Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2

(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2

Published by แชร์งานครู Teachers Sharing, 2021-01-18 08:20:10

Description: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
เล่ม 1
ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Keywords: (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานวิทยาศาสตร์ ป.1 ล.2,คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์,กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560),หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Search

Read the Text Version

คูมือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทอ งฟาของเรา 164 ตาราง แสดงการวิเคราะหท ักษะแหงศตวรรษท่ี 21 ตามระดับความสามารถของนกั เรยี น โดยอาจใชเกณฑก ารประเมิน ดงั น้ี ทกั ษะแหง รายการประเมิน ระดับความสามารถ ศตวรรษท่ี 21 ดี (3) พอใช (2) ควรปรับปรุง (1) C2 การคิดอยางมี เลือกแบบจําลอง เลือกแบบจําลองทองฟา เลือกแบบจําลองทองฟา ไ ม ส า ม า ร ถ เ ลื อ ก วิจารณญาณ ท อ ง ฟ า เ ว ล า เวลากลางวันหรือกลางคืน เวลากลางวันหรือกลางคืน แบบจําลองทองฟาเวลา ก ล า ง วั น ห รื อ มาอธิบายสาเหตุการมอง มาอธิบายสาเหตุการมอง กลางวันหรือกลางคืนมา กลางคืนมาอธิบาย ไมเห็นดาวสวนใหญบน ไมเห็นดาวสวนใหญบน อธิบายสาเหตุการมองไม สาเหตุการมองไม ทองฟาเวลากลางวันได ทองฟาเวลากลางวันได เ ห็ น ด า ว ส ว น ใ ห ญ บ น เห็นดาวสวนใหญ ดว ยตนเอง โดยการชวยเหลือหรือ ทอ งฟา เวลากลางวนั บ น ท อ ง ฟ า เ ว ล า ชแี้ นะของผูอน่ื กลางวนั C4 การส่อื สาร นําเสนอขอมูลที่ได นําเสนอขอมูลที่ไดจาก นําเสนอขอมูลท่ีไดจาก นําเสนอขอมูลท่ีไดจาก จากแบบจําลอง การแบบจําลองทองฟา การแบบจําลองทองฟา การแบบจําลองทองฟา เ ว ล า ก ล า ง วั น แ ล ะ เ ว ล า ก ล า ง วั น แ ล ะ เวลากลางวันและกลางคืน กลางคืนไดถูกตองและ กลางคืนไดถูกตองและ ไดไมถกู ตอ ง เขาใจงาย เขาใจยาก C5 ความรวมมือ การมีสวนรวมใน ทํางานรวมกับผูอื่นอยาง ทํางานรวมกับผูอ่ืนอยาง ไมสามารถทํางานรวมกับ การทาํ กิจกรรม สรางสรรคในการสราง สรางสรรคในการสราง ผูอื่นอยางสรางสรรคใน แบบจําลองทองฟาเวลา แบบจําลองทองฟาเวลา ก า ร ส ร า ง แ บ บ จํ า ล อ ง กลางวันและกลางคืน กลางวันและกลางคืน ทองฟาเวลากลางวันและ และนําเสนอขอมูลที่ได และนําเสนอขอมูลท่ีได กลางคืน และนําเสนอ จากแบบจําลอง รวมท้ัง จากแบบจําลองแตไม ขอมูลที่ไดจากแบบจําลอง ยอมรับความคิดเห็นของ ยอมรับความคิดเห็นของ แ ล ะ ไ ม ย อ ม รั บ ค ว า ม ผูอ น่ื ผูอ ื่น คิดเหน็ ของผอู ่ืน สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

165 คูมอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทอ งฟาของเรา กิจกรรมทา ยบทที่ 2 ทองฟา และดาว (1 ชั่วโมง) 1. ครูใหนักเรียนวาดรูปหรือเขียนส่ิงที่ไดเรียนรูจากบทน้ี ในแบบบันทึกกิจกรรม หนา 65 2. นกั เรยี นตรวจสอบการสรุปส่ิงที่ไดเรียนรูของตนเองโดยเปรียบเทียบกับแผนภาพใน หัวขอ รูอะไรในบทนี้ ในหนังสือเรียน หนา 58-59 โดยครูสามารถประเมินการ เรียนรขู องนกั เรยี นใหไ ดตามจุดประสงคการเรียนรปู ระจาํ บท 3. นักเรียนกลับไปตรวจสอบคําตอบของตนเองในสํารวจความรูกอนเรียน ในแบบ บันทึกกิจกรรม หนา 53-54 อกี ครั้ง โดยถาคําตอบของนกั เรียนไมถ กู ตองใหนักเรียน ขดี เสนทบั ขอ ความเหลา นนั้ แลว แกไ ขใหถ กู ตอ ง หรืออาจแกไขคําตอบดวยปากกาที่ มีสีตางจากเดิม นอกจากน้ีครูอาจนําคําถามในรูปนําบทในหนังสือเรียนหนา 47 มารวมกันอภิปรายคําตอบกับนักเรียนอีกคร้ัง ดังน้ี “มองเห็นอะไรบางบนทองฟา ส่งิ ที่มองเหน็ บนทองฟาเวลากลางวันและกลางคืนแตกตางกันหรือไม บอกไดหรือวา สิ่งทเ่ี ห็นมีอะไรเปน ดาว” ครูและนักเรยี นรวมกัน อภิปรายแนวทางการตอบคําถาม เชน บนทอ งฟามองเห็นเมฆ ดวงจันทร ดาว และแสงจากดวงอาทิตย และจากภาพ อาจบอกไมไดวาส่ิงท่ีมองเห็นบนทองฟาเวลากลางวันและกลางคืนแตกตางกัน หรือไม แตจากประสบการณเดิมเด็กอาจตอบวาแตกตางกัน โดยท่ีเวลากลางคืนจะ มองไมเ ห็นดวงอาทิตย แตเวลากลางวันจะมองเห็นดวงอาทิตย และสามารถบอกได วาบนทองฟา มอี ะไรเปนดาว” 4. นักเรียนทําแบบฝกหัดทายบทที่ 2 ทองฟาและดาว และนําเสนอคําตอบหนาชั้น เรียน ถาคําตอบยังไมถูกตอง ครูนําอภิปรายหรือใหสถานการณเพ่ิมเติมเพื่อแกไข แนวคดิ คลาดเคลอ่ื นใหถกู ตอง 5. นักเรียนรว มกนั ทาํ กจิ กรรมรว มคดิ รวมทํา จากอุปกรณที่กําหนดโดยออกแบบภาพ รา ง ลงมือสรางช้ินงานตามแบบทรี่ า ง ทดสอบปรับปรงุ และนําเสนอ 6. นักเรียนรวมกันอานและอภิปรายเน้ือเรื่องในหัวขอวิทยใกลตัว โดยครูกระตุนให นักเรียนเห็นความสําคัญของความรูจากส่ิงท่ีไดเรียนในหนวยน้ีวาสามารถนําไปใช ประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางไรบาง เชน ในเรื่องน้ีนักเรียนไดรูแลววาถาเรามอง  สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คูมอื ครูรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทองฟา ของเรา 166 ทองฟาในเวลากลางวัน ซึ่งมีแสงจากดวงอาทิตยท่ีสวางมาก ทําใหมองไมเห็นดาวสวน ใหญบนทอ งฟา เพราะแสงจากดวงอาทติ ยส วางกวาจึงกลบแสงของดาวเหลาน้ัน แตใน เวลาเชามืดหรือในเวลาเย็นคนบนโลกอาจมองเห็นดาวพุธ ดาวศุกร หรือดาวบางดวง ได เนื่องจากแสงจากดวงอาทิตยยังไมสวางมากนัก ซ่ึงความรูในเร่ืองนี้สามารถนําไป เปรียบเทียบกับเหตุการณที่นักเรียนพบเห็นไดท่ัวไป เชน เวลาเราดูภาพวาดหรือ ภาพถายซ่ึงในภาพมีสีท่ีออนมาก แลวเราฉายไฟไปท่ีภาพน้ันสีน้ันอาจจะหายไปเลยก็ เปน ได (คลา ยกบั ตอนสแกนภาพ) 7. ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบทายเลม เพ่ือเปนการประเมินการเรียนรูของนักเรียน ตลอดภาคเรียน หากนักเรียนยังมีแนวคิดคลาดเคล่ือน ครูและนักเรียนอาจรวมกัน อภิปรายคําตอบเพื่อชว ยใหน ักเรยี นมแี นวคิดท่ีถูกตอง สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

167 คูม อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนว ยท่ี 4 โลกและทอ งฟา ของเรา สรปุ ผลการเรียนรูของตนเอง รปู หรอื ขอความสรปุ ส่ิงทไ่ี ดเรียนรูจากบทนี้ ตามความเขาใจของตนเอง  สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | หนวยท่ี 4 โลกและทอ งฟาของเรา 168 แนวคาํ ตอบในแบบฝก หัดทายบท 1, 3, 6, 8 2, 4, 5, 7 สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

169 คูมอื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | แบบทดสอบทา ยเลม แนวคาํ ตอบในแบบทดสอบทา ยเลม  สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | แบบทดสอบทายเลม 170 สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

171 คูม อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | แบบทดสอบทา ยเลม  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

คมู ือครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 | แบบทดสอบทายเลม 172 สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 

173 คูม อื ครูรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร ป.1 เลม 2 | แบบทดสอบทา ยเลม  สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

บรรณานกุ รม | คูม อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร ป.1 เลม 2 174 บรรณานุกรม ราชบณั ฑติ ยสถาน. (2557). ทักษะแหง ศตวรรษที่ 21. สืบคน 30 เมษายน 2560, จาก http://www.royin.go.th สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. กระทรวงศึกษาธิการ.(2561). ตัวช้ีวัดและสาระการ เรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. โรงพิมพชุมชนสหกรณการเกษตรแหงประเทศ ไทย จาํ กดั . สํานกั งานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ. (11 มีนาคม 2558). การรูดิจิทัล (Digital literacy). สืบคนเม่ือ 30 เมษายน 2561, จาก https://www.nstda.or.th/th/nstda-knowledge/142- knowledges/2632. Fries-Gaither, J. (2009). Common misconceptions about biomes and ecosystems. สืบคนวันที่ 7 มกราคม 2560. http://beyondpenguins.ehe.osu.edu/issue/tundra-life-in-the-polar- extremes/common-misconceptions-about-biomes-and-ecosystems Missouri Department of Elementary and Secondary Education. (2005). Alerts to student difficulties and misconceptions in science, สบื คน วนั ที่ 7 มกราคม 2560. https://dese.mo.gov/ sites/ default/ files/alerts-to-student-difficulties-misconceptions-in-science.pdf Pine, K., Messer D., and John, K. (2010). Children’s misconceptions in primary science: A survey of teachers’ views. Research in Science & Technological Education. 19(1), 79-96. Wynn, A.N., Pan, I. L., Rueschhoff, E. E., Herman, M. A. B., Archer, K. (2017). Supplemental materials for student misconceptions about plant-a first step in building a teaching resource. Journal of Microbiology & Biology Education. 18(1): 18.1.11. สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 

คมู อื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร ชน้ั ประถมศกึ ษาปที่ ๑ เลม ๒ ผูอํานวยการสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี คณะที่ปรกึ ษา ผูชวยผูอํานวยการสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ศาสตราจารย ดร.ชูกิจ ลมิ ปจาํ นงค สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ดร. กศุ ลิน มสุ กิ ุล สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี สถาบันสง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี คณะผจู ดั ทําคูมอื ครู สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดร. กุศลนิ มุสกิ ุล สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี นางชุติมา เตมียสถิต สถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี นางก่ิงแกว คูอมรพฒั นะ สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี นางสาวดวงกมล เหมะรตั สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี นางสาววราภรณ ถริ สริ ิ สถาบนั สง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นางสาวลดั ดาวัลย แสงสาํ ลี สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดร. เทพกัญญา พรหมขัติแกว สถาบันสง เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ดร. เบ็ญจวรรณ หาญพิพัฒน สถาบันสงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ดร. พจนา ดอกตาลยงค สถาบนั สงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ดร. วนั ชัย นอยวงค สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ดร. ณฐั ธดิ า พรหมยอด สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ดร. เสาวลักษณ บวั อิน สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นางสาวรตพร หลนิ นางสาวภคมน เนตรไสว ขาราชการบํานาญ นางสาวลกั ษมี เปรมชัยพร ขาราชการบํานาญ นางสาวจีรนนั ท เพชรแกว ขา ราชการบาํ นาญ นางสาวกมลลักษณ ถนัดกจิ คณะบรรณาธิการ ผชู ว ยศาสตราจารยร ัชดา สตุ รา นางณฐั สรวง ทพิ านุกะ หมอ มหลวงพิณทอง ทองแถม



สถาบนั สงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST) www.ipst.ac.th