ค่มู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวนั 60 แทง่ แม่เหลก็ แทง่ แมเ่ หล็กจะเกดิ แรงผลักเม่อื นำแท่งแมเ่ หลก็ อีกแทง่ โดยนำด้านทมี่ ขี ั้วเหมือนกนั เขา้ ใกลก้ นั สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
61 คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวติ ประจำวนั แม่เหล็กไม่ไดด้ ึงดูดโลหะทกุ ชนิด โลหะที่แม่เหลก็ ดงึ ดดู ได้ เชน่ เหลก็ ส่วนโลหะทแี่ ม่เหลก็ ไม่ดึงดูด เช่น เงิน ทองคำ อะลูมิเนียม ทองแดง สงั กะสี แมเ่ หลก็ ดึงดดู วสั ดุทเ่ี ป็นสารแมเ่ หลก็ และแม่เหลก็ ดว้ ยกัน ซึ่งแมเ่ หล็กบางชนิดก็ไมไ่ ด้มีลกั ษณะมนั วาว เมื่อนำแม่เหลก็ 2 แทง่ เขา้ ใกลก้ ัน อาจเกิดแรงดึงดดู หรอื แรงผลกั ขน้ึ อยู่กับข้ัวของแม่เหล็กทน่ี ำเข้าใกล้กนั ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 แรงในชวี ติ ประจำวัน 62 สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
63 ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวติ ประจำวัน เรือ่ งที่ 1 แรงสมั ผัสกบั การเปล่ยี นแปลงการเคลอื่ นทขี่ องวตั ถุ ในเรื่องนี้นกั เรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกบั ผลของแรงทีม่ ีต่อ การเปลย่ี นแปลงการเคลือ่ นท่ขี องวัตถุในลกั ษณะต่าง ๆ จุดประสงค์การเรียนรู้ อธิบายการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุใน ลกั ษณะตา่ ง ๆ เมื่อมีแรงมากระทำ เวลา 3 ชว่ั โมง วัสดุ อปุ กรณส์ ำหรบั ทำกจิ กรรม ลกู บอล ตะเกียบ สื่อการเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ 1. หนงั สือเรียน ป.3 เลม่ 2 หน้า 27-32 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.3 เลม่ 2หนา้ 24-29 ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวติ ประจำวนั 64 แนวการจดั การเรยี นรู้ (60 นาที) ขั้นตรวจสอบความรู้ (10 นาท)ี 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับแรงกับการเคลื่อนที่ของ ในการตรวจสอบความรู้เดิม วัตถุ โดยการอภิปรายประสบการณ์การเล่นเครื่องเล่นต่าง ๆ ในสนาม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น เดก็ เลน่ โดยอาจใช้คำถาม ดงั นี้ สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ 1.1 นักเรียนเคยไปเล่นเครื่องเล่นต่าง ๆ ในสนามเด็กเล่นหรือไม่ แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง ในสนามเด็กเล่นมีเครื่องเล่นอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตาม จากการอา่ นเนอ้ื เรื่อง ประสบการณ์ของตนเองว่าเคยไปเล่นเครื่องเล่นที่สนามเด็กเลน่ หรือไม่ และยกตัวอย่างเครื่องเล่น เช่น ม้าโยก ชิงช้า กระดาน ลนื่ ม้าหมุน) 1.2 เครื่องเล่นแต่ละชนิดมีวิธกี ารเล่นอยา่ งไร (นักเรียนตอบตามความ เข้าใจ เช่น ม้าโยก ต้องออกแรงโยกหรือกด ชิงช้า ต้องออกแรง แกวง่ กระดานลน่ื ต้องออกแรงไถล ม้าหมนุ ตอ้ งออกแรงผลัก) ครูอาจให้ตัวแทนนักเรียนออกมาแสดงท่าทางประกอบ เช่น การแกวง่ ชิงช้ามกี ารออกแรงในลักษณะอย่างไร 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเรื่องแรงสัมผัสกับการ เปล่ยี นแปลงการเคล่ือนท่ีของวัตถุ โดยชักชวนนกั เรียนอ่านเน้ือเร่ืองใน หนังสือเรียน หน้า 27 เกี่ยวกับเครื่องเล่นต่าง ๆ ที่พบในสนามเด็กเลน่ และหาคำตอบวา่ เคร่อื งเล่นแต่ละชนดิ มวี ิธกี ารเล่นอย่างไร ข้ันฝึกทักษะจากการอ่าน (35 นาท)ี 3. นักเรียนอ่านชื่อเรื่องและคำถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียน หน้า 27 จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อหาแนวคำตอบและนำเสนอ โดย ครูบันทึกคำตอบของนักเรียนบนกระดานเพื่อใช้เปรียบเทียบคำตอบ หลงั จากอา่ นเนอื้ เรอื่ ง 4. นักเรียนอ่านคำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียน อ่านไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียน อธิบายความหมายของคำสำคญั ตามความเข้าใจของตนเอง สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
65 คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 แรงในชวี ติ ประจำวนั 5. นักเรียนอ่านเน้ือเร่ืองในหนงั สือเรียนหน้า 27 โดยครูฝกึ ทักษะการอ่าน หากนักเรียนไม่สามารถตอบ ตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครู คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ตรวจสอบความเขา้ ใจจากการอ่าน โดยใชค้ ำถามดังน้ี คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด 5.1 นักเรียนสังเกตเห็นเครื่องเล่นอะไรในสนามเด็กเล่น (เครื่องเล่น อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน ได้แก่ ชงิ ช้า กระดานลื่น มา้ โยก) และรับฟังแนวความคิดของ 5.2 เมื่อเริ่มเล่นชิงช้า ข้าวตูออกแรงกระทำต่อชิงช้าอย่างไร นักเรียน (ขา้ วตูดงึ ชิงชา้ ในทศิ ทางเข้าหาตวั ) 5.3 ข้าวตูทำอย่างไรเพื่อให้ชิงช้าเคลื่อนที่เร็วและแกว่งได้สูงขึ้น (ขา้ วตูออกแรงผลักชิงช้าในทิศทางออกจากตวั ) 5.4 ถ้านักเรียนเปน็ ข้าวตูและต้องการแกว่งชิงช้าให้เคลือ่ นทีเ่ ร็วและ แกว่งได้สูงขึ้น จะทำได้อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิดของ ตนเอง เช่น ดงึ ชงิ ชา้ เข้าหาตัวสูง ๆ ผลกั ชิงชา้ ให้แรง ๆ) 5.5 นักเรียนคิดว่าการเล่นมา้ โยกและกระดานลืน่ ต้องใช้แรงกระทำ ในลักษณะเดียวกันหรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิด ของตนเอง เชน่ มา้ โยก ตอ้ งใช้แรงทั้งการดึงและการผลักเพ่ือทำ ให้ม้าโยกเคลื่อนที่ ส่วนกระดานลื่น ต้องใช้แรงในการผลักใหต้ ัว เราเคลอ่ื นท่ีไปตามทางลาดของกระดานล่นื ) 5.6 การดึงและการผลกั แตกต่างกนั อยา่ งไร (การดงึ เป็นการออกแรง ในทิศทางเข้าหาตัวผู้ออกแรง ส่วนการผลักเป็นการออกแรงใน ทิศทางออกจากตวั ผ้อู อกแรง) 5.7 เพราะเหตุใดแรงที่ข้าวตูใช้ในการเล่นเครอ่ื งเลน่ จึงเป็นแรงสัมผัส (เพราะเป็นการออกแรงที่ต้องสัมผัสกับวัตถุเพื่อให้วัตถุ เปล่ียนแปลงการเคล่อื นที่) ขน้ั สรปุ จากการอา่ น (15 นาท)ี 6. นักเรียนร่วมกันสรุปเรื่องที่อ่านซึ่งควรสรุปได้ว่า การออกแรงลักษณะ ต่าง ๆ ทำให้เครื่องเล่นเคลื่อนที่ได้ เช่น ออกแรงในการดึงซึ่งเป็นการ ออกแรงในทิศทางเข้าหาตัวผู้ออกแรง หรือออกแรงในการผลักซึ่งเป็น การออกแรงในทิศทางออกจากตัวผู้ออกแรง แรงทใ่ี ช้ในการดึงและการ ผลักเครื่องเล่นเป็นแรงสัมผัสเพราะเป็นการออกแรงที่มีการสัมผัสกับ เครือ่ งเล่นโดยตรง 7. นกั เรยี นตอบคำถามในร้หู รอื ยงั ในแบบบันทึกกจิ กรรม หนา้ 24 ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คูม่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 แรงในชวี ติ ประจำวัน 66 8. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันอภิปรายเพื่อเปรียบเทยี บคำตอบของนักเรียนใน การเตรยี มตวั ล่วงหน้าสำหรับครู ร้หู รือยงั กบั คำตอบทีเ่ คยตอบและบนั ทึกไว้ในคดิ ก่อนอา่ น เพื่อจัดการเรียนรู้ในครง้ั ถัดไป 9. นกั เรียนตอบคำถามท้ายเร่ืองที่อ่านในหนา้ สือเรียนหน้า 28 ดังนี้ แรงมี ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงการเคลื่อนท่ีของวัตถุอย่างไรบ้าง (นักเรียนตอบ กิจกรรมที่ 1 แรงมีผลต่อการเคลื่อนท่ี ตามความเข้าใจของตนเอง) ของวัตถุอย่างไร ครูควรเตรียมลูกบอล ครูยังไม่เฉลยคำตอบ แต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการ ขนาดเล็กตามจำนวนกลุ่มให้นักเรียนได้ ผลัดกันรับส่งลูกบอลเพื่อสงั เกตการออก ทำกจิ กรรม แรงที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงการ เคล่ือนทข่ี องลูกบอล และควรหาสถานท่ี ที่เหมาะสำหรับการทำกิจกรรม เช่น สนามฟุตบอล ลานอเนกประสงค์ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
67 คู่มอื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวนั แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม ออกแรงในการดงึ หรือผลักชิงช้า การดงึ และการผลกั เหมอื นกันตรงทมี่ กี ารออกแรงกระทำตอ่ วัตถุ แต่แตกต่างกนั ตรงลกั ษณะการออกแรง โดยการดึงเป็นการออกแรงใน ทิศทางเข้าหาตัว แตก่ ารผลกั เปน็ การออกแรงในทิศทางออกจากตัว ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คูม่ ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชวี ติ ประจำวัน 68 กจิ กรรมท่ี 1 แรงมีผลตอ่ การเคลื่อนท่ีของวัตถุอยา่ งไร กิจกรรมน้ีนกั เรียนจะได้สังเกตการเปล่ียนแปลงการ เคลื่อนท่ีที่เกิดขึ้นกับวัตถุในลักษณะต่าง ๆ เมื่อมีแรงมา กระทำต่อวัตถนุ ้ัน เวลา 2 ช่ัวโมง จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สงั เกตและอธิบายผลของแรงที่มีต่อการเปลย่ี นแปลงการ เคลอื่ นท่ีของวัตถุ วสั ดุ อปุ กรณ์สำหรับทำกจิ กรรม ส่ิงที่ครตู อ้ งเตรียม/กลุ่ม 1. ลกู บอล 1 ลูก 2. ตะเกียบ 1 อนั ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ สื่อการเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้ S1 การสงั เกต 1. หนังสือเรยี น ป.3 เลม่ 2 หนา้ 29-31 S8 การลงความเห็นจากข้อมูล 2. แบบบนั ทกึ กิจกรรม ป.3 เลม่ 2 หนา้ 25-29 S13 การตีความหมายข้อมูลและลงขอ้ สรปุ 3. ตัวอย่างวีดิทัศนป์ ฏิบัติการวิทยาศาสตร์สำหรับครู เร่ือง วัตถุเปล่ยี นแปลงการเคล่ือนทไ่ี ด้อยา่ งไร http://ipst.me/9863 ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 C4 การสือ่ สาร C5 ความรว่ มมือ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
69 คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวิตประจำวนั แนวการจัดการเรียนรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับผลของแรงต่อการ สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ เคลื่อนที่ของวัตถุ โดยชักชวนนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับกีฬาที่นักเรียน แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง ชอบ เช่น ฟุตบอล โดยครูอาจเปิดวิดีโอคลิปการเล่นฟุตบอลโดยให้ จากการทำกิจกรรม นักเรียนสังเกตการเตะลูกฟุตบอลของนักฟตุ บอล ลกั ษณะการออกแรง ท่ีกระทำต่อลูกฟุตบอลและผลที่เกิดขึ้นกับลูกฟุตบอล ครูอาจสอบถาม หรือให้นักเรียนที่เคยเล่นฟุตบอลออกมาอธิบายวิธีการเตะลูกฟุตบอล โดยครูกระตุ้นใหน้ ักเรียนคนอ่นื คิดตามและร่วมกนั ตอบคำถาม ดังนี้ 1.1 ขณะเล่นฟุตบอล นักเรียนมีการออกแรงกระทำต่อลูกฟุตบอล หรือไม่ อย่างไร (นักเรียนตอบจากประสบการณ์หรือความคิด ของตนเอง เช่น มีการออกแรงในลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ การเตะ ขวา้ ง รับ เขี่ยลกู ฟุตบอล เปน็ ตน้ ) 1.2 ถ้านกั เรียนต้องการทำใหล้ ูกฟุตบอลเคล่ือนท่ีไปยังประตูของฝ่าย ตรงกันข้ามอย่างรวดเร็ว จะทำได้อย่างไร (นักเรียนตอบตาม ความเข้าใจ เช่น เตะลูกฟุตบอลแรง ๆ เพื่อส่งลูกฟุตบอลให้ เพื่อน แล้วให้เพื่อนออกแรงเตะตามทิศทางการเคลื่อนที่ของ ลูกฟุตบอลต่อไปยงั ประตู) 1.3 ถ้านักเรียนเป็นผู้รกั ษาประตู นักเรียนจะต้องออกแรงกระทำต่อ ลูกฟุตบอลอย่างไรเพื่อไม่ให้ลูกฟุตบอลเข้าประตู (นักเรียนตอบ ตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ออกแรงในทิศทางตรงกันข้าม กับทิศทางที่ลูกฟุตบอลเคลื่อนที่มาเพื่อให้ลูกฟุตบอลหยุด เคลื่อนท่ีหรือออกแรงปัดให้ลูกฟุตบอลเปลี่ยนทิศทางการ เคลื่อนท)ี่ 2. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1 โดยใช้คำถาม ดงั นี้ วตั ถุจะเกดิ การเปลย่ี นแปลงอย่างไรเมื่อมีแรงมากระทำ และถา้ เรา ต้องการให้วัตุเกิดการเคล่ือนทีท่ ี่แตกต่างกัน จะต้องออกแรงกระทำต่อ วัตถอุ ย่างไร 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น ในหนังสือเรียนหน้า 29 จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ ในการทำกจิ กรรม โดยใช้คำถาม ดงั นี้ 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (ผลของแรงที่มีต่อการ เปลีย่ นแปลงการเคลื่อนทีข่ องวัตถุ) ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 แรงในชวี ติ ประจำวัน 70 3.2 นกั เรยี นจะไดเ้ รียนรเู้ ร่อื งนีด้ ว้ ยวิธีใด (การสังเกต) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (อธิบายผลของแรงที่มีต่อ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทน่ี ักเรียนจะได้ฝกึ การเปล่ียนแปลงการเคล่ือนท่ขี องวตั ถุ) จากการทำกจิ กรรม 4. นักเรียนบันทกึ จุดประสงคล์ งในแบบบันทกึ กิจกรรม หน้า 25 และอ่าน S1 ส ั ง เ ก ต ก า ร อ อ ก แ ร ง แ ล ะ ก า ร สง่ิ ทต่ี ้องใช้ในการทำกจิ กรรม เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของลูกบอล 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไรทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่าน ก ่ อ น แ ล ะ ห ล ั ง อ อ ก แ ร ง ก ร ะ ท ำ ต่ อ ลูกบอล ที่เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำ S8 ลงความเห็นเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้ กจิ กรรม โดยใชค้ ำถามดงั น้ี วัตถมุ กี ารเปล่ยี นแปลงการเคลอ่ื นที่ 5.1 เมื่อนักเรียนจับคู่โดยยืนห่างกัน 3 เมตร จากนั้นนักเรียนต้องทำ C4 นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะการ อะไร (ผลัดกันรับส่งลูกบอล โดยสังเกตการออกแรงและผลที่มี ออกแรงและผลของแรงที่มีต่อการ ต่อการเคล่ือนท่ีของลกู บอลท้ังขณะทส่ี ่งและรบั ลูกบอล) เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุให้ 5.2 หลังจากผลัดกันรับส่งลูกบอลแล้ว นักเรียนต้องทำอะไรต่อไป ผูอ้ ื่นเข้าใจ (ผลกั ลกู บอลที่อยู่บนพื้นใหเ้ คลื่อนที่ โดยสงั เกตการออกแรงและ ผลทมี่ ีต่อการเคล่ือนที่ของลูกบอล จากน้ันใหผ้ ลกั ลูกบอลอีกครั้ง C5 ทำงานร่วมกับผู้อ่ืนในการทำกิจกรรม แล้วใช้ตะเกียบออกแรงกระทำต่อลูกบอลที่กำลังเคลื่อนที่ให้ ออกแรงกระทำตอ่ ลูกบอลและร่วมกัน เคลือ่ นที่ต่อไป) สงั เกตผลของแรงท่ีมตี ่อการ 5.3 เมื่อออกแรงผลักลูกบอล แล้วใช้ตะเกียบออกแรงกระทำต่อ เปลยี่ นแปลงการเคล่ือนท่ขี องลกู บอล ลูกบอลที่กำลังเคลื่อนที่ให้เคลื่อนที่ต่อไป กำหนดให้แรงกระทำ ต่อลูกบอลในทิศทางใดบ้าง (ออกแรงกระทำในทิศทางเดียวกับ หากนักเรียนไม่สามารถตอบ ทิศทางการเคลื่อนที่ของลูกบอล ออกแรงกระทำในทิศทาง คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว ตรงกันข้ามกับทิศทางการเคลื่อนที่ของลูกบอล และออกแรง คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด กระทำในทิศทางอน่ื ) อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร แล้ว ครูพานักเรียน และรับฟังแนวความคิดของ ออกไปยังบริเวณที่สามารถทำกิจกรรมได้ จากนั้นแจกลูกบอลให้ นกั เรียน นกั เรยี นเร่มิ ทำกจิ กรรม โดยกำหนดเวลาตามความเหมาะสม 7. หลังจากทำกิจกรรม ครูให้นักเรียนช่วยกันเก็บลูกบอล จากนั้นร่วมกัน อภิปรายผลการทำกจิ กรรม ตามแนวคำถามดังนี้ การสง่ ลูกบอล 7.1 ขณะทีน่ กั เรียนส่งลูกบอลใหเ้ พื่อน นักเรยี นต้องออกแรงหรือไม่ (ต้องออกแรง) สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
71 คมู่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวัน 7.2 ลกั ษณะการออกแรงเป็นอย่างไร จงึ ทำใหล้ ูกบอลเคลื่อนท่ีไปหา การออกแรงในทิศทางตรงกนั ข้ามกับ เพอ่ื น (เราต้องผลักลูกบอลออกไป หรอื เราต้องออกแรงเพ่ือผลกั ทศิ ทางทลี่ กู บอลกำลงั เคลือ่ นท่ี ลูกบอลไปขา้ งหนา้ ) ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม 7.3 ก่อนออกแรงกระทำตอ่ ลูกบอล ลกู บอลมกี ารเคล่ือนทหี่ รือไม่ ครูควรอธิบายหรือให้คำแนะนำ (ไม่ม)ี เพิ่มเติมเมื่อนักเรียนทำกิจกรรมแล้ว พบว่า นักเรียนออกแรงกระทำต่อ 7.4 เมื่อออกแรงกระทำตอ่ ลูกบอล ลูกบอลเคลอื่ นทอ่ี ย่างไร (เคลอื่ นที่ วัตถุในทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทาง ไปขา้ งหนา้ ) ที่วัตถุนั้นเคลื่อนที่ แต่ใช้แรงที่มาก ก็อาจทำให้ลูกบอลเคลื่อนที่กลับไป การรับลกู บอล ยงั ทศิ ทางเดิมทีเ่ คลื่อนท่มี าได้ 7.5 ในการรบั ลกู บอลทเ่ี คล่ือนทเ่ี ข้ามาหา เราต้องออกแรงหรือไม่ อย่างไร (ต้องออกแรง โดยออกแรงในทิศทางตรงกนั ขา้ มกับการ เคลือ่ นที่ของลูกบอล) 7.6 เมื่อออกแรงกระทำตอ่ ลูกบอล ลกู บอลเปน็ อยา่ งไร (ลูกบอลหยุด เคล่อื นท่ี) การออกแรงกระทำต่อลูกบอลทก่ี ำลงั เคล่ือนที่ โดยให้แรงกระทำในทศิ ทาง ต่าง ๆ 7.7 เม่อื ออกแรงกระทำตอ่ ลูกบอลในทศิ ทางเดยี วกับทิศทางการ เคลอื่ นท่ีของลูกบอล การเคล่ือนท่ีของลูกบอลเป็นอยา่ งไร (ลกู บอลท่ีกำลงั เคลื่อนที่ เคลอื่ นที่เรว็ ข้ึน) 7.8 เมื่อออกแรงกระทำตอ่ ลูกบอลในทศิ ทางตรงกันขา้ มกับ ทิศทางการเคลื่อนท่ีของลูกบอล การเคล่ือนที่ของลกู บอลเป็น อย่างไร (ลกู บอลที่กำลงั เคลอ่ื นที่ เคลื่อนทีต่ ่อไปแตช่ ้าลง) 7.9 เมือ่ ออกแรงกระทำตอ่ ลูกบอลในทิศทางอ่นื การเคลอ่ื นทข่ี อง ลกู บอลเป็นอย่างไร (ลูกบอลท่ีกำลงั เคลื่อนที่ เปลี่ยนทิศทางการ เคลอื่ นท่ี) 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับผลของ แรงท่ีมตี ่อการเคลื่อนท่ขี องวัตถุ จากนนั้ ร่วมกนั อภิปรายและลงข้อสรุป ดงั นี้ - ถา้ ออกแรงกระทำตอ่ วัตถทุ ี่อยูน่ งิ่ จะทำให้วตั ถุเปลีย่ นเป็นเคล่ือนที่ - ถ้าออกแรงกระทำต่อวัตถุในทิศทางเดียวกันกับทิศทางที่วัตถุน้ัน กำลงั เคลอ่ื นที่ วัตถจุ ะเคล่ือนที่ต่อไปในทศิ ทางเดมิ แต่เร็วขนึ้ - ถ้าออกแรงกระทำต่อวัตถุที่กำลังเคลื่อนท่ีโดยออกแรงกระทำใน ทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่วัตถุนั้นกำลังเคลื่อนที่ วัตถุจะ เคล่ือนทตี่ ่อไปในทิศทางเดิม แตช่ า้ ลงหรอื หยดุ นิง่ ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 แรงในชวี ติ ประจำวนั 72 - ถ้าออกแรงกระทำต่อวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่โดยทิศของแรงไม่ได้อยู่ ในทิศทางเดียวกันหรือทิศทางตรงข้ามกันกับทิศทางการเคลื่อนท่ี ของวตั ถุ วตั ถจุ ะเปลย่ี นทศิ ทางการเคลอ่ื นที่ (S13) 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร ในหนังสือเรียน หน้า 30 โดยครูอาจใช้คำถามเพมิ่ เติมเพ่ือให้ได้แนวคำตอบท่ีถูกต้อง 10. นักเรียนอ่าน สิ่งทไ่ี ดเ้ รียนรู้ ในหนังสือเรียน หน้า 31 และเปรียบเทียบ กบั ข้อสรปุ ของตนเอง 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2-3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนร่วมกันอภิปราย เกยี่ วกบั คำถามที่นำเสนอ 12. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 อะไรบา้ งและในข้ันตอนใด 13. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หน้า 32 ครูนำ อภิปรายเพื่อนำไปสู่ข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ จากนั้นครู กระตุ้นให้นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่อง ดังนี้ วัตถุจะ เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่โดยไม่ต้องใช้แรงสัมผัสได้หรือไม่ โดยให้ นักเรียนร่วมกันอภิปรายแนวทางการตอบคำถาม ซึ่งครูควรเน้นให้ น ั กเ ร ี ย น ต อบ คำถามพร ้ อมอธ ิ บ าย เ ห ต ุ ผ ล ป ร ะกอบ แล ะช ั กช ว น ใ ห้ นกั เรียนไปหาคำตอบร่วมกันจากการเรียนเร่ืองต่อไป สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
73 คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวติ ประจำวนั แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม สังเกตและอธิบายผลของแรงที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง การเคลอื่ นท่ขี องวตั ถุ ⎯ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชวี ติ ประจำวนั 74 กำลงั เคล่อื นที่ เคลอ่ื นท่เี ร็วขึน้ ในทศิ ทางเดิม กำลังเคล่อื นที่ เคลือ่ นทชี่ า้ ลงในทศิ ทางเดิม กำลงั เคลือ่ นท่ี เปลี่ยนแปลงทศิ ทางการเคลื่อนท่ี สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
75 คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวนั ต้องออกแรง โดยลูกบอลมีการเปล่ยี นแปลงจากอยนู่ ิ่งเปน็ เคลอ่ื นที่ ตอ้ งออกแรง โดยลกู บอลมกี ารเปลี่ยนแปลงจากกำลังเคล่ือนท่เี ป็นหยดุ น่ิง ออกแรงกระทำต่อลกู บอลในทศิ ทางเดยี วกับทิศทางที่ลูกบอลกำลังเคล่อื นท่ี ออกแรงกระทำต่อลูกบอลในทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางที่ลูกบอลกำลัง เคล่อื นท่ี ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวนั 76 ออกแรงกระทำต่อลูกบอลในทศิ ทางอน่ื ๆ ทไี่ มใ่ ช่ทศิ ทางทลี่ ูกบอลกำลังเคล่ือนท่ี เมือ่ ออกแรงกระทำต่อวตั ถุ จะมผี ลทำให้วตั ถุทอ่ี ยู่น่ิงเปล่ียนเปน็ เคลื่อนที่ หรือทำให้วตั ถทุ ่ีกำลงั เคล่อื นที่ เคลื่อนท่ีเร็วขึน้ เคลอื่ นทีช่ ้าลง หรือเปลี่ยน ทิศทางการเคล่ือนท่ี แรงทำใหว้ ตั ถุเปล่ียนแปลงการเคล่อื นท่ี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
77 คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวติ ประจำวนั คำถามของนักเรยี นที่ตงั้ ตามความอยากรขู้ องตนเอง ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 แรงในชีวิตประจำวัน 78 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรียนรู้ของนักเรียนทำได้ ดงั นี้ 1. ประเมินความรเู้ ดิมจากการอภิปรายในชน้ั เรยี น 2. ประเมนิ การเรยี นรู้จากคำตอบของนกั เรียนระหวา่ งการจดั การเรียนรูแ้ ละจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จากการทำกิจกรรมของนกั เรยี น การประเมินจากการทำกจิ กรรมท่ี 1 แรงมผี ลต่อการเคลอ่ื นทีข่ องวัตถอุ ย่างไร รหสั ส่ิงท่ปี ระเมนิ คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S8 การลงความเหน็ จากข้อมลู S13 การตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรุป ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว่ มมอื รวมคะแนน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
79 ค่มู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวติ ประจำวนั ตาราง รายการประเมินและเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะ เกณฑก์ ารประเมิน กระบวนการทาง รายการประเมนิ ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1) วิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต การสังเกตและบอก สามารถสังเกตและบอก สามารถสังเกตและ สามารถสังเกตและ ลกั ษณะการออกแรง ลักษณะการออกแรงและ บอกลักษณะการ บอกลกั ษณะการ และการเปล่ียนแปลง การเคลอ่ื นท่ขี อง การเปลี่ยนแปลงการ ออกแรงและการ ออกแรงและการ ลูกบอลก่อนและหลงั ออกแรงกระทำต่อ เคลื่อนท่ีของลูกบอลได้ เปล่ียนแปลงการ เปลย่ี นแปลงการ ลกู บอล ถูกต้องดว้ ยตนเองโดยไม่ เคล่อื นท่ีของลูกบอลได้ เคลอ่ื นท่ีของลูกบอลได้ เพิม่ ความคดิ เห็น ถกู ต้องจากการชแี้ นะ ถกู ต้องบางส่วน แมจ้ ะ ของครหู รอื ผอู้ ่ืนหรือมี ไดร้ ับการชแี้ นะจากครู การเพิ่มเติมความ หรอื ผอู้ ื่น คดิ เห็น S8 การลง การลงความเหน็ จาก สามารถลงความเหน็ จาก สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็น ความเหน็ จาก ขอ้ มูล ข้อมลู ไดว้ ่า แรงเปน็ ข้อมูลไดถ้ ูกต้องด้วย จากข้อมูลได้ถูกต้อง จากข้อมูลได้ถูกต้อง S13 การ สาเหตุท่ีทำให้วตั ถุ ตนเองว่า แรงเป็นสาเหตุ โดยอาศัยการช้ีแนะ เพยี งบางส่วน แมว้ ่าจะ ตีความหมาย ขอ้ มลู และลง เปลีย่ นแปลงการ ท่ที ำให้วตั ถเุ ปลยี่ นแปลง จากครหู รือผู้อนื่ ว่า แรง ได้รับการช้แี นะจากครู ขอ้ สรุป เคล่ือนทใ่ี นลักษณะ การเคลอื่ นท่ใี นลักษณะ เป็นสาเหตทุ ี่ทำใหว้ ตั ถุ หรอื ผู้อนื่ ว่า แรงเป็น ตา่ ง ๆ ตา่ ง ๆ เปลย่ี นแปลงการ สาเหตุทท่ี ำใหว้ ตั ถุ เคลื่อนทใี่ นลักษณะ เปล่ียนแปลงการ ต่าง ๆ เคล่อื นทใี่ นลักษณะ ตา่ งๆ การตคี วามหมายข้อมลู สามารถตคี วามหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย จากการสังเกต การ ข้อมลู จากการสังเกต ข้อมลู จากการสงั เกต ขอ้ มูลจากการสังเกต อภิปราย และลง การอภปิ ราย และลง การอภิปราย และลง การอภิปราย และลง ข้อสรุปได้ว่า แรงทำให้ ขอ้ สรุปได้ถูกต้องดว้ ย ขอ้ สรุปได้ถกู ต้องโดย ขอ้ สรปุ ได้ถูกต้องเพยี ง วัตถเุ ปล่ียนแปลงการ ตนเองว่า แรงทำให้วตั ถุ อาศยั การชแี้ นะจากครู บางส่วน แมว้ ่าจะไดร้ บั เคล่ือนท่ี เปล่ียนแปลงการ หรือผู้อืน่ ว่า แรงทำให้ การช้แี นะจากครูหรอื เคล่อื นท่ี วัตถุเปลยี่ นแปลงการ ผูอ้ น่ื วา่ แรงทำให้วัตถุ เคล่ือนที่ เปลยี่ นแปลงการ เคล่ือนท่ี ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 แรงในชวี ิตประจำวนั 80 ตาราง รายการประเมินและเกณฑ์การประเมนิ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 11 ทักษะแห่ง รายการประเมนิ ดี (3) เกณฑ์การประเมนิ ควรปรับปรุง (1) ศตวรรษท่ี 21 พอใช้ (2) C4 การสอ่ื สาร การนำเสนอขอ้ มลู สามารถนำเสนอขอ้ มูล สามารถนำเสนอขอ้ มูล สามารถนำเสนอข้อมูล C5 ความรว่ มมือ เกีย่ วกบั ลักษณะ เกยี่ วกบั ลักษณะการ เกย่ี วกบั ลกั ษณะการออก เกี่ยวกับลักษณะการออก การออกแรงและผล ออกแรงและผลของ แรงและผลของแรงทม่ี ีต่อ แรงและผลของแรงท่มี ีต่อ ของแรงท่มี ตี ่อการ แรงท่มี ตี ่อการ การเปล่ยี นแปลงการ การเปลีย่ นแปลงการ เปลยี่ นแปลงการ เปล่ยี นแปลงการ เคลอื่ นที่ของวตั ถุใหผ้ ้อู ืน่ เคล่อื นที่ของวตั ถุใหผ้ ้อู ืน่ เคล่อื นท่ีของวตั ถุให้ เคล่ือนที่ของวตั ถุให้ เขา้ ใจได้ถูกต้องจากการ เขา้ ใจได้เพยี งบางสว่ น ผ้อู ืน่ เขา้ ใจ ผอู้ น่ื เขา้ ใจได้ถูกต้อง ช้แี นะของครหู รือผู้อื่น แม้ว่าจะไดร้ ับการชแ้ี นะ ด้วยตนเอง จากครหู รอื ผู้อ่ืน การทำงานร่วมกบั สามารถทำงานร่วมกับ สามารถทำงานร่วมกับผู้อืน่ สามารถทำงานร่วมกบั ผู้อน่ื ในการออกแรง ผ้อู น่ื ในการออกแรง ในการออกแรงกระทำตอ่ ผอู้ ื่นในการออกแรง กระทำตอ่ ลูกบอล กระทำต่อลูกบอลโดย ลูกบอลโดยร่วมกนั สงั เกต กระทำตอ่ ลูกบอลโดย โดยรว่ มกนั สงั เกต รว่ มกนั สังเกตและ และอภปิ รายผลของแรงที่มี ร่วมกันสังเกตและ และอภปิ รายผลของ อภิปรายผลของแรงทม่ี ี ต่อการเปลี่ยนแปลงการ อภิปรายผลของแรงท่มี ี แรงทมี่ ตี ่อการ ตอ่ การเปลี่ยนแปลง เคลื่อนท่ีของลูกบอลโดยให้ ต่อการเปล่ยี นแปลงการ เปล่ียนแปลงการ การเคลอ่ื นทข่ี อง ความรว่ มมอื เปน็ บาง เคลือ่ นท่ีของลูกบอลโดย เคลอื่ นท่ีของ ลกู บอลตลอดช่วงเวลา ช่วงเวลาท่ที ำกิจกรรม ใหค้ วามร่วมมือเป็นบาง ลกู บอล ของการทำกิจกรรม ชว่ งเวลาที่ทำกจิ กรรม ทั้งนตี้ อ้ งอาศยั การ กระตนุ้ จากครูหรือผู้อ่ืน สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
81 ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวิตประจำวัน เรื่องที่ 2 แรงไมส่ ัมผสั กบั การเปลย่ี นแปลงการเคลื่อนท่ขี องวัตถุ ในเรื่องนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับแรงแม่เหล็กซึ่ง เป็นแรงไม่สัมผัส โดยการสังเกตลักษณะของแม่เหล็กและผล ของแรงแม่เหล็กที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ ต่าง ๆ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ อ ธ ิ บ า ย ล ั ก ษ ณ ะ ข อ ง แ ม ่ เ ห ล ็ ก แ ล ะ แ ร ง แ ม ่ เ ห ล็ ก บอกความหมายของแรงไม่สัมผัสกับการเปลี่ยนแปลง การเคล่ือนที่ของวัตถุ เวลา 7 ชั่วโมง วัสดุ อุปกรณส์ ำหรบั ทำกจิ กรรม ลวดเหล็ก ลวดทองแดง แท่งแม่เหล็ก ไม้บรรทัด พลาสติก ยางลบ กระดาษ กระป๋องน้ำอัดลม ไม้จิ้มฟัน ลวดเสียบกระดาษ แก้วพลาสติก ยางรัดของ กล่องใส่ ลวดเสียบกระดาษ ดนิ สอไม้ ตะปู เหรียญหา้ บาท แท่งไม้ เกา้ อี้ ไม้หรอื เกา้ อ้ีพลาสตกิ เชือกฟาง เทปกาว เข็มทิศ ดนิ สอ สอื่ การเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ 1. หนังสือเรยี น ป.3 เล่ม 2 หนา้ 33-46 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.3 เล่ม 2 หนา้ 30-43 ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวติ ประจำวนั 82 แนวการจัดการเรยี นรู้ (60 นาที) ใ น ก า ร ท บ ท ว น ค ว า ม รู้ พื้นฐาน ครูควรให้เวลานักเรียน ขน้ั ตรวจสอบความรู้ (10 นาที) คดิ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง 1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานของนักเรียนเกี่ยวกับผลของแรงที่มีต่อการ อดทน นักเรียนต้องตอบคำถาม เหล่านี้ได้ถูกตอ้ ง หากตอบไม่ได้ เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยให้นักเรียนสังเกตรูปสถานการณ์ หรือลืมครูต้องให้ความรู้ที่ การเปดิ บานประตู ดงั รูป ถูกต้องทันที การออกแรงในการผลักประตู ในการตรวจสอบความรู้เดิม จากนั้นถามนกั เรยี นเกีย่ วกับ ดงั น้ี ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1.1 ถ้าต้องการเปิดหรือปิดบานประตู ดังรูป นักเรียนต้องทำอย่างไร สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง (ออกแรงในการดงึ หรอื ผลกั ) จากการอ่านเนอื้ เร่ือง 1.2 การผลักและการดึงบานประตูมีลักษณะการออกแรงเหมือนและ แผน่ พลาสตกิ ลูกฟกู ลวดเสียบกระดาษ แตกต่างกันอย่างไร (การดึงและการผลักบานประตูมีลักษณะการ ออกแรงเหมือนกัน คือ เป็นการออกแรงกระทำโดยต้องสัมผัสกับ แท่งวัตถปุ ริศนา บานประตู แต่การดึงและการผลักบานประตูมีทิศทางการออกแรง ตัวอย่างการทำกจิ กรรม แตกต่างกัน คือ การดึงบานประตูเป็นการออกแรงในทิศทางเข้าหา ตัวผู้ออกแรง ส่วนการผลักบานประตูเป็นการออกแรงใน ทิศทางออกจากตัวผูอ้ อกแรง) 2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับแรงแม่เหล็กโดยเตรียม แท่งแม่เหล็กที่มีแรงแม่เหล็กมาก ห่อด้วยกระดาษสีเพื่อไม่ให้เห็น แท่งแม่เหล็กที่อยู่ด้านใน จากนั้นครูถือแผ่นพลาสติกลูกฟูกไว้ แล้วให้ ตัวแทนนักเรียนหนึ่งคนมาถือห่อแท่งแม่เหล็กซึ่งครูเรียกว่าแท่งวัตถุ ปริศนา ครูให้ตัวแทนนักเรียนถือแท่งวัตถปุ ริศนาทาบไว้กับด้านหลังของ แผ่นพลาสติกลูกฟูก จากนั้นครูนำวัตถุต่าง ๆ เช่น กรรไกรขนาดเล็ก ลวดเสียบกระดาษ ไม้บรรทัดเหล็ก มาวางบนแผ่นพลาสติกลูกฟูก โดย วางให้ตรงกับตำแหน่งแท่งวัตถุปริศนา ดังรูป จากนั้นให้ตัวแทนนักเรียน ลากแท่งวัตถุปริศนาไปมา โดยให้นักเรียนทุกคนสังเกตการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้น ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายสิ่งที่เกิดขึ้นโดยอาจใช้คำถาม ดังนี้ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
83 ค่มู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวติ ประจำวัน 2.1 นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้างเมื่อลาก แทง่ วตั ถุปรศิ นาไปมา (วตั ถทุ ี่อยู่บนแผน่ พลาสติกลกู ฟูกเคล่ือนที่ ได)้ 2.2 นักเรียนคิดว่ามีแรงมากระทำต่อวัตถุที่อยู่บนแผ่นพลาสติก ลูกฟูกหรือไม่ รู้ได้อย่างไร (มีแรงมากระทำ เพราะวัตถุนั้นมีการ เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ีจากอยนู่ งิ่ เป็นเคลือ่ นท่ไี ด้) 2.3 นกั เรยี นที่ออกแรงลากแท่งวตั ถุปริศนาได้ใช้มอื เลื่อนให้วัตถุท่ีอยู่ บนแผ่นพลาสติกลูกฟูกเคลื่อนที่หรือไม่ (ไม่ได้ใช้มือเลื่อน เพราะว่ามือของนักเรียนคนนั้นอยู่ด้านล่างของแผ่นพลาสติก ลูกฟกู ) 2.4 แรงทกี่ ระทำต่อวัตถุท่ีวางอย่บู นแผ่นพลาสติกลกู ฟูกคือแรงอะไร แรงนั้นมาจากไหน (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น แรงแม่เหล็ก) 3. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนสู่การเรียนเรื่องแรงไม่สัมผัสกับการ เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยชักชวนนักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง เกี่ยวกับแม่เหล็ก และมาหาคำตอบกันว่ามีวิธีการใดหรือไม่ที่จะทำให้ วัตถเุ คลือ่ นทไี่ ดโ้ ดยไม่ตอ้ งสัมผสั กบั วตั ถุ ขั้นฝึกทกั ษะจากการอา่ น (40 นาที) 4. นักเรียนอ่านชื่อเรื่องและคำถามในคิดก่อนอา่ น ในหนังสือเรียนหน้า 33 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อหาแนวคำตอบและนำเสนอ ครูบันทึกคำตอบ ของนกั เรยี นบนกระดานเพือ่ ใช้เปรยี บเทียบคำตอบหลังจากอา่ นเนื้อเร่ือง 5. นักเรยี นอา่ นคำสำคัญ ทงั้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียนอ่าน ไม่ได้ ครูควรสอนอ่านให้ถูกต้อง) จากนั้นครูชักชวนให้นักเรียนอธิบาย ความหมายของคำสำคัญตามความเขา้ ใจของตนเอง 6. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องในหนังสือเรียนหน้า 33-34 โดยครูฝึกทักษะการ อ่านตามวิธีการอา่ นทีเ่ หมาะสมกับความสามารถของนักเรยี น จากนั้นครู ตรวจสอบความเขา้ ใจจากการอ่าน โดยใช้คำถามดังน้ี 6.1 แม่เหล็กที่ติดตู้เย็นมีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตามความคิด หรอื ประสบการณ์ของตนเอง เชน่ แมเ่ หลก็ ที่ตดิ ตู้เยน็ มีลักษณะเป็น แผ่นสดี ำ ส่ีเหล่ยี ม หรือเปน็ แผน่ สีดำกลม ๆ ) ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวติ ประจำวนั 84 6.2 แม่เหลก็ มรี ปู รา่ งอย่างไรบ้าง (มรี ูปรา่ งหลายแบบ เชน่ ทรงสี่เหล่ียม การเตรยี มตัวลว่ งหน้าสำหรับครู มมุ ฉาก ทรงกระบอก รปู เกือกมา้ รปู วงแหวน) เพื่อจดั การเรียนรใู้ นครง้ั ถดั ไป 6.3 จากเรื่องเล่า ใครเป็นผู้ค้นพบหินวิเศษ และค้นพบได้อย่างไร ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำ (ชายเลี้ยงแกะชื่อว่าแมกนัสเป็นผู้ค้นพบหินวิเศษโดยบังเอิญ กจิ กรรมที่ 2.1 แรงแม่เหลก็ เป็นอยา่ งไร ขณะกำลงั เลย้ี งแกะในทงุ่ หญา้ ) โดยการสังเกตแล้วนำผลการทำ กิจกรรมมาอภิปรายร่วมกัน ดังน้ัน 6.4 หินวิเศษมีลักษณะอย่างไรและเพราะเหตุใดจึงเรียกหินดังกล่าวว่า ครูควรเตรียมความพร้อมสำหรับการทำ เป็นหินวิเศษ (หินวิเศษมีลักษณะเป็นก้อนหินสีดำขนาดใหญ่ มีแรง กิจกรรม ดังน้ี ดงึ ดดู ไม้ต้อนแกะและตะปูได้) 1. ตรวจสอบแท่งแม่เหลก็ ที่จะนำมา 6.5 หินวิเศษในเรื่องน้ีมีชื่อเรียกว่าอะไร มีความหมายตรงกับคำว่าอะไร ใหน้ กั เรียนทำกจิ กรรมโดย ในภาษาไทย (เราเรียกหินวิเศษนี้ว่า แมกเนต ตรงกับคำใน แท่งแมเ่ หล็กควรอยู่ในสภาพ ภาษาไทย คือ แม่เหลก็ ) พร้อมใชง้ าน เช่น มีแรงดงึ ดดู เพียงพอท่จี ะสามารถสังเกตผลการ 6.6 เพราะเหตุใด หินวิเศษนี้จึงถูกเรียกว่าแมกเนต (เป็นการตั้งตามชื่อ ทำกิจกรรมได้ชัดเจน ของสถานทีแ่ ละชือ่ ของชายเลย้ี งแกะทเี่ ป็นผู้ค้นพบคนแรก) 2. ครอู าจแนะนำใหน้ ักเรยี นนำ อุปกรณ์อ่นื ๆ ท่สี นใจมาทำ 6.7 แรงที่แม่เหล็กดึงดูดให้ไม้ต้อนแกะและตะปูเคลื่อนที่เข้าไปหาได้ กจิ กรรม นอกจากน้ีครอู าจให้ เรียกว่าอะไร (แรงแมเ่ หลก็ ) นักเรยี นนำเหรยี ญท่ีมีมลู คา่ แตกตา่ งกนั ปีท่ผี ลิตต่างกันมาใช้ 6.8 เพราะเหตุใดแรงแม่เหล็กจึงเป็นแรงไม่สัมผัส (เพราะเป็นแรงท่ี ทำกจิ กรรม สามารถดึงดูดวัตถุให้เคลื่อนที่เข้าหาได้โดยที่แม่เหล็กไม่จำเป็นต้อง 3. ครเู ตรยี มข้อมูลเก่ียวกับวัสดทุ ่ีใช้ สัมผสั กับวตั ถนุ ัน้ ) ผลติ เหรยี ญมูลคา่ ตา่ ง ๆ จาก เวบ็ ไซต์ของสำนกั กษาปณ์เพ่ือใช้ ขั้นสรปุ จากการอ่าน (10 นาท)ี ในการอภิปรายผลการทำกิจกรรม 7. นักเรยี นร่วมกันสรปุ เรอ่ื งท่อี า่ นซ่งึ ควรสรปุ ไดว้ า่ แม่เหลก็ มรี ูปรา่ งต่าง ๆ การค้นพบแม่เหล็กเกิดจากชายคนหนึ่งค้นพบก้อนหินท่ีสามารถดึงดูด ไม้ต้อนแกะและตะปูได้ จึงตั้งชื่อก้อนหินนั้นตามชื่อสถานที่และผู้ที่พบ คนแรกว่าแมกเนตหรือแม่เหล็กในภาษาไทย ส่วนแรงที่ก้อนหินน้ัน ดึงดูดให้ไม้ต้อนแกะและตะปูเคลื่อนที่เข้าหาโดยไม่ต้องสัมผัสกับวัตถุ เรยี กว่าแรงแมเ่ หล็ก 8. นกั เรยี นตอบคำถามในร้หู รอื ยงั ในแบบบนั ทกึ กจิ กรรม หนา้ 30 9. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายเพอื่ เปรียบเทียบคำตอบของนกั เรยี นใน รู้หรือยัง กับคำตอบทเี่ คยตอบและบันทึกไว้ในคดิ ก่อนอา่ น 10. นักเรียนตอบคำถามท้ายเรื่องที่อ่าน ดังนี้ แม่เหล็กมีสมบัติและมีแรง กระทำต่อวัตถอุ ยา่ งไร (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง) ครูยังไม่เฉลยคำตอบแต่ชักชวนให้นักเรียนหาคำตอบจากการทำ กิจกรรม สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
85 คู่มอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวิตประจำวัน แนวคำตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม เพราะด้านหลังของวตั ถุนัน้ มีแม่เหลก็ ติดอยูซ่ ่ึงแม่เหล็ก สามารถดงึ ดดู ให้วัตถตุ ดิ อยู่กับตเู้ ยน็ ได้ แมเ่ หลก็ มีรูปร่างตา่ ง ๆ เชน่ ทรงแท่งส่ีเหลีย่ มมุมฉาก ทรงกระบอก รูปเกอื กม้า รปู วงแหวน ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวัน 86 กิจกรรมที่ 2.1 แรงแมเ่ หล็กเปน็ อย่างไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะทำกิจกรรมผ่านการสังเกตเพ่ือ จำแนกวัตถทุ ีแ่ ม่เหลก็ ดึงดูดได้และไม่ดึงดดู และเปรยี บเทียบ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างแรงไม่สัมผัสกับแรง สมั ผัส เวลา 2 ชั่วโมง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. สังเกตและจำแนกวตั ถโุ ดยใชก้ ารดึงดูดกับ แมเ่ หลก็ เป็นเกณฑ์ 2. เปรียบเทียบลกั ษณะของแรงแม่เหลก็ กบั แรง สมั ผัสและผลของแรงทก่ี ระทำตอ่ วัตถุ วสั ดุ อปุ กรณส์ ำหรับทำกจิ กรรม ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ส่งิ ท่ีครตู อ้ งเตรยี ม/กลุ่ม S1 การสงั เกต S4 การจำแนกประเภท 1. ลวดเหลก็ 1 เส้น S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเห็นจากข้อมูล 2. ลวดทองแดง 1 เส้น S13 การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป 3. แท่งแม่เหล็ก 1 แทง่ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 4. ไมบ้ รรทดั พลาสติก 1 อัน C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว่ มมือ 5. ยางลบ 1 กอ้ น C6 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6. กระดาษ 1 แผ่น สือ่ การเรียนรู้และแหลง่ เรียนรู้ 7. กระป๋องน้ำอัดลม 1 กระปอ๋ ง 1. หนงั สือเรยี น ป.3 เล่ม 2 หนา้ 35-38 2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม ป.3 เลม่ 2 หน้า 31-35 8. ไม้จมิ้ ฟนั 1 อัน 3. เว็บไซตส์ ำนักกษาปณ์ www.royalthaimint.net 4. ตวั อยา่ งวีดิทศั นป์ ฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตรส์ ำหรับครู 9. ลวดเสียบกระดาษ 1 อนั เรื่องแม่เหล็กดึงดูดอะไรไดบ้ ้าง http://ipst.me/8751 10. แกว้ พลาสติก 1 ใบ 11. ยางรัดของ 1 เส้น 12. กล่องใสล่ วดเสยี บกระดาษ 1 กลอ่ ง 13. ดินสอไม้ 1 แทง่ 14. ตะปู 1 ตวั 15. เหรยี ญหา้ บาท 1 เหรียญ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
87 คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวัน แนวการจดั การเรียนรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1. ครูตรวจสอบความรู้เดมิ ของนกั เรียนเกี่ยวกับแรงแม่เหลก็ โดยใหน้ ักเรียน สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ สังเกตสิ่งที่เกิดขึ้นจากการทำกิจกรรม โดยผูกลวดเสียบกระดาษแล้ว แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง แขวนไว้กับเส้นเอ็น จากนั้นนำแท่งแม่เหล็กเข้าใกล้ลวดเสียบกระดาษ จากการทำกิจกรรม นักเรียนจะสังเกตเห็นลวดเสียบกระดาษเคลื่อนที่เข้าหาแท่งแม่เหล็ก ดังรูป จากน้นั ครูนำอภปิ รายโดยอาจใช้คำถามดงั นี้ ตัวอย่างการทำกิจกรรม 1.1 เพราะเหตุใดลวดเสียบกระดาษจึงเคลื่อนท่ีเข้าหาแท่งแม่เหล็ก (นักเรียนตอบตามความคดิ ของตนเอง เช่น มีแรงจากแม่เหล็กดึงดูด ตัวอย่างการทำกิจกรรม ให้ลวดเสยี บกระดาษเคลอื่ นทีไ่ ด้) 1.2 นักเรียนคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น ถ้าครูนำแผ่นกระดาษเคลื่อนที่ผ่าน ตัวอยา่ งการทำกจิ กรรม ระหว่างลวดเสียบกระดาษกับแท่งแม่เหล็ก (นักเรียนตอบตาม ความคิดของตนเอง เช่น ลวดเสียบกระดาษยังสามารถเคลื่อนทีเ่ ขา้ หาแท่งแมเ่ หลก็ ได้เหมอื นเดมิ หรอื ลวดเสียบกระดาษจะตกสู่พน้ื ) จากนั้นครูลองใช้แผ่นกระดาษเคลื่อนที่ผ่านระหว่างลวดเสียบ กระดาษกับแท่งแม่เหล็ก ซึ่งผลที่เกิดขึ้นคือลวดเสียบกระดาษก็ยัง เคลื่อนที่เข้าหาแท่งแม่เหล็กเหมือนเดิม ครูให้นักเรียนลองคิดหา เหตุผลว่าเพราะเหตใุ ดจึงเปน็ เช่นนัน้ 1.3 ถ้าครูเปลี่ยนจากกระดาษแผ่นบาง ๆ เป็นวัตถุอื่น เช่น กรรไกร แผ่นไม้ หรือแผ่นพลาสติก นักเรียนคิดว่าผลการทำกิจกรรมจะเป็น เหมือนเดิมหรือไม่ เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความคิดของ ตนเอง โดยครูยังไม่เฉลยคำตอบ แต่จะให้นักเรียนไปหาความรู้จาก กจิ กรรม หลงั จากน้ันเราจะกลับมาเฉลยคำตอบน้ี อกี ครงั้ ) 2. ครูเชื่อมโยงความรู้ของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 2.1 ว่ากิจกรรมนี้จะได้ เรียนรู้เกยี่ วกบั แรงแม่เหลก็ และผลของแรงแม่เหล็กท่ีกระทำต่อวัตถุ 3. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคิดเป็น จากนั้นร่วมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถาม ดงั นี้ 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเร่ืองอะไร (การดึงดูดของแม่เหล็กท่ี กระทำต่อวัตถุ ลักษณะของแรงแม่เหล็กและผลของแรงที่กระทำ ต่อวัตถ)ุ ⎯ สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยที่ 4 แรงในชีวติ ประจำวนั 88 3.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนี้ด้วยวิธีใด (การสังเกตและการ ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม เปรียบเทยี บ) ครูอาจชี้แจงเพิ่มเติมเกี่ยวกับ 3.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (จำแนกวัตถุโดยใช้การดึงดูด แรงสัมผัสซึ่งเป็นแรงชนิดหนึ่งที่ กับแม่เหล็กเป็นเกณฑ์ และเปรียบเทียบลักษณะของแรงแม่เหล็ก นักเรียนได้เรียนผ่านมาแล้ว โดยใน กบั แรงสัมผสั และผลของแรงท่ีกระทำต่อวัตถุ) กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้นำเรื่องแรง สัมผัสมาเปรียบเทียบกับแรงอีกชนดิ 4. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 31 และอ่าน หน่ึงที่จะได้เรียนในกจิ กรรมนี้ สง่ิ ท่ีตอ้ งใช้ในการทำกจิ กรรม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละ 5. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่านท่ี ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ทนี่ ักเรียนจะได้ เหมาะสมกบั ความสามารถของนักเรียน จากนน้ั ครูตรวจสอบความเข้าใจ เกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำกิจกรรม โดย ฝกึ จากการทำกิจกรรม ใชค้ ำถามดังน้ี 5.1 ในขั้นตอนแรกนักเรียนต้องทำอะไร (นำแท่งแม่เหล็กเข้าใกล้ S1 สังเกตการเปลี่ยนแปลงการ ลวดเหล็ก ลวดทองแดง ไม้บรรทัดพลาสติก ยางลบ กระดาษ เคลื่อนที่ของวัตถุต่าง ๆ เมื่อนำ กระป๋องน้ำอัดลม และไมจ้ ้มิ ฟนั แลว้ สงั เกตสิ่งท่ีเกิดขึ้น) แท่งแมเ่ หลก็ เข้าใกล้ 5.2 หลังจากทำกิจกรรมขั้นตอนแรก นักเรียนต้องพยากรณ์เกี่ยวกับ เรื่องอะไร (เมื่อนำแท่งแม่เหล็กเข้าใกล้วัตถุอื่น ๆ ที่ทำจากวัสดุ S4 จำแนกประเภทวัตถุโดยใช้การ ต่าง ๆ แม่เหลก็ จะดงึ ดูดวตั ถุใดบ้าง) ดึงดดู กบั แมเ่ หล็กเป็นเกณฑ์ 5.3 หลังจากพยากรณ์และตรวจสอบการพยากรณ์แล้ว นักเรียนต้อง ทำอะไรตอ่ ไป (จำแนกวัตถโุ ดยใชก้ ารดึงดูดกับแมเ่ หล็กเปน็ เกณฑ์) S7 พยากรณ์วัตถุที่แม่เหล็กสามารถ 5.4 หลังจากจำแนกวัตถุแล้ว นักเรียนต้องสืบค้นข้อมูลและอภิปราย ดึงดูดได้ ร่วมกับเพื่อนในประเด็นใด (แม่เหล็กสามารถดึงดูดวัสดุประเภท ใดบา้ ง และสารแมเ่ หลก็ คืออะไร) S8 ลงความเห็นจากข้อมูลเกี่ยวกับ 5.5 ขั้นตอนสุดท้ายของกิจกรรม นักเรียนต้องทำอะไร (ร่วมกัน วสั ดุท่แี มเ่ หล็กสามารถดงึ ดูดได้ อภิปรายและเปรยี บเทียบลักษณะและผลของแรงทกี่ ระทำต่อวัตถุ ระหวา่ งแรงแม่เหลก็ กบั แรงสมั ผสั ) C4 ส่อื สารผลการทำกิจกรรมและ ผลการสืบคน้ ข้อมลู เกย่ี วกบั 6. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไร แล้ว ให้นักเรียนรับ สารแม่เหลก็ ให้ผู้อ่นื เข้าใจ อุปกรณ์และเริ่มปฏบิ ัติตามข้นั ตอนการทำกจิ กรรม C5 ทำงานรว่ มกับผู้อนื่ ในการทำ 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรม กิจกรรมทดสอบการดงึ ดูดของ ตามแนวคำถามดังนี้ แมเ่ หลก็ กบั วตั ถตุ า่ ง ๆ 7.1 แมเ่ หลก็ ดงึ ดดู วัตถใุ ดบา้ ง (ลวดเหลก็ ลวดเสียบกระดาษ ตะปู) 7.2 แม่เหล็กไม่ดึงดูดวัตถุใดบ้าง (ลวดทองแดง ไม้บรรรทัดพลาสติก C6 เลอื กใช้เทคโนโลยใี นการสบื ค้น ยางลบ กระดาษ กระปอ๋ งนำ้ อดั ลม ไม้จิม้ ฟัน แกว้ พลาสติก ยางรัด ขอ้ มลู เก่ียวกบั สารแม่เหล็กจาก ของ) ส่ือที่นา่ เชือ่ ถอื สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
89 คมู่ ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวติ ประจำวัน 7.3 วตั ถุที่แมเ่ หล็กดึงดดู ได้ ทำมาจากวสั ดุประเภทใด (ทำมาจากวัสดุท่ี ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม เปน็ เหล็ก) ในการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ 7.4 ถ้าใช้การดงึ ดูดของแม่เหล็กต่อวัตถเุ ป็นเกณฑ์ จะแบ่งวัตถไุ ด้เป็นก่ี สารแม่เหล็ก นักเรยี นอาจพบข้อมูล กลุ่ม อะไรบ้าง (2 กลุ่ม คือกลุ่มวัตถุที่แม่เหล็กดึงดูดได้ และกลุ่ม ที่หลากหลายซึ่งอาจเป็นข้อมูลท่ี วัตถทุ แ่ี ม่เหลก็ ดึงดดู ไม่ได้) ซับซ้อนเกินกว่าระดับชั้นของ นักเรียน ครูอาจช่วยแนะนำว่า 7.5 จากการสืบค้นข้อมูล สารแม่เหล็กคืออะไร (นักเรียนตอบตามผล นักเรียนจะได้เรียนเพิ่มเติมใน การสืบค้นข้อมูล เช่น สารแม่เหล็ก คือ วัสดุที่แม่เหล็กสามารถ ระดบั ชัน้ ทส่ี ูงขึน้ ไป ดึงดูดได้ ไดแ้ ก่ เหลก็ นกิ เกลิ โคบอลต์) 7.6 แม่เหลก็ ดึงดูดโลหะได้ทุกชนดิ หรือไม่ อยา่ งไร (แม่เหล็กไม่สามารถ ดึงดูดโลหะได้ทุกชนิด แม่เหล็กดึงดูดได้เฉพาะเหล็กหรือสารที่มี เหล็กเป็นสว่ นประกอบ) 7.7 แรงแม่เหล็กเป็นแรงสัมผัสหรือไม่ เพราะเหตุใด (แรงแม่เหล็กเป็น แรงไม่สัมผัส เพราะแรงแม่เหล็กสามารถทำให้วตั ถุเคลื่อนที่ได้โดย ไม่ตอ้ งสมั ผัสวัตถนุ นั้ ) 7.8 แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัสเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (เหมือนกันที่สามารถทำให้วัตถุเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ได้ แตกต่างกันที่แรงสัมผัสต้องมีการออกแรงสัมผัสกับวัตถุโดยตรง สว่ นแรงไม่สมั ผสั ไมจ่ ำเป็นต้องออกแรงสัมผสั กับวตั ถโุ ดยตรง) 8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ แรงแม่เหล็ก จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า แรงแม่เหล็กเป็น แรงไม่สัมผัส โดยแม่เหล็กสามารถดึงดูดวัตถุที่เป็นสารแม่เหล็ก ได้แก่ เหล็ก นิกเกิล โคบอลต์ โดยไม่จำเป็นต้องสัมผัสกับวัตถุโดยตรงซึ่ง แตกต่างจากแรงสัมผัสที่ต้องมีการสัมผัสกับวัตถุเพื่อทำให้วัตถุ เปลย่ี นแปลงการเคลื่อนท่ี (S13) 9. ครูนำชุดอุปกรณ์การทำกิจกรรมช่วงนำเข้าสู่บทเรียนมาให้นักเรียน อธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นและตอบคำถามที่ทิ้งไว้ในช่วงต้นอีกครั้ง โดยครูและ นักเรยี นร่วมกันอภิปรายตามแนวคำถาม ดงั น้ี 9.1 เพราะเหตุใดลวดเสียบกระดาษจึงเคลื่อนที่เข้าหาแม่เหล็กได้ (เพราะมีแรงจากแม่เหล็กดึงดูดลวดเสียบกระดาษให้เคลื่อนที่เข้า หาแทง่ แม่เหลก็ ) 9.2 เพราะเหตุใดเมื่อเรานำแผ่นกระดาษมาเคลื่อนที่ผ่านระหว่าง แท่งแม่เหล็กกับลวดเสียบกระดาษ จึงไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง ⎯ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คมู่ ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวนั 90 (เพราะกระดาษไมเ่ กิดการดึงดูดกับแท่งแม่เหล็ก ดังนั้นแม่เหล็กจึง การเตรยี มตัวลว่ งหน้าสำหรบั ครู ยังคงดึงดูดกับลวดเสียบกระดาษได้) เพือ่ จัดการเรียนรใู้ นครง้ั ถัดไป 9.3 นักเรียนคิดว่าถ้านำวัตถุอื่น ๆ เช่น กรรไกร แผ่นไม้ หรือแผ่น พลาสติก ผลการทำกิจกรรมจะเหมือนกับการใช้แผ่นกระดาษ ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ทำ หรือไม่ เพราะเหตุใด (ถ้าใช้แผ่นไม้หรือแผ่นพลาสติกผลการทำ กิจกรรมที่ 2.2 หาขั้วแม่เหล็กได้อย่างไร กิจกรรมจะเหมือนกับแผ่นกระดาษเพราะทั้งแผ่นไม้และแผ่น โดยการสงั เกตลักษณะการวางตัวของแท่ง พลาสตกิ ไม่ใช่สารแม่เหล็กจึงไม่ดงึ ดูดกับแม่เหล็ก แต่ถ้าใช้กรรไกร แม่เหล็กและระบุขั้วของแม่เหล็ก ดังนั้น โ ด ย น ำ บ ร ิ เ ว ณ ป ล า ย ก ร ร ไ กร ท ี่ ท ำจ าก เ ห ล ็ก ม า เค ล ื ่อ น ที่ ผ ่าน ครูควรเตรียมอุปกรณ์ตามรายการให้ แม่เหลก็ จะดึงดูดกรรไกรแทนลวดเสียบกระดาษจึงทำให้ลวดเสียบ พร้อม และตรวจสอบแท่งแม่เหล็กให้อยู่ กระดาษตกลงส่พู ้นื ) ในสภาพพร้อมใช้งานก่อนนำมาทำ ครูใหน้ ักเรยี นลองทำกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความคิดของตนเองอีกครัง้ กิจกรรม นอกจากนี้ครูควรเตรียมบริเวณ ที่ใช้สำหรับทำกิจกรรมครั้งหน้า โดยต้อง 10. ครูอาจให้ความรู้เพิ่มเติมโดยให้นักเรียนนำวัตถุอื่น ๆ ที่นำมาทดสอบ เป็นบริเวณที่ไม่อยู่ใกล้สารแม่เหล็ก เช่น การดึงดูดของแม่เหล็กต่อวัตถุ โดยให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายก่อนว่า ตเู้ หลก็ โตะ๊ เหล็ก วัตถุนั้น ๆ ทำมาจากวัสดุอะไร และเมื่อนำแม่เหล็กเข้าใกล้ จะเกิดการ ดึงดูดกันหรือไม่ นอกจากนี้ครูอาจชกั ชวนนักเรียนทดสอบการดึงดดู ของ แม่เหล็กกับเหรียญมูลค่าต่าง ๆ ที่ผลิตในปีที่แตกต่างกัน ซึ่งจะเห็นได้ว่า แม่เหล็กไม่ได้ดึงดูดเหรียญทุกชนิด หรือแม้แต่เหรียญชนิดเดียวกันก็อาจ มีการดึงดูดกับแม่เหล็กที่แตกต่างกันหากเป็นปีการผลิตที่แตกต่างกัน ในช่วงการอภิปรายนี้ครูอาจนำข้อมูลเกี่ยวกับส่วนประกอบของเหรียญ แต่ละชนิดจากสำนักกษาปณ์เพื่อแสดงให้เห็นว่าเหรียญมูลค่าต่าง ๆ มี ส่วนประกอบแตกต่างกัน โดยหากเหรียญนั้นมีส่วนประกอบของสาร แม่เหล็กมากก็จะสามารถดึงดูดกับแม่เหล็กได้ และในปีที่ผลิตที่แตกต่าง กัน เหรยี ญบางมูลคา่ ก็อาจมสี ่วนประกอบแตกต่างกนั ดงั น้นั จึงทำให้เกิด การดึงดดู กับแมเ่ หล็กทแ่ี ตกต่างกนั 11.นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพม่ิ เติมเพอ่ื ให้ไดแ้ นวคำตอบท่ีถูกตอ้ ง 12. นกั เรยี นอา่ นสิ่งที่ได้เรยี นรู้ และเปรียบเทยี บกบั ข้อสรปุ ของตนเอง 13. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2 -3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชัน้ เรียน จากนั้นนักเรยี นร่วมกันอภิปรายเกีย่ วกับ คำถามทน่ี ำเสนอ 14. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 อะไรบา้ งและในขั้นตอนใด สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
91 ค่มู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวติ ประจำวนั ความรเู้ พ่มิ เติมสำหรับครู สว่ นประกอบของเหรยี ญมลู ค่าต่าง ๆ เหรยี ญกษาปณห์ มนุ เวยี นปัจจบุ นั รัชกาลท่ี 10 ทีม่ า : สำนักกษาปณ์ (www.royalthaimint.net) สบื คน้ เมื่อเดือนมีนาคม 2563 ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชวี ติ ประจำวนั 92 ความร้เู พ่ิมเติมสำหรบั ครู สังกะสี ทใี่ ชม้ งุ หลงั คา จะมีโลหะเหล็กเป็นองค์ประกอบหลัก แล้วเคลือบด้วยโลหะสงั กะสี เพอื่ ปอ้ งกนั การเกิดสนิม แมเ่ หล็กจึงสามารถดึงดูดสังกะสีทใ่ี ช้มุงหลงั คาได้ วธิ ีการป้องกันการเกิดสนิมเหลก็ อกี วธิ หี นึ่ง คือ การทำเหล็กกล้าไร้สนมิ หรือ สเตนเลส ซง่ึ เป็นเหล็ก ทท่ี นทานต่อการกดั กร่อน ผลิตขึ้นครัง้ แรกในปี ค.ศ. 1903 โดยการเติมโครเมยี มลงในเหลก็ กล้าธรรมดา สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
93 คูม่ ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวติ ประจำวนั แนวคำตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม 1. สงั เกตและจำแนกวัตถุโดยใชก้ ารดึงดูดกับแม่เหล็กเป็นเกณฑ์ 2. เปรียบเทียบลกั ษณะของแรงแมเ่ หล็กกับแรงสัมผัสและผลของแรง ที่กระทำต่อวัตถุ ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชวี ติ ประจำวัน 94 นกั เรยี นพยากรณ์ตามความคิดของตนเอง สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
95 คมู่ อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวิตประจำวัน ลวดเหลก็ ลวดเสียบกระดาษ ตะปู เหล็ก ลวดทองแดง ไม้บรรทัดพลาสตกิ ยางลบ กระดาษ กระป๋องนำ้ อัดลม ไม้จิ้มฟัน แก้วพลาสตกิ ยางรัดของ กลอ่ งใส่ลวดเสียบกระดาษ ดินสอไม้ เหรยี ญหา้ บาท ทองแดง พลาสติก ยาง กระดาษ อะลูมิเนียม ไม้ วัตถทุ ่แี มเ่ หล็กดงึ ดูดได้ เหลก็ นกิ เกิล โคบอลต์ แหลง่ ข้อมลู ที่นักเรยี นสบื ค้น เชน่ www.scimath.org www.ngthai.com เปลี่ยนแปลงการเคล่ือนท่ีได้ v เปลยี่ นแปลงการเคลอ่ื นท่ีได้ v ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หนว่ ยท่ี 4 แรงในชีวติ ประจำวัน 96 มีแรงกระทำ รู้ไดจ้ ากวตั ถนุ นั้ มกี ารเปล่ียนแปลงการเคลอ่ื นท่ี สารแมเ่ หลก็ ได้แก่ เหลก็ นิกเกลิ โคบอลต์ ท้งั แรงแมเ่ หล็กและแรงสมั ผัสเปน็ แรงท่ีกระทำต่อวตั ถุโดยมีผลทำใหว้ ตั ถุเปล่ียนแปลงการ เคล่ือนทีไ่ ด้เหมือนกัน แต่ต่างกนั ท่แี รงแมเ่ หลก็ เปน็ แรงไม่สัมผัสโดยเป็นแรงที่ทำให้วตั ถุ เปลีย่ นแปลงการเคลอ่ื นท่โี ดยไม่จำเป็นตอ้ งสัมผัสกบั วตั ถุนั้น ส่วนแรงสัมผสั เป็นแรงที่ต้องมี การสมั ผัสกับวตั ถุโดยตรงจงึ จะทำใหว้ ตั ถเุ ปลย่ี นแปลงการเคล่อื นที่ได้ วัสดุทแี่ มเ่ หล็กสามารถดึงดดู ได้ คอื เหล็ก นิกเกิล โคบอลต์ ส่วนวสั ดุทแ่ี มเ่ หล็กไม่สามารถดึงดูดได้ เชน่ อะลูมเิ นยี ม ไม้ ทองแดง ยาง กระดาษ แรงแม่เหล็กเป็นแรงไม่สัมผัส โดยแม่เหล็กจะมีแรงกระทำตอ่ สารแมเ่ หล็กโดยไมจ่ ำเป็นตอ้ งสัมผัสกับ สารแม่เหลก็ แตกตา่ งจากแรงสัมผัสทีต่ ้องออกแรงกระทำโดยการสมั ผัสกับวตั ถโุ ดยตรง แม่เหลก็ สามารถดึงดูดสารแมเ่ หลก็ ได้ แรงแมเ่ หล็กเปน็ แรงไมส่ ัมผัสซึ่ง แตกต่างจากแรงสัมผัสโดยแรงไมส่ มั ผัสไมจ่ ำเปน็ ต้องออกแรงกระทำตอ่ วัตถุ โดยตรงเพอื่ ทำให้วตั ถเุ ปลี่ยนแปลงการเคลื่อนท่ี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
97 คมู่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวนั คำถามของนกั เรียนทีต่ ั้งตามความอยากรู้ของตนเอง ถ้าเรานำด้านอนื่ ๆ นอกจากดา้ นปลายของแทง่ แม่เหลก็ เขา้ ใกล้สารแม่เหล็ก เช่น ลวดเสียบกระดาษ จะมีแรงแม่เหล็กกระทำต่อลวดเสียบกระดาษ โดยสามารถดึงดูดลวดเสียบกระดาษได้ทุกด้านของแท่งแม่เหล็ก ดังน้ัน จะเหน็ ได้ว่ารอบ ๆ แท่งแม่เหล็กมีแรงแมเ่ หล็ก ⎯ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คูม่ ือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวติ ประจำวัน 98 แนวการประเมินการเรียนรู้ การประเมินการเรยี นรขู้ องนกั เรยี นทำได้ ดังนี้ 1. ประเมนิ ความรูเ้ ดิมจากการอภปิ รายในช้ันเรยี น 2. ประเมินการเรยี นรู้จากคำตอบของนกั เรียนระหวา่ งการจัดการเรยี นรู้และจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จากการทำกิจกรรมของนักเรยี น การประเมนิ จากการทำกิจกรรมท่ี 2.1 แรงแมเ่ หล็กเป็นอยา่ งไร รหัส สง่ิ ท่ีประเมิน คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ S1 การสงั เกต S4 การจำแนกประเภท S7 การพยากรณ์ S8 การลงความเห็นจากข้อมูล S13 การตคี วามหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 C4 การสอ่ื สาร C5 ความรว่ มมือ C6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร รวมคะแนน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
99 คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวนั ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมินทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทักษะ เกณฑ์การประเมิน กระบวนการทาง รายการประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) วิทยาศาสตร์ S1 การสังเกต การใช้ประสาทสัมผสั สามารถใชป้ ระสาท สามารถใชป้ ระสาท สามารถใช้ประสาท เก็บรายละเอียด สมั ผสั เก็บรายละเอยี ด สัมผัสเก็บรายละเอียด สมั ผสั เกบ็ รายละเอยี ด เกี่ยวกับการ เกีย่ วกับการ เกยี่ วกบั การ เก่ยี วกบั การ เปล่ียนแปลงการ เปลี่ยนแปลงการ เปลี่ยนแปลงการ เปลย่ี นแปลงการ เคล่อื นท่ีของวตั ถุต่างๆ เคล่อื นที่ของวตั ถตุ า่ ง ๆ เคลอ่ื นท่ีของวัตถตุ า่ งๆ เคลื่อนท่ีของวตั ถตุ ่างๆ เม่อื นำแทง่ แมเ่ หลก็ เมอ่ื นำแท่งแม่เหล็กเข้า เม่ือนำแท่งแม่เหลก็ เข้า เม่ือนำแทง่ แมเ่ หลก็ เขา้ เข้าใกล้วตั ถุ ใกล้วัตถแุ ลว้ บอกข้อมูลท่ี ใกล้วตั ถแุ ล้วบอกข้อมูล ใกล้วตั ถุแลว้ บอกข้อมลู ไดจ้ ากการสงั เกตได้ ทไี่ ด้จากการสงั เกตได้ ท่ไี ดจ้ ากการสังเกตได้ ถกู ต้องดว้ ยตนเอง ถกู ต้องจากการชแ้ี นะ ถกู ต้องบางส่วน แมว้ ่า ของครหู รอื ผูอ้ ื่น จะได้รบั คำช้ีแนะจาก ครหู รือผู้อ่ืน S4 ก า ร จ ำ แ น ก การจำแนกประเภท สามารถจำแนกประเภท สามารถจำแนก สามารถจำแนก ประเภท ของวัตถุต่าง ๆ โดยใช้ ของวตั ถุตา่ ง ๆ โดยใช้ ประเภทของวัตถุต่าง ๆ ประเภทของวตั ถุตา่ ง ๆ โดยใชก้ ารดึงดูดกับ โดยใช้การดึงดดู กับ การดึงดูดกับแม่เหล็ก การดงึ ดูดกบั แมเ่ หล็ก แม่เหลก็ เปน็ เกณฑ์ได้ แมเ่ หล็กเป็นเกณฑ์ได้ เป็นเกณฑไ์ ด้อยา่ ง อย่างถูกต้องจากการ ถกู ต้องบางส่วน แมว้ า่ เปน็ เกณฑ์ ถูกต้องด้วยตนเอง ชี้แนะของครูหรือผูอ้ ื่น จะไดร้ บั คำชแี้ นะจาก ครูหรอื ผูอ้ ืน่ S7 การพยากรณ์ การพยากรณ์เกี่ยวกับ สามารถพยากรณ์ สามารถพยากรณ์ สามารถพยากรณ์ สิ่งที่จะเกิดขึ้นเมื่อนำ เกี่ยวกบั ส่งิ ทีจ่ ะเกดิ ขึ้น เกี่ยวกบั สิ่งทจ่ี ะเกิดขึ้น เกี่ยวกับสง่ิ ที่จะเกดิ ข้ึน แท่งแม่เหล็กเข้าใกล้ เมอื่ นำแท่งแมเ่ หล็ก เมอื่ นำแทง่ แม่เหลก็ เมอ่ื นำแท่งแม่เหลก็ เข้าใกล้วัตถุที่ทำจากวัสดุ เขา้ ใกลว้ ตั ถุท่ที ำจาก เข้าใกลว้ ตั ถุท่ที ำจาก วัตถุที่ทำจากวัสดุชนิด ชนิดตา่ ง ๆ ได้ วสั ดชุ นิดต่าง ๆ ได้ วัสดชุ นดิ ต่าง ๆ ได้ ต่าง ๆ สมเหตุสมผลดว้ ยตนเอง สมเหตุสมผลโดยอาศัย สมเหตสุ มผลบางส่วน การชแ้ี นะของครหู รือ แมว้ า่ จะได้รบั คำช้แี นะ ผู้อ่นื จากครูหรอื ผู้อน่ื ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวติ ประจำวนั 100 ทักษะ เกณฑก์ ารประเมิน กระบวนการทาง รายการประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1) วทิ ยาศาสตร์ S8 การลง การลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเหน็ สามารถลงความเหน็ ความเห็นจาก ขอ้ มูลเก่ยี วกบั วสั ดทุ ่ี ข้อมลู เก่ยี วกับวสั ดุที่ จากข้อมูลเกีย่ วกับวสั ดุ จากข้อมลู เกย่ี วกบั วัสดุ ข้อมูล แมเ่ หล็กสามารถดึงดูด แมเ่ หลก็ สามารถดงึ ดูดได้ ทีแ่ มเ่ หลก็ สามารถ ทีแ่ มเ่ หลก็ สามารถ ได้ ถูกต้องดว้ ยตนเอง ดึงดดู ได้ถกู ต้องจาก ดึงดดู ได้ถกู ต้อง การชแี้ นะของครูหรือ บางสว่ น แม้ว่าจะได้ ผอู้ นื่ รับคำชีแ้ นะจากครหู รือ ผอู้ ่ืน S13 การ การตีความหมายข้อมูล สามารถตีความหมาย สามารถตคี วามหมาย สามารถตีความหมาย ตคี วามหมาย จากการสงั เกต ขอ้ มูลจากการสังเกต ขอ้ มูลจากการสังเกต ข้อมูลจากการสังเกต ขอ้ มูลและลง อภิปราย และสบื คน้ อภปิ ราย และสืบค้น อภิปราย และสบื ค้น อภปิ ราย และสบื ค้น ข้อสรุป ขอ้ มูล และลงข้อสรปุ ข้อมูลและลงข้อสรปุ ได้ ขอ้ มลู และลงข้อสรปุ ได้ ข้อมูลไดถ้ ูกต้อง ไดว้ ่า แมเ่ หล็กสามารถ ดว้ ยตนเองว่า แม่เหล็ก ถกู ต้องจากการชแี้ นะ บางส่วน แมว้ ่าจะได้ ดึงดดู วตั ถทุ ีท่ ำจากสาร สามารถดึงดดู วตั ถทุ ่ีทำ ของครหู รือผูอ้ ่ืนว่า รับคำช้ีแนะจากครูหรอื แมเ่ หล็ก แรงแม่เหลก็ จากสารแมเ่ หลก็ แรง แมเ่ หลก็ สามารถดึงดดู ผอู้ ืน่ วา่ แมเ่ หลก็ เป็นแรงไม่สัมผัส ซ่ึง แม่เหล็กเปน็ แรงไม่สัมผัส วตั ถุท่ีทำจากสาร สามารถดงึ ดูดวัตถุทีท่ ำ แตกต่างจากแรงสัมผสั ซ่งึ แตกต่างจากแรง แมเ่ หลก็ แรงแม่เหลก็ จากสารแม่เหลก็ แรง โดยแรงไม่สมั ผัสไม่ สัมผสั โดยแรงไม่สัมผัสไม่ เป็นแรงไม่สัมผสั ซง่ึ แมเ่ หล็กเป็นแรงไม่ จำเป็นต้องออกแรง จำเปน็ ตอ้ งออกแรง แตกตา่ งจากแรงสมั ผสั สัมผสั ซึง่ แตกต่างจาก กระทำตอ่ วตั ถุโดยตรง กระทำตอ่ วตั ถุโดยตรง โดยแรงไมส่ ัมผสั ไม่ แรงสมั ผสั โดยแรงไม่ เพอ่ื ทำให้วัตถุ เพื่อทำใหว้ ตั ถุ จำเป็นตอ้ งออกแรง สมั ผัสไมจ่ ำเปน็ ต้อง เปล่ียนแปลงการ เปลยี่ นแปลงการ กระทำต่อวัตถโุ ดยตรง ออกแรงกระทำต่อวตั ถุ เคล่อื นท่ี เคล่อื นท่ี เพ่อื ทำให้วัตถุ โดยตรงเพอ่ื ทำให้วตั ถุ เปลยี่ นแปลงการ เปลยี่ นแปลงการ เคลอื่ นที่ เคลื่อนที่ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
101 คู่มอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวติ ประจำวัน ตาราง รายการประเมนิ และเกณฑ์การประเมนิ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ทกั ษะแห่ง รายการประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ศตวรรษที่ 21 C4 การส่อื สาร ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1) C5 ความร่วมมอื การอภิปรายส่ือสาร สามารถอภปิ รายส่ือสาร สามารถอภิปรายส่ือสาร สามารถอภิปรายสื่อสาร C6 การใช้ ผลการทำกจิ กรรม ผลการทำกิจกรรมและ ผลการทำกิจกรรมและผล ผลการทำกิจกรรมและ เทคโนโลยี สารสนเทศและ และผลการสืบค้น ผลการสืบคน้ ข้อมลู การสืบคน้ ข้อมลู เกี่ยวกับ ผลการสืบค้นข้อมูล การส่อื สาร ขอ้ มลู เกี่ยวกับสาร เกยี่ วกับสารแม่เหล็ก สารแมเ่ หลก็ และการ เกี่ยวกับสารแม่เหล็ก แมเ่ หล็กและการ และการเปรยี บเทียบ เปรยี บเทยี บแรงแม่เหลก็ และการเปรียบเทียบ เปรยี บเทียบแรง แรงแมเ่ หลก็ กบั แรง กับแรงสัมผสั ให้ผู้อื่น แรงแม่เหล็กกับแรง แม่เหลก็ กับแรง สัมผสั ใหผ้ ู้อื่นเข้าใจได้ เขา้ ใจได้ถูกต้องมีเหตุผล สมั ผัสให้ผู้อน่ื เข้าใจไดแ้ ต่ สัมผสั ถูกต้องมีเหตุผลดว้ ย โดยอาศยั การช้แี นะของ ยังไม่เป็นเหตุเป็นผล ตนเอง ครูหรอื ผ้อู ื่น แม้ว่าจะได้รับการชี้แนะ จากครหู รือผ้อู น่ื การทำงานรว่ มกับ สามารถทำงานรว่ มกบั สามารถทำงานรว่ มกบั สามารถทำงานรว่ มกบั ผูอ้ นื่ ในการทำ ผูอ้ ่นื ในการทำกิจกรรม ผู้อ่ืนในการทำกิจกรรม ผู้อน่ื ในการทำกิจกรรม กจิ กรรม อภิปราย อภิปราย และสืบคน้ อภิปราย และสืบค้น อภิปราย และสบื คน้ และสืบค้นข้อมลู ข้อมูลเก่ียวกบั การดงึ ดูด ข้อมลู เก่ยี วกบั การดึงดูด ข้อมูลเกี่ยวกบั การดึงดดู เก่ียวกับการดึงดดู ของแมเ่ หล็กกับวัตถุ ของแมเ่ หลก็ กบั วตั ถุต่างๆ ของแมเ่ หล็กกับวัตถุ ของแมเ่ หลก็ กบั วตั ถุ ตา่ งๆ และการ และการเปรียบเทยี บแรง ต่างๆ และการ ตา่ ง ๆ และการ เปรยี บเทียบแรง แมเ่ หล็กกบั แรงสัมผัส เปรยี บเทียบแรง เปรยี บเทยี บแรง แม่เหลก็ กับแรงสัมผสั รวมทงั้ ยอมรบั ความ แมเ่ หล็กกับแรงสัมผัส แม่เหล็กกับแรง รวมท้ังยอมรบั ความ คิดเห็นของผู้อ่นื ในบาง รวมทัง้ ยอมรับความ สัมผสั รวมท้ัง คิดเห็นของผอู้ ่นื ตลอด ช่วงเวลาทท่ี ำกจิ กรรม คิดเหน็ ของผูอ้ น่ื บาง ยอมรับความคดิ เห็น ช่วงเวลาของการทำ ชว่ งเวลาทที่ ำกิจกรรม ของผู้อ่นื กจิ กรรม ทั้งนี้ต้องอาศัยการ กระตุน้ จากครหู รือผอู้ ืน่ การเลอื กใช้ สามารถเลอื กใช้ สามารถเลือกใช้ สามารถเลือกใช้ เทคโนโลยเี พ่อื สืบค้น เทคโนโลยีเพ่อื สบื ค้น เทคโนโลยีเพ่อื สืบคน้ เทคโนโลยเี พอื่ สืบคน้ ข้อมูลเก่ียวกับ ข้อมูลเก่ียวกบั ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ข้อมลู เกย่ี วกับ สารแม่เหล็กจากสื่อ สารแมเ่ หล็กจากส่ือท่ี สารแมเ่ หล็กจากส่ือท่ี สารแม่เหลก็ ได้แต่ไม่ ทนี่ า่ เชอ่ื ถือ น่าเชือ่ ถือได้ดว้ ยตนเอง นา่ เช่อื ถือได้โดยอาศยั การ สมบูรณ์ แม้ว่าจะได้ ช้ีแนะจากครูหรือผ้อู ืน่ รบั คำชี้แนะจากครหู รอื ผู้อน่ื ⎯ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชวี ติ ประจำวนั 102 กิจกรรมที่ 2.2 หาขัว้ แม่เหล็กได้อยา่ งไร กิจกรรมนี้นักเรียนจะทำกิจกรรมเพื่อหาขั้วแม่เหล็ก จากการสงั เกตลักษณะการวางตวั ของแทง่ แมเ่ หล็กท่ีแขวนให้ แกวง่ ไดอ้ ยา่ งอสิ ระ เวลา 2 ชว่ั โมง จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. สงั เกตและอธบิ ายลักษณะการวางตวั ของ แทง่ แม่เหล็กท่ีแขวนน่ิง 2. สังเกตและระบุขวั้ ของแมเ่ หล็ก วสั ดุ อปุ กรณ์สำหรบั ทำกจิ กรรม ส่งิ ทีค่ รตู ้องเตรียม/กลุ่ม 1. แทง่ แมเ่ หล็กแบบที่มสี ีทแ่ี ตกต่างกันในแต่ละดา้ น และมสี ญั ลกั ษณ์ N S ระบุบนแทง่ แม่เหลก็ 1 แทง่ 2. แทง่ ไม้ 1 ทอ่ น 3. เก้าอ้ีไมห้ รือเก้าอ้ีพลาสติก 2 ตวั 4. เชือกฟาง 1 เส้น 5. เทปกาว 1 มว้ น 6. ไม้บรรทัดพลาสตกิ 1 อัน 7. เขม็ ทิศ 1 อนั ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ส่อื การเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ S1 การสงั เกต 1. หนังสอื เรยี น ป.3 เล่ม 2 หนา้ 39-41 S8 การลงความเหน็ จากข้อมลู 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.3 เลม่ 2 หน้า 36-39 S13 การตีความหมายข้อมลู และลงขอ้ สรุป 3. ตัวอย่างวดี ทิ ัศนป์ ฏบิ ัติการทางวิทยาศาสตร์สำหรับครู ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 เรอื่ งหาข้ัวแมเ่ หลก็ ไดอ้ ย่างไร http://ipst.me/8752 C4 การสอื่ สาร C5 ความรว่ มมือ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
103 ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เล่ม 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวติ ประจำวัน แนวการจดั การเรียนรู้ ในการตรวจสอบความรู้เดิม ครูรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น 1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับขั้วของแม่เหล็ก โดยเล่า สำคัญ ครูยังไม่เฉลยคำตอบใด ๆ สถานการณ์ให้นักเรียนฟัง ดังนี้ ถ้าครูนำของไปซ่อนไว้ทางทิศเหนือของ แต่ชักชวนให้หาคำตอบที่ถูกต้อง ห้อง และต้องการให้นักเรียนหาของชิ้นนั้นให้พบ นักเรียนจะทำได้ จากการทำกิจกรรม อย่างไร โดยครูอาจใช้แนวคำถามเพือ่ นำไปส่กู ารอภปิ ราย ดังนี้ 1.1 ถ้านักเรียนต้องการหาของที่อยู่ในทิศท่ีครูกำหนด นักเรียนจะใช้ อุปกรณ์ใดในการระบุทิศ (นักเรียนตอบตามความคิดของตนเอง เช่น เขม็ ทศิ แท่งแมเ่ หลก็ ) 1.2 เพราะเหตุใดนักเรียนจึงเลือกใช้อุปกรณ์ดังกล่าว (นกั เรียนตอบตาม ความคิดของตนเอง เช่น เพราะเข็มทิศหรือแท่งแม่เหล็กใช้ในการ หาทศิ ได)้ 1.3 เข็มทิศหรือแท่งแม่เหล็กที่นักเรียนเคยเห็นมีลักษณะอย่างไร (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น เขม็ ทศิ มลี ักษณะเป็น รูปทรงกลม มีเข็มอยู่ด้านใน ที่ปลายเข็มมีสีป้ายอยู่ ส่วน แท่ง แม่เหล็กมีลักษณะเป็นแท่ง มี 2 สี มีสัญลักษณ์ N S แสดงที่ปลาย แทง่ แม่เหล็ก) ครูเชื่อมโยงความรู้จากที่นักเรียนเคยเห็นหรือใช้แม่เหล็กว่า นักเรียนเคยเห็นหรือใช้แม่เหล็กท่ีมีสี 2 สีหรือไม่ อย่างไร และการ กำหนดสขี องแมเ่ หล็กทำไปเพือ่ อะไร 2. นักเรยี นอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็นคดิ เปน็ จากนัน้ ร่วมกันอภิปราย เพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดย ใชค้ ำถาม ดงั นี้ 2.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนเรื่องอะไร (ลักษณะการวางตัว ของแทง่ แม่เหลก็ ทแ่ี ขวนน่งิ และการระบุขัว้ ของแมเ่ หลก็ ) 2.2 นกั เรียนจะได้เรยี นร้เู รอ่ื งนดี้ ว้ ยวิธีใด (การสงั เกต) 2.3 เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้ (สามารถอธิบายลักษณะ การวางตัวของแท่งแม่เหล็กที่แขวนนิ่ง และสามารถระบุข้ัว ของแม่เหล็กได)้ 3. นักเรยี นบันทกึ จุดประสงค์ลงในแบบบนั ทึกกิจกรรม หนา้ 36 และอ่าน สง่ิ ทต่ี อ้ งใช้ในการทำกิจกรรม ⎯ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ค่มู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หนว่ ยท่ี 4 แรงในชวี ติ ประจำวนั 104 4. นักเรียนอ่านทำอย่างไร ทีละข้อ โดยครูใช้วิธีฝึกทักษะการอ่านท่ี ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เหมาะสมกับความสามารถของนักเรียน จากนั้นครูตรวจสอบความ เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการทำกิจกรรม จนนักเรียนเข้าใจลำดับการทำ 1. ในขั้นตอนของการระบุทิศต่าง ๆ ใน กจิ กรรม โดยใชค้ ำถามดังนี้ ห้องเรยี น นักเรยี นตอ้ งใช้เขม็ ทศิ เปน็ เคร่ืองมือใน 4.1 ในขั้นตอนแรกของการทำกิจกรรม นักเรียนต้องทำอะไร (ร่วมกัน การหาทิศต่าง ๆ ครูอาจสาธิตวิธีการใช้เข็มทิศ อภิปรายเพื่อระบุทิศต่าง ๆ ของห้องเรียนโดยใช้เข็มทิศแล้วเขียน เพื่อให้นักเรียนเข้าใจตรงกัน โดยวางเข็มทิศใน ช่ือทศิ ตา่ ง ๆ ติดไวท้ ีผ่ นงั ของห้องเรยี น) แนวราบบนฝ่ามอื แล้วสงั เกตท่ีปลายของเข็มทิศ 4.2 หลังจากระบุทิศของห้องเรียนแล้ว นักเรียนต้องทำอะไรต่อไป ท่ีป้ายสีไว้ว่าชี้ไปทางใด ซึ่งทางนั้น คือ ทิศเหนือ (สงั เกต อภปิ รายลักษณะของแท่งแม่เหลก็ และนำเสนอ) ของห้องเรียน จากนั้นให้นักเรียนหมุนที่หน้าปัด 4.3 ในการทำกิจกรรมนี้ นักเรียนต้องจัดอุปกรณ์อย่างไร (ใช้ปลาย ของเข็มทิศเพื่อทำให้ตัวอักษร N บนเข็มทิศมา ด้านหนึ่งของเชือกฟางผูกบริเวณกึ่งกลางของแท่งแม่เหล็ก อยู่ตรงปลายเข็ม ทำเช่นนี้นักเรียนก็จะสามารถ ปลายเชือกอีกด้านผูกกับแท่งไม้ จากนั้นนำแท่งไม้ไปวางพาด ระบุได้จากตัวอักษรที่แสดงบนเข็มทิศว่าทิศที่ ระหว่างเก้าอี้ โดยให้แท่งแม่เหล็กลอยอยู่เหนือพื้น แล้วรอจน เหลืออย่ทู างใดของหอ้ งเรียน แทง่ แม่เหล็กหยุดน่งิ ) 4.4 สิ่งที่นักเรียนต้องสังเกตคืออะไร (สังเกตแนวการวางตัวของ 2. ตำแหน่งที่ใช้แขวนแท่งแม่เหล็กควรห่าง แทง่ แม่เหลก็ และตวั อักษรท่ีอยู่บนแท่งแม่เหล็กทช่ี ้ีไปยังทิศต่าง ๆ จากวัตถุที่ทำจากเหล็ก เช่น เก้าอี้หรือโต๊ะเหล็ก โดยเทยี บกบั ชื่อทศิ ต่าง ๆ ทีต่ ิดไว้ในห้องเรียน) ตเู้ หล็ก กลอ่ งดินสอเหล็ก หรือแม่เหล็กแท่งอ่ืนๆ 4.5 เมื่อสังเกตแนวการวางตัวของแท่งแม่เหล็กแล้ว นักเรียนต้องทำ ด้วย เพ่อื ให้ผลการทำกิจกรรมไมผ่ ดิ พลาด อะไรต่อไป (วางไม้บรรทัดบนพื้นในแนวเดียวกันกับการวางตัว ของแทง่ แม่เหล็ก จากน้นั ตดิ เทปกาวทปี่ ลายทั้งสองของไม้บรรทัด 3. ควรฉีกเชือกฟางเป็นเส้นเล็ก ๆ แต่ พร้อมกบั เขยี นตวั อักษรบนเทปกาวให้ตรงกบั ตัวอักษรที่ปลายของ ไม่ควรใช้เส้นด้ายแทนเชือกฟางเพราะ แทง่ แมเ่ หลก็ ) แท่งแม่เหล็กจะหมุนไปตามเกลียวของเส้นด้าย 4.6 หลังจากเขียนตัวอักษรบนไม้บรรทัดแล้ว ต้องทำอย่างไร (ใช้มือ จึงทำใหแ้ ทง่ แม่เหลก็ หยุดหมุนไดย้ ากกวา่ ปัดแท่งแม่เหล็กให้หมุน แล้วรอจนหยุดนิ่ง สังเกตแนวการวางตัว ของแท่งแม่เหล็ก และตัวอักษรที่ปลายของแท่งแม่เหล็กเทียบกับ 4. ในการปัดแท่งแม่เหล็กให้หมุนใน แนวการวางตัวของตัวอักษรที่ปลายไม้บรรทัด หลังจากนั้นให้ทำ แต่ละครั้ง ควรปัดเบา ๆ เนื่องจากถ้าปัดแรง กจิ กรรมแบบเดมิ ซำ้ อกี ครงั้ ) จ ะ ใ ช ้ เ ว ล า น า น ใ น ก า ร ร อ ใ ห ้ แ ท ่ ง แ ม ่ เ ห ล็ ก หยุดหมุน 5. เมื่อนักเรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว ครูอภิปราย ร่วมกับนักเรียนว่าจะบันทึกผลในแบบบันทึกกิจกรรมอย่างไร เขม็ ทิศ จากนั้นให้นักเรียนรับอุปกรณ์และเริ่มปฏิบัติตามขั้นตอนการทำ กิจกรรม สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ⎯
105 ค่มู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวติ ประจำวัน 6. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่าหากไม่มีเข็มทิศ นักเรียนอาจระบุทิศได้จาก ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ การสังเกตการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์โดยนักเรียนจะได้เรียนรู้ ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 ทน่ี ักเรียนจะได้ฝกึ อกี ครงั้ ในหน่วยท่ี 5 การขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ จากการทำกิจกรรม 7. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว นักเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทำกิจกรรม ตามแนวคำถามดังนี้ S1 สังเกตลักษณะของแท่งแม่เหล็กและ 7.1 แทง่ แม่เหลก็ ท่ีนักเรยี นใช้มีลกั ษณะอยา่ งไร (แทง่ แม่เหล็กมี 2 สี โดย แนวการวางตัวของแท่งแม่เหล็กเม่ือ ครึ่งหนึ่งของแท่งแม่เหล็กเป็นสีน้ำเงิน และอีกครึ่งหนึ่งของแท่ง แขวนให้นง่ิ เปน็ สีแดง มตี วั อกั ษร N อยูป่ ลายดา้ นหน่งึ และอีกปลายดา้ นหนึ่งมี ตัวอกั ษร S) S8 ลงความเห็นจากข้อมูลเกี่ยวกับแนว 7.2 เมื่อแท่งแม่เหล็กหยุดนิ่ง แนวการวางตัวของแท่งแม่เหล็กเป็น การวางตัวของแท่งแม่เหล็กเม่ือ อย่างไร และตัวอักษรที่อยู่บนแทง่ แม่เหล็กชีไ้ ปทศิ ใดเมือ่ เทียบกบั แขวนให้น่ิง ชื่อทศิ ทตี่ ดิ ไว้ในหอ้ งเรยี น (แท่งแมเ่ หลก็ วางตวั ในแนวทศิ เหนือทิศใต้ โดยตัวอักษร N บนแทง่ แมเ่ หลก็ ชไี้ ปทางทศิ เหนอื และตวั อักษร S บน C4 ส่อื สารผลการสังเกตเกี่ยวกบั แทง่ แมเ่ หลก็ ชีไ้ ปทางทศิ ใต้) ลกั ษณะของแท่งแมเ่ หล็กและแนว 7.3 เมื่อทำกิจกรรมซ้ำอีก 2 ครั้ง โดยปัดแท่งแม่เหล็กให้หมุน แล้วรอ การวางตัวของแท่งแม่เหลก็ เมื่อ จนหยุดนิ่ง ผลการสังเกตเหมือนเดิมหรือไม่ รู้ได้อย่างไร แขวนให้อยู่นิง่ ใหผ้ อู้ ืน่ เข้าใจ (แท่งแม่เหล็กยังคงวางตัวในแนวเดิมโดยตวั อกั ษร N และตวั อักษร S ยังชี้ไปในทิศทางเดิม รู้ได้จากการเทียบกับแนวของไม้บรรทัดที่ C5 ทำงานร่วมกับผอู้ ่ืนในการทำการ วางไวใ้ นแนวทิศเหนอื ทิศใตจ้ ากการทำกจิ กรรมครงั้ แรก) ทดสอบการวางตัวของแทง่ แม่เหล็ก 7.4 สัญลักษณ์ N และ S บนแท่งแม่เหล็กมีความหมายว่าอย่างไร (สัญลักษณ์ N ใช้แสดงทิศเหนือหรือเป็นสัญลักษณ์แสดงถึง หากนักเรียนไม่สามารถตอบ ขั้วเหนือของแม่เหล็ก และสัญลักษณ์ S ใช้แสดงทิศใต้หรือเป็น คำถามหรืออภิปรายได้ตามแนว สัญลกั ษณ์แสดงขวั้ ใตข้ องแมเ่ หลก็ ) คำตอบ ครูควรให้เวลานักเรียนคิด 7.5 แม่เหล็กมีกี่ขั้ว และเรียกแต่ละขั้วว่าอย่างไร (แม่เหล็กมี 2 ขั้ว คือ อย่างเหมาะสม รอคอยอย่างอดทน ขั้วเหนือและขัว้ ใต้ โดยครูอาจใหค้ วามรู้เพิม่ เติมว่า N ย่อมาจากคำวา่ และรับฟังแนวความคิดของ North คือ ทศิ เหนือ และ S ยอ่ มาจากคำว่า South คือ ทศิ ใต้) นกั เรยี น 7.6 เพราะเหตุใดเราจึงต้องแขวนแท่งแม่เหล็กให้ลอยเหนือพื้น (เพ่อื ใหแ้ ท่งแมเ่ หล็กแกว่งได้อย่างอสิ ระในแนวราบ) 7.7 เพราะอะไรเราจึงต้องใช้มือปัดปลายแท่งแม่เหล็กที่หยุดนิ่งแล้ว ใหแ้ กว่งใหมอ่ ีกครั้ง (เพอ่ื ตรวจสอบการวางตัวของแทง่ แม่เหล็กซ้ำ อีกครั้งว่าช้ีไปทางแนวเดิมหรอื ทศิ ทางเดมิ หรือไม่) ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ค่มู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวัน 106 7.8 เมื่อปล่อยให้แท่งแม่เหล็กที่แกว่งอย่างอิสระหยุดนิ่ง ขั้วเหนือและ การเตรยี มตวั ล่วงหน้าสำหรบั ครู เพือ่ จดั การเรียนร้ใู นคร้งั ถัดไป ขั้วใต้ของแท่งแม่เหล็กชี้ไปทางทิศใด (ขั้วเหนือของแท่งแม่เหล็กชี้ไป ในครั้งถัดไป นักเรียนจะได้ ทางทิศเหนอื และขัว้ ใต้ของแทง่ แมเ่ หล็กช้ไี ปทางทศิ ใต้) เรียนกิจกรรมที่ 2.3 แรงระหว่าง แม่เหล็กเป็นอย่างไร โดยการ ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า นักเรียนอาจพบแม่เหล็กที่มีสีและรูปร่าง สังเกตแล้วนำผลการทำกิจกรรม มาอภิปรายร่วมกัน ดังนั้นครูควร ต่างจากแม่เหล็กท่ีใช้ในกิจกรรม ดังเช่นที่นกั เรียนได้อ่านมาแลว้ ในหนังสือเรียน เตรียมวาดรูปแม่เหล็กขนาดใหญ่ 2 แท่ง บนกระดานหรือบน หน้า 33 แต่อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าแม่เหล็กจะมีรูปร่างหรือสีอย่างไร แม่เหล็ก กระดาษปรู๊ฟเพื่อใช้อภิปรายผล การทำกิจกรรม ทกุ แทง่ จะประกอบด้วยขั้ว 2 ข้ัว นน่ั คือ ขั้วเหนือและข้วั ใต้ 8. ครูเปดิ โอกาสให้นกั เรียนตอบหรือซักถามในสง่ิ ทอ่ี ยากรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับ ขั้วของแม่เหล็ก จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าแม่เหล็กมี 2 ขั้ว คือขั้วเหนือและขั้วใต้ ซึ่งเมื่อปล่อยให้แท่งแม่เหล็กหมุนได้อย่าง อิสระ และรอใหแ้ ท่งแมเ่ หล็กหยดุ นงิ่ แทง่ แมเ่ หลก็ จะวางตวั ในแนวเดิม เสมอ คือ แนวทิศเหนือทิศใต้ โดยขั้วเหนือของแท่งแม่เหล็กชี้ไปทาง ทศิ เหนอื และขั้วใต้ของแท่งแมเ่ หลก็ ช้ีไปทางทิศใต้ (S13) 9. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถามในฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้ คำถามเพ่มิ เติมเพอ่ื ให้ได้แนวคำตอบท่ถี ูกต้อง 10. นักเรยี นอา่ นส่งิ ท่ีไดเ้ รียนรู้ และเปรียบเทยี บกบั ข้อสรปุ ของตนเอง 11. ครูกระตุ้นให้นักเรียนฝึกตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่สงสัยหรืออยากรู้ เพิ่มเติมในอยากรู้อีกว่า จากนั้นครูอาจสุ่มนักเรียน 2 -3 คน นำเสนอ คำถามของตนเองหน้าชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนร่วมกันอภิปราย เกีย่ วกับคำถามทน่ี ำเสนอ 12. ครูนำอภิปรายเพื่อให้นักเรียนทบทวนว่าได้ฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 อะไรบ้างและในขนั้ ตอนใด สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
107 ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชีวิตประจำวัน ความรู้เพิม่ เติมสำหรับครู เนือ่ งจากแม่เหลก็ วางตัวในแนวทศิ เหนอื ทิศใต้ เราจงึ นำความรู้ดงั กล่าวมาใช้ทำเข็มทิศ โดยเขม็ ทิศ (ด้านปลายท่ีทาสี) จะชี้ไปทางทศิ เหนือเสมอ เน่อื งจากโลกประพฤติตวั เสมือนมแี ทง่ แม่เหล็กโดยวางตวั ในแนวทิศเหนอื ทิศใต้ ดังรปู ดังน้นั ปลายเขม็ ทศิ ทชี่ ้ีไปทางทิศเหนอื (ด้านปลายท่ที าสี) จึงช้ไี ปทางขว้ั ใต้ของแม่เหลก็ โลกหรอื ขั้วโลกเหนือทางภมู ิศาสตร์ และ ปลายเขม็ ทชี่ ้ีไปทางทิศใต้จะช้ีไปทางขว้ั เหนอื ของแม่เหล็กโลกหรือข้วั โลกใต้ทางภูมิศาสตร์ เช่นเดยี วกนั เม่อื เราแขวนแท่งแม่เหลก็ ให้แกว่งได้อยา่ งอิสระ แทง่ แมเ่ หลก็ จะแกวง่ และหยุดนง่ิ ในแนวทิศเหนือทิศใต้ โดยหันขัว้ เหนือไปทางทิศเหนือ (ข้ัวโลกเหนอื ทางภมู ิศาสตร์) และหนั ข้ัวใต้ไปทางทิศใต้ (ขั้วโลกใต้ทางภมู ศิ าสตร์) ข้วั ใต้ของแม่เหลก็ โลก ข้ัวเหนือของแมเ่ หลก็ โลก ⎯ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
คูม่ อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยท่ี 4 แรงในชวี ติ ประจำวัน 108 ข้วั ของแมเ่ หล็กจะอยู่ท่ปี ลายทั้งสองด้านของแทง่ แม่เหลก็ แตแ่ ม่เหลก็ บางชนดิ อาจมีข้ัวอย่ดู า้ นขา้ ง NS N S NN N N N NN สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ⎯
109 คูม่ ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป.3 เลม่ 2 | หน่วยที่ 4 แรงในชีวิตประจำวนั แนวคำตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม 1. สงั เกตและอธิบายลักษณะการวางตัวของแท่งแม่เหลก็ ที่แขวนนิง่ 2. สังเกตและระบุขั้วของแม่เหลก็ SN แมเ่ หล็กมี 2 สี โดยครึง่ หน่ึงของแท่งแม่เหลก็ เป็นสนี ำ้ เงนิ และอกี ครง่ึ หนง่ึ เปน็ สแี ดง ที่ปลายด้านหนงึ่ มีตัวอกั ษร N และอีกด้าน มีตัวอักษร S ⎯ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311