Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore [THAI VERSION] Global Compliance Policy

[THAI VERSION] Global Compliance Policy

Published by Van Sha Wongsuwan, 2022-08-16 09:15:18

Description: [THAI VERSION] Global Compliance Policy

Search

Read the Text Version

นโยบายความสอดคล้อง และกำกับดูแลกิจการ สากล

สารบัญ 01. หลักจรรยาบรรณสากล 06. หลักจรรยาบรรณสากลของนโยบายการดำเนินงาน 15. นโยบายสากลสำหรับการรับข้อร้องเรียน 19. นโยบายต่อต้านการให้สินบนและการทุจริตสากล นโยบายสากลเกี่ยวกับของขวัญและการเลี้ยงรับรอง 24. นโยบายกฎหมายแข่งขันทางการค้าสากล 30. นโยบายต่อต้านการฟอกเงินสากล 32. นโยบายการปกป้องและเก็บรักษาข้อมูลสากล 37. นโยบายสากลในการจัดซื้อจัดจ้างอย่างมีความรับผิดชอบ นโยบายสากลว่าด้วยการคว่ำบาตรและการควบคุมการส่งออก 43. 52. นโยบายสิทธิมนุษยชนสากล คู่มือปฏิบัติงานตามกฎหมายการแข่งขันทางการค้า 80. 87.

หลกั จรรยาบรรณสากล (Global Code of Conduct) 1

หลกั จรรยาบรรณสากล \" ความสุจริต ความชื่อสตั ย์ จริยธรรมทางธุรกิจขั้นสูง เป็ นรากฐานในการดาเนินธุรกิจของเรา เราดาเนิน ธุรกจิ บนเจตนาทีด่ ี ผลประโยชน์ร่วมกัน ความเป็ นธรรมกับทุกรูปแบบความสมั พนั ธ์ เราม่งุ มัน่ ดาเนนิ การ ใหส้ อดคลอ้ งกับมาตรฐานดา้ นจริยธรรมและกฎหมายสูงสุด\" Vehbi Koç จากคากล่าวของผ้กู ่อต้ังVehbi Koç เรามคี ่านยิ มท่เี ข้มแขง็ นโยบายและมาตรฐานท่ชี ดั เจน เพ่ือให้ความ ม่นั ใจว่า พนกั งานและผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ปฏบิ ัติหน้าท่บี นมาตรฐานจริยธรรมข้นั สงู เรากาหนดหลกั จรรยาบรรณสากลและนโยบายระเบยี บท่เี ก่ยี วข้องเพ่อื พัฒนามาตรฐานจริยธรรมข้นั สงู เพ่อื ม่นั ใจว่า เราดาเนนิ ธรุ กจิ สอดคล้องกับค่านิยมของเรา กฎหมายและระเบยี บในประเทศท่เี ราดาเนนิ กจิ การ ตามการ ทศิ ทางการดาเนินงาน Vehbi Koç กรอบหลกั จรรยาบรรณสากลประกอบด้วยหลกั การดาเนนิ การสามประการ ● การป้ องกนั - เราดาเนนิ การฝังวฒั นธรรมความซ่อื สตั ยใ์ นทกุ ระดบั ทุกเขตพ้นื ท่ี ● การสบื ค้น - เราสนบั สนุนพนักงานให้ออกเสยี งและแสดงความคดิ เหน็ ต่อค่านิยมของเรา ● การตอบสนอง - เรามีเคร่ืองมอื ตรวจสอบและหากจาเป็น การคว่าบาตรต่อการละเมิดใดๆ อาจ นามาใช้ รวมถงึ มาตรฐานและวธิ กี ารปฏบิ ตั ิแบบอย่างเดียวกนั จะนามาใช้ และใช้ส่งิ ท่เี ราเรียนร้เู พ่อื พฒั นาต่อไป เราถอื แนวปฏบิ ตั ิในการดาเนนิ งานด้วยความซ่อื สตั ย์ เคารพสทิ ธิมนุษยชนและผลประโยชน์ของพนกั งาน พนกั งานและหุ้นสว่ นทางธรุ กจิ ของเราถกู คาดหวังในการปรับใช้และปฏบิ ัติตามข้อกาหนดเหล่าน้ี ผ้นู าของ เรามีหน้าท่ที าตนเป็นแบบอย่าง พร้อมด้วยทศั นคตขิ องพวกเขาในการนาพาพนักงาน และทาการพิจารณา ทางธรุ กจิ ตามหลักจรรยาบรรณสากลและนโยบายระเบยี บท่เี ก่ยี วข้อง หลักจรรยาบรรณสากลและนโยบายระเบียบท่เี ก่ยี วข้องของเรามวี ตั ถุประสงคเ์ พ่ือสร้างมาตรฐานการ ดาเนนิ การ ต่อส้กู บั การทุจริต เพ่ือให้ม่นั ใจว่าบุคลากรของเราได้รับการเอาใจใส่และข้อมูลได้รับ การป้ องกนั รวมถงึ กาหนดเป็นแนวมาตรฐานสาหรับวิธกี ารเข้าปฏสิ มั พันธก์ บั บคุ คลภายนอก อย่างไรกต็ าม หลักจรรยาบรรณสากลและนโยบายระเบยี บท่เี ก่ยี วข้องไม่สามารถครอบคลมุ ได้ทุกกรณี เน่ืองจากความแตกต่างในข้อกฎหมายของแต่ละประเทศ หากมเี หตกุ ารณท์ ่ไี ม่จรรยาบรรณสากลน้ีไม่ ครอบคลุมไปถึง ให้แสดงเจตนาของหลกั จรรยาบรรณสากลและนโยบายระเบียบท่เี ก่ยี วข้องไปโดย โดยการใช้สามญั สานกึ และหลกั แห่งความสจุ ริตเป็นรปู ธรรม 2

แนวทางการดาเนนิ ธุรกจิ ของเรา การปฏิบตั ิตามกฎหมาย เราตระหนกั ถึงการปฏบิ ัติตามกฎหมายและระเบียบท่เี ก่ยี วข้องเป็นมาตรฐานข้นพ้นื ฐาน พนกั งาน เราม่งุ ม่นั ให้พนักงานของเราทางานในสภาพแวดล้อมท่มี ีส่งเสริมความหลากหลาย และได้รับโอกาสอย่าง เทา่ เทยี มกนั การจ่ายค่าแรงเท่ากนั สาหรับงานท่เี ทา่ กันซ่งึ เป็นความเช่อื ถอื ซ่งึ กนั และกนั เคารพสทิ ธิ มนุษยชนโดยไม่มกี ารเลอื กปฏบิ ตั ิ เราจัดให้มีสภาพแวดล้อมในการปฏบิ ัติงานท่ปี ลอดภัยและสขุ อนามัย ท่ดี ีสาหรับพนกั งานทุกคน เราสรรหาบุคคลากร ว่าจ้างและสนบั สนุนพนกั งานตามคุณสมบัตแิ ละศักยภาพ เราพยายามพฒั นาความสามารถของพนักงาน เราจะไม่มีการใช้การยดั เยยี ด บังคบั ค้าหรือใช้แรงงานเดก็ เราเคารพอสิ ระของพนกั งานในการจดั ต้งั สมาคมหรือสทิ ธขิ องพนักงานในการเข้าร่วมสหภาพแรงงาน ลูกคา้ เราทาความเข้าใจลกู ค้าโดยมุ่งเน้นท่คี วามพึงพอใจ จดั การปัญหาตามความคาดหวังและความต้องการของ ลกู ค้าด้วยวิธกี ารท่เี หมาะสมภายในระยะเวลาอนั ส้นั เราดูแลลกู ค้าอย่างเท่าเทยี มและตามหลักของความ สภุ าพ เรารับการร้องเรียนจากลูกค้าและจะดาเนินการแก้ไขปัญหา สนิ ค้าของเราจะติดฉลากท่ถี ูกต้องและเหมาะสม มกี ารโฆษณาและประชาสมั พนั ธต์ ามข้อกาหนด การตลาดท้งั หมด (ตราสนิ ค้า การวางแผนลกู ค้า วจิ ยั ตลาด การโฆษณาทางการค้า ข้อมลู การขาย) ต้อง ● ระบุสมรรถนะของสนิ ค้าตามความเป็นจริง ถกู ต้องและโปร่งใส ● ม่นั ใจว่าข้อมูลเพียงพอสาหรับลกู ค้า เพ่อื ให้มีความเข้าใจวิธกี ารใช้งานและเทคโนโลยีท่เี ก่ยี วข้องของสนิ ค้าเราอย่างเตม็ ท่ี ● รับรองว่าการโฆษณาของเราจะไม่มีการกระทาความผิด ไม่ใช้เร่ืองของศาสนา จริยธรรม วฒั นธรรม เพศวิถี เพศ อายุ ความพกิ ารหรือการเลอื กปฏบิ ัติต่อชนกล่มุ น้อย ลามกอนาจารหรือพฤติกรรม ● ไม่โฆษณาลงส่อื ท่เี ป็นท่ที ราบกนั ดวี ่าส่งเสริมการใช้ความรนุ แรง ท่เี ป็นการดูถกู ผูถ้ อื หนุ้ เราม่งุ ม่นั ท่จี ะรักษาผลประโยชนข์ องผ้ถู อื หุ้น เราจัดให้มีการสร้างรปู แบบธรุ กจิ ท่เี พ่ิมประสทิ ธภิ าพ การแข่งขันและศักยภาพในการเติบโต เราจัดการดาเนินงานตามหลกั การท่ไี ด้ตกลงระหว่างประเทศ ร่วมกนั ในการร่วมมือท่ดี ี หนุ้ ส่วนทางธุรกจิ เราม่งุ ม่นั ท่จี ะสร้างผลประโยชนร์ ่วมกนั กบั หุ้นส่วนทางธรุ กจิ รวมถึง ผ้รู ับจ้างช่วง ผ้จู ดั จาหน่าย ตัวแทนจาหน่าย ผู้ให้บริการท่ไี ด้รับอนุญาต ตวั แทนและท่ปี รึกษา ในการตดิ ต่อทางธุรกจิ ระหว่างกนั เราคาดหวังให้หุ้นสว่ นทางธรุ กจิ ของเราดาเนนิ การตามค่านยิ มของเรา 3

สงั คม เราทางานโดยม่งุ เน้น “การพฒั นาแบบย่งั ยืน” ในปัญหาทางสังคมและสภาพแวดล้อม เราพัฒนาโครงการ เพ่ือพัฒนามาตรฐานสงั คม นาไปสกู่ ารเจริญเติบโตแบบย่งั ยืนและสร้างโอกาสในการจ้างงาน การพิจารณา บนหลกั ชองวัฒนธรรม ศิลปะและการกฬี าเป็นองค์ประกอบสาคัญในการพฒั นาสงั คม เรามสี ่วนในการ พัฒนาสงั คมโดยเราส่งเสริมวัฒนธรรมและกจิ กรรมทางวัฒนธรรมท่หี ลากหลาย เราปรับปรงุ เพ่ือให้ตรงตามความต้องการของลูกค้าโดยเราจะคานึงถึงเก่ยี วกบั ลกู ค้าของเราและสงั คม (ดู Global Donation and Sponsorship Policy) รฐั บาลและ NGOs เราร่วมมือกบั รัฐบาลและองค์กรอ่นื ๆ ท้งั ทางตรงและผ่านองคก์ รต่างๆเช่น สมาคมการค้า เพ่ือพฒั นา วัตถุประสงค์ตามกฎหมายและข้อกาหนดอ่นื ๆ ซ่ึงส่งผลต่อผลประโยชน์ทางธุรกจิ ตามกฎหมาย เราไม่ สนับสนุนพรรคการเมืองหรือการต้งั กล่มุ ท่ดี าเนินกจิ กรรมท่สี นับสนุนผลประโยชน์ของพรรคการเมือง อาร์เซลิก ฮิตาชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ ม่งุ ม่นั ท่จี ะเป็นองค์กรท่นี ่าเช่ือถอื และเป็นส่วนสาคัญในสงั คม เพ่อื เติมเตม็ ความรับผิดชอบต่อสงั คมท่เี ราดาเนนิ กจิ การ เราสง่ เสริมให้พนักงานมสี ว่ นร่วมกบั องค์การท่มี ิใช่ ภาครัฐท่ซี ่ึงดาเนนิ งานเพ่ือความเป็นปึ กแผ่นของสงั คม เราจะพิจารณาเป็นสว่ นหน่ึงในการรับผิดชอบต่อ สงั คมเพ่อื จัดการกจิ กรรมสาธารณะโดยไม่เก่ยี วข้องหรือหวงั ผลต่อวัตถปุ ระสงค์ทางการค้า สภาพแวดลอ้ ม อาร์เซลกิ ฮิตาชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ เราใช้ “การพัฒนาแบบย่งั ยนื ”และคานึงถึงสภาพแวดล้อมตาม ความต้องการสาหรับปรัชญาการจัดการทางการตลาดของเรา ตามหลักการ “Respecting the World, Respected Worldwide” (เคารพโลก ท่วั โลกเคารพ) ซ่ึงเราได้นามาใช้ เรายอมรับความรับผดิ ชอบสาหรับ การกอ่ ให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศและร่วมกนั อนุรักษ์ความหลากหลายทางชวี ภาพ การแข่งขนั เราเช่ือม่นั ในการแข่งขนั ท่ยี ุติธรรมและส่งเสริมการพฒั นากฎหมายการแข่งขันท่เี หมาะสม ทุกบริษทั หุ้นสว่ นทางธุรกจิ และพนกั งานจะปฏบิ ตั ิงานตามหลักการแข่งขนั ท่ยี ุติธรรมและกฎหมายและข้อกาหนดท่ี เหมาะสม การละเมดิ กฎหมายการแข่งขันอาจมีการดาเนนิ การอย่างจริงจงั ท้งั บริษทั และพนักงาน เช่น การ ปรับจานวนมากและการเรียกร้องค่าเสียหาย ในบางประเทศ พนักงานอาจต้องรับผิดชอบตามมาตรการ บังคับทางอาญา อาร์เซลกิ ฮิตาชิ โฮม แอพพลายแอนซใ์ ห้ความร่วมมือกบั หน่วยงานผ้รู ับผดิ ชอบเร่ืองการแข่งขนั อย่าง เตม็ ท่ี โดยท่มี กี ารป้ องกนั สม่าเสมอและจริงจังสาหรับผลประโยชนต์ ามกฎหมาย การติดต่อกบั หน่วยงาน ผ้รู ับผิดชอบเร่ืองการแข่งขนั ทุกคร้ัง (รวมถึงท่เี ก่ยี วข้อง ศาลภายในประเทศ) จะร่วมมือกบั ฝ่ ายกฎหมาย และกฎระเบยี บ ผ้จู ดั การด้านการแข่งขนั (ดู Global Competition Law Policy) สนิ บนและการทจุ ริต อาร์เซลิก ฮิตาชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ ไม่ให้หรือรับท้งั ทางตรงและทางอ้อมสาหรับสนิ บน หรือผลประ โยชน์ท่ไี ม่เหมาะสมอ่นื ๆ สาหรับการดาเนนิ กจิ การหรือผลกาไรทางการเงนิ ห้ามพนกั งานเสนอ ให้หรือรับ ของกานลั หรือการจ่ายเงนิ หรือมีนยั เป็นสนิ บน การเรียกร้องหรือเสนอสนิ บนจะต้องปฏเิ สธทนั ทแี ละแจ้ง 4

เพ่ือจดั การ เราไม่ยินยอมให้เกดิ การทุจริตทุกประเภท การยกั ยอก และการจ่ายเงินเพ่ืออานวยความสะดวก หรือสนิ บนโดยไม่สนใจในรูปแบบ/วิธกี ารดังกล่าว บันทกึ ทางการบัญชีและเอกสารประกอบต้องอธบิ ายไว้อย่างถูกต้องและแสดงความเคล่อื นไหวทางการเงนิ ท่มี ีอยู่ได้ ต้องไม่มกี ารจดั ทาหรือรักษาไว้ซ่งึ บญั ชที ่ตี ้องห้ามเปิ ดเผยหรือไม่ถกู บันทกึ อย่างถูกต้อง ท้งั น้ีให้ รวมถงึ กองทุนหรือสนิ ทรัพย์อ่นื ๆด้วย (ดู Global Anti Bribery And Corruption Policy) ความขดั แยง้ ดา้ นผลประโยชน์ เราคาดหวังพนกั งานทุกคนและหุ้นส่วนทางธุรกจิ ในการป้ องกนั การเกดิ การขัดกนั ระหว่างผลประโยชน์ท่ี เกดิ ข้นึ จริงหรืออาจเกดิ ข้นึ ได้และไม่ดาเนินธรุ กจิ ท่กี อ่ ให้เกดิ หรืออาจเกดิ การขัดกนั ระหว่างผลประโยชน์ท่ี อาจเกดิ ข้นึ ได้ของบริษทั เรา เช่น ผลประโยชนส์ ว่ นบุคคลและผลประโยชนท์ างการเงิน หรือการดาเนิน กจิ การนอกบริษัท (ดู Global Gift And Hospitality Policy) การกีดกนั ทางการคา้ บางประเทศท่เี ราดาเนินกจิ การด้วยอาจมกี ารออกข้อบงั คับจากดั บางประการต่อบางประเทศ บริษัทหรือ บุคคลท่มี คี วามเสียงสงู ต่อการกระทาความผิด เช่น การถกู ปรับเงนิ ยกเลิกใบอนุญาตสง่ ออกหรืออาจถกู จาคุก ในกรณไี ม่ปฏบิ ัติตามข้อบงั คับเหล่าน้ี ดงั น้ัน เราปฏบิ ตั ิตามการกดี กนั ทางการค้า ควบคมุ การส่งออก การคว่าบาตร การห้ามส่งสนิ ค้าและการทจุ ริตและกฎหมายท่กี าหนดและปฏบิ ัติตามกฎหมายและระเบียบ ท่เี หมาะสม (ดู Global Anti-Money Laundering Policy) การป้ องกนั ขอ้ มูล ข้อมลู ความลับจะได้รับการปกป้ องโดยนโยบายของบริษัท และโดยผลของกฎหมายท่เี ก่ยี วข้องภายใน ประเทศท่ดี าเนินกจิ การ เรายึดถอื นโยบายและกระบวนการของบริษทั เพ่ือป้ องกนั ข้อมูลความลับและห้าม เผยแพร่ข้อมูลความลับกบั บคุ คลภายนอก (ดู Global Protecting And Retaining Information Policy) อาร์เซลกิ ฮติ าชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ เราใช้ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานและหุ้นสว่ นทางธรุ กจิ และลกู ค้า เพ่ือพฒั นาการดาเนินกจิ การและกระบวนการของบริษทั ตามขอบเขตท่ไี ด้รับอนุญาตตามข้อบงั คับทาง กฎหมาย เราไม่เผยแพร่ข้อมูลให้บคุ คลภายนอกโดยไม่ได้รับอนุญาตหรือเป็นการละเมิดกฎหมายท้องถ่ิน (ดู Global Data Privacy Policy CO) การติดตามและการรายงาน ตามหลักการน้ีเป็นสว่ นหน่ึงท่ที าให้ธรุ กจิ ของเราประสบความสาเรจ็ ความรับผิดชอบในแต่ละวันได้ มอบหมายให้ฝ่ ายจัดการอาวุโสของบริษทั ท่ดี าเนนิ กจิ การ โดยมีหน้าท่ดี าเนินการตามหลกั การเหล่าน้ี ให้ ความร่วมมือกบั คณะกรรมการจริยธรรมกลาง การละเมดิ หลักจรรยาบรรณสากลและ/หรือนโยบาย ระเบยี บท่เี ก่ยี วข้องต้องมีการรายงาน การละเมิดนโยบายน้ีมกี ารลงโทษทางวนิ ัย ถึงข้นั และรวมไปถึงการ เลิกจ้าง คณะกรรมการผ้บู ริหารของอาร์เซลิก ฮิตาชิ โฮม แอพพลายแอนซจ์ ะไม่วจิ ารณ์เก่ยี วกบั ความ เสยี หายทางธุรกจิ อนั เน่อื งมาจากการยึดถอื หลักการและนโยบายน้ีหรือนโยบายภาคบงั คับอ่นื ๆ (ดู Global Code Of Conduct Operations Policy) ข้อกาหนดน้ีได้จดั ทาข้นึ เพ่อื ให้พนักงานสามารถรายงานเป็นความลบั ได้และพนกั งานจะไม่ได้รับความ เดือดร้อนจากการกระทาดังกล่าว (ดู Global Whistleblowing Policy) ร่นุ วนั ท่:ี 1.07.2021 5

หลกั จรรยาบรรณสากล นโยบายการดําเนนิ งาน (Global Code of Conduct Operations Policy) 6

หลกั จรรยาบรรณสากล .หลกั การสาํ หรบั CEO ตามหลกั จรรยาบรรณของ อาร์เซลกิ ฮิตาชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ (“บริษทั ”) ความรับผดิ ชอบสงู สดุ ใน แตล่ ะวันสาํ หรับหลกั จรรยาบรรณเป็นหน้าทขี องหัวหน้าในแต่ละเขตพืนทกี ารปฏิบัติงานและครอบคลมุ ธรุ กจิ และการดาํ เนนิ กจิ การทงั หมดภายในเขตพืนที โดย CEO มีหน้าทแี ละความรับผิดชอบสูงสดุ ตาม หลกั จรรยาบรรณสากลและนโยบายทเี กียวข้อง “หลกั การสาํ หรับ CEO” ดาํ เนนิ การตามขอบเขตหลกั จรรยาบรรณ โครงสร้างการบริหารระดับสงู ของทกุ ฝ่ าย การดาํ เนนิ การและปฏบิ ตั ิงานต้องได้รับการสนับสนุนอย่างสงู สดุ . คณะกรรมการจริยธรรมกลางของ อารเ์ ซลกิ ฮิตาชิ คณะกรรมการจริยธรรมกลางของ อาร์เซลกิ ฮิตาชิประกอบด้วย CEO (ประธาน), CFO, ผ้จู ัดการฝ่ าย กฎหมายและกาํ กบั ดแู ลกจิ การสากล, ผ้อู าํ นวยการฝ่ายทรัพยากรบุคคลและผ้บู ริหารระดบั สงู ทีเกียวข้อง ก. หน้าทขี องคณะกรรมการจริยธรรมกลางของ อาร์เซลกิ ฮติ าชิ คณะกรรมการจริยธรรมของ อาร์เซลกิ ฮติ าชิ มีหน้าทีได้แก่  มีหน้าทดี ูแลสิงทีเกิดขึนภายในไทย, จีน, ฮ่องกง, ไต้หวัน, สิงคโปร์, มาเลเซีย, อนิ โดนเี ซีย, สหรัฐอาหรับเอมเิ รตส์ เวียดนาม รวมถึงบรษิ ัทในเครือและดูแลสิงทเี กดิ ขึนเกียวกบั ผู้บริหารสงู สดุ ของกลุ่มบริษัทย่อยในเครือระหว่างประเทศ  ให้คาํ ปรึกษาเกยี วกบั วฒั นธรรมเชงิ จริยธรรมสากล  สร้างวธิ กี ารทางจรยิ ธรรมและการปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย  ดาํ เนินการจัดการด้านจริยธรรมและดูแลการปฏบิ ัติตามกฎหมายเป็นหนึงในองค์ประกอบของ องค์กรสากล  กลยุทธใ์ นการควบคุมการร่วมมือในระยะยาวของบริษัท โครงสร้างการปฏบิ ัตติ ามหลกั จรรยาบรรณเป็นทงั การจัดการและตรวจสอบโดยคณะกรรมการจริยธรรมของ อาร์เซลิก ฮติ าชิ  ติดตามและตรวจสอบการดาํ เนินกจิ การและการจัดการของบริษทั ตามหลกั จริยธรรม  สามารถประเมนิ การปฏิบตั ิการตามจริยธรรมและการร่วมมือภายในบริษทั  มันใจว่ามีการตรวจสอบอย่างเหมาะสมและทนั เวลาสาํ หรับการกล่าวหาละเมิดหลักจรรยาบรรณ และนโยบายระเบียบทีเกียวข้อง  การป้ องกนั ผู้แจ้งเบาะแสการกระทาํ ผิดi1  ทบทวนนโยบายและกระบวนการทเี กียวข้องกบั จริยธรรมและการร่วมมอื ให้การสนับสนุนเมือ จาํ เป็นและปรับให้ทนั สมัย 1 กรณุ าดูนโยบายการแจง้ เบาะแสการกระทาํ ผดิ สากล 7

 มสี ว่ นร่วมในการอบรมและศกึ ษาเกียวกบั การร่วมกนั ทางจริยธรรมและการจัดการพนกั งานและ การปกครองทเี กียวข้อง  ในกรณีมีปัญหาด้านจริยธรรมทไี ม่ครอบคลุมตามระเบียบภายในหรือระหว่างประเทศ ควรจดั ทาํ กฎหรือหลกั การเกียวกบั ประเดน็ ดงั กล่าว ข. การประชมุ คณะกรรมการจริยธรรมกลางของ อาร์เซลิก ฮติ าชิ จะจัดให้มีการประชุมอย่างน้อยสคี รังใน ปี งบประมาณ โดยจัดให้มีอย่างน้อยหนึงครังทกุ ไตรมาส และการประชุมต้องมีระยะเวลารวมกันไม่ น้อยกว่าหนึงชัวโมงต่อครัง ภายใต้สถานการณ์ทมี คี วามเสยี งศงุ ตอ่ การละเมิดมาตรฐานทางจรยิ ธรรมหรอื การกาํ กบั ดูแลกจิ การให้ เรียกประชุมคณะกรรมการจริยธรรมในทนั ที ผ้จู ัดการฝ่ ายกฎหมายและกาํ กบั ดแู ลกจิ การมีหน้าทเี ป็นเลขานุการการประชุมของคณะกรรมการ จริยธรรมกลาง โดยเขา/เธอไม่มีสทิ ธใิ นการออกเสียง สว่ นระเบียบวาระการประชุมและข้อมลู ทตี ้องใช้ ประกอบการประชุมให้ส่งล่วงหน้าก่อนการประชุม ผลของการประชุมนใี ห้จดั ทาํ เป็นรายงานทเี ป็นชัน ความลับอย่างเคร่งครัด ค. รายงาน ให้ผ้จู ดั การฝ่ ายกฎหมายและกาํ กบั ดูแลกจิ การจัดทาํ รายงานประจาํ ไตรมาส รวมถึงการรายงาน ประจาํ เดือนให้แก่ผู้จัดการด้านกาํ กบั ดแู ลกจิ การสากลและข้อมูลสว่ นบุคคล (Global Compliance and Data Privacy Manager) และรายงานกรณีเหตกุ ารณ์ทอี าจมีความเสยี งสงู ให้แกก่ รรมการทราบโดย ทนั ที ง. การรกั ษาความลบั สมาชกิ คณะกรรมการจริยธรรมกลางของ อาร์เซลกิ ฮิตาชิและบุคคลทเี ข้าร่วมประชุมกับ คณะกรรมการจริยธรรมกลางของ อาร์เซลิก ฮติ าชิ ต้องไม่เปิ ดเผยข้อมูลในรายงาน เนือหาการ ปรึกษาหารือหรอื ข้อมูลความลับของบรษิ ัท การขอให้เกบ็ เป็นความลบั จะยงั คงมีผลต่อไปแม้หลงั การดาํ เนนิ งานเสรจ็ สนิ และเมือพ้นระยะเวลาที อาจกาํ หนดโดยคณะกรรมการจริยธรรมกลางของ อาร์เซลิก ฮติ าชิ สมาชิกคณะกรรมการจริยธรรม กลางของ อาร์เซลกิ ฮิตาชิ ต้องมันใจว่าพนักงานทีได้รับมอบหมายให้ดาํ เนินการใดๆตามคาํ สังการ ของคณะกรรมการจะให้การสนับสนุนการเกบ็ รักษาความลับตามทรี ้องขออย่างเคร่งครัด . คณะกรรมการจริยธรรมภูมภิ าคของบริษทั ในเครือ คณะกรรมการจริยธรรมกลางจะเป็นผู้พจิ ารณา บริหาร จัดการ แบ่งเขตอาํ นาจ การควบคมุ และการ ดาํ เนินงานของคณะกรรมการจริยธรรมในระดับภมู ภิ าค โดยผู้จัดการด้านกาํ กบั ดูแลกจิ การสากลและ 8

ข้อมูลส่วนบุคคล (Global Compliance and Data Privacy Manager) และเจ้าหน้าทกี าํ กบั ดูแลกิจการ (Compliance Officer) จะทาํ ให้มนั ใจว่าคณะกรรมการจริยธรรมภมู ิภาคทจี ะหรือได้จัดตงั ขึน จะนาํ หลกั การและวธิ กี ารตามสว่ นที ของนโยบายนีไปปฏบิ ตั ิตามโดยอนุโลม ให้เจ้าหน้าทกี าํ กับดูแลกจิ การ (Compliance Officer) ผู้ทไี ด้รับมอบหมายความรับผิดชอบให้กระทาํ การใดๆตามคาํ สังการของคณะกรรมการจริยธรรมภมู ภิ าค จัดทาํ และเผยแพร่ข้อมลู ทเี กียวข้อง -ที จดั ทาํ ขึนเป็นภาษาองั กฤษ- ให้กบั ผู้จดั การด้านกาํ กบั ดแู ลกิจการสากล (Global Compliance Manager) คณะกรรมการจริยธรรมภมู ิภาคไมส่ ามารถจัดการต่อปัญหาทอี าจหรือเกียวข้องกับผู้บรหิ ารระดบั สงู ขององคก์ รของตน กรณดี งั กล่าวให้อยู่ในความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการจรยิ ธรรมกลางของ อาร์ เซลกิ ฮิตาชิ . เจา้ หนา้ ทีฝ่ ายกาํ กบั ดูแลกจิ การ เจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กับดแู ลกจิ การ จะต้องเป็นผ้ทู ไี ด้รับมอบและมอี าํ นาจและวุฒิภาวะในการปฏบิ ัตหิ น้าที ได้อย่างน่าเชือถือ กรรมการทกุ คนของคณะกรรมการจริยธรรมทงั ในส่วนกลางหรือส่วนภมู ิภาคจะต้อง คาํ นงึ ถึงบทบาทหน้าทแี ละให้การสนับสนุนเจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กบั ดูแลกจิ การ ให้สามารถปฏบิ ัตหิ น้าทไี ด้ อย่างมีอิสระในการตรวจสอบ ทงั นีอาจปฏบิ ตั ิตามสิงได้รับคาํ แนะนาํ จากคณะกรรมการจริยธรรม ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กับดูแลกจิ การ มดี ังนี  ดาํ เนินการตรวจประเมินความเสียงตามทไี ด้รับมอบหมายจากคณะกรรมการจริยธรรมทเี กียวข้อง ในเรืองทไี ด้รับแจ้งเบาะแสหรอื ความปรากฏให้เหน็ ภายใน วันทาํ การ  ให้คาํ แนะนาํ สาํ หรับการแก้ไขเยียวยาผลกระทบทเี กิดขึนจากการละเมดิ หรือไม่ปฏบิ ตั ิตาม มาตรฐานจริยธรรม รวมทงั เสนอแนะข้อควรปรับปรุงกระบวนการดาํ เนนิ งานทางธรุ กจิ ให้เป็นไป ตามจรรยาบรรณสากลและนโยบายระเบียบทเี กียวข้อง  ระบคุ วามเสยี งสงู และปัญหาสามารถรุนแรงขึนได้ทนั ที ควบคมุ กระบวนการทที าํ ให้เพมิ ความ รุนแรงมากขนึ สาํ หรับผู้จัดการด้านกาํ กบั ดแู ลกิจการสากลและข้อมูลสว่ นบคุ คล (Global Compliance and Data Privacy Manager) ให้กบั ผ้จู ดั การฝ่ายกฎหมายและกาํ กบั ดแู ลกจิ การ สาํ หรับเจ้าหน้าทกี าํ กับดูแลกิจการสาํ หรับผ้จู ัดการด้านกาํ กบั ดแู ลกิจการสากลและข้อมูลสว่ น บคุ คล  ดาํ เนนิ การหรือปฏบิ ัติตามคาํ แนะนาํ ของคณะกรรมการจริยธรรมตามทจี าํ เป็น โดยให้ดาํ เนินการ ให้แล้วเสรจ็ และสรปุ ผลภายใน วัน  ตดิ ตามและประเมินผลกระทบต่อนโยบายของบริษัทในกรณีมีการเปลยี นแปลงแนวปฏบิ ตั ิของ มาตรฐานทางจรยิ ธรรมทเี กิดขึนทงั ภายในและนอกประเทศและร้องขอเจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กบั ดูแล กจิ การติดตามประเดน็ ดังกล่าว 9

 กรณมี ีการส่งออก / นาํ เข้าสนิ ค้า: เจ้าหน้าทฝี ่ายกาํ กบั ดแู ลกิจการต้องมันใจว่าห้นุ สว่ นธุรกจิ ราย ใหม่ไม่ได้อยู่ในรายชือของหุ้นสว่ นในประเทศทถี ูกสังห้ามหรือถกู ควาํ บาตรทางการค้าก่อนทาํ การ เริมต้นติดต่อทางธุรกจิ ระหว่างกนั . หลกั การทวั ไปสําหรบั การสอบสวนและการลงโทษ ก. ความไดส้ ดั ส่วนและความโปร่งใส พนกั งานสามารถถูกลงโทษตามสดั สว่ นทเี หมาะสมแก่การกระทาํ ละเมิดทเี ขา/เธอได้กระทาํ ลง ในการ ลงโทษ ประเดน็ ทที าํ ให้มีปัญหามากขึนหรือลดน้อยลงจะได้รับการพิจารณา ข. การรกั ษาความลบั การสบื สวนในทุกกรณีต้องเกบ็ เป็นความลบั อย่างเคร่งครัด หัวหน้าผ้คู วบคุมและผู้สอบสวนตรวจสอบ ทดี าํ เนนิ การตรวจสอบมีภาระผูกพันทจี ะกระทาํ การทจี าํ เป็นเพือปกป้ องกระบวนการสอบสวนและการ ดาํ เนินการทจี าํ เป็นทงั หมด หากระบตุ วั ตนบุคคลทลี ะเมิดต่อความลบั ของการสอบสวน การละเมิดต่อ ความลบั ดังกล่าวถือเป็นการกระทาํ ความผิดภายใต้ขอบเขตหลกั จรรยาบรรณสากลนี ค. การป้ องกนั การดําเนนิ คดีซํา พนักงานไม่สามารถถูกลงโทษมากกว่าหนึงครังจากการกระทาํ ความผดิ แบบเดมิ หากมีกระทาํ ซาํ ใน เรืองเดมิ ให้ถือเป็นการกระทาํ ทอี าจสง่ ผลให้ผู้กระทาํ รับโทษหนักขึนหรือเป็นปัจจยั พจิ ารณ่าก่อปัญหา มากขึน ง. ความเสมอภาคและยึดมนั บทลงโทษต่างกนั ไม่สามารถนาํ มาใช้กับพนักงานซึงปฏบิ ัติหรือกระทาํ ละเมดิ หลกั จรรยาบรรณสากล และนโยบายระเบียบทีเกียวข้องอย่างเดยี วกนั ความแตกต่างของบทลงโทษอาจเปลียนไปตามเหตุ ปัจจัยอนั เป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละเหตุการณ์ทอี าจใช้พจิ ารณากาํ หนดการลดหรือเพิมโทษได้ บทลงโทษทรี ะบใุ นนโยบายนเี ป็นผลเกียวเนอื งจากการละเมิดหลกั จรรยาบรรณสากลและนโยบาย ระเบียบทเี กียวข้อง โดยเป็นอสิ ระจากการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านและการดาํ เนินธุรกจิ . บทลงโทษ การกระทาํ ฝ่ าฝืนหลกั จรรยาบรรณสากลและนโยบายระเบยี บทีเกียวข้องอาจนาํ ไปส่กู ารยกเลกิ สัญญา จ้างงาน หากการละเมดิ ได้ได้รับการพจิ ารณา สอบสวนและยนื ยนั แล้ว ปัจจัย รปู แบบและพฤติกรรมที เกดิ ขึนซาํ อาจนาํ มาใช้พิจารณาเพิมหรือลดบทกาํ หนดโทษทจี ะกระทาํ ลงได้ ผลของการละเมดิ มดี ังต่อไปนี ก. ให้ได้รับการฝึกอบรม/หรือให้คาํ แนะนาํ เพิมเติม ข. การเตือนด้วยวาจา โดยบันทกึ การเตอื นด้วยวาจาดงั กล่าวและเกบ็ ไว้ในแฟ้ มของพนกั งาน (HR) ค. การเตอื นเป็นลายลักษณ์อกั ษรเกบ็ ในแฟ้ มของพนักงาน (HR) ง. การเตอื นเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษรและมมี าตรการทางการเงนิ (ทงั นีขนึ กบั ข้อกาํ หนดตามกฎหมาย) โดยอาจลดระดบั ผลการประเมนิ การปฏิบัติงานในปี ทกี ระทาํ ละเมดิ ให้ตาํ ลง และลดการคาํ นวณเงนิ พเิ ศษตามลาํ ดับ 10

จ. ยกเลกิ สัญญาการจ้างงาน ฉ. ยกเลิกสญั ญาการจ้างงานและดาํ เนนิ คดีตามกฎหมายสาํ หรับพนกั งานทลี ะเมิดหลกั จรรยาบรรณ พนกั งานทถี ูกลงโทษตามนโยบายอาจไม่ได้รบั การเลือนขนั ตาํ แหน่งและไม่ได้รับการพิจารณาเปลียน ย้ายตาํ แหน่งไปทาํ ในตาํ แหน่งอนื อกี นยั หนึง การถกู ลงโทษเพราะเหตุละเมิดนโยบายนีเป็นเหตุระงบั การดาํ เนนิ การเกยี วกบั ระเบยี บปฏบิ ัติด้านงานบคุ คลเฉพาะรายบคุ คลในปี ทที าํ การละเมิดนัน การยกเลกิ สญั ญาจ้างงานเป็นโทษขนั ตาํ สาํ หรับการกระทาํ ละเมดิ หรือฝ่าฝืนขอบข่ายหลกั จรรยาบรรณ สากลอย่างชดั เจน การจะพิจารณาบทลงโทษขนั หนักหรือขนั ผ่อนผนั ต้องมีหลักฐานสนับสนุน ประกอบการพิจารณา ทงั นีหลกั ฐานดังกล่าวต้องสามารถใช้เป็นปัจจัยในการพจิ ารณาการลดหรอื เพิม บทลงโทษตามทกี าํ หนดในภาคผนวก และเอกสารนี . กระบวนการสอบสวนและการพิจารณาตดั สิน เมือได้รับข้อกล่าวหาเจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กบั ดแู ลกจิ การต้องเริมตรวจสอบและดาํ เนินการวเิ คราะห์ เบืองต้นในทนั ที หากเหน็ ว่าเหมาะสมเจ้าหน้าทีฯอาจขอคาํ ปรึกษาจากผู้จัดการฝ่ ายกาํ กบั ดแู ลกจิ การ สากลเพือพิจารณาว่าการสอบสวนมีความจาํ เป็นตามทรี ้องขอหรือไม่ เพียงใด หากเป็นกรณีต้อง กระทาํ การสอบสวน ให้ร่วมกนั พจิ ารณาว่าใครจะเป็นทมี สอบสวนทีจะจัดตังขึน การสอบสวนการกระทาํ ทเี ป็นการละเมิดหลกั จรรยาบรรณนจี ะดาํ เนินการและอยู่ภายใต้การควบคุม และนาํ ปฏบิ ตั โิ ดยเจ้าหน้าทฝี ่ายกาํ กบั ดแู ลกิจการ อย่างไรกด็ ี กระบวนการสอบสวนอาจจะดาํ เนนิ การ โดยเจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กบั ดแู ลกจิ การ หรือฝ่ ายตรวจสอบภายใน หรือสามารถใช้บริการตรวจพิสจู น์ หลกั ฐานจากภายนอกองคก์ รได้แล้วแต่กรณี กรณีได้รับข้อร้องเรียนจากบคุ คลใดว่ามกี ารกระทาํ ละเมิดหรือผู้ถกู กล่าวหาว่าได้กระทาํ ละเมิดหลกั จรรยาบรรณนอี ยู่ในส่วนภมู ิภาคแตกต่างกันในหลายท้องท/ี ประเทศ ให้เจ้าหน้าทฝี ่ายกาํ กับดูแล กจิ การและคณะกรรมการจริยธรรมในเขตรับผดิ ชอบทีบคุ คลผ้ถู กู กล่าวหามีถินทอี ยู่เป็นผู้รับผดิ ชอบ ในการสอบสวน กรณีข้อกล่าวหาว่ามีการละเมิดหลกั จรรยาบรรณสากลเกียวข้องกับผ้บู ริหารระดับสงู ให้ผู้จัดการฝ่าย กฎหมายและกาํ กบั ดูแลกจิ การเป็นผู้ควบคมุ และดาํ เนินการสอบสวน คณะกรรมการจริยธรรมภมู ภิ าค ไมส่ ามารถดาํ เนนิ กระบวนการดงั กล่าวต่อผ้บู ริหารระดับสงู ของตนเอง เจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กบั ดูแลกจิ การจะต้องรายงานผลการสอบสวนต่อคณะกรรมการจริยธรรมในประเดน็ ที เกียวข้องกบั ข้อกล่าวหาอย่างได้อย่างชดั เจนม สรุปรายงานพยานหลักฐาน ข้อเทจ็ จริง พร้อมเสนอแนะ บทลงโทษ ให้คณะกรรมการจริยธรรมเป็นผู้พิจารณากาํ หนดบทลงโทษ โดยทกี ารพิจารณาว่ามกี ารกระทาํ ละเมิด หลกั จรรยาบรรณนหี รือไม่ คณะกรรมการจะตัดสนิ ใจ (โดยการสนบั สนุนโดยเจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กับดูแล กจิ การ) จากการชังนาํ หนักของพยานหลกั ฐาน ว่าข้อกล่าวหาดังกล่าวถอื เป็นการละเมิดจรรยาบรรณ 11

ในสาระสาํ คญั มากน้อยหรือไม่เพียงใด ในกรณที เี ป็นการละเมดิ หลักจรรยาบรรณในข้อสาระสาํ คัญ ให้ คณะกรรมการจริยธรรมพิจารณาบทลงโทษทีเหมาะสมตามคาํ แนะนาํ ของเจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กบั ดูแลกจิ ในพจิ ารณากาํ หนดบทลงโทษ ให้คณะกรรมการพิจารณาเป็นรายกรณีและพจิ ารณาเหตปุ ัจจัยอืนใดที อาจใช้เพิมหรือลดบทลงโทษทจี ะกระทาํ ลง เมือมีกรณจี าํ ต้องพจิ ารณาตดั สนิ บทลงโทษ ให้กระทาํ โดย ใช้หลักความสจุ ริตเพือให้ความมันใจในเรืองความโปร่งใส วัตถุประสงค์ทเี หมาะสม สอดคล้องและ ยตุ ิธรรมในการพจิ ารณาบทลงโทษ ผ้จู ดั การตามสายงานทไี ด้รับแต่งตังเป็นคณะกรรมการจริยธรรมอาจเข้าร่วมในการสอบสวนและ กระบวนการตดั สนิ ต่อกรณลี ะเมดิ อนั เกดิ จากการกระทาํ ของสมาชกิ ในสายการบงั คับบัญชาของตนเอง อย่างไรกต็ ามคณะกรรมการฯอาจถอนตัวออกจากกระบวนการเมือเหน็ ว่าการเข้าร่วมเป็น คณะกรรมการดงั กล่าวอาจสง่ ผลต่อการดาํ เนนิ การ ( เช่น เพราะการขดั กันแห่งผลประโยชน์) ไม่ว่าในกรณีใดๆ องคป์ ระกอบต่อไปนจี ะไม่มีผลต่อการพิจารณากาํ หนดบทลงโทษ ก. ประสทิ ธภิ าพในการปฏบิ ัติงานโดยรวมของพนักงานไม่ว่าจะเป็นผ้มู ผี ลการทาํ งานในระดบั สงู หรือ ในระดับตาํ ข. กรณพี นักงานเป็นสมาชกิ หรือตัวแทนสหภาพแรงงาน . คณะกรรมการสอบสวนทางวินยั คณะกรรมการสอบสวนทางวินัยถูกแต่งตังขึนมาเพือรวบรวมสญั ญาการจ้างงานและหรือระเบยี บตาม กฎหมายท้องทที เี หมาะสมเพือมนั ใจว่าการดาํ เนนิ การทางวินยั เป็นไปตามระเบียบท้องที กฎหมาย และข้อตกลงแรงงานทรี วบรวมไว้ เมือ/หากเกิดปัญหาฝ่ าฝืนหลกั จรรยาบรรณและนโยบายระเบียบที เกียวข้องดแู ลโดยคณะกรรมการสอบสวนทางวนิ ัย เจ้าหน้าทฝี ่ายกาํ กบั ดูแลกิจการแต่ละภมู ภิ าคต้อง รายงานปัญหาเพือความสอดคล้องแสะโปร่งใส เนอื งจากเจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กบั ดูแลกิจการภมู ิภาคถูกแต่งตังโดยผู้จัดการฝ่ ายกฎหมายและกาํ กบั ดูแล กจิ การ มีกน้าทคี วามรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ัตติ ามและตดิ ตามการดาํ เนินกจิ การของบริษัทให้ สอดคล้องกบั นโยบายนี การพจิ ารณาและการดาํ เนนิ การของคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยให้ เจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กับดแู ลกจิ การรายงานการตดั สนิ ของคณะกรรมการสอบสวนทางวนิ ัยให้ผ้จู ัดการฝ่ าย กฎหมายและกาํ กบั ดแู ลกจิ การทราบทกุ ครัง . ขอ้ กําหนดตามกฎหมายทอ้ งที นโยบายนจี ะนาํ มาประยุกต์ใช้ภายใต้ข้อกาํ หนดตามกฎหมายท้องถิน หากเกดิ ความไม่สอดคล้องขนึ ระหว่างแนวนโยบายกบั กฎหมายทีเกียวข้อง ให้แสดงรายละเอยี ดความแตกต่างดงั กล่าวในรายงาน การสอบสวนอย่างชดั แจ้ง 12

. อํานาจหนา้ ทีและความรบั ผิดชอบ นโยบายนจี ัดพิมพ์โดยฝ่ ายกฎหมายและกาํ กบั ดูแลกจิ การ โดยบริษทั มหี น้าทรี ับผิดชอบทจี ะทาํ ให้ มันใจว่านโยบายได้รับได้รับการปฏิบัตโิ ดยพนกั งานทกุ คน เจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กับดูแลกิจการเป็นพนักงานของบริษัท ได้รบั การแต่งตังโดยผ้จู ัดการฝ่ ายกฎหมาย และกาํ กบั ดแู ลกจิ การ มีหน้าทคี วามรับผิดชอบในการปฏิบัตติ ามและตดิ ตามการดาํ เนนิ กจิ การของ บริษทั ให้สอดคล้องกับนโยบายนี นโยบายนีจะได้รับการทบทวนเป็นระยะโดยฝ่ ายกฎหมายและกาํ กับดแู ลกจิ การ เพือให้มันใจว่า นโยบายจะสอดคล้องกบั กฎระเบยี บ ข้อบงั คับหรือข้อกฎหมายทีมีการปรับปรุงขึนใหมใ่ นภายหลัง ภาคผนวก 1- องค์ประกอบในการ เหตุลดหรือบรรเทาโทษ เหตเุ พิมโทษ พจิ ารณาบทลงโทษ  เจตนาชัดเจน: จงใจและตังใจ  การกระทาํ โดยมีการวางแผน เจตนาและการวางแผน  ไม่มีเจตนาในการกระทาํ ละเมดิ เตรียมการ เตรียมการ  การกระทาํ โดยขาดการไตร่ตรอง  การบังคับผู้อนื ให้ฝ่ าฝืนหลกั ละเลยหรือผดิ พลาด จรรยาบรรณ  การคุกคามบคุ คลอนื ซงึ ได้  การบงั คบั โดยคณะผู้บริหารให้ฝ่ า หรือพยายามจะเสนอข้อ ฝืนหลกั จรรยาบรรณ ร้องเรียน  เพิกเฉยต่อคาํ แนะนาํ ทไี ด้รับ  ร้องขอหรือเรียกหาซึงคาํ แนะนาํ แล้วแต่คาํ แนะนาํ เช่นว่านันไม่ ปรากฏ, มีปรากฏแต่ไม่ชดั เจน คือ เป็นคาํ แนะนาํ ทผี ิดพลาด สถานะการว่าจ้างและ  เป็นพนักงานใหม่ทมี ีอายุงาน  ผ้จู ัดการหรือตาํ แหน่งทสี ูง การตระหนกั ถงึ น้อยกว่า เดอื น กว่าโดยมคี วามรับผิดชอบ ข้อบังคับ  เป็นพนักงานระดับต้นซงึ ไม่มี  เคยมีโอกาสได้รับการศกึ ษา/ อาํ นาจหน้าทที เี กียวข้อง อบรมหลกั จรรยาบรรณมา กอ่ นแต่ไม่ได้เข้าร่วมหรือจง  เป็นพนักงานทมี อี ายุการ ใจละเลย ปฏบิ ัติงานมายาวนานโดยมี บันทกึ แสดงถึงความเป็นผู้ทมี ี  ไม่ใช่การละเมิดครังแรก ความซือสตั ย์สงู 13

องคป์ ระกอบในการ เหตุลดหรือบรรเทาโทษ เหตเุ พิมโทษ พจิ ารณาบทลงโทษ การปฏบิ ัตใิ ห้การให้  แจ้งเหตแุ ห่งละเมิดโดยสมคั รใจ  การไม่ยอมรับปัญหา ความร่วมมอื  ให้ความร่วมมืออย่างเตม็ ทใี น  พยายามขดั ขวางการสอบสวน  ไม่มกี ารรับทราบถงึ ผลกระทบ กระบวนการสอบสวน  รับทราบข้อผิดพลาดของตน: ข้อผดิ พลาดของตนเองหรือ สาํ นกึ ผดิ สาํ นกึ ผิดเป็นอย่างมาก  กระทาํ ตนเป็นภัยต่อบริษัท  กระทาํ ความผิดหลกั จรรยาบรรณ หรือพนักงานอนื  สง่ ผลทางการเงนิ ตอ่ บริษัท เป็ นครังแรก อย่างชัดแจ้ง  ไมม่ ีความเสยี หายทางการเงิน  ได้รบั ผลประโยชน์สว่ นบุคคล  สง่ ผลเสยี หายต่อบริษัท ต่อบริษทั พนักงานหรือบุคคลภายนอก  ไมม่ ีผลเสยี หายต่อบริษัท ต่อ รวมถงึ การเปิ ดเผยการ สอบสวนต่อภายนอก พนักงานหรือต่อบุคคลภายนอก ร่นุ วนั ท:ี 01.07.2021 14

นโยบายสากล การรับข้อร้องเรียน (Global Code of Conduct) 15

นโยบายสากลในการรบั ขอ้ รอ้ งเรียน . หลกั การทวั ไป อาร์เซลิก ฮิตาชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ (\"บริษัท\") มีความมุ่งมันในการรักษามาตรฐานทางจริยธรรมอันสูงสุดตาม ความสามารถและในการปฏบิ ัติตามกฎหมายในการดําเนินธุรกิจของบริษัททุกประการ อนึงเพือเป็นการเพิมและรักษา ศกั ยภาพของบริษทั ในการจัดการกลไกการรายงานอย่างมปี ระสทิ ธิผล ขอให้พนักงานผู้ใดกต็ าม ทพี บเหน็ การละเมิดหลัก จรรยาบรรณสากลและนโยบายด้านจรรยาบรรณทีเกียวข้องอย่างมีเหตุผลซึงอาจเกดิ ขึนในสถานทีทาํ งาน จงรายงานการ ละเมิดนผี ่านสายด่วนร้องทุกขด์ ้านจริยธรรมในทนั ที กลไกการรับข้อร้องเรียนสามารถนาํ มาใช้ได้ครอบคลุมไปถึงการกระทาํ ใด ๆ อันอาจเป็นการผิดจรรยาบรรณอย่างความ ไม่เหมาะสม เช่น  การละเมิดจรรยาบรรณสากลและนโยบายด้านจรรยาบรรณทเี กยี วข้อง  การกระทาํ ใดอันผิดต่อกฎหมายหรือคาํ สังใด ๆ ให้มีการกระทาํ อันละเมดิ ต่อกฎหมาย การจัดการอย่างไม่ถูกต้อง การใช้ตาํ แหน่งงานในปัจจุบนั ในทางทผี ดิ การกระทาํ ใด ๆ อนั สง่ ผลอนั ตรายร้ายแรงต่อสขุ ภาพหรือความปลอดภัย ของบคุ คลทวั ไป  การไม่ปฏิบตั ิตามภาระผกู พันตามกฎหมายในประเทศทีบริษัทดาํ เนนิ การ  กิจกรรมอนื ใดทบี ่อนทาํ ลายการดาํ เนนิ งานของบรษิ ทั . หลกั การ ก. คาํ จํากดั ความของผูแ้ จง้ เบาะแส ผู้แจ้งเบาะแสคือบุคคลใดกต็ ามทีเป็ นผู้แจ้งข้อกล่าวหาหรือข้อมูลอืนใดว่ามีการกระทาํ อันไม่สอดคล้องกับหลัก จรรยาบรรณสากลและนโยบายด้านจรรยาบรรณทีเกยี วข้อง ข. การคุม้ ครองผูแ้ จ้งเบาะแส ทางบริษัทไม่อาจยอมให้มีการละเมิดหรือการทาํ ให้บุคคลทแี จ้งข้อร้องเรียนตกเป็นเหยือได้ และบุคคลใดกต็ ามทเี ป็นผู้ เปิ ดเผยข้อมูลจะไม่ถูกเปิ ดเผยตัวตน เว้นแต่จะมีการตกลงเอาไว้เป็นอย่างอืน ซึงทางบริษัทจะไม่พยายามสบื ค้นตัวตน ของผู้แจ้งเบาะแสทไี ม่ประสงค์ทจี ะระบชุ ือแต่อย่างใด ข้อกล่าวหาและข้อร้องเรียนทแี จ้งโดยนิรนามจะได้รับการพิจารณาโดยเจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กับดูแลกิจการอย่างเป็นธรรมและ เหมาะสมตามหลกั จรรยาบรรณสากลและนโยบายด้านจรรยาบรรณต่าง ๆ ทเี กยี วข้อง ข้อมลู ระบตุ ัวตนของผ้แู จ้งเบาะแสจะได้รบั การค้มุ ครองโดยเจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กบั ดแู ลกิจการ เว้นแต่  ผู้แจ้งเบาะแสตกลงให้มกี ารเปิ ดเผยตวั ตน  การเปิ ดเผยตวั ตนเป็นสงิ จาํ เป็นเพือให้เจ้าหน้าทีผู้บังคับใช้กฎหมายทีเหมาะสมสามารถตรวจสอบปัญหาหรือตอบ ข้อร้องเรียนได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 16

 จาํ เป็นต้องเปิ ดเผยตัวตนตามข้อบงั คบั แห่งกฎหมาย เจ้าหน้าทีฝ่ ายกํากับดูแลกิจการมีอํานาจในการปิ ดตัวตนของผู้แจ้งเบาะแสให้เป็ นความลับ แม้กระทังจากสมาชิก คณะกรรมการจรยิ ธรรม กรณีทีมกี ารร้องขอให้มีการค้มุ ครองดงั กล่าว เราม่งุ มันในการปกป้ องผู้แจ้งเบาะแสอย่างเตม็ ความสามารถและจะไม่ยอมให้มีการกระทาํ ใด ๆ อนั เป็นการม่งุ หมายให้ผู้ แจ้งเบาะแสต้องตกอยู่ในความลําบากเดือดร้อนจากการกระทําหรือการละเว้นใด ๆ อันเกียวกับการแจ้งเบาะแส โดยเฉพาะอย่างยิงในเรืองทเี กยี วกบั  กระบวนการในการจ้างงาน  การศึกษา การฝึกอบรม หรือการพัฒนาวิชาชพี  การเลือนตาํ แหน่งในหน้าทกี ารงาน การประเมิน การได้มาหรอื การสูญเสยี ตาํ แหน่ง;  มาตรการทางวนิ ยั และบทลงโทษ  สภาพการทาํ งาน;  การเลิกจ้าง;  รายได้, ค่าตอบแทนรายได้;  การจ่ายโบนัสและเงินบาํ เหนจ็ หลงั เกษยี ณ  การจาํ หน่ายหรือโอนไปยงั งานอนื ทไี ด้รบั มอบหมาย  การละเว้นการใช้มาตรการป้ องกนั เนืองจากการคกุ คามของบุคคลอืน  การส่งตวั ไปตรวจสขุ ภาพภาคบงั คบั หรอื สง่ ต่อการตรวจเพือประเมินความสามารถในการทาํ งาน ค. ช่องทางในการรอ้ งเรียน สามารถแจ้งข้อกล่าวหาหรือข้อร้องเรยี นได้ผ่านสายด่วนร้องทุกข์ด้านจริยธรรม ซึงเป็นการบริหารจัดการโดยผู้ให้บริการ อิสระทีเป็นบุคคลภายนอกพร้อมการรักษาความลับในการแจ้ง โดยผู้ให้บริการสายด่วนร้องทุกข์ด้านจริยธรรมจะแจ้ง เฉพาะเจ้าหน้าทีฝ่ายกาํ กับดแู ลกิจการทีเกียวข้องแต่เพียงเท่านันเพือให้สามารถจดั การกบั ข้อร้องเรียนได้อย่างเหมาะสม ต่อไป เมอื ทาํ การร้องเรียนผ่านสายด่วนร้องทกุ ข์ด้านจริยธรรม ไม่ว่าจะผ่านทางเวบ็ หรอื ทางโทรศัพท์กต็ าม ผู้แจ้งสามารถ  ประสงค์ทจี ะไม่ให้มกี ารเปิ ดเผยชือและข้อมลู ตดิ ต่อของตนเพือให้การแจ้งเป็นนิรนาม  แจ้งชือและข้อมูลติดต่อของตนกับผู้ให้บริการ และอนุญาตให้มีการสือสารข้อมูลกับบริษัท ซึงในกรณีนี บริษัทจะ สามารถตดิ ต่อผ้ใู ห้ข้อมลู ได้โดยตรงเพือขอข้อมูลทจี าํ เป็นในระหว่างการสอบสวนต่อไปได้  ประสงคใ์ ห้มกี ารเปิ ดเผยชือและข้อมูลติดต่อของตนกับผ้ใู ห้บริการเท่านัน แต่ไม่ให้มีการเปิ ดเผยให้ทางบริษทั ทราบ ได้ ซงึ ในกรณนี บี รษิ ทั สามารถติดต่อผ้ใู ห้บรกิ ารเพือขอข้อมูลเพิมเติมเมือจาํ เป็นได้ ชอ่ งทางในการร้องเรยี น ประกอบด้วย webtool (www.ethicsline.net ) และ หมายเลขโทรศพั ทต์ ามที�กาํ หนด ให้แต่ละประเทศผู้ผลิตโดยเฉพาะ 17

. การใชง้ านสายดว่ นรอ้ งทกุ ขด์ า้ นจริยธรรมอยา่ งเหมาะสม สายด่วนร้องทุกข์ด้านจริยธรรมไม่ใช่สายการให้บริการฉุกเฉนิ ห้ามใช้เพือรายงานเหตกุ ารณ์ฉกุ เฉินทเี ป็นเหตุอนั ตรายต่อ ชีวิตหรือทรัพย์สิน ซึงการร้องเรียนต่าง ๆ ทีได้รับการร้องเรียนผ่านบริการนีอาจไม่ได้รับการตอบกลับในทันที ทังนีใน กรณีทตี ้องการความช่วยเหลอื ฉกุ เฉนิ โปรดตดิ ตอ่ หน่วยงานท้องถินและตวั แทนของบริษทั 4. อํานาจหนา้ ทีและความรบั ผดิ ชอบ นโยบายนีเป็ นการออกประกาศโดยฝ่ ายกฎหมายและกฎระเบียบองค์กรของทางบริษัท และมีอํานาจหน้าทีในการ รับผดิ ชอบในการตรวจสอบการปฏบิ ัติตามนโยบายโดยพนักงานทุกคน ซึงการละเมิดนโยบายนีอาจส่งผลให้มกี ารลงโทษ ทางวนิ ยั จนถงึ และรวมถึงขันการเลกิ จ้างกเ็ ป็นได้ เจ้าหน้าทีฝ่ายกาํ กับดูแลกิจการ คือพนักงานของบรษิ ัททีได้รับการแต่งตงั โดยผู้จัดการฝ่ ายกฎหมายและกาํ กับดูแลกจิ การ ให้มีหน้าทรี บั ผิดชอบในการตรวจสอบการดาํ เนนิ งานของบริษทั ทีเกยี วข้องกบั นโยบายนี นโยบายนีจะได้รับการตรวจสอบเป็นระยะโดยฝ่ ายกฎหมายและกาํ กับดูแลกจิ การของบริษัท เพือให้มันใจว่าข้อกาํ หนด ต่าง ๆ อยภู่ ายใต้ข้อกาํ หนดแห่งกฎหมายและข้อบังคับใหม่หรอื ฉบบั ทไี ด้รบั การแก้ไข วนั ทใี นการปรบั ปรุงข้อมูลล่าสดุ กรกฎาคม พ.ศ. 18

นโยบายต่อต้านการให้สนิ บน และการทุจริตสากล (Global Antibribery and Corruption Policy) 19

นโยบายต่อตา้ นการใหส้ ินบนและการทุจริตสากล ด้วยนโยบายนี อาร์เซลิก ฮติ าชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ (“บริษทั ”) มีเป้ าหมายทจี ะประกาศความ มุ่งมันในการสงั ห้ามการติดสนิ บนและการทจุ ริตและเพือให้สอดคล้องกับกฎหมายตอ่ ต้านการติด สนิ บนและแนวทางในการบ่งชีและหลีกเลียงการติดสนิ บนและการทุจริตทอี าจเกดิ ขึนเพือรักษา ไว้ซงึ ความซอื สตั ย์และชือเสยี ง 1. คาํ นิยาม การติดสนิ บน: การยืนข้อเสนอเพือให้หรือรับ “สิงมคี ่าใด ๆ” ด้วยวัตถุประสงค์เพือให้ได้มาซงึ อิทธิพลทีทุจริตหรือได้ มาซึงความได้เปรียบทีไม่เหมาะสมทางด้ านการทําธุรกรรมหรือ ความสมั พันธท์ างธรุ กจิ ก. ความได้เปรยี บทไี ม่เหมาะสม คือ ความได้เปรียบทบี ริษทั และ/หรือพนั ธมิตรทางธุรกิจไม่ได้มี สทิ ธทิ างกฎหมายอย่างชัดแจ้ง ข. อิทธิพลทีได้มาอย่างทุจริต หมายถึง ข้อเสนอ การจ่ายเงิน หรือสัญญาโดยมีวัตถุประสงค์ เพือให้ได้มาซึงความได้เปรียบจากการใช้ตาํ แหน่งหน้าทขี องตนเพือผลประโยชนข์ องบริษัทหรือ พนั ธมิตรทางธรุ กจิ รายใดรายหนึง ไมตรีจิตทางธุรกิจ: ไมตรีจิตทางธุรกิจ คือ ของขวัญหรือการดูแลต้อนรับใด ๆ (อาหาร การ เดินทาง หรือการดูแลต้อนรับ) ทมี ีให้เพือวัตถุประสงค์ทางธุรกิจหรือเกียวข้องกับกิจกรรมทาง ธรุ กจิ การช่วยบริจาคเพือการกุศล: การบริจาคด้วยความสมัครใจให้กับองค์กรใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นใน รูปแบบทรัพยส์ นิ หรอื เงนิ สดโดยไม่หวงั ผลประโยชนต์ อบแทนใด ๆ ค่าอํานวยความสะดวก: เพือให้การบรกิ ารตามปกติรวดเรว็ ขึน ค่าอาํ นวยความสะดวก คือ การ จ่ายเงินจาํ นวนเลก็ น้อยอย่างไม่ทางการและไม่เหมาะสมเพือให้มันใจว่าการดาํ เนนิ งานของฝ่ ายที จ่ายเงนิ เรียบร้อยถูกต้องตามกฎหมายหรือเป็นรวดเรว็ ขึน เงินสนบั สนุน: การกระทาํ ใด ๆ ทเี ป็นเงินสดหรือไม่ใช่เงินสดสาํ หรับกิจกรรมทีจัดโดยบุคคล องคก์ รวชิ าชพี หรือนติ ิบคุ คลเพือประโยชนต์ ่อบริษทั เจ้าหนา้ ทีของรฐั : มีการกาํ หนดคาํ นิยามไว้อย่างกว้างว่าให้เกียวข้องกับบุคคลทหี ลากหลายซึง รวมถงึ แต่ไม่จาํ กดั เพียงดังต่อไปนี:  เจ้าหน้าทที ที าํ งานในหน่วยงานของรัฐ (เช่น เจ้าหน้าทขี องรัฐ ตาํ รวจ)  พนักงานรัฐวสิ าหกจิ  พนักงานพรรคการเมือง ผ้สู มัครทางการเมือง  บุคคลทดี าํ รงตาํ แหน่งทางกฎหมาย บริหารหรือตุลาการในต่างประเทศ  บุคคลทที าํ หน้าทบี รกิ ารสาธารณะในต่างประเทศ  ผู้พิพากษา คณะลูกขุนหรือเจ้าหน้าทีของรัฐทีทาํ งานในศาลระหว่างประเทศหรือศาล ต่างประเทศ 20

 สมาชกิ ของรัฐสภาระหว่างประเทศหรือรัฐสภาต่างประเทศ บุคคลทปี ฏบิ ัติหน้าทสี าธารณะใน ต่างประเทศ รวมถึงสถาบนั ของรัฐหรือรัฐวิสาหกจิ  ประชาชนหรืออนุญาโตตุลาการต่างประเทศทีได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าทีตามขันตอน อนุญาโตตลุ าการเพือแก้ไขข้อพพิ าททางกฎหมาย  เจ้าหน้าทีหรือตัวแทนทีทาํ งานในองค์กรระหว่างประเทศหรือต่างประเทศทีจัดตังขึนตาม ข้อตกลงระหว่างประเทศ รูปแบบของสิงมีค่า: รูปแบบของสิงมีค่าทสี ามารถใช้เพืออาํ นวยความสะดวกในการติดสินบน ซงึ รวมถึงแต่ไมจ่ าํ กดั เพยี งรปู แบบดงั ต่อไปนี:  ของขวัญ การดูแลต้อนรับดูแล1  การจ้างงานสมาชิกในครอบครัวของเจ้าหน้าทีของรัฐ – กฎหมายและข้อบังคับหลายตัวที เกียวข้ องกับการติดสินบนหรือการทุจริตอาจมองว่ าการ จ้ างงานสมาชิกในครอบครั วขอ ง เจ้ าหน้ าทีของรัฐเป็ นการติดสินบนเมือการจ้ างงานมีผลหรือดูเหมือนมีผลอย่างทุจริ ตต่อ เจ้าหน้าทขี องรัฐ  การบริจาค – ต้องเป็นการบรจิ าคโดยไม่มีเจตนาทสี ง่ ผลต่อการตัดสนิ ใจทางธุรกจิ ใด ๆ หรือ ความคาดหวงั ผลประโยชนใ์ ด ๆ ในอนาคตจากผ้รู ับ  เงินสนับสนุน – เงินสนับสนุนอาจจะอยู่ในรูปแบบของสิงมีค่าทีสามารถถ่ายโอนเพือรับ ผลประโยชน์ทไี ม่เหมาะสม  สงิ มคี า่ อนื ๆ – ตัวกจิ กรรมกีฬา สว่ นลด สนิ ค้าตัวอย่าง ของสมนาคณุ และโปรแกรมการค้า และการขายสินค้าอนื ๆ 2. หลกั การทวั ไป บรษิ ัท ซงึ ร่วมกับ Koç Holding A.Ş. เป็นภาคีลงนามใน UN Global Compact โดยมีวัตถุประสงค์ เพือต่อต้านการทจุ ริตและการติดสนิ บนทวั โลก ในมุมมองนี บรษิ ทั ไม่อนุญาตหรือยอมรับการติด สินบนทกุ รูปแบบ เป็ นอิสระจากการปฏิบัติหรือข้อบงั คับระดับภายใน บริษัทไม่ยอมรับการติด สนิ บน การทจุ ริต การจ่ายค่าอาํ นวยความสะดวก หรือของขวญั และการเลียงรับรองทไี มเ่ หมาะสม ทกุ รูปแบบแกบ่ คุ คลใดกต็ ามทเี กียวข้องกบั วงจรธุรกจิ ของบริษัท บริษทั ปฏบิ ตั ิตามกฎหมายการต่อต้านการติดสินบนทเี กียวข้องทงั หมด รวมถึงกฎหมายว่าด้วย การกระทาํ ทุจริตในต่างประเทศของสหรัฐฯ (“FCPA”) กฎหมายว่าด้วยการติดสินบนของ สหราชอาณาจกั ร (“UKBA”) และกฎหมายในทกุ ประเทศทบี รษิ ทั ดาํ เนินกจิ การอยู่ พนักงานทุกคนในบริษัทต้องได้รับการฝึ กอบรมทีเกียวข้องกับการต่อต้านการให้สินบนเป็ น ประจาํ ทุกปี การกระทาํ ไม่ยอมโอนอ่อนผ่อนตามอาจส่งผลแก่บริษัทอันเป็นเหตุให้ได้รับโทษผ่านมาตรการ ต่าง ๆ ซึงรวมถึงแต่ไม่จํากัดเพียงการกระทําดังต่อไปนี: การทาํ ให้ใบอนุญาตทีออกโดย หน่วยงานของรัฐเป็ นโมฆะ การยึดสินค้าทใี ช้ในการผูกมัดหรือผลจากการกระทาํ ผิดโดยตัวแทน ของนติ ิบุคคล และการยึดผลประโยชน์ทางการเงนิ ทีเกดิ จากหรือได้รับจากการกระทาํ ผดิ 21

นโยบายนีสามารถเสริมด้วยข้อผูกพนั ภายในทเี ข้มงวดกว่าข้อผูกพันทรี ะบไุ ว้ในนโยบายนีเพือให้ เป็ นไปตามกฎหมายหรือข้ อบังคบั 3. กฎเกณฑ์ ก. ของขวญั อาหาร การเดินทาง และการดูแลตอ้ นรบั การให้หรือรับของขวญั อาหาร การเดนิ ทาง หรือการเลียงรบั รองทสี ่งผลต่อฝ่ายใดฝ่ ายหนึงอย่าง ไม่เหมาะสม โดยเฉพาะเจ้าหน้าทีของรัฐเพือแลกเปลียนผลประโยชน์ทีไม่เหมาะสมถือเป็ นสิง ต้องห้ามโดยเดด็ ขาด ภายใต้เงือนไขเฉพาะบางประการ การให้ของขวัญแก่เจ้าหน้าทีของรัฐหรือ การรับของขวัญจากบุคคลทสี ามอาจได้รับอนุญาตตามทอี ธิบายไว้ในนโยบายเรืองของขวัญและ การดูแลต้อนรับสากล 1โปรดดูนโยบายเรืองของขวญั และการดแู ลต้อนรับสากล 2โปรดดนู โยบายเรืองของขวัญและการดแู ลต้อนรับสากล ข. การจา้ งหรือการวา่ จ้างของเจา้ หนา้ ทีของรฐั การตัดสินใจจ้ า งงาน ต้ องอยู่ บนพืนฐาน คุณ ธรร มและไ ม่ ควรชักจู ง เจ้ า หน้ า ทีขอ งรั ฐ อย่ า งไ ม่ เหมาะสม หากสมาชิกในครอบครัวหรือผู้ทีได้รับมอบหมายของเจ้าหน้าทีของรัฐกําลังมองหา ตาํ แหน่งงานทบี ริษทั ต้องได้รับอนุมัติก่อนดาํ เนนิ การตามกระบวนการสรรหา เจ้าหน้าทขี องรัฐสามารถจ้างหรือว่าจ้างบุคลากรเพือดาํ เนินงานบริการทมี ีวัตถุประสงค์ทางธุรกจิ ของบริษทั ทถี ูกต้องตามกฎหมาย โดยมเี งือนไขว่า:  ห้ามคาดหวังว่าบุคคลนันจะถูกบริษัทจ้างเพือแลกกับการกระทาํ ทีไม่เหมาะสมหรือความ ได้เปรียบทางธรุ กจิ จากรัฐบาล  เป็นบุคคลทมี ีคณุ สมบตั เิ พยี งพอสาํ หรบั เกณฑท์ กี าํ หนดของตาํ แหน่งทเี กียวข้อง  เงินเดือนหรือค่าธรรมเนียมสมเหตุสมผลและสอดคล้องกับงานและคุณสมบัติทางวิชาชีพ ของผ้ทู เี กียวข้อง  ได้รับการอนุมัติล่วงหน้าจากผู้อํานวยการฝ่ ายองค์กรสัมพันธ์และความยังยืนและกิจการ องค์กรและประธานเจ้าหน้าทฝี ่ายกฎหมายและการกาํ กบั ดแู ล ค. เงนิ ช่วยเหลือ การบริจาค และการสนบั สนุน นโยบายนีห้ ามมิให้ มีการให้ เงินช่วยเหลือ/การบริจาค/การสนับสนุ นต่อเจ้ าหน้ าทีของรัฐทีไม่ เหมาะสมหรือเพือเป็นการตอบแทนความช่วยเหลอื ทไี ม่เหมาะสมใด ๆ ง. ความสมั พนั ธก์ บั บุคคลทีสาม กฎหมายทบี ังคับใช้เกียวกบั การให้สนิ บนและการทุจริตไม่อนุญาตให้มีการจ่ายเงินทีไม่เหมาะสม ทางตรงโดยพนักงานของบริษัทหรือทางอ้อมโดยตัวแทน ทีปรึกษา ผู้จัดจาํ หน่าย หรือตัวแทน บคุ คลทสี ามใด ๆ ทกี ระทาํ การเพือหรือในนามของบริษัท (รวมเรียกว่า “บคุ คลทีสาม”). บุคคลทสี ามต้องปฏิบัติตามนโยบายนีตลอดเวลา ต้องมีการตรวจสอบบุคคลทีสามโดยอิงตาม ความเสียงทังก่อนและตลอดความสัมพันธท์ างธุรกิจเพือลดความเสียงการติดสินบนและทุจริต 22

รวมถึงการตรวจสอบพันธมิตรร่วมทุน เป้ าหมายในการถูกซือกิจการ และการลงทุนเชิงกลยุทธ์ อนื ๆ โดยองิ ตามความเสียงเพือลดความเสียงทเี กียวข้องกบั การทจุ ริต บรษิ ัทต้องมสี ่วนร่วมกบั บคุ คลทสี ามกต็ ่อเมือ;  ควรมีความต้องการเชงิ ธุรกจิ ทชี อบด้วยกฎหมายสาํ หรบั บริการหรือสนิ ค้าทจี ดั หาให้  ราคาของบริการและสนิ ค้าไม่สงู กว่ามูลค่าตลาด  บุคคลทสี ามจะได้รับการประเมนิ ตามความเหมาะสมหลังจากใช้กระบวนการตรวจสอบจาก มมุ มองการตอ่ ต้านการติดสนิ บนและการทจุ ริต ไม่ควรสร้างความสมั พันธก์ บั บุคคลทสี ามทมี ีหรือจะมีการปฏิสัมพันธ์ทสี าํ คัญกบั เจ้าหน้าทขี องรัฐ ในนามของบริษทั โดยไมม่ ีการสอบถามเกยี วกบั ภมู ิหลงั คุณสมบัติ และชือเสยี งของบคุ คลทสี าม ควรมีสญั ญาทที าํ กับบคุ คลทสี ามดาํ เนนิ การในนามของบริษัทเป็นลายลักษณ์อกั ษรรวมถงึ ภาษาที เหมาะสมเกยี วกบั กฎหมายต่อต้านการติดสนิ บนและการทุจริตทีเกียวข้องทงั หมด จ. ความโปร่งใสและความถูกตอ้ งของบญั ชีและบนั ทึก ความล้มเหลวในการเก็บรักษาบัญชีและบันทึกทางการเงินทีถูกต้องและโปร่งใสถือเป็ นการ ละเมดิ กฎหมายของนานาประเทศแม้ว่าจะไม่มีการกระทาํ ทเี ป็นการให้สนิ บนกต็ าม ดังนัน ในแต่ ละธุรกรรมทางการเงินจึงควรพิจารณาหลักการเกียวกับการควบคุมภายใน การรายงานทาง การเงิน การเกบ็ รักษาเอกสารและควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าบริษัทได้ปฏิบัติตามกฎหมายและ ข้อบังคบั เรืองการต่อต้านการติดสนิ บน ด้วยเหตนุ ี  บัญชี ใบแจ้งหนี และเอกสารอืน ๆ ทุกประเภททีสร้างขึนจากการติดต่อกับบุคคลทีสาม (ลกู ค้า ซัพพลายเออร์ ฯลฯ) ควรถกู บันทกึ ลงในบญั ชีในเวลาทีเหมาะสมและถูกต้องรวมถงึ คําอธิบายทีชัดเจนเพือให้ ผ้ ูตรวจสอบบุคคลทีสามสามารถเข้ าใจหลักการและเหตุผลทาง ธรุ กจิ เบืองหลงั การทาํ ธุรกรรม การเปลยี นแปลงใดๆ ทมี ลี กั ษณะเป็นการปลอมแปลงธรุ กรรมทางการเงินใด ๆ เป็นสงิ ต้องห้าม ทางบญั ชีหรือบันทกึ ทางการค้าทคี ล้ายคลงึ กนั 4. อํานาจหนา้ ทีและความรบั ผดิ ชอบ นโยบายนีเผยแพร่โดยฝ่ ายกฎหมายและการปฏิบัติตามข้อกาํ หนดของบริษัท บริษัทมีหน้าที รับผดิ ชอบในการตรวจสอบให้แน่ใจว่าพนกั งานทุกคนปฏบิ ัติตามนโยบาย นอกจากนี ควรมีการ พิจารณาเกยี วกบั ตาํ แหน่งงานของบริษัทในการดาํ เนนิ การแก้ไขและ/หรือป้ องกนั รวมถึงการเลกิ จ้าง และพฤตกิ รรมทีไมป่ ฏบิ ัตติ ามข้อกาํ หนดอย่างสมาํ เสมอผ่านผ้ทู เี กียวข้อง เจ้าหน้าทกี าํ กับดูแลการปฏิบัติตามกฎระเบียบ คือ พนักงานของบริษัททีได้รับการแต่งตังโดย ผู้จัดการฝ่ ายกฎหมายและการปฏิบัติตามข้อกําหนดของบริษัททีมีหน้าทีรับผิดชอบในการ ตดิ ตามการดาํ เนนิ งานของบริษทั ทเี กียวข้องกบั นโยบายนี นโยบายนีจะได้รับการทวนสอบตามกาํ หนดเวลาโดยฝ่ายกฎหมายและการปฏิบัติตามข้อกาํ หนด ของบริษัท เพือให้มันใจว่ามีการปฏิบัติเป็นไปตามกฎหมายและระเบียบใหม่หรือทีได้รับการ แก้ไข ฉบบั วันท:ี 1 กรกฎาคม 2564 23

นโยบายสากลเกียวกั บของขวั ญ และการเล�ยี งรับรอง (Global Gift and Hospitality Policy) 24

นโยบายสากลเกียวกบั ของขวญั และการเลียงรบั รอง . การบงั คบั ใช้ นโยบายนีประกอบด้วยกฎเกณฑ์ทีบังคับใช้กับ อาร์เซลิก ฮิตาชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ และบริษัทในเครือทังหมด (\" บริษทั \") รวมถึง บริษัททที าํ ธรุ กิจร่วมอย่างใกล้ชิดและ/หรือบุคคลภายนอกทีได้รับผลกระทบจากกจิ กรรมของบริษทั ของเรา และ การใดอันส่งผลกระทบต่อบริษัทของเราจากกิจกรรมของบริษัทต่าง ๆ (กล่าวคือ องค์กรพัฒนาเอกชน สือ พนักงาน หุ้นส่วน ผู้ถือหุ้น ซัพพลายเออร์ ผู้ให้บริการทีได้รับอนุญาต ตัวแทน ทีปรึกษา) ทีดาํ เนินการในนามของพนักงานของ บริษทั . หลกั การทวั ไป ในบางสถานการณ์ การแลกเปลยี นของขวัญและการเลยี งรบั รองอาจเป็นสงิ ทยี อมรบั ได้ และมกั นาํ มาใช้เพือเพิมความ แขง็ แกร่งหรือรกั ษาความสมั พันธท์ างธรุ กิจระหว่างผู้ร่วมธุรกิจ นโยบายนีบงั คับใช้กบั สถานการณ์ต่าง ๆ ในกรณีดงั ต่อไปนี  พนักงานของบริษทั ให้หรอื รับของขวัญแก่หรือจากบุคคลทสี ามเพอื เป็นตัวแทนของบริษัทในบริบททางธุรกจิ (อนึง ของขวัญสว่ นบคุ คลไมเ่ กียวข้องกบั นโยบายนี)  พนกั งานของบรษิ ทั เชิญบุคคลทไี ม่ใช่พนักงานของบรษิ ทั เข้าร่วมงานเลียงรบั รองในนามของบริษทั ในบริบททาง ธรุ กจิ และเมือพนกั งานของบริษทั ได้รับการเชญิ ให้ร่วมงานเลียงรบั รองโดยบุคคลทสี ามเนืองจากความสามารถทาง วชิ าชีพในนามของบริษัท (การเลยี งรบั รองสว่ นตัวและการจัดงานเลยี งรบั รองภายในหมู่พนกั งานของบริษัทไม่ถอื เป็นข้อกงั วลของนโยบายน)ี ในบางสถานการณ์ การให้ หรือรับการเลียงรับรอง งานเลียงบริษัทขนาดเล็ก และตัวเข้าชมงานแข่งขันทางกีฬาและ วัฒนธรรมอาจสามารถทาํ ได้ หากเกิดขึนเป็ นครังคราวและไม่เกินกาํ หนดตามเกณฑ์ ในแง่นี เรารบั ทราบว่าจะสามารถเชิญ ตัวแทนจาํ หน่าย ผู้ให้บริการทไี ด้รับอนุญาต และผ้จู ัดจาํ หน่ายให้เข้าร่วมงานการแข่งขันกีฬาทีเรามีการเตรียมการให้การ สนบั สนุนสาํ หรบั แบรนดข์ องเราได้ โดยมีเงอื นไขว่าคาํ เชญิ เหล่านีจะต้องจัดทาํ ขึนเพือเป็นรางวลั และมกี ารแจ้งรายชือแขก ดงั กล่าวอย่างถูกต้องถึงผ้อู าํ นวยการฝ่ ายทเี กียวข้อง อย่างไรกต็ าม หากการเสนอให้ของขวัญ การเลยี งรบั รอง หรือการเดินทางเกิดขึนบ่อยครังหรือมีมลู ค่ามาก อาจกอ่ ให้เกิด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างคู่สัญญา หรือส่งผลให้ละเว้นการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของ ท้องถนิ หรือสากลได้ ดงั นัน การให้หรือรับของขวญั และกจิ กรรมการเบียงรบั รองแก/่ จากบุคคลภายนอกสามารถกระทาํ ได้ กต็ ่อเมือไม่คาดว่าจะได้รบั ผลประโยชนต์ อบแทนใด ๆ เมือสร้างความสัมพันธ์กับบุคคลทีสาม ซึงรวมถึงแต่ไม่จาํ กัดเพียง: ลูกค้า ผู้ขาย จะต้องพิจารณาตามเกณฑ์ดังต่อไปนี (โปรดอ้างอิงกฎทเี กยี วข้องกับเจ้าหน้าทีของรัฐเมือจาํ เป็น) ของขวัญหรือการเลยี งรับรองต้องไม่อยู่ในรปู แบบของเงินสด บริการทเี ทยี บเทา่ เงนิ สด หรือสญั ญาจ้างงานใด ๆ 25

การตัดสนิ ใจให้/รบั ของขวญั หรอื การเลยี งรบั รองจะต้องไม่  มอี ทิ ธพิ ลต่อกระบวนการตดั สนิ ใจใดๆ ต่อธรุ กิจของบรษิ ัท  มเี จตนาเพือเป็นการบงั คับบุคคลใดให้กระทาํ การอันไม่เหมาะสมเกียวกบั ธรุ กจิ ของบริษัท  โน้มน้าวหรอื ทาํ ให้ดูเหมือนว่ามีอทิ ธพิ ลต่อความสมั พนั ธท์ างธุรกิจของบริษัทกับบคุ คลทีสาม  สง่ ผลต่อความเป็นอสิ ระ ผลการดาํ เนนิ งาน และความสามารถในการตัดสนิ ใจของบริษัท  มีวัตถปุ ระสงคเ์ พือให้ได้รบั หรือคงไว้ซึงธุรกจิ หรือให้ข้อได้เปรยี บทางการเงนิ ทีไม่เหมาะสมแกบ่ ริษัทและ/หรอื บคุ คล ทสี าม เช่น การปฏบิ ัตทิ างภาษีอย่างเป็นผลประโยชน์ หรือการให้รางวลั /การรกั ษาความสมั พันธท์ างธรุ กิจ ของกาํ นัลหรอื การเลยี งรับรองหรอื มูลค่าอนั อย่างตาํ ของสงิ เหล่านันจะต้องไม่  เป็นสงิ ต้องห้ามโดยกฎหมาย ข้อบงั คับ (เช่น FCPA, UKBA, กฎหมายท้องถิน) หรอื นโยบายต่อต้านการให้สนิ บน และการทุจรติ (ABC) ของบริษัท (เชน่ สนิ บน ค่าตอบแทน เงนิ ใต้โตะ๊ ฯลฯ)  สร้างความเสยี หายต่อความสมบรู ณแ์ ละความน่าเชือถือของความสมั พันธท์ างธรุ กิจของบริษทั กบั บคุ คลทีสาม  นาํ บริษัทไปส่คู วามเสอื มเสียหากเปิ ดเผยต่อสาธารณะ  ได้รบั มอบหรอื รบั ในระหว่างกระบวนการประกวดราคาหรือแข่งขนั ใด ๆ  ถกู มองว่าเป็นการติดสนิ บนหรอื ค่านายหน้า  สอดคล้องกบั การปฏบิ ตั ิอนั เป็นเอกสทิ ธใิ นการทาํ งานบางประการ . ของขวญั ในขณะทมี กี ารให้และรบั ของขวญั ควรแจ้งผู้จดั การตามสายงานให้ทราบผ่านอเี มลของบรษิ ทั เสมอ ก. ขอ้ จํากดั มูลค่าสาํ หรบั ของขวญั : ขณะให้และรับของขวัญ พนกั งานจะต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่ามูลค่าของของขวญั นัน ไม่เกนิ ดอลลารส์ หรัฐจากแหล่งเดยี วและจะต้องเป็ นการรับครังเดียวเสมอ (ไม่เกนิ ปี ละครัง) หรอื มลี กั ษณะเป็ นกรณี พิเศษ ข. การรบั ของขวญั ทีมมี ูลค่าเกินขอ้ จํากดั : หากพนักงานได้รบั ของขวัญมูลค่ามากกว่า ดอลลาร์สหรฐั พนักงานคต้อง แจ้งให้เจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กบั ดูแลกิจการทเี กียวข้องทราบในทันที ซึงเจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กับดูแลกจิ การจะทาํ งานร่วมกับผู้รับ ของขวัญร่วมกันเพือตัดสนิ ใจว่าควรสง่ คืนของขวัญกลบั ไปยังผู้ส่งหรือควรรับของขวัญจากผู้รับหรอื ไม่ และเกบ็ รักษาและ ลงบนั ทกึ อย่างถกู ต้อง หากเป็นการกระทาํ อนั เหมาะสม ผู้สง่ จะได้รบั แจ้งเกยี วกบั กฎเกณฑใ์ นการรบั ของขวัญและการเลยี ง รับรองของบรษิ ทั ด้วยข้อความแสดงความขอบคุณ ค. การใหข้ องขวญั เกินมูลค่าตามเกณฑ:์ หากพนักงานจําเป็ นต้องให้ของขวัญทีมีมูลค่ามากกว่า เหรียญสหรัฐ พนกั งานคนดงั กล่าวจะต้องได้รับการอนุมตั ลิ ่วงหน้าจากเจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กบั ดูแลกจิ การทเี กยี วข้อง อนงึ การให้เครืองใช้ใน ครัวเรอื นขนาดเลก็ ให้แก่บริษทั ควรได้รบั การพิจารณาเป็นพิเศษ โปรดศกึ ษานโยบายต่อต้านการติดสนิ บนและการทุจริตสากล \"แหล่งเดียว\" ครอบคลมุ ถงึ ทุกฝ่ ายทเี กยี วข้อง ซงึ รวมถึงแต่ไม่จาํ กดั เพียงลูกค้า ซพั พลายเออร์ ตวั แทนผ้ไู ด้รับมอบ อาํ นาจ ผู้จัดการหรือพนักงานของฝา่ ยเหล่านี 26

. การเลยี งรบั รอง ก. ขอ้ กําหนดทวั ไป: ในบางกรณีการเลียงรับรองทางธุรกิจมีบทบาทสาํ คัญในการเสริมสร้างความสมั พันธ์ทางธุรกจิ กบั คู่ ค้าทางธุรกิจ ซึงพนักงานของบริษัทสามารถรับการรับเชิญให้ร่วมหรือจัดงานเลียงรับรองเพือวัตถุประสงค์ทางธุรกิจที ได้รับอนุญาต เช่น การสร้างความสจุ ริตใจและปรับปรุงความสมั พันธก์ บั หุ้นสว่ นทางธรุ กจิ ทงั นกี ารการรบั เชิญให้ร่วมหรือ จดั งานเลียงรบั รองจะได้รบั อนุญาตกต็ ่อเมือการเลยี งรับรองดังกลา่ ว  จัดขึนเป็นบางครงั บางคราว (เช่น การร่วมงานกีฬา ละครเวที หรืองานวัฒนธรรมอืนๆ)  ไม่ได้มีการให้/รับเป็นสนิ บน จ่ายเพือตอบแทน หรอื เงนิ ใต้โตะ๊  มไิ ด้เป็นการสร้างการรบั รู้ว่าบคุ คลทีให้ของขวัญมสี ทิ ธไิ ด้รบั การปฏบิ ตั พิ เิ ศษหรือจะได้รบั ส่วนลดใด ๆ  เป็นไปตามข้อจาํ กดั เฉพาะตามทีกาํ หนดไว้ภายใต้นโยบายนี เว้นแต่ข้อจาํ กดั ขนั ตาํ จะได้รับการกาํ หนดโดยกฎหมาย และระเบยี บข้อบงั คับในท้องถิน ข. ขอ้ หา้ ม: ห้ามมใิ ห้รบั คาํ เชิญเพือเข้าร่วมหรอื จัดงานเลียงรบั รองดงั ประเภทต่อไปนจี าก/ให้กบั บคุ คลทสี ามเป็นอันขาด  การเลยี งรบั รองทสี ามารถมองได้ว่าเป็นงานทไี ม่สภุ าพตามเงอื นไขของกิจกรรมทางธรุ กจิ  กจิ กรรมทไี ม่สอดคล้องกับหลกั จรรยาบรรณสากลและนโยบายจรรยาบรรณทีเกยี วข้องหรือวัฒนธรรมของประเทศที มกี ารรบั มอบของกาํ นัลโดยการจัดการเลียงรับรองซงึ ไม่สอดคล้องกบั กฎหมายท้องถิน/ระดับประเทศและข้อบังคับ ทบี ังคบั ใช้ในประเทศทมี ีการรับเชญิ ให้ร่วมหรอื จดั งานเลียงรบั รอง  การเลยี งรับรองทบี ุคคลทสี ามอาจมองได้ว่าเป็นงานทสี ดุ โต่งเกนิ ควร  การเลียงรับรองทีอาจเป็ นไปเพือประโยชน์ส่วนตัวหรือผลประโยชน์ของตัวพนักงาน สมาชิกในครอบครัวหรือผู้ ใกล้ชิด  การเลยี งรับรองทเี กินข้อจาํ กัดเฉพาะดังทกี าํ หนดไว้ภายใต้นโยบายนี เว้นแต่ข้อจาํ กดั ขันตาํ จะถูกกาํ หนดเอาไว้โดย กฎหมายและระเบยี บข้อบงั คบั ในท้องถิน ค. ขอ้ จํากดั มูลค่าสาํ หรบั การเลยี งรบั รอง:  ผ้บู ริหารระดับสงู : เหรียญสหรัฐ ต่อคน  พนกั งานคนอนื ๆ ทงั หมด (ยกเว้นผู้บรหิ ารระดบั สงู ) ๑. ในประเทศตุรก:ี TL ต่อคน ๒. ในประเทศอนื ๆ: เหรียญสหรัฐ ต่อคน ง. การลงบนั ทึก: พนักงานทุกคนจะต้องลงบันทึกของตนเองเพือใช้ในการตรวจสอบและรับรองค่าใช้จ่ายทีเกียวข้องกบั การเลียงรับรองทไี ด้จัดให้โดยหรือในนามของบริษทั ซึงบันทึกทเี กียวข้องกับการเลียงรับรองจะต้องระบุชือของผู้เข้าร่วม งานและองค์กรทบี คุ คลเหล่านีเป็ นตัวแทนให้เพอื วตั ถุประสงคใ์ นการตรวจสอบ จ. การอนุมตั ิ: ควรได้รับการอนุมตั ลิ ่วงหน้าโดยผู้จัดการตามสายงานผ่านบญั ชีอเี มลของบรษิ ทั ก่อนทจี ะมีการเลยี งรับรอง ใด ๆ นอกจากนี ในกรณที มี ีการเลยี งรบั รองทมี มี ูลคา่ มากกว่าข้อจาํ กัด ควรได้รบั การอนุมัติจากผู้จดั การตามสายงานก่อน เสมอ 27

5. ของขวญั มูลค่านอกเหนอื ขอบเขต นับว่าเป็นเรืองปกติทีซัพพลายเออร์ ลูกค้า และคู่ค้าทางธรุ กิจรายอืนๆ ของบริษัทบางรายจะมอบหรือรับของขวัญ/ของ กาํ นัลทีมีมูลค่าสูง เช่น พวงกุญแจทีระลึกเพือส่งเสริมการขายทีมีมูลค่ารวมภายใต้ขีดจาํ กัดการรับและให้ของขวัญแก่ พนักงานภายในขอบเขตของการดําเนินธุรกิจของตน เมือมีการมอบหรือรับของขวัญดังกล่าวนี จะต้องได้รับการยืนยนั ว่า ไม่มีการเสนอให้โน้มน้าวในการตดั สนิ ใจของพนักงาน หรอื อาจถูกมองว่าอาจมเี หตุผลทสี ามารถโน้มน้าวการตัดสนิ ใจของ พนักงานได้ พนกั งานของบริษัทสามารถมอบหรือรบั ของขวญั แก/่ จากบคุ คลทีสามได้ โดยทขี องขวัญนนั :  จะไม่ก่อให้เกิดความเข้าใจว่าฝ่ ายทีมอบของขวัญนันจะได้รับการปฏิบัติเป็ นพิเศษและแตกต่างออกไป จะได้รับ ผลประโยชน์ทางธรุ กจิ จะได้ราคาทดี ขี ึน หรอื จะได้รับเงือนไขการขายทสี ง่ ผลประโยชนแ์ ก่ฝ่ ายนัน ๆ  จะไม่ใช่เพือผลประโยชน์สว่ นตวั หรือผลประโยชนข์ องตวั พนกั งาน สมาชิกในครอบครัว หรอื ผ้ใู กล้ชิด พนกั งานควรแบ่งปันของขวัญทีเป็นสงิ สามารถรับประทานได้ให้กบั สมาชกิ ในทมี และควรบริโภคในทที าํ งาน ดอกไม้นับว่าอยู่นอกขอบเขตของนโยบายนี . เจา้ หนา้ ทีของรฐั และองคก์ รของรฐั เนืองจากประเทศสว่ นใหญ่ทีบริษัทดาํ เนินธุรกิจอยู่นันมีข้อห้ามมิให้เสนอสิงมีค่าใดๆ ให้แก่เจ้าหน้าทีของรัฐ หรือบุคคล สาธารณะทางการเมือง (PEPS) เพอื ให้ได้มาหรอื คงไว้ซึงธุรกจิ จงึ ควรใช้ความระมัดระวงั สงู สดุ อยู่ตลอดเวลา การมอบของขวัญ/ของกาํ นัลหรือการเลียงรับรองเจ้าหน้าทีรัฐจะได้รบั อนุญาตเฉพาะในกรณีดงั ต่อไปนี  การทาํ ธรุ กรรมนนั เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบข้อบงั คบั ในท้องถิน  ของกาํ นัลหรอื การเลยี งรบั รองนันไม่ใช่หรืออาจไม่ถูกมองว่าเป็นสินบน คา่ ตอบแทน หรอื เงนิ ใต้โตะ๊  เหตุผลในการมอบของขวัญ/ของกาํ นัลหรือการเลียงรับรองนันมีการอธบิ ายไว้อย่างสมเหตุสมผลและจัดทาํ เป็ น เอกสารโดยประกอบด้วยการอนุมัตลิ ่วงหน้าอย่างเหมาะสมโดยผู้อาํ นวยการแผนกความยังยืนและกจิ การองคก์ รและ เจ้าหน้าทฝี ่ ายกาํ กับดูแลกจิ การ  เจ้าหน้าทีฝ่ ายกาํ กับดูแลกิจการจะต้องแจ้งผู้จัดการผ่ายกาํ กับดูแลกิจการและความเป็ นส่วนตัวข้อมูลสากลก่อน ตัดสนิ ใจอนุมตั ิในระดบั ประเทศ  มูลค่าและความถีของของขวัญหรอื การเลียงรับรองต้องอยใู่ นระดบั เลก็ น้อยและไม่มากเกินควร  ธรุ กรรมจะต้องถูกบนั ทกึ ลงในสมดุ บญั ชีและมีการลงบนั ทกึ อย่างถกู ต้อง รัฐบาล/เจ้าหน้าทขี องรฐั มคี าํ จาํ กดั ความอย่างกว้าง ๆ ว่าเป็นองคก์ รทเี กยี วข้องกับบคุ คลอนั หลากหลาย ซึงรวมถงึ แต่ไม่ จาํ กัดเพียงบุคคลดงั ต่อไปนี  พนักงานทที าํ งานในหน่วยงานของรัฐ (เช่น เจ้าหน้าทขี องรฐั ตาํ รวจ)  พนกั งานรฐั วิสาหกจิ 28

 พนกั งานพรรคการเมอื ง ผู้สมคั รทางการเมือง  บุคคลซึงอยู่ในตาํ แหนง่ นติ ิบัญญตั ิ บริหาร หรอื ตลุ าการในต่างประเทศ  บคุ คลใดกต็ ามทที าํ หน้าทใี ห้บริการด้านสาธารณะในต่างประเทศ  ผู้พิพากษา สมาชกิ คณะลกู ขุน หรือเจ้าหน้าทีอนื ๆ ทที าํ งานในศาลระหว่างประเทศหรือศาลต่างประเทศหรือศาลใน ต่างประเทศ  สมาชิกของรฐั สภาระหว่างประเทศหรอื ในต่างประเทศ บคุ คลทีปฏบิ ัตหิ น้าทสี าธารณะในต่างประเทศ รวมทังใน สถาบันของรฐั หรือรัฐวิสาหกจิ  พลเมืองหรืออนุญาโตตลุ าการในตา่ งประเทศทีได้รบั มอบหมายให้ทาํ งานในกระบวนการอนุญาโตตลุ าการเพือแก้ไข ข้อพิพาททางกฎหมาย และ  เจ้าหน้าทหี รอื ตวั แทนทที าํ งานในองคก์ รระหว่างประเทศหรอื นอกประเทศทีได้รบั การจัดตังขึนตามข้อตกลงระหว่าง ประเทศ บคุ คลซึงได้รับหรอื ได้รบั มอบหมายให้ทาํ หน้าทใี นด้านสาธารณประโยชนอ์ ย่างเด่นชัด . บทบาทและความรบั ผิดชอบ นโยบายการรับมอบของขวัญและการเลียงรับรองของบริษัทจัดพิมพ์โดยฝ่ ายกฎหมายและกาํ กับดูแลกิจการของบริษัท และทางบริษทั มีหน้าทีรับผิดชอบในการตรวจสอบให้ แน่ใจว่าพนักงานทุกคนจะต้องปฏิบัติตามนโยบายทุกคน ซึงการ ละเมิดนโยบายนีจะสง่ ผลให้มีการลงโทษทางวินยั ไปจนถงึ และรวมถึงการเลกิ จ้าง นอกจากนี ในด้านทีเกียวข้องกับจุดยืนของบริษัทในการดําเนินการแก้ไขและ/หรือป้ องกันพฤติกรรมการละเว้นการ ปฏบิ ัตติ าม ควรได้รับการพจิ ารณาอย่างสมาํ เสมอโดยผ้ทู เี กยี วข้อง เจ้ าหน้ าทีฝ่ ายกาํ กับดูแลกิจการ ได้ รับการแต่งตังจากผู้จัดการฝ่ ายกฎหมายและกาํ กับดูแลกิจการของบริษัท ให้ รบั ผิดชอบในการตรวจสอบการดาํ เนินงานของบรษิ ทั ในเรืองทเี กยี วข้องกบั นโยบายนี นโยบายนจี ะได้รบั การตรวจสอบเป็นระยะโดยฝ่ ายกฎหมายและกาํ กบั ดูแลกิจการตามทีได้รับมอบหมายเพือให้แน่ใจว่ามี การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและข้อบงั คบั ใหมห่ รือตามฉบบั ทีได้มกี ารแก้ไข วันทใี นการปรับปรงุ ข้อมูลล่าสดุ กรกฎาคม พ.ศ. 29

นโยบายกฎหมายแข่งขัน ทางการค้าสากล (Global Competition Law Policy) 30

นโยบายกฎหมายการแข่งขนั สากล การละเมิดกฎหมายการแข่งขนั ทางการค้าอาจถกู การดาํ เนินการทางกฎหมายทงั ตอ่ บริษทั และพนกั งาน เช่น ค่าปรบั ค่าชดเชย และความเสียหายต่อชือเสยี ง ในบางประเทศพนักงานอาจถูกดาํ เนินคดี อาร์เซลกิ ฮิตาชิ โฮม แอพพลายแอนซ์และบริษทั ในเครือ (“บริษทั ”) เราเอาใจใสพ่ นักงานและหุ้นสว่ น ทางธุรกจิ เพือให้ปฏิบตั ิตามกฎหมายการแข่งขันทางการค้า ตวั อย่างหลกั ในการละเมิดกฎหมายการแขง่ ขนั ทางการค้ามดี ังนี  ต่อต้านข้อตกลงการแข่งขนั ทางการค้า หรือปรึกษาหารือกบั คู่แข่งการค้าหรือห้นุ สว่ น เช่น ลูกค้า ผู้ ให้บริการ ผ้ผู ลิตซึงปฏบิ ัติงานต่างกนั ในการวงจรการผลิตหรือห่วงโซ่การจดั จาํ หน่าย  แลกเปลียนข้อมูลการแข่งขันทอี ่อนไหวต่อคูแ่ ข่งการค้า  การใช้อาํ นาจเหนอื ตลาดอย่างไม่เป็นธรรม . คู่มอื การปฏิบตั ิตามกฎหมายการแข่งขนั นโยบายนีเพิมเติมจากค่มู อื การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายการแข่งขนั ซึงระบขุ ้อมลู รายละเอยี ด 2. อํานาจหนา้ ทีและความรบั ผดิ ชอบ การละเมิดนโยบายการแข่งขันทางการค้าอางส่งผลให้ถกู ดาํ เนินการทางวนิ ยั รวมถึงเลกิ จ้าง ผู้จดั การด้านการแข่งขันทางการค้าเป็นพนกั งานของบริษทั ทไี ด้รับมอบหมายจากผ้อู าํ นวยการฝ่ าย กฎหมายและกาํ กบั ดูแลกจิ การเพือรับผิดชอบดูแลการดาํ เนนิ กจิ การให้เป็นไปตามนโยบาย นโยบายและค่มู ือการปฏบิ ัติตามกฎหมายการแข่งขนั จะทบทวนโดยผู้จัดการด้านการแข่งขนั ทางการค้า เพือให้มันใจว่าเป็นไปตามกฎหมายใหม่หรือมกี ารดาํ เนนิ การและมีการปฏบิ ัติ ร่นุ วนั ท:ี 01.07.2021 31

นโยบายต่อต้านการฟอกเงนิ สากล (Global Anti Money Laundering Policy) 32

นโยบายการต่อตา้ นการฟอกเงนิ สากล จุดมุ่งหมายของนโยบายนี คือ การกาํ หนดแนวทางในการสังห้ามและการติดตามการฟอกเงิน และการระดมทุนของผู้ก่อการร้ายหรืออาชญากรรมทางการเงินที อาร์เซลิก ฮิตาชิ โฮม แอ พพลายแอนซ์ และบริษัทในเครือ (“บริษัท”) และบุคคลทีสามทังหมดทีอาจเผชิญภายใน ขอบเขตของกิจกรรมทางธุรกจิ ภายใต้แนวคิดนี การดาํ เนินงานทังหมดของบริษัทเป็นไปตาม องค์ประกอบสาํ คัญของโปรแกรม ซึงรวมถึงการบ่งชีและการตรวจสอบลกู ค้าและบุคคลทีสาม การติดตามกิจกรรมของลูกค้า การรายงานและตรวจสอบกิจกรรมทีผิดปกติและน่าสงสัย การ อบรมเจ้าหน้าทปี ้ องกนั และตรวจจับการฟอกเงิน และการกาํ หนดเจ้าหน้าทีรายงานการฟอกเงนิ โดยเฉพาะ นโยบายนีจัดทาํ ขึนตามหลกั จรรยาบรรณสากลและกฎหมายและระเบียบท้องถินซึงมีผลบงั คบั ใช้ ในประเทศทบี ริษัทดาํ เนินกิจการเพือให้แน่ใจว่ามีการปฏิบัติงานด้วยความมุ่งมันต่อกฎหมาย และระเบียบท้องถินและระหว่างประเทศทีเกียวข้องทังหมด (เช่น พระราชบัญญัติการจัดหา เงินทุนของผู้ก่อการร้าย POCA ( พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดทางอาญา) พระราชบญั ญตั ิการฟอกเงนิ ) นโยบายนีถกู นาํ มาใช้กับพนักงานของบริษัททุกคน ซึงพนกั งานทุก คนต้องปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบเกียวกบั การต่อต้านการฟอกเงินและการจัดหาเงินทุน ของผู้ก่อการร้ายในประเทศทีบริษัทดาํ เนินกิจการ ความล้มเหลวทีเกิดจากการไม่ดาํ เนินการ ดังกล่าวอาจส่งผลให้บริษัทและพนักงานได้รับโทษทางอาญา ทางแพ่ง และระเบียบข้อบังคับ อย่างร้ายแรง 1. คํานยิ าม การฟอกเงิน คือ การปลอมแปลงหรือปกปิ ดสินทรัพย์ทางการเงินทีได้รับมาโดยวิธีการทีผิด กฎหมาย อันเป็ นการกระทาํ ทางอาชญากรรมทีจะดาํ เนินการและปลอมแปลงแหล่งทีมาของ สินทรัพย์ด้วยความไม่ชอบทางกฎหมาย ซึงมักกระทาํ โดยการนําทรัพย์เข้าสู่ระบบ การทับซ้อน ธุรกรรม และการปนทรัพย์ การฟอกเงนิ อาจกระทาํ โดยเจตนาในการทาํ ธุรกรรมทางการเงินด้วย เงนิ ทไี ด้จากอาชญากรรมหรือประมาทเลินเล่อเมินสญั ญาณเตือนสาํ หรับกิจกรรมทีผิดปกติหรือ น่าสงสยั ในส่วนทเี กียวกบั ลูกค้าหรือธรุ กรรมทางการเงิน การจัดหาเงินทุนของผูก้ ่อการรา้ ย อ้างถึง กิจกรรมทีสนับสนุนทางการเงินแก่ผู้ก่อการร้าย บคุ คล กล่มุ องคก์ ร หรือผ้สู นับสนุนการกอ่ การร้ายทชี อบด้วยกฎหมายหรือไมช่ อบด้วยกฎหมาย การก่อการร้ายสามารถหาเงินจากกจิ กรรมทีผิดกฎหมาย เช่น การฉ้อโกงบตั รเครดติ การค้าอาวุธ ทผี ิดกฎหมาย และการค้ายาเสพติด ตลอดจนกิจกรรมทางอาชญากรรมอืน ๆ การจัดหาเงินทุน ของผู้ก่อการร้ายอาจเกยี วข้องกับการใช้เงินทุนทีได้มาโดยชอบด้วยกฎหมาย ซึงทงั สองกรณีนีมี วัตถุประสงค์เพือปกปิ ดแหล่งทมี าและการใช้เงินขันสุดท้าย เช่นเดียวกับการฟอกเงิน ลักษณะ ของความเชือมโยงทงั ทางตรงและทางอ้อมกบั การก่อการร้ายทาํ ให้เกดิ ความเสยี งด้านกฎระเบียบ และชือเสยี งแก่บริษทั ในระดับทยี อมรับไม่ได้ 33

บุคคลทีเกยี วขอ้ งกบั การเมอื ง (PEPs) คือ บคุ คลทไี ด้รับหรือได้รับมอบหมายให้ดาํ รงตาํ แหน่ง สาธารณะทีโดดเด่นในประเทศหรือต่างประเทศ ตัวอย่างเช่น ผู้นํารัฐหรือผู้นํารัฐบาล นักการเมืองอาวุโสหรือเจ้าหน้าทีของรัฐ เจ้าหน้าทีตุลาการหรือทหาร ผู้บริหารระดับสูงของ องคก์ รของรัฐ เจ้าหน้าทพี รรคการเมอื งทโี ดดเดน่ ประเทศอ่อนไหว คือ ประเทศทีมีการต่อต้านการฟอกเงินเชิงกลยุทธ์/การต่อต้านการจัดหา เงนิ ทุนจากการขาดดุลการก่อการร้ายซึงยังไม่มีความคืบหน้าทเี พียงพอในการจัดการกับการขาด ดุลหรือ ไม่ได้ กําหนด ไว้ ในแ ผนปฏิบัติการ ตา มมา ตร การ ทางก าร เงินเ กียวกับ การฟอ กเ งิ น (FATF) ลูกคา้ อ่อนไหว คอื บคุ คลหรือนิตบิ ุคคลทมี ีความสมั พนั ธ์ทางธรุ กจิ กับประเทศทมี ีความอ่อนไหว ค่าอํานวยความสะดวก คือ การจ่ายเพือ “การดาํ เนินการประจาํ วันของหน่วยงานของรัฐ” ที เกียวข้องกับการกระทาํ ทีไม่เป็นไปตามดุลยพินิจ ตัวอย่างของ “การดาํ เนินการประจาํ วันของ หน่วยงานของรัฐ” ได้แก่ การดาํ เนินการขอวีซ่า การขอความคุ้มครองจากตํารวจหรือบริการ ไปรษณีย์ และการจัดหาสาธารณปู โภค เช่น บริการโทรศพั ท์ ไฟฟ้ า และนาํ ประปา การดาํ เนนิ การ ประจาํ วันของรัฐบาลนันไม่นบั รวมการตดั สนิ ใจทจี ะให้รางวัลธรุ กิจใหม่หรือดาํ เนนิ ธุรกจิ ตอ่ ไปกับ ฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง และไม่รวมถึงการกระทาํ ทอี ยู่ในดลุ ยพินจิ ของเจ้าหน้าทหี รือทอี าจถือเป็ นการใช้ สํานักงานของเจ้าหน้าทีในทางทีผิด ดังนัน การจ่ายเงินจํานวนเล็กน้อยเพือเปิ ดใช้พลังงานที โรงงานอาจนับเป็นค่าอาํ นวยความสะดวก หากมีคาํ ถามหรือข้อสงสัยเพิมเติมเกียวกับข้อมูลข้างต้น โปรดติดต่อผู้จัดการฝ่ ายการคุ้มครอง ข้อมูลสว่ นบคุ คลและกาํ กบั ดูแลการปฏบิ ตั ิงานสากล 2. กจิ กรรมทีนา่ สงสยั พนักงานของบริษัทควรระมัดระวังธงแดงการฟอกเงินและรายงานกิจกรรมทีน่าสงสัยต่อ เจ้าหน้าทีกาํ กับดูแลการปฏิบัติงานโดยวิธการตามแนวทาง ดูรายการสถานการณ์ธงแดงทีไม่ สมบูรณ์ดงั ข้างล่างนี  ซัพพลายเออร์ ลูกค้า หรือบุคคลทสี ามทไี ม่ได้ให้ข้อมูลทีครบถ้วน ข้อมูลทีเป็ นเทจ็ หรือน่า สงสยั หรือความวิตกกังวลทจี ะปฏบิ ัติตามข้อกาํ หนดการรายงานหรือการเกบ็ บันทกึ  ลกู ค้าทยี ินยอมจ่ายสงู กว่าเงือนไขตลาด  ลูกค้าหรือซัพพลายเออร์ทีเรียกร้องให้ชําระเงินเป็นเงินสดหรือวิธีการทเี ท่ากับการจ่ายด้วย เงินสด  ธรุ กรรมทางการเงินทเี กียวข้องกบั กล่มุ ประเทศทมี ีความเสยี งสงู กาํ หนดโดย FATF  การโอนเงนิ ทผี ิดปกติไม่เป็นไปตามหลกั การและเหตุผลทางธรุ กิจของธุรกรรมทางการเงนิ ที เกียวข้อง 34

 ธนาณัติ เชค็ เดนิ ทาง หรือเงนิ สดจาํ นวนมาก  การชาํ ระเงนิ ด้วยสกุลเงนิ อืนนอกเหนือจากทรี ะบไุ ว้ในข้อตกลง  การชาํ ระเงินทเี รียกเกบ็ โดยบคุ คลทสี ามซงึ ไม่มีชืออยู่ในสญั ญาทเี กียวข้อง  ใบเสรจ็ รบั เงินทผี ดิ ปกติจากบุคคลหรือนติ ิบุคคลใด ๆ โดยไมท่ ราบแหล่งทีมาของเงิน  การชําระเงินให้กับบุคคลหรือนิติบุคคลทีอาศัยอยู่ในประเทศทีเรียกว่า \"ดินแดนภาษีตาํ \" หรือผ่านการโอนเงินเข้าบัญชี \"ธนาคารเชลล์\" หรือการได้รับเงินโอนเข้าหรือโอนออกที ผิดปกตจิ ากต่างประเทศซงึ ไม่เกียวข้องกบั การทาํ ธุรกรรมทางการเงนิ  การชําระหรือการได้รับเงินจากหน่วยงานทีไม่สามารถระบุโครงสร้างผู้ถือหุ้นหรือผู้รับ ผลประโยชนข์ ันสดุ ท้ายได้ หากมขี ้อสงสยั โปรดตดิ ต่อฝ่ ายกฎหมายและกฎระเบียบสากลเพือขอรับคาํ แนะนาํ 3. ทําความรูจ้ กั ลูกคา้ ของคุณ (“KYC”) บริษัทและพนักงานต้องมีความระมัดระวังและความขยันในการตรวจสอบเมือมีการติดต่อกับ ลูกค้าเพือหลีกเลียงการจงใจปิ ดบังการฟอกเงินหรือกิจกรรมทนี ่าสงสัยอืน ๆ เพือให้สอดคล้อง กบั นโยบาย บริษทั และพนักงานจึงต้องปฏิบัติตามหลกั การดังต่อไปนี  ต้องมีข้อมูลเกียวกับสภาพแวดล้อมทางธุรกิจและวัตถปุ ระสงค์ของธุรกิจของบุคคลทีสามที มากพอสมควร  ต้องประเมินความเสียงในการฟอกเงินทีเกียวข้องกับบุคคลทีสามเพือจุดประสงค์ในการ ตดิ ตามตรวจสอบกจิ กรรมของบุคคลทีสาม  ต้องประเมินความซือสัตย์ของบุคคลทีความเป็นไปได้ว่าจะเป็นลกู ค้าและความสัมพันธ์ทาง ธุรกจิ อืน ๆ  ต้องตรวจสอบเจ้าของ ผู้จัดการ และผู้รับผิดชอบหลักตามรายการเฝ้ าระวังและข่าวกรอง ชือเสยี งผ่านผู้ตรวจสอบ  ต้ องมีการวิจัยสือทังภาษาอังกฤษและภาษาท้องถินเกียวกับเจ้ าของ ผู้จัดการ และ ผ้รู ับผดิ ชอบหลกั  ต้องมีการดาํ เนินการตรวจสอบลูกค้า ซัพพลายเออร์ และผู้จัดจาํ หน่ายทีมีโปรไฟล์ทีเสียง อย่างต่อเนือง  ต้องมกี ารสอื สารกบั ผู้มีส่วนได้เสยี ให้ทราบถงึ ความคาดหวังในการปฏบิ ัติตามข้อกาํ หนดของ บรษิ ทั ตลอดเวลา ในกรณีทมี ีเหตุผลทีทาํ ให้สงสัยคู่ค้าทางธุรกิจเนืองจากการกระทาํ ผิดทเี กียวข้องกับการติดต่อ การปฏสิ มั พันธ์ การทาํ ธุรกรรมทางการเงินกับบริษัท ต้องรายงานการกระทาํ ทีน่าสงสยั เหล่านัน ไปยังผู้จัดการฝ่ ายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลและกาํ กับดูแลการปฏิบัตงิ านสากลทันทเี พือทาํ การการสอบสวนเพิมเติม 35

4. บทบาทหนา้ ทีและความรบั ผดิ ชอบ พนักงานทุกคนต้องปฏบิ ตั ิตามข้อกาํ หนดทกี าํ หนดไว้ในนโยบายนี นโยบายนีถูกเผยแพร่โดยฝ่ าย การเงินเพือแก้ไขและ/หรือป้ องกันพฤติกรรมทีไม่ปฏิบัติตามข้อกําหนดรวมถึงการเลิกจ้าง เจ้าหน้าทกี าํ กับดูแลการปฏิบัติตามกฎระเบียบ คือ พนักงานของบริษัททีได้รับการแต่งตังโดย ผู้จัดการฝ่ ายกฎหมายและการปฏิบัติตามข้อกาํ หนดของบริษัทมีหน้าทีรับผิดชอบติดตามการ ดาํ เนนิ งานของบริษัททงั หมดทเี กียวข้องกบั นโยบายนี นโยบายนีจะได้รับการตรวจสอบตามระยะเวลาทีกาํ หนดโดยฝ่ ายกฎหมายและการปฏิบัติตาม ข้อกาํ หนดของบริษัทเพือให้มันใจว่าข้อกาํ หนดใหม่หรือทแี ก้ไขเพิมเติมเป็นไปตามกฎหมาย ฉบบั วันท:ี 1 กรกฎาคม 2564 36

นโยบายการปกป้ องและ เกบ็ รักษาข้อมูลสากล (Global Protecting and Retaining Information Policy) 37

นโยบายการปกป้ องและเกบ็ รกั ษาขอ้ มูลสากล อารเ์ ซลคิ ฮติ าชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ . ประเภทต่าง ๆ ในการลงบนั ทึก นโยบายนีบงั คบั ใช้กบั ข้อมลู ทมี กี ารลงบันทกึ อยู่ในสงิ ต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี:  กระดาษ  ไฟลอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์ รวมถึงแต่ไม่จาํ กดั เพียงฐานข้อมูล เวิร์ดโดคูเมนท์ พาว์เวอร์พอยท์ สเปรดชีต เวบ็ เพจ และอเี มล  ภาพถ่าย ภาพสแกน ซีดีรอมและเมมโมรีสตกิ นโยบายนมี จี ุดม่งุ หมายเพือให้ครอบคลมุ การบันทกึ ในทกุ ประเภททบี ริษัทสร้างขึน เช่น  เอกสารการกาํ กบั ดูแลกจิ การทังหมด เช่น เอกสารของกรรมการและคณะกรรมการ รายงานการประชุม  เอกสารและข้อมูลทังหมดทีจะเกบ็ ไว้ภายในระยะเวลาการถอื ครองทางกฎหมายภายใต้ขอบเขตของกฎหมายและ ระเบียบข้อบังคับในท้องถิน ซึงมีผลบังคับใช้ในประเทศที อาร์เซลิค ฮิตาชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ (\"บริษัท\") ดาํ เนนิ การอยู่  สญั ญาตา่ ง ๆ  เอกสารทงั หมดทเี กยี วข้องกับการวิจยั และพัฒนา / ทรพั ย์สนิ ทางปัญญาและความลบั ทางการค้า  ใบอนุญาตซอฟตแ์ วร์เทคโนโลยีและข้อตกลงทีเกยี วข้อง  เอกสารการตลาดและการขาย  ใบแจ้งหนตี ่าง ๆ  บันทกึ ของพนักงานทงั หมด  จดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (อเี มล์) 2. การจําแนกประเภทการบนั ทึก กระบวนการทางธรุ กิจทีมีอยู่มีความจาํ เป็นในการสร้างมูลค่าของการลงบันทกึ ซึงในระหว่างกระบวนการนี หมวดหมู่ใน การลงบันทกึ ทงั หมดจะต้องได้รบั การตรวจสอบและประเมินผลตามแต่ละประเภท  คุณค่าทางกฎหมาย  มูลค่าการดาํ เนนิ งาน  คุณค่าทางประวัตศิ าสตร์ ดังนัน บันทกึ และเอกสารต่าง ๆ จึงถูกจัดเกบ็ เป็ นประเภท \"สาธารณะ ส่วนบุคคล และเป็ นความลับ\" ซึงตารางการเกบ็ รักษาข้ อมูลของบริษัทได้ รับการพัฒนาและประกอบขึนโดยคํานึงถึงการจัดประเภทการลงบันทึกโดยปฏิบัติตามภาระ ผูกพันทางกฎหมาย การบริหาร การเงนิ และ/หรือในอดตี 38

. ระดบั การจําแนกประเภท ก. สาธารณะ: คือเอกสาร/บันทึกทีได้รับการเผยแพร่ต่อสาธารณะโดยฝ่ ายสือสารองค์กรทีได้รับอนุญาต ซึงข้อมูล ดังกล่าวมีข้อมูลสาธารณะทสี ามารถเปิ ดเผยได้โดยไม่กระทบต่อบริษัทฯ การไม่ปฏิบัติตามความเป็นส่วนตัวของบุคคล หรือความรู้อันเกียวกับข้อมูลนี จะไม่ส่งผลให้บรษิ ทั หรือบริษัทในเครือได้รับความสูญเสียทางการเงินหรือชือเสียงใดๆ หรือไม่เป็นภยั ต่อความมันคงของทรัพย์สนิ ของบริษัท ข. ส่วนบุคคล: คือเอกสาร/บันทึกอันประกอบด้วยข้อมูลและ/หรือข้อมูลของบุคคล (สาํ หรับการใช้งานส่วนตัวทีไม่ เกยี วข้องกบั ธุรกิจแตอ่ ย่างใด) ซงึ รวมถงึ อเี มล ตารางต่าง ๆ และเอกสารอนื ใดทเี ป็นของแตล่ ะบคุ คล ค. ความลบั : คือข้อมลู ทกุ ประเภททไี ม่สามารถเปิ ดเผยต่อสาธารณะได้หรือไม่สามารถเปิ ดเผยต่อสาธารณะโดยบริษัทถือ เป็นความลับ ซึงรวมถึงแต่ไม่จาํ กดั เพียงข้อมูลทางเทคนคิ การดาํ เนนิ งาน และข้อมูลทางการเงนิ ซึงข้อมูลทีเป็นความลับ ครอบคลุมถึงข้อมูลทุกประเภททีเกียวข้องกับบันทึกของลูกค้าหรือผู้ขาย พนักงานปัจจุบันและอดีต บุคคลภายนอกที บริษัทมีปฏิสัมพันธ์ทางธุรกิจด้วยและข้อมูลด้านความมันคงของชาติทีได้รับการเกบ็ รักษาไว้เนืองจากตําแหน่งของ พนกั งาน 4. หลกั การทวั ไปเกียวกบั ขอ้ มูลอนั เป็ นความลบั ภายใต้แนวคิดของกิจกรรมทางธุรกิจและความสัมพันธก์ ับบุคคลทีสาม บริษัทสามารถประมวลผลข้อมูลอนั เป็นความลบั ได้ด้วยเหตผุ ลตา่ ง ๆดังต่อไปนี:  เหตผุ ลด้านกฎระเบียบในการปฏบิ ตั ิตามภาระผูกพัน  เหตผุ ลทางเทคนิคในการพัฒนาและรักษาคณุ ภาพของผลติ ภัณฑ์  เหตผุ ลในด้านสญั ญาในการดาํ เนินการหรือจดั การการดาํ เนนิ ธุรกิจ หรือเพือการจัดตัง ดาํ เนินการ หรือแก้ต่างในข้อ เรยี กร้องทางด้านกฎหมาย  ปฏสิ มั พันธก์ บั ลูกค้าหรอื ผ้ขู ายทเี กยี วข้องกบั การดาํ เนนิ ธุรกจิ ของบริษทั เพือทาํ การตอบหรอื สอบถาม  เหตผุ ลในด้านการทาํ ธุรกรรม เช่น การจัดสง่ การสง่ มอบ การขนสง่ และการให้บริการสนับสนนุ  เรืองการเงิน ซึงรวมถึงแต่ไม่จาํ กัดเพียงการประมวลผลในการชาํ ระเงิน การบัญชี การตรวจสอบ การเฝ้ าระวัง การ เรยี กเกบ็ เงนิ และการรับเงิน  เหตุผลในด้านลกู ค้า ผู้ขาย หรือบุคคลทีสาม ครอบคลุมถึงข้อมูลองค์กร การวิจัยตลาด การเปรียบเทยี บผลิตภณั ฑ์ และแบบสอบถามต่าง ๆ  ข้อพิจารณาด้านความปลอดภัยในการปกป้ องและบาํ รุงรักษาบริษัท ผลิตภัณฑ์ บริการ เวบ็ ไซต์ และสถานทที าํ งาน ซึงพนักงานของบริษัทรับทราบว่าการละเมิดการรักษาความลับ ในระหว่างและหลังการจ้างงาน และการเปิ ดเผย ข้อมูลทีเป็นความลับโดยไม่ได้รับอนุญาตให้กับบุคคลทีสาม อาจส่งผลให้เกิดการเสียเปรียบทางการแข่งขันอย่าง ร้ายแรงต่อบริษัท ในขณะทีอาจก่อให้เกิดความเสียหายทางด้านการเงิน ทางกฎหมาย และความเสยี หายประเภท อืนๆ แก่บริษัทอย่างมหาศาลได้ ซึงภาระหน้าทใี นการไม่เผยแพร่หรือเปิ ดเผยข้อมูลอนั เป็นความลับนนั จะถูกนาํ ไป บงั คบั ใช้แม้ข้อมลู ทเี กยี วข้องนนั อาจไม่ได้ระบหุ รอื ทาํ เครืองหมายเป็นความลับโดยเฉพาะเจาะจงกต็ าม 39

ด้วยภาระผูกพันของบริษัททีเกียวข้องกับข้อมูลอันเป็นความลับ กฎเกณฑ์ดังต่อไปนีจะต้องถูกนาํ มาพิจารณาเป็นอย่าง น้อย:  ข้อมูลอนั เป็นความลับไม่สามารถนาํ มาใช้เพือเปลยี นโอกาสทางธรุ กิจของบรษิ ัทโดยเจตนาเพือการใช้งานส่วนตัวได้  ห้ามมิให้รบั ซอื ขายหุ้นของบริษทั หรอื หุ้นของบริษทั อืนใดตามความร้ทู ไี ด้มาจากข้อมูลอนั เป็นความลบั  ห้ามเปิ ดเผยข้อมูลทเี ป็นความลบั แกบ่ คุ คลภายนอกเพือซือขายห้นุ  การสบื หา รับ หรอื ใช้ข้อมลู ทเี ป็นความลับของหรือจากคู่แข่งของบริษทั นับว่าผิดต่อกฎหมาย การหมนุ เวยี นและการถ่ายโอนข้อมูลอนั เป็นความลับจะกระทาํ ได้ภายใต้กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ดังต่อไปนี:  ในสว่ นทีเกียวกับเป้ าหมายของบริษทั ในการปฏิบัติตามกฎและข้อบังคับทังหมดของประเทศทีดาํ เนินการ ข้อมูลที เป็นความลับสามารถถ่ายโอนไปยังหน่วยงานทีบังคับใช้กฎหมายหรือหน่วยงานทกี าํ กับดูแลโดยได้รับอาํ นาจทาง กฎหมายได้ตลอดเวลา  ข้อมูลอันเป็นความลับสามารถแบ่งปันให้กับผู้ให้บริการตามสญั ญาของบริษทั ทราบได้ โดยการรักษาความลับนัน ได้รับการคุ้มครองตามเงือนไขสัญญาหรือข้อตกลงการไม่เปิ ดเผยข้อมูล ซึงจะต้องปฏบิ ัติตามคาํ แนะนาํ ของบริษัท เท่านัน . ระยะเวลาการเก็บรกั ษาขนั ตํา ด้วยการใช้เกณฑม์ ลู ค่าในการบนั ทกึ บรษิ ทั ได้พัฒนาระยะเวลาในการเกบ็ รักษาระเบียนและเอกสารในแต่ละประเภทตาม คาํ แนะนาํ และขันตอนการจัดทาํ ตามกาํ หนดการ โดยจะปฏบิ ตั ติ ามภาระผกู พันด้านการบริหาร การเงิน และ/หรือในอดีต อย่างครอบคลมุ ซึงกาํ หนดการเกบ็ รกั ษาขันตาํ ทแี นะนาํ จะถูกกาํ หนดสาํ หรบั บันทกึ และประเภทเอกสารแตล่ ะประเภทโดย บริษัทซึงมีการระบุกฎหมายและข้ อบังคับในประเทศและระหว่างประเทศ บริษัทจะเกบ็ บันทึกและเอกสารเกียวกับ กาํ หนดการและขันตอนการเกบ็ รักษาของบริษัท เว้นแต่กฎหมายและระเบียบข้อบงั คบั ใดๆ จะกาํ หนดให้มีระยะเวลาเกบ็ รักษาทนี านขึนหรือสันลงกว่ากาํ หนดการในการรักษาของบรษิ ัท โดยทีบริษัทจะต้องปฏิบัติตามคาํ แนะนาํ ของตารางเวลา ในการรกั ษาข้อมูลของบรษิ ัท ตราบใดทีไม่มีการระบุบันทึกและ/หรือเอกสารว่าให้คงรักษาไว้อย่างถาวร ระยะเวลาในการเกบ็ รักษาจะถูกระบุตาม ตารางเวลาในการเกบ็ รักษา ทงั นีเพอื “การเกบ็ รักษาอย่างถาวร” ได้มีการกาํ หนดการตรวจสอบและมีการกาํ หนดเวลาไว้ ภายในขนั ตอนตามระยะเวลาในการเกบ็ รักษา 6. การทําลาย แตล่ ะแผนกมหี น้าทรี บั ผดิ ชอบในการดูแลตารางเวลาในการเกบ็ รกั ษา ทงั นเี มอื หมดระยะเวลาเกบ็ รกั ษา บนั ทึกและ/หรือ เอกสารต่าง ๆ จะถูกตรวจสอบโดยผู้อาํ นวยการทีเกียวข้อง (หรือผู้รบั มอบสิทธิ) โดยจะต้องมีการปรึกษากบั ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียทเี กียวข้อง เช่น หัวหน้าฝ่ ายไอที หวั หน้าฝ่ ายกฎหมายและการปฏิบัติตามข้อกาํ หนด และ/หรือผู้จัดการอาวุโส อนื ๆ และจะต้องตกลงร่วมกนั ในการตัดสนิ ใจทาํ ลายเอกสารต่าง ๆ \"การตดั สินในดาํ เนนิ การทําลาย\" คอื การกระทาํ อนั หนึงอนั ใดดงั ต่อไปน:ี 40

 การเกบ็ รกั ษาบนั ทกึ หรอื เอกสารภายในบรษิ ัทต่อไป  การทาํ ลายบันทกึ หรือเอกสาร บันทึกและเอกสารทนี าํ มาพิจารณาจะต้องได้รบั การดาํ เนินการโดยเร็วทีสุดหลังจากสนิ สดุ ระยะเวลาเกบ็ รักษา เมือถึงการ ตดั สนิ ใจทาํ ลายจะต้องคาํ นึงถึงประการต่าง ๆ ดังต่อไปนี:  ความต้องการในความรบั ผิดชอบทางธรุ กิจอย่างต่อเนือง (รวมถึงการตรวจสอบ)  กฎหมายในปัจจุบัน หากบันทกึ และเอกสารมีคุณคา่ ทางประวตั ศิ าสตรห์ รอื การวิจัยในระยะยาว:  ควรคาํ นงึ ถงึ ความคุ้มค่าระหว่างค่าใช้จา่ ยทเี กยี วข้องกับการจัดเกบ็ แบบยังยืนกบั คา่ ใช้จา่ ยในการทาํ ลาย  ความเสียงในทางกฎหมาย การเมือง และชือเสียงทีเกียวข้องกับการเกบ็ รักษา การทาํ ลาย หรือการสูญเสียการ ควบคุมบันทึก/เอกสารจาํ เป็ นต้องได้รับการพิจารณา โดยแผนกกาํ จัดเอกสารจะต้องเกบ็ บันทึกการทาํ ลายเพือ วัตถุประสงค์ในการตรวจสอบในอนาคต ก. การเกบ็ รกั ษาบนั ทึกและเอกสารเพิมเตมิ โดยไมค่ าํ นึงถงึ นโยบายการเกบ็ รกั ษาบนั ทึกของบริษทั โดยไม่คาํ นึงถึงนโยบายการเกบ็ รกั ษาเอกสารบันทกึ ของบรษิ ทั หากบนั ทกึ และ/หรือเอกสารมีความจาํ เป็ นโดยสว่ นใดส่วน หนึงของธุรกิจ และเมอื ได้รับแจ้งถงึ การดาํ เนินคดี การสอบสวนของรัฐบาลหรือการดาํ เนนิ การทางกฎหมายอนื ๆ ต่อบริษัทแล้ว จะต้อง มีการเกบ็ รักษาบนั ทกึ และเอกสารต่าง ๆ เอาไว้ มิเช่นนนั บรษิ ัทจะต้องนาํ การดาํ เนนิ การทาํ ลายดงั ต่อไปนีมาบังคับใช้ ข. การทาํ ลายบนั ทึกทีเป็ นกระดาษ/อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละเอกสารต่าง ๆ การทาํ ลายควรกระทาํ ในลักษณะทีเป็ นการรักษาความลับของบันทึก/เอกสารและจะต้องสอดคล้องกับข้อตกลงการไม่ เปิ ดเผยข้อมูล ทงั นีควรลบสาํ เนาทงั หมดรวมทังสาํ เนาหรือสาํ รองไว้พร้อมกันในทศิ ทางเดียวกัน ซึงนโยบายในการเกบ็ รักษาบันทึกกาํ หนดให้ลบสาํ เนาแบบอิเล็กทรอนิกของกระดาษ/บันทึกอิเล็กทรอนิกส์ตามขันตอนเชิงไอที อนึงด้วย ข้อเทจ็ จริงทวี ่าการลบไฟล์ซอฟต์กอ๊ ปปี ไม่นบั ว่าเป็นวิธกี ารทีเพียงพอ ขันตอนนีควรเป็ นไปตามขันตอนเชงิ ไอที ทงั นีโดย ไม่คาํ นึงถึงนโยบายการเกบ็ รักษาบันทกึ ของบริษัท หากบันทึกและ/หรือเอกสารมีความจาํ เป็ นโดยสว่ นใดส่วนหนึงของ ธุรกจิ และเมือได้รบั แจ้งถงึ การดาํ เนนิ คดี การสอบสวนของรฐั บาลหรือการดาํ เนินการทางกฎหมายอืน ๆ ตอ่ บรษิ ัทแล้ว จะต้องมกี ารเกบ็ รกั ษาบนั ทกึ และเอกสารต่าง ๆ เอาไว้ มิเช่นนนั บริษทั จะต้องนาํ การดาํ เนนิ การทาํ ลายดังต่อไปนมี าบงั คบั ใช้ การทาํ ลายบนั ทึกใด ๆ ทีจัดเป็ นระดับความลบั จะต้องเป็ นการปฏบิ ัตติ ามกฎหมายและระเบยี บข้อบงั คับในท้องถินซงึ มีผล บงั คบั ใช้ในประเทศทบี ริษัทดาํ เนินการอยู่ . อํานาจหนา้ ทีและความรบั ผดิ ชอบ นโยบายนีได้รับการเผยแพร่โดยทางบริษัท และบริษัทมีหน้าทีรับผิดชอบในการตรวจสอบการปฏิบัติตามนโยบายโดย พนักงานทุกคน ซึงการละเมิดนโยบายนจี ะส่งผลใหม้ ีการลงโทษทางวินัย ตลอดจนถงึ และรวมถงึ การเลิกจ้าง 41

นโยบายนีจะได้รบั การตรวจสอบเป็นระยะโดยบริษัททีได้รับมอบหมายเพือให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ใหม่หรอื ฉบับทไี ด้รับการแก้ไข วนั ทใี นการปรับปรุงข้อมูลล่าสดุ กรกฎาคม พ.ศ. แก้ไขชือบรษิ ัทเมือวันที กรกฎาคม พ.ศ. จากคาํ ว่า อารเ์ ซลิค เป็นบริษัท 42

นโยบายสากลในการจัดซ� ือจดั จา้ ง อย่างความรับผิดชอบ (Global Responsible Purchasing Policy) 43

นโยบายสากลในการจดั ซ้ ือจัดจา้ งอยา่ งมีความรบั ผดิ ชอบ บทนา อารเ์ ซลิค ฮติ าชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ (\"บรษิ ัท\") ม่งุ มน่ั ในการสร้างความม่นั ใจในความพึงพอใจให้กบั ลูกค้าของเรา เพ่อื จดั หาผลติ ภณั ฑแ์ ละบริการด้วยคณุ ภาพและมาตรฐานสากลโดยใช้ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีมีอยู่จากัดอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ และเราขอมีส่วนสนบั สนุนการพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม ด้วยเหตนุ ้ี เราจงึ มีจุดม่งุ หมายในการเป็นสญั ลกั ษณ์ของความ ไว้วางใจ ความสบื เน่อื ง และความเคารพต่อลูกค้า ผ้ถู อื หุ้น พนักงาน ซัพพลายเออร์ ตัวแทนจาหน่าย และการให้บริการท่ี ได้รับอนุญาต กล่าวโดยย่อคอื ผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสยี ท้งั หมด – ท้งั ในระดับประเทศและทว่ั โลก บริษทั ของเราเป็นสว่ นหน่งึ ของ Arcelik A.S. Group ซ่งึ ได้ร่วมลงนามในข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ ซ่งึ อนุสญั ญาน้ี ประกอบด้วยหลกั การ 10 ประการทก่ี าหนดว่าด้วยสทิ ธมิ นุษยชน แรงงาน สง่ิ แวดล้อม และการต่อต้านการทุจริต อน่งึ อาร์ เซลคิ ฮิตาชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ ในฐานะผ้ถู อื หุ้นหลักของบรษิ ทั ยงั เป็นหน่งึ ในบริษัทแรกๆ ท่ีได้เข้าร่วมลงนามใน จรรยาบรรณท่ไี ด้รบั การเผยแพร่โดย โฮม แอพพลายแอนซ์ ยุโรป (Home Appliance Europe) (APPLIA) ด้วยนโยบายน้ี บรษิ ัทม่งุ มน่ั ในการสนบั สนนุ ให้ซพั พลายเออรป์ ฏบิ ตั ิตามปฏญิ ญาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ว่าด้วยหลักการและสทิ ธขิ ้นั พ้นื ฐานในการทางาน ปฏญิ ญาสากลว่าด้วยสทิ ธมิ นุษยชนแห่งสหประชาชาติ ข้อตกลง โลกแห่งสหประชาชาตแิ ละหลักการช้ีแนะขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยธรุ กจิ กบั สทิ ธมิ นุษยชน เพ่อื ให้สอดคล้องกบั ค่านิยมอนั แขง็ แกร่ง นโยบายและมาตรฐานทโ่ี ปร่งใส บริษทั คาดหวงั เสมอจากพนกั งานและพนั ธมติ ร ทางธุรกจิ ของบริษทั ในการปฏบิ ัติตามค่านยิ มทางจรยิ ธรรมข้นั สงู และอนั สอดคล้องกบั กฎหมายและข้อบังคบั ทเ่ี ก่ยี วข้อง ท้งั หมดในประเทศทพ่ี วกเขาดาเนินธรุ กจิ อยู่ ซ่งึ นโยบายน้ีกาหนดมาตรฐานทางจริยธรรมและกฎหมายซ่งึ ซพั พลายเออร์ ท้งั หมดของบริษทั จะต้องปฏบิ ตั ติ ามในการดาเนนิ ธุรกจิ ท้งั หมด อน่งึ นบั ว่าเป็นภาระผูกพนั ตามสญั ญาสาหรับซพั พลายเออรใ์ นการยอมรบั และปฏบิ ตั ิตามนโยบายน้ีภายในขอบเขตของ สญั ญาจัดซ้อื จดั จ้างของบริษทั ซ่งึ เป็นการร่วมลงนามระหว่างบริษทั และซพั พลายเออร์ ในกรณกี ารฝ่ าฝืนนโยบายน้ี บรษิ ทั ขอสงวนสทิ ธ์ใิ นการยกเลกิ สญั ญาจดั ซ้ือจัดจ้างทไ่ี ด้ทาร่วมกนั เอาไว้ 2. วตั ถุประสงค์ ขอบเขต และพ้ นื ฐานต่าง ๆ นโยบายน้ีได้รับการร่างข้นึ มาเพ่อื ให้แน่ใจว่าการดาเนนิ ธรุ กจิ ของซพั พลายเออร์น้นั จะสอดคล้องกบั ค่านยิ มของบรษิ ทั กฎหมาย และข้อบงั คับทเ่ี ก่ยี วข้อง และจะต้องได้รบั การปฏบิ ัติตามโดยซพั พลายเออร์ท้งั หมด ผ้สู มัครทต่ี ้องการเข้าร่วมเป็นซพั พลายเออรข์ องบรษิ ัทจะต้องอยภู่ ายใต้กระบวนการ “การว่าจ้าง/ประเมนิ ผ้จู ัดซ้อื จดั จ้าง” ซ่งึ ภายใต้กระบวนการน้ี ซัพพลายเออรจ์ ะได้รบั การประเมนิ ในลักษณะท่คี รอบคลมุ ในหลายข้นั ตอน รวมถงึ บรษิ ัท มมุ มอง นโยบายการจดั ซ้อื อย่างมคี วามรบั ผิดชอบ อน่งึ หากอารเ์ ซลิค ฮติ าชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ เลง็ เหน็ ถึงความจาเป็น ทาง 44

บริษทั พึงมสี ทิ ธใิ นการตรวจสอบซัพพลายเออร์ ณ สถานท่ที างาน หรอื ให้บรษิ ทั ตรวจสอบอสิ ระเข้าดาเนนิ การตรวจสอบ ภายในขอบเขตของนโยบายน้ไี ด้ 1 ซัพพลายเออรข์ อง อารเ์ ซลิค ฮติ าชิ โฮม แอพพลายแอนซ์ ในทน่ี ้ีเรยี กว่าซัพพลายเออร์ โครงการของนโยบายน้ีมที ้งั หมดสามเสาหลกั ในการดาเนนิ งานดังต่อไปน้ี • การป้ องกนั - ซพั พลายเออร์ทางานเพ่อื ปลูกฝงั วัฒนธรรมแห่งความซ่อื สตั ย์ในทุกระดับ ในทุกประเทศท่มี กี าร ดาเนนิ งานอยู่ • การตรวจจบั – สนับสนุนให้พนกั งาน ซพั พลายเออร์ พดู และแสดงความคิดเหน็ ต่อค่านิยมของบริษัท • การตอบสนอง – บริษทั มโี ครงสร้างพ้นื ฐานต่าง ๆ ท่จี าเป็นในการตรวจสอบการละเมิดอย่างเหมาะสม หากจาเป็น บริษทั จะต้องมบี ทลงโทษ ยนื ยนั การละเมดิ ด้วยแนวทางทเ่ี ป็นมาตรฐานและสม่าเสมอ และใช้สง่ิ ทเ่ี รียนร้เู พ่ือปรบั ปรงุ อย่างต่อเน่ือง บริษทั ดาเนนิ ธรุ กจิ ท้งั หมดของเราด้วยความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ และเคารพในสทิ ธมิ นุษยชนและปกป้ องผลประโยชน์ของ พนักงานและปรารถนาให้ซัพพลายเออร์ท้งั หมดของเรานากฎเหล่าน้ีไปบงั คับใช้และปฏบิ ตั ติ ามกฎเหล่าน้ีอย่างเคร่งครดั นโยบายน้ี นอกเหนอื จากการกาหนดมาตรฐานความประพฤตแิ ล้ว ยังกาหนดกฎเกณฑใ์ นด้านการต่อต้านการทุจรติ โดย เป็นการกาหนดให้ม่นั ใจว่าพนกั งานของซพั พลายเออร์ต่าง ๆ จะได้ทางานในสภาพแวดล้อมการทางานอนั มีเกยี รติ อกี ท้งั ยังกาหนดมาตรฐานสาหรบั การปกป้ องข้อมลู ต่าง ๆ และเป็นการช้ีแนะรปู แบบพฤตกิ รรมท่พี งึ ปฏบิ ัติให้กบั ซพั พลายเออร์ ของบริษทั เพ่อื นาไปใช้ในความสมั พนั ธภ์ ายนอกของบริษัทเหล่าน้นั นโยบายการจดั ซ้อื จดั จ้างอย่างมคี วามรับผิดชอบของบริษทั น้นั อาจไม่ตอบสนองต่อทกุ คาถามและปัญหาเฉพาะ หากไม่ ครอบคลุมถงึ สถานการณ์เฉพาะบางประการอย่างชัดแจ้ง วตั ถุประสงคข์ องนโยบายน้จี ะต้องได้รบั การยึดถอื โดยการใช้ สามญั สานกึ และวจิ ารณญาณท่ดี ตี ามเกณฑว์ ตั ถปุ ระสงค์ 3. ซพั พลายเออร์ - แนวปฏิบตั ิทางธุรกิจ 3.1 การปฏิบตั ิตามกฎหมาย ซัพพลายเออรจ์ ะต้องปฏบิ ัตติ ามกฎหมายและข้อบังคับท่เี ก่ยี วข้องต่าง ๆ (การประมวลผลและการปกป้ องข้อมูลส่วน บคุ คล การต่อต้านการทจุ ริต การแข่งขนั ทางการค้า สง่ิ แวดล้อม อาชวี อนามัยและความปลอดภยั สทิ ธใิ นทรพั ยส์ นิ ทาง ปัญญา ฯลฯ) และด้วยขอบเขตของข้อตกลงสญั ญาท่ีได้ถูกกาหนดข้นึ ภายใต้ขอบเขตของความสมั พนั ธต์ ามสญั ญาฉบับ ปัจจุบัน ซพั พลายเออรจ์ ะต้องปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายแรงงานท่บี งั คบั ใช้อยู่ในประเทศทต่ี นประกอบกจิ การในด้านช่วั โมงทางานและ สทิ ธใิ นการลาประจาปี ค่าจ้างทจ่ี ่ายให้กบั พนักงานของซัพพลายเออร์ ค่าล่วงเวลาและสทิ ธติ ามค่าจ้างจะต้องเป็นไปตาม กฎหมายแรงงานทบ่ี งั คับใช้ของประเทศท่ตี นดาเนนิ ธุรกจิ อยู่ 3.2 พนกั งาน 45

ซพั พลายเออร์จะต้องเคารพและยอมรบั ความหลากหลายทางชาตพิ ันธแุ์ ละวฒั นธรรม และจะต้องนามาตรการในการ ปกป้ องและส่งเสริมความหลากหลายมาบังคบั ใช้ และม่งุ ม่นั ทจ่ี ะสร้างสภาพแวดล้อมการทางานทม่ี ีโอกาสเท่าเทยี มกนั ความไว้วางใจซ่งึ กนั และกนั การเคารพในสทิ ธมิ นุษยชนโดยไม่เลอื กปฏบิ ตั ิ ซพั พลายเออรจ์ ะต้องว่าจ้างพนกั งานตามคุณสมบตั ิและความสามารถของพนักงานแต่เพียงเท่าน้นั และจะต้องทุม่ เทความ พยายามตามความจาเป็นในการพฒั นาทกั ษะของพนกั งาน อน่งึ แรงงานโดยการบังคบั ขืนใจ ค้ามนุษย์ หรือการใช้แรงงาน เดก็ ท่ไี ม่สอดคล้องกบั กฎหมายท่เี ก่ยี วข้องของซพั พลายเออร์จะไมไ่ ด้รับความยอมรบั ไม่ว่าในรูปแบบใดกต็ าม โดยท่ซี ัพ พลายเออรจ์ ะต้องใช้มาตรการทจ่ี าเป็นในการจดั การด้านสขุ ภาพ ความปลอดภัย และความม่นั คงของพนักงาน ซ่งึ การ ละเมิดความเป็นสว่ นตวั ของพนกั งานของซัพพลายเออรใ์ นรปู แบบใดๆ ในการล่วงละเมิดทางร่างกาย ทางเพศ ทางจิตใจ และ/หรอื ทางอารมณ์ในสถานทท่ี างานหรือทใ่ี ดกต็ ามท่พี นกั งานอยู่ด้วยเหตุจากการทางานน้นั ล้วนเป็นสง่ิ ท่ีไม่สามารถ ยอมรบั ให้เกดิ ข้นึ ได้ ซัพพลายเออร์จะต้องเคารพสทิ ธขิ องพนกั งานในการสร้างสหภาพและการตดั สนิ ใจเข้าร่วมเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน สทิ ธใิ นการจัดระเบยี บและการเจรจาต่อรองร่วมกนั ตามกฎหมาย 3.3 สิทธิมนุษยชน ซพั พลายเออรจ์ ะต้องปกป้ องและเคารพสทิ ธมิ นษุ ยชน ศักด์ิศรคี วามเป็นมนุษย์ และความเป็นสว่ นตวั ของชุมชนของผ้ทู ่ี ได้รบั ผลกระทบจากซัพพลายเออรผ์ ่านกจิ กรรมทางธุรกจิ ของบรษิ ทั ของตน ซพั พลายเออร์จะต้องควบคุมให้บริษทั ของตนดาเนินกจิ กรรมเชงิ พาณชิ ยท์ ้งั หมดโดยไม่เบ่ยี งเบนไปใช้ความรุนแรงหรอื การล่วงละเมิด โดยบรษิ ัทของตนจะต้องละเว้นและจะต้องไม่ยอมให้บรษิ ทั ของตนเข้าไปพวั พนั กบั อาชญากรรมใดๆ ท่ี เก่ยี วข้องกบั การละเมิดสทิ ธมิ นุษยชนเป็นอนั ขาด ซพั พลายเออรม์ หี น้าทใ่ี นการปฏบิ ตั ติ ามปฏญิ ญาสากลว่าด้วยสทิ ธมิ นุษยชนแห่งสหประชาชาติ ปฏญิ ญา ILO ว่าด้วย หลกั การพ้นื ฐานและสทิ ธใิ นการทางาน และข้อกาหนดของอนุสญั ญาระหว่างประเทศในประเทศท่บี ริษัทของตนดาเนนิ ธรุ กจิ อยู่ 3.4. คู่คา้ ทางธุรกจิ การสร้างความสมั พนั ธอ์ นั เป็นประโยชน์ร่วมกนั กบั ค่คู ้าทางธุรกจิ ทุกรายเป็นหลกั การของบริษัท ซ่งึ ทางบรษิ ัทคาดหวงั จาก ค่คู ้าทางธุรกจิ ทุกรายให้ปฏบิ ัติตามค่านิยมของตนเองในการติดต่อทางธุรกจิ และด้วยเหตนุ ้จี งึ คาดหวังจากซัพพลายเออร์ ให้นาความเข้าใจทางวิชาชพี ทเ่ี หมาะสมกบั ค่คู ้าทางธรุ กจิ ของตนมาใช้ ตาม \"แนวปฏบิ ตั ิในการตรวจสอบธุรกจิ OECD สาหรับห่วงโซ่อุปทานอย่างมีความรับผดิ ชอบของแร่จากพ้นื ทท่ี ไ่ี ด้รับ ผลกระทบจากความขดั แย้งและมีความเส่ยี งสงู \" ซัพพลายเออรผ์ ้จู ัดหาส่วนประกอบท่ปี ระกอบด้วยดบี ุก แทนทาลมั ทงั สเตน และโลหะทองให้แก่บรษิ ัท ซ่งึ ถอื เป็นแร่ธาตุทม่ี คี วามขดั แย้ง: • จะต้องตรวจสอบให้แนใ่ จว่าบริษทั ของตนจะจัดหามาจากแหล่งทป่ี ราศจากความขดั แย้งเทา่ น้นั 46

• จะต้องส่อื สารข้อกาหนดน้ีให้ห่วงโซ่อุปทานทราบเพ่อื ให้แนใ่ จว่ามอี ุปทานท่เี หมาะสม • จะต้องปฏบิ ตั ิตามนโยบายว่าด้วยเร่อื งแร่ทม่ี คี วามขดั แย้งของบรษิ ทั 3.5 กฎระเบยี บและการคมุ้ ครองสงิ่ แวดลอ้ ม บรษิ ทั ตระหนกั ถึงความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมในการปกป้ องสง่ิ แวดล้อมและเรยี กร้องให้ซพั พลายเออรจ์ ดั ทาระบบการ จดั การด้านส่งิ แวดล้อมเพ่ือปรับปรงุ อย่างต่อเน่อื งและเพ่ือปกป้ องสง่ิ แวดล้อมตามกฎหมายและข้อบังคบั ทางกฎหมายท้งั ในระดับประเทศและระดับนานาชาตทิ ่เี ก่ยี วข้องเพ่ือเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพด้านสง่ิ แวดล้อมตามหลักการพฒั นาอย่างย่งั ยนื และ เศรษฐกจิ หมุนเวยี น ซ่งึ ในขณะท่บี ริษทั ดาเนินการตามหลักการการจดั ลาดบั ความสาคญั ของแนวทางความย่งั ยืนและต่อสู้ กบั วกิ ฤตสภาพภมู อิ ากาศ ทางบรษิ ทั ยงั เรียกร้องให้ซพั พลายเออร์รับนโยบายด้านส่งิ แวดล้อมของบรษิ ทั ไปปรบั ใช้เพ่ือเป็น ข้อมลู อ้างองิ และเป็นพนั ธมติ รในพันธกรณนี ้ี สว่ นหน่งึ ของพันธกรณนี ้ี ซพั พลายเออรท์ ้งั หมดของบริษทั จะต้องดาเนนิ การดังต่อไปน้โี ดยไม่มขี ้อจากดั ใด ๆ: • รบั รองการใช้ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพในทุกกระบวนการ • จดั การกระบวนการตามแนวทางเศรษฐกจิ หมนุ เวยี น • ตรวจสอบให้แนใ่ จว่าผลกระทบและความเส่ยี งด้านสง่ิ แวดล้อมจะได้รับการป้ องกนั ทแ่ี หล่งทม่ี าในทุกกระบวนการ ตลอดวงจรชวี ติ • พิจารณาหลักการของการเปล่ยี นแปลงไปสเู่ ศรษฐกจิ แบบคารบ์ อนต่าด้วยการลงทุนและการเลือกอุปกรณเ์ คร่อื งจักร • ลดการสร้างของเสยี และนา้ เสยี การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก การใช้สารเคมี และผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมอ่นื ๆ ท้งั หมดโดยการใช้ซา้ รไี ซเคลิ หรือกระบวนการทดแทนในผลิตภัณฑ์ การผลติ การขนสง่ การเกบ็ รักษา และการ ดาเนนิ การอ่นื ๆ ท้งั หมด • ตรวจสอบให้แนใ่ จว่ามกี ารเกบ็ รวบรวมของเสยี แยกจากกนั โดยการจาแนกประเภทแยกตามประเภทท่แี หล่งท่มี า และนากลับมาใช้ใหม่ตามข้อตกลงทางกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง • ตรวจสอบให้แนใ่ จวา่ ได้ปฏบิ ตั ิตามข้อกาหนดด้านความสอดคล้องของกฎหมายส่งิ แวดล้อมกบั กจิ กรรมท้งั หมด • เกบ็ รกั ษาใบอนุญาตด้านสง่ิ แวดล้อม ใบอนุญาต และเอกสารต่าง ๆ ท้งั หมดให้เป็นปัจจุบันล่าสดุ อยู่เสมอ และ ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลงทางกฎหมายต่าง ๆ อย่างเคร่งครดั • ระบสุ ารเคมที ่เี ป็นอนั ตรายต่อสง่ิ แวดล้อมและจัดการอย่างเหมาะสมเพ่ือให้ม่นั ใจวา่ มีกระบวนการอนั ปลอดภยั การ ปิ ดฉลาก การขนสง่ การจดั เกบ็ การใช้ซา้ การรีไซเคลิ หรอื การกาจดั สารเคมี • ปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ข้อบังคบั และข้อกาหนดของลูกค้าในเร่อื งการห้ามหรือจากดั สารเคมีบางชนดิ รวมถงึ ฉลากท่มี ี ข้อมลู เก่ยี วกบั การรีไซเคลิ และการกาจดั • ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ข้อบงั คบั ข้อกาหนดของลกู ค้า และข้นั ตอนของบรษิ ทั ในเร่อื งการห้ามหรือการจากดั อนั ตราย • ปฏบิ ัติตามเง่อื นไขด้านสง่ิ แวดล้อมใน \"ข้อกาหนดการปฏบิ ัตติ ามข้อกาหนดทางเคมขี องบรษิ ัท\" • ส่งข้อมลู การปฏบิ ัตติ ามข้อกาหนดด้านสง่ิ แวดล้อม เอกสาร และรายงานให้กบั ทางบรษิ ัทตามข้อกาหนดน้ี 47

3.6 กฎหมายการแข่งขนั ทางการคา้ เราในฐานะบริษัทขอสนบั สนนุ การแข่งขนั ทางการค้าอย่างยุติธรรมและสนับสนุนการพัฒนากฎหมายการแข่งขนั ทางการค้า ไปพร้อมกบั การดาเนนิ กจิ กรรมทางธรุ กจิ ต่าง ๆ ของเราอกี ด้วย ในบริบทน้ี ซัพพลายเออร์ท้งั หมดของเราจะต้องปฏบิ ตั ิ ตามกฎหมายการแข่งขันทางการค้าทกุ ประการ มิฉะน้นั การละเมิดกฎหมายการแข่งขันทางการค้าอาจสง่ ผลให้ท้งั บริษทั และพนักงานได้รบั การลงโทษข้นั ร้ายแรงได้ ขณะท่ซี ัพพลายเออรข์ องบรษิ ัทปกป้ องผลประโยชนท์ างกฎหมายของตนอย่างเข้มงวด อย่างไรกต็ ามกย็ ังคงต้องให้ความ ร่วมมอื อย่างเตม็ ท่กี บั หน่วยงานด้านการแข่งขนั ทางการค้าอกี ด้วย 3.7 การต่อตา้ นการติดสินบนและการทจุ ริต ซพั พลายเออรจ์ ะต้องไม่มีสว่ นร่วมในการกระทาใด ๆ กต็ ามอนั เป็นการไม่เหมาะสม เช่น การรับหรอื ให้สนิ บนหรอื ผลประโยชน์ท่ไี ม่เหมาะสมอ่นื ๆ เพ่อื เอ้อื ในทางธรุ กจิ และผลประโยชน์ทางการเงิน ห้ามมใิ ห้พนกั งานของซพั พลายเออร์ เสนอ มอบให้หรอื รับซ่งึ ของขวญั หรอื การชาระเงนิ ใด ๆ ท่อี าจถือได้ว่าเป็นการตดิ สนิ บน ท้งั น้กี ารทจุ รติ การยกั ยอก การ จ่ายค่าอานวยความสะดวกหรอื การติดสนิ บนใดๆ ไม่วา่ จะเป็นประเภทหรอื ลกั ษณะในกต็ าม จะเกดิ ข้นึ ในการดาเนินธุรกจิ ของซัพพลายเออรข์ องบรษิ ัทไม่ได้เป็นอนั ขาด อน่งึ การบนั ทกึ ด้านบญั ชีและเอกสารสนบั สนุนท้งั หมดของซพั พลายเออร์ ต้องอธบิ ายและระบถุ งึ ลกั ษณะของธรุ กรรมพ้นื ฐานอย่างถูกต้องและชดั เจน ไม่ควรมีบัญชี กองทุน หรอื สนิ ทรพั ย์ใน ลักษณะท่ไี ม่ได้ถกู เปิ ดเผยหรอื ทไ่ี ม่ได้ลงบนั ทกึ ไว้ ซ่งึ ได้ถกู จดั ข้นึ หรอื เกบ็ รกั ษาไว้อยู่ในระบบการเงินของซพั พลายเออร์ 3.8 การจดั การความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ พนกั งานของซพั พลายเออรจ์ ะต้องหลกี เล่ยี งสถานการณ์ท่ผี ลประโยชน์สว่ นตวั ของพนกั งานอาจขดั แย้งกบั ผลประโยชน์ ของซัพพลายเออรท์ ่ตี นทางานให้ ซ่งึ ซพั พลายเออรแ์ ละพนักงานจะต้องใช้มาตรการทจ่ี าเป็นเพ่ือให้แน่ใจว่าความสมั พันธ์ กบั บรษิ ัทจะไม่ขดั แย้งกบั ผลประโยชน์ส่วนตวั และความรบั ผดิ ชอบของซพั พลายเออร์ทม่ี ตี ่อบรษิ ัทภายในกฎเกณฑท์ ่ี บริษัทกาหนด 3.9 ของขวญั และการเล้ ยี งรบั รอง ภายใต้บางสถานการณ์ การแลกเปล่ยี นของขวญั และการเล้ยี งรับรองเป็นสง่ิ ท่ยี อมรับได้เพ่ือเพ่ิมความแขง็ แกร่งหรือรกั ษา ความสมั พนั ธท์ างธรุ กจิ ระหว่างผ้รู ่วมธุรกจิ ห้ามมิให้ซัพพลายเออร์รับหรือมอบของขวญั ใดๆ ทข่ี ดั ต่อกฎหมาย นอกเหนือจากประเพณที างการค้าและส่อื ส่งเสริมการ ขาย และจะต้องหลีกเล่ยี งกจิ กรรมการเล้ยี งรบั รองทเ่ี กนิ วัตถปุ ระสงค์ 3.10 การกดี กนั ทางการคา้ บางประเทศท่ซี พั พลายเออร์ของเราดาเนนิ ธรุ กจิ อยู่อาจมีข้อจากดั ในบางประเทศ บรษิ ทั หรอื บคุ คล อน่งึ ซพั พลายเออร์ จะต้องปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยการกดี กนั ทางการค้า การควบคุมการสง่ ออก การห้ามสง่ สนิ ค้า การคว่าบาตร การ 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook