Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-18 08:20:10

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทองฟาของเรา 114 8. หลังจากทาํ กิจกรรมเรยี บรอยแลว ครูนาํ อภิปรายผลการทาํ กจิ กรรมโดย ใชค าํ ถามดังตอ ไปน้ี 8.1 นักเรียนแตละกลุมไดสังเกตและบรรยายลักษณะใดของหินบาง (สี รปู ทรง และเนอ้ื หิน) 8.2 นักเรียนแตละกลุมสามารถจับคูหินกับคําบรรยายของเพ่ือนได หรือไม (คําตอบขึ้นอยูกับผลการทํากิจกรรม เชน สามารถจับคูหิน ไดถูกตองหรือไมสามารถจับคูหนิ ได) 8.3 เพราะเหตุใดเพ่ือนบางคนจึงจับคูหินกับคําบรรยายได (เน่ืองจากคํา บรรยายและรูปหินท่ีวาดน้ันมีความละเอียดและชัดเจนจึงจับคูหิน กบั คาํ บรรยายได) 8.4 เพราะเหตุใดเพื่อนบางคนจึงจับคูหินกับคําบรรยายไมได (เน่ืองจาก ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ บั น ทึ ก ลั ก ษ ณ ะ หิ น ไ ม ล ะ เ อี ย ด รปู วาดของหินไมใกลเ คียงความจรงิ ) 9. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและลงขอสรุปวาหินสามารถพบไดท่ัวไป ในธรรมชาติ มีลักษณะภายนอกที่สังเกตไดเชน สี รูปทรง และเนื้อหิน หินในธรรมชาติมีลักษณะทง้ั ทีเ่ หมือนและแตกตางกัน 10. นักเรียนรวมกันอภิปรายคําตอบในฉันรูอะไร โดยครูอาจเพ่ิมคําถาม กระตนุ การอภิปรายเพอ่ื ใหไดคาํ ตอบทถี่ ูกตอ ง 11. ครูใหนักเรียนสรุปส่ิงท่ีไดเรียนรูในกิจกรรมนี้ จากนั้นนักเรียนอานสิ่งท่ี ไดเรียนรู และเปรยี บเทยี บกับขอ สรปุ ของตนเอง 12. นักเรียนต้ังคําถามในอยากรูอีกวา จากน้ันครูสุมนักเรียน 2-3 คน นาํ เสนอคําถามของตนเองหนา ชั้นเรียน 13. ครูนาํ อภปิ รายเพื่อใหน ักเรียนทบทวนวา ไดทําอะไรเหมอื น นักวิทยาศาสตรบางและไดใ ชทักษะอะไรบางระหวางการทํากิจกรรม จากน้นั นกั เรยี นอา นฉันไดท ําอะไรเหมือนนกั วทิ ยาศาสตรบ า งและฉัน ไดใ ชทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 ใดบาง ในหนงั สอื เรียนหนา 42 ครู อธิบายและยกตวั อยางประกอบวาจากกจิ กรรมทผี่ านมานักเรยี นไดใช การสังเกต การจดั กระทําและส่ือความหมายขอมลู การลงความเห็น สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

115 คูม ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทองฟา ของเรา จากขอมูล การคิดอยางมีวิจารณญาณ การสื่อสาร และความรวมมือใน การทํากจิ กรรมอยางไร 15. นักเรยี นรวมกันอาน รูอ ะไรในเร่ืองน้ี ในหนังสือเรียน หนา 43 ครูนํา อภิปรายเพื่อนําไปสูขอสรุปเก่ียวกับส่ิงท่ีไดเรียนรูในเรื่องนี้ จากน้ันครู กระตุนใหน ักเรียนตอบคําถาม หินแตละกอนท่ีมีลักษณะแตกตางกัน เรา สามารถนํามาใชประโยชนดานใดไดบาง โดยครูและนักเรียนรวมกัน อภิปรายแนวทางการตอบคําถาม เชน หินท่ีมีเนื้อละเอียดและมีรูพรุน สามารถนํามาใชขัดสน เทา ได  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทองฟาของเรา 116 แนวคําตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม สังเกต บรรยาย ชมพู เทา ชมพูออน คลา ยสเี่ หลย่ี ม ละเอียด มลี วดลายเปนร้ิวสเี ทา และชมพออน นาํ้ ตาล คอ นขางกลมมน หยาบ มีหินกอนเลก็ หลากสใี นเนือ้ หนิ สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

117 คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทองฟา ของเรา หนิ มสี ีเขียว รปู ทรงเปนเหลย่ี มคลายสเี่ หล่ยี ม เนือ้ หินละเอยี ด พบจุดสีดําและสีขาว แทรกอยใู นเน้อื หิน  สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทอ งฟา ของเรา 118 มีสีเขียว รูปทรงเปนเหลยี่ มคลา ยสเ่ี หลีย่ ม เนอ้ื หินละเอียด พบจุดสีดําและสีขาว แทรกอยูในเนื้อหิน หินของเพื่อนกอ นที่ 1 กับหนิ ของตนเอง มีรปู ทรงเหมือนกัน สแี ตกตา งกนั : หินของตนเองมสี เี ขียว สว นหินของเพ่ือนมีทัง้ สีชมพูและ รูปทรงแตกตางกัน : หินของตนเองรูปทรงเปนเหลี่ยมสวนหินกอนท่ี 2 ของเพ่ือนรูปทรงคอนขาง กลมมน ลักษณะของหินแตกตางกัน : หินของตนเองเน้ือหินละเอียดมีจุดสีดําและสีขาวแทรกในเนื้อหิน สวนหินกอนท่ี 1 ของเพอื่ นเนอ้ื หินมีลวดลายเปนริ้ว หินกอนที่ 2 ของเพ่ือนเน้ือหินหยาบและมีหิน กอนเล็กแทรกในเน้ือหนิ หลายสีทั้งสเี ขียว ชมพู และนา้ํ ตาล มรี ูปทรงท้ังแบบเหล่ยี มและกลมมน มีทง้ั เนือ้ หยาบ เนือ้ ละเอียด มลี วดลาย และไมม ลี วดลาย สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

119 คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทอ งฟา ของเรา เนอ้ื หิน สี รูปทรง เหมอื นกนั แตกตา งกนั คําถามของนกั เรยี นท่ีตั้งตามความอยากรขู องตนเอง นกั เรยี นตอบตามความเขา ใจของตนเอง เชน สังเกตจากนํา้ หนักและ ความหนาแนนของหนิ หรือสงั เกตจากผลึกหรือแรภายในเนื้อหิน  สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา 120 แนวการประเมินการเรียนรู การประเมนิ การเรียนรูของนักเรียนทําได ดงั นี้ 1. ประเมนิ ความรเู ดิมจากการอภปิ รายในชัน้ เรยี น 2. ประเมินการเรยี นรจู ากคําตอบของนกั เรยี นระหวา งการจัดการเรยี นรูและจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 จากการทาํ กิจกรรมของนกั เรยี น การประเมนิ จากการทาํ กิจกรรมที่ 1 หนิ มลี ักษณะอยา งไร ระดับคะแนน 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถึง ดี รหัส ส่ิงทีป่ ระเมิน คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต S6 การจัดกระทาํ และสื่อความหมาย ขอ มูล S8 การลงความเหน็ จากขอมลู ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 C2 การคดิ อยางมวี ิจารณญาณ C4 การสื่อสาร C5 ความรว มมอื รวมคะแนน สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

121 คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทอ งฟา ของเรา ตาราง แสดงการวเิ คราะหท ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดับความสามารถของนักเรียน โดยอาจใชเกณฑการประเมนิ ดังนี้ ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ ทางวิทยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1) S1 การสงั เกต บ ร ร ย า ย สามารถใชป ระสาทสัมผัสสังเกต สามารถใชป ระสาทสัมผัสสังเกต ไ ม ส า ม า ร ถ ใ ช ร า ย ล ะ เ อี ย ด สี รู ป ท ร ง แ ล ะ เ น้ื อ หิ น ไ ด สี รูปราง และเนื้อหินไดถูกตอง ป ร ะ ส า ท สั ม ผั ส เก่ียวกับลักษณะ ครบถวนและถูกตอง แตไ มค รบถว น สั ง เ ก ต สี รู ป ท ร ง ภ า ย น อ ก ข อ ง หิ น และเน้ือหินไดอยาง ไดแก สี รูปทรง ถูกตอง และเนือ้ หิน S6 การจดั กระทาํ นําขอมูลท่ีไดจาก สามารถนําขอมูลท่ีไดจากการ สามารถนําขอมูลที่ไดจากการ ไมสามารถนําขอมูล และส่อื ความหมาย ขอ มูล การสังเกตลักษณะ สังเกตลักษณะหินของตนเองมา สังเกตลักษณะหินของตนเองมา ที่ไดจากการสังเกต S8 การลง หินของตนเองมา จดั กระทาํ โดยการวาดภาพ และ จัดกระทาํ โดยการวาดภาพ และ ลั ก ษ ณ ะ หิ น ข อ ง ความเห็นจาก ขอ มูล จัดกระทําโดยการ สื่อสารใหผูอ่ืนเขาใจไดอยาง ส่ือสารใหผูอ่ืนเขาใจไดอยางถูก ตนเองมาจัดกระทํา ว า ด ภ า พ แ ล ะ ถกู ตองไดดว ยตนเอง จากการช้ีแนะของครูหรอื ผูอ น่ื โ ด ยก า รว า ดภ า พ สื่ อ ส า ร ใ ห ผู อ่ื น แ ล ะ ไ ม ส า ม า ร ถ เขาใจ สื่อสารใหผูอื่นเขาใจ ได แมวาจะไดรับคํา ชี้ แ น ะ จ า ก ค รู ห รื อ ผอู ืน่ ลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจากการ สามารถลงความเห็นจากการ ไ ม ส า ม า ร ถ ล ง การสังเกตลักษณะ สังเกตลักษณะของหินวาหินแต สังเกตลักษณะของหินวาหินแต ความเห็นจากการ ของหินวาหินแต ละกอนมีลักษณะทั้งท่ีเหมือน ละกอนมีลักษณะท้ังท่ีเหมือน สังเกตลักษณะของ ละกอนมีลักษณะ แ ล ะ แ ต ก ต า ง กั น ไ ด อ ย า ง แ ล ะ แ ต ก ต า ง กั น ไ ด อ ย า ง หินวาหินแตละกอน ทั้งที่เหมือนและ ถกู ตอ ง ไดด ว ยตนเอง ถูกตอง จากการช้ีแนะของครูห มี ลั ก ษ ณ ะ ทั้ ง ท่ี แตกตา งกัน หรอื ผอู นื่ เหมือนและแตกตาง กั น แ ม ว า จ ะ ไ ด รับคําชี้แนะจากครู หรอื ผูอ ่ืน  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟา ของเรา 122 ตาราง แสดงการวเิ คราะหท ักษะแหงศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใชเ กณฑการประเมนิ ดังน้ี ทักษะแหง รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรบั ปรงุ (1) C2. การคิด ใชขอมูลจากการ สามารถใชขอมูลจาก สามารถใชขอมูลจาก ไมสามารถใชขอมูลจากการ อ ย า ง มี บรรยายลักษณะ การบรรยายลักษณะ การบรรยายลักษณะของ บรรยายลักษณะของหินใน วิจารณญาณ ของหินในการเลือก ของหินในการเลือกจับคู หินในการเลือกจับคูหิน การเลือกจับคหู นิ ไดแมวาจะ หินไดอยางถูกตอง ได ไดอยางถูกตอง จากการ ไดรับคําช้ีแนะจากครูหรือ จบั คหู ิน ดวยตนเอง ชแ้ี นะของครูหรือผอู น่ื ผูอ่นื C4. การ นําเสนอขอมูลจาก สามารถนําเสนอขอมูล สามารถนําเสนอขอมูล ไมสามารถนําเสนอขอมูล สื่อสาร ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ จ า ก ก า ร สั ง เ ก ต แ ล ะ จากการสังเกตและอภิปราย อภิปรายเกี่ยวกับ อ ภิ ป ร า ย เ กี่ ย ว กั บ อ ภิ ป ร า ย เ กี่ ย ว กั บ เกย่ี วกับลักษณะของหินโดย ลักษณะของหินโดย ลักษณะของหินโดยใช ลักษณะของหินโดยใช ใชคําพูด รูปภาพ หรือเขียน ใชคําพูด รูปภาพ คําพูด รูป ภ าพ หรื อ คํา พูด รูป ภ า พ ห รื อ คําบรรยาย เพื่อใหผูอ่ืน ห รื อ เ ขี ย น คํ า เขียนคําบรรยาย เพื่อให เขียนคําบรรยาย เพ่ือให เขาใจได แมวาจะไดรับคํา บร รย า ย เ พื่อ ใ ห ผูอ ่ืนเขา ใจไดดวยตนเอง ผูอ่ืนเขาใจได จากการ ชแี้ นะจากครหู รือผอู ืน่ ผอู นื่ เขาใจ ชแี้ นะของครหู รือผูอ่นื C5. ความ ทํางานรวมกับผูอ่ืน สามารถทํางานรวมกับ สามารถทํางานรวมกับ ไมสามารถทํางานรวมกับ รว มมอื แ ล ะ ย อ ม รั บ ฟ ง ผู อ่ื น แ ล ะ ย อ ม รั บ ฟ ง ผู อ่ื น แ ล ะ ย อ ม รั บ ฟ ง ผูอ่ืนและยอมรับฟงความ ความคิดเห็นของ ความคิดเห็นของผูอ่ืนใน ความคิดเห็นของผูอ่ืนใน คิ ด เ ห็ น ข อ ง ผู อ่ื น ไ ด ผูอื่นในการสังเกต การสังเกตลักษณะของ การสังเกตลักษณะของ ตลอดเวลาท่ีทาํ กิจกรรม ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง หิ น หิ น จั บ คู หิ น กั บ คํ า หิ น จั บ คู หิ น กั บ คํ า จั บ คู หิ น กั บ คํ า บรรยายลักษณะหินของ บรรยายลักษณะหินของ บรรยายลักษณะหิน กลุมอื่น ผูอื่น ต้ังแ ต กลุมอ่ืน บางชวงเวลาที่ ของกลุมอน่ื เร่มิ ตนจนสําเร็จ ทํากิจกรรม สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

123 คูมอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทอ งฟาของเรา กจิ กรรมทายบทที่ 1 หนิ (1 ชั่วโมง) 1. ครูใหนักเรียนวาดรูปหรือเขียนสรุปฉันเรียนรูอะไรเก่ียวกับหิน ในแบบ บนั ทึกกิจกรรม หนา 50 2. นักเรียนตรวจสอบการสรุปฉันเรียนรูอะไรเก่ียวกับหิน โดยเปรียบเทียบ กับแผนภาพในหัวขอ รอู ะไรในบทนี้ ในหนังสอื เรียน หนา 44 3. นักเรียนกลับไปตรวจสอบคําตอบของตนเองใน สํารวจความรูกอน เรียน ในแบบบันทึกกิจกรรมหนา 42 อีกคร้ัง โดยถาคําตอบของ นักเรียนไมถูกตอง ใหขีดเสนทับขอความเหลาน้ัน แลวแกไขใหถูกตอง หรืออาจแกไ ขคําตอบดว ยปากกาทม่ี ีสีตา งจากเดิม 4. นักเรียนทํา แบบฝกหัดทายบทท่ี 1 นําเสนอคําตอบหนาชั้นเรียน ถา คาํ ตอบยังไมถูกตองครูนําอภิปรายหรือใหสถานการณเพ่ิมเติมเพื่อแกไข แนวคิดคลาดเคลือ่ นใหถ กู ตอง 5. นักเรียนรวมกันทํากิจกรรม รวมคิด รวมทํา โดยใหนักเรียนนําหินจาก กิจกรรมมาใชป ระโยชนในรปู แบบตาง ๆ อยา งอสิ ระ  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทอ งฟา ของเรา 124 สรปุ ผลการเรยี นรูข องตนเอง รปู หรอื ขอความสรุปส่ิงทไ่ี ดเรียนรูจากบทนต้ี ามความเขาใจของนกั เรียน สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

125 คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา แนวคาํ ตอบในแบบฝก หดั ทายบท นักเรยี นออกแบบตามความคดิ ของตนเอง  สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา 126 หินมสี ีขาว ดาํ และเทา รูปทรงคอนขา งเหล่ียม เนอ้ื หินหยาบ ไมม ีรพู รนุ ไมมีลวดลาย สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

127 คูมือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทองฟาของเรา บทที่ 2 ทองฟาและดาว จดุ ประสงคก ารเรียนรปู ระจาํ บท สื่อการเรยี นรูและแหลงเรียนรู เม่อื เรียนจบบทนี้ นักเรียนสามารถ 1. หนังสือเรยี น ป.1 เลม 2 หนา 47-51 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป.1 เลม 2 หนา 53-67 1. บอกสง่ิ ทีเ่ ปนดาวท่ีมองเหน็ บนทอ งฟา 2. บอกชอ่ื ดาวทสี่ ามารถมองเห็นบนทองฟาในเวลา กลางวันและกลางคืน 3. อธิบายเหตุผลในการมองเห็นดาวในเวลา กลางวันและเวลากลางคนื แนวคิดสาํ คัญ เมอ่ื สังเกตทองฟา จะพบวตั ถุบางชนดิ เปน ดาว โดยดาวที่มองเห็นไดในเวลากลางวันและกลางคืนอาจ แตกตางกนั บทนม้ี อี ะไร เรื่องที่ 1 ดาวบนทองฟา คําสาํ คญั โลก (Earth) กจิ กรรมท่ี 1.1 มองเห็นดาวอะไรบา งบนทองฟา กจิ กรรมที่ 1.2 กลางวนั ดาวหายไปไหน  สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทองฟา ของเรา 128 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรและทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 รหสั ทกั ษะ กิจกรรมที่ 1.1 1.2 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสงั เกต  S2 การวัด S3 การใชจํานวน S4 การจาํ แนกประเภท S5 การหาความสมั พันธระหวา ง  สเปซกับสเปซ  สเปซกบั เวลา S6 การจัดกระทาํ และสอื่ ความหมายขอ มูล S7 การพยากรณ  S8 การลงความเหน็ จากขอมูล  S9 การตงั้ สมมติฐาน S10 การกาํ หนดนิยามเชงิ ปฏิบัตกิ าร S11 การกาํ หนดและควบคุมตัวแปร S12 การทดลอง S13 การตีความหมายขอมูลและลงขอสรปุ S14 การสรางแบบจาํ ลอง  ทักษะแหงศตวรรษที่ 21 C1 การสรางสรรค C2 การคดิ อยางมีวจิ ารณญาณ  C3 การแกป ญหา C4 การส่อื สาร  C5 ความรว มมอื  C6 การใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

129 คูมือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทอ งฟา ของเรา แนวคิดคลาดเคลื่อน ครฟู ง การสนทนาอภิปรายของนักเรยี นอยางตอ เน่ือง พรอมบนั ทึกแนวคิดของนกั เรยี นไว เพอื่ นาํ ไปใชใ นการจดั การ เรยี นรใู หส ามารถแกไขแนวคิดคลาดเคลือ่ นและตอยอดแนวคดิ ที่ถกู ตอ ง แนวคิดคลาดเคลอ่ื น แนวคดิ ทีถ่ กู ตอง ดาวและดวงจนั ทรจ ะปรากฏใหเห็นในเวลากลางคืนเทาน้นั เราสามารถมองเห็นดาวและดวงจันทรไดในเวลากลางวัน ในชวง ที่แสงจากดวงอาทิตยยังไมสวางมากจนกลบแสงของดาวและ ดวงจันทร  สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟา ของเรา 130 บทน้เี ริ่มตนอยา งไร (1 ช่วั โมง) 1. ครูตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียนเร่ืองดาวบนทองฟา โดยใหนักเรียนดู วีดิทัศน “What’s in the Sky” จาก https://www.youtube.com/ watch?v=bNsXGB3Sp94 จากน้ันรว มกันอภปิ รายโดยครูอาจใชคาํ ถาม ดงั น้ี 1.1 นักเรียนเคยสังเกตทอ งฟาหรือไม (นกั เรยี นอาจตอบวาเคยหรือไมเคยก็ ได แตสวนใหญน กั เรียนควรตอบวา เคย) 1.2 ทองฟาที่นักเรียนเคยสังเกตเหมือนหรือแตกตางจากในวีดิทัศนหรือไม อยา งไร (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของตนเอง เชน ทองฟาท่ีเคย สังเกตแตกตางจากในวดี ทิ ัศน โดยทองฟาท่ีเคยสังเกตไมไดเห็นดาวบน ทอ งฟาในเวลากลางวันมากเทาในวดี ทิ ศั น) 1.3 บนทองฟามีอะไรบาง (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจ (นักเรียนตอบได ตามความเขาใจของตนเอง เชน รงุ ดวงอาทิตย เมฆ ดาว ดวงจนั ทร) 1.4 สิ่งใดเปนดาวบาง (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของตนเอง โดยครูอาจ ใหต วั แทนนกั เรยี นออกมาวาดรูปสิ่งท่ีคิดวา เปน ดาว) 2. ครูชักชวนนักเรียนเรียนรูเกี่ยวกับทองฟาและดาว โดยใหนักเรียนอาน หนังสือเรียนหนวยที่ 4 บทที่ 2 ซึ่งเริ่มจากการอานช่ือบทและจุดประสงค การเรียนรปู ระจําบท จากนั้นครูใชคําถาม ดงั นี้ 2.1 เมือ่ จบบทเรยี นนักเรียนจะสามารถทําอะไรไดบาง 1) บอกสิ่งทเ่ี ปนดาว 2) บอกชอ่ื ดาวทมี่ องเหน็ บนทองฟาในเวลากลางวันและกลางคืน 3) อธบิ ายสาเหตุในการมองเห็นดาวในเวลากลางวันและกลางคืน สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

131 คูม อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทอ งฟาของเรา 3. นักเรียนเปดหนังสือเรียน หนา 48 อานชื่อบท และอานแนวคิดสําคัญ จากนั้นครูใชคาํ ถามในการอภปิ รายวา ในบทน้จี ะเรียนเรื่องอะไรบาง (ในบท นจี้ ะไดเรยี นเรื่องดาวท่มี องเหน็ บนทอ งฟา ในเวลากลางวนั และกลางคนื ) 4. ครใู หนกั เรยี นสงั เกตรปู ในหนังสือเรียน หนา 48 จากนั้นอานเน้ือเรื่อง แลวถาม ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง คําถามดงั ตอ ไปนี้ นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม 4.1 ทองฟาในรูปเปนเวลาใด เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบไดตามความ เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให เขาใจ เชน ทองฟาในรูปเปนเวลาเชามืดหรือทองฟาเวลาพลบค่ํา หาคาํ ตอบท่ีถูกตองจากกิจกรรม เพราะสังเกตเห็นแสงจากดวงอาทิตยท่ีบริเวณขอบฟา โดยครูไมตอง ตา ง ๆ ในบทเรียนี้ เฉลยคาํ ตอบทถี่ กู ตอ ง) 4.2 มองเห็นอะไรบนทองฟาบาง (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของ การเตรยี มตวั ลวงหนาสําหรบั ครู ตนเอง เชน มองเห็นดวงจันทร ดาว และแสงจากดวงอาทิตยท่ีขอบ เพ่ือจัดการเรียนรูใ นครง้ั ถดั ไป ฟา) 4.3 สิ่งที่มองเห็นอะไรท่ีเปนดาว (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของ ในครั้งถัดไปจะไดทํากิจกรรมที่ 1.1 ตนเอง) มองเหน็ ดาวอะไรบางบนทองฟา นักเรียน จะไดสังเกตทองฟาเวลากลางคืน ซึ่งไม 5. ครูชักชวนนักเรียนตอบคําถามในสํารวจความรูกอนเรียน ในแบบบันทึก สามารถทําในชั่วโมงเรียนได ครูควร กิจกรรม หนา 53 และใหน ักเรียนอา น ชือ่ หนวย ช่อื บท มอบหมายใหนักเรียนทํากิจกรรมมา ลวงหนาและแนะนําใหนักเรียนสังเกต 6. ครูใหนักเรียนอานคําถามและตรวจสอบวานักเรียนเขาใจคําถามแตละขอ จน ทองฟาเวลากลางคืนรวมกับผูปกครอง แนใจวานักเรียนสามารถทําไดดวยตนเอง จึงใหนักเรียนตอบคําถามตาม แลววาดรูป สิ่งที่สังเกตเห็นบนทองฟา ความเขาใจของตนเอง โดยแตละคนอาจตอบแตกตางกันได และจะตอบถูก ลงในกระดาษหรือแบบบันทึกกิจกรรม หรือผดิ ก็ได หนา 56 7. ครูเดินสํารวจและสังเกตการตอบคําถามของนักเรียน เพ่ือตรวจสอบวา นักเรียนมีแนวคิดเกี่ยวกับดาวบนทองฟาและสาเหตุการมองไมเห็นดาว สวนใหญบนทองฟาอยางไรบาง ครูอาจสุมนักเรียนตอบคําถามแตละขอ โดยยังไมตองเฉลยคําตอบใหนักเรียน แตจะใหนักเรียนยอนกลับมา ตรวจสอบคําตอบอีกครง้ั หลังเรยี นจบบทน้ีแลว ทั้งนี้ครูอาจบันทึกแนวคิด คลาดเคล่ือนหรือแนวคิดที่นาสนใจของนักเรียน เพื่อนํามาออกแบบการ จดั การเรยี นการสอนเพ่ือแกไ ขแนวคดิ ใหถูกตอง  สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู อื ครรู ายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทองฟา ของเรา 132 แนวคาํ ตอบในแบบบันทกึ กิจกรรม การสํารวจความรกู อนเรียน นกั เรียนอาจตอบคําถามถูกหรือผดิ ก็ไดข ึ้นอยูกบั ความรเู ดมิ ของนักเรียน แตเ ม่ือเรยี นจบบทเรียนแลว ใหนักเรยี นกลบั มาตรวจสอบคําตอบอีกครั้งและแกไขใหถกู ตอง ดงั ตวั อยา ง    สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

133 คูม อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทอ งฟาของเรา  สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทอ งฟาของเรา 134 เร่อื งที่ 1 ดาวบนทองฟา ในเรือ่ งนน้ี ักเรยี นจะไดสังเกตและเรียนรเู กีย่ วกับ ดาวบนทองฟา รวมท้ังสาเหตุการมองไมเ หน็ ดาวสวน ใหญบ นทองฟาเวลากลางวัน โดยการสังเกตและ อภิปราย จุดประสงคก ารเรยี นรู สอื่ การเรยี นรแู ละแหลง เรียนรู หนา 50-57 หนา 55-64 1. สังเกตและบรรยายลักษณะของโลก 1. หนังสือเรียน ป.1 เลม 2 2. สังเกตและบอกส่ิงท่ีพบบนทองฟาในเวลากลางวัน 2. แบบบนั ทึกกจิ กรรม ป.1 เลม 2 และกลางคนื 3. สงั เกตและอธบิ ายสาเหตุที่มองไมเห็นดาวสวนใหญบน ทอ งฟาในเวลากลางวัน เวลา 7 ช่ัวโมง วัสดุ อปุ กรณส ําหรับทาํ กจิ กรรม ดินสอสี กระดาษแข็งขนาด A4 หลอดไฟฟา ไฟฉาย กระบอกใหญ ไฟฉายกระบอกเล็ก วัตถุอื่น ๆ เชน ไม ไอศกรมี เชือก ไหมพรม สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

135 คูม ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟา ของเรา แนวการจัดการเรยี นรู (60 นาที) ขนั้ ตรวจสอบความรู (20 นาที) 1. ครูตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียนเก่ียวกับดาวบนทองฟา โดยครูอาจให ในการตรวจสอบความรู ครู นักเรียนวาดรูปสิ่งท่ีนักเรียนคิดวาเปนดาวลงบนกระดาษที่ครูแจกให เพียงรับฟงเหตุผลของนักเรียนและ และรวมกนั อภิปราย โดยใชค าํ ถาม ดงั นี้ ยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวน 1.1 นักเรียนคิดวาดาวมีลักษณะอยางไร (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจ ใหนักเรียนไปหาคําตอบดวยตนเอง ของตนเอง เชน ดาวมีลักษณะเปนแฉก ๆ ระยิบระยับบนทองฟา หรือ จากการอานเนอ้ื เร่ือง ดาวมรี ูปรา งกลม สอ งแสงอยบู นทองฟา) 1.2 ดาวท่ีนักเรียนวาดมีอะไรบาง (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของ ตนเอง เชน ดวงอาทิตย ดวงจนั ทร และดาว) 1.3 นอกจากดาวที่นักเรียนวาดมีดาวดวงอื่นอีกหรือไม อะไรบาง (นักเรียน อาจตอบวามหี รอื ไมม กี ็ได เชน มดี าวดวงอื่นอกี กค็ ือ ดวงอาทติ ย และ ดาวอีกหลายดวง) 1.4 เราจะมองเห็นดาวแตละดวงในเวลาใดไดบาง (นักเรียนตอบไดตาม ความเขาใจของตนเอง เชน เราจะมองเห็นดวงอาทิตยไดในเวลา กลางวนั แตเราสามารถมองเห็นดวงจันทรแ ละดาวไดใ นเวลากลางคนื ) 2. ครูชักชวนใหนักเรียนไปศึกษาเร่ืองดาวบนทองฟา โดยอาจใชคําถามวา อยากรหู รอื ไมวา บนทองฟา มีอะไรบางทเ่ี ปนดาวและดาวมลี กั ษณะอยา งไร ข้นั ฝกทกั ษะจากการอา น (30 นาท)ี 3. ครูใหนักเรียนอานช่ือเร่ือง และคําถามในคิดกอนอาน ในหนังสือเรียน หนา 50 แลวรวมกันอภิปรายในกลุมเพ่ือหาคําตอบ ครูบันทึกคําตอบของ นกั เรยี นบนกระดานเพื่อใชเปรียบเทยี บคาํ ตอบหลงั การอานเนื้อเร่อื ง 4. นกั เรียนอานคําในคําสําคัญ ท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ถานักเรียน ยังอานไมได ครสู อนการอา นและอาจใหนกั เรยี นอธิบายความหมายตาม ความเขาใจ จากนั้นครูชักชวนนักเรียนไปหาคําตอบหลังจากการอาน เนอื้ เรอ่ื ง 5. ครูใหนักเรียนอานเนื้อเร่ืองโดยฝกวิธีการอานที่เหมาะสมกับ ความสามารถของนักเรยี น แลว ตรวจสอบความเขาใจโดยใชแนวคําถาม ดังน้ี 5.1 โลกของเราเปน ดาวหรอื ไม (โลกเปน ดาว) 5.2 โลกมีลักษณะเปนอยางไร (ลักษณะคลายผลสมหรือคลายทรง กลม)  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา 136 5.3 นอกจากโลกแลว นักเรียนรูจักดาวอะไรอีกบาง (นักเรียนตอบได ตามความเขาใจของตนเอง เชน นักเรียนรูจัก ดวงอาทิตย ดวง จันทร และดาวองั คาร) 5.4 ดาวเหลา นอ้ี ยูทใ่ี ด (อยูนอกโลก ซ่ึงสามารถมองเห็นไดบ นทองฟา ) ขัน้ สรุปจากการอา น (5 นาที) การเตรียมตวั ลวงหนา สาํ หรบั ครู เพ่อื จัดการเรียนรใู นครงั้ ถดั ไป 6. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อใหไดขอสรุปวา โลกเปนดาวดวง หนึ่งที่มีลักษณะคลายทรงกลม และเม่ือมองออกไปบนทองฟาจะเห็น ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะไดทํา ดาวดวงอืน่ ๆ กิจกรรมท่ี 1.1 มองเห็นดาวอะไรบาง บนทองฟา โดยการสรางแบบจําลอง 7. นักเรยี นตอบคําถามใน รหู รอื ยัง ในแบบบนั ทกึ กิจกรรม หนา 55 ครเู ตรยี มการจัดกิจกรรม ดังนี้ 8. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเพ่ือเปรียบเทียบคําตอบของนักเรียนใน 1. ครูเตรียมกระดาษแข็งขนาด รหู รอื ยงั กบั คําตอบทเ่ี คยตอบและบันทึกไวในคดิ กอนอา น A4 ไวเทาจํานวนนักเรียนหรือเกิน 9. นกั เรยี นฝก ทกั ษะการเขียนในเขียนเปนในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 55 เล็กนอยและเตรียมอุปกรณพ้ืนฐาน สําหรับตกแตงช้ินงาน เชน กรรไกร ไม โดยขณะฝกเขียนอาจใหน กั เรียนฝก สะกดคําไปดว ย บรรทัด ไมไอศกรีม ไหมพรม หลอด 10.ครชู ักชวนนักเรียนลองตอบคาํ ถามทายเร่อื งทีอ่ า น ดังนี้ พลาสตกิ และอน่ื ๆ 10.1 เราจะมองเหน็ ดาวบนทองฟาในเวลาใดบาง 2. ครูใหนักเรียนเตรียมอุปกรณ 10.2 ชว งเวลาใดท่มี ีโอกาสมองเห็นดาวนอยท่ีสดุ ตกแตง เชน ดินสอสี ครูบันทึกคําตอบของนักเรียนบนกระดานโดยยังไมเฉลยคําตอบแต ชักชวนใหน ักเรยี นไปหาคาํ ตอบจากการทาํ กจิ กรรม สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

137 คมู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทองฟาของเรา แนวคาํ ตอบในแบบบนั ทึกกจิ กรรม คลายผลสมหรือ คลายทรงกลม โลก โลก  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทอ งฟา ของเรา 138 กิจกรรมท่ี 1.1 มองเหน็ ดาวอะไรบา งบนทองฟา กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดสังเกตทองฟาเวลากลางวัน และกลางคืนและอานใบความรู เพ่ือออกแบบและสราง แบบจําลองดาวทีม่ องเห็นบนทองฟา เวลา 3 ช่ัวโมง จุดประสงคก ารเรยี นรู รวบรวมขอ มูลและสรางแบบจําลองแสดงดาวท่ี มองเห็นบนทอ งฟาในเวลากลางวนั และกลางคนื วสั ดุ อุปกรณส าํ หรบั ทาํ กจิ กรรม สิ่งท่ีครูตองเตรียม/กลุม 1. กระดาษแขง็ ขนาด A4 1 แผน สงิ่ ทนี่ ักเรียนตองเตรียม/กลุม 1. ดินสอสี 1 กลอง 2. วัสดุหรือวัตถอุ ืน่ ๆ ทน่ี ักเรยี นจะนาํ มาใชสราง แบบจาํ ลองของตนเอง สื่อการเรยี นรูแ ละแหลง เรียนรู ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร 1. หนังสือเรียน ป.1 เลม 2 หนา 51-53 2. แบบบนั ทึกกิจกรรม ป.1 เลม 2 หนา 56-59 S1 การสังเกต S8 การลงความเหน็ จากขอมูล S14 การสรางแบบจําลอง ทักษะแหง ศตวรรษท่ี 21 C2 การคิดอยา งมีวจิ ารณญาณ C3 การสอ่ื สาร C5 ความรวมมือ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

139 คูมือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา แนวการจัดการเรยี นรู ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม 1. ครูถามคําถามเพอื่ ตรวจสอบความรูเดิมของนักเรียนเกี่ยวกับทองฟา เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให และดาว ดงั นี้ หาคาํ ตอบที่ถูกตองจากกิจกรรม 1.1 นักเรียนรูจักทองฟาหรือไม ทองฟามีลักษณะอยางไร ตาง ๆ ในบทเรียนี้ (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของตนเอง เชน รูจัก โดย ทองฟา มีลักษณะคลายคร่ึงทรงกลมที่ครอบตวั เราอย)ู 1.2 ทอ งฟา มีอยทู กุ ที่หรือไม (มอี ยูทุกท่ีบนโลก) 1.3 ทอ งฟาขณะน้ีเปน เวลากลางวนั หรือกลางคืน (เวลากลางวนั ) 1.4 ทองฟาเวลากลางวันตางจากทองฟาเวลากลางคืนอยางไร (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของตนเอง เชน ทองฟาเวลา กลางวันจะสวางมาก สวนในเวลากลางคืนจะมืดกวาเวลา กลางวันและมองเหน็ ดาวเปน จุดเล็ก ๆ บนทอ งฟา) 1.5 ดาวท่ีมองเห็นบนทองฟา มีลักษณะอยางไร (นักเรียนตอบได ตามความเขาใจของตนเอง เชน ดาวที่มองเห็นบนทองฟามี รปู รา งคลายวงกลมบางดวงเปน จดุ สวาง สอ งแสงระยิบระยับ) 2. ครูกระตุนใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.1 โดยชักชวนนักเรียนวา ถา อยากรูวามองเห็นดาวอะไรบางบนทองฟา เราจะหาคําตอบไดโดย การสังเกตทอ งฟา 3. ครูใหนักเรียนเปดหนังสือเรียนหนา 51 อานช่ือกิจกรรมมองเห็น ดาวอะไรบางบนทองฟา และทําเปนคิดเปน โดยรวมกันอภิปราย ทีละประเด็นเพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับ จดุ ประสงคในการทาํ กจิ กรรมโดยใชคําถาม ดงั นี้ 3.1 กจิ กรรมน้ีนักเรยี นจะไดเ รยี นเร่ืองอะไร (ดาวทมี่ องเห็นบนทอ งฟา) 3.2 นักเรียนจะไดเรียนรูเร่ืองน้ีดวยวิธีใด (สังเกต รวบรวมขอมูล และสรา งแบบจาํ ลอง) 3.3 เม่ือเรียนแลวนักเรียนจะทําอะไรได (ระบุดาวที่มองเห็นบน ทอ งฟาในเวลากลางวนั และกลางคนื ) จากนั้นใหนักเรียนบันทึกจุดประสงคของกิจกรรมลงในแบบบันทึก กิจกรรม หนา 56 และอานส่ิงที่ตองใชในการทํากิจกรรม โดยครูยังไม แจกวสั ดุอุปกรณใหนกั เรียน แตน ํามาแสดงใหนกั เรียนดูทีละอยาง 4. นักเรียนอานทําอยางไรทีละขอแลวรวมกันอภิปรายเพื่อสรุปลําดับ ข้ันตอนการทํากิจกรรมตามความเขาใจ โดยครูอาจชวยเขียนสรุป

คูมือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทองฟา ของเรา 140 สั้น ๆ ลงบนกระดาน ซ่ึงครูอาจใชคําถามเปนแนวทางในการ อภิปรายสรปุ การทาํ กิจกรรม ดงั ตอไปนี้ 4.1 นักเรียนตองสังเกตอะไรบาง (สังเกตทองฟาในเวลากลางวัน และกลางคืน) 4.2 นักเรียนตองบันทึกอะไรบาง (สิ่งที่พบบนทองฟาในเวลา กลางวนั และกลางคืน) 4.3 เราสามารถสังเกตทองฟาเวลากลางวันดวยตาเปลาไดหรือไม (สงั เกตได แตต องไมมองดวงอาทิตยโดยตรงเพราะจะทําใหเกิด อันตรายกบั สายตาจนอาจถงึ ขั้นพิการหรอื ตาบอดได) 4.4 นักเรียนจะสังเกตทองฟาอยางไร (นักเรียนตอบตามความ เขาใจ แตครูตองใหวิธีการสังเกตท่ีถูกตองและปลอดภัยแก นักเรียนโดยครูฝกนักเรียนใหสังเกตทองฟาในเวลากลางวัน โดยหามดูดวงอาทิตยดวยตาเปลาอยางเด็ดขาดซึ่งในการฝก ครูจะใชไฟฉายแทนดวงอาทิตยแลวหาวัตถุมาบังแสงทําให เกดิ เงาบนผนังหองหรือบนพ้ืน อธิบายใหนักเรียนเห็นวา เงา ท่ีเกิดจะอยูดานตรงกันขามกับไฟฉายซ่ึงแทนดวงอาทิตย เสมอ ทําซํ้าจนนักเรยี นเขา ใจแลวอธิบายเช่อื มโยงวานักเรียน สามารถสังเกตวามีดวงอาทิตยอยูบนทองฟาดานใดไดโดยดู จากเงาของเราหรือเงาของสิ่งตา ง ๆ ซงึ่ จะอยูดานตรงกันขาม กบั ดวงอาทิตยเ สมอเมื่อนักเรียนเขาใจแลว ครูจึงพานักเรียน ออกไปฝกสังเกตทองฟาเวลากลางวันโดยควบคุมดูแล นักเรียนอยางใกลช ดิ และใหน กั เรียนบนั ทึกผล จากนั้น ครูใหนักเรียนชักชวนผูปกครองสังเกตทองฟาเวลา กลางคืน และบันทึกผล ถาผลการสังเกตทองฟาของนักเรียนไม พบดวงจันทรในเวลากลางวัน ครูควรพานักเรียนสังเกตดวง จนั ทรตอนเชาที่โรงเรียนบางวันในชวงเวลาขางแรม หรือสังเกต ดวงจันทรตอนเย็นบางวันในชวงเวลาขางขึ้น โดยใชปฏิทินดู ดวงจันทรของกรมอุทกศาสตรกําหนดวันท่ีนักเรียนจะสามารถ มองเหน็ ดวงจันทรไดในเวลากลางวัน 4.5 เมื่อสังเกตทองฟาแลว ตองทําอะไรตอ (บันทึกลงในแบบ บันทึกกิจกรรม) ครูอาจตรวจสอบความเขาใจในการบันทึกผลการสังเกตโดยการ สุม นักเรยี น 1-2 คน ออกมาสาธติ การบันทกึ ผล สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

141 คูมือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทอ งฟา ของเรา 4.6 หลังอานใบความรู นักเรียนตองทําอะไรบาง (อภิปรายวา ในการตรวจสอบความรู ครูเพียง ส่ิงใดเปนดาวบาง จากผลการสังเกตทองฟาและอาน รับฟงเหตุผลของนักเรียนเปนสําคัญ ใบความรู จากน้นั บันทกึ ผล) และยังไมเฉลยคําตอบใด ๆ ใหกับ นักเรียน แตชักชวนนักเรียน ไปหา 4.7 นักเรียนสามารถสรางแบบจําลองทองฟาเวลากลางวันและ คําตอบที่ถูกตองจากการอานเนื้อเร่ือง กลางคืนไดอยางไร (นํากระดาษแข็งขนาด A4 มาตัดเปนรูป และกิจกรรมตาง ๆ ในบทเรียนนี้ วงกลมแลวพับครึ่ง จากนั้นออกแบบ สรางและนําเสนอ แบบจําลองในรูปแบบตาง ๆ เชน พัด โมบาย) 5. เม่ือนักเรียนเขาใจวิธีทํากิจกรรมในทําอยางไรแลว นักเรียนจะได ปฏิบตั ติ ามขน้ั ตอน ดังน้ี 5.1 สังเกตและบันทึกส่ิงท่ีมองเห็นบนทองฟาเวลากลางวันและ กลางคนื (S1) 5.2 อานใบความรู และรวมกันอภิปรายและลงความเห็นวาส่ิงใดเปน ดาว (S8) (C2, C4, C5) 5.3 สรางแบบจําลองทองฟาเวลากลางวันและกลางคืน และ ออกแบบรูปแบบการนาํ เสนอทนี่ าสนใจ (S14) 5.4 จัดแสดงแบบจําลองพรอมระบุดาวที่มองเห็นบนทองฟาในเวลา กลางวนั และกลางคืน (C4) ขณะทน่ี กั เรียนกําลังออกแบบและสรางแบบจําลอง ครูอาจเดิน สังเกตแนวคิดของนักเรียนและชวยดูแลความปลอดภัยหากนักเรียน ใชวัสดอุ ปุ กรณท่ีมีคมในการสรางแบบจาํ ลอง 6. ครูใหนักเรียนแตละคนในกลุมแลกเปลี่ยนกันดูแบบจําลอง แลว เลือกแบบจําลองและตัวแทนของกลุมออกมานําเสนอหนาช้ัน เรียน จากนั้นครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายส่ิงท่ีไดจากกิจกรรม โดยครูอาจใชค าํ ถาม ดังน้ี 6.1 แบบจําลองของแตละกลุมเหมือนหรือแตกตางกัน อยางไร (คาํ ตอบขึน้ อยูกับผลการทาํ กิจกรรม) 6.2 เม่ือสังเกตทอ งฟา เวลากลางวันสงั เกตเหน็ อะไรบาง (นักเรียน ตอบไดตามความเปนจริง เชน เม่ือสังเกตทองฟาเวลา กลางวันจะมองเห็นนก เคร่ืองบิน เมฆ ดวงอาทิตย และ บางวันอาจมองเหน็ ดวงจันทร) 6.3 เมื่อสังเกตทองฟาเวลากลางคืนจะสังเกตเห็นอะไรบาง (นกั เรยี นตอบไดต ามความเปนจรงิ เชน เม่ือสังเกตทองฟาเวลา กลางคนื จะมองเห็นนก เครือ่ งบิน เมฆ ดวงจนั ทร และดาว)

คมู ือครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทองฟาของเรา 142 6.4 สิ่งที่สังเกตเห็นบนทองฟามีอะไรบางที่เปนดาว (ดวงอาทิตย ดวงจนั ทร และดาว) (S8) 6.5 ดาวที่มองเห็นบนทองฟามีลักษณะอยางไร (บางดวงคลาย วงกลม บางดวงเปน จดุ สวา ง) 6.6 จากใบความรู ดาวมลี ักษณะอยางไร (คลา ยทรงกลม) 6.7 นักเรียนรูหรือไมวาวงกลมกับทรงกลมแตกตางกันอยางไร (นักเรียนตอบไดตามความเขาใจของตนเอง ครูอธิบาย เพิ่มเติมโดยนําวัตถุท่ีมีลักษณะเปนทรงกลมและวงกลมที่มี ขนาดเสนผานศูนยกลางใกลเคียงกันมาใหนักเรียนสังเกต หรอื ยกตัวอยางวตั ถทุ เ่ี ปน ทรงกลม เชน ลูกบอล สวนวงกลม ครูอาจวาดวงกลมลงบนกระดาน จากนั้น ครูนําลูกบอล ซ่ึงมี ลักษณะเปนทรงกลมมาใหนักเรียนสังเกต หลังจากนักเรียน สังเกตลูกบอลแลวครูคอย ๆ เคล่ือนลูกบอลใหออกหางจาก นกั เรยี นมากขนึ้ แลวใหน ักเรียนสังเกตลูกบอลอีกคร้ัง ซึ่งเม่ือ เคล่ือนลูกบอลออกหางจากนักเรียนดวยระยะทางท่ีมากพอ นักเรียนจะมองเห็นลูกบอลลูกเดิมมีลักษณะคลายวงกลม ดังน้ัน ในใบความรูท่ีเขียนวาดาวมีลักษณะคลายทรงกลม เพราะเปนรูปทรงของดาวท่ีอยูในอวกาศ แตดาวท่ีเรา มองเห็นบนทองฟา เปน ดาวท่ีอยไู กลจากโลกมากจึงทําใหเรา เหน็ ดาวเหลา นั้นเปน วงกลม) 7. ครูและนักเรียนรวมกันเชื่อมโยงส่ิงท่ีไดเรียนรูจากกิจกรรมเพ่ือลง ความเห็นวาเม่ือสังเกตทองฟาจะพบดาว โดยดาวมีลักษณะคลาย วงกลม ดาวที่มองเห็นบนทองฟาในเวลากลางวัน ไดแก ดวงอาทิตย และบางเวลาในบางวันอาจมองเห็นดวงจันทรและ ดาวบางดวง สวนดาวท่ีมองเห็นบนทองฟาในเวลากลางคืน ไดแก ดวงจันทรแ ละดาวตาง ๆ 8. ครูใหนักเรียนใชแอพพลิเคช่ันสําหรับการสังเกตภาพเสมือนจริง (AR) ของดาว ในหนังสือเรียน หนา 56 เพ่ือเนนยํ้าวาดาวมีลักษณะคลาย ทรงกลม 9. นักเรียนรวมกันอภิปรายเพ่ือคําตอบใน ฉันรูอะไร ถานักเรียนตอบ ไมไ ดค รูอาจใชคําถามเพ่ิมเติมกระตุนการอภิปรายเพ่ือใหไดคําตอบที่ ถกู ตอง สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

143 คมู อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทอ งฟา ของเรา 10.ครูใหนักเรียนสรุปส่ิงที่ไดเรียนรูในกิจกรรมนี้ จากน้ันครูให การเตรยี มตวั ลว งหนาสาํ หรับครู เพอื่ จดั การเรยี นรใู นครงั้ ถัดไป นักเรยี นอา นสิ่งท่ีไดเรยี นรูและเปรียบเทียบกบั ขอสรปุ ของตนเอง 11.ครูกระตุนใหนักเรียนฝกตั้งคําถามเกี่ยวกับเร่ืองท่ีสงสัยในอยากรู ในคร้ังถัดไป นักเรียนจะไดทํากิจกรรม ท่ี 1.2 กลางวันดาวหายไปไหน โดยสราง อีกวา จากน้ันครูอาจสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอคําถามของ แบบจาํ ลอง ครเู ตรยี มการจัดกิจกรรม ดงั น้ี ตนเองหนาช้ันเรียน และใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ 1. หลอดไฟฟาที่ใหแ สงสวา งมาก คําถามทนี่ าํ เสนอ 2. สถานทส่ี าํ หรับทําหองมดื 3. ครูใหนักเรียนทุกคนเตรียมไฟฉาย 12.ครูนาํ อภิปรายใหน ักเรยี นทบทวนวาไดฝ ก ทักษะกระบวนการทาง ของตนเองมาเพอ่ื ทาํ กิจกรรม ก อ น ทํ า กิ จ ก ร ร ม ค รู ค ว ร นํ า ไ ฟ ฉ า ย วทิ ยาศาสตรแ ละทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 อะไรบา งและใน กระบอกใหญและไฟฉายกระบอกเล็กฉาย ลงไปบนเพดานกอนท่ีจะทํากิจกรรมจริงวา ข้นั ตอนใดบา ง และใหบนั ทึกในแบบบันทกึ กจิ กรรมหนา 59 แสงจากไฟฉายตกกระทบลงบนเพดาน หรือไม เนื่องจากแสงจากไฟฉายบางดวง อาจสองไปไมถงึ บนเพดาน

คมู อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทอ งฟาของเรา 144 แนวคําตอบในแบบบันทึกกจิ กรรม สรา งแบบจําลอง กลางคนื กลางวัน คลายวงกลม ทอ งฟา ดวงจันทร และดาว ดวงอาทติ ย และดาว ดวงจนั ทร สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

145 คูมอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทองฟาของเรา  คลา ยวงกลม  ดวงอาทิตย ดวงจนั ทร และดาว  ดวงจันทร และดาว ดวงอาทติ ย และดาว ดวงจันทร

คมู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทองฟาของเรา 146 วงกลม ดวงอาทิตย ดวงจันทร ดาว แตกตา งกัน ดวงอาทติ ย ดวงจนั ทร ดาว ดวงจันทร กลางวนั วงกลม กลางคืน แตกตา งกัน สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

147 คูมอื ครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทองฟา ของเรา คาํ ถามของนักเรยี นทีต่ ้งั ตามความอยากรขู องตนเอง

คูมอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟา ของเรา 148 แนวการประเมินการเรียนรู การประเมนิ การเรยี นรขู องนักเรยี นทาํ ได ดังน้ี 1. ประเมินความรเู ดิมจากการอภิปรายในชั้นเรียน 2. ประเมินการเรียนรูจากคําตอบของนักเรยี นระหวางการจดั การเรยี นรแู ละจากแบบบนั ทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรแ ละทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนักเรียน การประเมินจากการทาํ กจิ กรรมท่ี 1.1 มองเห็นดาวอะไรบา งบนทอ งฟา ระดบั คะแนน 2 คะแนน หมายถึง พอใช 1 คะแนน หมายถงึ ควรปรับปรุง 3 คะแนน หมายถึง ดี รหสั สงิ่ ทป่ี ระเมนิ คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสังเกต S8 การลงความเหน็ จากขอมูล S14 การสรา งแบบจําลอง ทกั ษะแหงศตวรรษท่ี 21 C2 การคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ C4 การส่ือสาร C5 ความรวมมอื รวมคะแนน สถาบนั สงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

149 คูมอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา ตาราง แสดงการวเิ คราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรตามระดับความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใชเ กณฑก ารประเมนิ ดังนี้ ทกั ษะ ระดบั ความสามารถ กระบวนการทาง รายการประเมนิ วทิ ยาศาสตร ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรงุ (1) S1 การสังเกต บอกสิ่งท่ีสังเกตเห็นบน สามารถใชประสาทสัมผัส สามารถใชประสาทสัมผัส ไมสามารถใชประสาท ทองฟาในเวลากลางวันและ เก็บรายละเอียดของสิ่งที่ เก็บรายละเอียดของสิ่งที่ สัมผัสเก็บรายละเอียด กลางคืนในชวงเวลาและ มองเห็นบนทองฟาในเวลา มองเห็นบนทองฟาในเวลา ของสิ่งที่มองเห็นบน สถานท่ีที่นักเรียนสังเกต กลางวันและเวลากลางคืน กลางวันและเวลากลางคืน ทองฟาในเวลากลางวัน เ ช น เ ว ล า ก ล า ง วั น ในชวงเวลาและสถานท่ีที่ ในชวงเวลาและสถานท่ีที่ และเวลากลางคืนใน สงั เกตเห็น ดวงอาทิตย ดวง นักเรียนสังเกตไดอยาง นักเรียนสังเกตไดอยาง ชวงเวลาและสถานท่ีที่ จันทร เมฆ นก เครื่องบิน ถูกตอ งและครบถวน ถูกตอ งแตไ มครบถว น นักเรียนสังเกตไดอยาง แ ล ะ เ ว ล า ก ล า ง คื น ถกู ตอ ง สังเกตเห็นดาว ดวงจันทร เมฆ เครอ่ื งบนิ S8 ก า ร ล ง แสดงความคิดเห็นวาส่ิงที่ บอกไดวาสิ่งใดเปนดาวจาก บอกไดวาสิ่งใดเปนดาว บอกไดวาสิ่งใดเปนดาว ค วา มเ ห็ น มองเห็นบนทองฟาสิ่งใด ขอมูลและประสบการณเดิม จ า ก ข อ มู ล แ ล ะ จ า ก ข อ มู ล แ ล ะ จากขอมลู เปนดาว เชน ดาวดวง ไดอ ยา งถกู ตอ งและมีเหตผุ ล ประสบการณเดิมไดอยาง ประสบการณเดิมไดไม อาทิตย ดวงจันทร เปน ถูก ต อ งแ ต ไ ม มีเ ห ตุ ผ ล ถูกตอง ดาวเพราะมีรูปรางคลาย สนับสนุนคาํ ตอบ วงกลมสวางอยูบนทองฟา แตเมฆไมใชดาวเพราะมี รูปรางไมคงท่ี S14 ก า ร ส ร า ง สรางแบบจําลองดาวท่ี สามารถสรางแบบจําลองดาว สามารถสรางแบบจําลองดาว ไ ม ส า ม า ร ถ ส ร า ง แบบจาํ ลอง มองเห็นบนทองฟาเวลา ที่มองเห็นบนทองฟาเวลา ท่ีมองเห็นบนทองฟาเวลา แบบจําลองดาวท่ีมองเห็น กลางวันและกลางคืน โดย กลางวันและกลางคนื โดยดาว กลางวันและกลางคืน โดย บนทองฟาเวลากลางวัน ดาวที่มองเห็นบนทองฟา ที่มองเห็นบนทองฟาเวลา ดาวท่ีมองเห็นบนทองฟา และกลางคืน โดยดาวที่ เวลากลางวัน ไดแก ดวง กลางวัน ไดแก ดวงอาทิตย เวลากลางวัน ไดแก ดวง มองเห็นบนทองฟาเวลา อาทิตย ดวงจันทร สวนดาว ดวงจันทร สวนดาวท่ีมองเห็น อาทิตย ดวงจันทร สวนดาว กลางวัน ไดแ ก ดวงอาทิตย ที่มองเห็นบนทองฟาเวลา บนทองฟาเวลากลางคืน ที่มองเห็นบนทองฟาเวลา ดวงจันทร สวนดาวท่ี กลางคืน ไดแก ดวงจันทร ไดแ ก ดวงจนั ทร ดาว ไดอยาง กลางคืน ไดแก ดวงจันทร มองเห็นบนทองฟาเวลา ดาว ถกู ตองและครบถว น ดาวไดอยางถูกตองแตไม กลางคืน ไดแก ดวงจันทร ครบถวน ดาว

คมู อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา 150 ตาราง แสดงการวเิ คราะหท ักษะแหง ศตวรรษที่ 21 ตามระดบั ความสามารถของนกั เรียน โดยอาจใชเกณฑการประเมนิ ดังนี้ ทักษะแหง รายการประเมิน ระดบั ความสามารถ ศตวรรษที่ 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1) C2 การคิดอยางมี บอกเหตุ ผ ล แล ะ สามารถบอกเหตุผลและ สามารถบอกเหตุผลและ ไมสามารถบอกเหตุผล วิจารณญาณ ตัดสินใจเลือกวาส่ิง ตัดสนิ ใจเลือกวา สง่ิ ใดเปน ตัดสินใจเลือกวาสิ่งใด และตัดสินใจเลือกวาสิ่งใด ใดเป นดาวส่ิ งใด ดาวส่ิงใดไมใชดาวไดดวย เปนดาวส่ิงใดไมใชดาวได เปนดาวสิ่งใดไมใชดาวได ไมใ ชด าว ตนเอง โดยตองอาศัยการช้ีแนะ แมวาจะไดรับคําช้ีแนะ จากครูหรือผูอ ืน่ จากครหู รอื ผอู ่นื C4 การสือ่ สาร นําเสนอวาสิ่งใดเปน แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ ไมสามารถใหเหตุผลวาส่ิง ด า ว ไ ด อ ย า ง มี นํ า เ ส น อ แ บ บ จํ า ล อ ง นํ า เ ส น อ แ บ บ จํ า ล อ ง ใ ด เ ป น ด า ว แ ล ะ ส ร า ง เหตุผลและนําเสนอ ทองฟาเวลากลางวันและ ทองฟาเวลากลางวันและ แบบจาํ ลองไดไ มถกู ตอง แบบจําลองดาวบน กลางคนื ไดถ กู ตอง กลางคนื ไดไ มถ ูกตอง ทองฟา C5 ความรว มมือ การมีสวนรวมใน ทํางานรวมกับผูอ่ืนอยาง ทํางานรวมกับผูอื่นอยาง ไมสามารถทํางานรวมกับ การทํากิจกรรม ส ร าง ส ร รค ใน กา รทํ า ส รางส รร คในการทํ า ผูอื่นอยางสรางสรรคใน กิจกรรมเกี่ยวกับดาวท่ี กิจกรรมเกี่ยวกับดาวที่ การทํากิจกรรมเกี่ยวกับ มองเห็นบนทองฟา และ มองเห็นบนทองฟา และ ดาวท่ีมองเห็นบนทองฟา การนาํ เสนอหรือจัดแสดง การนําเสนอหรือจัดแสดง และการนําเสนอหรือจัด แ บ บ จํ า ล อ ง ร ว ม ท้ั ง แบบจําลอง แตไมย อมรับ แสดงแบบจําลอง และไม ยอมรับความคิดเห็นของ ความคดิ เห็นของผูอนื่ ยอมรับความคิดเห็นของ ผอู น่ื ผอู น่ื สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

151 คมู ือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทอ งฟาของเรา ความรูเพมิ่ เตมิ สาํ หรับครู วิธีการสงั เกตดวงอาทติ ยอ ยางปลอดภัย 1. มองดูดวยตาเปลาผานแผนกรองแสงอาทิตย (Solar Filter) แผนกรองแสงจะกรองพลังงานของแสงอาทิตยออกไปมากกวา 99% แสงที่เหลือจึงไมสามารถทําอันตราย แกดวงตาได แผนกรอง แสงอาทิตยท่ีนํามาใช ควรเปนแผนกรองแสงท่ีมีคุณภาพ และถูกสราง ข้ึนเพ่ือกรองแสงอาทิตยโดยเฉพาะ ไดแก แผนไมลาร กระจกเคลือบ โลหะเปน ตน 2. มองผานกลองโทรทรรศนท่ีติดตั้งแผนกรองแสงอาทิตย การดูดวงอาทิตยผานกลอง โทรทรรศนจะชวยใหเห็นรายละเอียดของพื้นผิวบนดวงอาทิตย เชน จุดดับบนดวงอาทิตย โดยจะตองมี การตดิ ฟลเตอรท ม่ี คี ุณภาพไวท ่หี นากลอ ง เพื่อกรองแสงอาทิตยไ มใ หเขา สกู ลองโทรทรรศนม ากเกนิ ไป 3. วิธีโปรเจคชั่น ทําไดโดยใชกลองโทรทรรศนรับแสงอาทิตย แลวตั้งฉากรับภาพที่ออกมาจากเลนสตา วิธีนี้ชวยใหสามารถดูดวง อาทิตย ผานกลองโทรทรรศนไดทีละหลายๆ คนไมเ สียเวลา ขอ ระวงั ในการดูดวงอาทติ ย 1. การจองดูดวงอาทิตยดว ยตาเปลา จะทําใหต าบอดในระยะยาว 2. การดูดวงอาทติ ยผ านกลอ งโทรทรรศนโ ดยปราศจากแผน กรองแสงอาทติ ย จะทาํ ใหตาบอด ในทนั ที 3. การจัดกิจกรรมดูดวงอาทิตย จะตอ งมผี ูม ีความรูกาํ กับอยตู ลอดเวลา โครงการการเรียนรูในเรือ่ งวิทยาศาสตร โลกและดาราศาสตร ภายใตความรวมมือระหวาง LESA โครงการวจิ ัยโดยหอดดู าวเกิดแกว สํานักงานกองทุนสนับสนนุ การวิจัย(สกว.), จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั และวิชาการดอทคอม

คมู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทองฟาของเรา 152 กิจกรรมที่ 1.2 กลางวนั ดาวหายไปไหน กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดสรางแบบจําลองและ อธิบายสาเหตกุ ารมองไมเ ห็นดาวสวนใหญบนทองฟาใน เวลากลางวนั เวลา 3 ชว่ั โมง จุดประสงคการเรยี นรู ทาํ กิจกรรมนี้เพ่ือสรา งแบบจําลองและอธบิ ายสาเหตุ ท่ีมองไมเหน็ ดาวสว นใหญบ นทอ งฟา ในเวลากลางวนั วสั ดุ อุปกรณสาํ หรบั ทํากจิ กรรม สื่อการเรียนรูและแหลงเรียนรู สง่ิ ทค่ี รูตอ งเตรยี ม/กลมุ 1. หนังสือเรยี น ป.1 เลม 2 หนา 54-56 1. หลอดไฟฟา 2. แบบบันทึกกิจกรรม ป.1 เลม 2 หนา 60-64 ส่งิ ท่นี กั เรียนตอ งเตรยี ม/กลุม สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี  1. ไฟฉายกระบอกใหญ 1 กระบอก/หอง 2. ไฟฉายกระบอกเล็ก 1 กระบอก/คน ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร S1 การสงั เกต S7 การพยากรณ S8 การลงความเหน็ จากขอ มูล S14 การสรางแบบจําลอง ทกั ษะแหงศตวรรษที่ 21 C1 การสรา งสรรค C4 การส่อื สาร C5 ความรว มมือ

153 คูมือครรู ายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทองฟา ของเรา แนวการจดั การเรยี นรู 1. ครูใชคําถามเพื่อตรวจสอบความรูพน้ื ฐานเก่ียวกบั ดาวบนทองฟาของนักเรียน ดงั นี้ 1.1 ดาวอะไรทส่ี ามารถมองเห็นไดในเวลากลางวัน เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบ ค รู รั บ ฟ ง เ ห ตุ ผ ล ข อ ง ไดต ามความเขา ใจของตนเอง) นักเรียนเปนสําคัญ ครูยังไม เฉลยคําตอบใด ๆ แตชักชวนให 1.2 เคยเห็นดาวดวงอื่นในเวลากลางวันหรือไม ดาวอะไร และเคยเห็นเวลาใด หาคาํ ตอบท่ีถูกตองจากกิจกรรม (นกั เรยี นตอบไดต ามความเขาใจของตนเอง) ตาง ๆ ในบทเรียน้ี 2. ครชู ักชวนใหน กั เรียนทํากิจกรรมท่ี 1.2 โดยใชคําถามวา อยากรูหรือไมวาเพราะ เหตุใดเราจงึ ไมเ ห็นดาวดวงอ่ืนในเวลากลางวนั 3. ครูใหนักเรียนเปดหนังสือเรียนหนา 54 อานชื่อกิจกรรมกลางวันดาวหายไปไหน และทําเปนคิดเปน โดยรวมกันอภิปรายเพ่ือตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน เก่ยี วกับจุดประสงคในการทาํ กจิ กรรมโดยใชคาํ ถาม ดงั น้ี 3.1 กิจกรรมนี้นักเรียนจะไดเรียนเรื่องอะไร (สาเหตุที่มองไมเห็นดาวสวนใหญ บนทอ งฟาในเวลากลางวนั ) 3.2 นกั เรียนจะไดเ รยี นรเู รือ่ งนีด้ วยวิธใี ด (สงั เกต และสรางแบบจําลอง) 3.3 เม่ือเรยี นแลวนักเรียนจะทําอะไรได (อธิบายสาเหตุการมองไมเห็นดาวสวน ใหญบ นทองฟาในเวลากลางวนั ) จากน้ันใหน กั เรยี นบันทกึ จุดประสงคของกิจกรรมลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 60 และอานส่ิงท่ีตองใชในการทํากิจกรรม ครูยังไมแจกวัสดุอุปกรณใหนักเรียน แต ครูนาํ มาแสดงใหน กั เรยี นดูทีละอยาง 4. นักเรียนอานทําอยางไรทีละขอแลวรวมกันอภิปรายเพ่ือสรุปลําดับข้ันตอนในการ ทํากิจกรรมตามความเขาใจ โดยครูอาจชวยเขียนสรุปสั้น ๆ บนกระดานซึ่งครูอาจ ใชค ําถามเปน แนวทางในการอภปิ รายสรปุ การทํากิจกรรม ดังตอไปน้ี 4.1 นกั เรียนใชอ ะไรแทนทอ งฟา (เพดานหอง) 4.2 นักเรียนใชอะไรแทนดวงอาทิตย ดวงจันทรและดาว (หลอดไฟฟาบน เพดานหองแทนดวงอาทิตย ไฟฉายกระบอกใหญแทนดวงจันทร และไฟ ฉายกระบอกเลก็ แทนดาว)  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทอ งฟา ของเรา 154 4.3 ถาสมมติใหเพดานหองเปนทองฟา หลอดไฟฟาบนเพดานเปนดวงอาทิตย ใน ในการตรวจสอบความรู ครเู พยี ง หองน้ีควรจะตองมีไฟฉายกระบอกใหญกี่กระบอกเพื่อแทนดวงจันทร รับฟง เหตผุ ลของนักเรยี นเปนสําคญั (นักเรียนตอบตามความเขาใจของตนเอง โดยนักเรียนควรตอบไดวา ใชไฟ และยงั ไมเฉลยคาํ ตอบใด ๆ ใหกับ ฉายกระบอกใหญเพียงกระบอกเดียว) นักเรียน แตช ักชวนนกั เรียน ไปหา คําตอบท่ีถูกตอ งจากการอานเนอ้ื เรอ่ื ง 4.4 เมื่อตองการจาํ ลองทองฟาเวลากลางคืน จะทําอยางไร (ปดประตู หนาตางและ และกจิ กรรมตา ง ๆ ในบทเรียนน้ี ชอ งที่แสงเขา จากนน้ั ปดหลอดไฟฟา ซึ่งแทนดวงอาทติ ย) 4.5 เม่อื ตอ งการจาํ ลองทอ งฟาเวลากลางวัน จะทําอยางไร (ทําหอ งใหสวาง โดย เปด ประตู หนาตาง และเปด หลอดไฟฟา บนเพดาน) 5. หลังจากแนใจวา นักเรยี นเขา ใจวิธีการทํากิจกรรมทุกคนแลว ใหนักเรียนลงมือทํา กิจกรรม ดงั น้ี 5.1 รว มกนั ทาํ หอ งใหม ืด (C5) 5.2 ฉายไฟฉายไปบนเพดาน (S14) 5.3 สงั เกตการมองเห็นแสงจากไฟฉาย (S1) 5.4 ทาํ หองใหสวาง ขณะท่ีเปดไฟฉายอยู 5.5 สังเกตการมองเหน็ แสงจากไฟฉาย และบนั ทกึ ผล (S1) 5.6 พยากรณว าถาฉายไฟฉายไปบริเวณที่มีแสงมากข้ึน แสงจากไฟฉายที่ตกบน ลงพ้ืนท่ีบริเวณนนั้ จะเปนอยา งไร (S7) 5.7 ตรวจสอบการพยากรณ โดยฉายไฟฉายไปที่หลอดไฟฟาหรือพื้นหรือผนัง อาคารกลางแจง สงั เกตการมองเห็นแสงไฟฉายอีกคร้งั หนงึ่ (S1) 6. ครูและนักเรียนรวมกันวิเคราะหและอภิปรายเกี่ยวกับสาเหตุการมองไมเห็น ดาวสวนใหญบนทองฟา (S8) (C2, C4, C5) โดยครูอาจใชคาํ ถาม ดังนี้ 6.1 เม่ือทําหองใหมืดเปรียบไดกับเวลาใด เพราะเหตุใด (กลางคืน เพราะไมมี แสงสวา งจากหลอดไฟฟาหรือจากดวงอาทติ ย) 6.2 เม่ือทําหองใหมืดและฉายไฟฉายขึ้นไปบนเพดาน การมองเห็นแสงจากไฟ ฉายแตละกระบอกท่ีตกลงบนเพดานเปนอยางไร (มองเห็นแสงจากไฟฉาย ไดช ัดเจน) สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

155 คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทอ งฟา ของเรา 6.3 แสงสวางของไฟฉายดวงใหญแ ละดวงเล็กเทียบไดกับอะไร ตามลําดับ (แสง ของดวงจันทรและดาว) 6.4 แสงไฟฉายที่ตกลงบนเพดานขณะที่หองมืด เปรียบไดกับเรามองเห็นสิ่งใด บนทองฟา (ดวงจันทรและดาว) 6.5 เมอ่ื ทําใหหองสวา งขณะทย่ี งั คงฉายไฟฉายไปบนเพดาน สังเกตเห็นแสงไฟฉายท่ี ตกลงบนเพดานเปนอยางไร เพราะเหตุใด (มองเห็นแสงจากไฟฉายที่ตกลงบน เพดานไดไมชัดเจน และอาจมองไมเห็นแสงจากไฟฉายบางดวง เพราะมีแสง สวางจากหลอดไฟฟา ท่ีสวา งกวา กลบแสงไฟฉาย) 6.6 การมองไมเห็นดาวสวนใหญบนทองฟาเวลากลางวันเทียบไดกับการฉายแสง จากไฟฉายตอนหองมืดหรือหองสวาง (หองสวา ง) 6.7 เพราะเหตุใดเราจึงมองไมเห็นดาวสวนใหญในเวลากลางวัน (แสงจากดวง อาทิตยสวางมาก จนกลบแสงของดาวเหลา นนั้ ) 6.8 ในเวลากลางวันมีดาวตาง ๆ อยูบนทองฟาหรือไม ถามีเพราะเหตุใดจึงมอง ไมเห็นดาวเหลานั้น (มี แตท่ีมองไมเห็นดาวเหลาน้ันเวลากลางวัน เพราะ แสงจากดวงอาทิตยก ลบแสงของดาวเหลา นนั้ ) 6.9 เพราะเหตุใดบางวัน เราจะเห็นดวงจันทรเวลาเชาตรูหรือเวลาเย็น (เพราะ แสงจากดวงอาทิตยตอนเชามืดและตอนเย็นไมสวางมาก จึงกลบแสงของดวง จันทรแ ละดาวบางดวงไมได) 7. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและลงขอสรุปวา เรามองเห็นดาวสวนใหญใน เวลากลางคืนเพราะไมมีแสงจากดวงอาทิตยกลบแสงของดาวเหลาน้ัน แตตอน กลางวนั มแี สงจากดวงอาทิตยทสี่ วางมาก จึงกลบแสงของดาวเหลานั้นทําใหมอง ไมเ ห็นดาวสว นใหญ 8. นักเรียนรวมกันอภิปรายเพื่อตอบคําถามในฉันรูอะไร โดยครูอาจใชคําถาม เพม่ิ เตมิ กระตุน การอภปิ รายเพอ่ื ใหไดค าํ ตอบท่ีถูกตอง 9. ครูใหนักเรียนสรุปส่ิงท่ีไดเรียนรูในกิจกรรมนี้ จากน้ันครูใหนักเรียนอานส่ิงที่ได เรียนรูและเปรยี บเทียบกบั ขอ สรุปของตนเอง  สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คูมือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทอ งฟา ของเรา 156 10.นักเรียนตั้งคําถามในอยากรูอีกวา จากนั้นครูสุมนักเรียน 2-3 คน นําเสนอ คําถามของตนเองหนา ชน้ั เรยี น และใหน กั เรยี นรวมกนั อภิปรายเก่ียวกับคําถามท่ี นําเสนอ 11.ครูนําอภิปรายใหนักเรียนทบทวนวาไดฝกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร และทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 อะไรบางและในข้ันตอนใดบาง และใหบันทึกใน แบบบันทึกกิจกรรม หนา 64 12.ครูใหน กั เรียนใชแอพพลิเคช่ันสําหรับการสังเกตภาพเสมือนจริง (AR) ของดาวที่ มองเหน็ บนทอ งฟาและการมองเหน็ แสงของดาวบนทองฟาเวลากลางวันกับเวลา กลางคนื ในหนงั สือเรียน หนา 57 13.ครูอาจชักชวนนักเรียนรวมกันอภิปรายคําถาม ในชวนคิด ในหนังสือเรียนหนา 56 โดยอาจใหน ักเรยี นไปสบื คนขอ มลู เพ่ือหาคําตอบ 14.นักเรียนรวมกันอาน รูอะไรในเรื่องนี้ ในหนังสือเรียน หนา 57 ครูนําอภิปราย เพ่ือนําไปสูขอสรุปเกี่ยวกับส่ิงท่ีไดเรียนรูในเรื่องนี้ จากนั้นครูกระตุนใหนักเรียน ตอบคําถาม (ถานักเรียนหลงปาแลวมีพลุอยู 1 อัน นักเรียนจะเลือกจุดพลุใน เวลาใด) โดยครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายแนวทางการตอบคําถาม เชน เลือ- กจุดพลุในเวลากลางคืน เพราะไมมีแสงจากดวงอาทิตยมากลบแสงจากพลุ จะทํา ใหสังเกตแสงจากพลุไดชัดเจน ครูเนนใหนักเรียนตอบคําถามพรอมอธิบายเหตุผล ประกอบ สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 

157 คูมือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทอ งฟา ของเรา แนวคาํ ตอบในแบบบันทกึ กจิ กรรม อธบิ าย ไมเหน็ กลางวนั มองเห็นแสงไฟฉายทต่ี กลงบนเพดานไดช ดั เจน ม อ ง เ ห็ น แ ส ง ไ ฟ ฉ า ย ที่ ต ก ล ง บ น เ พ ด า น บ า ง กระบอกไมชดั เจนหรอื มองไมเหน็  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทองฟา ของเรา 158 (นักเรียนตอบไดตามความ เขาใจของตนเอง ซ่ึงนักเรียนจะตอบถูกหรือผิดก็ได แตครูควรสังเกต คําตอบของนักเรียนหากนักเรียนตอบโดยมีแนวคิดคลาดเคลื่อนครูจะ ไดป รบั แกใหเปนแนวคดิ ทถ่ี ูกตองในภายหลงั ) ไมช ัดเจนหรือมองไมเ หน็ สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

159 คมู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทอ งฟาของเรา ไมชดั เจน ชดั เจน หลอดไฟฟา มองไมเหน็ ไฟฉาย ดวงอาทติ ย มองไมเ ห็น ดวงจันทรแ ละดาว ดวงอาทิตย มองเหน็ ดวงจนั ทรและดาว  สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทองฟา ของเรา 160 เชา เยน็ แสง ดวงอาทติ ย ดวงอาทิตย ดวงจนั ทร ดาว กลางวัน ดาว แสง ดวงอาทิตย กลบแสง ดาว สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

161 คูม อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยที่ 4 โลกและทอ งฟา ของเรา มองไมเห็น แสง ดวงอาทิตย ดาว คํ า ถ า ม ข อ ง นั ก เ รี ย น ท่ี ต้ั ง ต า ม ความอยากรูของตนเอง มองเห็นได หากเวลาที่เรามองทองฟาแสงของดวงอาทิตยไมสวางมากจนกลบ แสงของดาวบางดวงและดวงจนั ทร เชน ในเวลาเย็นหรือเชา มืด  สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูม อื ครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยที่ 4 โลกและทองฟาของเรา 162 แนวการประเมินการเรียนรู การประเมนิ การเรยี นรขู องนกั เรยี นทาํ ได ดงั น้ี 1. ประเมนิ ความรเู ดิมจากการอภปิ รายในชั้นเรียน 2. ประเมินการเรยี นรูจากคําตอบของนักเรยี นระหวา งการจัดการเรียนรูแ ละจากแบบบันทึกกจิ กรรม 3. ประเมนิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรและทกั ษะแหง ศตวรรษที่ 21 จากการทํากิจกรรมของนกั เรยี น การประเมินจากการทาํ กิจกรรมท่ี 1.2 กลางวนั ดาวหายไปไหน ระดับคะแนน 2 คะแนน หมายถงึ พอใช 1 คะแนน หมายถึง ควรปรับปรงุ 3 คะแนน หมายถงึ ดี รหัส สง่ิ ทป่ี ระเมนิ คะแนน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร S1 การสงั เกต S7 การพยากรณ S8 การลงความเหน็ จากขอ มลู S14 การสรา งแบบจําลอง ทักษะแหงศตวรรษท่ี 21 C2 การคิดอยางมีวจิ ารณญาณ C4 การสอ่ื สาร C5 ความรวมมือ รวมคะแนน สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

163 คมู ือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทองฟา ของเรา ตาราง แสดงการวเิ คราะหทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรต ามระดับความสามารถของนักเรียน โดยอาจใชเ กณฑการประเมิน ดงั น้ี ทกั ษะ ระดับความสามารถ กระบวนการทาง รายการประเมิน ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1) วทิ ยาศาสตร S1 การสังเกต การมองเห็นแสงจากไฟ ใ ช ป ร ะ ส า ท สั ม ผั ส เ ก็ บ ใ ช ป ร ะ ส า ท สั ม ผั ส เ ก็ บ ไมสามารถใชประสาท ฉาย ขณะที่หองมืดและ รายละเอียดของแสงจากไฟ รายละเอียดของแสงจากไฟ สัมผัสเก็บรายละเอียด สวาง เชน ขณะที่หองมืด ฉ า ย ท่ี ต ก ก ร ะ ท บ ล ง บ น ฉายท่ีตกกระทบลงบนเพดาน ของแสงจากไฟฉายที่ เห็ นแส งไฟฉายที่ ตก เพดานไดด ว ยตนเอง ไดโ ดยการชวยเหลือเหลือหรือ ต ก ก ร ะ ท บ ล ง บ น กระทบลงบนเพดาน ชแ้ี นะจากผอู ืน่ เพดานได ชั ด เ จ น แ ต ข ณ ะ ที่ ห อ ง ส ว า ง ม อ ง ไ ม เ ห็ น ห รื อ มองเหน็ ไมช ัดเจน S7 การพยากรณ พยากรณวา แสงจากไฟ ใ ช ข อ มู ล ที่ มี อ ยู ห รื อ ใ ช ข อ มู ล ที่ มี อ ยู ห รื อ ไมสามารถใชขอมูลที่มี ฉายที่ตกบนลงพ้ืนใน ประสบการณเดิมพยากรณ ประสบการณเดิมพยากรณวา อยูหรือประสบการณ บริเวณที่มีแสงมากขึ้น วาแสงไฟฉายท่ีตกลงบนพ้ืน แสงไฟฉายท่ีตกลงบนพ้ืนใน เดิมพยากรณวาแสงไฟ เปนอยางไร เชน จะมอง ในบริเวณที่มีแสงมากข้ึน บริเวณท่ีมีแสงมากข้ึนเปน ฉายที่ตกลงบนพื้นใน ไมเห็นแสงจากไฟฉาย เปนอยางไรไดถูกตองและมี อยางไรไดถูกตองแตบอก บริเวณท่ีมีแสงมากข้ึน เนือ่ งจากแสงสวางบริเวณ เหตผุ ล เหตุผลไมไ ด จะเปน อยา งไร น้ันมากจนกลบแสงไฟ ฉาย S8 ก า ร ล ง ลงความคิดเห็นขอมูลวา เ พ่ิ ม เ ติ ม ค ว า ม คิ ด เ ห็ น เพ่ิมเติมความคิดเห็นเก่ียวกับ เพ่ิมเติมความคิดเห็น ค วา มเ ห็ น ในเวลากลางวันมองไม เกี่ยวกับขอมูลท่ีมีอยูจาก ขอมูลท่ีมีอยูจากขอมูลและ เก่ียวกับขอมูลท่ีมีอยู จากขอมูล เห็นดาวสวนใหญบน ขอมูลและประสบการณเดิม ประสบการณเดิมไดอยาง จ า ก ข อ มู ล แ ล ะ ทองฟา เนื่องจากมีแสง ไดอ ยางถูกตองและมีเหตผุ ล ถู ก ต อ ง แ ต ไ ม มี เ ห ตุ ผ ล ประสบการณเดิมไดไม จากดวงอาทิตยมากลบ สนับสนุนคําตอบ ถกู ตอง แสงของดาวเหลา นั้น S14 ก า ร ส ร า ง สรางแบบจําลองทองฟา ส ร า ง แ บ บ จํ า ล อ ง ก า ร สรางแบบจําลองการมองเห็นดาว สรางแบบจําลองการ แบบจําลอง เ ว ล า ก ล า ง คื น แ ล ะ มองเห็นดาวในเวลากลางวัน ในเวลากลางวันและกลางคืน เพ่ือ มองเห็นดาวในเวลา กลางวัน เพ่ือสังเกตการ และกลางคืน เพ่ือแสดง แสดงแนวคิดสําคัญไดจากการ กลางวันและกลางคืน มองเหน็ แสงของดาว แนวคดิ สําคัญไดดว ยตนเอง อาศยั ผอู ่ืนหรอื ครูชแี้ นะ เพ่ือแสดงแนวคิดสําคัญ ไมได  สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี