการทุกตาแหน่ง เว้นเจ้าคณะใหญ่ เจ้าคณะภาครองเจ้าคณะภาค ย้ายออกไปนอกเขตที่ตนมีสานักอยู่ คือ เจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัดเจ้าคณะอาเภอ รองเจ้าคณะอาเภอ ย้ายออกไปจากจังหวัดนั้น เจ้าคณะตาบล รองเจ้าคณะตาบลย้ายออกไปจากอาเภอนั้น พระสังฆาธิการรูปน้ันย่อมพ้นจากตาแหน่งหน้าท่ีน้ัน เว้นแต่ได้รับแต่งต้ังให้เปน็ ผูร้ ักษาการแทนในตาแหน่งเดมิ ขอ้ ๓๙ พระสังฆาธิการรูปใดดารงตาแหน่งหน้าท่ีโดยเรียบร้อยตลอดมาจนถึงชราทุพพลภาพ หรือพิการ สมควรได้รับปลดเปลื้องภาระเพ่ือให้พักผ่อนหรือรักษาตัว ก็ให้ผู้มีอานาจแต่งตัง้ พิจารณายกเปน็ กติ ตมิ ศกั ดิ์ ข้อ ๔๐ พระสงั ฆาธกิ ารดารงตาแหน่งเจา้ คณะ หรือรองเจา้ คณะ ไดเ้ พยี งตาแหนง่ เดยี ว ขอ้ ๔๑ การให้ออกจากตาแหน่งหน้าที่ ให้ผู้มีอานาจแต่งต้ังกระทาได้ ในกรณีที่พระสังฆาธกิ ารหย่อนความสามารถไม่อาจปฏบิ ัตหิ นา้ ทใ่ี นตาแหนง่ ของตน ๙๓ คูม่ อื พระสงั ฆาธิการ

ข้อ ๔๒ การปลดและการถอดถอนจากตาแหน่งหน้าที่ ให้เป็นไปตามท่ีบัญญัติไว้ในหมวด ๔ แหง่ กฎมหาเถรสมาคมนี้ ข้อ ๔๓ เม่ือพระสังฆาธิการพ้นจากตาแหน่งหน้าท่ีด้วยเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามข้อ ๓๖ให้ผู้บังคับบัญชารายงานโดยลาดับจนถึงผู้มีอานาจแต่งตั้งภายใน ๓๐ วัน และให้ผู้มีอานาจแต่งตั้งแจ้งใหก้ รมการศาสนาทราบภายใน ๑๕ วัน นับแต่วันท่ีไดร้ บั รายงาน หมวด ๔ จรยิ าพระสงั ฆาธกิ าร สว่ นที่ ๑ จรยิ า ข้อ ๔๔ พระสังฆาธิการต้องเอ้ือเฟื้อต่อกฎหมาย พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กฎกระทรวงกฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบ คาส่ัง มติ ประกาศ พระบัญชาสมเด็จพระสังฆราชสังวรและปฏบิ ัติตามหลักพระธรรมวินยั โดยเครง่ คดั ข้อ ๔๕ พระสงั ฆาธิการตอ้ งเชือ่ ฟังและปฏิบตั ติ ามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา ซ่ึงสั่งโดยชอบดว้ ยอานาจหนา้ ที่ ถ้าไม่เห็นพ้องด้วยคาส่ังนั้นให้เสนอความเห็นทัดทานเป็นลายลักษณ์อักษร ภายใน๑๕ วัน นับแต่วันท่ีได้รับทราบคาส่ัง และเมื่อได้ทัดทานดังกล่าวมาแล้วนั้น แต่ผู้สั่งมิได้ถอน หรือแก้คาสง่ั นน้ั ถ้าคาสั่งน้ันไมผ่ ดิ พระวินัยตอ้ งปฏิบัตติ าม แล้วรายงานจนถงึ ผสู้ ั่ง ในกรณีท่ีมีการทัดทานคาสั่งดังกล่าวในวรรคแรก ให้ผู้สั่งรายงานเร่ืองทั้งหมดไปยังผู้บังคับบัญชาเหนือตน เพอ่ื พิจารณาสงั่ การ ในการปฏิบัติหน้าท่ี ห้ามมิให้ทาการข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตพเิ ศษเป็นครง้ั คราว ขอ้ ๔๖ พระสังฆาธกิ ารต้องตง้ั ใจปฏบิ ัติหนา้ ทด่ี ้วยความระมัดระวัง มใิ หเ้ กิดความเสียหายแกก่ ารคณะสงฆ์และการพระศาสนา และห้ามมใิ หล้ ะท้ิงหน้าทโ่ี ดยไมม่ เี หตุอนั สมควร ขอ้ ๔๗ พระสังฆาธิการต้องปฏิบัติหน้าที่โดยชอบ และห้ามมิให้ใช้อานาจหน้าท่ีในทางทไี่ มส่ มควร ขอ้ ๔๘ พระสงั ฆาธิการต้องสภุ าพเรยี บรอ้ ยต่อผ้บู ังคับบัญชาเหนือตนและผอู้ ยูใ่ นปกครอง ขอ้ ๔๙ พระสังฆาธิการต้องรักษาส่งเสริมสามัคคีในหมู่คณะ และช่วยเหลือซ่ึงกันและกันในทางทีช่ อบ ข้อ ๕๐ พระสงั ฆาธกิ ารต้องอานวยความสะดวกในหน้าที่การคณะสงฆ์และการพระศาสนา ขอ้ ๕๑ พระสงั ฆาธกิ ารต้องรักษาข้อความอนั เกี่ยวกบั การคณะสงฆ์ทยี่ งั ไม่ควรเปิดเผย ๙๔ คูม่ ือพระสงั ฆาธิการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook