Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก 63-65

แผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก 63-65

Published by singburiprovin, 2020-11-10 05:30:14

Description: แผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กจังหวัดสิงห์บุรี ปีงบประมาณ พ.ศ.2563-2565

Search

Read the Text Version

แผนบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ (โรงเรียนที่มนี กั เรียน ๑๒๐ คน ลงมา) ปงบประมาณ ๒๕๖๓ – ๒๕๖4 สํานักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั สิงหบ รุ ี สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กลมุ นโยบายและแผน เอกสารหมายเลข 1/2563

คํานาํ กระทรวงศึกษาธิการประกาศนโยบายการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก เพื่อใหมีการบริหาร ทรัพยากรทางการศึกษา รวมถึงการบริหารอัตรากําลังใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีแผนบริหารจัดการโรงเรียน ขนาดเล็กแบบข้ันบันไดใหมีความตอเน่ืองและยั่งยืน ใหเห็นผลอยางเปนรูปธรรมภายใน 2 ป โดยใหสํานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดทุกจังหวัดรวมมือกับสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษา รวมทั้งภาคีเครือขาย ท่ีเก่ียวของ จัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีการกําหนดเปาหมาย ระยะเวลาและแนวทางการ ดําเนินงานอยางชัดเจน ตามแนวปฏิบัติในการจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดสิงหบุรี เปนหนวยงานที่สงเสริม สนับสนุน การบูรณาการการจัด การศึกษาภายในจังหวัด ซ่ึงโรงเรียนขนาดเล็กเปนประเด็นหน่ึงที่สํานักงานศึกษาธิการจังหวัด คณะทํางาน และ หนวยงานภาคีที่เก่ียวของใหความสําคัญ และสนับสนุนสงเสริมเพื่อใหโรงเรียนสามารถบริหารจัดการ และจัดการ เรียนการสอนสงผลใหนักเรียน ไดเรียนรูอยางมีคุณภาพ โดยโรงเรียนขนาดเล็กสวนใหญประสบปญหาดานการ บริหารจัดการ ซึ่งสงผลกระทบโดยตรงตอคุณภาพและประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา ดังน้ันเพ่ือใหการพัฒนา คณุ ภาพโรงเรยี นขนาดเล็กเกดิ ประสิทธิภาพดานการบริหารจัดการอันสงผลตอคุณภาพของนักเรียนใหมีคุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค มีการบริหารจัดการโรงเรียนใหมีขนาดที่เหมาะสมกับความตองการของบริบทในพื้นที่ สํานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดสิงหบุรี จึงไดจัดทําแผนพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก เพื่อใชเปน แนวทางในการปฏิบตั งิ านของผูบรหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาในการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก เปนเครื่องมือ ในการนิเทศ ติดตาม ชี้แนะ ใหความชวยเหลือ ปรึกษา และนิเทศติดตามความกาวหนาการจัดการเรียนการสอน ของโรงเรียนขนาดเลก็ ใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอยางมีประสิทธิภาพ และเพ่ือใหผูที่เก่ียวของ เขาใจบรบิ ท โดยรวมของโรงเรยี นในสังกัดสาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสิงหบุรี และสํานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 5 ในการสนบั สนนุ สงเสรมิ การจดั การศกึ ษาใหมคี ณุ ภาพ การจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ปงบประมาณ 2563 – 2564 ฉบับน้ี ดาํ เนนิ การภายใตก ารมีสวนรวมของผมู ีสว นเกีย่ วขอ งทุกฝายในการระดมสรรพกําลังท้ังดานขอมูล ความคิดเห็นและ ขอเสนอแนะเพ่ือผลักดันในแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม เกิดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ขอขอบคุณ คณะทํางานบูรณาการจัดทําแผนบริหารจัดการ โรงเรียนขนาดเล็กจังหวัดสิงหบุรี คณะทํางานระดับอําเภอ ผูมีสวนรวมและผูเกี่ยวของทุกฝาย ที่ใหความรวมมือ ในการดําเนินการจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กจังหวัดสิงหบุรี ในคร้ังนี้ ใหสําเร็จลุลวง บรรลุผลตาม วตั ถุประสงคท่ีตงั้ ไว สาํ นกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดสิงหบ รุ ี ตุลาคม 2562

สารบญั หนา ก คาํ นํา ง สารบญั บทสรุปผูบ รหิ าร บทสรปุ การบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็ก สว นท่ี ๑ สภาพปจจบุ นั และปญหา 1 - 23 - เหตุผลและความจาํ เปน 1 - การดําเนนิ งานบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ ทผ่ี า นมา 4 - ปจ จัยสําคัญทีท่ าํ ใหก ารบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กไมเ ปน ไปตามเปาหมาย 5 - ขอ มูลพน้ื ฐานโรงเรียนขนาดเลก็ 5 สวนท่ี ๒ แนวทางการบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก 24 - 28 - เปาหมายการดําเนนิ การ 24 - ขน้ั ตอนและระยะเวลาการดาํ เนินการ 26 - แนวทางการจดั ทาํ แผนบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ ระดับจงั หวัด/อาํ เภอ 27 สวนที่ ๓ รูปแบบ/แผนการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กของแตล ะหนว ยงานทางการศึกษา 29 - 108 - รูปแบบ/แผนการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กของ สพป.สงิ หบรุ ี 29 - 91 (สงั กัดสาํ นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงหบรุ ี) 30 - 31 - รูปแบบการบริหารจัดการ (เรยี นรวม) 32 - 85 - รูปแบบการพัฒนา 86 - 89 - การบริหารอัตรากําลัง 90 - 91 - ขอ เสนอแนะ/ขอคิดเหน็ - รูปแบบ/แผนการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเลก็ ของ สพม. 5 92 - 108 (สงั กดั สาํ นกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 5) - - รูปแบบการบรหิ ารจัดการ (เรียนรวม) 94 - 102 - รูปแบบการพฒั นา 107 - การบริหารอตั รากําลงั 108 - ขอเสนอแนะ/ขอคิดเห็น ภาคผนวก - คาํ ส่งั คณะทาํ งาน - รายช่ือโรงเรยี นสังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน (สพฐ.) ในจงั หวดั สงิ หบุรี - แผนบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ โดยใชตําบลเปน ฐาน จังหวัดสิงหบ รุ ี - ภาพถา ย

ก บทสรุปผูบ รหิ าร แผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ปงบประมาณ 2563 - 2564 ของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัด สิงหบุรี จัดทําข้ึนโดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็กเกิดประสิทธิภาพดานการ บรหิ ารจดั การ อันสงผลตอ คณุ ภาพของนักเรียนใหม ีคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงค มกี ารบรหิ ารจดั การโรงเรียนใหมีขนาด ที่เหมาะสมกับความตองการของบริบทในพ้ืนที่ ตลอดจนใชเปนแนวทางในการปฏิบัติงานของผูบริหาร ครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษาในการพฒั นาโรงเรยี นขนาดเล็ก เปนเครื่องมือในการนิเทศ ติดตาม ชี้แนะ ใหความชวยเหลือ ปรึกษา และนิเทศติดตามความกาวหนาการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนขนาดเล็กใหมีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาข้ันพ้ืนฐานอยางมีประสิทธิภาพ และเพื่อใหผูท่ีเกี่ยวของเขาใจบริบท โดยรวมของโรงเรียนในสังกัด สาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสิงหบรุ ี และสาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 5 ซ่ึงในปการศึกษา 2562 จังหวัดสิงหบุรีมีจํานวนโรงเรียนท้ังหมด และโรงเรียนขนาดเล็ก จําแนกตาม รายสังกัด และรายอําเภอ ดังน้ี สพป.สิงหบ ุรี สพม.5 จาํ นวน รร. จาํ นวน รร. จํานวน รร. จาํ นวน รร. ที่ อาํ เภอ ทง้ั หมด ขนาดเล็ก รอ ยละ ทงั้ หมด ขนาดเลก็ รอยละ (นร. ต่ํากวา 120 คน) (นร. ต่ํากวา 120 คน) 1 อําเภอเมืองสิงหบรุ ี 17 9 52.94 3 1 33.33 2 อําเภออนิ ทรบรุ ี 29 17 58.62 3 1 33.33 3 อําเภอพรหมบรุ ี 13 11 84.61 2 1 50.00 4 อําเภอคา ยบางระจนั 15 10 66.67 1 - - 5 อาํ เภอบางระจัน 20 15 75.00 2 - - 6 อาํ เภอทา ชา ง 7 6 85.71 1 - - รวมทัง้ สิ้น 101 68 67.33 12 3 25.00 โดยจงั หวัดสิงหบรุ ี ไดกาํ หนดแนวทางการบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเลก็ แบบขนั้ บันได ดังน้ี 1. บรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเล็กจงั หวัดสิงหบรุ ี ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวนั ท่ี 7 ตลุ าคม 2562 ที่ให พิจารณาดําเนินการตามแนวทางการควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีระยะทางหางจากโรงเรียนในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ในตําบลเดียวกันนอยกวา 6 กิโลเมตร (กม.) ใหบังเกิดผลอยางเปน รูปธรรม เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาใหเพิ่มสูงข้ึน เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน และลดภาระ คาใชจ ายงบประมาณดา นบุคลากรและการบริหารจดั การลง 2. พัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กใหเปนโรงเรียนที่มีคุณภาพ ตามกรอบแนวทาง การบริหารจัดการโรงเรียน ขนาดเล็กจังหวัดสิงหบุรี 7 รูปแบบ โดยใหแตละโรงเรียนเลือกรูปแบบการพัฒนา บอกเหตุผลความจําเปนในการ เลอื ก และดําเนนิ การจดั ทําเปนแผนการพฒั นา/แนวทางการดําเนินงาน ท่ีมีการกําหนดตัวช้ีวัดและระยะเวลาใหเห็นผล ภายใน 2 ป ทั้งนี้เพื่อใชเปนกรอบทิศทางการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กใหเห็นผลเปนรูปธรรม ดวยความ รวมมอื จากทุกภาคสวน รปู แบบที่ 1 บรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ ทเี่ ปนเอกเทศ (Stand alone) รูปแบบท่ี 2 จดั การเรียนการสอนแบบคละชนั้ รูปแบบท่ี 3 การจดั การเรยี นรูโ ดยระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ข รปู แบบที่ 4 พฒั นาโรงเรยี นเครือขายโรงเรยี นขนาดเลก็ รปู แบบที่ 5 การรวมสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน รปู แบบที่ 6 การมสี วนรว มขององคก รปกครองสวนทอ งถิ่น องคกรเอกชน รปู แบบท่ี 7 ยุบ/เลกิ สถานศกึ ษา โดยรูปแบบท่ี 1 - 4 และ 6 เปนแนวทางการพัฒนา สวนรูปแบบที่ 5 เปนแนวทางการควบรวม และรปู แบบท่ี 7 เปน แนวทางการยุบเลกิ 3. หากโรงเรียนขนาดเล็กใดท่ีเลือกรูปแบบการพัฒนา ไมสามารถบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาใหเกิด คุณภาพไดตามรูปแบบแนวทางการพัฒนาท่ีโรงเรียนไดเลือก (ภายใน 7 รูปแบบ) และตามตัวช้ีวัดท่ีกําหนด (โดยดู ผลการประเมินคุณภาพทางการศึกษา เม่ือสิ้นปการศึกษา 2562) โรงเรียนขนาดเล็กตองพิจารณาดําเนินการตาม แนวทางการควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีระยะทางหางจากโรงเรียนในสังกัด สพฐ. ในตําบลเดียวกันนอยกวา 6 กโิ ลเมตร (กม.) ใหบงั เกิดผลอยา งเปนรปู ธรรม ระยะเวลาดําเนนิ การใหแลวเสร็จภายใน 2 ป (ปง บประมาณ 2563 - 2564) สรปุ ภาพรวมการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็กจังหวัดสงิ หบรุ ี ปงบประมาณ 2563 - 2564 จํานวน 71 โรงเรยี น ของจังหวัดสิงหบ ุรี ดังนี้ ปการศึกษา 2562 โรงเรียนในสังกัด สพป.สิงหบุรี ท่ีไดดําเนินการรวมสถานศึกษา และเลิกสถานศึกษา ไปแลว มีจํานวน 4 โรงเรียน ไดแก 1) โรงเรียนวัดกระดังงา เลิกสถานศึกษาแลว 2) โรงเรยี นวดั โคกพระ รวมสถานศึกษากบั โรงเรยี นวดั ราษฎรประสิทธิ์ แลว 3) โรงเรยี นวัดดอกไม เลิกสถานศึกษาแลว 4) โรงเรียนวดั วังขรณ รวมสถานศกึ ษากับ โรงเรยี นชุมชนวดั พระปรางควิรยิ วิทยา แลว คงเหลือโรงเรียนขนาดเล็กท่ีตองดําเนินการบริหารจัดการตามมติคณะรัฐมนตรี ที่มีระยะทางหางจาก โรงเรยี นในตาํ บลเดยี วกนั นอยกวา 6 กโิ ลเมตร (กม.) จาํ นวน 67 โรงเรียน แบง ออกเปน 1. สงั กดั สํานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสงิ หบรุ ี (สพป.สงิ หบรุ )ี จํานวน 64 โรงเรยี น 2. สังกดั สํานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษาเขต 5 (สพม.5) จํานวน 3 โรงเรยี น โดยพจิ ารณาดําเนินการดงั น้ี 1. ปง บประมาณ 2563 บริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็ก สังกัด สพป.สงิ หบรุ ี โดยดาํ เนนิ การเรยี นรวม จํานวน 11 โรงเรียน 2. ปงบประมาณ 2564 บรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก สงั กัด สพป.สงิ หบรุ ี โดยดําเนนิ การเรียนรวม จํานวน 16 โรงเรียน 3. โรงเรียนขนาดเล็กที่เหลืออีก จํานวน 40 โรงเรียน (สังกัด สพป.สิงหบุรี จํานวน 37 โรงเรียน / สังกัด สพม. 5 จาํ นวน 3 โรงเรียน) ดาํ เนินการพฒั นาใหเ ปนโรงเรยี นทมี่ คี ณุ ภาพตามตัวช้ีวัด/เกณฑ เปาหมายเชิงคุณภาพ ที่กําหนด หรอื ควบรวมโรงเรยี นขนาดเลก็ ที่ไมส ามารถบริหารจดั การใหเกิดคุณภาพได โดยจะดําเนินการจัดทําแผน บริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก (ควบรวม) ในระยะตอไป (โดยดูผลการประเมินคุณภาพทางการศึกษา เมื่อส้ินป การศึกษา 2562) - โรงเรยี นสังกัด สพป.สิงหบ ุรี จาํ นวน 37 โรงเรียน - โรงเรยี นสังกัด สพม.5 จํานวน 3 โรงเรยี น

ค *** สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 มีโรงเรียนขนาดเล็ก จํานวน 3 โรงเรียน ไดแก 1) รร. หัวไผว ิทยาคม 2) รร. บา นแปง วิทยา 3) รร. ทองเอนวิทยา (กาํ หนดแผนการดาํ เนนิ การไมค วบรวมโรงเรียน) เนื่องจากสภาพแวดลอมและบริบทในพ้ืนที่ ไมมีโรงเรียนมัธยมท่ีอยูใกลเคียงโรงเรียนขนาดเล็ก ทั้ง 3 โรงเรียน การดําเนินงานจึงมุงสงเสริม สนับสนุน พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาใหมีประสิทธิภาพ และ ยกระดับคุณภาพการศึกษาใหสงู ขน้ึ บนความเปน เอกเทศของโรงเรยี นขนาดเล็กท้งั 3 โรงเรยี น แนวทางการบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ ท่เี ลือกรูปแบบการพฒั นา ปงบประมาณ 2563 - 2564 1. โรงเรียนขนาดเล็กที่กําหนดรูปแบบการบริหารจัดการ (พัฒนา) ตองดําเนินการพัฒนาใหเปนไปตาม ตวั ชี้วดั ดา นคุณภาพท่ีโรงเรียนกาํ หนด (โดยดูผลการประเมินคณุ ภาพทางการศกึ ษา เมือ่ สิน้ ปก ารศกึ ษา 2562) 2. หากโรงเรยี นไมส ามารถดําเนนิ การไดตามตัวชวี้ ดั ทกี่ ําหนด โรงเรียนตอ งจดั ทําแผนบรหิ ารจัดการรูปแบบ การรวมสถานศึกษาขั้นพ้นื ฐานภายในปง บประมาณ 2564 เกณฑ/ ตวั ชว้ี ัด การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กจังหวดั สิงหบุรี 1. โรงเรยี นขนาดเล็กตอ งผา นการประเมนิ คุณภาพภายใน ระดับดี 2. โรงเรียนขนาดเล็กตอ งมีผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาระดับชาติ (O-Net) คาเฉลี่ยทุกกลุมสาระวิชา สูงข้นึ กวา ปก ารศกึ ษาท่ีผานมา 3. โรงเรียนขนาดเล็กตองมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ NT สูงกวาคาเฉล่ียระดับประเทศ อยา งนอย 2 ใน 3 ดาน 4. หากโรงเรียนขนาดเล็กใดไมมีคุณภาพดานใดดานหนึ่ง ตามขอ 1) –3) โรงเรียนตองบริหารจัดการ รวมกับโรงเรียนหลักที่เปนโรงเรียนคุณภาพ ใหบังเกิดผลอยางเปนรูปธรรม เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาใหเพ่ิม สูงขึ้น เพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน และลดภาระคาใชจายงบประมาณดานบุคลากรและการบริหาร จัดการลง

ง บทสรุปการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก 1. ตารางแสดงขอมลู จํานวนโรงเรียนทั้งหมด จํานวนโรงเรยี นขนาดเลก็ รอยละของโรงเรยี นขนาดเลก็ จําแนกตามตาํ บล อาํ เภอ และสงั กดั ท่ี ตาํ บล อําเภอ จาํ นวนโรงเรยี น จํานวนโรงเรยี น รอ ยละของ สงั กัด ทั้งหมด ขนาดเล็ก โรงเรยี นขนาดเล็ก (สพป./สพม.) 1 จักรสหี  เมืองสิงหบรุ ี 3 1 33.33 (สพป./สพม.) 2 ตนโพธ์ิ เมอื งสิงหบรุ ี 1 1 100.00 สพป. 3 บางกระบือ เมอื งสิงหบุรี 3 2 66.67 สพป. 4 โพกรวม เมืองสิงหบ รุ ี 2 2 100.00 สพป. 5 มวงหมู เมืองสิงหบุรี 3 2 66.67 สพป. 6 หัวไผ เมืองสงิ หบ รุ ี 4 2 50.00 (สพป./สพม.) 7 บางพทุ รา เมืองสงิ หบุรี 2 - 0.00 สพป. 8 บางมญั เมอื งสงิ หบรุ ี 2 - 0.00 (สพป./สพม.) 9 งิ้วราย อินทรบ ุรี 3 2 66.67 สพป. 10 ชีน้ําราย อนิ ทรบรุ ี 2 1 50.00 สพป. 11 ทองเอน อินทรบ ุรี 8 5 62.50 (สพป./สพม.) 12 ทบั ยา อินทรบรุ ี 1 1 100.00 สพป. 13 น้ําตาล อินทรบุรี 2 1 50.00 สพป. 14 ประศุก อินทรบ รุ ี 4 2 50.00 สพป. 15 โพธิช์ ยั อินทรบุรี 2 2 100.00 สพป. 16 หว ยชัน อนิ ทรบ รุ ี 3 3 100.00 สพป. 17 อินทรบ รุ ี อนิ ทรบ ุรี 5 1 20.00 (สพป./สพม.) 18 ทา งาม อินทรบุรี 2 - 0.00 สพป. 19 บางน้าํ เชีย่ ว พรหมบุรี 3 3 100.00 สพป. 20 บานแปง พรหมบรุ ี 2 2 100.00 (สพป./สพม.) 21 บานหมอ พรหมบุรี 5 3 60.00 (สพป./สพม.) 22 พระงาม พรหมบรุ ี 2 2 100.00 สพป. 23 โรงชาง พรหมบุรี 1 1 100.00 สพป. 24 หัวปา พรหมบุรี 1 1 100.00 สพป. 25 พรหมบรุ ี พรหมบุรี 1 - 0.00 สพป. 26 คอทราย คา ยบางระจนั 2 2 100.00 สพป. 27 ทาขา ม คายบางระจนั 3 2 66.67 สพป. 28 บางระจนั คา ยบางระจัน 4 2 50.00 (สพป./สพม.) 29 โพทะเล คา ยบางระจนั 3 1 33.33 สพป. 30 โพสังโฆ คายบางระจนั 3 2 66.67 สพป. 31 หนองกระทมุ คา ยบางระจัน 1 1 100.00 สพป.

จ ท่ี ตาํ บล อาํ เภอ จํานวนโรงเรยี น จาํ นวนโรงเรยี น รอยละของ สงั กัด ท้ังหมด ขนาดเลก็ โรงเรยี นขนาดเลก็ (สพป./สพม.) 32 เชงิ กลดั บางระจัน 3 1 33.33 (สพป./สพม.) 33 บา นจา บางระจนั 1 1 100.00 สพป. 34 พกั ทนั บางระจัน 4 3 75.00 สพป. 35 โพชนไก บางระจัน 3 3 100.00 สพป. 36 ไมด ดั บางระจนั 3 2 66.67 สพป. 37 สระแจง บางระจัน 4 3 75.00 สพป. 38 สิงห บางระจนั 3 2 66.67 (สพป./สพม.) 39 แมล า บางระจัน 1 - 0.00 สพป. 40 ถอนสมอ ทา ชาง 4 2 50.00 (สพป./สพม.) 41 พิกลุ ทอง ทา ชา ง 1 1 100.00 สพป. 42 โพประจกั ษ ทาชา ง 2 2 100.00 สพป. 43 วิหารขาว ทา ชาง 1 1 100.00 สพป. รวมทงั้ สิ้น 113 71 62.83 (สพป./สพม.) 2. จังหวดั สิงหบุรี ไมม ี โรงเรียนขนาดเลก็ ท่ีตั้งทางภมู ิศาสตรอ ยูในพื้นทีห่ า งไกล บนพน้ื ท่เี กาะ พ้ืนทส่ี งู (Stand Alone) 3. ตารางแสดงขอมลู จํานวนโรงเรยี นขนาดเลก็ ทอ่ี ยูใ นพนื้ ที่ปกติ จาํ แนกตามตาํ บล อําเภอ และสงั กัด ท่ี ตําบล อําเภอ จํานวนโรงเรยี น จาํ นวนโรงเรียน จํานวนโรงเรียน สงั กัด 1 จักรสหี  เมอื งสงิ หบ รุ ี ขนาดเล็ก หลกั ทโ่ี รงเรยี น ขนาดเลก็ ท่ยี ังไมได (สพป./สพม.) 2 ตน โพธ์ิ เมอื งสิงหบ รุ ี ท่ีมีการไป ขนาดเลก็ ไปเรยี นรวม 3 บางกระบือ เมืองสิงหบ รุ ี เรียนรวมแลว มาเรียนรวม 4 โพกรวม เมืองสงิ หบุรี 1 (สพป./สพม.) 5 มว งหมู เมอื งสงิ หบ ุรี 1 สพป. 6 หวั ไผ เมอื งสิงหบุรี 1 (เลกิ สถานศึกษา) 2 สพป. 9 งิว้ ราย อินทรบุรี 11 2 สพป. 10 ชนี ํา้ ราย อินทรบ ุรี 2 สพป. 11 ทองเอน อินทรบรุ ี 2 (สพป./สพม.) 12 ทับยา อนิ ทรบรุ ี 2 สพป. 13 น้าํ ตาล อนิ ทรบุรี 1 สพป. 14 ประศกุ อนิ ทรบุรี 5 (สพป./สพม.) 1 สพป. 1 สพป. 1 (เลกิ สถานศึกษา) 2 สพป.

ฉ ที่ ตาํ บล อําเภอ จํานวนโรงเรยี น จาํ นวนโรงเรียน จํานวนโรงเรยี น สังกดั ขนาดเลก็ หลักทโ่ี รงเรยี น ขนาดเลก็ ทีย่ ังไมได (สพป./สพม.) ทมี่ กี ารไป ขนาดเลก็ ไปเรียนรวม เรยี นรวมแลว มาเรยี นรวม 15 โพธิช์ ัย อนิ ทรบ ุรี 2 สพป. 16 หว ยชนั อินทรบ รุ ี 3 สพป. 17 อินทรบรุ ี อินทรบรุ ี 1 (สพป./สพม.) 19 บางนาํ้ เชี่ยว พรหมบรุ ี 3 สพป. 20 บา นแปง พรหมบรุ ี 2 (สพป./สพม.) 21 บานหมอ พรหมบุรี 3 (สพป./สพม.) 22 พระงาม พรหมบุรี 2 สพป. 23 โรงชาง พรหมบรุ ี 1 สพป. 24 หวั ปา พรหมบรุ ี 1 สพป. 26 คอทราย คา ยบางระจัน 2 สพป. 27 ทาขาม คายบางระจัน 2 (สพป./สพม.) 28 บางระจัน คายบางระจัน 2 สพป. 29 โพทะเล คายบางระจนั 1 สพป. 30 โพสงั โฆ คายบางระจัน 2 สพป. 31 หนองกระทุม คา ยบางระจัน 1 สพป. 32 เชิงกลัด บางระจนั 1 1 (สพป./สพม.) 33 บานจา บางระจนั 1 สพป. 34 พกั ทัน บางระจัน 3 สพป. 35 โพชนไก บางระจนั 1 3 สพป. 36 ไมด ัด บางระจัน 2 สพป. 37 สระแจง บางระจนั 3 สพป. 38 สงิ ห บางระจนั 2 (สพป./สพม.) 40 ถอนสมอ ทาชาง 2 (สพป./สพม.) 41 พิกลุ ทอง ทาชา ง 1 สพป. 42 โพประจกั ษ ทาชา ง 2 สพป. 43 วิหารขาว ทาชาง 1 สพป. รวมทั้งส้ิน 42 71 (สพป./สพม.)

ช 4. ขอเสนอแนะ/ขอคดิ เห็นอ่ืนๆ ในการสง เสริมใหการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กประสบผลสําเร็จ การสงเสรมิ การพฒั นาโรงเรยี นขนาดเลก็ ใหเปนโรงเรยี นคณุ ภาพ 1. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหสามารถจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยอาศัยพ้ืนฐาน ความรวมมือ 2. สนบั สนุนความกา วหนา ในวิชาชพี การทาํ ผลงานทางวิชาการ หรือแรงจูงใจอ่ืน แกผูบริหารโรงเรียนและ ครูในโรงเรียนขนาดเล็ก 3. สนับสนุนอัตราจางชั่วคราวใหกับโรงเรียนหลักของการมาเรียนรวม กรณีท่ีโรงเรียนมีอัตรากําลังที่ ขาดแคลน 4. สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ หรือทรัพยากรทางการศึกษาพ้ืนฐานท่ีจําเปน ใหกับโรงเรียนเพ่ือการพัฒนา โรงเรยี นขนาดเล็กใหเปน โรงเรียนคุณภาพ 5. สงเสริมความรว มมือใหท กุ ภาคสวนเขามามีสวนรวมในการยกระดับคณุ ภาพการศึกษา 6. ควรกระจายอํานาจทางการบริหารจัดการศึกษาใหมีความสอดรับ และเหมาะสมกับสภาพบริบทของ พนื้ ที่นนั้ ๆ การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก การบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเลก็ ดวยการควบรวม หรือเลิกโรงเรียน ควรดําเนินการดวยความรอบคอบ โดยจะตองคํานึงถึงการเขาถึงการศึกษาข้ันพื้นฐานของนักเรียน ความตองการของชุมชน และประชาชน เปนหลัก สําคัญ การดําเนินการใดๆ ก็ตาม หากไดรับความรวมมือรวมใจ ดวยความคิดความเห็นท่ีสอดคลองตรงกันจาก ประชาชนในพ้ืนท่ี ก็จะสามารถดําเนินการใหสําเร็จไดโดยงาย ตรงกันขาม การดําเนินการใดๆ ที่ขัดแยงกับความ ตองการของประชาชน ไมสอดคลองกับสภาพการดําเนินชีวิตของผูคนในพ้ืนท่ี ไมรองรับกับสภาพการดํารงชีวิต แม จะมีกฎหมายรองรับ หรือมีนโยบายที่ชัดเจนสักเพียงใด ก็ไมอาจดําเนินการใหสําเร็จไดโดยสะดวก หากดําเนินการ ในลักษณะหักดามพราดวยเขา โดยละเลยการพิจารณาบริบทตางๆ ของพื้นที่อยางรอบคอบรัดกุม ก็อาจกอใหเกิด ปญหาความขัดแยง ขึ้นในชุมชน สังคม ประชาชนจะมองหนวยงานราชการดวยมุมมองดานลบ สรางความเกลียดชัง เกดิ การตอ ตา น ซ่ึงอาจจะลุกลามบานปลาย เปนปญหาใหญไ ด ดงั นน้ั ในพน้ื ทีใ่ ดๆ ที่ชุมชนมีความเขมแข็ง มีความรัก หวงแหนโรงเรียน ใหการสนับสนุนชวยเหลือกิจการของโรงเรียนเปนอยางดี โรงเรียนมีคุณภาพการเรียนการสอน ตามมาตรฐาน เม่ือเปรียบเทียบกับผลการทดสอบระดับประเทศ นักเรียนอานออกเขียนได มีความรูสมกับวัย มี อาคารสถานที่และวัสดุ อุปกรณ ท่ีสามารถจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสม ก็สมควรใหการสนับสนุนใหอยู เปนเอกเทศ สงเสริมการจัดการศึกษาดวยวิธีการตางๆ เพ่ือพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนตามความตองการของ ประชาชนในพนื้ ทีต่ อไป

1 สว นที่ ๑ สภาพปจ จุบันและปญ หา สภาพปจ จุบัน/ปญ หาของโรงเรยี นขนาดเลก็ เหตุผลและความจาํ เปน การศึกษาเปนสทิ ธขิ ้ันพื้นฐานของคนไทยทุกคน ท่รี ัฐตองจัดใหเพ่ือพัฒนาคนไทยทุกชวงวัย ใหมีความเจริญ งอกงามทุกดาน เพ่ือเปนตนทุนทางปญญาที่สําคัญในการพัฒนาทักษะ คุณลักษณะ และสมรรถนะในการประกอบ สมั มาชพี และการดาํ รงชีวิตรว มกบั ผอู ่ืนในสังคมไดอยางเปนสุข อันจะนําไปสูเสถียรภาพ และความม่ันคงของสังคม และประเทศชาติ ทต่ี อ งพัฒนาใหเ จริญกา วหนา ทดั เทียมนานาประเทศในเวทีโลก ทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง อยา งรวดเรว็ ของโลกศตวรรษท่ี 21 และเพ่อื นําพาประเทศไปสคู วามมนั่ คง มงั่ คง่ั และยง่ั ยืนในอีก 20 ปข า งหนา ประเทศไทยใหความสําคัญดานการศึกษาในฐานะกลไกหลักในการพัฒนาประเทศ โดยมุงจัดการศึกษา ใหคนไทยทุกคนสามารถเขาถึงโอกาสและความเสมอภาคในการศึกษาท่ีมีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการ ศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ พัฒนากําลังคนใหมีสมรรถนะในการทํางานท่ีสอดคลองกับความตองการของตลาดงานและ การพฒั นาประเทศ ผลการพัฒนาการศึกษาพบวา ยงั คงมีอีกหลายดานยงั เปน ปญหาทตี่ อ งไดรับการพัฒนา เชน - ดานโอกาสทางการศึกษา รัฐมีนโยบายสงเสริมสนับสนุนโอกาสทางการศึกษาคอนขางมากสงผลให ประชากรในวัยเรียน รวมทั้งเด็กดอยโอกาสและผูมีความตองการจําเปนพิเศษมีโอกาสไดรับการศึกษาสูงขึ้น แตยัง เขาเรยี นไดไมครบทกุ คนและมีปญหาการออกกลางคันอยบู าง - ดานคุณภาพการศึกษา ผลการพัฒนายังไมเปนท่ีนาพึงพอใจ เนื่องจากผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนระดับ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีคะแนนตํ่ากวาคาเฉลี่ยมาก และต่ํากวาหลายประเทศในแถบเอเชีย สวนประเด็นคุณธรรม จริยธรรมของเด็กและเยาชนยงั ตอ งมกี ารพัฒนาเพ่ิมขนึ้ - ดานประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการ และการใชจายงบประมาณทางการ ศึกษา ซึ่งเปนปญหาเชิงโครงสรางและระบบการจัดการท่ีตองไดรับการปรับปรุง เปนลําดับแรก โดยเฉพาะการ บริหารจดั การสถานศกึ ษาขนาดเลก็ ซ่ึงมีอยูจํานวนมาก เปน ตน “สถานศึกษาขนาดเล็ก” ในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีแนวโนมเพ่ิมจํานวน มากข้ึนในทุกปอยางตอเนื่อง ขอมูลจํานวนโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาพรวมทั้งประเทศ ปการศกึ ษา 2562 มโี รงเรยี นทงั้ หมด 29,871 โรงเรียน เปน โรงเรยี นขนาดเล็กท่ีมีนักเรียนไม เกิน 120 คน จาํ นวน 15,158 โรงเรียน คดิ เปนรอยละ 50.74 สภาพปญ หาการบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ ทผี่ า นมา จากการรายงานของคณะกรรมาธิการขับเคลื่อน การปฏิรูปประเทศ และรายงานการตรวจราชการปงบประมาณ พ.ศ. 2561 นโยบายที่ 7 การบริหารจัดการ โรงเรียนขนาดเลก็ พบวา 1. โรงเรียนไดรับการจัดสรรงบประมาณคาใชจายในการจัดการศึกษาจากรัฐบาล โดยคิดเปนรายหัว นักเรียน ทําใหโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีจํานวนนักเรียนนอยไดรับงบประมาณนอยกวาโรงเรียนขนาดใหญท่ีมีจํานวน นกั เรียนมากกวา สงผลใหข าดทรพั ยากรในการบรหิ ารจดั การ

2 2. การขาดแคลนครูท่ีมีความเช่ียวชาญเฉพาะทาง และจํานวนครูไมครบช้ันเรียน (สพฐ.กําหนดสัดสวน ครู 1 คน ตอนักเรียน 20 คน) สงผลใหผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ในภาพรวม มีระดับตํา่ 3. อัตราการเกิดของประชากรลดลง ภาวะประชากรวัยเด็กลดลงและปญหานักเรียนออกกลางคัน ทําใหมี โรงเรียนขนาดเลก็ มากขน้ึ 4. นโยบายจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ ขาดความตอ เนอ่ื ง ไมช ดั เจน 5. ความนยิ มของผูปกครองทตี่ องการสง บตุ รหลานไปเรยี นโรงเรียนในเมอื ง 6. ผปู กครอง และชมุ ชนมีความหวงแหนโรงเรยี น ตองการคงสภาพโรงเรยี นไวในชมุ ชน 7. ครูไมตอ งการใหย บุ เลิกเนื่องจากมคี วามผกู พนั กับโรงเรยี น กังวลกับสภาพแวดลอ มใหม 8. โรงเรียนขนาดเล็กสวนใหญอยูในชุมชนขนาดเล็ก ประชากรมีฐานะยากจน ไมมีศักยภาพระดม ทรพั ยากรเพอ่ื สนับสนนุ การจดั การศกึ ษาใหก ับโรงเรยี น 9. โรงเรียนท่ีมีลักษณะพ้นื ทต่ี ้งั เปน แบบ Stand Alone คือ บนเกาะ พ้ืนท่ีสูง หรือท่ีต้ังหางไกล ไมสามารถ ดําเนนิ การบริหารจัดการได กระทรวงศึกษาธิการประกาศนโยบายการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก เพ่ือใหมีการบริหารทรัพยากร ทางการศึกษา รวมถึงการบริหารอัตรากําลังใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก แบบขั้นบันไดใหมีความตอเนื่องและย่ังยืน ใหเห็นผลอยางเปนรูปธรรมภายใน 2 ป โดยใหสํานักงานศึกษาธิการ จังหวัดทุกจังหวัดรวมมือกับสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษา รวมทั้งภาคีเครือขายท่ีเกี่ยวของ จัดทํา แผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ที่มีการกําหนดเปาหมาย ระยะเวลาและแนวทางการดําเนินงานอยางชัดเจน โดยเนนตําบลเปนฐานในการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก มุงเนนใหผูปกครอง ชุมชน ทองถิ่น และผูมีสวน เกี่ยวของ ไดมีสวนรวมดําเนินการในแตละตําบล ตามแนวปฏิบัติในการจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร สภาพปญหาของโรงเรียนขนาดเลก็ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดสิงหบุรี ไดดําเนินการวิเคราะหสภาพแวดลอม (SWOT) การบริหารจัดการ โรงเรยี นขนาดเล็กในพ้ืนที่ ดังน้ี สภาพแวดลอ มภายนอก 1. ดานผูร บั บริการ พบวา ประชากรวัยเรยี นมแี นวโนม ลดลงทกุ ป ประกอบกับผูปกครองนยิ มสงบตุ รหลาน ไปเรียนในโรงเรยี นทมี่ ชี อ่ื เสยี งหรือโรงเรยี นเอกชน สงผลใหโ รงเรยี นในชมุ ชนมแี นวโนมเปน โรงเรยี น ขนาด เล็กเพ่มิ ขึ้น 2. ดานการเมืองและนโยบาย พบวา นโยบายการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กมีความตอเนื่อง มีแผน ยุทธศาสตรการบริหารจัดการท่ียึดหลักการมีสวนรวมและการกระจายอํานาจ กําหนดใหมีการควบรวมโรงเรียน มกี ารสงเสรมิ และสนับสนนุ ใหนําเทคโนโลยีมาใชในการจัดการเรียนการสอน และการบริหารจัดการโรงเรียน สงผล ใหโ รงเรียนขนาดเลก็ สว นใหญม ีโอกาสไดรบั การพฒั นา 3. ดานงบประมาณ พบวา รัฐบาลจัดสรรเงินอุดหนุนรายหัวตามจํานวนนักเรียนใหโรงเรียนขนาดเล็ก สามารถวางแผนการใชง บประมาณได แตไ มเพยี งพอตอ การบรหิ ารจัดการและการพัฒนาคุณภาพ 4. ดานเทคโนโลยี พบวา โรงเรียนสามารถประยุกตใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนและการบริหาร จัดการไดภ ายใตข อ จํากดั ดานกาํ ลังคนและงบประมาณ

3 5. ดานสังคม วัฒนธรรม และประชากร พบวา ชุมชนมีสวนรวมและสนับสนุนการจัดการศึกษา ในดาน ภูมิปญญาทองถ่ิน ปราชญชาวบาน และแหลงเรียนรูสงผลใหโรงเรียนขนาดเล็ก สามารถระดมทรัพยากรและใช แหลง เรยี นรสู นับสนนุ การจดั การศกึ ษาทส่ี อดคลอ งกับทองถน่ิ ได สภาพแวดลอ มภายใน 1. ดา นโครงสรางของโรงเรียน พบวา โรงเรยี นมีปจ จัยท่ีเอื้อสาํ หรับการบรหิ ารจัดการแบบมีสว นรว ม มี อํานาจในการตัดสนิ ใจการบริหารจัดการ และสามารถกําหนดแผนการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นได 2. ดา นผลผลติ และการบริการ พบวา โรงเรยี นขนาดเล็กสามารถใหโอกาสแกป ระชากรวัยเรยี นไดม ีโอกาส ไดรบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานอยางท่ัวถึง เน่อื งจากโรงเรียนตงั้ อยใู นทุกชมุ ชน แตภ าพรวมคุณภาพผเู รียนดาน ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที่ 6 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 และช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 6 จากการประเมนิ ของ สถาบนั ทดสอบทางการศกึ ษาแหงชาติ ภาพรวมทกุ กลมุ สาระยงั ตา่ํ กวา คา เฉลย่ี ระดับสาํ นักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐานและระดับประเทศ 3. ดานบคุ ลากร พบวา ผูบ รหิ ารและครูโรงเรยี นขนาดเล็กสามารถดูแลนกั เรียนไดอยา งท่ัวถงึ เน่อื งจากมี นกั เรยี นจาํ นวนนอย 4. ดานงบประมาณ พบวา โรงเรยี นขนาดเลก็ มงี บประมาณไมเ พียงพอตอการพัฒนาคุณภาพ 5. ดา นวสั ดุอุปกรณ พบวา โรงเรียนขนาดเล็กสว นใหญมีวสั ดุอปุ กรณไ มเพยี งพอตอการจัดกจิ กรรมการเรียนรู 6. ดานการบริหารจัดการ พบวา โรงเรยี นขนาดเล็กสว นใหญไ มสามารถบริหารจดั การตามขอบขา ยงาน 4 งาน คือ งานวชิ าการ งานบรหิ ารงานบคุ คล งานงบประมาณ และงานบรหิ ารทว่ั ไป ไดต ามท่ีกําหนด สรปุ สภาพปญหาของโรงเรยี นขนาดเล็กทสี่ ําคัญ 3 ประการ ทสี่ ง ผลใหโ รงเรียนขนาดเล็กไมส ามารถจัดการ เรียนการสอนใหมีประสทิ ธภิ าพเทยี บเทากบั โรงเรียนขนาดกลางและขนาดใหญได ประกอบดว ย 1) โรงเรยี นแตละแหงไดรับงบประมาณคาใชจ า ยในการจัดการศึกษาจากรัฐบาล คิดเปน รายหัวนกั เรียน ซงึ่ การจัดสรรงบประมาณดงั กลาวสงผลใหโ รงเรยี นขนาดเลก็ ท่ีมีจาํ นวนนกั เรยี นนอยอยูใ นสถานะท่ีเสยี เปรยี บ กลา วคือ ไดร ับงบประมาณนอยกวาโรงเรียนขนาดใหญที่มีจาํ นวนนกั เรยี นมากกวา สง ผลใหโรงเรียนขนาดเลก็ มีทรัพยากรไม เพยี งพอ ขาดท้ังอปุ กรณ เทคโนโลยเี พื่อการศึกษา ทาํ ใหป ระสทิ ธิภาพการจัดการเรียนการสอนลดลง 2) ปญ หาการขาดแคลนครูท่ีมคี วามเช่ยี วชาญเฉพาะทางและจาํ นวนครูไมครบชนั้ เน่อื งจากสํานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐานกาํ หนดสดั สวนครู 1 คนตอ นกั เรียน 20 คน ซงึ่ สัดสว นดงั กลาวทําใหโ รงเรียน ขนาดเลก็ ประสบปญ หาครูไมครบช้ันเรยี น และครไู มค รบทุกสาขารายวิชา 3) โรงเรยี นขนาดเลก็ สว นใหญอ ยูใ นชุมชนขนาดเลก็ ประชากรมฐี านะยากจน ทาํ ใหไมมีศกั ยภาพในการ ระดมทรัพยากรเพ่ือนาํ มาชวยสนับสนุนการจดั การศึกษาใหกบั โรงเรยี น จากการศึกษาสภาพปญ หาของโรงเรียนขนาดเลก็ จังหวัดสิงหบุรี พบวา โรงเรียนขนาดเล็กสวนใหญประสบ ปญหาคลายคลึงกนั ใน 4 ดาน คือ ดานการบริหารจัดการ ดานการจัดการเรียนการสอน ดานความพรอมทางปจจัย ของโรงเรยี น และดา นการมสี วนรวมในการพัฒนาโรงเรียน ซ่งึ ในแตล ะดานมรี ายละเอยี ด ดังนี้ 1. ปญ หาดานการบรหิ ารจัดการ จํานวนการเกดิ ของประชากรลดลง การเคลื่อนยายประชากร การคมนาคมสะดวก ทําใหมีนักเรียนลดลง โรงเรียนขนาดเล็กเพ่ิมขึ้น มีอัตราสวนครูตอนักเรียนลดลง นักเรียนตอหองเรียนตํ่ากวามาตรฐาน คาใชจายตอหัว ของนักเรียน 1 คน สูงกวาโรงเรียนขนาดกลาง และโรงเรียนขนาดใหญ ท้ังโรงเรียนยังขาดแคลนวัสดุ อุปกรณ ผูอํานวยการโรงเรียนขนาดเล็กสวนใหญยังขาดทักษะในการบริหารจัดการ โรงเรียนซ่ึงมีบริบทท่ีแตกตางจาก โรงเรียนขนาดอนื่ ๆ สงผลใหคณุ ภาพการจัดการศึกษายังไมไดมาตรฐาน

4 2. ปญ หาดานการเรียนการสอน ในดานจัดการเรียนการสอนนั้น พบวา โรงเรียนขนาดเล็กมีครูไมครบช้ัน ครูสวนใหญขาดทักษะในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในสภาพที่ครูไมครบช้ันและนักเรียนมีจํานวนนอยในแตละชั้น หลักสูตรและแผนการ จัดการเรียนรูไมสอดคลองกับบริบทของโรงเรียน ส่ือการเรียนการสอนและแหลงการเรียนรูมีจํานวนจํากัด ซ่ึงมี สาเหตุมาจากโรงเรียนไดรับงบประมาณนอ ย สง ผลใหน ักเรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นต่ํา 3. ปญหาดา นความพรอ มเก่ียวกบั ปจ จัยสนับสนนุ ในการจดั สรรงบประมาณใหก ับโรงเรยี นท่ผี า นมา ไดใชเ กณฑจ าํ นวนนกั เรยี นในการจดั สรรงบประมาณ ดังน้ัน จึงทําใหโรงเรียนขนาดเล็กไดรับจัดสรรงบประมาณและบุคลากรไมเพียงพอ ประกอบกับสภาพอาคารเกา ชาํ รุดทรุดโทรม เน่ืองจากกอสรา งมาเปน เวลานาน คอมพิวเตอร โทรศพั ทย งั มีไมเพียงพอ โรงเรียนไมสามารถระดม ทรัพยากรจากผูปกครอง ชุมชนไดมากนัก เนื่องจากผูปกครองและชุมชนดังกลาวมีความยากจน สาหรับตัวปอน ดานนักเรียนน้นั พบวา นักเรยี นในโรงเรียนขนาดเล็กสว นใหญมาจากครอบครวั ทยี่ ากจน 4. ปญหาดานการมสี ว นรวมในการจดั การศกึ ษา ทผี่ านมานน้ั ถึงแมว าจะมตี วั แทนของชุมชนและองคกรตางๆ เขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษาในรูป ของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานก็ตาม แตบทบาทของคณะกรรมการดังกลาวยังมีไมมากนัก และหาก กลาวถึงการประสานงานกับหนวยงาน องคกรอื่น ท้ังภาครัฐและเอกชนดวยแลว เกือบจะกลาวไดวามีนอยมาก หรือไมมีเลย ในบางพ้ืนที่ ชุมชน ผูปกครอง มีฐานะยากจนไมสามารถสงเสริมสนับสนุนการดําเนินงานของโรงเรียน และการเรียนของบุตรหลานไดเ ทาที่ควร การดําเนินงานบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ ทผ่ี านมา 1. จัดทําแผนการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก กําหนดยุทธศาสตรและวิธีการดําเนินการ ที่หลากหลายเพ่ือให สถานศกึ ษาสามารถนําไปสกู ารปฏบิ ตั ไิ ดอยา งเปนรูปธรรม 2. จัดทําโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษาในสังกัด เพ่ือรองรับการดําเนินงานของ แผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กเพ่ือสนองนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยมี เปาหมายคือตองใหโรงเรียนมีครูครบชั้น มีนักเรียนที่เหมาะสมกับหองเรียน โดยใชทรัพยากรรวมกับโรงเรียน ใกลเคยี งอยางมีประสิทธิภาพ 3. กําหนดรูปแบบการบริหารจดั การ โดยเนนใหโ รงเรยี นขนาดเล็กใชทรัพยากรรวมกับโรงเรียนใกลเคียงที่มี ทรัพยากรพรอม 4. สรา งความเขาใจกับคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ผปู กครอง ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน องคกรเอกชน และสถาบันศาสนา ใหตระหนักรับรูถึงเหตุผลและความจําเปนของทางราชการในการบริหารจัดการ โรงเรยี นขนาดเลก็ ทส่ี ง ผลตอ ประสทิ ธภิ าพ การบริหารงานบุคคล งบประมาณ และคณุ ภาพการศกึ ษา 5. พัฒนาคุณภาพทางวิชาการ ใชการจัดการเรียนการสอนทางไกลผานดาวเทียมNew DLIT DLTV บริหารจัดการและสนับสนนุ งบประมาณ วสั ดอุ ปุ กรณ ปรบั สภาพภูมทิ ศั น ใหเ อื้อตอการจัดการเรียนการสอนสําหรับ โรงเรียนทตี่ องการบรหิ ารจดั การดว ยตนเอง 6. สงเสรมิ สนบั สนนุ การพัฒนาโรงเรียนหลักของการมาเรียนรวม เพ่ือสรางแรงจูงใจใหผูปกครองนักเรียน ของโรงเรียนขนาดเลก็ โดยรอบ นําบุตรหลานมาเขา เรยี น 7. ขอรบั การจัดสรรงบประมาณจากสาํ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพ่ือสนับสนุนคาพาหนะ นักเรยี นใหก ับโรงเรียนหลกั ของการมาเรียนรวม

5 8. ดแู ลและใหความชวยเหลือ ใหขอเสนอแนะใหโรงเรียนหลักไดจัดสวัสดิการใหกับนักเรียนท่ีไปเรียนรวม เชนเดียวกับนักเรียนโรงเรียนหลัก เชน ชุดนักเรียน ชุดพละ ชุดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียน อาหารเชา และ อาหารกลางวนั ปจจัยสาํ คญั ที่เปน สาเหตุทาํ ใหการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็กไมเ ปน ไปตามเปาหมาย มดี ังนี้ 1. นโยบายเกยี่ วกับการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็กไมเอ้อื ตอการดําเนนิ งานในพนื้ ท่ี 2. ผูบริหารสถานศึกษาไมตองการใหมีการยุบรวมสถานศึกษาในสมัยที่ตนเองดํารงอยูในตําแหนงใน โรงเรยี นน้นั 3. ไมสามารถรวมกบั โรงเรียนใกลเ คียงไดเน่อื งจากมคี วามขัดแยงระหวา งชุมชนในสมัยด้งั เดิม 4. ครทู ่มี ีอายงุ านใกลเ กษียณ ไมต องการใหเ ลกิ หรอื รวม เนอ่ื งจากเกรงวาจะสงผลกระทบตอ การปฏบิ ัตงิ าน 5. โรงเรียนขนาดเล็กหลายแหง มีการจางครูดวยเงินนอกงบประมาณ เพ่ือใหโรงเรียนคงอยู และครูจาง สามารถนาํ ประสบการณใ นการสอนมาสมคั รสอบบรรจุครผู ชู ว ยได 6. นโยบายการไมแตง ต้ังผบู ริหารโรงเรยี นในโรงเรยี นขนาดเล็กยังไมมคี วามชัดเจน 7. การสรา งความเขา ใจกับชมุ ชน เพื่อเปลีย่ นแนวคดิ และทัศนคติคอนขางยาก เกิดการตอ ตานการเลิก และ รวมสถานศึกษา ยังยึดติดกับอาคารสถานท่ี สิ่งกอสราง โดยยังไมเห็นความสําคัญของบุตร หลาน ในชุมชน อยาง แทจ ริง 8. การสนับสนุนเงินงบประมาณ เงินอุดหนุนรายหัว คาพาหนะรับสงนักเรียนไมสอดคลองกับสภาพ เศรษฐกจิ ในปจ จุบัน และสภาพของทองที่ ขอ มูลพน้ื ฐานโรงเรียนขนาดเล็ก จังหวัดสิงหบุรี แบงเขตการปกครองเปน 6 อําเภอ โดยปการศึกษา 2562 มีสถานศึกษาสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) กระจายอยูในทุกอําเภอ รวม 113 โรงเรียน ซึ่งจัดการเรียนการสอน ตัง้ แตร ะดับปฐมวยั ระดับระดบั ประถมศกึ ษา และระดบั มธั ยมศกึ ษา ครอบคลุมทกุ พนื้ ท่ขี องจงั หวัด ดังน้ี จํานวน รร. จาํ นวน รร. ขนาดเล็ก ที่ สงั กัด ทัง้ หมด รอยละ (นร. ต่ํากวา 120 คน) 1 สาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสงิ หบรุ ี 101 68 67.33 2 สํานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 5 12 3 25.00 รวมท้ังสิ้น 113 71 62.83 1) ตารางแสดงขอมูลจํานวนนักเรียน จํานวนครู และจํานวนสถานศึกษาขนาดเล็ก ปการศึกษา 2558- 2562 สังกัดสาํ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสิงหบรุ ี (ขอ มลู ณ วนั ที่ 10 มิถุนายน ของทกุ ป) ป จาํ นวนโรงเรยี น จาํ นวนครู จํานวนนักเรียน อัตราสว นคร:ู นร. การศึกษา ทง้ั หมด ขนาดเลก็ รอ ยละ ทั้งหมด ขนาดเล็ก ทัง้ หมด ขนาดเล็ก ทัง้ หมด ขนาดเลก็ 2558 117 78 66.67 1,118 411 15,201 4584 1 : 14 1 : 11 2559 114 77 67.54 971 369 14,969 4,666 1 : 15 1 : 13 2560 108 69 63.89 890 305 15,073 4,272 1 : 17 1 : 14 2561 104 68 65.38 837 301 14,449 4,371 1 : 17 1 : 15 2562 101 68 67.33 844 308 13,769 4,371 1 : 16 1 : 14

6 ตารางแสดงขอมูลจาํ นวนโรงเรียนขนาดเลก็ จําแนกตามจาํ นวนนกั เรยี น (ปก ารศกึ ษา 2558–2562) จาํ นวนโรงเรยี น ปการศึกษา 0-40 คน 41-60 คน 61-80 คน 81-120 คน รวม หมายเหตุ 2558 21 18 21 18 78 2559 18 22 15 22 77 2560 12 23 16 18 69 2561 14 22 9 23 68 2562 14 20 10 24 68 2) ตารางแสดงขอมูลจํานวนนักเรียน จํานวนครู และจํานวนสถานศึกษาขนาดเล็ก ปการศึกษา 2558- 2562 สังกดั สํานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 (ขอ มูล ณ วันท่ี 10 มถิ นุ ายน ของทกุ ป) ป จํานวนโรงเรยี น จาํ นวนครู จํานวนนักเรยี น อตั ราสว นคร:ู นร. การศึกษา ทง้ั หมด ขนาดเลก็ รอ ยละ ท้ังหมด ขนาดเลก็ ทัง้ หมด ขนาดเลก็ ท้งั หมด ขนาดเลก็ 2558 12 2 16.67 - - - - - - 2559 12 2 16.67 - - - - - - 2560 12 2 16.67 429 37 7,226 371 1 : 17 1 : 10 2561 12 2 16.67 410 37 6,994 328 1 : 17 1 : 9 2562 12 3 25.00 404 38 6,929 263 1 : 17 1 : 7 ตารางแสดงขอมลู จํานวนโรงเรียนขนาดเล็กจาํ แนกตามจาํ นวนนกั เรียน ปการศกึ ษา 2560–2562) จาํ นวนนักเรียน (ปง บประมาณ) ที่ ชอื่ สถานศึกษา อําเภอ 2560 2561 2562 หมายเหตุ 1 หัวไผว ิทยาคม เมืองสิงหบ รุ ี 62 62 52 2 บา นแปง วทิ ยา พรหมบรุ ี 115 102 65 3 ทองเอนวทิ ยา อนิ ทรบ รุ ี 194 164 119 รวมนกั เรยี น 371 328 236 3) ขอมูลจํานวนสถานศึกษา สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปการศึกษา 2562 จาํ แนกเปน รายอาํ เภอ สพป.สิงหบรุ ี สพม.5 จํานวน รร. จาํ นวน รร. จํานวน รร. จํานวน รร. ท่ี อาํ เภอ ทง้ั หมด ขนาดเล็ก รอยละ ท้ังหมด ขนาดเลก็ รอยละ (นร. ตํ่ากวา 120 คน) (นร. ต่ํากวา 120 คน) 1 อาํ เภอเมืองสิงหบ ุรี 17 9 52.94 3 1 33.33 2 อาํ เภออนิ ทรบรุ ี 29 17 58.62 3 1 33.33 3 อําเภอพรหมบุรี 13 11 84.61 2 1 50.00 4 อําเภอคายบางระจนั 15 10 66.67 1 - - 5 อําเภอบางระจัน 20 15 75.00 2 - - 6 อาํ เภอทาชา ง 7 6 85.71 1 - - รวมท้งั สิ้น 101 68 67.33 12 3 25.00

7 จาํ นวนสถานศึกษาขนาดเล็ก แยกตามอําเภอ (โรงเรยี นท่ีมจี าํ นวนนกั เรียน 120 คนลงมา) อาํ เภอเมืองสงิ หบรุ ี จาํ นวน 10 โรงเรยี น จาํ นวนนกั เรียน จํานวน ครู (คน) (คน) ท่ี ช่อื โรงเรยี น ตําบล หมายเหตุ สังกัดสาํ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสงิ หบรุ ี (สพป.สงิ หบุรี) 1 ชุมชนวัดพระนอนจกั รสหี  จักรสีห 92 6 2 วัดศรสี าคร ตน โพธิ์ 43 4 3 วัดกระดังงา บางกระบือ 0 4 วดั สะอาดราษฎรบ ํารุง บางกระบอื 97 เลิกสถานศึกษาแลว 11 5 วดั โคกพระ โพกรวม 15 รร.วดั โคกพระ รวมกบั รร.วัด 6 วดั ราษฎรประสทิ ธ์ิ โพกรวม 105 ราษฎรป ระสิทธิ์ แลว 7 วัดพระปรางคม นุ ี มวงหมู 74 5 8 วัดศรัทธาภริ ม มว งหมู 61 8 9 วดั โพธ์ิชัย หัวไผ 46 5 สังกัดสาํ นักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 5 (สพม.5) 52 4 1 หวั ไผวทิ ยาคม หวั ไผ 12 หาง รร.สงิ หบรุ ี 15.2 กม. อําเภออินทรบรุ ี จาํ นวน 18 โรงเรียน จาํ นวนนกั เรยี น จํานวน ครู (คน) (คน) ท่ี ชือ่ โรงเรยี น ตําบล หมายเหตุ สังกดั สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสิงหบุรี (สพป.สงิ หบ รุ ี) 1 วัดโพธ์สิ าํ ราญ (ไผขาด) งว้ิ ราย 31 2 2 วัดนอ ย งวิ้ ราย 78 7 3 วดั ระนาม ชีนํา้ รา ย 87 7 4 วัดคลองโพธิศ์ รี ทองเอน 42 3 5 วัดเซา สิงห ทองเอน 63 5 6 วดั ไผด ํา (มติ รภาพที่ 183) ทองเอน 55 4 7 วัดลอ งกะเบา ทองเอน 42 4 8 วดั ยาง ทับยา 40 7 9 วัดทอง นํ้าตาล 33 3 10 วัดดอกไม ประศกุ 0 11 วัดปลาไหล ประศุก 82 เลิกสถานศกึ ษาแลว 12 วัดกระทุมป โพธิ์ชยั 53 6 13 วดั บา นลาํ โพธิ์ชัย 92 5 14 บา นคูเมือง หวยชัน 81 8 15 วดั หนองสุม หวยชนั 81 6 16 วดั การอ ง หวยชัน 82 9 17 วัดประศกุ อนิ ทรบ รุ ี 39 6 สังกดั สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 5 (สพม.5) 4 1 ทองเอนวิทยา ทองเอน 119 12 หางจาก รร.อินทรบ รุ ี 8.3 กม. หา งจาก รร.ศรีวนิ ติ 6.6 กม.

8 จํานวนสถานศกึ ษาขนาดเลก็ แยกตามอาํ เภอ (โรงเรียนทมี่ จี าํ นวนนกั เรียน 120 คนลงมา) อําเภอพรหมบรุ ี จาํ นวน 12 โรงเรยี น จํานวนนกั เรียน จาํ นวน ครู (คน) (คน) ที่ ชอ่ื โรงเรียน ตาํ บล 9 หมายเหตุ 2 หาง รร.พรหมบรุ รี ชั ดาภิเษก สงั กดั สาํ นักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสงิ หบ รุ ี (สพป.สิงหบ รุ )ี 4 7.4 กม. 1 อนบุ าลพรหมบุรี บางนาํ้ เชี่ยว 111 4 2 วดั โภคาภวิ ัฒน บางนํ้าเช่ียว 29 5 3 วดั หลวง บางนํา้ เชยี่ ว 45 4 4 วดั กลางธนรินทร บา นแปง 38 6 5 บา นเกา บานหมอ 70 6 6 วัดโคปนู บา นหมอ 66 4 7 ชุมชนวัดตราชู บานหมอ 89 8 8 วัดเตย พระงาม 86 4 9 วัดประสาท พระงาม 44 10 ชมุ ชนวดั เทพมงคล โรงชา ง 45 13 11 วัดพรหมเทพาวาส หัวปา 49 สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 5 (สพม.5) 1 บา นแปงวทิ ยา บา นแปง 65 อําเภอคายบางระจนั จาํ นวน 10 โรงเรียน จํานวนนักเรียน จาํ นวน ครู (คน) (คน) ท่ี ช่ือโรงเรยี น ตําบล 9 หมายเหตุ 6 สังกดั สํานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงิ หบ ุรี (สพป.สิงหบ ุรี) 7 1 วัดตะโกรวม คอทราย 98 5 2 วดั วังกะจบั คอทราย 88 5 3 วัดโพธศิ์ รี ทาขา ม 94 6 4 วดั สาธกุ าราม ทา ขา ม 59 8 5 คายบางระจัน บางระจนั 89 3 6 วดั ประดบั บางระจนั 103 6 7 วัดบานกลับ โพทะเล 104 9 8 วัดโพธิส์ งั ฆาราม โพสังโฆ 58 9 วดั สิงห โพสังโฆ 115 10 ไทยรัฐวทิ ยา 56 หนองกระทมุ 115

9 จํานวนสถานศึกษาขนาดเล็ก แยกตามอาํ เภอ (โรงเรยี นท่มี ีจาํ นวนนกั เรียน 120 คนลงมา) อําเภอบางระจนั จํานวน 15 โรงเรยี น จํานวนนกั เรยี น จาํ นวน ครู (คน) (คน) ท่ี ชือ่ โรงเรยี น ตําบล 3 หมายเหตุ 12 รร.วัดวงั ขรณ รวม สังกดั สาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสงิ หบ รุ ี (สพป.สิงหบ รุ ี) 4 สถานศกึ ษากบั รร.ชมุ ชนวดั 1 วดั โพธหิ์ อม เชงิ กลดั 29 4 พระปรางควิรยิ วิทยา แลว วดั บา นจา 4 2 (เอ่ียมโหมดอนสุ รณ) บานจา 113 4 3 วัดกลางชศู รเี จรญิ สุข พักทนั 43 5 4 วัดชะอมสามัคคธี รรม พกั ทัน 52 9 5 บา นทุงกลบั พักทนั 75 5 6 วดั นา้ํ ผ้งึ โพชนไก 36 6 2 7 วดั วงั ขรณ โพชนไก 25 2 4 8 วัดชนั สตู ร โพชนไก 53 5 9 เรอื งเดชประชานุ ไมด ัด 109 ไมดัด 45 เคราะห สระแจง 77 10 วดั ตลาดโพธ์ิ สระแจง 30 11 วดั ดอนเจดีย สระแจง 33 12 บานทงุ วา สิงห 62 13 วัดสามัคคธี รรม สิงห 72 14 วัดประสทิ ธิค์ ุณากร 15 ชมุ ชนบานไมด ัด อาํ เภอทาชา ง จาํ นวน 6 โรงเรยี น จาํ นวนนกั เรยี น จาํ นวน ครู (คน) (คน) ที่ ชื่อโรงเรียน ตําบล 4 หมายเหตุ 4 สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสงิ หบุรี (สพป.สิงหบ รุ ี) 4 1 วดั โบสถ ถอนสมอ 56 4 2 อนุบาลทาชาง ถอนสมอ 50 11 3 วดั พกิ ลุ ทอง พิกลุ ทอง 58 7 4 ชุมชนวัดเสาธงหิน โพประจักษ 90 5 วัดโสภา โพประจกั ษ 100 6 วดั วหิ ารขาว วิหารขาว 54 หมายเหตุ 1. จาํ นวนครู หมายถงึ จาํ นวนขาราชการครู + ผูบริหารสถานศกึ ษา แลว 2. จาํ นวนครู นับเฉพาะจาํ นวนอตั ราทเ่ี ปน ขาราชการ ไมน ับรวมลูกจาง ครอู ัตราจาง

10 ขอมูลคณุ ภาพดา นการศึกษา (ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน) สังกดั สํานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสิงหบรุ ี ตารางท่ี 1 แสดงขอมูลผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา ผลการทดสอบระดับชาติ NT ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ปการศึกษา 2559-2561 จาํ แนกตามจํานวนนักเรยี น กลุม เปาหมาย จน. ผลคะแนนการทดสอบจาํ แนกตามความสามารถ/ปการศกึ ษา โรงเรยี นขนาดเล็ก นร. ท่ี ความสามารถดานภาษา ความสามารถดา นเหตผุ ล ความสามารถดา นคํานวณ 2559 2560 2561 2559 2560 2561 2559 2560 2561 คา เฉลย่ี ระดบั ประเทศ 51.00 52.67 53.18 36.99 37.75 47.19 53.38 45.31 48.07 นกั เรยี น 0-40คน 1 วัดดอกไม 0 34.28 38.57 40.00 40.00 20.00 31.42 2 วัดกระดังงา 0 34.28 44.28 40.95 22.85 29.52 24.28 3 วัดโคกพระ 15 56.42 50.20 28.57 50.00 35.91 45.71 63.57 44.48 28.57 4 วดั วงั ขรณ 25 36.19 37.71 30.00 30.00 20.57 17.85 38.57 32.00 20.71 5 วดั โภคาภวิ ัฒน 29 50.47 43.57 56.82 33.33 51.42 76.50 45.71 35.00 6 วดั โพธ์หิ อม 29 74.28 68.57 46.66 31.42 61.42 33.33 61.90 77.14 32.38 7 บานทงุ วา 30 56.19 54.28 54.28 40.00 40.00 40.95 45.71 44.76 51.42 8 วัดโพธิ์สาํ ราญ (วดั ไผขาด) 31 40.00 52.00 45.00 35.91 22.85 46.42 51.83 45.71 41.42 9 วัดทอง 33 42.44 57.14 45.71 34.85 50.00 30.85 30.28 54.28 40.00 10 วัดสามัคคีธรรม 33 38.28 52.38 34.28 27.14 39.04 22.85 58.57 37.14 38.57 11 วัดน้าํ ผ้ึง 36 54.28 37.85 40.00 37.14 54.28 38.09 51.90 37.85 45.71 12 วดั กลางธนรนิ ทร 38 53.33 46.28 47.61 35.00 24.57 41.90 54.28 33.14 45.71 13 วดั ประศุก 39 55.00 41.90 31.42 62.85 27.61 28.00 78.57 31.19 34.85 14 วัดยาง 40 63.57 50.85 38.57 30.28 45.71 38.28 40.00 นกั เรียน 41-60คน 15 วัดคลองโพธ์ิศรี 42 75.00 68.57 55.71 58.57 50.47 51.42 82.14 66.66 50.47 16 วดั ลอ งกะเบา 42 68.57 62.28 58.85 56.66 56.57 50.85 66.19 56.57 56.00 17 วดั กลางชศู รเี จรญิ สขุ 43 50.61 57.14 67.85 37.55 37.95 45.71 59.18 52.24 51.42 18 วดั ศรสี าคร 43 29.09 37.14 43.42 18.44 26.12 24.57 27.53 33.46 34.85 19 วดั ประสาท 44 77.14 52.57 47.14 52.85 36.57 50.47 88.57 46.85 46.66 20 วัดหลวง 45 60.47 57.77 65.71 47.61 51.11 59.04 58.57 56.19 57.61 21 วัดตลาดโพธิ์ 45 53.33 46.66 50.00 27.14 23.80 35.00 44.28 33.33 32.85 22 ชุมชนวัดเทพมงคล 45 60.81 42.85 39.18 20.00 55.10 37.14 23 วัดโพธ์ชิ ัย 46 39.78 52.85 56.42 24.61 39.52 47.14 48.57 40.47 38.57 24 วัดพรหมเทพาวาส 49 55.00 61.42 61.58 35.71 44.28 55.55 56.42 50.71 56.50 25 อนุบาลทาชา ง 50 67.61 54.28 34.28 41.90 39.28 24.28 70.47 45.71 31.42 26 วดั ชะอมสามคั คธี รรม 52 41.58 24.44 37.14 44.64 17.85 27 วดั กระทมุ ป 53 67.14 50.35 29.28 47.14 31.78 22.85 65.71 50.71 56.32 28 วดั ชนั สูตร 40.00 62.14 60.40 24.28 40.71 57.55 42.85 53.57 41.63 53 39.28 52.85 44.48 35.71 52.85 46.53 45.00 38.28 45.71 29 วัดวหิ ารขาว 54 52.00 51.74 39.42 53.33

11 ท่ี กลุมเปา หมาย จน. ผลคะแนนการทดสอบจําแนกตามความสามารถ/ปก ารศกึ ษา โรงเรียนขนาดเล็ก นร. ความสามารถดานภาษา ความสามารถดา นเหตุผล ความสามารถดา นคาํ นวณ 2559 2560 2561 2559 2560 2561 2559 2560 2561 คา เฉล่ยี ระดบั ประเทศ 51.00 52.67 53.18 36.99 37.75 47.19 53.38 45.31 48.07 30 วดั ไผด ํา 55 70.00 61.26 67.61 49.52 53.33 69.52 77.61 56.19 58.09 (มติ รภาพท่ี 183) 67.61 53.71 59.04 48.57 34.28 50.00 63.80 42.85 58.57 31 วัดโบสถ 56 60.95 36.19 57.66 29.52 36.19 52.72 60.95 29.52 44.93 32 วัดพิกลุ ทอง 58 48.00 61.42 48.83 35.42 34.76 34.80 51.42 47.14 51.42 33 วัดโพธ์สิ งั ฆาราม 58 55.55 69.84 68.09 51.11 44.44 60.47 53.33 54.92 54.76 34 วัดสาธกุ าราม 59 นกั เรยี น 61-80คน 35 วัดศรัทธาภริ ม 61 37.71 43.80 43.33 34.28 26.66 32.85 43.42 36.66 32.85 36 วดั ประสทิ ธคิ์ ุณากร 62 59.52 50.15 59.28 33.80 23.17 31.42 50.95 40.00 52.14 37 วัดเซา สิงห 63 52.38 64.08 69.84 40.95 41.22 60.31 54.28 51.02 56.82 38 วัดโคปนู 66 53.65 53.92 42.14 33.01 38.57 54.28 56.50 44.64 48.57 39 บานเกา 70 61.42 64.44 50.47 34.57 55.23 34.92 56.00 52.38 43.49 40 ชมุ ชนบานไมดัด 72 41.42 43.42 47.79 21.42 36.85 29.61 49.04 36.85 49.35 41 วัดพระปรางคม ุนี 74 54.04 58.36 61.14 50.47 44.08 51.42 58.80 55.10 51.42 42 บานทุง กลบั 75 45.00 52.85 44.57 21.42 31.90 38.85 55.00 41.90 41.71 43 วดั ดอนเจดยี  77 59.42 52.61 62.85 43.42 36.42 61.42 65.42 43.09 57.55 44 วัดนอย 78 49.04 56.42 44.93 33.80 31.78 36.10 44.28 47.50 39.22 นกั เรียน 81-120 คน 45 บานคเู มอื ง 81 60.57 49.18 53.65 45.42 25.30 37.14 73.42 40.00 50.15 46 วดั หนองสุม 81 49.14 45.71 62.04 40.28 27.50 29.38 56.85 42.14 43.26 47 วัดการอง 82 62.85 45.23 55.71 53.57 27.14 50.00 77.14 35.71 48.57 48 วัดปลาไหล 82 57.55 45.71 44.00 40.40 43.57 42.28 56.32 50.71 38.28 49 วัดเตย 86 51.68 43.21 50.47 33.24 27.50 47.61 54.54 44.64 54.28 50 วัดระนาม 87 66.42 30.00 54.28 51.42 22.85 55.51 75.00 28.57 48.16 51 วัดวังกะจับ 88 56.73 49.45 31.42 31.83 23.07 27.91 59.18 38.02 30.10 52 ชมุ ชนวดั ตราชู 89 37.14 52.72 57.50 22.22 34.28 46.78 31.74 43.63 50.35 53 คายบางระจนั 89 46.19 44.89 54.28 32.85 25.71 28.57 43.80 44.08 47.14 54 ชมุ ชนวดั เสาธงหนิ 90 64.28 59.52 60.00 37.85 43.09 57.14 74.28 45.95 54.64 55 วดั บานลาํ 92 66.57 40.00 63.33 35.14 42.85 60.95 70.00 35.23 54.76 ชมุ ชนวัดพระนอน 56 จกั รสหี ม ิตรภาพที่ 92 37.95 48.57 45.42 32.65 53.71 37.42 36.12 47.42 43.14 133 57 วัดโพธศ์ิ รี 94 46.12 61.90 61.71 44.89 36.82 62.57 47.34 50.15 59.71 วัดสะอาดราษฎร 58 บํารุง 97 44.00 44.12 44.93 34.28 30.15 30.64 52.00 35.87 43.37 52.72 55.95 47.39 45.19 34.04 33.27 63.37 43.80 41.68 59 วดั ตะโกรวม 98 46.71 50.47 54.52 28.71 42.38 54.52 40.85 42.85 51.42 60 วัดโสภา 100

12 กลมุ เปาหมาย จน. ผลคะแนนการทดสอบจาํ แนกตามความสามารถ/ปก ารศกึ ษา โรงเรียนขนาดเลก็ นร. ที่ ความสามารถดา นภาษา ความสามารถดานเหตผุ ล ความสามารถดา นคาํ นวณ 2559 2560 2561 2559 2560 2561 2559 2560 2561 คา เฉลย่ี ระดับประเทศ 51.00 52.67 53.18 36.99 37.75 47.19 53.38 45.31 48.07 61 วัดประดับ 103 57.82 64.12 54.64 40.81 40.95 45.89 53.87 48.57 54.46 62 วดั บานกลับ 104 46.07 44.82 38.73 39.28 28.92 29.20 58.21 40.71 36.50 63 วดั ราษฎรประสิทธิ์ 105 28.57 59.42 55.38 40.40 42.28 52.30 37.95 47.42 51.86 64 เรอื งเดชประชานุเคราะห 109 55.00 43.21 40.28 41.42 24.28 35.42 70.23 40.00 37.14 65 อนบุ าลพรหมบรุ ี 111 62.01 56.42 55.93 57.31 40.71 49.47 65.21 48.57 46.31 วัดบา นจา 66 (เอี่ยมโหมดอนสุ รณ) 113 53.06 59.64 47.25 42.04 43.92 48.79 53.87 45.00 41.31 67 วัดสงิ ห 115 59.46 62.85 54.28 43.03 38.57 46.53 60.53 50.00 40.81 68 ไทยรฐั วิทยา 56 115 68.57 43.57 46.82 53.96 24.28 40.00 65.71 44.28 44.76 ตารางที่ 2 แสดงขอ มูลผลสมั ฤทธิท์ างการศกึ ษา ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 6 ปการศึกษา 2559-2561 จําแนกตามจํานวนนักเรียน ปการ ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET จาํ นวนวิชาทม่ี ีคาเฉลย่ี ที่ กลุม เปาหมาย/โรงเรยี น ศกึ ษา ภาษาไทย อังกฤษ คณิตฯ วทิ ยฯ สงู กวา ประเทศ คา เฉลยี่ ระดับประเทศ 2559 52.98 34.59 40.47 41.22 คาเฉล่ยี ระดบั ประเทศ 2560 46.58 36.34 37.12 39.12 คา เฉลี่ยระดับประเทศ 2561 56.20 38.05 37.88 40.17 โรงเรยี นท่ีมีนักเรยี น 0-40 คน 1 วัดกระดังงา 2559 42.00 27.14 30.71 38.79 2560 38.61 25.36 30.71 31.64 2561 2 วดั ดอกไม 2559 54.50 42.50 35.00 27.00 2 2560 31.44 36.25 32.50 22.50 2561 3 วัดโคกพระ 2559 61.90 36.00 54.00 47.40 4 2560 53.56 36.88 21.25 41.63 3 2561 51.13 40.00 37.50 45.75 2 4 วดั วงั ขรณ 2559 51.68 27.86 45.71 46.64 2 2560 41.54 34.17 28.33 45.67 1 2561 40.13 27.50 16.88 29.31 5 วดั โพธิ์หอม 2559 48.68 28.75 41.25 45.69 2 2560 53.96 38.75 45.83 44.25 4 2561 56.86 45.00 39.09 44.64 4 6 วดั โภคาภิวัฒน 2559 47.83 39.17 23.33 37.33 1 2560 49.25 33.75 27.50 40.50 2561 81.25 70.00 40.00 34.00 3

13 ท่ี กลมุ เปา หมาย/โรงเรียน ปก าร ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET จาํ นวนวิชาทม่ี คี าเฉล่ีย ศกึ ษา ภาษาไทย องั กฤษ คณติ ฯ วิทยฯ สงู กวาประเทศ คาเฉล่ยี ระดับประเทศ 2559 52.98 34.59 40.47 41.22 คาเฉลย่ี ระดับประเทศ 2560 46.58 36.34 37.12 39.12 คาเฉลย่ี ระดับประเทศ 2561 56.20 38.05 37.88 40.17 7 บานทุง วา 2559 53.00 17.50 25.00 29.50 1 2560 35.83 29.17 30.00 35.00 2561 61.67 40.00 38.33 44.17 4 8 วดั โพธ์สิ ําราญ (ไผข าด) 2559 48.33 25.83 28.33 37.08 2560 45.17 22.50 26.67 34.50 2561 41.20 26.00 11.00 30.90 9 วัดสามคั คธี รรม 2559 37.61 26.79 20.00 36.07 2560 38.27 32.92 25.00 33.33 2561 58.88 28.13 27.50 39.75 1 10 วัดทอง 2559 47.35 33.50 31.00 36.40 2560 39.97 29.06 48.13 37.81 1 2561 55.60 37.00 32.00 42.40 2 11 วดั นํ้าผงึ้ 2559 64.13 33.75 55.00 43.00 3 2560 41.53 33.75 30.00 31.13 2561 51.00 31.25 27.50 40.00 12 วัดกลางธนรินทร 2559 49.16 30.71 42.14 41.00 1 2560 46.35 30.42 41.67 43.75 2 2561 51.45 33.50 42.00 38.00 1 13 วดั ประศกุ 2559 51.33 27.08 44.17 34.50 1 2560 47.40 32.08 28.33 33.67 1 2561 51.65 28.00 29.00 43.40 1 14 วัดยาง 2559 62.17 24.17 32.50 43.50 2 2560 51.60 37.50 46.00 33.90 3 2561 52.63 41.25 22.50 30.75 1 นกั เรียน 41-60 คน 15 วัดคลองโพธิ์ศรี 2559 49.00 30.63 27.50 37.50 2560 55.13 35.83 39.17 46.00 3 2561 58.25 27.50 33.75 42.13 2 16 วดั ลองกะเบา 2559 55.57 33.21 40.00 37.71 1 2560 47.48 31.25 40.00 36.17 2 2561 59.89 28.93 32.86 43.50 2 17 วดั ศรีสาคร 2559 51.75 23.06 36.67 38.11 2560 39.13 31.67 27.50 29.58 2561 49.69 25.63 23.75 32.25 18 วัดกลางชูศรเี จริญสุข 2559 54.13 35.00 27.50 31.00 2 2560 38.25 33.75 22.50 33.50 2561 51.93 30.00 24.29 26.07

14 ท่ี กลมุ เปาหมาย/โรงเรียน ปก าร ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET จาํ นวนวิชาทมี่ คี า เฉลย่ี ศึกษา ภาษาไทย องั กฤษ คณิตฯ วิทยฯ สงู กวาประเทศ คาเฉล่ียระดับประเทศ 2559 52.98 34.59 40.47 41.22 คาเฉลีย่ ระดบั ประเทศ 2560 46.58 36.34 37.12 39.12 คา เฉล่ียระดบั ประเทศ 2561 56.20 38.05 37.88 40.17 19 วดั ประสาท 2559 46.30 31.00 28.00 36.40 2560 48.50 37.00 36.00 36.00 2 2561 55.54 28.75 34.17 38.42 20 วัดตลาดโพธ์ิ 2559 54.00 29.00 29.00 45.60 2 2560 42.18 28.33 37.92 34.04 1 2561 52.72 27.22 30.00 36.67 21 วดั หลวง 2559 60.71 38.21 55.00 46.21 4 2560 48.54 48.75 52.50 48.58 4 2561 58.79 40.83 40.83 34.50 3 22 ชุมชนวดั เทพมงคล 2559 50.04 32.14 29.29 39.29 2560 43.11 47.50 37.86 38.57 2 2561 52.25 36.25 28.75 43.88 1 23 วัดโพธิ์ชัย 2559 52.96 26.79 37.14 40.07 2560 44.36 30.83 32.78 36.56 2561 52.34 46.25 36.88 34.13 1 24 วดั พรหมเทพาวาส 2559 45.69 30.63 33.75 29.25 2560 44.68 33.50 28.00 36.10 2561 46.57 28.21 25.71 38.57 25 อนุบาลทาชา ง 2559 52.69 29.08 43.75 37.13 1 2560 48.88 32.78 33.33 34.17 1 2561 60.00 39.50 36.00 35.70 2 26 วัดชะอมสามคั คธี รรม 2559 51.69 25.83 36.67 39.39 2560 43.04 30.00 40.83 32.67 1 2561 38.88 23.75 15.00 26.25 27 วดั ชันสตู ร 2559 50.68 29.64 38.57 36.14 2560 30.52 27.50 26.67 31.92 2561 55.75 27.92 25.83 36.08 28 วดั กระทุมป 2559 63.50 20.00 30.00 39.00 1 2560 36.10 28.50 32.00 35.40 2561 60.75 39.17 32.50 41.17 2 29 วัดวหิ ารขาว 2559 49.10 35.17 36.67 37.13 1 2560 39.91 37.50 24.38 31.94 1 2561 53.50 34.83 31.00 38.00 30 วัดไผด าํ (มติ รภาพที่ 183) 2559 58.15 37.00 44.00 48.70 4 2560 2561 59.50 31.50 40.00 39.80 2

15 ท่ี กลมุ เปาหมาย/โรงเรยี น ปก าร ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET จาํ นวนวิชาทม่ี คี าเฉล่ีย ศึกษา ภาษาไทย องั กฤษ คณิตฯ วทิ ยฯ สงู กวาประเทศ คาเฉลี่ยระดับประเทศ 2559 52.98 34.59 40.47 41.22 คา เฉลย่ี ระดบั ประเทศ 2560 46.58 36.34 37.12 39.12 คาเฉลย่ี ระดบั ประเทศ 2561 56.20 38.05 37.88 40.17 31 วัดโบสถ 2559 45.50 23.33 41.67 48.33 2 2560 49.84 35.36 27.14 38.21 1 2561 61.08 43.75 40.83 47.42 4 32 วดั โพธิ์สงั ฆาราม 2559 53.68 27.95 31.36 34.09 1 2560 55.13 36.79 35.71 40.57 3 2561 51.56 34.72 30.00 31.11 33 วดั พิกุลทอง 2559 66.13 35.00 41.67 45.83 4 2560 36.64 29.17 30.56 36.83 2561 54.30 27.50 29.50 38.10 34 วัดสาธุการาม 2559 65.83 26.25 40.83 50.75 3 2560 46.93 36.54 40.38 44.77 4 2561 64.22 41.56 36.88 46.69 3 นกั เรียน 61-80 คน 35 วดั ศรัทธาภริ ม 2559 48.54 26.25 44.17 41.75 2 2560 37.33 25.83 32.78 32.50 2561 46.65 25.17 29.00 37.63 36 วัดประสิทธค์ิ ณุ ากร 2559 49.47 26.94 37.22 34.89 2560 34.69 30.63 17.50 39.38 1 2561 39.20 32.00 41.00 34.40 37 วดั เซาสงิ ห 2559 50.81 26.04 34.58 36.04 2560 46.39 37.14 37.86 34.93 2 2561 61.95 30.50 24.00 39.20 1 38 วัดโคปูน 2559 43.75 31.88 47.50 35.38 1 2560 52.84 37.86 40.71 36.36 3 2561 62.33 42.50 46.67 40.11 3 39 บานเกา 2559 45.75 32.27 37.73 38.64 2560 46.45 34.00 39.00 35.10 2561 51.03 35.94 33.13 38.75 40 ชมุ ชนบา นไมดดั 2559 56.98 32.73 41.36 46.73 3 2560 47.48 35.00 40.50 36.00 2 2561 54.91 36.88 35.63 38.50 41 วัดพระปรางคม ุนี 2559 59.85 34.50 45.00 46.60 3 2560 51.25 35.00 36.67 41.67 2 2561 61.57 43.86 45.00 43.18 4 42 บา นทงุ กลบั 2559 53.68 28.50 51.50 36.35 2 2560 44.83 28.50 44.00 34.30 1 2561 42.75 25.42 22.50 31.67

16 ที่ กลมุ เปาหมาย/โรงเรียน ปก าร ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET จาํ นวนวิชาทม่ี คี าเฉล่ีย ศึกษา ภาษาไทย อังกฤษ คณติ ฯ วิทยฯ สงู กวาประเทศ คาเฉลี่ยระดบั ประเทศ 2559 52.98 34.59 40.47 41.22 คาเฉลีย่ ระดบั ประเทศ 2560 46.58 36.34 37.12 39.12 คาเฉล่ยี ระดบั ประเทศ 2561 56.20 38.05 37.88 40.17 43 วดั ดอนเจดยี  2559 44.84 34.69 36.25 33.69 1 2560 48.43 45.50 41.67 41.23 4 2561 58.56 42.19 34.38 39.00 2 44 วดั นอย 2559 39.03 32.19 35.63 36.81 2560 42.19 30.00 33.33 34.44 2561 47.75 38.50 28.00 37.30 1 นกั เรียน 81-120 คน 45 บา นคเู มือง 2559 53.63 24.38 28.75 38.50 1 2560 47.71 26.43 32.14 37.29 1 2561 47.60 32.75 29.00 38.95 46 วดั หนองสมุ 2559 52.39 23.89 29.44 41.72 1 2560 41.08 28.00 26.00 33.60 2561 53.05 24.82 29.64 44.89 1 2559 41.83 26.67 18.33 33.67 47 วดั ปลาไหล 2560 48.50 30.00 35.83 29.67 1 2561 53.34 29.82 24.64 30.68 48 วดั การอง 2559 37.11 28.89 26.11 35.33 2560 37.60 24.58 31.25 37.25 2561 36.29 25.71 16.43 26.21 49 วัดเตย 2559 46.36 27.78 28.33 35.44 2560 48.96 26.67 32.50 37.17 1 2561 48.50 29.44 29.44 40.56 1 50 วัดระนาม 2559 50.67 33.33 43.33 39.17 1 2560 62.17 41.67 38.33 41.50 4 2561 63.75 34.17 45.00 39.83 2 2559 52.75 28.93 42.14 41.36 2 51 วัดวังกะจับ 2560 43.19 36.94 32.22 40.33 2 2561 55.06 40.31 28.13 34.88 1 2559 58.58 29.17 55.00 37.33 2 52 คา ยบางระจนั 2560 37.08 22.50 38.33 35.08 1 2561 42.40 27.00 27.00 39.70 53 ชุมชนวดั ตราชู 2559 52.56 27.92 45.42 37.75 1 2560 48.11 31.43 38.57 33.21 2561 53.43 34.32 38.64 36.14

17 ที่ กลุมเปา หมาย/โรงเรียน ปการ ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET จํานวนวิชาทมี่ คี า เฉลย่ี ศึกษา ภาษาไทย อังกฤษ คณติ ฯ วิทยฯ สงู กวา ประเทศ คา เฉลย่ี ระดับประเทศ 2559 52.98 34.59 40.47 41.22 คา เฉลย่ี ระดับประเทศ 2560 46.58 36.34 37.12 39.12 คา เฉลยี่ ระดับประเทศ 2561 56.20 38.05 37.88 40.17 54 ชุมชนวดั เสาธงหนิ 2559 58.92 37.69 44.23 44.27 4 2560 57.17 39.77 38.18 45.05 4 2561 64.43 38.21 27.14 35.00 2 55 ชุมชนวัดพระนอนจกั รสหี ฯ 2559 47.06 25.83 27.22 40.28 2560 43.05 27.14 27.50 33.43 2561 48.48 34.67 25.00 31.40 56 วัดบานลํา 2559 55.05 31.59 29.55 38.45 1 2560 47.96 28.33 27.08 34.75 1 2561 61.56 28.44 26.88 35.63 1 57 วัดโพธิศ์ รี 2559 55.83 32.50 49.44 40.67 2 2560 48.87 32.31 37.31 43.62 3 2561 53.94 36.62 35.00 38.26 58 วัดสะอาดราษฎรบาํ รุง 2559 45.63 31.25 34.50 36.60 2560 39.98 29.17 29.58 38.00 2561 41.02 28.17 24.67 30.90 59 วดั ตะโกรวม 2559 54.08 33.65 39.23 47.73 2 2560 35.80 31.00 29.00 32.90 2561 47.67 27.31 22.31 29.92 60 วัดโสภา 2559 42.65 29.50 46.00 33.20 1 2560 43.69 26.88 32.50 34.44 2561 47.83 31.83 28.00 29.10 61 วัดประดับ 2559 54.83 33.33 50.83 49.71 3 2560 52.08 24.17 33.33 42.17 2 2561 64.59 36.14 33.18 40.36 2 62 วดั บานกลับ 2559 58.55 31.59 34.45 41.55 2 2560 43.06 33.75 31.11 35.58 2561 49.22 26.62 26.18 33.76 63 วัดราษฎรประสิทธ์ิ 2559 58.05 29.32 36.36 39.32 1 2560 50.63 32.29 36.25 33.75 1 2561 47.82 27.50 25.71 36.43 64 เรอื งเดชประชานเุ คราะห 2559 51.38 21.88 33.75 41.25 1 2560 39.94 27.75 28.00 34.70 2561 50.81 28.75 33.75 41.69 1 65 อนุบาลพรหมบรุ ี(วดั กุฎีทอง) 2559 54.91 42.50 57.35 43.06 4 2560 48.80 44.44 48.61 41.86 4 2561 59.93 46.50 59.00 45.25 4

18 ที่ กลมุ เปาหมาย/โรงเรยี น ปการ ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET จาํ นวนวิชาทมี่ ีคาเฉล่ยี ศกึ ษา ภาษาไทย อังกฤษ คณิตฯ วทิ ยฯ สงู กวาประเทศ คา เฉล่ยี ระดบั ประเทศ 2559 52.98 34.59 40.47 41.22 คาเฉลี่ยระดบั ประเทศ 2560 46.58 36.34 37.12 39.12 คา เฉลี่ยระดบั ประเทศ 2561 56.20 38.05 37.88 40.17 66 วดั บานจา (เอ่ยี มโหมดอนสุ รณ) 2559 48.66 25.94 35.00 43.31 1 2560 37.84 24.00 25.25 38.48 2561 39.00 26.50 24.00 40.40 1 67 วัดสิงห 2559 57.69 44.69 48.13 45.19 4 2560 55.06 38.89 52.22 45.33 4 2561 59.94 35.31 43.13 43.19 3 68 ไทยรัฐวทิ ยา 56 2559 53.25 23.57 37.14 41.86 2 (บา นหนองกระทมุ ) 2560 37.97 29.23 31.92 34.81 2561 48.11 34.32 21.82 32.36 ตารางที่ 3 แสดงขอ มูลผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 3 ปก ารศกึ ษา 2559-2561 ปก าร ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET จํานวนวชิ าทีม่ ีคา เฉลี่ย ท่ี กลมุ เปาหมาย/โรงเรยี น ศึกษา ภาษาไทย องั กฤษ คณติ ฯ วทิ ยฯ สูงกวา ประเทศ คา เฉล่ยี ระดบั ประเทศ 2559 46.36 31.80 29.31 34.99 คา เฉลี่ยระดับประเทศ 2560 48.29 30.45 26.30 32.28 คา เฉลี่ยระดับประเทศ 2561 54.42 29.45 30.04 36.10 นกั เรยี น 0-40 คน - นกั เรยี น 41-60 คน 1 วดั ศรสี าคร 2559 36.17 27.00 20.27 25.33 2560 32.75 33.00 22.00 26.50 1 2561 35.00 26.00 19.00 26.00 2 ชุมชนวัดเทพมงคล 2559 41.29 24.57 22.86 27.14 2560 35.00 21.33 21.33 30.00 2561 56.00 21.33 18.00 35.00 1 นกั เรียน 61-80 คน 3 วดั นอย 2559 46.50 27.67 30.93 34.33 2 2560 41.29 30.00 28.00 32.86 2 2561 55.38 51.50 25.00 44.00 3 นกั เรียน 81-120 คน 4 บา นคเู มอื ง 2559 38.70 30.00 19.84 30.80 2560 45.00 28.80 24.00 28.80 2561 68.00 20.00 28.00 38.00 2 5 วัดหนองสุม 2559 46.83 28.00 25.73 32.00 1 2560 42.71 24.29 17.71 30.57 2561 46.33 24.00 25.33 31.33

19 ที่ กลุมเปา หมาย/โรงเรียน ปก าร ผลการทดสอบระดบั ชาติ O-NET จาํ นวนวิชาที่มคี า เฉลยี่ ศึกษา ภาษาไทย องั กฤษ คณิตฯ วิทยฯ สงู กวาประเทศ คา เฉลี่ยระดบั ประเทศ 2559 46.36 31.80 29.31 34.99 คาเฉลย่ี ระดับประเทศ 2560 48.29 30.45 26.30 32.28 คาเฉล่ียระดบั ประเทศ 2561 54.42 29.45 30.04 36.10 6 วดั ปลาไหล 2559 50.00 28.00 22.40 36.00 2 2560 42.33 24.00 17.33 26.00 2561 56.75 32.00 26.00 31.50 2 7 วดั การอง 2559 38.25 29.00 22.20 29.25 2560 39.71 26.86 12.00 24.00 2561 44.29 27.71 19.43 32.57 8 วัดเตย 2559 43.10 26.20 26.88 31.60 2560 49.20 24.20 21.20 30.00 1 2561 48.43 28.29 16.57 32.57 9 วดั ระนาม 2559 41.30 24.40 20.72 32.80 2560 43.00 26.29 17.14 31.14 2561 51.50 25.00 28.00 27.00 10 วัดบานลํา 2559 55.00 23.75 30.90 38.00 2 2560 43.40 25.40 14.80 27.00 2561 61.17 23.67 24.67 41.67 2 11 วดั สะอาดราษฎรบาํ รุง 2559 42.50 26.75 22.60 31.50 2560 41.33 22.67 18.67 22.67 2561 41.37 25.68 22.74 29.58 12 วัดตะโกรวม 2559 43.67 26.00 34.00 34.00 1 2560 45.00 22.67 18.67 29.33 2561 40.36 22.29 22.57 28.29 13 วดั โสภา 2559 43.07 28.14 24.86 30.57 2560 43.25 24.00 16.00 28.25 2561 43.83 25.17 21.00 28.33 14 เรืองเดชประชานเุ คราะห 2559 47.71 29.71 22.97 34.86 1 2560 43.11 30.44 18.22 31.33 2561 52.40 26.40 24.80 35.60 15 วัดบา นจา (เอีย่ มโหมดอนสุ รณ) 2559 42.13 26.00 27.10 31.75 2560 32.67 23.56 14.22 27.78 2561 46.17 25.33 18.67 31.67 16 ไทยรัฐวทิ ยา 56 2559 41.29 25.53 27.76 32.24 (บา นหนองกระทุม) 2560 43.83 26.17 18.67 34.33 1 2561 46.82 24.00 26.91 32.91

20 ตารางที่ 4 แสดงขอมูลจํานวนโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีผลการทดสอบระดับชาติ NT ช้ันประถมศึกษาปที่ 3 สูงกวา คาเฉล่ียระดบั ประเทศ จําแนกเปน รายดาน ปก ารศึกษา 2559-2561 จาํ นวนโรงเรยี น ป จํานวนโรงเรยี นท่ีมคี าเฉลีย่ สงู กวาระดับประเทศรายดาน ที่ กลุมโรงเรยี นเปา หมาย ท่เี ขาสอบ การศึกษา ภาษา รอ ยละ เหตผุ ล รอ ยละ คาํ นวณ รอยละ 1 นักเรียน 0-40 คน 13 2559 7 54 5 38 6 46 14 2560 9 64 8 57 7 50 12 2561 7 58 7 58 6 50 19 2559 12 63 10 53 17 89 2 นกั เรียน 41-61 20 2560 14 70 13 65 17 85 20 2561 11 55 11 55 10 50 10 2559 5 50 3 30 5 50 3 นักเรียน 61-80 คน 10 2560 6 60 4 40 4 40 10 2561 4 40 4 40 6 60 24 2559 15 63 13 54 17 71 4 นกั เรียน 81-120 คน 24 2560 9 38 8 33 7 29 24 2561 13 54 9 38 10 42 ตารางที่ 5 แสดงขอมูลจํานวนโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 สงู กวา คาเฉลี่ยระดับประเทศ จําแนกเปนรายวชิ า ปการศึกษา 2559-2561 จํานวน ปการ จน.ร.ร.ทม่ี คี า เฉลย่ี สูงกวา ระดับประเทศ ที่ โรงเรยี น โรงเรียน ศกึ ษา ไทย รอ ยละ อังกฤษ รอยละ คณิตฯ รอยละ วทิ ยฯ รอยละ กลุม เปาหมาย ที่เขา สอบ 1 นกั เรยี น 14 2559 5 36 3 21 5 35 4 29 0-40 คน 14 2560 4 29 3 21 4 29 3 21 12 2561 4 33 6 50 4 33 5 42 2 นักเรียน 20 2559 9 45 6 30 6 30 7 35 41-60 คน 19 2560 8 42 6 32 6 32 4 21 20 2561 8 40 5 25 3 15 5 25 3 นกั เรยี น 10 2559 3 30 3 30 4 40 3 30 61-80 คน 10 2560 5 50 3 30 6 60 4 40 10 2561 3 30 3 30 2 20 1 10 4 นกั เรียน 24 2559 12 50 3 13 10 42 11 46 81-120 คน 24 2560 12 50 6 25 5 21 8 33 24 2561 6 25 3 13 3 13 6 25

21 ตารางท่ี 6 แสดงขอ มูลจํานวนโรงเรยี นขนาดเล็กท่ีมผี ลการทดสอบระดับชาติ O-NET ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 สูงกวา คาเฉล่ยี ระดบั ประเทศ จาํ แนกเปนรายวิชา ปการศกึ ษา 2559-2561 จํานวนโรงเรยี น ปการ จาํ นวนโรงเรยี นทีม่ ีคา เฉล่ียสูงกวาระดับประเทศ ที่ กลมุ โรงเรยี นเปา หมาย ท่เี ขา สอบ ศกึ ษา ไทย อังกฤษ คณติ ฯ วิทยฯ 1 นักเรียน 0-40 คน - -- - - - 2 นกั เรยี น 41-60 คน 2 2559 2 2560 1 2 2561 1 3 นกั เรียน 61-80 คน 1 2559 1 1 1 2560 11 1 2561 1 1 1 4 นกั เรียน 81-120 คน 13 2559 4 12 13 2560 2 13 2561 3 1 2

22 ขอมูลคุณภาพดานการศึกษา (ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น) สังกดั สาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 5 ตารางผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2559 – 2561 โรงเรยี นหวั ไผว ิทยาคม ช้นั มัธยมศึกษาปที่ 3 กลุม สาระการเรยี นรู 2559 ปก ารศกึ ษา 2561 เปรียบเทยี บ ภาษาไทย 42.44 2560 50.91 ป 2560-2561 สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม 41.78 51.50 ภาษาองั กฤษ 22.89 - - (+เพิ่ม –ลด) คณติ ศาสตร 26.04 27.60 28.66 - 0.59 วทิ ยาศาสตร 34.67 28.80 25.00 - 33.56 28.20 32.83 + 1.06 คา เฉลยี่ 34.03 34.35 - 3.8 + 4.63 + 0.33 โรงเรยี นหวั ไผวทิ ยาคม ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 กลมุ สาระการเรยี นรู 2559 ปก ารศกึ ษา 2561 เปรยี บเทียบ ภาษาไทย 44.95 2560 34.72 ป 2560-2561 สงั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม 37.36 47.33 32.11 ภาษาอังกฤษ 22.39 33.67 22.22 (+เพม่ิ –ลด) คณติ ศาสตร 16.59 20.42 13.61 - 12.61 วิทยาศาสตร 28.09 17.29 26.57 - 1.56 29.88 22.53 25.85 + 1.8 คาเฉล่ยี 28.25 - 3.68 + 4.04 - 2.40 โรงเรยี นบา นแปงวทิ ยา ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 3 กลมุ สาระการเรียนรู 2559 ปก ารศกึ ษา 2561 เปรยี บเทียบ ภาษาไทย 43.81 2560 46.16 ป 2560-2561 สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม 41.94 40.00 ภาษาองั กฤษ 27.44 - - (+เพิ่ม –ลด) คณติ ศาสตร 26.07 29.23 24.33 วทิ ยาศาสตร 32.44 14.15 23.77 + 6.16 34.34 27.23 34.00 - คาเฉลย่ี 27.65 32.07 - 4.9 + 9.62 + 6.77 + 4.41

23 ตารางผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพน้ื ฐาน (O-NET) ปก ารศกึ ษา 2559 – 2561 โรงเรยี นบานแปง วทิ ยา ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 6 กลมุ สาระการเรยี นรู 2559 ปก ารศกึ ษา 2561 เปรียบเทียบ ภาษาไทย 45.61 2560 36.40 ป 2560-2561 สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม 31.44 45.47 32.40 ภาษาอังกฤษ 22.78 29.80 23.75 (+เพิม่ –ลด) คณติ ศาสตร 13.33 17.08 18.50 วิทยาศาสตร 31.33 17.67 29.60 - 9.07 28.90 23.77 28.13 + 2.6 คา เฉล่ีย 26.76 + 6.67 + 0.83 + 5.83 + 1.37 โรงเรียนทองเอนวิทยา ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 3 กลมุ สาระการเรียนรู 2559 ปก ารศึกษา 2561 เปรียบเทียบ ภาษาไทย 39.67 2560 45.18 ป 2560-2561 สงั คมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม 43.27 39.53 ภาษาองั กฤษ 27.03 - - (+เพิ่ม –ลด) คณติ ศาสตร 23.66 25.38 24.29 วิทยาศาสตร 33.76 18.75 25.33 + 5.65 33.48 29.06 34.29 - คา เฉลี่ย 28.18 32.27 - 1.09 + 6.58 + 5.23 + 4.09 โรงเรยี นทองเอนวทิ ยา ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ 6 กลุมสาระการเรียนรู 2559 ปก ารศึกษา 2561 เปรยี บเทียบ ภาษาไทย 40.00 2560 40.25 ป 2560-2561 สังคมศึกษาศาสนาและวฒั นธรรม 29.09 47.85 30.00 ภาษาองั กฤษ 21.58 31.76 21.48 (+เพิ่ม –ลด) คณิตศาสตร 18.82 20.59 19.35 วิทยาศาสตร 26.89 17.65 26.57 - 7.6 27.28 24.67 27.53 - 1.76 คาเฉล่ีย 28.50 + 0.89 + 1.7 + 1.9 - 0.97

24 สว นที่ ๒ แนวทางการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็ก เปา หมายการดําเนินการ ปงบประมาณ 2563 - 2564 1. บริหารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ จังหวดั สิงหบรุ ี ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมือ่ วันท่ี 7 ตุลาคม 2562 ท่ีให พิจารณาดําเนินการตามแนวทางการควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กที่มีระยะทางหางจากโรงเรียนในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (สพฐ.) ในตําบลเดียวกันนอยกวา 6 กิโลเมตร (กม.) ใหบังเกิดผลอยางเปน รูปธรรม เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาใหเพิ่มสูงขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน และลดภาระ คา ใชจา ยงบประมาณดานบคุ ลากรและการบริหารจดั การลง 2. พัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กใหเปนโรงเรียนที่มีคุณภาพ ตามกรอบแนวทาง การบริหารจัดการโรงเรียน ขนาดเล็กจังหวัดสิงหบุรี 7 รูปแบบ โดยใหแตละโรงเรียนเลือกรูปแบบการพัฒนา บอกเหตุผลความจําเปนในการ เลอื ก และดาํ เนินการจดั ทาํ เปน แผนการพัฒนา/แนวทางการดําเนินงาน ท่ีมีการกําหนดตัวชี้วัดและระยะเวลาใหเห็นผล ภายใน 2 ป ท้ังนี้เพื่อใชเปนกรอบทิศทางการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กใหเห็นผลเปนรูปธรรม ดวยความ รว มมือจากทกุ ภาคสว น รปู แบบท่ี 1 บรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็กทเี่ ปนเอกเทศ (Stand alone) รปู แบบท่ี 2 จดั การเรยี นการสอนแบบคละชน้ั รูปแบบท่ี 3 การจดั การเรียนรโู ดยระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ รูปแบบท่ี 4 พฒั นาโรงเรยี นเครอื ขา ยโรงเรียนขนาดเลก็ รปู แบบท่ี 5 การรวมสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน รปู แบบที่ 6 การมีสวนรว มขององคก รปกครองสว นทองถน่ิ องคกรเอกชน รปู แบบที่ 7 ยุบ/เลกิ สถานศึกษา โดยรูปแบบท่ี 1 - 4 และ 6 เปนแนวทางการพัฒนา สวนรูปแบบที่ 5 เปนแนวทางการควบรวม และรูปแบบที่ 7 เปนแนวทางการยุบเลิก - กําหนดเปาหมายและระยะเวลาการวัดประเมินผล ตามเกณฑและตัวชี้วัดการพัฒนาท่ีโรงเรียนได กําหนดในแผนพัฒนาของโรงเรียน ภายใน 2 ป (เร่มิ วดั ผลจากปก ารศกึ ษา 2562) 3. หากโรงเรียนขนาดเล็กใดที่เลือกรูปแบบการพัฒนา ไมสามารถบริหารจัดการคุณภาพการศึกษาใหเกิด คุณภาพไดตามรูปแบบแนวทางการพัฒนาที่โรงเรียนไดเลือก (ภายใน 7 รูปแบบ) และตามตัวช้ีวัดที่กําหนด (โดยดู ผลการประเมินคุณภาพทางการศึกษา เมื่อส้ินปการศึกษา 2562) โรงเรียนขนาดเล็กตองพิจารณาดําเนินการตาม แนวทางการควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กท่ีมีระยะทางหางจากโรงเรียนในสังกัด สพฐ. ในตําบลเดียวกันนอยกวา 6 กิโลเมตร (กม.) ใหบ ังเกิดผลอยา งเปน รูปธรรม ระยะเวลา ดาํ เนนิ การใหแลวเสรจ็ ภายใน 2 ป (ปงบประมาณ 2563 - 2564) เปาหมายโรงเรียนขนาดเล็ก จํานวน 71 โรงเรียน (สพป.สงิ หบ รุ ี จาํ นวน 68 รร. /สพม. 5 จาํ นวน 3 รร.) - ปง บประมาณ 2562 ดาํ เนินการรวม/เลิกสถานศกึ ษา ไปแลว จําวน 4 โรงเรียน คงเหลือโรงเรียนขนาดเลก็ ทต่ี องดําเนินการบริหารจดั การ จํานวน 67 โรงเรียน 1. ปง บประมาณ 2563 บริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็ก สังกัด สพป.สิงหบ รุ ี โดยดําเนินการเรียนรวม จํานวน 11 โรงเรียน 2. ปง บประมาณ 2564 บรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ สงั กดั สพป.สงิ หบรุ ี โดยดําเนินการเรียนรวม จํานวน 16 โรงเรียน

25 3. โรงเรียนขนาดเล็กที่เหลืออีก จํานวน 40 โรงเรียน (สังกัด สพป.สิงหบุรี จํานวน 37 โรงเรียน / สังกัด สพม. 5 จํานวน 3 โรงเรยี น) ดําเนนิ การพัฒนาใหเปน โรงเรียนทม่ี ีคุณภาพตามตัวชี้วัด/เกณฑ เปาหมายเชิงคุณภาพ ทีก่ าํ หนด หรือ ควบรวมโรงเรียนขนาดเลก็ ที่ไมส ามารถบริหารจดั การใหเกิดคุณภาพได โดยจะดําเนินการจัดทําแผน บริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก (ควบรวม) ในระยะตอไป (โดยดูผลการประเมินคุณภาพทางการศึกษา เม่ือสิ้นป การศึกษา 2562) เปาหมายเชิงปริมาณ โรงเรยี นขนาดเล็ก สังกดั สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน (สพฐ.) จํานวน 71 โรงเรียน ไดรับ การสงเสรมิ และพฒั นาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา เปาหมายเชงิ คุณภาพ 1) โรงเรียนขนาดเล็กผา นการประเมนิ คณุ ภาพภายใน ระดับดี 2) โรงเรียนขนาดเล็กมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ (O-Net) คาเฉลี่ยทุกกลุมสาระวิชา สงู ขึ้นกวาปก ารศกึ ษาท่ผี า นมา 3) โรงเรียนขนาดเลก็ มผี ลการประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาระดับชาติ NT สงู กวา คาเฉล่ยี ระดับประเทศ อยาง นอย 2 ใน 3 ดาน 4) หากโรงเรียนขนาดเล็กไมมีคุณภาพดานใดดานหนึ่ง ตามขอ 1) –3) โรงเรียนตองบริหารจัดการรวมกับ โรงเรยี นหลกั ท่เี ปน โรงเรียนคณุ ภาพ คําจาํ กดั ความ โรงเรียนขนาดเล็ก หมายถึง โรงเรียนประถมศึกษา หรือโรงเรียนมัธยมศึกษาในสังกัด สํานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ทีม่ นี ักเรยี น ตัง้ แต 120 คนลงมา การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก หมายถึง การพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กตามรูปแบบแนวทาง ดาํ เนินการ หรอื การควบรวม ยบุ เลกิ ตามระเบียบท่ีกระทรวงศึกษาธิการกําหนด มี 7 รปู แบบ ดังนี้ รูปแบบท่ี 1 บริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กที่เปนเอกเทศ (Stand alone) เปนโรงเรียนที่ไมสามารถ จัดการเรียนการสอนรวมกับโรงเรียนอ่ืนได มีลักษณะพิเศษที่ไดรับการยกเวน เชน พ้ืนท่ีพิเศษ หางไกล กันดาร ภเู ขา เปนตน รปู แบบท่ี 2 จดั การเรียนการสอนแบบคละชัน้ เปนการใหโรงเรียนท่ีมีครูไมครบช้ันสามารถจัดการเรียนการสอน ไดโดยไมทง้ิ หองเรียน ซ่ึงโรงเรียนสามารถปรบั ใชใ นการจดั การเรียนรใู หสอดคลองและเหมาะสมกบั บริบทของโรงเรียน รปู แบบท่ี 3 การจดั การเรยี นรูโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการนําเทคโนโลยีมาใชอยางหลากหลาย เชน จัดการเรียนการสอนผานสื่อทางไกลผานดาวเทียม เชน DLTV/DLIT ระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูง รถ คอมพวิ เตอรเ คลื่อนที่ (Mobile unit) เพ่ือใหบ ริการนักเรยี นในโรงเรียนขนาดเล็กท่ีอยูหางไกล การสงเสริมการเรียน การสอนดวยการรับสญั ญาณ การสอนทางไกลจากโรงเรยี นไกลกงั วลหัวหิน เปน ตน รูปแบบท่ี 4 พฒั นาโรงเรียนเครอื ขา ยโรงเรียนขนาดเล็ก เชน โรงเรียนแมเหล็ก โรงเรียนดีใกลบาน ซ่ึงเปน รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กที่มีการสรางเครือขาย 3-5 โรงเรียนมาเรียนรวมกัน โดยไมมีเง่ือนไข การยุบรวม อาจมาเรียนรวมกันเปนบางช้ันเรียน ทําใหผูเรียนไดเรียนรูในกิจกรรมท่ีหลากหลายมากขึ้น มีครู ครบชั้น คุณภาพการจัดการเรียนการสอนดขี ้ึน รูปแบบที่ 5 การรวมสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เปนการนํานักเรียนท่ีตั้งอยูใกลกันตั้งแตสองแหงข้ึนไป มาเรยี นรวมกนั จดั การเรียนการสอนเปนชั้นหรอื ชว งชน้ั

26 รปู แบบที่ 6 การมีสวนรว มขององคก รปกครองสวนทองถ่นิ องคกรเอกชน โดยจัดต้ังศูนยเครือขายโรงเรียน ขนาดเล็กรว มกบั องคก รปกครองสวนทองถิ่น และหนวยงานท่ีเก่ียวของ เพ่ือประสานความรวมมือในการปฏิบัติงาน ใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาท่ีมีความตอเน่ืองและครอบคลุมทุกพื้นที่ในสังกัดใหมาชวยพัฒนาโรงเรียน ขนาดเลก็ และรับโอนโรงเรียนขนาดเลก็ บางสวน รูปแบบที่ 7 ยุบ/เลิกสถานศึกษา เปนการเลิกสถานศึกษาตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการ จดั ต้ัง รวมหรอื เลกิ สถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พ.ศ.2550 ควบรวม หมายถงึ การรวมสถานศกึ ษาทตี่ ั้งอยใู กลเ คียงกันตั้งแตสองแหงข้ึนไป เพื่อใหการบริหารและ จัด การศกึ ษามีประสิทธิภาพ เกดิ ผลดีแกผ ูเรยี นทั้งในดา นสิทธิ โอกาสและคณุ ภาพการศกึ ษา ยบุ /เลกิ หมายถึง การเลิกสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตาม ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ วา ดวยการจัดต้งั รวมหรือเลกิ สถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พ.ศ.2550 แผนดําเนินงานแบบขั้นบันได หมายถึง กระบวนการหรือขั้นตอนควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กโดยกําหนด เปาหมาย และระยะเวลาดาํ เนินการอยา งชัดเจน โรงเรยี นหลกั หมายถึง โรงเรียนทรี่ บั นักเรียนจากโรงเรยี นมารวม โรงเรยี นมารวม หมายถงึ โรงเรยี นทมี่ าเรียนรวมกับโรงเรียนหลกั โรงเรยี นลักษณะพเิ ศษที่ไดรับการยกเวน (หมายถงึ โรงเรียนทตี่ ้ังอยูในพนื้ ที่พิเศษ (หางไกลกันดาร ภูเขา เกาะ ชายแดนและพื้นทเ่ี สย่ี งภัย) ไมส ามารถรวมกบั โรงเรียนใดได ขัน้ ตอนและระยะเวลาการดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการประกาศนโยบายการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก เพื่อใหมีการบริหารทรัพยากร ทางการศึกษา รวมถึงการบริหารอัตรากําลังใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยมีแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก แบบขั้นบันไดใหมีความตอเน่ืองและย่ังยืน ใหเห็นผลอยางเปนรูปธรรมภายใน 2 ป โดยใหสํานักงานศึกษาธิการ จังหวัดทุกจังหวัดรวมมือกับสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา และสถานศึกษา รวมท้ังภาคีเครือขายท่ีเก่ียวของ จัดทํา แผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ท่ีมีการกําหนดเปาหมาย ระยะเวลาและแนวทางการดําเนินงานอยางชัดเจน ตามแนวปฏบิ ตั ิในการจัดทําแผนบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก สงั กัด (สพฐ.) โดยดาํ เนนิ การดงั นี้ 1. เสนอผวู า ราชการจงั หวัด หรือปลัดกระทรวงศึกษาธิการแตงต้ังคณะทํางาน 2. จดั ประชมุ คณะทํางาน 3. เสนอคณะกรรมการศกึ ษาธิการจังหวัดพจิ ารณาใหความเหน็ ชอบ 4. รายงานสาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ระยะเวลา ปการศึกษา 2562 มีโรงเรียนขนาดเล็ก จํานวน 71 โรงเรียน (สังกัด สพป.สิงหบุรี จํานวน 68 โรงเรียน /สงั กัด สพม. 5 จํานวน 3 โรงเรียน) โดยโรงเรียนในสงั กัด สพป.สิงหบ ุรี ไดด ําเนนิ การรวมสถานศึกษา และเลกิ สถานศึกษาไปแลว มจี าํ นวน 4 โรงเรยี น (คงเหลอื โรงเรียนขนาดเล็กทต่ี อ งบรหิ ารจดั การ 67 โรงเรยี น) 1. ปงบประมาณ 2563 บริหารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ สังกัด สพป.สงิ หบ รุ ี โดยดาํ เนนิ การเรยี นรวม จํานวน 11 โรงเรยี น 2. ปง บประมาณ 2564 บรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ สงั กดั สพป.สิงหบ รุ ี โดยดําเนินการเรยี นรวม จาํ นวน 16 โรงเรียน 3. พัฒนาใหเปนโรงเรียนที่มีคุณภาพ หรือ ควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กที่ไมสามารถบริหารจัดการใหเกิด คุณภาพได โดยจะดําเนินการจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก (ควบรวม) ในระยะตอไป (โดยดูผลการ ประเมนิ คณุ ภาพทางการศกึ ษา เมอ่ื สิ้นปการศกึ ษา 2562) จํานวน 40 โรงเรยี น

27 - โรงเรียนสังกัด สพป.สงิ หบ ุรี จาํ นวน 37 โรงเรียน - โรงเรยี นสังกัด สพม.5 จาํ นวน 3 โรงเรียน ปฏทิ ินการบรู ณาการจัดทําแผนบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก สงั กดั สพฐ. กระทรวงศกึ ษาธิการ ระยะเวลา การปฏิบัติงาน ภายใน 31 สิงหาคม 2562 - สป. กระทรวงศกึ ษาธกิ ารแจงแนวปฏบิ ตั ิใหสาํ นกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดทราบและปฏิบตั ิ ภายใน 20 กันยายน 2562 - สาํ นักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั เสนอ ผวจ.ลงนามคําสั่งแตง ต้ังคณะทาํ งาน - จัดประชุมคณะทํางานระดับจังหวัด ภายใน 30 กันยายน 2562 - จัดประชมุ คณะทํางานระดบั อาํ เภอ - คณะทาํ งานระดบั อําเภอรายงานผลการดาํ เนินงานตอคณะทํางานระดบั จงั หวดั ภายใน 15 ตลุ าคม 2562 - ประชุมคณะทํางานระดับจังหวัดเพ่ือพิจารณากลั่นกรองแผนการบริหารจัดการโรงเรียน ขนาดเล็กเสนอ กศจ. ภายใน 25 ตลุ าคม 2562 - ประชมุ กศจ.เพอ่ื พจิ ารณาใหค วามเห็นชอบแผนการบริหารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ ภายใน 31 ตลุ าคม 2562 - สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดรายงานแผนการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กตอ สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ *** หมายเหตุ ปฏทิ นิ การดําเนนิ งานอาจเปล่ยี นแปลงไดตามความเหมาะสม *** แนวทางการดําเนนิ งานจดั ทําแผนบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ ระดับจงั หวดั 1. จัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กจังหวัดสิงหบุรี โดยมีการกําหนดเปาหมายระยะเวลา และ แนวทางการดําเนนิ งานท่ีชดั เจน 2. แตงต้ังคณะทํางานจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กระดับอําเภอตามองคประกอบท่ี กระทรวงศึกษาธิการกําหนด โดยในการดําเนินงานคํานึงถึงความเหมาะสมและประโยชนของนักเรียนท่ีจะไดรับเปน สาํ คัญ 3. สง เสริม สนบั สนนุ กํากบั ติดตาม และเรง รดั การดาํ เนนิ งานจดั ทาํ แผนบริหารจดั การโรงเรียนขนาด เล็กของสํานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาและคณะทํางานระดบั อําเภอ แนวทางการดาํ เนนิ งานจัดทําแผนบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็กระดบั อาํ เภอ 1. จดั ทําฐานขอ มลู โรงเรียนขนาดเลก็ ในพนื้ ทีเ่ ปน รายโรงเรยี น 2. จัดทําแผนบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็กระดับอาํ เภอ ในการดาํ เนินงานใหคํานงึ ถงึ ความเหมาะสม และประโยชนท่นี กั เรยี นจะไดร บั และใหรายงานผลการดําเนนิ งานตอ คณะทาํ งานระดบั จังหวัด 3. ดําเนินการจัดทําแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กระดับอําเภอ โดยการมีสวนรวมจากทุกภาคสวน 4. สรางความเขา ใจแกน ักเรียน ผปู กครอง ชุมชน ผูนําทองถ่ิน ผูนําศาสนา ผูบริหารสถานศึกษา และครูในพ้ืนท่ี ถึง ประโยชนทผี่ เู รยี นจะไดรบั จากการบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก 5. กํากับ ติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กระดับอําเภอ อยางตอ เน่ือง 6. ใหคณะทํางานระดับอําเภอ ดําเนินการขับเคล่ือนแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กระดับอําเภอสู การปฏิบตั อิ ยา งเปน รปู ธรรม 7. ใหคณะทํางานระดับอําเภอ รายงานผลการดําเนินงานตามแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กระดับ อาํ เภอ ตอ คณะทาํ งานระดับจังหวดั

28 กรอบแนวทางการดาํ เนินงาน จัดทําแผนบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ จงั หวดั สงิ หบรุ ี (โรงเรยี นที่มนี กั เรียน 120 คนลงมา) ปง บประมาณ 2563 - 2564 ท่ี แนวทางการดาํ เนินงาน หมายเหตุ โรงเรียนขนาดเลก็ จํานวน 71 โรงเรียน (สังกดั สพป.สิงหบ รุ ี จํานวน 68 รร. / สังกัด สพม.5 จาํ นวน 3 รร.) 1 เนน ตําบลเปน ฐานในการจัดทําแผนบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก 2 ปงบประมาณ 2562 โรงเรยี นในสังกัด สพป.สิงหบุรี ไดดําเนินการรวมสถานศึกษา และเลิกสถานศึกษาไปแลว มจี ํานวน 4 โรงเรียน 3 ปงบประมาณ 2563 และปงบประมาณ 2564 เนนการบริหารจัดการโรงเรียน ขนาดเลก็ ทไ่ี มสามารถบริหารจดั การใหเกดิ คุณภาพได โดยดําเนินการแบบข้ันบันได โดยใหโรงเรียนหลักมีจํานวนนักเรียนมากกวา จํานวนนักเรียนของโรงเรียนท่ีมา เรียนรวม 4 แผนการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก ใหดาํ เนนิ การ ดงั นี้ 4.1 ดาํ เนนิ การเรียนรวมโรงเรียนขนาดเล็ก จํานวน 11 โรงเรยี น ภายในป 2563 (ดาํ เนนิ การเรียนรวม โรงเรียนในสังกดั สพป.สิงหบุรี จาํ นวน 11 โรงเรียน) 4.2 ดําเนินการเรยี นรวมโรงเรียนขนาดเลก็ จํานวน 16 โรงเรยี น ภายในป 2564 (ดาํ เนนิ การเรียนรวม โรงเรยี นในสงั กดั สพป.สงิ หบ รุ ี จาํ นวน 16 โรงเรียน) 4.3 พฒั นาใหเ ปน โรงเรยี นท่ีมคี ณุ ภาพ หรือ ควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กที่ ไมส ามารถบรหิ ารจัดการใหเ กดิ คุณภาพได โดยจะดําเนนิ การจัดทําแผนบรหิ าร จดั การโรงเรยี นขนาดเล็ก (ควบรวม) ในระยะตอ ไป (โดยดูผลการประเมิน คณุ ภาพทางการศึกษา เมื่อส้ินปการศึกษา 2562) จาํ นวน 40 โรงเรียน (สพป.สงิ หบ รุ ี จาํ นวน 37 โรงเรยี น / สพม. 5 จาํ นวน 3 โรงเรยี น) 5 จาํ นวนนกั เรียนท่ีเม่ือดําเนนิ การเรียนรวมแลว ใหมจี าํ นวนนักเรยี นตั้งแต 120 คน ข้ึนไป * ทั้งน้ี หากเรยี นรวมแลว ไมถงึ 120 คน ใหด าํ เนินการรวมเพ่ือใหไดตามเกณฑ ในปถัดไป 6 วิธีการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเลก็ 7.1 บริหารจัดการในตาํ บลเดยี วกันในอําเภอเดียวกนั 7.2 บริหารจดั การระหวา งตาํ บลในอําเภอเดียวกัน 7.3 บริหารจดั การระหวางตําบล และ ระหวางอําเภอ 7 ใหดําเนินการจัดทําเปนแผนบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กของโรงเรียนสังกัด สาํ นกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ไมใชเ ปนการยบุ รวมโรงเรียนขนาดเล็ก 8 งบประมาณในการดาํ เนนิ การบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็ก - ใหดําเนินการเบิกจายงบประมาณ ตามแนวทางการดําเนินงานในคูมือการใช จา ยเงินอุดหนนุ ของสถานศกึ ษา สังกดั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยตอ งยดึ ถอื และปฏิบตั ิตามระเบยี บของทางราชการทเี่ กย่ี วของ

สว รูปแบบ/แผนการบริหารจัดการโรงเรียนข รูปแบบ/แผนการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ ของ สาํ นกั งานเขตพ้นื ทีก่ 1. โรงเรียนขนาดเลก็ ทต่ี ั้งทางภมู ศิ าสตรอ ยูในพ้ืนทหี่ างไกล บนพ้นื ท - จงั หวัดสิงหบ รุ ี ไมมี โรงเรียนขนาดเลก็ ที่ตง้ั ทางภูมศิ าสตรอยใู น 2. โรงเรียนขนาดเลก็ ทอ่ี ยใู นพื้นทปี่ กติ จํานวน 68 โรงเรยี น ๒.๑ โรงเรียนขนาดเล็กทเ่ี ลกิ สถานศึกษาไปแลว จํานวน 2 โรงเรียนขนาดเลก็ ทไี่ ปเรยี นรวม ท่ี ช่อื โรงเรียน ตาํ บล อําเภอ จาํ นวน จาํ นวนครู มีผลใน นักเรยี น การศึก 1 วัดกระดงั งา บางกระบอื เมืองสิงหบ รุ ี 0 1 2563 2 วัดดอกไม ประศุก อนิ ทรบ ุรี 0 0 2563 ๒.2 โรงเรียนขนาดเลก็ ท่มี กี ารไปเรียนรวมแลว จาํ นวน 2 โ โรงเรียนขนาดเลก็ ทไ่ี ปเรียนรวม ท่ี ช่ือโรงเรยี น ตําบล อําเภอ จาํ นวน จาํ นวน ช้ันทีม่ า ป 1 วัดโคกพระ นกั เรียน ครู เรียนรวม โพกรวม เมอื งสงิ หบุรี 15 1 ป.1-6 2 วัดวงั ขรณ โพชนไก บางระจนั 25 2 ท้งั โรง

29 วนท่ี ๓ ขนาดเลก็ ของแตล ะหนว ยงานทางการศกึ ษา การศกึ ษาประถมศึกษาสงิ หบรุ ี (สพป.สิงหบ ุร)ี ทเ่ี กาะ พืน้ ที่สงู (Stand Alone) จาํ แนกตามตาํ บล อาํ เภอ และสังกัด นพื้นท่ีหางไกล บนพน้ื ที่เกาะ พืน้ ที่สงู (Stand Alone) โรงเรียน โรงเรียนหลักที่โรงเรียนขนาดเล็กมาเรียนรวม นป ชื่อโรงเรยี น ตําบล อําเภอ จาํ นวน จํานวนครู กษา นักเรียน 13 3 วัดประโชติการาม** บางกระบือ เมอื งสงิ หบรุ ี 159 5 (คณุ ภาพตาํ บล) 3 วัดปลาไหล** ประศุก อนิ ทรบรุ ี 82 (คุณภาพตําบล) โรงเรยี น โรงเรียนหลกั ทีโ่ รงเรยี นขนาดเล็กมาเรยี นรวม ป พ.ศ. ทีม่ า ชือ่ โรงเรียน ตาํ บล อําเภอ จํานวน จํานวน เรยี นรวม นกั เรียน ครู 2562 วดั ราษฎรป ระสิทธ์ิ โพกรวม เมืองสงิ หบุรี 105 4 (คณุ ภาพตําบล) 13 ชมุ ชนวัดพระปรางควิรยิ วทิ ยา** 2562 (คุณภาพตาํ บล) เชิงกลดั บางระจนั 206

๒.3 โรงเรียนขนาดเล็กที่ยังไมมีการไปเรยี นรวม จาํ นวน 64 ที่ 2.3.1 แผนบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเลก็ ในการ ชอ่ื โรงเรยี น โรงเรียนขนาดเลก็ ท่ไี ปเรียนรวม ตาํ บล อาํ เภอ จํานวน จํานวน นักเรียน ครู 1 วดั ศรีสาคร ตนโพธ์ิ อําเภอเมือง 43 2 2 วดั โพธิ์สาํ ราญ งว้ิ ราย อําเภออินทรบ รุ ี 31 2 น้ําตาล อําเภออินทรบ รุ ี 33 3 (ไผข าด) หวยชนั อาํ เภออินทรบ ุรี 82 6 3 วัดทอง ทองเอน อาํ เภออินทรบ ุรี 42 3 4 วดั การอง บางนาํ้ เช่ียว อาํ เภอพรหมบรุ ี 29 2 5 วัดคลองโพธ์ิศรี ทาขาม อําเภอคา ยบางระจัน 59 5 6 วัดโภคาภวิ ัฒน สระแจง อําเภอบางระจนั 30 2 7 วดั สาธกุ าราม สระแจง อาํ เภอบางระจัน 33 2 8 บา นทงุ วา 9 วดั สามัคคีธรรม หมายเหตุ 1. โรงเรียนตวั อักษร \"สีแดง\" คอื 2. โรงเรียนท่ขี ีดเสนใต คอื รร.ปก

30 4 โรงเรยี น รไปเรยี นรวม ป ๒๕๖๓ จํานวน 11 โรงเรยี น โรงเรยี นหลักที่โรงเรียนขนาดเล็กมาเรียนรวม ช้นั ที่มา ช่ือโรงเรยี น ตาํ บล อาํ เภอ จาํ นวน จาํ นวน เรียน นักเรียน ครู รวม 8 รวมทง้ั โรง วดั ตกึ ราชา มว งหมู อาํ เภอเมือง 145 11 รวมทง้ั โรง วดั เพ่ิมประสทิ ธิผล งว้ิ ราย อาํ เภออินทรบ รุ ี 147 รวมท้ังโรง วัดโฆสิทธาราม นํา้ ตาล อําเภออนิ ทรบุรี 196 14 รวมชว ง บานคูเมือง หว ยชัน อาํ เภออนิ ทรบรุ ี 81 6 ช้ันท่ี 3 รวมทั้งโรง ชุมชนวัดดงยาง ทองเอน อําเภออนิ ทรบุรี 150 8 รวมทง้ั โรง อนุบาลพรหมบรุ ี บางนํ้าเชย่ี ว อําเภอพรหมบรุ ี 111 9 รวมทงั้ โรง ชมุ ชนวดั กลางทา ขาม ทาขาม อาํ เภอคา ยบางระจนั 262 17 รวมท้งั โรง วัดคมี สระแจง อําเภอบางระจัน 144 12 รวมท้งั โรง วัดคีม สระแจง อาํ เภอบางระจนั 144 12 โรงเรยี นขนาดเล็ก กติ ไมใช รร.ขนาดเลก็

2.3.2 แผนบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็กในการ ที่ โรงเรยี นขนาดเลก็ ท่ไี ปเรียนรวม ชอ่ื โรงเรยี น ตําบล อําเภอ จํานวน จาํ นวน นกั เรียน ครู 1 วดั โพธช์ิ ยั หวั ไผ อําเภอเมอื งสิงหบรุ ี 46 4 2 วัดลอ งกะเบา ทองเอน อาํ เภออนิ ทรบ ุรี 42 4 3 วดั ไผด ํา ทองเอน อาํ เภออนิ ทรบ รุ ี 55 4 (มติ รภาพท่ี 183) อินทรบรุ ี อําเภออินทรบรุ ี 39 4 บางน้ําเชี่ยว อําเภอพรหมบรุ ี 45 4 4 วดั ประศกุ บานหมอ อําเภอพรหมบรุ ี 66 4 5 วดั หลวง พระงาม อาํ เภอพรหมบรุ ี 44 4 6 วดั โคปนู โพสังโฆ อาํ เภอคา ยบางระจัน 58 3 7 วดั ประสาท เชิงกลัด โพชนไก 29 3 8 วดั โพธ์สิ ังฆาราม เชงิ กลัด โพชนไก 36 4 9 วดั โพธ์หิ อม เชงิ กลัด โพชนไก 53 5 10 วัดนํา้ ผ้ึง พกั ทัน อําเภอบางระจนั 52 4 11 วัดชันสตู ร ไมดดั อําเภอบางระจนั 45 5 12 วัดชะอมสามคั คี ถอนสมอ อาํ เภอทา ชาง 56 4 ธรรม 13 วัดตลาดโพธิ์ 14 วัดโบสถ หมายเหตุ 1. โรงเรยี นตัวอักษร \"สีแดง\" คือ 2. โรงเรยี นที่ขีดเสน ใต คือ รร.ปก

31 รไปเรียนรวม ป ๒๕๖4 จาํ นวน 16 โรงเรียน โรงเรียนหลักที่โรงเรยี นขนาดเลก็ มาเรยี นรวม ชั้นท่มี า ช่ือโรงเรยี น ตําบล อาํ เภอ จาํ นวน จาํ นวน เรียนรวม นกั เรยี น ครู รวมทง้ั โรง อนุบาลเมอื งสิงหบ รุ ี หวั ไผ อาํ เภอเมืองสงิ หบรุ ี 203 15 รวมทั้งโรง ชมุ ชนวัดดงยาง ทองเอน อําเภออินทรบรุ ี 150 8 รวมทัง้ โรง วดั กลาง ทองเอน อาํ เภออินทรบุรี 165 13 รวมทัง้ โรง วดั โบสถ อินทรบุรี อําเภออนิ ทรบรุ ี 925 37 รวมทง้ั โรง อนุบาลพรหมบุรี บางนา้ํ เช่ียว อาํ เภอพรหมบรุ ี 111 9 รวมทง้ั โรง ชุมชนวดั ตราชู บา นหมอ อาํ เภอพรหมบรุ ี 89 6 รวมทงั้ โรง วดั เตย พระงาม อาํ เภอพรหมบรุ ี 86 6 ชุมชนวดั มวง โพสงั โฆ อาํ เภอคา ย 286 18 รวมทง้ั โรง เชิงกลดั บางระจนั 206 14 ชมุ ชนวัดพระปรางควริ ยิ วทิ ยา เชงิ กลัด อาํ เภอบางระจัน 206 14 รวมทั้งโรง ชมุ ชนวัดพระปรางควริ ิยวิทยา เชงิ กลัด อําเภอบางระจนั 206 14 รวมทง้ั โรง ชมุ ชนวดั พระปรางควิรยิ วทิ ยา พักทัน อําเภอบางระจัน 121 8 รวมทั้งโรง ไมด ดั อําเภอบางระจัน 358 19 วดั หว ยเจริญสขุ ถอนสมอ อาํ เภอบางระจนั 171 10 รวมทัง้ โรง อาํ เภอทา ชาง อนุบาลบางระจนั รวมทง้ั โรง วัดถอนสมอ รวมทั้งโรง โรงเรยี นขนาดเล็ก กติ ไมใ ช รร.ขนาดเลก็

2.3.3 พัฒนาใหเ ปนโรงเรียนทมี่ ีคณุ ภาพ หรือ ค จดั ทําแผนบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเลก็ (ควบรวม) ในระยะตอไป (โดยดผู ลการประเ รวมจํานวน ที่ โรงเรยี นขนาดเล็ก ตาํ บล อาํ เภอ นร. (คน) สาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาสงิ หบุรี (สพป.สิงหบ ุร)ี 1 วัดราษฎรป ระสิทธิ์ โพกรวม อําเภอเมืองสิงหบรุ ี 105 2 วดั สะอาดราษฎรบ ํารุง บางกระบือ อาํ เภอเมืองสงิ หบรุ ี 97 3 วดั พระปรางคม นุ ี มวงหมู อาํ เภอเมืองสิงหบรุ ี 74 4 วัดศรัทธาภริ ม มว งหมู อําเภอเมืองสงิ หบรุ ี 61 5 ชุมชนวดั พระนอนจกั รสหี  จักรสีห อาํ เภอเมืองสงิ หบ รุ ี 92 6 วัดนอย ง้วิ ราย อําเภออินทรบ ุรี 78 7 วดั ปลาไหล ประศกุ อาํ เภออนิ ทรบ ุรี 82 8 วัดระนาม ชนี ํา้ ราย อําเภออนิ ทรบุรี 87 9 วดั เซาสงิ ห ทองเอน อําเภออนิ ทรบรุ ี 63 10 วัดยาง ทบั ยา อาํ เภออนิ ทรบ รุ ี 40 11 วัดกระทุมป โพธช์ิ ยั อาํ เภออินทรบุรี 53 12 วดั บา นลาํ โพธชิ์ ยั อําเภออนิ ทรบุรี 92 13 วดั หนองสุม หว ยชนั อาํ เภออนิ ทรบุรี 81 14 บา นเกา บานหมอ อาํ เภอพรหมบรุ ี 70 15 วดั กลางธนรินทร บา นแปง อาํ เภอพรหมบรุ ี 38 16 ชุมชนวัดเทพมงคล โรงชาง อําเภอพรหมบรุ ี 35 17 วดั พรหมเทพาวาส หัวปา อําเภอพรหมบรุ ี 49 18 วัดสิงห โพสังโฆ อาํ เภอคา ยบางระจนั 115 19 วดั โพธ์ิศรี ทา ขา ม อําเภอคา ยบางระจัน 94 20 วัดประดับ บางระจนั อาํ เภอคายบางระจนั 103 21 คา ยบางระจัน บางระจัน อําเภอคายบางระจนั 89 22 วดั ตะโกรวม คอทราย อําเภอคา ยบางระจนั 98 23 วดั วงั กะจบั คอทราย อําเภอคายบางระจนั 88 24 วัดบานกลบั โพทะเล อาํ เภอคายบางระจนั 104 25 ไทยรฐั วิทยา 56 หนองกระทมุ อาํ เภอคา ยบางระจนั 115

32 ควบรวมโรงเรียนขนาดเลก็ ทไี่ มสามารถบริหารจดั การใหเ กิดคุณภาพได โดยจะดาํ เนนิ การ เมินคณุ ภาพทางการศกึ ษา เม่ือสิ้นปก ารศึกษา 2562) จํานวน 40 โรงเรียน น จาํ นวน ) ครู (คน) การบริหารจดั การ หมายเหตุ 5 รูปแบบการใชเทคโนโลยฯี โรงเรียนคณุ ภาพประจาํ ตําบล 11 รูปแบบการใชเ ทคโนโลยฯี มีความพรอมดา นทรัพยากร 8 รูปแบบการใชเทคโนโลยฯี อยูคนละฝง สายเอเชีย เดนิ ทางไมส ะดวก 5 รปู แบบการมสี ว นรวมของทอ งถน่ิ โรงเรียนคณุ ภาพประจาํ ตําบล 6 รปู แบบการใชเทคโนโลยฯี มีความพรอ มดานทรัพยากร 7 รูปแบบการใชเ ทคโนโลยฯี ยงั สามารถบริหารจดั การได 6 รูปแบบการใชเ ทคโนโลยฯี โรงเรียนคุณภาพประจําตําบล 7 รูปแบบการใชเทคโนโลยฯี โรงเรียนคุณภาพประจาํ ตําบล 5 รปู แบบการใชเ ทคโนโลยฯี อยูหา งไกลจาก รร.อื่น เกิน 6 กม. 7 รูปแบบการใชเทคโนโลยฯี โรงเรียนคุณภาพประจําตําบล 5 รปู แบบการใชเ ทคโนโลยฯี ยังสามารถบรหิ ารจดั การได 8 รปู แบบการใชเ ทคโนโลยฯี อยหู างไกลจาก รร.อื่น เกิน 6 กม. 9 รปู แบบการใชเ ทคโนโลยฯี อยูช ายแดนติดกบั จงั หวดั ชัยนาท 5 รูปแบบการใชเทคโนโลยฯี อยูค นละฝง สายเอเชีย เดินทางไมสะดวก 4 รปู แบบการใชเทคโนโลยฯี โรงเรยี นคุณภาพประจาํ ตําบล 8 รปู แบบการใชเ ทคโนโลยฯี โรงเรียนคุณภาพประจาํ ตําบล 4 รปู แบบการใชเทคโนโลยฯี โรงเรียนคณุ ภาพประจาํ ตําบล 6 รปู แบบการใชเทคโนโลยฯี ยงั สามารถบริหารจดั การได 7 รปู แบบการใชเ ทคโนโลยฯี ยงั สามารถบรหิ ารจัดการได 6 รูปแบบการใชเ ทคโนโลยฯี พัฒนาใหเ ปน โรงเรยี นหลกั 5 รูปแบบการเรียนแบบคละชั้น ยงั สามารถบรหิ ารจดั การได 9 รูปแบบการใชเทคโนโลยฯี โรงเรยี นคณุ ภาพประจาํ ตําบล 6 รปู แบบการใชเ ทคโนโลยฯี ยงั สามารถบริหารจดั การได 8 รูปแบบการใชเทคโนโลยฯี ยังสามารถบรหิ ารจัดการได 9 รูปแบบการใชเทคโนโลยฯี โรงเรยี นคณุ ภาพประจาํ ตําบล

2.3.3 พัฒนาใหเปนโรงเรียนทมี่ ีคณุ ภาพ หรือ ค จดั ทาํ แผนบริหารจดั การโรงเรียนขนาดเล็ก (ควบรวม) ในระยะตอ ไป (โดยดูผลการประเ รวมจํานวน ท่ี โรงเรยี นขนาดเลก็ ตําบล อาํ เภอ นร. (คน) 26 วดั ดอนเจดยี  สระแจง อําเภอบางระจัน 77 27 วัดกลางชูศรีเจรญิ สขุ พกั ทนั อาํ เภอบางระจัน 43 28 บานทุงกลับ พักทนั อําเภอบางระจนั 75 29 เรืองเดชประชานเุ คราะห ไมดดั อําเภอบางระจัน 109 30 ชุมชนบานไมดัด สงิ ห อาํ เภอบางระจนั 72 31 วัดประสทิ ธ์ิคณุ ากร สิงห อาํ เภอบางระจนั 62 32 วัดบา นจา (เอยี่ มโหมดอนสุ รณ) บานจา อําเภอบางระจัน 113 33 อนบุ าลทาชาง ถอนสมอ อาํ เภอทา ชาง 50 34 วดั พิกุลทอง พกิ ลุ ทอง อาํ เภอทา ชาง 58 35 ชมุ ชนวดั เสาธงหิน โพประจกั ษ อําเภอทา ชาง 90 36 วดั โสภา โพประจกั ษ อําเภอทา ชา ง 100 37 วดั วิหารขาว วหิ ารขาว อาํ เภอทาชาง 54 ตวั ช้วี ัด/เกณฑ การบริหารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็กจังหวดั สิงหบ ุรี 1) โรงเรียนขนาดเลก็ ตองผานการประเมินคณุ ภาพภายใน ระดับดี 2) โรงเรียนขนาดเล็กตองมีผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษาระดับชาติ (O-N 3) โรงเรียนขนาดเลก็ ตอ งมีผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษาระดบั ชาติ NT ส 4) หากโรงเรียนขนาดเลก็ ไมม ีคุณภาพดา นใดดานหนง่ึ ตามขอ 1) –3) โรงเรยี

33 ควบรวมโรงเรียนขนาดเลก็ ทไี่ มสามารถบรหิ ารจัดการใหเ กิดคณุ ภาพได โดยจะดาํ เนนิ การ เมินคณุ ภาพทางการศึกษา เมื่อสิ้นปก ารศึกษา 2562) จาํ นวน 40 โรงเรียน น จาํ นวน ) ครู (คน) การบริหารจัดการ หมายเหตุ 6 รูปแบบการใชเทคโนโลยฯี ยงั สามารถบรหิ ารจดั การได 4 รูปแบบการใชเ ทคโนโลยฯี ยงั สามารถบริหารจัดการได 4 รูปแบบการใชเทคโนโลยฯี อยหู า งไกลจาก รร.อื่น เกิน 6 กม. 9 รปู แบบการใชเ ทคโนโลยฯี อยูห างไกลจาก รร.อื่น เกิน 6 กม. 5 รปู แบบการใชเทคโนโลยฯี โรงเรยี นคณุ ภาพประจาํ ตําบล 4 รูปแบบการใชเ ทคโนโลยฯี ยงั สามารถบริหารจดั การได 12 รูปแบบการใชเทคโนโลยฯี โรงเรยี นคุณภาพประจาํ ตําบล 4 รปู แบบการใชเ ทคโนโลยฯี โรงเรียนคณุ ภาพประจําตําบล 4 รปู แบบการใชเทคโนโลยฯี โรงเรียนคณุ ภาพประจาํ ตําบล 4 รูปแบบการใชเ ทคโนโลยฯี พฒั นาใหเปนโรงเรยี นหลกั 11 รูปแบบการใชเทคโนโลยฯี โรงเรยี นคณุ ภาพประจาํ ตําบล 7 รูปแบบการใชเ ทคโนโลยฯี โรงเรยี นคณุ ภาพประจําตําบล Net) คาเฉลยี่ ทุกกลุม สาระวิชาสงู ขึ้นกวาปการศกึ ษาทีผ่ า นมา สงู กวา คาเฉลยี่ ระดับประเทศ อยางนอย 2 ใน 3 ดา น ยนตองบริหารจดั การรวมกับโรงเรียนหลกั ทเ่ี ปนโรงเรียนคุณภาพ

แบบสรุปรูปแบบและแนวทางการจดั โรงเรียนในเขตอาํ เภอเ ที่ โรงเรียน สงั กัดสาํ นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสงิ หบ ุรี (สพป.สงิ หบุร 1 วัดราษฎรประสิทธ์ิ 1.รปู แบบการจดั 2.รูปแบบการมีส 2 วดั สะอาดราษฎรบํารุง รปู แบบการจัดกา 3 วดั พระปรางคมนุ ี รูปแบบการจัดกา 4 วัดศรัทธาภริ ม รูปแบบการมีสว น 5 ชุมชนวดั พระนอนจักรสีห(มติ รภาพท1่ี 33) รูปแบบการจัดกา

34 ดทาํ แผนบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็ก หมายเหตุ เมืองสิงหบ รุ ี จังหวดั สิงหบรุ ี รูปแบบการบริหารจดั การ รี) ดการเรียนรูโ ดยระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ สวนรว มขององคกรปกครองสว นทอ งถ่นิ องคก รเอกชน ารเรียนรโู ดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ารเรยี นรโู ดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ นรวมขององคกรปกครองสว นทองถ่ิน องคกรเอกชน ารเรียนรโู ดยระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook