Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการเรียนการสอนเพื่อใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล

คู่มือการเรียนการสอนเพื่อใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล

Published by daony23, 2022-09-27 10:48:19

Description: คู่มือการเรียนการสอนเพื่อใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล

Search

Read the Text Version

Module 9 EBM & Information resources for RDU 9.19

คู่มือการเรียนการสอนเพือ่ การใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 ใบงาน โมดลู 9 การประเมนิ หลกั ฐานทางการแพทย์ & แหลง่ เรยี นรู้ในการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล  ผู้เรยี น โมดูล 9A กรณีศึกษาสาหรบั การฝึก evidence-based prescribing คาสงั่ : จากคาถามหรอื กรณศี กึ ษาต่อไปนี้ จงใช้หลกั การของ evidence-based prescribing ทั้ง 5 ขนั้ ตอน ในการตอบคาถามหรอื สง่ั ใช้ยา กรณีศกึ ษา/ คาถาม 1. aspirin สามารถลดความเสี่ยงของการเสยี ชวี ติ หลงั จากเกิด heart attack หรือไม่? 2. Amoxicillin ลด facial pain ในวัยรนุ่ ท่มี ี microbiologically –proven maxillary sinusitis หรอื ไม่? 3. หญิงไทยวยั หมดประจาเดอื น จาเป็นตอ้ งได้รบั วติ ามินดีเสรมิ หรือไม?่ 4. ผปู้ ่วยชายอายุ 65 ปี มปี ระวตั ิของโรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2 และโรคอ้วน ในช่วงปที ผี่ ่านมา ผปู้ ว่ ยได้ พยายามใชโ้ ปรแกรมควบคมุ อาหารและออกกาลังกายหลายวธิ ีการ เพอื่ ลดน้าหนกั แตไ่ มป่ ระสบ ความสาเร็จ เขาเขา้ ใจว่าการเปน็ เบาหวานทาใหเ้ ส่ียงมากข้นึ ตอ่ การเกดิ โรคหัวใจและหลอดเลอื ด และรสู้ ึกละอายทตี่ นไมส่ ามารถควบคุมน้าหนักได้ เพ่ือนบา้ นของผ้ปู ว่ ยเลา่ ให้ฟงั ถึงยาลดความอว้ น “Orlistat” ซ่ึง อย.รบั รองให้ขน้ึ ทะเบยี นแลว้ และนา่ จะชว่ ยให้โรคเบาหวานของเขาดขี ึ้นดว้ ย ผปู้ ่วย ต้องการทราบวา่ ยา Orlistat จะเหมาะกับตนหรอื ไม?่ 9.20

Module 9 EBM & Information resources for RDU ใบงาน โมดูล 9 การประเมนิ หลกั ฐานทางการแพทย์ & แหลง่ เรียนร้ใู นการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล  ผ้เู รยี น โมดูล 9B การสืบคน้ หลกั ฐานทางการแพทย์ เพือ่ การใช้ยาสมเหตผุ ล นายสมหมาย อายุ 85 ปี เป็นขา้ ราชการบานาญ มอี าการเวียนศีรษะ ซ่ึงมอี าการมาประมาณ 1 สปั ดาห์ แพทย์ วินิจฉัยเป็น vertigo (ICD-10 R42) และจ่ายยา Sibelium (5 mg) 2 เม็ด ก่อนนอน จานวน 60 เม็ด ให้กับ ผปู้ ่วย เป็นการจา่ ยยานี้ครงั้ แรกสาหรบั ผปู้ ่วยรายน้ี จงค้นหาข้อมูลด้วยตนเองและอภปิ รายว่าการจ่ายยาดังกลา่ วในกรณี vertigo มคี วามสมเหตุผลหรอื ไม่เพยี งใด และจงอภิปรายเพิ่มเติมกรณีที่เป็นการใช้ยานี้อย่างต่อเน่ืองนาน 8 เดือนด้วยขนาดยาข้างต้น บันทึก แหล่งขอ้ มลู ทใ่ี ช้ในการค้นหาคาตอบไวท้ ุกขัน้ ตอน การเรียนรใู้ นคาบน้จี ะใช้ Facebook Group เป็นสือ่ ในการเรียนรู้ รวมทั้งใช้บนั ทึกการเรียนรู้ของผู้เรียน ขอให้ ผู้เรียนทกุ คนสมคั รเข้ากลุ่ม PBL RDU EBM https://www.facebook.com/groups/263055150744113/ 9.21

คมู่ ือการเรยี นการสอนเพอ่ื การใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 บันทกึ การเรยี นรขู้ องผเู้ รียน 9B.1 ความรทู้ ี่ได้ (knowledge) ทกั ษะ (skill) เจตคติ (attitude) อ่นื ๆ 9.22

Module 9 EBM & Information resources for RDU ใบงาน 9B.2 Indication & Efficacy  คาถามเพือ่ การเรยี นรู้ 1. flunarizine มีข้อบ่งใช้กรณีใด เปรียบเทียบข้อบ่งใช้ของสานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ไทย กับตา่ งประเทศ 2. จาก primary evidence ยาน้มี ีประสิทธผิ ลมากน้อยเพยี งใดสาหรบั vertigo เมื่อเทียบกับยาหลอก และยา มาตรฐานอ่ืน ๆ ท่ใี ช้ในการบรรเทาอาการเวยี นศีรษะที่เปน็ ยาในบญั ชยี าหลกั แห่งชาติ บันทกึ การเรียนรขู้ องผ้เู รยี น 9B.2 ความรทู้ ่ไี ด้ (knowledge) ทักษะ (skill) เจตคติ (attitude) อ่ืน ๆ 9.23

ค่มู ือการเรียนการสอนเพื่อการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560  ใบงาน 9B.3 Safety คาถามเพอ่ื การเรยี นรู้ Contraindications, Precaution, Important adverse reactions, Risk in special populations, Overall risk assessment ของ Flunarizine เป็นอยา่ งไร? บันทกึ การเรียนร้ขู องผเู้ รียน 9B.3 ความร้ทู ีไ่ ด้ (knowledge) ทกั ษะ (skill) เจตคติ (attitude) อืน่ ๆ 9.24

Module 9 EBM & Information resources for RDU ใบงาน 9B.4 Dosage  คาถามเพือ่ การเรียนรู้ Dosage, Method of administration, Frequency of dose และ Duration of treatment ของ Flunarizine เปน็ อย่างไร? บนั ทึกการเรียนรขู้ องผู้เรียน 9B.4 ความรทู้ ไี่ ด้ (knowledge) ทักษะ (skill) เจตคติ (attitude) อืน่ ๆ 9.25

คู่มือการเรียนการสอนเพอ่ื การใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล 2560  ใบงาน 9B.5 Pharmacokinetics คาถามเพอื่ การเรยี นรู้ ระยะเวลาการออกฤทธขิ์ อง Flunarizine คอื เท่าใด โดยพิจารณาจาก terminal half life ของยา? บันทกึ การเรยี นร้ขู องผู้เรียน 9B.5 ความรู้ทไ่ี ด้ (knowledge) ทกั ษะ (skill) เจตคติ (attitude) อ่นื ๆ 9.26

Module 9 EBM & Information resources for RDU ใบงาน 9B.6 บัญชยี าหลกั แห่งชาติ ราคายา และขอ้ พิจารณาอืน่ ๆ  คาถามเพอื่ การเรยี นรู้ 1. flunarizine ควรจัดเปน็ ยาในบัญชียาหลักแห่งชาติหรือไม่ 2. ราคาจัดซ้อื เฉลย่ี จากองค์การเภสชั กรรม (GPO) เม็ดละเทา่ ไหร่ ราคายา generic ตา่ งจาก original กเ่ี ท่า 3. มักพบการใช้ flunarizine อยา่ งซ้าซอ้ นกับยาใด ซง่ึ ส่งผลเสยี อยา่ งไร 4. ข้อมูลยาที่แพทย์นิยมใช้คือ MIMS แสดงข้อบ่งใช้ของยาท่ีแตกต่างจากแหล่งข้อมูลของทางการใน ตา่ งประเทศอยา่ งไร 5. ฉลากยา flunarizine ควรได้รับการแกไ้ ขอยา่ งไร บนั ทกึ การเรียนรู้ของผเู้ รยี น 9B.6 ความรูท้ ไ่ี ด้ (knowledge) ทักษะ (skill) เจตคติ (attitude) อนื่ ๆ 9.27

คมู่ ือการเรยี นการสอนเพอื่ การใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 9.28

Module 10 Always improving in RDU Module 10 การพัฒนาความสามารถอย่าง ต่อเนอื่ ง เพ่ือการใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล Always improving in RDU นักศกึ ษาผู้เรยี น ระดบั ชนั้ แพทย์ ทันตแพทย์ สตั วแพทย์ เภสชั กร พยาบาล ปรีคลินิก คลินิก    -  เนื้อหาหลกั ทคี่ รอบคลมุ a สมรรถนะทมี่ ุง่ เนน้ b Core Topic Core Skill Core Attitude The Prescribing Governance 1, 2, 7, 8, 18 27, 28 30, 32, 33, 34 Consultation 1.3, 2.5, 7.1-7.4, 27.1-27.14, 30.5, 32.2-32.4, - 9 8.1, 8.2, 8.5, 18.1 28.1, 28.2 33.1-33.5, 34.1, 34.2 a ดูรายละเอียดของเนือ้ หาหลกั หวั ขอ้ ท่ี 1-35 ไดท้ ี่แนวทางการใช้ค่มู อื ฯ ส่วนที่ 1 หน้า 12-18 b ดรู ายละเอยี ดของสมรรถนะ ไดท้ ี่แนว ทางการใช้คมู่ ือฯ ส่วนท่ี 1 หน้า 19-21 การพัฒนาตนอย่างต่อเนื่องขณะปฏิบัติงาน เป็นสมรรถนะสาคัญของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพทุก สาขาวิชา เพ่ือร่วมกันปรับปรุงแนวปฏิบัติและกระบวนการใช้ยาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ได้มาตรฐาน ปลอดภัย เป็นท่ียอมรับของสังคม ผ่านระบบคุณภาพที่ดาเนินการอยู่ในสถานที่ปฏิบัติงาน ด้วยวิธีการที่มี เหตผุ ล ตรวจสอบได้ และเกอื้ หนนุ ในการปฏิบัติงานร่วมกันของทีมสหสาขาวชิ าชพี ท้งั ตอบสนองต่อปัญหาและ ความตอ้ งการของผรู้ บั บรกิ ารและผเู้ ก่ียวข้อง เพือ่ การปฏบิ ัติท่ีมุง่ เน้นคนเปน็ ศนู ยก์ ลาง วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ เมือ่ เสรจ็ สิ้นการเรียนการสอน ผู้เรยี น: 1. ตระหนกั ถึงความสาคญั ของการเรยี นร้แู ละปรบั ปรงุ กระบวนการใช้ยา ในงานทต่ี นปฏบิ ัติ 1. เขา้ ใจถึงบทบาทของทมี สหวิชาชพี และปฏบิ ตั ไิ ด้อย่างถกู ตอ้ ง เมอื่ พบปญั หาขณะปฏิบตั งิ านท่ีอาจเป็น อนั ตราย หรือนาไปสปู่ ัญหาการใช้ยาอยา่ งไมส่ มเหตผุ ล 2. รว่ มวเิ คราะห์ อภปิ ราย แลกเปลย่ี นเรียนรู้ และใหค้ วามคดิ เหน็ ได้ เมื่อพบปญั หาจากการใชย้ า 3. ร้แู นวทางในการรายงานเมอ่ื เกดิ ความผดิ พลาดจากการใช้ยา เหตุการณ์เกือบพลาด และการทบทวนแนว ปฏิบตั เิ พ่อื ปอ้ งกันการเกดิ ซา้ 4. สามารถใช้ระบบหรือแนวทางตา่ งๆ ที่มอี ยู่ เพ่อื ปรับปรุงการใช้ยาในสถานที่ปฏิบัติงาน (เชน่ การทบทวน ขอ้ มูลรายการยา การทวนสอบ การใหข้ ้อมลู ย้อนกลับ เปน็ ตน้ ) 10.1

ค่มู อื การเรยี นการสอนเพอ่ื การใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 ความร้พู ืน้ ฐานท่ีพึงมี 1. หลักการใชย้ าอย่างสมเหตผุ ล 2. กระบวนทเ่ี กยี่ วข้องกับการใชย้ าตง้ั แต่การส่งั ใช้ การคัดลอกคาส่งั ใช้ การจ่าย และการบรหิ ารยา 3. การปอ้ งกนั ความคลาดเคลอ่ื นทางยา (Medication error) 4. ระบบคณุ ภาพดา้ นการใชย้ าในสถานพยาบาล 5. แนวคดิ ในการประเมนิ ยาใหม่ การจัดประสบการณ์เรยี นรู้ เวลา: 2 ชั่วโมง (หรอื ตามเหมาะสม) การจัดการเรยี นการสอนในโมดลู นี้ อาจเลือกใช้โมดลู ยอ่ ย 10A, 10B, 10C ตามความเหมาะสม โดยโมดลู 10A และ 10B เกีย่ วกบั การปรับปรุงกระบวนการใชย้ า และ โมดลู 10C เกย่ี วกับการกระบวนการประเมินยา ใหม่ โมดูล 10A การปรบั ปรงุ กระบวนการใชย้ า การจดั การเรยี นการสอนในโมดลู นี้ สามารถใชเ้ ทคนิค Small และ Large group discussion อภิปรายปญั หา สาเหตุของปัญหา และกรณีตวั อยา่ งแบบ unfolding case study 1. แบง่ ผ้เู รยี นเปน็ กลมุ่ ไม่ควรเกนิ กลมุ่ ละ 10 คน - ถ้าเปน็ การเรียนการสอนแบบสหวชิ าชีพ แยกผู้เรยี นในสาขาวชิ าชพี เดียวกนั อยกู่ ลุม่ เดียวกนั (เชน่ กลุ่มแพทย์หรอื ทันตแพทย์ กลุม่ เภสชั กร กลมุ่ พยาบาล เปน็ ตน้ ) - ถา้ เปน็ การเรยี นการสอนในวชิ าชพี เดยี ว ให้อภปิ รายบทบาทจาเพาะในสาขาวชิ าชพี นน้ั ๆ หรือ มอบหมายบทบาทของผ้เู รยี นในแตล่ ะกลุ่ม แยกเปน็ 3 วิชาชีพดงั ขา้ งตน้ 2. แจกเอกสารประกอบการสอน พรอ้ มท้ังกรณีตวั อย่างให้ผเู้ รียนไดศ้ ึกษาลว่ งหน้า พรอ้ มทง้ั ใหผ้ เู้ รียน ทบทวนความรเู้ กยี่ วกบั หลกั การใชย้ าอย่างสมเหตผุ ล ปัญหาความคลาดเคลอ่ื นทางยา และระบบการ จดั การดา้ นยาตามมาตรฐานโรงพยาบาลและสถานบรกิ ารสุขภาพ ในเกณฑก์ ารประเมนิ สาหรบั การ รบั รองขั้นก้าวหนา้ (Advanced Hospital Accreditation) 3. ส่งคมู่ ือผสู้ อน และกรณตี ัวอย่างใหผ้ สู้ อนประจากลมุ่ และประชมุ ช้แี จงผู้สอนก่อนวนั ทีส่ อน 4. การจัดแบง่ เวลาทส่ี อน (2 ชัว่ โมง) 10 นาที ผู้สอนช้ีแจงทาความเข้าใจ แยกผู้เรยี นนง่ั เปน็ กลมุ่ แยกโต๊ะ ในหอ้ งเดยี วกนั มผี สู้ อนประจากลุ่ม ๆ ละ 1 คน 20 นาที แจกคาถามท่ี 10A.1 ให้อภิปรายปัญหาทีเ่ ป็นไปไดท้ ้งั หมด และบันทกึ ความสาคญั ของปญั หา เรียงลาดับ (ตามบทบาทวชิ าชพี ของตน หรอื ตามวิชาชพี ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย) โดยผู้สอนรว่ มให้คาแนะนา หรอื ยกประเด็นใหเ้ กิดการอภปิ รายเพ่มิ เติม 20 นาที แจกคาถามท่ี 10A.2 ให้อภิปรายสาเหตทุ ่เี ป็นไปได้ทั้งหมดของปญั หาทเี่ กิดข้นึ แนวทางเพ่อื ทบทวนหาสาเหตทุ ี่เปน็ รากฐานของปัญหา (Root Cause Analysis) และบนั ทึกข้อสรปุ ความคดิ เหน็ โดยปฏิบตั เิ ช่นเดยี วกบั ในรอบท่ี 1 30 นาที รวมกลมุ่ ใหญ่ ใหผ้ ูแ้ ทนแตล่ ะกลุม่ นาเสนอขอ้ สรปุ จนครบทุกกล่มุ แลกเปลยี่ นความคดิ เห็น และรว่ มกนั สรุปแนวทางการทบทวนหาสาเหตทุ ี่เปน็ รากฐานของปัญหา โดยมผี ูส้ อนทาหนา้ ท่ปี ระธานคอยให้ข้อมลู เพ่ิมเตมิ และให้ความคดิ เหน็ 20 นาที แจกคาถามที่ 10A.3 ให้ข้อมูลผลการทบทวนหาสาเหตขุ องกรณีตวั อย่าง ให้อภปิ รายรวมกลุม่ ใหญ่ถึงแนวทางการแก้ไขปญั หา แยกในแต่ละวชิ าชีพ และในภาพรวมทงั้ หมด เพอ่ื หาขอ้ สรุป ทาเป็นแนวปฏบิ ัตติ อ่ ไป 10 นาที เฉลย และตอบขอ้ สงสัยของผู้เรียน 10.2

Module 10 Always improving in RDU 10 นาที ผูเ้ รยี นประเมนิ ตนเองโดยการเขยี น ถงึ ประสบการณ์เรยี นร้ทู ไี่ ดร้ ับ และการปฏิบตั ใิ นอนาคต เมอื่ ไดป้ ระกอบวิชาชีพจรงิ โมดูล 10B การปรับปรุงกระบวนการใชย้ า การจดั การเรยี นการสอนในโมดลู น้ี สามารถใช้เทคนคิ Small และ Large group discussion อภปิ รายปัญหา สาเหตขุ องปญั หา และกรณีตวั อยา่ งแบบ unfolding case study เช่นเดียวกนั กับโมดูล 10A โมดูล 10.C กระบวนการประเมนิ ยาใหม่ การจดั การเรยี นการสอนในโมดลู นี้ สามารถใช้เทคนิค Small group discussion ก่อนเรียน 2 สัปดาห์ 1. แบง่ กลุม่ ผเู้ รียนเปน็ กลุม่ ละ 4-5 คน 2. แจกใบงานท่ี 3 ซ่ึงเปน็ กรณศี ึกษาการพิจารณายาใหม่เขา้ โรงพยาบาล พร้อมแนะนาแหล่งค้นคว้าให้ ผู้เรยี น วนั เรียน 3. ให้ตวั แทนกลมุ่ ผเู้ รยี น นาเสนอผลการค้นควา้ หรอื นาเสนอเป็นเล่มรายงาน 4. ผเู้ รยี นร่วมกนั อภปิ รายผลในช้นั เรยี น ผู้สอนสรปุ และใหค้ าแนะนา 5. ผูเ้ รยี นสะทอ้ นประเดน็ เรยี นรู้ สอื่ ประกอบในห้องเรียน 1. เอกสารประกอบ: 1.1. แนวทางการปอ้ งกัน Medication error และการทา Root Cause Analysis 1.2. สถาบนั รบั รองคณุ ภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน). 2556. เกณฑก์ ารประเมินสาหรับการรับรอง ขั้นกา้ วหนา้ (Advanced HA) ตามมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสขุ ภาพ ฉบบั เฉลมิ พระเกียรติ ฉลองศริ ิราชสมบตั ิครบ 60 ปี. ตอนที่ II-6.1 การวางแผน การจดั การ การเก็บและสารองยา และตอนที่ II-6.2 การใชย้ า. หนา้ 130-146. 1.3. Salmasi S, Khan TM, Hong YH, Ming LC, Wong TW (2015) Medication Errors in the Southeast Asian Countries: A Systematic Review. PLOS ONE 10(9): e0136545. doi: 10.1371/journal.pone.0136545. 1.4. แพทยสภา สภาการพยาบาล สภาเภสชั กรรม ทันตแพทยสภา สภากายภาพบาบัด และ สภาเทคนคิ การแพทย.์ ค่มู อื การเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยาและเลอื ด (ฉบับรา่ ง). 2552. 1.5. ชยั รัตน์ ฉายากลุ และคณะ. (บรรณาธิการ). 2558. ค่มู อื การดาเนนิ งานโครงการ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use Hospital Manual). กรุงเทพฯ: โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์ การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. 2. คมู่ ือครู และใบงานสาหรบั ผู้เรยี น โมดลู 10A, 10B, 10C 3. คอมพิวเตอร์พกพา หรือโทรศัพทม์ อื ถือที่สามารถเข้าถงึ ข้อมูลวิชาการผา่ นอินเตอรเ์ น็ท การประเมินผลผูเ้ รยี น ตามความเหมาะสม 1. สงั เกตพฤติกรรม การเป็นส่วนหนงึ่ ในการอภิปรายกลุ่มยอ่ ยและประเมินเป็นรายบุคคลตามแบบประเมนิ 2. ผลสรุปจากการอภปิ รายกลุม่ ย่อย และกลมุ่ ใหญ่ 3. Short essay เพอ่ื สะท้อนการเรยี นรู้ในกรณีศึกษาทสี่ นใจ 4. แบบประเมนิ ตนเองออนไลน์ และขอ้ เสนอแนะต่อโมดลู สาหรับผเู้ รยี น https://goo.gl/qtW9sD 5. แบบประเมินตนเองออนไลน์ และข้อเสนอแนะต่อโมดลู สาหรบั ผสู้ อน https://goo.gl/CQ4E1u 10.3

คมู่ อื การเรยี นการสอนเพ่อื การใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 คมู่ อื ครู โมดูล 10 การพฒั นาความสามารถอย่างต่อเนอื่ ง โมดูล 10A : การปรบั ปรุงกระบวนการใช้ยา  กรณศี กึ ษา และแนวทางการอภิปราย คาถามแบบ unfolding case study แนวทางอภปิ ราย NPC Competency คาถาม 10A.1 - มีจดหมายจริงแสดงประกอบ - Knowledge หัวหนา้ ทมี นาทางคลินิก (clinical lead team) ใน - แต่ละกลมุ่ อภปิ รายถึงปญั หา - Safety โรงพยาบาลแจ้งว่า มีอบุ ัติการณค์ วามคลาดเคลอ่ื น ความคลาดเคล่ือนทางยา ท่ี ทางยาสงู ข้นึ มากในรอบเดอื นทผี่ า่ นมา ซึ่งเป็นเดือน อาจเกิดข้นึ จากบุคลากรใน แรกทม่ี บี คุ ลากรใหม่มาปฏบิ ตั ิงาน และใหท้ า่ นเขา้ ร่วม วิชาชีพของตน วา่ มีโอกาส ประชุมกบั ทีมนาทางคลินิกในปญั หาดังกล่าว อยา่ งไรได้บา้ ง ทา่ นเปน็ หน่งึ ในบุคลากรใหมท่ ่มี าปฏบิ ัตงิ านในท่ี - เรียงลาดบั ความสาคญั ของ นัน้ จะเตรยี มความพรอ้ มอย่างไร? ปญั หา คาถาม 10A.2 เอกสารประกอบ: - Safety ในการประชุม ทมี นาทางคลินิกแสดงใหเ้ หน็ ว่า มี - ตาราง 10A.2.1 รายงาน - Professional ความคลาดเคลอื่ นทางยาเกดิ สงู เพม่ิ ขน้ึ (ตารางท่ี อุบตั ิการณค์ วามคลาดเคลือ่ น - Self and 10A.2.1) โดยเปน็ ความคลาดเคลอื่ นประเภท E – ทางยาของโรงพยาบาล (ควร Others H จานวนท้งั สน้ิ 5 กรณี (กรณศี ึกษา 10A.2.1- ครอบคลมุ ทง้ั OPD และ IPD) 10A.2.5) - กรณีศกึ ษา 10A.2.1-10A.2.5 ท่านประเมินว่าสาเหตุของปัญหาในภาพรวม - ปญั หาทีร่ ะบแุ สดงในแตล่ ะ และในแตล่ ะกรณี เกดิ จากอะไรไดบ้ า้ ง? ใครเป็น กรณี ควรครอบคลุมทัง้ การ ผูเ้ ก่ยี วขอ้ งบา้ ง? อย่างไร? และใหเ้ สนอแนว สัง่ ใช้ยา การคัดลอกคาสง่ั ใช้ ทางการทบทวนหาสาเหตุรากฐานของปัญหา ยา การจ่ายยา และการ บรหิ ารยาคลาดเคลอ่ื น ตาราง 10A.2.1 รายงานอบุ ตั กิ ารณค์ วามคลาดเคล่อื นทางยา รพ.สง่ เสริมการใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล อุบตั กิ ารณ์ความคลาดเคล่ือนทางยา ประเภทความคลาดเคล่อื นทางยา ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.- เม.ย. – ก.ค. มี.ค. มิ.ย. 1. การสั่งยามีข้อมลู ผิดพลาดหรอื ไมค่ รบถว้ น จนตอ้ งแก้ไข 50 45 40 40 2. คาสงั่ ใช้ยาไม่ชัดเจน ลายมอื อา่ นยาก ใช้คาย่อท่ไี ม่เข้าใจ 65 50 45 48 3. การสัง่ ใช้ยาทผ่ี ูป้ ว่ ยมปี ระวตั แิ พ้ยานั้นมาก่อน 2102 4. ระบุ HN, ชอ่ื สกุล ข้อมลู ผูป้ ว่ ยในใบสัง่ ยาไมถ่ ูกต้อง 40 30 24 26 5. คดั ลอกคาสง่ั ใชย้ าไม่ถูกตอ้ ง ไม่ชัดเจน 24 15 10 20 6. จ่ายยาทพ่ี มิ พ์ฉลากชื่อสกลุ ผปู้ ว่ ยผดิ 30 25 12 20 7. จัดยาใหไ้ ม่ครบ ผดิ ชนิด ขนาด รูปแบบ จานวน ปรมิ าณ 50 30 18 25 8. ใหย้ าผิดชนิด การเตรียมยาฉดี ผดิ ชนดิ 5204 9. ใหย้ าผิดเตยี ง 1002 10. ใหย้ าผดิ เวลา ผิดวิถที างให้ ผิดขนาด 12 6 2 6 รวมทัง้ สิ้น 279 204 151 193 10.4

Module 10 Always improving in RDU กรณที ี่ 10A.2.1 แพทย์สง่ั การรักษาด้วยยา hydralazine มก. ทกุ 6 ชว่ั โมง แก่ผปู้ ว่ ยอายุ 45 ปี ทร่ี บั ไวใ้ น โรงพยาบาลและผปู้ ่วยได้รบั hydrochlorothiazide 25 มก. แทน มาทราบหลงั จากน้นั 3 วนั เม่อื พบวา่ ผู้ปว่ ยมีปสั สาวะมาก และมอี าการซมึ ลงจาก hyponatremia ต้องให้สารนา้ ทดแทน (ให้ยาผิดชนดิ ) กรณที ่ี 10A.2.2 แพทย์ตรวจพบว่า ผปู้ ว่ ยทร่ี บั ใหมต่ อนกลางคนื มี hypokalemia และได้สัง่ Elixir KCl 30 มล. กินทนั ที และ 4 ชัว่ โมงหลังจากนน้ั อกี 1 ครัง้ โดยให้ตรวจเลือดซ้าในตอนเช้า มาพบในระหว่างการทา ward round เช้า วา่ ผ้ปู ่วยคนทไี่ ด้รบั Elixir KCl ไมม่ รี ะดับ potassium ในเลือดตา่ ขณะน้ัน ผปู้ ว่ ยไมม่ อี าการผิดปกติ จึงรบี ตามผลตรวจเลอื ด พบ ระดบั potassium ในเลอื ดสงู 6.8 mEq/L. ต้องได้รับการรักษาด้วย Kayexalate กนิ 1 คร้งั และทา EKG monitoring (ให้ยาผดิ คน) กรณีที่ 10A.2.3 ผู้ป่วยชาย 65 ปี เป็นเบาหวานและโรคหัวใจ กาลังไดร้ ับยา warfarin อยู่ ตรวจพบว่าซดี ลง และมี melena ระดับ INR =9.5 จึงสั่งรบั ไวใ้ นโรงพยาบาล และให้ฉดี vitamin K 10 unit ก่อนเขา้ ตกึ ผู้ปว่ ยไดร้ บั การฉีดยาเขา้ หลอดเลอื ดดาทนั ที เมือ่ ถึงหอผ้ปู ว่ ย พบมี อาการเขา้ ได้กับภาวะ anaphylactic shock (ให้ยาผิดวถิ ที างให)้ กรณีที่ 10A.2.4 ผู้ป่วยเดก็ อายุ 5 ปี น้าหนกั 30 กิโลกรมั มาทห่ี ้องฉกุ เฉนิ ดว้ ยอาการหอบเหนอื่ ยเฉยี บพลนั และมผี ่นื ข้ึนตามแขนขา โดย 1 วนั ก่อน ได้มาตรวจรกั ษาฟันผุและรากฟันอกั เสบ ไดร้ บั Amoxiclav® 500 มก. กนิ วนั ละ 2 ครง้ั มีประวตั เิ ดมิ ท่ีสงสยั จะแพ้ยาฉดี Ceftriaxone มากอ่ น (แพย้ าซา้ ) กรณที ่ี 10A.2.5 ผูป้ ว่ ยเบาหวานรกั ษาด้วยยาฉีดอนิ สลุ นิ โดยไดร้ บั Mixtard® 42 unit ฉดี ตอนเชา้ มาตลอด ควบคมุ ระดับน้าตาลและอาการไดด้ ี มารบั ไว้ในโรงพยาบาลเพอ่ื ผา่ ตดั น่ิวในถงุ นา้ ดี โดย NPO และให้ IV fluid ในช่วงเช้ากอ่ นผ่าตดั ผปู้ ว่ ยยงั ไดร้ ับยาฉดี ตอนเช้า และเกิดอาการ จากน้าตาลในเลือดตา่ หลังผ่าตดั ต้องไดร้ บั glucose ฉดี และตดิ ตามอาการต่อเนอื่ ง (ขอ้ มูล การสงั่ ยาไม่ครบถ้วน) คาถามแบบ unfolding case study แนวทางอภปิ ราย NPC Competency คาถาม 10A.3 - เอกสารประกอบ: ตารางท่ี 10A.3.1 ผลการทบทวนหาสาเหตรุ ากฐานของปญั หา ผลการทบทวนหาสาเหตรุ ากฐาน - Professional (Root Cause Analysis) ในแต่ละ ของปญั หาท้งั 5 กรณีศึกษา - Self and กรณศี กึ ษา (ตารางท่ี 10A.3.1) - ผูแ้ ทนแต่ละกลมุ่ /วชิ าชพี อภปิ ราย Others บทบาทเฉพาะตวั ของทา่ น จะช่วย ถงึ แนวทางการปอ้ งกนั ความ - Always ปอ้ งกนั ปัญหาในแต่ละกรณไี ดอ้ ยา่ งไร? คลาดเคลอ่ื นทางยา และการแกไ้ ข ระบุวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ ช่ี ัดเจนและเปน็ ไปได้ ปญั หาในภาพรวม เพอื่ หาขอ้ สรปุ Improving รวมถึงการแก้ไขปญั หาในภาพรวมของ ทาเป็นแนวปฏิบัตใิ นโรงพยาบาล โรงพยาบาล - มุ่งเนน้ เร่อื งการพฒั นาตนเอง การ ช่วยเหลือร่วมกนั ทางานเป็นทมี และการทบทวน ปรับปรุงวิธีปฏบิ ตั ิ อย่างสม่าเสมอ - อภิปรายรวมกลมุ่ ใหญ่ 10.5

คูม่ อื การเรยี นการสอนเพอ่ื การใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 ตารางที่ 10A.3.1 ผลการทบทวนหาสาเหตรุ ากฐานของปญั หา (Root Cause Analysis) กรณศี กึ ษา ผล RCA 1. แพทย์ส่ังการรักษาด้วยยา hydralazine 25 มก. ทุก การสัง่ ยาชดั เจน 6 ช่ัวโมง แกผ่ ู้ปว่ ยอายุ 45 ปี ท่ีรบั ไว้ในโรงพยาบาล การทบทวนคาสัง่ ใช้ยาถกู ตอ้ ง และผปู้ ว่ ยไดร้ บั ยา hydrochlorothiazide 25 มก. สง่ ใบขอรบั ยาไปที่ห้องยาตอนประมาณ 20.00 น. แทน มาทราบหลงั จากน้นั 3 วนั เม่ือพบว่าผูป้ ว่ ยมี และไดร้ บั ยากลบั มาจากหอ้ งยาเปน็ ปัสสาวะมาก และมีอาการซมึ จาก hyponatremia hydrochlorothiazide และพยาบาลแจกยา ตอ้ งใหส้ ารน้าทดแทน ให้แก่ผู้ป่วยตามทไี่ ดร้ ับมา 2. แพทยต์ รวจพบว่า ผู้ปว่ ยทีร่ ับใหม่ตอนกลางคนื มี มีการสงั่ ตรวจหา electrolyte ในชว่ งนน้ั 2 ราย hypokalemia และได้สงั่ Elixir KCl 30 มล. กินทันที พยาบาลสง่ ผลตรวจให้แพทยเ์ วรตอนประมาณ และ 4 ชว่ั โมงหลงั จากนนั้ อกี 1 ครงั้ โดยให้ตรวจ 01.00 น. โดยพบความผดิ ปกติคือ hypokalemia เลอื ดซา้ ในตอนเช้า มาพบในระหวา่ งการทา ward ในผู้ป่วยรายแรก แพทย์เวรสง่ั Elixir KCl ในใบส่ัง round เชา้ ว่าผู้ป่วยคนทไี่ ดร้ ับ Elixir KCl ไม่มรี ะดับ การรกั ษาของผปู้ ่วย ในรายทสี่ องแทน และ potassium ในเลือดต่า ขณะนัน้ ผูป้ ว่ ยไมม่ ีอาการ พยาบาลแจกยาให้แก่ผปู้ ว่ ยตามทไี่ ดร้ ับคาสัง่ มา ผดิ ปกติ จึงรบี ตามผลตรวจเลือด พบระดบั potassium ในเลือดสงู 6.8 mEq/L. ต้องได้รบั การ รกั ษาดว้ ย Kayexalate กิน 1 ครง้ั และทา EKG monitoring 3. ผ้ปู ่วยชาย 65 ปี เปน็ เบาหวานและโรคหัวใจ ไดร้ ับยา แพทย์เวรท่ีออกตรวจไดโ้ ทรศพั ท์ถามแพทยท์ ี่ warfarin อยู่ ตรวจพบว่าซีดลงและมี melena ปรึกษา และไดร้ ับคาแนะนาใหฉ้ ดี vitamin K ระดับ INR =9.5 จึงสั่งรบั ไว้ในโรงพยาบาล และให้ กอ่ น จงึ เขยี นคาสง่ั “ฉดี vitamin K 10 unit” ใน ฉีด vitamin K 10 unit ก่อนเขา้ ตึก ผูป้ ่วยไดร้ บั การ เวชระเบยี น พยาบาลไดส้ อบถามวา่ ฉดี อย่างไร ฉดี ยาเขา้ หลอดเลือดดาทันที เมอ่ื ถึงหอผู้ป่วย พบมี แพทย์เวรเห็นวา่ มี IV fluid อยู่แลว้ และผู้ปว่ ยมี อาการเข้าได้กบั ภาวะ anaphylactic shock ปญั หาเลอื ดออกงา่ ย จึงสัง่ ใหฉ้ ดี IV push เพือ่ รบี สง่ ผู้ป่วยเขา้ รักษาต่อในตกึ 4. ผู้ป่วยเด็ก อายุ 5 ปี น้าหนัก 30 กิโลกรมั มาทีห่ ้อง มกี ารส่ังยา Amoxiclav® ทฝี่ า่ ยทันตกรรม ตึก ฉุกเฉนิ ด้วยอาการหอบเหนื่อยเฉยี บพลนั และมผี น่ื ผู้ปว่ ยนอก โดยในเวชระเบยี น มีการบันทึก ข้นึ ตามแขนขา โดย 1 วนั ก่อน ไดม้ าตรวจรักษาฟันผุ เหตกุ ารณ์การแพ้ยาไวใ้ นบันทกึ ประวัตผิ ูป้ ว่ ยใน 2 และรากฟันอกั เสบ ไดร้ บั Amoxiclav® 500 มก. ปีก่อน และแจง้ ผู้ปกครองไว้ว่าผ้ปู ว่ ยแพ้ยา กนิ วนั ละ 2 คร้งั มีประวัตเิ ดมิ ที่สงสยั จะแพย้ าฉดี ceftriaxone Ceftriaxone มาก่อน 5. ผู้ป่วยเบาหวานรกั ษาดว้ ยยาฉดี อนิ สลุ นิ โดยได้รบั มีการตรวจระดับนา้ ตาลในเลอื ด 1 สปั ดาห์ก่อน Mixtard® 42 unit ฉีดตอนเชา้ มาตลอด ควบคมุ ผา่ ตดั ได้ 120 มก./ดล. แพทย์จงึ สั่งฉดี ยาเท่าเดิม ระดบั น้าตาลและอาการไดด้ ี มารบั ไว้ในโรงพยาบาล และเขียน Pre-operative (one day) Order ให้ เพือ่ ผา่ ตดั นิ่วในถุงน้าดี โดย NPO และให้ IV fluid NPO และ NSS iv drip 120 มล./ชม. ในช่วงเชา้ กอ่ นผา่ ตดั ผู้ปว่ ยยังไดร้ ับยาฉดี ตอนเช้า การรับคาส่งั การรักษาถกู ตอ้ ง พยาบาลในหอ และเกดิ อาการจากนา้ ตาลในเลอื ดตา่ หลงั ผา่ ตดั ตอ้ ง ผูป้ ่วยงดยากิน โดยฉดี ยา Mixtard® ให้ตามเดิม ได้รบั glucose ฉีด และติดตามอาการตอ่ เนื่อง ผปู้ ่วยตอ้ งรอการผ่าตัดช่วงบา่ ยเพราะมี case ฉกุ เฉนิ ผู้ปว่ ยมีอาการซมึ ลง ในช่วงประมาณ 13.00 น. ตรวจระดับนา้ ตาลในเลอื ดได้ 30 มก./ ดล. แจ้งแพทย์ ให้ 50% glucose 50 มล. IV push และเปลย่ี นให้ 10% D/W แทน หลงั จาก น้นั ผู้ปว่ ยรสู้ กึ ตัวดี ไม่มนี ้าตาลในเลือดต่าอีก 10.6

Module 10 Always improving in RDU คู่มอื ครู โมดลู 10 การพฒั นาความสามารถอย่างต่อเนอ่ื ง  โมดูล 10B : การปรับปรุงกระบวนการใชย้ า กรณศี กึ ษา และแนวทางการอภิปราย คาถามแบบ unfolding case study แนวทางอภิปราย NPC Competency คาถาม 10B.1 - เอกสารประกอบ: หนงั สอื คมู่ อื การ - Knowledge ในการปฐมนเิ ทศรวมบคุ ลากร ก่อนปฏิบตั ิงาน ใช้ยาอย่างสมเหตผุ ล - Safety ผอู้ านวยการโรงพยาบาลแจ้งถึงการเขา้ รว่ มใน - แตล่ ะกลุ่มอภปิ รายถงึ วิธีปฏบิ ตั ิใน - Professional “โครงการ โรงพยาบาลส่งเสรมิ การใช้ยาอย่างสม วิชาชพี ของตน เพื่อให้ใช้ยาได้อย่าง สมเหตผุ ลตามนิยามขององค์การ เหตผุ ล” และให้ผูป้ ฏบิ ัติงานใหมท่ กุ คนร่วมมือ อนามัยโลก ปฏบิ ตั ิตามข้อแนะนาของโครงการฯ ทา่ นจะเตรยี มตวั อยา่ งไรบา้ ง เพ่อื ปฏิบัติให้ สอดคลอ้ งกับท่ไี ด้รบั คาแนะนา? คาถาม 10B.2 - อาจปรับเปล่ียนกรณีศึกษาได้ ตาม - Safety เมื่อปฏบิ ัติงานครบ 1 เดอื น ทา่ นไดเ้ ข้าร่วม ความเหมาะสมของแต่ละวิชาชพี - Professional ประชมุ กับทมี นาทางคลนิ ิกของหอผ้ปู ว่ ย และ - Self and พบว่ามรี ายงานอุบตั กิ ารณค์ วามคลาดเคลอื่ น - ควรอภิปรายถึงสาเหตุทเี่ ปน็ ไปได้ ทางยาประเภท E – H เกิดขึ้นท้งั หมด 2 คร้ัง ของการเกดิ medication error Others เปน็ การไม่ได้สง่ั หยดุ ยาฉดี เบาหวานแกผ่ ้ปู ่วยท่ี ต้ังแต่ การส่ังใช้ยา การทบทวน จะไปผ่าตดั และการให้ยาปฏิชวี นะ คาสั่งใช้ยา การจา่ ยยา และการ ceftriaxone แก่ผ้ปู ่วยท่มี ีประวัตแิ พ้ยากลมุ่ เพน บริหารยา นิซลิ ลิน - ความสาคญั ของการรายงาน ทา่ นประเมินว่าสาเหตขุ องปัญหาในภาพรวม อบุ ัติการณ์ การชว่ ยเหลอื และ และในแตล่ ะกรณี เกิดจากอะไรไดบ้ า้ ง? ใคร ทางานร่วมกนั แบบ สหวชิ าชีพ เปน็ ผเู้ กี่ยวขอ้ งบา้ ง? อยา่ งไร? และใหเ้ สนอ แนวทางการทบทวนหาสาเหตรุ ากฐานของ ปญั หา คาถาม 10B.3 - ผู้แทนแต่ละกลมุ่ /วชิ าชพี - Professional ผลการทบทวนหาสาเหตรุ ากฐานของปญั หา อภปิ รายถึงแนวทางการป้องกัน - Self and (Root Cause Analysis) ในแตล่ ะกรณศี ึกษา ความคลาดเคลื่อนทางยา และ (ตารางที่ 10B.3.1) การแก้ไขปญั หาในภาพรวม เพอ่ื Others หาขอ้ สรปุ ทาเป็นแนวปฏิบัติใน บทบาทเฉพาะตวั ของท่าน จะช่วยปอ้ งกัน โรงพยาบาล - Always ปญั หาในแตล่ ะกรณีได้อย่างไร? โดยระบุวธิ ี Improving ปฏบิ ตั ทิ ช่ี ดั เจนและเปน็ ไปได้ รวมถงึ - มุ่งเนน้ เร่ืองการพฒั นาตนเอง แนวทางการแกไ้ ขปญั หาในภาพรวมของ การชว่ ยเหลอื รว่ มกนั ทางานเป็น โรงพยาบาล ทมี และการทบทวน ปรับปรงุ วิธี ปฏิบตั ิ อยา่ งสมา่ เสมอ - เอกสารประกอบ: ตารางที่ 10B.3.1 10.7

คูม่ ือการเรยี นการสอนเพอ่ื การใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 ตารางท่ี 10B.3.1 ผลการทบทวนหาสาเหตรุ ากฐานของปัญหา (Root Cause Analysis) กรณศี กึ ษา ผล RCA 1. ผ้ปู ่วยเบาหวานรักษาด้วยยาฉดี อนิ สุลนิ โดย มกี ารตรวจระดบั นา้ ตาลในเลอื ด 1 สปั ดาห์กอ่ นผา่ ตดั ได้ ไดร้ บั Mixtard® 42 unit ฉีดตอนเช้ามา 120 มก./ดล. แพทยจ์ ึงส่งั ฉดี ยาเทา่ เดิม และเขยี น Pre- ตลอด ควบคมุ ระดบั น้าตาลและอาการได้ดี operative (one day) Order ให้ NPO และ NSS iv drip มารบั ไวใ้ นโรงพยาบาลเพื่อผ่าตัดนว่ิ ในถุง 120 มล./ชม. นา้ ดี โดย NPO และให้ IV fluid ในช่วงเช้า การรบั คาส่งั การรกั ษาถกู ต้อง พยาบาลในหอผปู้ ่วยงดยากนิ ก่อนผา่ ตดั ผู้ปว่ ยยงั ไดร้ บั ยาฉีดตอนเช้า และ โดยฉีดยา Mixtard® ให้ตามเดิม เกดิ อาการจากนา้ ตาลในเลอื ดตา่ ในตอน ผปู้ ่วยต้องรอการผ่าตดั ชว่ งบ่ายเพราะมี case ฉกุ เฉิน ผู้ป่วย บา่ ย ต้องไดร้ ับ glucose ฉดี และเลอ่ื นการ มอี าการซึมลง ในชว่ งประมาณ 13.00 น. ตรวจระดบั น้าตาล ผา่ ตดั ออกไป ในเลอื ดได้ 30 มก./ดล. แจ้งแพทย์ ให้ 50% glucose 50 มล. IV push และเปลยี่ น ให้ 10% D/W แทน หลังจากนั้น ผ้ปู ่วยรสู้ กึ ตัวดี ไม่มนี า้ ตาล ในเลือดต่าอีก 2. ผู้ปว่ ยรับไวใ้ นโรงพยาบาลด้วยอาการไขส้ ูง ผู้ปว่ ยมีประวตั แิ พ้ยา Amoxicillin ซึ่งได้รับเพอื่ รกั ษา หนาวสนั่ ปสั สาวะขนุ่ ได้รับการรกั ษาด้วย pharyngitis ทตี่ กึ ผู้ปว่ ยนอกเมอ่ื 2 ปีกอ่ น เปน็ ผ่นื แดงขึน้ ยาฉดี ceftriaxone 2 กรมั IV หลงั ฉีดยาได้ หลังกินยา 1 ชัว่ โมง เกิดอาการหอบเหน่อื ยเฉยี บพลนั ไดบ้ ันทกึ ไว้ในประวัติยาในเวชระเบยี นผู้ปว่ ยนอก และแจง้ ให้ และมผี ื่นขึ้นตามตวั มีประวตั เิ ดมิ ที่สงสัยจะ ผปู้ ว่ ยได้ทราบ แต่ทีมผู้รกั ษาและผูจ้ ่ายยาในขณะนน้ั ไม่ แพ้ยากนิ amoxicillin มากอ่ น ทราบว่าผปู้ ว่ ยเคยแพย้ านมี้ ากอ่ น เมอื่ สง่ั ฉีด ceftriaxone ผปู้ ว่ ยเกดิ อาการแพย้ า ได้ใหก้ าร รกั ษาช่วยเหลอื แบบทนั ท่วงที ผปู้ ว่ ยมีอาการดขี น้ึ และ เปลย่ี นให้ยาปฏิชีวนะชนดิ อื่นแทน 10.8

Module 10 Always improving in RDU คมู่ ือครู โมดลู 10 การพฒั นาความสามารถอย่างต่อเนอื่ ง  โมดูล 10C : กระบวนการประเมินยาใหม่ กรณีศกึ ษา และแนวทางการอภปิ ราย กรณีท่ี 10C.1 โรงพยาบาลของทา่ น จะนายา ONZETRA® Xsail® (Sumatriptan nasal power) แทนยา Sumatriptan oral, and Eletriptan, and Ergotamine ในการรกั ษาไมเกรน ขอให้ทา่ นทาการประเมินเพ่ือประกอบการ ตดั สินใจดงั กลา่ ว กรณีที่ 10C.2 บรษิ ทั ยาเสนอยาใหม่ ได้แก่ Apixaban, Rivaroxaban, Dabigatran เพ่ือทดแทนยา Warfarin หรอื Low molecular weight heparin เพอื่ ใช้เป็นยาละลายลมิ่ เลือด ท่านจะประเมนิ ขอ้ มลู ใดบ้างเพอ่ื ประกอบการ ตดั สินใจเลือกยาดังกลา่ วเข้ามาในโรงพยาบาล ประเด็นอภปิ ราย ในการประเมิน ผู้สอนสามารถแนะนาการพจิ ารณาขอ้ มลู ตอ่ ไปนี้ เพอื่ ประกอบการเปรียบเทยี บระหว่างยาเดมิ และยาใหม่ และนาไปสูก่ ารประกอบการตัดสนิ ใจตดั สนิ ใจเลอื กยาทเี่ หมาะสมเข้าโรงพยาบาล 1) Burden and severity of disease 2) Standard clinical practice guideline 3) Efficacy -Pharmacokinetics 4) Safety 5) Cost effectiveness 6) Suitability 10.9

คู่มือการเรียนการสอนเพื่อการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 ใบงานผูเ้ รียน โมดลู 10 การพฒั นาความสามารถอยา่ งต่อเนอ่ื ง  โมดลู 10A การปรบั ปรงุ กระบวนการใชย้ า คาถาม 10A.1 หัวหน้าทมี นาทางคลินิก (clinical lead team) ในโรงพยาบาลแจง้ ว่า มอี ุบัตกิ ารณ์ความคลาดเคล่ือน ทางยาสงู ขึน้ มากในรอบเดือนทผี่ ่านมา ซึ่งเปน็ เดอื นแรกท่ีมีบคุ ลากรใหม่มาปฏบิ ตั งิ าน และใหท้ ่านเข้า ร่วมประชมุ กับทีมนาทางคลนิ กิ ในปญั หาดงั กลา่ ว ท่านเป็นหนึง่ ในบคุ ลากรใหม่ที่มาปฏบิ ตั ิงานในท่นี ัน้ จะเตรียมความพร้อมอย่างไร? --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 10.10

Module 10 Always improving in RDU คาถาม 10A.2 ในการประชุม ทีมนาทางคลินกิ แสดงใหเ้ ห็นวา่ มคี วามคลาดเคลือ่ นทางยาเกิดสูงเพ่มิ ขึ้น ดังตารางที่ 10A.2.1 โดยเปน็ ความคลาดเคลือ่ นประเภท E – H จานวนทั้งสิน้ 5 กรณี (กรณีศึกษา 10A.2.1-10A.2.5) ท่านประเมินว่าสาเหตขุ องปญั หาในภาพรวม และในแตล่ ะกรณี เกิดจากอะไรไดบ้ า้ ง? ใครเป็นผเู้ กย่ี วขอ้ งบ้าง? อย่างไร? และใหเ้ สนอแนวทางการทบทวนหาสาเหตุรากฐานของปญั หา ตาราง 10A.2.1 รายงานอบุ ตั ิการณ์ความคลาดเคลอ่ื นทางยา รพ. ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ประเภทความคลาดเคล่ือนทางยา อุบัตกิ ารณ์ความคลาดเคลอื่ นทางยา ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ม.ี ค. เม.ย. – มิ.ย. ก.ค. 1. การสัง่ ยามีขอ้ มลู ผิดพลาดหรือไมค่ รบถว้ น จนตอ้ งแก้ไข 50 45 40 40 2. คาสั่งใชย้ าไม่ชัดเจน ลายมืออ่านยาก ใชค้ าย่อทไี่ ม่เข้าใจ 65 50 45 48 3. การสัง่ ใช้ยาทีผ่ ู้ปว่ ยมีประวัติแพย้ านั้นมาก่อน 2 1 02 4. ระบุ HN, ชือ่ สกุล ข้อมลู ผู้ปว่ ยในใบสั่งยาไม่ถกู ต้อง 40 30 24 26 5. คดั ลอกคาส่ังใช้ยาไม่ถูกตอ้ ง ไมช่ ัดเจน 24 15 10 20 6. จา่ ยยาท่ีพิมพฉ์ ลากชอื่ สกุลผู้ป่วยผดิ 30 25 12 20 7. จัดยาใหไ้ ม่ครบ ผดิ ชนิด ขนาด รปู แบบ จานวน ปริมาณ 50 30 18 25 8. ให้ยาผดิ ชนิด การเตรียมยาฉดี ผิดชนดิ 5 2 04 9. ให้ยาผิดเตยี ง 1 0 02 10. ให้ยาผดิ เวลา ผิดวถิ ีทางให้ ผิดขนาด 12 6 2 6 รวมท้งั สน้ิ 279 204 151 193 กรณีที่ 10A.2.1 แพทยส์ ง่ั การรักษาดว้ ยยา hydralazine มก. ทกุ 6 ชว่ั โมง แก่ผูป้ ่วยอายุ 45 ปี ท่รี ับไว้ ในโรงพยาบาลและผู้ป่วยได้รบั hydrochlorothiazide 25 มก. แทน มาทราบ หลงั จากนนั้ 3 วัน เมื่อพบว่าผปู้ ว่ ยมีปัสสาวะมาก และมีอาการซมึ ลงจาก hyponatremia ตอ้ งให้สารน้าทดแทน กรณที ี่ 10A.2.2 แพทย์ตรวจพบว่า ผ้ปู ว่ ยทร่ี ับใหมต่ อนกลางคืน มี hypokalemia และไดส้ ่งั Elixir KCl 30 มล. กนิ ทนั ที และ 4 ช่ัวโมงหลงั จากนั้นอีก 1 ครั้ง โดยให้ตรวจเลือดซ้าในตอนเชา้ มาพบในระหว่างการทา ward round เช้า วา่ ผู้ป่วยคนท่ีได้รับ Elixir KCl ไม่มรี ะดับ potassium ในเลอื ดต่า ขณะนน้ั ผู้ป่วยไมม่ อี าการผดิ ปกติ จงึ รบี ตามผลตรวจเลอื ด พบระดบั potassium ในเลอื ดสูง 6.8 mEq/L. ต้องไดร้ บั การรักษาดว้ ย Kayexalate กิน 1 ครั้ง และทา EKG monitoring กรณีที่ 10A.2.3 ผ้ปู ว่ ยชาย 65 ปี เป็นเบาหวานและโรคหัวใจ กาลงั ไดร้ บั ยา warfarin อยู่ ตรวจพบว่า ซีดลงและมี melena ระดบั INR =9.5 จงึ สง่ั รับไว้ในโรงพยาบาล และให้ฉดี vitamin K 10 unit กอ่ นเขา้ ตกึ ผูป้ ว่ ยไดร้ บั การฉดี ยาเข้าหลอดเลอื ดดาทนั ที เมอ่ื ถงึ หอผู้ป่วย พบมีอาการเข้าไดก้ ับภาวะ anaphylactic shock กรณที ี่ 10A.2.4 ผปู้ ว่ ยเด็ก อายุ 5 ปี น้าหนกั 30 กิโลกรมั มาทหี่ ้องฉุกเฉนิ ด้วยอาการหอบเหนื่อย เฉยี บพลัน และมผี นื่ ขนึ้ ตามแขนขา โดย 1 วันกอ่ น ไดม้ าตรวจรักษาฟันผแุ ละรากฟัน อกั เสบ ไดร้ บั Amoxiclav® 500 มก. กินวันละ 2 ครั้ง มปี ระวัตเิ ดมิ ทีส่ งสยั จะแพ้ยา ฉดี Ceftriaxone มาก่อน กรณีท่ี 10A.2.5 ผู้ป่วยเบาหวานรักษาด้วยยาฉีดอนิ สุลิน โดยได้รับ Mixtard® 42 unit ฉดี ตอนเช้ามา ตลอด ควบคมุ ระดบั น้าตาลและอาการได้ดี มารบั ไวใ้ นโรงพยาบาลเพือ่ ผ่าตดั นิ่วในถุง น้าดี โดย NPO และให้ IV fluid ในช่วงเช้าก่อนผา่ ตัด ผปู้ ว่ ยยงั ได้รบั ยาฉดี ตอนเช้า และเกดิ อาการจากน้าตาลในเลอื ดต่าหลงั ผา่ ตดั ตอ้ งได้รบั glucose ฉีด และตดิ ตาม อาการต่อเนือ่ ง --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 10.11

คูม่ ือการเรียนการสอนเพ่ือการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 คาถาม 10A.3  ผลการทบทวนหาสาเหตรุ ากฐานของปญั หา (Root Cause Analysis) ในแต่ละกรณศี ึกษา แสดงในตารางที่ 10A.3.1 บทบาทเฉพาะตัวของทา่ น จะช่วยป้องกนั ปญั หาในแต่ละกรณไี ด้อยา่ งไร? ระบวุ ิธีปฏิบตั ทิ ช่ี ัดเจนและเปน็ ไปได้ รวมถึงการแก้ไขปญั หาในภาพรวมของโรงพยาบาล ตารางท่ี 10A.3.1 ผลการทบทวนหาสาเหตรุ ากฐานของปญั หา (Root Cause Analysis) กรณศี กึ ษา ผล RCA 1. แพทยส์ ั่งการรกั ษาดว้ ยยา hydralazine 25 มก. ทกุ การสงั่ ยาชัดเจน 6 ช่วั โมง แก่ผปู้ ่วยอายุ 45 ปี ทร่ี บั ไวใ้ นโรงพยาบาล การทบทวนคาสง่ั ใช้ยาถกู ตอ้ ง และผปู้ ่วยได้รับยา hydrochlorothiazide 25 มก. ส่งใบขอรับยาไปที่หอ้ งยาตอนประมาณ 20.00 น. แทน มาทราบหลงั จากนัน้ 3 วัน เมอื่ พบว่าผปู้ ่วยมี และได้รับยากลบั มาจากหอ้ งยาเปน็ ปัสสาวะมาก และมีอาการซึมจาก hyponatremia hydrochlorothiazide และพยาบาลแจกยา ตอ้ งให้สารนา้ ทดแทน ให้แก่ผ้ปู ว่ ยตามท่ีไดร้ บั มา 2. แพทย์ตรวจพบวา่ ผู้ป่วยทร่ี ับใหมต่ อนกลางคนื มี มีการส่งั ตรวจหา electrolyte ในชว่ งนนั้ 2 ราย hypokalemia และไดส้ ั่ง Elixir KCl 30 มล. กินทนั ที พยาบาลส่งผลตรวจใหแ้ พทยเ์ วรตอนประมาณ และ 4 ช่วั โมงหลงั จากนัน้ อีก 1 ครั้ง โดยใหต้ รวจ 01.00 น. โดยพบความผิดปกติคือ hypokalemia เลือดซา้ ในตอนเชา้ มาพบในระหว่างการทา ward ในผู้ปว่ ยรายแรก แพทยเ์ วรสงั่ Elixir KCl ในใบสงั่ round เช้า ว่าผู้ปว่ ยคนทไี่ ด้รบั Elixir KCl ไมม่ รี ะดบั การรักษาของผปู้ ่วย ในรายทส่ี องแทน และ potassium ในเลือดตา่ ขณะน้ัน ผปู้ ่วยไมม่ อี าการ พยาบาลแจกยาให้แกผ่ ู้ป่วยตามทไ่ี ด้รับคาสั่งมา ผดิ ปกติ จงึ รบี ตามผลตรวจเลือด พบระดับ potassium ในเลอื ดสงู 6.8 mEq/L. ต้องไดร้ บั การ รกั ษาด้วย Kayexalate กิน 1 คร้งั และทา EKG monitoring 3. ผ้ปู ่วยชาย 65 ปี เป็นเบาหวานและโรคหวั ใจ ไดร้ บั ยา แพทย์เวรท่ีออกตรวจไดโ้ ทรศพั ทถ์ ามแพทย์ที่ warfarin อยู่ ตรวจพบว่าซีดลงและมี melena ปรึกษา และไดร้ บั คาแนะนาใหฉ้ ดี vitamin K ระดบั INR =9.5 จึงสั่งรบั ไวใ้ นโรงพยาบาล และให้ ก่อน จงึ เขยี นคาสง่ั “ฉีด vitamin K 10 unit” ใน ฉีด vitamin K 10 unit กอ่ นเข้าตึก ผปู้ ่วยไดร้ ับการ เวชระเบียน พยาบาลได้สอบถามว่าฉดี อยา่ งไร ฉดี ยาเข้าหลอดเลือดดาทนั ที เมอื่ ถงึ หอผปู้ ว่ ย พบมี แพทยเ์ วรเหน็ ว่ามี IV fluid อย่แู ลว้ และผู้ป่วยมี อาการเข้าไดก้ บั ภาวะ anaphylactic shock ปัญหาเลอื ดออกง่าย จึงส่งั ให้ฉีด IV push เพอื่ รีบ สง่ ผปู้ ว่ ยเข้ารกั ษาต่อในตกึ 4. ผู้ป่วยเด็ก อายุ 5 ปี นา้ หนกั 30 กโิ ลกรมั มาทหี่ ้อง มกี ารสง่ั ยา Amoxiclav® ทฝี่ ่ายทนั ตกรรม ตกึ ฉกุ เฉินดว้ ยอาการหอบเหนือ่ ยเฉยี บพลนั และมผี ืน่ ข้ึน ผปู้ ่วยนอก โดยในเวชระเบียน มีการบนั ทึก ตามแขนขา โดย 1 วนั ก่อน ไดม้ าตรวจรกั ษาฟันผแุ ละ เหตกุ ารณ์การแพย้ าไวใ้ นบันทกึ ประวตั ผิ ปู้ ว่ ยใน 2 รากฟันอักเสบ ไดร้ ับ Amoxiclav® 500 มก. กนิ วัน ปกี อ่ น และแจ้งผูป้ กครองไวว้ ่าผ้ปู ว่ ยแพย้ า ละ 2 ครั้ง มีประวตั เิ ดมิ ที่สงสยั จะแพย้ าฉดี ceftriaxone Ceftriaxone มากอ่ น 10.12

Module 10 Always improving in RDU ตารางที่ 10A.3.1 (ตอ่ ) ผล RCA กรณศี กึ ษา มีการตรวจระดบั น้าตาลในเลือด 1 สปั ดาหก์ อ่ น ผา่ ตัด ได้ 120 มก./ดล. แพทยจ์ งึ สั่งฉดี ยาเทา่ เดิม 5. ผปู้ ว่ ยเบาหวานรกั ษาดว้ ยยาฉดี อนิ สลุ ิน โดยได้รบั และเขียน Pre-operative (one day) Order ให้ Mixtard® 42 unit ฉดี ตอนเชา้ มาตลอด ควบคมุ NPO และ NSS iv drip 120 มล./ชม. ระดบั นา้ ตาลและอาการได้ดี มารบั ไว้ในโรงพยาบาล การรบั คาสั่งการรักษาถกู ตอ้ ง พยาบาลในหอ เพ่ือผ่าตัดนิว่ ในถุงน้าดี โดย NPO และให้ IV fluid ผ้ปู ่วยงดยากิน โดยฉีดยา Mixtard® ใหต้ ามเดมิ ในช่วงเชา้ กอ่ นผา่ ตดั ผูป้ ่วยยงั ไดร้ บั ยาฉีดตอนเชา้ ผู้ป่วยต้องรอการผ่าตัดชว่ งบ่ายเพราะมี case และเกดิ อาการจากน้าตาลในเลอื ดตา่ หลงั ผา่ ตดั ต้อง ฉุกเฉิน ผปู้ ว่ ยมอี าการซึมลง ในช่วงประมาณ ได้รบั glucose ฉดี และตดิ ตามอาการต่อเนอ่ื ง 13.00 น. ตรวจระดับนา้ ตาลในเลอื ดได้ 30 มก./ ดล. แจง้ แพทย์ ให้ 50% glucose 50 มล. IV push และเปล่ียนให้ 10% D/W แทน หลังจาก นั้น ผู้ป่วยรสู้ ึกตวั ดี ไมม่ ีน้าตาลในเลือดตา่ อีก 10.13

คู่มอื การเรียนการสอนเพือ่ การใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 ใบงานผู้เรียน โมดูล 10 การพฒั นาความสามารถอย่างต่อเนือ่ ง  โมดลู 10B การปรับปรุงกระบวนการใชย้ า คาถาม 10B.1 ในการปฐมนเิ ทศรวมบุคลากร ก่อนปฏิบัตงิ าน ผู้อานวยการโรงพยาบาลแจง้ ถึงการเข้าร่วมใน “โครงการ โรงพยาบาลสง่ เสริมการใช้ยาอย่างสมเหตผุ ล” และใหผ้ ู้ปฏบิ ัตงิ านใหมท่ กุ คนรว่ มมือปฏิบตั ติ ามขอ้ แนะนาของ โครงการฯ ทา่ นจะเตรียมตวั อย่างไรบา้ ง เพอื่ ปฏิบัตใิ หส้ อดคลอ้ งกบั ท่ไี ด้รบั คาแนะนา? --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 10.14

Module 10 Always improving in RDU คาถาม 10B.2  เมอื่ ปฏบิ ตั ิงานครบ 1 เดือน ทา่ นไดเ้ ขา้ ร่วมประชมุ กบั ทีมนาทางคลนิ ิกของหอผู้ปว่ ย และพบวา่ มรี ายงาน อบุ ัตกิ ารณค์ วามคลาดเคลื่อน ทางยาประเภท E – H เกดิ ขน้ึ ท้งั หมด 2 ครงั้ เปน็ การไมไ่ ดส้ ั่งหยดุ ยาฉีด เบาหวานแก่ผ้ปู ่วยที่จะไปผ่าตัด และการใหย้ าปฏิชีวนะ ceftriaxone แกผ่ ูป้ ่วยท่ีมีประวตั แิ พ้ยากลุ่มเพนนิซิล ลิน ท่านประเมนิ ว่าสาเหตุของปัญหาในภาพรวม และในแต่ละกรณี เกดิ จากอะไรได้บา้ ง? ใครเปน็ ผเู้ กยี่ วขอ้ งบา้ ง? อย่างไร? และให้เสนอแนวทางการทบทวนหาสาเหตรุ ากฐานของปญั หา --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 10.15

ค่มู ือการเรยี นการสอนเพ่ือการใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 คาถาม 10B.3  ผลการทบทวนหาสาเหตรุ ากฐานของปัญหา (Root Cause Analysis) ในแต่ละกรณศี ึกษา แสดงดังตารางท่ี 10B.3.1 บทบาทเฉพาะตัวของทา่ น จะชว่ ยป้องกันปัญหาในแตล่ ะกรณไี ด้อยา่ งไร? โดยระบวุ ธิ ีปฏบิ ัติที่ชดั เจนและ เป็นไปได้ รวมถงึ แนวทางการแกไ้ ขปัญหาในภาพรวมของโรงพยาบาล ตารางที่ 10B.3.1 ผลการทบทวนหาสาเหตรุ ากฐานของปญั หา (Root Cause Analysis) กรณศี กึ ษา ผล RCA 1. ผ้ปู ่วยเบาหวานรักษาด้วยยาฉีดอนิ สลุ นิ โดย มกี ารตรวจระดับน้าตาลในเลือด 1 สัปดาหก์ อ่ นผา่ ตัด ได้ ไดร้ บั Mixtard® 42 unit ฉีดตอนเช้ามา 120 มก./ดล. แพทยจ์ งึ สง่ั ฉดี ยาเทา่ เดมิ และเขยี น Pre- ตลอด ควบคมุ ระดบั น้าตาลและอาการไดด้ ี operative (one day) Order ให้ NPO และ NSS iv drip มารับไว้ในโรงพยาบาลเพ่ือผา่ ตดั นว่ิ ในถุง 120 มล./ชม. นา้ ดี โดย NPO และให้ IV fluid ในชว่ งเช้า การรบั คาสงั่ การรักษาถูกตอ้ ง พยาบาลในหอผู้ป่วยงดยากนิ กอ่ นผา่ ตดั ผปู้ ว่ ยยงั ไดร้ บั ยาฉดี ตอนเช้า และ โดยฉีดยา Mixtard® ให้ตามเดมิ เกิดอาการจากนา้ ตาลในเลือดต่า ในตอน ผู้ปว่ ยต้องรอการผา่ ตดั ชว่ งบ่ายเพราะมี case ฉกุ เฉนิ ผปู้ ่วย บ่าย ต้องไดร้ ับ glucose ฉดี และเล่อื นการ มอี าการซมึ ลง ในช่วงประมาณ 13.00 น. ตรวจระดบั น้าตาล ผ่าตดั ออกไป ในเลอื ดได้ 30 มก./ดล. แจ้งแพทย์ ให้ 50% glucose 50 มล. IV push และเปลยี่ น ให้ 10% D/W แทน หลังจากนน้ั ผปู้ ่วยรสู้ กึ ตัวดี ไม่มีนา้ ตาล ในเลือดตา่ อีก 2. ผปู้ ่วยรบั ไว้ในโรงพยาบาลดว้ ยอาการไขส้ งู ผปู้ ว่ ยมปี ระวตั แิ พย้ า Amoxicillin ซ่ึงไดร้ ับเพอื่ รักษา หนาวส่ัน ปัสสาวะขุน่ ไดร้ ับการรกั ษาดว้ ย pharyngitis ที่ตึกผปู้ ่วยนอกเมอ่ื 2 ปกี อ่ น เป็นผนื่ แดงขน้ึ ยาฉดี ceftriaxone 2 กรมั IV หลังฉีดยาได้ หลงั กินยา 1 ชวั่ โมง เกิดอาการหอบเหน่อื ยเฉียบพลัน ได้บันทกึ ไวใ้ นประวตั ิยาในเวชระเบยี นผ้ปู ่วยนอก และแจง้ ให้ และมผี ื่นขึน้ ตามตวั มปี ระวตั ิเดมิ ทสี่ งสัยจะ ผปู้ ว่ ยไดท้ ราบ แตท่ มี ผู้รักษาและผจู้ า่ ยยาในขณะน้นั ไม่ แพย้ ากนิ amoxicillin มากอ่ น ทราบว่าผปู้ ่วยเคยแพ้ยานมี้ ากอ่ น เม่ือสง่ั ฉีด ceftriaxone ผู้ป่วยเกิดอาการแพ้ยา ไดใ้ หก้ าร รกั ษาชว่ ยเหลอื แบบทนั ทว่ งที ผปู้ ว่ ยมอี าการดขี นึ้ และ เปลยี่ นให้ยาปฏชิ ีวนะชนิดอ่นื แทน 10.16

Module 10 Always improving in RDU ใบงานผเู้ รียน โมดูล 10 การพฒั นาความสามารถอย่างต่อเนือ่ ง  โมดลู 10C กระบวนการประเมนิ ยาใหม่ กรณีท่ี 10C.1 โรงพยาบาลของทา่ น จะนายา ONZETRA® Xsail® (Sumatriptan nasal power) แทนยา Sumatriptan oral, and Eletriptan, and Ergotamine ในการรกั ษาไมเกรน ขอใหท้ ่านทาการประเมนิ เพือ่ ประกอบการ ตดั สนิ ใจดังกล่าว กรณที ี่ 10C.2 บริษัทยาเสนอยาใหม่ ได้แก่ Apixaban, Rivaroxaban, Dabigatran เพ่ือทดแทนยา Warfarin หรอื Low molecular weight heparin เพอื่ ใชเ้ ป็นยาละลายลมิ่ เลือด ทา่ นจะประเมินข้อมลู ใดบ้างเพอ่ื ประกอบการ ตัดสินใจเลอื กยาดังกล่าวเข้ามาในโรงพยาบาล 10.17

คมู่ อื การเรียนการสอนเพือ่ การใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 10.18

คู่มอื การเรียนการสอนเพอื่ การใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 N เรือ่ งเลา่ จากเพือ่ นร่วมทาง : การจัดการเรียนการสอนเพอื่ RDU ในความพยายามหาโอกาสสอดแทรกเรื่องการใช้ยาสมเหตุผลเข้าไปในการเรียนการสอนของ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ มีเร่ืองเล่าของจุดเริ่มต้นเล็กๆ จากเพื่อนร่วมทางในหลาย มหาวิทยาลัยหลายแห่ง ท่ีอาจช่วยให้อาจารย์ผสู้ อนมีกาลังใจและเกิดแนวคิดในการพัฒนาการเรียน การสอนเพอื่ การใช้ยาสมเหตผุ ลในสถาบนั ของตน การจัดการเรียนการสอนเพ่ือการใชย้ าสมเหตุผล ไมย่ ากอย่างท่ีคดิ ถ้าอาจารยเ์ ห็นโอกาสและไมพ่ ลาดท่ีใช้โอกาส นนั้ ขอแค่กล้าลงมือทา และสนกุ กบั ความทา้ ทาย เราสอน RDU ได้ โดยไม่ต้องรอปรบั หลกั สตู ร ไม่ตอ้ งตัง้ วิชาใหม่ หรอื เปลยี่ นผู้บรหิ ารหนว่ ยงานนะ... รยู้ ัง? So, let’s do it together! สัมมนาวิชาการ 2 ชว่ั โมง X 2 ครง้ั 3 ชว่ั โมงในวชิ าเภสชั กรรม บน WARD | EXTERN, 2 วนั เตม็ ในวชิ าระบบสขุ ภาพและ โรงพยาบาล | นกั ศกึ ษาเภสัช นกั ศกึ ษาแพทย์ ปี 2, เภสัชกรรม |นกั ศกึ ษาเภสชั ศาสตร์ ปี 4 | MEDICATION นกั ศึกษาพยาบาลปี 3, ในวิชาสัมมนาการใช้ยา | ศาสตร์ ปี4 USE PROCESS นศ.เภสชั ศาสตร์ปี 6 | นสิ ิตเภสชั ศาสตร์ ปี 5 | | RDU HOSPITAL PLEASE @ คณะเภสชั ศาสตร์ MODULE 8 แนวคิด RDU ตามกรอบการ @คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั อุบลราชธานี INTERPROFESSIONAL ส่งั ใชย้ าอย่างสมเหตุผล มหาวิทยาลัยมหิดล EDUCATION @ คณะเภสัชศาสตร์ 3 ชว่ั โมงในวชิ า @ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ วิชาการจดั การระบบยา | PHARMACOTHERAPY & นิสิตเภสชั ศาสตรป์ ี4 | PHARMACY PRACTICE LAB | 1 ช่วั โมง ในการฝกึ อายุร 2 ชว่ั โมงใน บญั ชียาหลัก, EBM, นักศกึ ษาเภสชั ศาสตร์ ปี 3 | กรรม | นสิ ติ แพทย์ ปี 5 วชิ าระบาดวิทยาทางยา | RDU HOSPITAL PLEASE RDU & PATIENT SAFETY, กลมุ่ เล็ก | MODULE 1 นสิ ิตเภสชั ศาสตร์ ปี 5 | @ คณะเภสัชศาสตร์ EVIDENCE-BASED MEDICINE @ คณะแพทยศาสตร์ MODULE 9 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัย @ คณะเภสัชศาสตร์ & ETHICS ศรีนครนิ ทรวิโรฒ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย เรื่องเศรษฐศาสตร์คลินกิ @ คณะเภสชั ศาสตร์ และการใช้ยาสมเหตผุ ล มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วชิ าเวชศาสตร์ครอบครัว | นสิ ิตแพทย์ ป3ี | หลักการ RDU @ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม 11.1

RDU@ คณะเภสชั ศาสตร์ เรื่องเล่าจากเพอื่ นรว่ มทาง มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ในเมื่อมีช่องทาง และ “ครู ผู้สอน” พร้อมลุย (หาแนวร่วมและสร้างกระแสไปด้วย) จึงได้เร่ิมต้น  อ.ดร.ภญ. ณฐั าศริ ิ ฐานะวฑุ ฒ์ ทดลองสอน RDU & Patient safety โดยใช้ scenario  นกั ศึกษาเภสัชศาสตร์ ปี 3 ท่ีปรับให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละชั้นปี มีการกาหนด  วิชา Pharmacotherapy & Pharmacy objectives, competency ที่ชัดเจน และมีการวาง แนวทางการสอนและวิธีการสอนท่ีชัดเจน ล่าสุดคือ Practice Lab (2/2558) สอนนักเรียนเภสัช ปี 3 ในวิชา Pharmacothearpy &  RDU & patient safety, Evidence-based Pharmacy practice Lab (3 ชั่วโมง) โดยใช้ scenario ง่ายๆ เก่ยี วกบั ยา ergotamine medicine, ethics “หญิ งอายุ 45 ปี มาขอซ้ือ ยา Cafergot® Teaching RDU กับนักศึกษาเภสัชศาสตร์ “เรา จานวน 5 แผงที่ร้านขายยา จากการซักประวัติ มาถึงจุดน้ีได้อย่างไร?”ถ้าจะถามว่า อะไรเป็น “แรง ผู้ป่วยกาลังใช้ยา itraconazole เพ่ือรักษาเช้ือ ผลกั ” ใหเ้ ริ่มสอน RDU & patient safety สว่ นหนึ่งคง ราท่เี ลบ็ โดยรับยาจากรพ.สต. แห่งหนึง่ ” เป็นเพราะ...ที่ผ่านมา...ทุกคร้ังที่มีโอกาส...ประโยคที่ มักจะพูดกับนักเรียนเภสัชเสมอๆ คือ “Pharmacists จะเห็นว่า scenario ส้ันๆ แค่น้ี เราก็สามารถ are medication experts” แต่...การมีความรู้ด้านยา แตะเร่ือง RDU, patient safety, การสืบค้นข้อมูลและ อย่างดีเยี่ยม จะเป็นหลักประกันท่ีนาไปสู่วัฒนธรรมของ EBM, communication และ ethics ได้แล้ว การ “การใช้ยาอย่างสมเหตุผล” เพื่อความปลอดภัยของ เรียนการสอนคร้ังนี้ จะแบ่งผู้เรียนเป็น 10 กลุ่มย่อย ผปู้ ่วยได้หรือไม่ คาตอบก็คือ...??? กลุ่มละ 5-6 คน การเรียนจะเป็น active learning เร่ิมต้นด้วยการค้นคว้าข้อมูลเองของผู้เรียน (1 ชั่วโมง) โชคดีท่ีมีโอกาสเข้ามาร่วมในวงของ “RDU หลงั จากน้นั อาจารย์แจกข้อมูลยา ergotamine ที่เตรยี ม curriculum” รวมทั้งได้รับการหยิบยื่นโอกาสดีดี ไวแ้ ล้ว และเปดิ ประเดน็ ให้อภิปรายกลุ่ม ในแงข่ อง RDU มากมาย ไม่ว่าจะเป็นการเขา้ ร่วม workshop ของ RDU เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมในการจ่ายยา curriculum, WHO Patient safety curriculum และ และแนวทางการแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนอย่างเป็นระบบ (1 การปรบั เปล่ียนการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ท่ีมุ่ง ชั่วโมง) ผู้เรียนนาเสนอประเด็นสาคัญที่ได้จากการ สู่ IPE และ transformative learning และท่ีสาคัญ อภิปรายกลุ่ม โดยให้ผู้เรียนเป็นผู้วางรูปแบบการ ที่สุด ได้มีโอกาสทางานร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ ทาให้ นาเสนอด้วยตนเอง (ผู้เรียนกลุ่มน้ี นาเสนอในรูปแบบ ม อ งเห็ น ภ า พ ข อ งก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น RDU ใน ของ Talk show ได้รับเสียงปรบมือกันเกรียวกราว) สถาบันการศึกษาท่ีผลิตกาลังคนด้านสุขภาพชัดเจนข้ึน และปิดท้ายด้วยการขมวดปม และ Take home และ...ทาให้ทราบว่า ... “ไม่ได้ยากอย่างที่คิดเลย” ใน message โดยอาจารยผ์ ู้สอน (1 ช่ัวโมง) เมื่อเรามีแนวร่วมมากมาย และมีผู้เช่ียวชาญที่พร้อม สนับสนนุ และใหค้ าแนะนาปรกึ ษาอย่างดี โ ด ย ส่ ว น ตั ว แ ล้ ว ..เ ช่ื อ ว่ า ..ก า ร ก้ า ว ไ ป ใ ห้ ถึ ง วัฒนธรรมของการใช้ยาอย่างสมเหตุผล จาเป็นต้องมี หลังจากถอยหลังมา 1 ก้าว เพ่ือต้ังหลักและ การเปล่ียนแปลงทั้งต้นน้าและปลายน้า และการเรียน วางแผนว่า เราจะเริ่มสอน RDU อย่างไรให้เหมาะกับ การสอนจาเป็นต้องมีการสอนซ้าๆ สอนหลายๆครั้ง ... บ ริบ ท ของวิชาชีพ เภ สัช จากรายละเอียดของ และสอนทกุ ๆคร้ังทมี่ โี อกาส ...และควรเร่มิ ต้นสอนตั้งแต่ “สมรรถนะร่วม” ซ่ึงกาหนดโดยสภาวิชาชีพ รวมทั้ง ชัน้ ปแี รกๆ ถงึ แม้วา่ ผ้เู รียนยังมคี วามรดู้ า้ นยาไมเ่ พียงพอ หลักสูตรของคณะเภสัชศาสตร์เอง พบว่ามีหลายๆวิชา ก็ตาม ดังน้ัน ที่ผ่านมา นอกจากสอนนักเรียนเภสัชปี 3 ที่รองรับและเอื้อต่อการเรียนการสอน RDU อยู่แล้ว แล้ ว ได้ ท ด ล องส อน ใน ช้ั น ปี ที่ 2 แ ล ะชั้ นปี ที่ 4 เราสามารถ integrate เน้ือหาของ RDU เข้าไปในแต่ละ เช่นเดียวกนั รายวิชาโดยไม่จาเป็นต้องปรับหลักสูตรแต่ประการใด (เช่ น ร า ย วิ ช า Pharmacotherapy & Pharmacy practice) 11.2

ค่มู ือการเรยี นการสอนเพ่ือการใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 จากใจผู้สอน:  Feedback จากผเู้ รียนเปน็ กาลังใจอย่างดเี ยี่ยม  Feedback จากผ้เู รียนและบรรยากาศในชนั้ เรียน ทาใหค้ ้นพบวา่ ...แท้จริงแล้ว...แววตาที่เปน็ ประกายของผูเ้ รียนท่ี เตม็ ไปดว้ ย “ความอยากเรียนรู้” และ “อยากเห็น Role model” ตา่ งหาก ทเ่ี ป็นแรงผลกั ทแ่ี ท้จรงิ ... ทาใหร้ ู้วา่ ...มีงานทีต่ อ้ งพฒั นาอีกมากมาย ทาใหร้ ู้วา่ ...เราต้องการ “ทมี ผู้สอน” ทเ่ี ข้มแขง็ ทีพ่ รอ้ มจะใช้ “โมดลู การเรยี นรู้” เปน็ เครอื่ งมือในการเรียนการ สอน RDU ซง่ึ เปน็ นามธรรม ให้เปน็ รูปธรรมที่จับต้องได้ เราซงึ่ เปน็ “ครู” ที่ตอ้ งเป็นแม่แบบทด่ี ี จะหยุดนิ่งไดอ้ ย่างไร จรงิ ไหมคะ! (a) (b) การเรยี นการสอนในวันนี้ เปน็ การเรียนที่ทาใหท้ ุกๆคนได้คดิ ได้ชว่ ยกันวเิ คราะหห์ าขอ้ มลู ได้ใช้ทักษะต่างๆ ท้งั ใน เรอื่ งทีย่ ังไม่ไดเ้ รยี นและทเี่ คยเรยี นมาแลว้ ได้นาออกมาใช้ทงั้ หมด รสู้ ึกสนกุ ตน่ื เตน้ ในการชว่ ยกันแสดงความ คิดเห็นของแต่ละกลมุ่ ทาใหห้ ลกั จากเรียนเนอ้ื หาในวนั นี้ ไดร้ บั ความรู้และประโยชน์อย่างมากมาย เป็นการสอนทีท่ า ใหท้ ุกคนเข้าใจง่าย และมีประสิทธภิ าพดี และอยากให้มกี ารสอนแนวน้อี กี ค่ะ สดุ ท้ายตอ้ งขอขอบคุณอาจารยท์ งั้ สอง ทา่ นมากนะคะทใี่ จดี ในการสอนเปดิ โอกาสให้พวกหนไู ดช้ ว่ ยกนั คดิ เองคะ่ (ปล. อาจารย์ใจดี ทาให้กลา้ ที่จะแสดง ความคิดเหน็ มากขึ้นคะ่ ) รปู (a) กจิ กรรมการเรยี นการสอน และการนาเสนอของนกั ศึกษาแบบ Talk show ทีไ่ ด้รบั เสยี งปรบมือเกรยี วกราว (b) ตวั อยา่ ง Feedback ของนกั ศกึ ษาท่ีช่วยเติมกาลังใจใหผ้ ้สู อน 11.3

เร่อื งเลา่ จากเพ่ือนรว่ มทาง RDU@ คณะเภสัชศาสตร์ การบริหารจัดการ- นักศึกษากลุ่มละ 4-5 คน ให้ ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์เชื่อมโยง สังเคราะห์เน้ือหา มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ในประเด็นมอบหมายเกี่ยวกับการใช้ยาท่ีปลอดภัย และสมเหตุผล ภายใต้การได้รับคาแนะนาจาก  ผศ.ดร.ภญ.นนั ทวรรณ กิติกรรณากรณ,์ อาจารย์ที่ปรึกษา 2 ท่าน เพ่ือเตรียมการสัมมนา อ.ดร.ภญ. ชดิ ชนก เรอื นกอ้ น, แลกเปลี่ยนกับเพือ่ นนกั ศึกษา อาจารย์ และเภสัชกร อ.ดร.ภญ. เพ็ญกาญจน์ กาญจนรตั น์ จากหน่วยงานภายนอก (เภสัชกรได้รับหน่วยกิต การศึกษาต่อเน่ืองของวิชาชีพ) และเผยแพร่  นักศึกษาเภสชั ศาสตร์ ปี 5 สาขาบรบิ าลเภสัชกรรม บ ท ค ว า ม ส รุ ป ภ า ษ า ไท ย 4 -5 ห น้ า (ร ว ม (1/2558) เอกสารอา้ งองิ ) และวิทยาศาสตรเ์ ภสัชกรรม (2/2558) การผลักดัน – จัดห้องสัมมนาสาธิตและอธิบาย หลักการของการใช้ยาอย่างสมเหตุผลให้ท้ังผู้สอน  วิชาสัมมนาการใชย้ า 462581 (1-0-2) สร้าง mindset และผู้เรียน และให้ผู้สอนผู้เชี่ยวชาญต่างสาขา RDU & patient safety ทางานเป็นที่ปรึกษาร่วมกันเพื่อแลกเปลี่ยนมุมมอง และให้นักศึกษาทาหน้าท่ีเป็น Chair, co-chair ใน วัตถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ แต่ละ session 1. มี mindset ของการใช้ยาสมเหตุผล (RDU) และความ ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้ ปลอดภัยของผู้ป่วย (patient safety) อย่างเป็นระบบ เห็นพัฒนาการทักษะของผู้เรียนที่สอดคล้องกับ และครอบคลุมมุมมองระดบั ตา่ งๆ ท้ังระดับบุคคล องคก์ ร รูปแบบการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 ดังนี้ และประเทศ 1. Critical thinking: ผเู้ รียนสามารถคน้ คว้า 2. ตระหนักถงึ ความสาคญั ของ RDU และความปลอดภยั ของ ผู้ปว่ ย รวมถงึ ทราบประเดน็ ปัญหาด้านยาทีเ่ ปน็ ปัจจุบัน รวบรวม ข้อมลู วชิ าการทท่ี นั สมยั และ เช่อื มโยงส่งิ ทเ่ี รยี นร้จู ากวชิ าต่างๆ เข้ามาใช้ กระบวนการเรียนรู้และการจัดการ มองปัญหาการใช้ยาของประเทศ ในมมุ มอง ใหมท่ ีม่ ากกว่า individual level การปฏริ ูป ใช้โอกาสปรบั รูปแบบรายวชิ าทม่ี อี ยู่ 2. Communication (information & media literacy): สื่อสารทางวิชาการ ในทาง Before ปีการศกึ ษา 2558 สร้างสรรค์ 3. Collaboration (teamwork & leadership): บทความวิจยั 1 เรือ่ ง กล่มุ ต้องสบื ค้นและใช้หลักฐาน สามารถเปน็ ผนู้ า และทางานเปน็ ทีม เพ่อื บรรลุ เปา้ หมายรว่ มกัน หลัก / กลุม่ วชิ าการตา่ งๆประกอบกัน 4. Creativity & innovation: สามารถ ดาเนนิ การสัมมนาใหล้ ลุ ว่ งตามเปา้ หมายอยา่ ง แบง่ กลุม่ ตามรูปแบบ แบ่งกลุ่มตามประเดน็ สร้างสรรค์ 5. Computing and ICT literacy:สามารถใช้ งานวิจัย (research สถานการณ์ด้านยา ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สาร ในการค้นหาขอ้ มูล design) เปน็ หลัก และนาเสนอสื่อการเรียนรู้ท่ีน่าสนใจ Career & learning self-reliance change: ผู้เรียน ซรี ีย์สมั มนา สปั ดาห์ สัมมนาวิชาการ 2 วันเตม็ ชว่ ง สามารถผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะ ดา้ น ความชานาญการและความรเู้ ท่าทันด้าน ละ 1 บทความ /1.5 ปลายภาค ผสู้ นใจเลอื กเข้าฟัง ต่างๆ เพื่อความสาเร็จของการทางานใน วชิ าชพี และการดาเนนิ ชีวิต ชวั่ โมง หวั ข้อที่สนใจได้ 6. Cross cultural understanding: สามารถ คิดวิเคราะห์และทาความเข้าใจสถานการณ์ แบ่ง 4 ห้องย่อย มีหอ้ ง plenary และ 2 ห้องย่อย ตา่ งวัฒนธรรมได้ สมั มนาขนานกัน มวี ทิ ยากรภายในคณะภายนอก ร่วม plenary session นาเสนอเปน็ นาเสนอเป็นภาษาไทย ภาษาองั กฤษ - มีรวมเล่ม Abstract book Quiz หลงั สมั มนา Quiz หลังสัมมนาแตล่ ะหัวข้อ อาจารย์ภาควชิ า อาจารย์ทง้ั ภาควชิ าบรบิ าลเภสชั บรบิ าลเภสัชกรรมเปน็ กรรมและวทิ ยาศาสตร์เภสัช ที่ปรกึ ษา กรรมเป็นทปี่ รกึ ษา มีเฉพาะอาจารยใ์ น อาจารยต์ ่างภาควิชาและเภสชั กร ภาควิชาบริบาลเภสัช ที่สนใจเขา้ ร่วมสัมมนา กรรมและนักศกึ ษา 11.4

คูม่ อื การเรยี นการสอนเพอ่ื การใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 ขอ้ เสนอแนะ การนาเสนอข้อมูลแลกเปล่ียนในการสัมมนาร่วมกับ เพ่ือนผู้เรียน ผู้สอนหลายสาขา และเภสัชกรจาก หน่วยงานภายนอกสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ทาง วิชาชพี ท่ีดใี นสถานการณ์ตา่ งวฒั นธรรมได้ (a) (b) (c) (a) การแนะนากระบวนวชิ าในคาบแรก (b) การจดั สมั มนาในหอ้ งยอ่ ย (c) Plenary session โดยวทิ ยากรภายนอกและสมั มนาในหอ้ งประชมุ ใหญ่ 11.5

RDU@ คณะเภสัชศาสตร์ เร่อื งเลา่ จากเพอ่ื นร่วมทาง จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ตรวจสอบความถูกต้องและน่าเช่ือถือของข้อมูล โดย แจกข้อคาถามทีละชุด และให้นิสิตสืบค้นจากตัวอย่าง  ผศ.ดร. ภญ. ยุพดี ศริ สิ นิ สขุ ฐานข้อมูลท่ีกาหนด เมื่อผู้เรียนได้ข้อมูล จะมีการสรุป วทิ ยากร: ผศ.นพ.พสิ นธิ์ จงตระกลู ประมวลในแต่ละชุดของข้อคาถาม จะทาให้ “นิสิต ค่อยๆเรียนรู้ว่า ข้อมูลท่ีเคยรู้มาก่อนไม่ใช่ ข้อมูลท่ี  นสิ ติ เภสัชศาสตร์ สาขา Pharmaceutical ถูกต้องหมด ต้องมีการตรวจสอบ” ตัวอย่างเชน่ การหา Sciences ปี 5 ข้อมูลจากวารสารในฐานข้อมูล PubMed เปรียบเทียบ กบั ขอ้ มลู ทข่ี นึ้ ทะเบียนตารบั ยาในไทย ประเทศต่างๆ)  วชิ าระบาดวทิ ยาทางยา (Pharmacoepidemiology) หวั ขอ้ ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ แหล่งขอ้ มูลยาเพอื่ การตดั สินใจ ในการเรียน อาจารย์ผู้สอนไดใ้ หผ้ ู้เรียนบันทึกการเรยี นรู้ ใชย้ าสมเหตุผล (1/2558) 2 ช่วั โมง ใน Facebook ซ่งึ จะเปน็ การบนั ทึกผลการเรียนรู้ได้ดว้ ย โดยให้ผู้เรียนบันทึกเกี่ยวกับ ผลการสืบค้นท่ีได้ รวมท้ัง  Module 9 แหล่งขอ้ มูลเพ่อื การเรยี นรกู้ ารใช้ ส ะ ท้ อ น ส่ิ งท่ี ได้ รั บ ใน 3 ป ร ะ เด็ น คื อ ค ว า ม รู้ ยาอย่างสมเหตผุ ล (Knowledge) ทักษะ (Skills) และ ทัศนคติ (Attitude) ทเ่ี กดิ ขนึ้ ระหว่างการเรยี น และหลังการเรยี น วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ 1. มีทั กษ ะใน การเข้าถึงข้อมู ลที่ เชื่อถือได้ ม า การประเมนิ ผลการเรียนรู้ มีการออกข้อสอบในลักษณะเดียวกับการเรียน คือออก ประกอบการตัดสนิ ใจในการเลอื กใชย้ าให้กับผู้ปว่ ย ในรูปของกรณีศึกษา และข้อคาถามในโจทย์จะเป็นการ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและปลอดภยั สอบถามถึงความไม่เหมาะสมของการสั่งใช้ยา และ 2. มีความตระหนักในความสาคัญของการศึกษาด้วย แนวทางในการแก้ปัญหาทั้งระดับบุคคลและการแก้ไข ตนเองจากแหล่งข้อมูลเพื่อการเรียนรู้การใช้ยา เชงิ ระบบ อย่างสมเหตุผลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อย่าง สมา่ เสมอและตอ่ เนือ่ ง ตัวอย่างข้อสอบ หากท่านเป็นเภสัชกรประจาห้องยา เห็นการส่ังยาและ กระบวนการเรยี นรู้ ลักษณะอาการของผู้ป่วยตามภาพ ซึ่งแพทย์วินิจฉัยว่า 1. เนอ่ื งจากเป็นผู้รบั ผิดชอบรายวิชา และเนือ้ หาสาระ เปน็ common cold ก. โปรดประเมินว่ามีความไม่สมเหตุผลในประเด็น ของหวั ขอ้ สอดคล้องกับการเรียนในวชิ านี้ จงึ สามารถผนวกเอา Module 9 เปน็ คาบของ 1 ใดบ้าง การเรยี นการสอนในวชิ าระบาดวทิ ยา ข. นาแต่ละประเด็นในข้อ ก. ทุกประเด็นไปแจ้งแก่ 2. วิธีการจัดการเรียนการสอน ได้เชิญอาจารย์พิสนธ์ิ มาร่วมในกระบวนการเรียนการสอน โดยในเอกสาร แพทย์ผู้สั่งยา โดยเขียนเป็นประโยคคาพูด (การ ของโมดูลจะประกอบไปด้วย 1 กรณีศึกษา และชุด สื่อสารกับแพทย์ผู้สั่งยาเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับยาอย่าง ขอ้ คาถาม 7 ชุด (ดูรายละเอียด Module 9) ไดแ้ ก่ สมเหตุผล) 2.1 Define term ทาความเขา้ ใจกบั ขอ้ ความและ ค. ระ บุ แ น วท างก าร แ ก้ ไข ปั ญ ห าเชิ งระ บ บ ใน โรงพยาบาลเพ่ือป้องกันการเกิดปัญหาลักษณะน้ีซ้า ศัพทต์ า่ ง ๆใน scenario อกี 2.2 Indication & Efficacy 2.3 Safety 2.5 Dosage 1.5 Pharmacokinetics 1.6 รายการยาในบญั ชยี าหลกั แห่งชาติ 1.7 ราคายา โดยข้อคาถามต้ังแต่ชุดท่ี 2.2 - 2.7 จะเน้นให้ ผู้เรียนได้ทาการสืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่งข้อมูลเพ่ือ 11.6

ค่มู ือการเรยี นการสอนเพ่ือการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 RDU@ คณะเภสชั ศาสตร์ กระบวนการเรยี นรู้ นั กศึ กษ าจ ะเรีย น รู้จ าก การอ่าน เอ กส าร เรื่อ ง มหาวทิ ยาลัยมหิดล “โรงพยาบ าลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเห ตุผล (Rational Drug Use Hospital –PLEASE) ซ่ึ งแ จ ก  รศ.ดร. ภญ.ชะอรสิน สขุ ศรวี งศ์ เป็นไฟล์ให้ก่อนประมาณ 2 เดือน จัดการเรียนเป็น แบบ active มอี าจารย์ 2 ท่านช่วยจัดกระบวนความคิด  นกั ศกึ ษาเภสชั ศาสตร์ ปี 4 และเพิ่มเติมความรู้แก่นักศึกษา จัดนักศึกษาเป็น 12 กลุ่ม นาเสนอผลงาน ในวันท่ี 17 และ 24 พฤศจิกายน  วชิ า ภกบภ 401 ระบบสขุ ภาพและเภสัชกรรม 2558 เวลา 10-12 น. สัปดาห์ละ 6 กลุ่ม กลุ่มละ 10 หัวขอ้ การจดั การระบบยาเพ่อื ความสมเหตผุ ล นาที ซักถามกลุ่มละ 5 นาที การนาเสนอให้อภิปราย และความปลอดภยั ในการใชย้ า (1/2558) 4 ถึง แนวคิด ทฤษฎี ที่ใช้ด้วย การต้ังกรณีศึกษาท่ีให้ ช่ัวโมง นักศึกษาไปทาการบ้านมาน้ัน จะเกี่ยวข้องกับ PLEASE ตัวอักษรละ 2 ข้อ ในการนาเสนอนักศึกษาจะต้องมอง  แนวคดิ โครงการ Rational Drug Use Hospital ทั้งระบบ ใช้องค์ความรู้จากคู่มือและจากการเรียน PLEASE หัวข้อต่างๆที่ผ่านมา นามาวิเคราะห์และสังเคราะห์ ออกมาเป็นเร่ืองราวของตนเอง เม่ือนาเสนอจะเกิดการ หัวข้อ “การจัดการระบบยาเพ่ือความสมเหตุผล และ เรยี นรู้จากอาจารย์และเพือ่ นๆ ที่ช่วยกันประเมินสิ่งที่ได้ ความปลอดภัยในการใช้ยา” อยู่ในรายวิชา ระบบ นาเสนอ สุขภาพและเภสัชกรรม สาหรับนักศึกษาชั้นปีท่ี 4 ภาค การศึกษาท่ี 1 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผลการเรียนรู้ เน้ือหาของรายวิชาน้ีประกอบด้วย 2 ส่วนคือ บทบาท กล่าวได้ว่าได้ผลเป็นท่ีน่าพอใจมาก นักศึกษาตั้งใจ ของเภสัชกรในระบบสุขภาพและในระบบโรงพยาบาล ทางานได้ดี ได้ค้นคว้าข้อมูลเพ่ิมเติมจากคู่มือท่ีให้อ่าน ในส่วนของโรงพยาบาลนอกจากจะให้นักศึกษาได้เรียนรู้ ทาการวิเคราะห์หาสาเหตุ องค์ประกอบและภาคส่วนที่ เกี่ยวกับการจัดการด้านโลจิสติกส์ของยาแล้ว ยังให้ เกี่ยวข้อง ก่อนท่ีจะนาเสนอผลการตอบคาถาม ความสาคัญต่อการจัดการต่างๆ เพื่อให้เกิดการใช้ยา สนุกสนานในการเรียนการนาเสนอ มีการอภิปราย อย่างสมเหตุผลและเกิดความปลอดภัยแก่ผู้ป่วยอีกด้วย ซักถาม ขอแกไ้ ขงานเม่ือพบวา่ ทาได้ไม่ดีเท่าทีค่ วร ประกอบกับในเวลาท่ีจัดหัวข้อสอน คณะอนุกรรมการ ส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลได้จัดทา คู่มือการ กรณศี กึ ษา นาเสนอวนั ท่ี 17 พฤศจิกายน 2558 ดาเนินงานโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยา 1. P-เภสชั ตารบั ของโรงพยาบาลมคี วามสาคญั อย่างสมเหตุผล ซึ่งเม่ือดิฉันได้อ่านแล้วก็คิดว่าจะเป็น ประโยชน์มากหากว่าให้นักศึกษาได้อ่านด้วยเพราะว่า อยา่ งไร คู่มือนี้ได้ให้ทั้งแนวคิดและตัวอย่าง เขียนให้อ่านได้ 2. P-หากแพทยต์ ้องการใชย้ าท่ีอยนู่ อกเหนอื เข้าใจง่ายๆ คิดว่าแม้นักศึกษาปี 4 ที่ยังไม่เคยฝึกงาน โรงพยาบาลเลยก็น่าจะอ่านเข้าใจ ดังน้ันจึงจัดให้เป็น เภสชั ตารบั คณะกรรมการ PTC ควรทา การเรียนแบบ active โดยมี วัตถุประสงค์การเรียนรู้ อย่างไร คือ หลังจากจบการเรียนในหัวข้อนี้ นกั ศกึ ษาจะ 3. L-ให้ออกแบบซองบรรจุยาสาหรับผ้ปู ่วย 1. เกดิ ความเข้าใจหลกั การของโรงพยาบาลส่งเสริมการ สงู อายุ 4. L-ให้ออกแบบฉลากปิดบนขวดยาน้าสาหรบั ใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล PLEASE ผู้ปว่ ยเด็ก 2. สามารถวิเคราะหส์ าเหตทุ ต่ี ้องจดั ใหม้ โี ครงการ 5. E-ปจั จยั ใดบ้างท่ที าให้เกิดการใช้ยาอยา่ งสม เหตุผล ในโรงพยาบาล ส่งเสรมิ การใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล PLEASE 6. E-คณะกรรมการ PTC ควรมบี ทบาทอย่างไร 3. สามารถออกแบบกจิ กรรมส่งเสริมการใชย้ าอยา่ งสม ในการทจ่ี ะทาให้ เกดิ การใชย้ าอยา่ งสมเหตุผล ในโรงพยาบาล อยา่ งยง่ั ยืน เหตผุ ล PLEASE 4. สามารถสังเคราะห์ความสมั พันธ์ของบทบาทของบุ คลลากรท่ีมีสว่ นเกย่ี วขอ้ ง 5. สามารถประเมนิ ความเหมาะสมของกจิ กรรมท่ีใช้ใน โครงการส่งเสรมิ การใช้ยาอย่างสมเหตผุ ล PLEASE 11.7

กรณศี กึ ษา นาเสนอวนั ท่ี 24 พฤศจกิ ายน 2558 เร่ืองเล่าจากเพอ่ื นร่วมทาง 1. A-ใหอ้ อกแบบกิจกรรมทีจ่ ะสร้างความ 4. S-ในการคัดเลอื กยา และ จดั ซ้อื ยาสาหรับ ตระหนกั รูต้ ่อการใช้ยาอยา่ งสมเหตุผลให้แก่ ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวาน ควรตระหนกั ถึงปัจจัย แพทย์ ระดบั แพทยฝ์ กึ หดั ใดบ้าง เพราะอะไร 2. A-ให้ออกแบบกิจกรรมที่จะสร้างความ ตระหนักรตู้ ่อการใช้ยาอยา่ งสมเหตุผลใหแ้ ก่ 5. E-ทาอย่างไรการส่งเสรมิ การขายยาใน แพทย์ ระดบั แพทยผ์ เู้ ช่ียวชาญ โรงพยาบาลจงึ จะจัดไดว้ า่ มจี รยิ ธรรม 3. S-ควรทาอย่างไรบา้ งเพ่อื ให้ผปู้ ว่ ยทีต่ ้งั ครรภ์ น้นั สามารถใช้ยาไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 6. E-การทีจ่ ะเกดิ การใชย้ าอย่างสมเหตผุ ล ท่ี โรงพยาบาล นั้น เป็นความรับผดิ ชอบของ บุคลากรทุกฝ่าย ไม่ใชเ่ ฉพาะเภสัชกร ให้ เขยี น diagram ท่แี สดงความสมั พนั ธ์ของงาน และ stakeholder ท่ีจะทาให้เกิดการใช้ยา อยา่ งสมเหตุผลทีโ่ รงพยาบาล การสอน RDU หวั ขอ้ การจัดการระบบยาเพอื่ ความสมเหตผุ ล และความปลอดภัยในการใชย้ า แกน่ ักศึกษาเภสัชศาสตรช์ ั้นปที ่ี 4 ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ล 11.8

คู่มอื การเรยี นการสอนเพอื่ การใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 RDU@ คณะเภสัชศาสตร์ ISafE และดัชนี EMCI บทบาทของคณะกรรมการเภสัช กรรมและการบาบดั (PTC) มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม ในการดูแลระบบยาระดับโรงพยาบาล การ  ผศ.ดร.ภญ. ชนตั ถา พลอยเล่อื มแสง จดั ทา Drug monograph เพื่อใช้ประกอบการพิจารณา  นิสติ เภสัชศาสตร์ ปี 4 ยาของ PTC ระบบการผลติ และนาเขา้ ยาเพือ่ ใหไ้ ด้ยาที่มี  วิชาการจดั การระบบยา (Drug system คุณภาพ ปลอดภัย และใช้ได้อย่างพอเพียง ซึ่งรวมการ บริหารเวชภัณฑ์ท่ีถูกต้องตามกฎระเบียบ การเลือก management) ส่งั ซื้อยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ และทาให้ได้มาซึ่งยาท่ี  นสิ ติ แพทยศาสตร์ ปี 3 มีคุณภาพ ใช้เพียงพอ การกระจายยา ช่องทางการ  เร่ือง เศรษฐศาสตร์คลินกิ และการใชย้ าอย่างสม กระจายยาในระดับประเทศ จนถึงการกระจายยาบนหอ ผู้ป่วย และส่วนสาคัญคือการใช้ยา ใชย้ าอย่างสมเหตุผล เหตุผล ต้ังแต่การสั่งใช้ยาด้วยช่ือสามัญ (generic name) การ  วิชาเวชศาสตรค์ รอบครัว ประเมินการใช้ยา (Drug use evaluation, DUE) การ พิจารณาประสิทธิผลและความปลอดภัยของยา จาก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Evidence-based medicine การพัฒนาระบบยาใน เปิดหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริบาล โรงพยาบาลอยา่ งต่อเน่ืองด้วยเกณฑ์การประกันคุณภาพ ทางเภสัชกรรม มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 ด้วยปรัชญาของ โรงพยาบาลหรอื Hospital Accreditation (HA) คณะคือ “รอบรู้เร่ืองยา นาประชาสร้างสุขภาพ ” และอัตลักษณ์นิสติ “บูรณาการองคค์ วามรู้ สู่การปฏิบัติ ทั้งน้ีการจัดการเรียนการสอนท้ังรายวิชาการ จริงในชุมชน และยึดมัน่ จรรยาบรรณวิชาชีพ” ได้เน้นให้ จดั การระบบยา ได้มีเป้าหมายเพอื่ ใหน้ ิสติ เขา้ ใจระบบยา ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถด้านการบริบาลทางเภสัช ตั้งแต่ระกับประเทศจนถึงระบบยาในหน่วยงานหรือ กรรม เพ่ือเพิ่มคุณภาพชีวิตและสร้างเสริมสุขภาพของ โรงพยาบาล วตั ถุประสงคเ์ พือ่ ใหผ้ ้เู รยี นเขา้ ใจถึงระบบยา ผู้ป่วยให้ดีข้ึน สาหรับประเด็นการใช้ยาอย่างสมเหตุผล องค์ประกอบระบบยา และเปา้ หมายของระบบยา คือให้ และความปลอดภัยของผู้ปว่ ย ได้ปลูกฝังผู้เรียนต้ังแต่ช้ัน มยี าใช้เพยี งพอ ใชถ้ ูกต้องและใช้สมเหตุสมผล ปีท่ี 1 ในรายวิชานิเทศเภสัชศาสตร์ ผ่านเภสัชกรที่เป็น Role model ในการประกอบวิชาชีพสาขาต่างๆ ผู้ให้ นอกจากน้ีเรื่องการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ได้มี การดูแลผู้ป่วยโดยตรง อาทิเช่น เภสัชกรรมชุมชน เภสัช โอกาสได้บรรยายให้นิสิตแพทย์ ชั้นปี 3 รายวิชาเวช กรรมโรงพยาบาล งานคุ้มครองผบู้ รโิ ภค ศาสตร์ครอบครวั ในหวั ข้อเรือ่ งเศรษฐศาสตร์คลินิกและ กระบวนการเรียนรู้ การใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซ่ึงเป็นการส่งเสริมให้นิสิต แพทย์เข้าใจในหลักการเศรษฐศาสตร์ เพ่ือนามาใช้ใน วิชาท่ีมีการระบุเร่ืองการใช้ยาอย่างสมเหตุผล การตัดสินใจเลือกทางเลือก/เครื่องมือ/วิธีการรักษา/ยา เป็นประเด็นสาคัญในเน้ือหาหลักของท้ังรายวิชาชื่อ การ ด้วยข้อมูลท้ังด้านประสิทธิผล ความปลอดภัย และด้าน จัดการระบ บ ยา (drug system management) ตน้ ทุนหรือทรัพยากรท่ีต้องลงทุน เพ่ือสามารถพิจารณา สาหรับผู้เรียนชั้นปีท่ี 4 เป็นวิชากลุ่มวิชาชีพจานวน 2 ทางเลือกที่คุ้มค่าที่สุด และนาไปสู่การใช้เครื่องมือ / หน่วยกิต ที่มีเน้ือหาหลักคือ 4 องค์ประกอบของระบบ วิธีการรักษา/ยา ได้อย่างสมเหตุผล รวมท้ังเรื่องการส่ัง ย ามี เน้ื อ ห าก ารส อ น ตั้ งแ ต่ ระ ดั บ ป ระ เท ศ ที่ มี ใช้ยาด้วยชื่อสามัญของยา เพ่ือช่วยส่งเสริมการใช้ยา ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พั ฒ น า ร ะ บ บ ย า แ ห่ ง ช า ติ เป็ น ผู้ ดู แ ล อย่างสมเหตุผล และลดความคลาดเคล่ือนในการใช้ยา ระบบยา ซึ่งดูแลให้มีนโยบายแห่งชาติด้านยา และ และการสื่อสารระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ และกับ ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยา โดยมีเป้าหมายหลักคือ ผู้ปว่ ย ประชาชนเข้าถึงยาถ้วนหน้า ใช้ยามีเหตุผล ประเทศ ผลลัพธ์การเรยี นรู้ พ่ึงตนเอง เน้ือหาเรื่องบัญชียาหลักแห่งชาติ ซึ่งมี ผลการจัดการเรียนการสอนเรื่องการใช้ยาอย่างสม เป้าหมายเพื่อสร้างเสริมระบบการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เหตุผลในท้ัง 2 รายวิชา จากการประเมินผลเบ้ืองต้น โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และกระบวนการ พบว่านิสิตเภสัชศาสตร์ และนิสิตแพทย์ มีความเข้าใจ คัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติด้วยระบบคะแนน เรื่องการใช้ยาสมเหตุผลมากข้ึน และเข้าใจบทบาทของ ตนเองในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ ว่าจะมีส่วนในการทา ให้เกดิ การใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ลได้อยา่ งไร 11.9

เรื่องเล่าจากเพ่อื นรว่ มทาง 11.10

ค่มู อื การเรยี นการสอนเพอ่ื การใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 RDU@ คณะเภสัชศาสตร์ เกี่ยวข้องกับยา (Drug-related problems) เกิดขึ้นที่ ข้ันตอนใดของกระบวนการใช้ยา อะไรเป็นสาเหตุของ มหาวทิ ยาลัยอุบลราชธานี การเกิด root cause analysis คืออะไร สามารถ นามาใช้ในการพัฒนาคุณภาพการใช้ยาอย่างสมเหตุผล  ผศ.ดร.ภก. แสวง วชั ระธนกจิ และความปลอดภัยของผูป้ ว่ ยได้อย่างไร  นักศึกษาเภสัชศาสตร์ ปีท่ี 4 ผลลัพธก์ ารเรียนรู้ นักศึกษามีความกระตือรือร้นในการเรียนมาก  วชิ าเภสชั กรรมโรงพยาบาล 2 หนว่ ยกิต (2/2558) ข้ึน มีการใช้เทคโนโลยีในการค้นคว้าข้อมูลเพ่ือตอบ คาถามและวัตถุประสงค์การเรียนรู้ นักศึกษามีการวาง  หวั ข้อกระบวนการการใช้ยา (medication use แผนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบและมีปฏิสัมพันธภ์ ายใน process) 3 ช่วั โมง กลุ่มที่ดี ดังสังเกตได้จากการตั้งคาถามสอบถามเพื่อน ในกลมุ่ หรือการเสนอทางเลอื กในการเขียนแผนภมู ิการ กระบวนการเรยี นรู้ นาเสนอ การจัดการเรียนการสอนหัวข้อกระบวนการ นอกจากนี้นักศึกษายังสอบถามอาจารย์ท่ีทา การใช้ยาน้ีมีการจัดการเรียนการสอนแบบ Activity หน้าที่เป็น facilitator ในการค้นหาคาตอบที่นักศึกษา and Team-based learning โดยการแบ่งนักศึกษา ยังไม่แน่ใจว่าตอบถูกหรือไม่ สาหรับส่วนของการ ออกเป็นกลุ่มๆ โดยการสุ่ม กลุ่มละ 10 คน ผู้สอน นาเสนอนน้ั อาจารยไ์ ด้ตงั้ คาถามสาหรบั นกั ศกึ ษาแตล่ ะ ชี้แจงวัตถุประสงค์การเรียนรู้แก่นักศึกษา พร้อมมอบ กลุ่มเพื่อให้นักศึกษาในกลุ่มน้ันตอบ และนักศึกษาใน คาถามท่ีนักศึกษาต้องค้นหาคาตอบจากการค้นคว้า กลุ่มอ่ืนๆ ชว่ ยตอบเสริม ซ่งึ พบว่านักศึกษาสะท้อนการ ด้วยตนเอง พร้อมกับอธิบายและส่ือสารกับสมาชิกใน จัดการเรียนการสอนในรูปแบบนี้ว่าเป็นรูปแบบการ กลุ่มเพือ่ ใหส้ มาชกิ ภายในกลุม่ เข้าใจในเน้อื หาในสว่ นที่ เรียนการสอนท่ีดี ควรจัดการเรียนในการสอนใน ตนเองรับผิดชอบค้นคว้า ภายในเวลา 90 นาที พร้อม รูปแบบน้ตี ่อไป เพราะเป็นการพฒั นาทักษะการค้นคว้า เตรียมการนาเสนอโดยเขียนสิ่งที่เรียนรู้ในรูปแบบ ข้อมูล การอ่าน การคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล แผนภูมิหรือ mind map โดยมีการประเมินความ รวมทั้งเป็นการเรียนการสอนที่ไม่ปิดก้ันขอบเขตของ ตงั้ ใจการทากจิ กรรมของนักศึกษาจากการสงั เกต และ การคดิ ใชเ้ วลาอีกประมาณ 60 นาทใี นการนาเสนอ ตัวอย่างวัตถุประสงค์การเรยี นรู้ และคาถามที่ นักศึกษาต้องตอบ เช่น กระบวนการใช้ยาคืออะไร ประกอบไปด้วยกี่ข้ันตอน มีใครเก่ียวข้อง ปัญหาท่ี 11.11

RDU@ เรอื่ งเล่าจากเพื่อนร่วมทาง โรงเรียนพยาบาลรามาธบิ ดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล 4. เสยี่ งต่อการเกดิ hemorrhagic cystitis เนอื่ งจาก รามาธิบดี มหาวิทยาลยั มหิดล ไดร้ บั ยา Cyclophosphamide  รวบรวม: ผศ.ดร.จริยา วทิ ยะศภุ ร และ ผศ.ดร. 5. เส่ยี งต่อการเกิดภาวะขาดสารอาหาร จฬุ ารักษ์ กววี ิวธิ ชัย 6. เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ aspirated pneumonia ผู้ใหข้ อ้ มลู : ผศ.ดร.สตรรี ตั น์ ธาดากานต์ 7. เสย่ี งตอ่ การมคี ุณภาพชวี ิตที่ผิดปกติ เน่ืองจากไดร้ ับ  นกั ศึกษาแพทย์ extern ป6ี 2 คน, นักศึกษา sedation ด้วย chloral hydrate ทุก 6 ชัว่ โมง แพทย์ปี 4 ผดู้ แู ลผปู้ ว่ ย, จากการวิเคราะห์ปัญหาในประเด็นท่ี 7 ซึ่งเป็น นกั ศกึ ษาพยาบาลปี 3, นกั ศึกษาเภสัชศาสตร์ปี 6 ทฝี่ กึ ปฏิบัตงิ านบนหอผู้ปว่ ย ผลกระทบจากการใช้ยาไม่สมเหตุผล เร่ิมต้นโดย นักศึกษาพยาบาลกล่าวถึงการประเมินอาการผู้ป่วยว่า  Module 8 ความรว่ มมอื แบบสหวชิ าชีพในการใช้ ผู้ป่วยรู้สึกง่วงนอนเกือบตลอดเวลา จนไม่สามารถที่จะ ยาอย่างสมเหตผุ ล (Interprofessional ทากิจกรรมได้เหมือนเด็กทั่วไป นักศึกษาเภสัชจึง Teamwork for RDU) แ ล ก เป ล่ี ย น ข้ อ มู ล กั บ ก ลุ่ ม เก่ี ย ว กั บ ฤ ท ธ์ิ แ ล ะ อ า ก า ร ข้างเคียงของยา chloral hydrate ซึ่งจะมีฤทธิ์ทาให้ ประสบการณ์เรียนรู้ในการนาแนวคิดเรื่อง ง่วงหลับ และอยู่ในกระแสเลือดนาน 4- 8 ช่ัวโมง ความร่วมมือแบบสหวิชาชีพในการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ฉะนั้นเม่ือให้ยา ทุก 6 ช่ัวโมง จะทาให้ผู้ป่วยได้รับยา ไปทดลองใช้ สืบเน่ืองจากทางสถาบันมีข้อตกลงในการ เกินขนาดได้ จากน้ัน นักศึกษาแพทย์ ผู้ดูแล และสั่ง จัดการศึกษาร่วมระหว่างวิชาชีพ (Interprofessional การรักษาผู้ป่วย ซึ่งร่วมพิจารณาข้อมูลในกลุ่ม พบว่ามี Education: IPE) ตามนโยบายคณะและมหาวิทยาลัย คาสั่งเปล่ียนวิธีการให้ยาจริง จากเดิมให้ตามความ ในการน้ีจึงขอนาเสนอตัวอย่าง การเรียนร่วมแบบสห จาเป็น (prn) เป็น ใหย้ าทกุ 6ชว่ั โมง สาขาในหอผู้ป่วยเด็ก โดยให้ผู้เรียนอภิปรายในประเด็น ภายหลังกิจกรรม เกี่ยวกับความปลอดภัยและการประเมินความเส่ียง ที่ ผเู้ รยี นเขียน Reflection เพ่ือสะท้อนคิดถงึ ประโยชน์ท่ี อาจเกดิ ขน้ึ ในกระบวนการดูแลรกั ษาพยาบาล ดงั นี้ ได้จากการทากิจกรรมในประเด็นต่อตนเอง ต่อผู้ป่วย ตวั อย่างโจทย์ และต่อองค์กร สาหรับผู้สังเกตการณ์ จะ Reflection ให้นักศึกษาร่วมปรึกษาหารอื เพ่ือค้นหาความเสี่ยง (Risk เกยี่ วกับบรรยากาศกจิ กรรม ประโยชน์ต่อผู้ปว่ ย และต่อ )ท่ีอาจเกิดข้ึนกับ ดญ.เอ อายุ 10 ปี ท่ีได้รับการวนิ ิจฉัย องคก์ ร เป็นโรค Anti NMDA Encephalitis (ภูมิคุ้มกันตัวเอง ทาลายระบบสอื่ ประสาทสมอง) ผลลพั ธ์การเรยี นรู้ ผูร้ ว่ มสังเกตการณ์ ผูเ้ รยี นมคี วามเหน็ ดังน้ี อาจารย์แพทย์ อาจารย์พยาบาล เภสัชกร ประจาหอ ผปู้ ่วย หวั หน้างานการพยาบาล และหวั หน้าหอผู้ปว่ ย 1. ประโยชนข์ องกจิ กรรมต่อตนเอง - ทาให้เหน็ ภาพรวมความเปน็ อยูข่ องผปู้ ว่ ย กระบวนการเรียนรู้ ชัดเจนขน้ึ ทราบถงึ ขอ้ ควรปรับปรงุ Extern ผนู้ าทีม เล่าประวัติความเจบ็ ป่วยโดย ข้อบกพรอ่ งในการดแู ลผู้ปว่ ย - ตระหนักในหน้าทีก่ ารดแู ลผู้ปว่ ยมากข้นึ สรปุ จากนน้ั สมาชิกทีมชว่ ยกนั list ปญั หาความเสย่ี งใน - ได้พดู คยุ ตา่ งวิชาชีพ เปน็ การลด self ในแต่ละ การดแู ลและการป้องกนั รว่ มกัน ดงั น้ี วชิ าชพี และหาขอ้ ตกลงร่วมกัน ตระหนักถงึ 1. เส่ียงตอ่ การตดิ เชื้อเนื่องจากผปู้ ว่ ย retain foley ลักษณะนสิ ัยของตนเอง - ได้ทราบเหตผุ ล ในการเลือกและสงั่ ใชย้ าของ cath แพทย์ การปรับขนาดของยาทีใ่ ช้ 2. เสย่ี งต่อการเกิดอบุ ตั ิเหตุเนอ่ื งจากผปู้ ่วยมีอาการ - ได้พัฒนาและเรยี นรู้ ความรใู้ หมๆ่ จากวชิ าชีพ อ่ืน agitation ฟาดแขนขาแรงมากๆ เมอื่ อาการของโรค กาเรบิ 3. เสี่ยงตอ่ การเกิด pressure sore และบาดเจ็บจาก การถูกผกู ยดึ 11.12

คมู่ ือการเรยี นการสอนเพือ่ การใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล 2560 - บรรยากาศในการทางานดีขน้ึ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการดแู ลผปู้ ่วย 2. ประโยชนข์ องกจิ กรรมต่อผปู้ ว่ ย - เกิดการระดมความคดิ ในการวางแผนการ จากตวั อย่างหากมีการนารูปแบบกจิ กรรม ไป รกั ษาท่ดี ีทสี่ ุด ครอบคลมุ มากข้นึ และได้ ดาเนินการในประเด็นของ RDU จะชว่ ยให้ผเู้ รียนได้มี ประโยชนส์ ูงสดุ เวลาในการเรยี นร้เู กี่ยวกับ การใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ลใน - การรักษาได้ผลดี ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาล ประเด็นตา่ งๆของยาไดล้ ึกซงึ้ มากข้ึน ได้แก่ กลไกการ นอ้ ยลง ลดค่าใช้จา่ ย ออกฤทธ์ิ ขนาดและการบริหารยาท่ีเหมาะสม รวมถงึ การประเมินผปู้ ว่ ยเพอื่ เฝ้าระวงั อาการขา้ งเคยี งจากยา 3. ประโยชนข์ องกจิ กรรมตอ่ องคก์ ร - เสรมิ สรา้ งสมั พนั ธภาพระหวา่ งวิชาชพี เข้าใจ บทบาทของแตล่ ะวชิ าชพี 11.13

เรื่องเลา่ จากเพือ่ นรว่ มทาง RDU@ คณะแพทยศาสตร์ ที่นิสิตแพทย์มาดูผู้ป่วยช่วงเช้าตามตึกผู้ป่วยกับทีม แพทย์ประจาบ้านประจาสายจึงใช้เวลาช่วงน้ันจัดการ มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ สอนขึ้นซึ่งจัดเป็นกลุ่มเล็กๆหาห้องเรียนย่อย เปิดโมดูล 1 ให้นิสิตแพทย์ดูตั้งแต่case 1 ถึง8 โดยให้discuss  อ.นพ.อรุณชัย แสงพานิชย์ ภาควชิ า ก่อนแล้วค่อยเฉลย อายุรศาสตร์ ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้  นสิ ติ แพทย์ ปี 5 วชิ า อย 511 (2/2558) นสิ ิตแพทย์  1 ชัว่ โมง 1. เกิดความรู้ความเข้าใจและตระหนักในความสาคัญ  Module 1 หลักการและความสาคญั ของการใช้ ของการใชย้ าอย่างสมเหตุสมผล ยาสมเหตผุ ล 2. เห็นความสาคัญของการค้นคว้าข้อมูลหลักฐานเชิง วัตถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู้ ประจักษท์ างการแพทยใ์ นการอา้ งองิ เพื่ อ ใ ห้ นิ สิ ต แ พ ท ย์ เข้ า ใ จ ห ลั ก ก า ร ก า ร ใ ช้ ย า อ ย่ า ง สมเหตสุ มผล ข้อสังเกต นิสิตแพทย์ป5ี จะเร่ิมมีความรูท้ างคลินกิ มากกว่าปี4 การ กระบวนการเรยี นรู้ เรียนการสอนดูจะง่าย และทาความเข้าใจง่ายมากกว่า นิสิตแพทยป์ 4ี เนื่องจากเป็นการสอนนอกหลักสูตร ซึ่งนิสิตแพทย์ชั้นปี ตวั อยา่ งแบบสะท้อนกลับของผู้เรียนต่อการจัดการเรียน 5 จะต้องมาวนผ่านภาควิชาอายุรศาสตร์ และ มีตาราง การสอน RDU เรียนอยู่แล้ว จาเป็นต้องหาเวลาจัดการสอนโดยใช้เวลา ตัวอยา่ งแบบสะท้อนกลบั ของผู้เรยี นตอ่ การจดั การเรียนการสอน RDU Feedback RDU การใช้ยาอยา่ งสมเหตุสมผล ผลลัพธ์ต่อผูเ้ รยี น เมอื่ สนิ้ การเรียนการสอน ทา่ นให้คะแนนผลการเรยี นรขู้ องตนเองในแตล่ ะดา้ นตอ่ ไปนอี้ ย่างไร 5432 1   ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจมากขนึ้    ด้านทัศนคติ mindset  ด้านทักษะความสามารถในการปฏบิ ัตงิ าน อน่ื ๆ ........................................................... ขยายความความร้คู วามเข้าใจมากขน้ึ มีความรูเ้ กย่ี วกับการเลอื กใชย้ ามากขน้ึ ขยายความด้านทัศนคติ mindset ขยายความด้านทกั ษะความสามารถในการปฏบิ ตั ิงาน สามารถนาความรู้ทีไ่ ด้ ไปใช้ไดจ้ ริงในการปฏบิ ัติงาน อยากให้สอน RDU ในคณะหรอื ไม่ อยา่ งไร หากมีการสอน RDU ในคณะ ถือเปน็ เร่อื งดี เพราะเปน็ ความรู้ทสี่ ามารถนาไปใช้ได้จรงิ ในการปฏบิ ัตงิ าน 11.14

evidence-based medicine impact on environment always improving interprofessional teamwork คณะทาํ งานขับเคลอ่ื นการพัฒนาระบบการผลิตและพฒั นากําลงั คนดา นสขุ ภาพ เพ่อื การใชย าอยางสมเหตผุ ล. 2560. คูมอื การเรยี นการสอน เพ่อื การใชยาอยางสมเหตผุ ล. นนทบุรีฯ : สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook