240 บทท่ี 25 | มนุษย์กับความย่งั ยนื ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ชีววทิ ยา เลม่ 6 หลกั การบ�ำ บดั น�ำ้ เสยี ดว้ ยเครอ่ื ง PAC 1. ใหม้ ลสารทผี่ สมอยใู่ นนำ�้ ทัง้ ขนาดใหญแ่ ละขนาดเลก็ เกิดการตกตะกอน 2. กรณที ม่ี มี ลสารขนาดเลก็ เกดิ การแขวนลอยและแพรก่ ระจายผสมอยใู่ นน�้ำ จนยากแกก่ าร ตกตะกอน ให้เติมสารเพื่อช่วยเร่งการตกตะกอนให้เร็วข้ึนโดย “สารช่วยเร่งการตก ตะกอน” สารชว่ ยเรง่ การตกตะกอนนม้ี อี ยหู่ ลายชนดิ เชน่ สารสม้ เฟอรร์ กิ คลอไรด์ เฟอร์ รกิ ซลั เฟตโซเดยี มอลเู มต และปนู ขาว ซงึ่ วธิ กี ารนจี้ �ำ เปน็ ตอ้ งใชส้ ารโซดาไฟชว่ ยปรบั สภาพ ความเป็นกรดเป็นด่างของน้ำ�ให้เหมาะสมด้วย แต่สารช่วยเร่งการตกตะกอนที่มีพัฒนา ใหมล่ ่าสดุ น้ี เรียกวา่ “โพลีอลูมินมั คลอไรด์” (Poly Aluminum Chloride) เรียกส้นั ๆ ว่า PAC กระบวนการท�ำ งานของเครอ่ื ง PAC ขน้ั ท่ี 1 : น�ำ้ เสยี เขา้ ระบบขน้ั ตน้ (influent discharge) โดยวธิ กี ารปม๊ั น�ำ้ สบู สง่ น�ำ้ ดบิ ใหไ้ หล ผา่ นเขา้ เสน้ ทอ่ พรอ้ มทง้ั ใชป้ ม๊ั เตมิ สารเรง่ ตกตะกอน (dosing pump) เขา้ สเู่ สน้ ทอ่ เพอ่ื ผสมกบั น�ำ้ ดบิ ใน ปรมิ าณทเ่ี หมาะสม ขน้ั ท่ี 2 : เขา้ สรู่ ะบบกวนเรว็ (rapid mixer) เปน็ ขน้ั ตอนทเ่ี กดิ การผสมคลกุ เคลา้ กนั อยา่ งรวดเรว็ ระหว่างนำ้�ดิบและสารเร่งตกตะกอนภายในท่อกวนเร็วท่ีออกแบบเป็นแผ่นเกลียว เพ่ือบังคับนำ้�ท่ีมี ความเรว็ ใหไ้ หลวนและปน่ั ปว่ น (turbulence) จนเกดิ เปน็ กระบวนการผสมระหวา่ งของเหลวทง้ั สองชนดิ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และสมบรู ณ์ ขน้ั ท่ี 3 : ผา่ นไปยงั ระบบกวนน�ำ้ (slow mixer) ดว้ ยการลดความเรว็ ของน�ำ้ จากทอ่ กวนเรว็ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การรวมตวั ของอนภุ าคสารแขวนลอย จนกลายเปน็ กลมุ่ กอ้ นขนาดใหญ่ (flock) แลว้ จงึ ไหล ออกจากถงั กวนชา้ ผา่ นแผน่ กน้ั ลดความเรว็ ของน�ำ้ เปน็ ระยะตอ่ เนอ่ื งกนั ข้ันท่ี 4 : ระบบการตกตะกอน ด้วยการออกแบบรูปทรงถังตกตะกอนแบบทรงกลม (sedimentation tank) ซ่ึงทำ�หน้าท่ีทำ�ให้กลุ่มก้อนของอนุภาคสารแขวนลอยท่ีจับตัวกันสามารถ ตกตะกอนลงสกู่ น้ ถงั ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ สว่ นน�ำ้ ใสทผ่ี า่ นการตกตะกอนแลว้ จะไหลลน้ กระจายออกสดู่ า้ นบน ตามเสน้ รอบวง แลว้ ผา่ นระบบการกรองตะกอนลอย ตอ่ จากนน้ั จงึ ไหลลงสรู่ เู จาะดา้ นลา่ งทบ่ี งั คบั ใหน้ �ำ้ ไหลเปน็ ฝอย เพอ่ื ใหน้ �ำ้ มพี น้ื ทส่ี มั ผสั กบั อากาศไดม้ ากทส่ี ดุ อนั เปน็ การเตมิ อากาศใหก้ บั น�ำ้ ขน้ั สดุ ทา้ ยอกี ครง้ั หนง่ึ กอ่ นทจ่ี ะน�ำ เอาน�ำ้ นไ้ี ปใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 6 บทท่ี 25 | มนุษย์กับความยัง่ ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 241 การบ�ำ บดั น�ำ้ เสยี ดว้ ย PAC น้ี ไดร้ บั ผลดเี ปน็ ทน่ี า่ พอใจยง่ิ ดว้ ยวธิ กี ารขจดั น�ำ้ ขนุ่ ไดด้ กี วา่ สารสม้ ถงึ 3 เทา่ และไมเ่ กดิ ความเสยี หายใดดงั ทเ่ี กดิ จากสารสม้ ประกอบกบั ตกตะกอนไดร้ วดเรว็ และประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยมาก จงึ นบั เปน็ อปุ กรณห์ นง่ึ ทส่ี ามารถเขา้ มามบี ทบาทในกระบวนการ recycle ทส่ี �ำ คญั ยง่ิ ทจ่ี ะ น�ำ น�ำ้ เสยี กลบั มาใชป้ ระโยชนไ์ ดอ้ กี ในอนาคต ทีม่ า โครงการพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เก่ียวกับการอนุรักษ์นำ้�และการบำ�บัดนำ้�เสีย สำ�นักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำ�ริ จากโครงการพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร ท่เี ก่ยี วข้องกับการแก้ไขปัญหาคุณภาพนำ�้ สามารถสรุปวิธีการบำ�บัดนำ�้ เสีย ไดด้ งั น้ี การใชน้ �ำ้ ดไี ลน่ �ำ้ เสยี เปน็ การบ�ำ บดั น�ำ้ เสยี โดยใชน้ �ำ้ ทม่ี คี ณุ ภาพดชี ว่ ยเจอื จางน�ำ้ เสยี โดยใชห้ ลกั แรงโนม้ ถว่ งโลก เชน่ การไลน่ �ำ้ เสยี ในคคู ลองในกรงุ เทพมหานครจากการระบายน�ำ้ ดจี ากแมน่ �ำ้ เจา้ พระยา เขา้ สคู่ คู ลอง ท�ำ ใหน้ �ำ้ เสยี ในคคู ลองเจอื จางลงและเกดิ การหมนุ เวยี นน�ำ้ สง่ ผลใหน้ �ำ้ เสยี ในคคู ลองมสี ภาพ ดขี น้ึ ไตธรรมชาติ เปน็ การบ�ำ บดั น�ำ้ เสยี แบบธรรมชาตโิ ดยใชผ้ กั ตบชวาชว่ ยดดู ซบั สารมลพษิ ในน�ำ้ เป็นการทำ�งานร่วมกันระหว่างสาหร่ายกับแบคทีเรียในเวลากลางวันสาหร่ายจะสังเคราะห์ด้วยแสง จากการใช้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแสง ได้คาร์โบไฮเดรตและแก๊สออกซิเจนซ่งึ แก๊สออกซิเจนน้ี แบคทเี รยี จะน�ำ ไปใชใ้ นการสลายอนิ ทรยี ใ์ นน�ำ้ เสยี และไดแ้ กส๊ คารบ์ อนไดออกไซดซ์ ง่ึ สาหรา่ ยน�ำ มาใชใ้ น การสังเคราะห์ด้วยแสง เน่อื งจากอัตราการเติมแก๊สออกซิเจนค่อนข้างตำ�่ ดังน้นั การเจริญเติบโตของ แบคทเี รยี จงึ ถกู จ�ำ กดั ดว้ ยปรมิ าณของแกส๊ ออกซเิ จน โดยวธิ กี ารนไ้ี ดน้ �ำ ไปใชใ้ นบงึ มกั กะสนั เพอ่ื เปน็ แหลง่ รองรบั น�ำ้ เสยี จากชมุ ชนในกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล หลกั ธรรมชาตบิ �ำ บดั เปน็ การบ�ำ บดั น�ำ้ เสยี ดว้ ยระบบบอ่ บ�ำ บดั และพชื น�ำ้ ประกอบดว้ ย ระบบ บ�ำ บดั หลกั ซง่ึ จะมบี อ่ ตกตะกอน บอ่ บ�ำ บดั บอ่ ปรบั คณุ ภาพน�ำ้ และระบบบ�ำ บดั รองซง่ึ จะมรี ะบบยอ่ ยคอื ระบบบงึ ชวี ภาพ ระบบกรองน�ำ้ เสยี ดว้ ยหญา้ และระบบกรองน�ำ้ เสยี ดว้ ยปา่ ชายเลน โดยวธิ กี ารนไ้ี ดน้ �ำ ไปใช้ในโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาส่ิงแวดล้อมแหลมผักเบ้ียอันเน่ืองมาจากพระราชดำ�ริ จังหวัด เพชรบรุ ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
242 บทที่ 25 | มนุษย์กับความยง่ั ยืนของทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม ชวี วิทยา เล่ม 6 การเตมิ อากาศโดยใชก้ งั หนั น�ำ้ ชยั พฒั นา เปน็ การบ�ำ บดั น�ำ้ เสยี โดยใชเ้ ครอ่ื งกลเตมิ อากาศแบบ ท่นุ ลอย สามารถปรับตัวข้นึ ลงได้ตามระดับข้นึ ลงของผิวนำ�้ กังหันนำ�้ ชัยพัฒนาช่วยในการเติมอากาศ และท�ำ ใหเ้ กดิ การไหลเวยี นของน�ำ้ ตามทศิ ทางทก่ี �ำ หนด 25.2.2 ทรพั ยากรดิน ครอู าจใชภ้ าพตา่ ง ๆ เพอ่ื น�ำ เขา้ สหู่ วั ขอ้ ทรพั ยากรดนิ เชน่ ตน้ พชื ทเ่ี จรญิ เตบิ โตอยบู่ นดนิ บา้ น ทอ่ี ยอู่ าศยั ทป่ี ลกู อยบู่ นพน้ื ดนิ การสญั จรบนบก จากนน้ั ใชค้ �ำ ถามเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย ดนิ มคี วามสำ�คญั ตอ่ มนุ ษยแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ มอย่างไร ถ้าในโลกไมม่ ีดิน มีแตน่ �ำ้ จะเกดิ อะไรข้นึ และส่งผลตอ่ มนุษย์และสงิ่ แวดลอ้ มอย่างไร ค�ำ ตอบจากการอภปิ รายของนกั เรยี นอาจมหี ลากหลายขน้ึ อยกู่ บั ความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี น แต่ สามารถสรุปได้ว่า ดินมีความสำ�คัญต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อมเพราะดินถูกนำ�มาใช้ประโยชน์ด้าน การเกษตรสำ�หรับเป็นท่ยี ึดเกาะของราก ดินกักเก็บนำ�้ ไว้ในช่องว่างระหว่างอนุภาคดิน และยังให้ธาตุ อาหารกบั พชื ท�ำ ใหพ้ ชื เจรญิ เตบิ โตและเปน็ แหลง่ อาหารของมนษุ ยแ์ ละสตั วต์ า่ ง ๆ ดนิ เปน็ ทป่ี ลกู สรา้ งท่ี อยอู่ าศยั ถา้ ในโลกไมม่ ดี นิ มนษุ ยแ์ ละสตั วต์ า่ ง ๆ บางชนดิ ทอ่ี าศยั อยบู่ นบกอาจสญู พนั ธ์ุ และตายลง เพราะ ไมส่ ามารถปรบั ตวั ใหอ้ าศยั อยใู่ นน�ำ้ ได้ และพชื ทเ่ี จรญิ อยบู่ นบกตายท�ำ ใหไ้ มม่ อี าหารส�ำ หรบั มนษุ ยแ์ ละ สตั วต์ า่ ง ๆ ทก่ี นิ พชื เปน็ อาหาร นอกจากนก้ี ารสญั จรและการคมนาคมขนสง่ ทางบกกเ็ กดิ บนผนื แผน่ ดนิ ดนิ จงึ มปี ระโยชนต์ อ่ มนษุ ยอ์ ยา่ งมากมาย จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 25.5 และรปู 25.6 สดั สว่ นองคป์ ระกอบของดนิ และชน้ั ของดนิ ในหนงั สอื เรยี นซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ วา่ ดนิ ประกอบดว้ ยแรธ่ าตใุ นสดั สว่ นมากทส่ี ดุ และมอี นิ ทรยี วตั ถใุ นสดั สว่ น นอ้ ยทส่ี ดุ มนี �ำ้ และอากาศในสดั สว่ นเทา่ ๆ กนั ส�ำ หรบั ชน้ั ของดนิ ในสว่ นชน้ั ผวิ ดนิ เปน็ ชน้ั ของอนิ ทรยี วตั ถุ ทม่ี ใี บไม้ กง่ิ ไมท้ ร่ี ว่ งหลน่ มาและเรม่ิ ผพุ งั บา้ งแลว้ ดงั นน้ั ดนิ ในแตล่ ะบรเิ วณอาจแตกตา่ งกนั ไดข้ น้ึ อยกู่ บั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ของแตล่ ะชน้ั ของดนิ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี การใช้ประโยชนจ์ ากดนิ ยังมดี า้ นใดอีกบา้ ง ยกตัวอยา่ ง สามารถน�ำ มาใช้ประโยชน์ในการท�ำ เครื่องปนั้ ดนิ เผา ทำ�กอ้ นอฐิ มอญ การสรา้ งบ้านจากดิน รวมทั้งเวชสำ�อาง เช่น ดินโคลนหมักใช้พอกหน้า ลำ�ตัว หรือใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ ศึกษาวิจัย และทดลอง และเป็นส่ือประกอบการเรียนการสอน เป็นต้น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เลม่ 6 บทที่ 25 | มนษุ ย์กบั ความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม 243 การใช้ประโยชนจ์ ากดนิ ท�ำ ใหเ้ กิดปัญหาอะไรบา้ ง และสาเหตทุ ท่ี ำ�ใหเ้ กดิ ปญั หาคอื อะไร การใช้เพ่ือการเพาะปลูก เช่น การปลูกพืชเชิงเด่ียวทำ�ให้ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ การใช้ สารเคมีทางการเกษตรทำ�ให้เกดิ ตกค้างของสารเคมใี นดนิ การใช้ท่ดี ินผิดประเภท เชน่ บริเวณทรี่ าบลมุ่ ทม่ี ีนำ�้ ทว่ มขังใช้เป็นแหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั ท�ำ ใหข้ าด แหล่งรับนำ้�ตามธรรมชาติ การตกั และการขุดเจาะหนา้ ดนิ ท�ำ ให้เกดิ การพังทลายของดิน ปัญหาที่เกดิ จากการใชท้ รพั ยากรดิน ปญั หามลพษิ ทางดนิ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 25.7 ในหนงั สอื เรยี น และถามนกั เรยี นวา่ การทง้ิ ขยะลงในดนิ เปน็ สาเหตุ ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ มลพษิ ทางดนิ หรอื ไม่ และนกั เรยี นคดิ วา่ การเกดิ มลพษิ ทางดนิ นา่ จะมาจากสาเหตอุ น่ื ใดไดอ้ กี บา้ ง ซง่ึ ค�ำ ตอบอาจบอกไดว้ า่ สาเหตกุ ารเกดิ มลพษิ ทางดนิ มาจากการทง้ิ ขยะลงในดนิ ท�ำ ใหเ้ กดิ การสะสม สารมลพษิ ในดนิ เปน็ แหลง่ สะสมจลุ นิ ทรยี ก์ อ่ โรค นอกจากนส้ี าเหตกุ ารเกดิ มลพษิ ทางดนิ ยงั มาจากการ ใชส้ ารเคมที างการเกษตรบางชนดิ ทม่ี กี ารสลายตวั ไดช้ า้ หรอื ไมส่ ลายตวั ท�ำ ใหส้ ารมลพษิ เกดิ การสะสมอยู่ ในดนิ และถา่ ยทอดไปตามโซอ่ าหาร แหลง่ ทม่ี าของมลพษิ ทางดนิ ครูให้นักเรียนศึกษาหัวข้อแหล่งท่ีมาของมลพิษทางดินในหนังสือเรียน และตอบคำ�ถาม ในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวการตอบดงั น้ี ขยะจ�ำ พวกพลาสตกิ ทท่ี งิ้ ลงบนดนิ พบวา่ สง่ ผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรน�้ำ ดว้ ย มเี สน้ ทางการเกดิ ไดอ้ ยา่ งไร และส่งผลกระทบต่อส่ิงมชี วี ติ ท่ีอาศยั อย่ใู นนำ้�อย่างไรบ้าง ขยะพลาสตกิ เมอื่ ถกู ทงิ้ ลงบนดนิ พบวา่ จะมกี ารสลายตวั คอ่ นขา้ งยาวนานท�ำ ใหเ้ กดิ การสะสม ในดนิ ทำ�ใหป้ ดิ กน้ั การไหลของนำ้�จากผวิ ดนิ ลงสใู่ ตด้ นิ ส่วนขยะพลาสติกท่อี ยบู่ นดนิ เม่ือถกู นำ้�ชะหรือลมพัดพลาสติกเหล่าน้ันลงสู่แหล่งลำ�คลองต่าง ๆ ก็จะมีเส้นทางการกระจาย พลาสตกิ เหลา่ น้ันออกสู่แหล่งนำ�้ เปดิ เช่น แม่น�้ำ ทะเล มหาสมทุ ร ตามปรมิ าณทที่ ิ้งและจะ เกดิ การสะสมขยะพลาสตกิ บางชนดิ เชน่ ถงุ พลาสตกิ หลอด เชอื ก เมอื่ สะสมในแหลง่ น�ำ้ เปน็ เวลานาน ๆ จะเกิดการแตกยุ่ยออกเป็นชิ้น ๆ ทำ�ให้ส่ิงมีชีวิตในนำ้�หรือสัตว์นำ้�คิดว่าช้ิน พลาสติกเหล่าน้ีคืออาหาร เนื่องจากมีรูปร่างบางใสคล้ายแมงกระพรุน สัตว์นำ้�จึงกินชิ้น พลาสติกเหล่าน้ีเข้าไปซึ่งไม่สามารถย่อยสลายได้จึงเกิดการอุดตันในทางเดินอาหารจนเป็น อนั ตรายถงึ แกช่ วี ติ ได้ เชน่ กรณขี องพะยนู มาเรยี ม นอกจากนชี้ นิ้ สว่ นพลาสตกิ เหลา่ นสี้ ามารถ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
244 บทท่ี 25 | มนุษยก์ ับความยงั่ ยืนของทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ชีววิทยา เลม่ 6 แตกตัวเป็นไมโครพลาสติกได้ เมื่อส่ิงมีชีวิตในนำ้�ได้รับไมโครพลาสติกเข้าไปก็จะสะสมและ ถา่ ยทอดไปตามโซอ่ าหารและเขา้ สรู่ า่ งกายมนษุ ยซ์ งึ่ เปน็ ผบู้ รโิ ภคในล�ำ ดบั สดุ ทา้ ยแลว้ อาจสง่ ผลท�ำ ใหเ้ กิดอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพได้ จากตาราง 25.3 การน�ำ เขา้ วตั ถอุ นั ตรายทางการเกษตรในแตล่ ะประเภทตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2557- 2561 เป็นอยา่ งไร เหตใุ ดจงึ เปน็ เช่นนน้ั และแนวโน้มจะเป็นอยา่ งไร การนำ�เข้าวตั ถอุ ันตรายทางการเกษตรแต่ละประเภท ต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2557-2561 ดงั รปู ปรมิ าณต่อตัน 2558 2559 2560 2561 160,000 140,000 120,000 100,000 80,000 60,000 40,000 20,000 0 2557 สารก�ำ จัดวชั พืช สารกำ�จดั แมลง สารป้องกันและกำ�จัดโรคพชื อื่น ๆ จากรปู กราฟ พบวา่ แนวโนม้ ปรมิ าณการน�ำ เขา้ วตั ถอุ นั ตรายทางการเกษตรตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2557- 2560 มปี รมิ าณการน�ำ เขา้ ของวตั ถอุ นั ตรายทางการเกษตรเพม่ิ มากขน้ึ สว่ นในปี พ.ศ. 2561 แนวโนม้ ปรมิ าณการน�ำ เขา้ ของวตั ถอุ นั ตรายทางการเกษตรลดลง การน�ำ เขา้ สารก�ำ จดั วชั พชื ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2557-2560 มปี รมิ าณการน�ำ เขา้ มากทส่ี ดุ เมอ่ื เทยี บ กบั วตั ถอุ นั ตรายทางการเกษตรประเภทอน่ื ๆ ทง้ั นอ้ี าจเนอ่ื งมาจากเมอ่ื เกษตรกรใชส้ ารก�ำ จดั วชั พชื แลว้ สามารถก�ำ จดั วชั พชื เหน็ ผลชดั เจน และรวดเรว็ ในการควบคมุ การระบาดของวชั พชื จงึ นยิ มใชก้ นั เปน็ สว่ นใหญ่ แตใ่ นปี พ.ศ. 2561 ปรมิ าณน�ำ เขา้ สารก�ำ จดั วชั พชื ลดลง อาจเนอ่ื งมาจากสารก�ำ จดั วชั พชื มี มลู คา่ เพม่ิ ขน้ึ จงึ ท�ำ ใหต้ น้ ทนุ ปจั จยั การผลติ เพม่ิ ขน้ึ จงึ หาวธิ กี ารอน่ื ในการก�ำ จดั วชั พชื รวมทง้ั การรณรงค์ ใหม้ กี ารปลกู พชื แบบเกษตรอนิ ทรยี ท์ �ำ ใหผ้ ลผลติ มมี ลู คา่ สงู ขน้ึ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 6 บทที่ 25 | มนษุ ยก์ ับความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 245 การน�ำ เขา้ สารก�ำ จดั แมลง ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2557-2558 มปี รมิ าณลดลง อาจเนอ่ื งมาจากเกษตรกร ใชว้ ธิ กี ารก�ำ จดั แมลงแบบชวี วธิ มี ากขน้ึ แตใ่ นปี พ.ศ. 2559-2560 ปรมิ าณการน�ำ เขา้ สารก�ำ จดั แมลง เพม่ิ ขน้ึ อาจเนอ่ื งมาจากมกี ารระบาดของเพลย้ี กระโดดสนี �ำ้ ตาลซง่ึ เปน็ พาหะน�ำ โรคไวรสั ในขา้ ว หรอื อาจ เนอ่ื งมาจากแมลงศตั รพู ชื มกี ารปรบั ตวั ตอ่ ตา้ นสารก�ำ จดั แมลง จงึ ตอ้ งใชส้ ารก�ำ จดั แมลงในปรมิ าณทม่ี าก ขน้ึ เพอ่ื ทจ่ี ะสามารถก�ำ จดั แมลงศตั รพู ชื ได้ สว่ นในปี พ.ศ. 2561 ปรมิ าณน�ำ เขา้ สารก�ำ จดั แมลงลดลง อาจ เนอ่ื งมาจากผบู้ รโิ ภคหนั มาทานผลผลติ ทางการเกษตรทป่ี ลอดสารเคมกี �ำ จดั ศตั รพู ชื สถติ กิ ารน�ำ เขา้ สารปอ้ งกนั และก�ำ จดั โรคพชื ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2557-2561 มปี รมิ าณการน�ำ เขา้ เพม่ิ ขน้ึ ทกุ ปี ทง้ั นอ้ี าจเปน็ เพราะพชื เปน็ โรคมากขน้ึ โดยเฉพาะในชว่ งฤดฝู นทม่ี ปี รมิ าณน�ำ้ มากขน้ึ และ มคี วามชน้ื ในอากาศสงู จลุ นิ ทรยี โ์ ดยเฉพาะเชอ้ื ราสามารถเจรญิ เตบิ โตไดด้ ี ท�ำ ใหพ้ ชื เปน็ โรคไดง้ า่ ย เชน่ โรคราน�ำ้ คา้ ง โรคเนา่ คอดนิ เปน็ ตน้ สถติ กิ ารน�ำ เขา้ สารควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตของพชื สารรมควนั พษิ สารก�ำ จดั หอยและหอยทาก สารก�ำ จดั ไร ไสเ้ ดอื นฝอย สารก�ำ จดั หนู ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2557-2561 มปี รมิ าณการน�ำ เขา้ คอ่ นขา้ งนอ้ ยเมอ่ื เทียบกับสารเคมีชนิดอ่นื ๆ ท้งั น้อี าจเป็นเพราะสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชมีราคาแพง ทำ�ให้ เกษตรกรตอ้ งลงทนุ ส�ำ หรบั ปจั จยั การผลติ คอ่ นขา้ งสงู ดงั นน้ั เกษตรกรอาจเลอื กใชว้ ธิ กี ารอน่ื ทดแทนการ ใชส้ ารควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตของพชื เชน่ ตดั ยอดของตน้ มะมว่ งสง่ ผลใหพ้ ชื แตกตาขา้ ง และเกดิ กง่ิ ขา้ ง มากขน้ึ ทดแทนการใชส้ ารสงั เคราะหท์ ม่ี สี มบตั คิ ลา้ ยไซโทไคนนิ และยงั ท�ำ ใหเ้ พม่ิ ผลผลติ มะมว่ งอกี ดว้ ย การใช้สารเคมีทางการเกษตรในปริมาณมากมีผลกระทบต่อทรัพยากรดินและทรัพยากร ธรรมชาติอ่นื ใดอกี บา้ ง อธบิ าย การใช้สารเคมีทางการเกตร ในปริมาณมากและใช้เป็นประจำ�ทุกวัน จะส่งผลต่อทรัพยากร ดิน คือ อาจทำ�ให้มีสารเคมีตกค้างในดิน สารเคมีบางชนิดมีการสลายตัวได้เร็วในธรรมชาติ แต่บางชนิดตกค้างในดินเป็นระยะเวลานานซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อดิน คือ ทำ�ให้สมบัติของ ดนิ บางประการอาจเปลยี่ นไป เช่น ความเป็นกรด-เบส นอกจากนอ้ี าจทำ�ให้สง่ิ มชี วี ติ ทอ่ี าศยั อยใู่ นดนิ ตายได้ ซงึ่ สง่ิ มชี วี ติ เหลา่ นมี้ สี ว่ นชว่ ยในการยอ่ ยสลายสารอนิ ทรยี ท์ อ่ี ยใู่ นดนิ และชว่ ย ในการพรวนดินทำ�ให้ดินมีช่องว่างระหว่างอนุภาคของดินและทำ�ให้อากาศแทรกเข้าไปได้ ส�ำ หรบั พชื ทป่ี ลกู จะไดร้ บั สารเคมที ตี่ กคา้ งในดนิ และเมอ่ื สตั วห์ รอื มนษุ ยท์ านพชื เหลา่ นเ้ี ขา้ ไป ก็จะมีการสะสมสารพิษ และถ่ายทอดไปตามโซ่อาหารได้นอกจากนส้ี ง่ ผลตอ่ ทรพั ยากรอน่ื ๆ ไดอ้ กี เชน่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
246 บทท่ี 25 | มนษุ ยก์ บั ความยงั่ ยนื ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม ชวี วทิ ยา เลม่ 6 ทรพั ยากรน�้ำ คอื สารเคมที ต่ี กคา้ งอยใู่ นดนิ เมอ่ื ถกู น�ำ้ ชะจากผวิ ดนิ จะลงไปสะสมอยใู่ นแหลง่ น�้ำ ใตด้ นิ ท�ำ ใหเ้ กดิ การปนเปอื้ นสารเคมใี นน�ำ้ หรอื หากถกู น�ำ้ ฝนชะลา้ งผวิ หนา้ ดนิ ลงสแู่ หลง่ น�้ำ ท�ำ ใหเ้ กดิ การปนเปอ้ื นสารเคมใี นแหลง่ น�ำ้ สง่ ผลตอ่ การด�ำ รงชวี ติ ของสง่ิ มชี วี ติ ในแหลง่ น�ำ้ และมนุษย์ ทรพั ยากรอากาศ คอื ในขณะทฉี่ ดี พน่ สารเคมจี ะมกี ารฟงุ้ กระจายของละอองสารเคมใี นอากาศ เมื่อส่ิงมีชีวิตสูดดมเข้าไปจะก่อให้เกิดอันตรายต่อทางเดินหายใจและมีผลต่อสุขภาพก่อให้ เกดิ โรคทางเดินหายใจ และมะเร็ง ทรัพยากรสัตว์ป่า คือ เม่ือสัตว์ป่าบุกรุกพ้ืนท่ีทางการเกษตรเพื่อหาแหล่งอาหารจากการ ขาดแคลนอาหารในป่า โดยมากินผลผลิตทางการเกษตรท่ีมีสารเคมีตกค้างจะทำ�ให้สัตว์ป่า ได้รบั อนั ตรายจากสารเคมแี ละอาจเปน็ อันตรายถึงแกช่ ีวติ ข้ึนอยกู่ ับปรมิ าณทรี่ ับเขา้ ไป นอกจากนค้ี รคู วรเนน้ ย�ำ้ นกั เรยี นวา่ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของนกั เรยี นมสี ว่ นท�ำ ใหเ้ กดิ ขยะและเมอ่ื ขยะมีปริมาณมาก หากมีการจัดการไม่ถูกวิธีก็จะส่งผลต่อตัวนักเรียนและส่งิ แวดล้อม เพ่อื ให้นักเรียน ตระหนกั และมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ ขยะทเ่ี กดิ ขน้ึ ครใู หน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรม 25.1 กิจกรรม 25.1 ขยะท่ีเกิดข้นึ ในชีวิตประจ�ำ วันกบั แนวทางการแก้ไข จดุ ประสงค์ 1. สำ�รวจและวิเคราะห์เกี่ยวกบั กจิ กรรมในชวี ิตประจำ�วนั ท่ีท�ำ ใหเ้ กดิ ขยะ 2. เสนอแนวทางการแกไ้ ขเพอื่ ลดปรมิ าณขยะ แนวการทำ�กจิ กรรม 1. ครูชี้แจงจุดประสงค์ของการทำ�กิจกรรม เพ่ือให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงการมีส่วนท่ี ทำ�ให้เกิดขยะขนึ้ จากกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชวี ติ ประจำ�วนั และหาแนวทางในการแก้ไขเพอ่ื ลด ปริมาณขยะ 2. การวเิ คราะหก์ จิ กรรมทเี่ กดิ ขน้ึ ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของแตล่ ะคนนน้ั อาจมมี ากนอ้ ยแตกตา่ งกนั แตส่ ง่ิ ทนี่ กั เรยี นจะตอ้ งสงั เกตคอื ในแตล่ ะกจิ กรรมนน้ั มขี ยะเกดิ ขน้ึ หรอื ไม่ เปน็ ขยะประเภท ใด ปรมิ าณมากนอ้ ยอยา่ งไร ซงึ่ แตล่ ะคนจะตอ้ งน�ำ ขอ้ มลู มาสรปุ รว่ มกนั เพอ่ื สะทอ้ นใหเ้ หน็ ภาพรวมของกลุม่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 6 บทที่ 25 | มนุษย์กับความย่งั ยืนของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 247 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มต้องออกแบบตารางบันทึกข้อมูล แล้วนำ�เสนอข้อมูลพร้อมท้ังแนวทาง ในการแก้ไขในการลดปริมาณขยะ หลงั จากเสรจ็ สนิ้ กจิ กรรมครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายจากการส�ำ รวจและวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในประเด็นต่าง ๆ ขา้ งต้น ซ่งึ ควรไดข้ ้อสรปุ ในภาพรวมของกิจกรรมนีว้ ่า ปรมิ าณขยะ ปรมิ าณขยะ ปริมาณขยะ ต่อคนเปน็ อย่างไร ตอ่ กลุ่มเปน็ อย่างไร ตอ่ หอ้ งเปน็ อย่างไร ปริมาณขยะ ต่อโรงเรยี นเป็นอย่างไร จากนั้นอาจพิจารณาจากลักษณะของกิจกรรมท่ีเกิดข้ึนที่ก่อให้เกิดขยะ ตัวอย่างเช่น การ ช�ำ ระท�ำ ความสะอาดรา่ งกาย การแปรงฟนั การประกอบอาหาร การรบั ประทานอาหาร ประเภท ขยะทเ่ี กดิ ขนึ้ จากชวี ติ ประจ�ำ วนั มที ง้ั ขยะเปยี ก เชน่ เศษอาหารทเี่ หลอื เปลอื กผลไม้ ขยะรไี ซเคลิ เช่น แก้ว ขวดน้ำ� กระดาษ กระป๋อง และขยะทั่วไป เช่น ถุงพลาสติกเป้ือนอาหาร ซองบะหม่ี กึ่งสำ�เร็จรูป ขยะอันตรายและขยะติดเชื้อ สำ�หรับปริมาณขยะท่ีทำ�ให้เกิดขึ้นน้ันข้ึนอยู่กับ พฤตกิ รรมและกิจกรรมในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของนักเรียนแต่ละคน ส่วนแนวทางการลดปริมาณขยะทำ�ได้หลายวิธี เช่น รับประทานอาหารไม่ให้มีเศษอาหาร เหลือ ใช้ถงุ ผา้ แทนการใช้ถุงพลาสติก น�ำ ภาชนะไปใสอ่ าหารหรอื น้�ำ เมอื่ ตอ้ งไปซื้ออาหารกลบั บ้าน เช่น กล่องข้าว แก้วน้ำ� และครูควรช้ีนำ�ให้นักเรียนตระหนักว่านักเรียนมีส่วนช่วยในการ ลดขยะได้ และควรทำ�อย่างจริงจังสมำ่�เสมอ รวมท้ังแนะนำ�ให้สมาชิกในครอบครัวและ เพอ่ื นบา้ นชว่ ยกนั ลดปรมิ าณขยะตามแนวทางทนี่ กั เรยี นไดศ้ กึ ษาและน�ำ เสนอวธิ กี ารแกป้ ญั หา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
248 บทที่ 25 | มนษุ ย์กบั ความยัง่ ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ชวี วิทยา เลม่ 6 เฉลยค�ำ ถามท้ายกจิ กรรม ประเภทขยะทเ่ี กิดขึ้นมอี ะไรบ้าง อาจจดั กลุ่มเป็น 1. ขยะเปียก ท่สี ามารถยอ่ ยสลายได้ เชน่ เศษอาหาร พืช ผกั เปลอื กผลไม้ รวมท้ังน�้ำ ทิ้ง ท่ีผา่ นการใชง้ านตา่ ง ๆ 2. ขยะแห้ง อาจแบง่ เปน็ 2.1 ข ยะแห้งท่ีสามารถนำ�มารีไซเคิลได้ เช่น กระดาษ แก้ว กระป๋องน้ำ�อัดลม ขวด พลาสตกิ ถุงพลาสตกิ 2.2 ขยะปนเปอ้ื นสารเคมี หรือขยะตดิ เชอ้ื (อาจม)ี ปรมิ าณขยะใน 1 วนั ของนกั เรยี น โดยภาพรวมตอ่ คน ตอ่ กลมุ่ และตอ่ หอ้ งเรยี นเปน็ อยา่ งไร ค�ำ ตอบขน้ึ อยกู่ บั พฤตกิ รรมและกจิ กรรมในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของนกั เรยี นแตล่ ะคน และความ ตระหนักรู้ในการลดปรมิ าณขยะทีเ่ กดิ จากกจิ กรรมในชีวติ ประจ�ำ วนั ในครอบครัวของนักเรียนมีกิจกรรมท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทำ�ให้เกิดขยะประเภทใดบ้าง และมี ปรมิ าณขยะตอ่ วนั เปน็ อยา่ งไร นกั เรียนจะมแี นวทางในการลดปริมาณขยะไดอ้ ย่างไร ค�ำ ตอบขน้ึ อยกู่ บั พฤตกิ รรมและกจิ กรรมในชวี ติ ประจ�ำ วนั ของนกั เรยี นและคนในครอบครวั ซ่ึงแนวทางลดปริมาณขยะที่เกิดจากครอบครัวสามารถทำ�ได้หลายวิธี เช่น รับประทาน อาหารไมใ่ หม้ ีเศษอาหารเหลอื นกั เรยี นคดิ วา่ ปรมิ าณขยะทเี่ กดิ ขน้ึ น้ี จะถกู น�ำ ไปก�ำ จดั ดว้ ยวธิ ใี ดและสง่ ผลตอ่ ทรพั ยากรดนิ อย่างไร กรณขี ยะยอ่ ยสลายสามารถน�ำ ไปท�ำ เปน็ ปยุ๋ หมกั ชว่ ยเพม่ิ ความอดุ มสมบรู ณใ์ หก้ บั ดนิ สว่ น ขยะรีไซเคิลสามารถรวบรวมแล้วนำ�ไปผ่านกระบวนการนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ นอกจากน้ี การนำ�ไปทำ�เช้ือเพลิงขยะ (refuse derived fuel) เพื่อใช้เป็นเช้ือเพลิงให้กับหม้อไอน้ำ� สำ�หรับผลิตไฟฟ้าช่วยทำ�ให้ลดการสะสมขยะในดิน และขยะทั่วไปสามารถนำ�ไปฝังกลบ ท�ำ ให้เกิดสารมลพษิ ปนเปอ้ื นบริเวณที่ฝังกลบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เล่ม 6 บทท่ี 25 | มนษุ ย์กบั ความยัง่ ยนื ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม 249 ดชั นที ใ่ี ชใ้ นการตรวจสอบคณุ ภาพดนิ ครูสามารถให้ข้อมูลเพ่มิ เติมกับนักเรียนว่า ดินก็เช่นเดียวกันกับนำ�้ ท่มี ีการกำ�หนดมาตรฐาน คณุ ภาพดนิ และมดี ชั นที ใ่ี ชใ้ นการตรวจสอบคณุ ภาพดนิ ซง่ึ นกั เรยี นสามารถสบื คน้ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ไดจ้ าก เวบ็ ไซตข์ องกรมควบคมุ มลพษิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม นอกจากนอ้ี าจเชอ่ื มโยง ความรเู้ กย่ี วกบั ดชั นที ต่ี รวจสอบคณุ ภาพดนิ ทส่ี ว่ นมากเปน็ กลมุ่ สารเคมปี ระเภทตา่ ง ๆ โดยเฉพาะกลมุ่ สารก�ำ จดั ศัตรพู ืชว่าสารเหลา่ น้เี ม่อื เกษตรกรน�ำ ไปใชท้ างการเกษตรจะท�ำ ใหส้ ารเคมตี กค้างในผลผลติ และตกคา้ งสะสมในดนิ ซง่ึ สง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี วี ติ ตา่ ง ๆ รวมทง้ั มนษุ ยไ์ ด้ ปญั หาความเสอ่ื มโทรมของดนิ ครอู าจใชร้ ปู 25.8 ในหนงั สอื เรยี น ถามนกั เรยี นวา่ จากรปู 25.8 นกั เรยี นคดิ วา่ สาเหตทุ ท่ี �ำ ให้ ดินเส่อื มโทรมนา่ จะมาจากสาเหตุใด ในรปู 25.8 เปน็ รปู แพะเมอื งผี จังหวัดแพร่ เกดิ จากน�ำ้ ไหลและ ชะลา้ งชน้ั ดนิ ทม่ี คี วามแขง็ ไมเ่ ทา่ กนั ท�ำ ใหเ้ กดิ เปน็ เสาดนิ ทม่ี รี ปู รา่ งแตกตา่ งกนั จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นตอบ ค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี ปญั หาความเสอื่ มโทรมของดนิ มีผลกระทบตอ่ มนษุ ย์และส่งิ แวดล้อมอย่างไร เม่ือดินเกิดการพังทลาย ขาดความอุดมสมบูรณ์ และขาดธาตุอาหาร ทำ�ให้ดินไม่เหมาะสม ตอ่ การเพาะปลูกพืช มนุษย์ขาดแคลนพชื เพอ่ื ใชเ้ ปน็ อาหาร วธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาดินเปร้ียว ดนิ เคม็ มวี ิธกี ารอย่างไร วิธีการแก้ไขปัญหาดินเปร้ียว คือ การใช้ปูนมาร์ลซ่ึงมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นแคลเซียม คาร์บอเนต (CaCO3) ปนู มารล์ จะช่วยแก้ความเป็นกรดในดนิ ไดด้ ี มีผลทำ�ให้ดนิ รว่ นมคี วาม พรุนเพิม่ ข้นึ ระบายนำ้�ไดด้ ี วิธีการแก้ไขปัญหาดินเค็ม คือ อาศัยกระบวนการชะล้างด้วยน้ำ�จืด ชะพาเอาเกลือออกไป จากหนา้ ดนิ หรอื ใชส้ ารประกอบยปิ ซมั (CaSO4 . 2H2O) ชว่ ยปรบั ปรงุ ฟน้ื ฟู และตอ้ งพยายาม ใหด้ นิ ชน้ื อยเู่ สมอเพอ่ื ไมใ่ หน้ �้ำ ใตด้ นิ ถกู ดงึ ขนึ้ มาทผ่ี วิ หนา้ ดนิ เพราะจะท�ำ ใหเ้ กลอื ถกู ดงึ ขนึ้ มา ตามผวิ ดินดว้ ย นอกจากนอี้ าจปลกู พืชทนเค็ม โตเรว็ รากลึก และใชน้ ้ำ�มาก ไดแ้ ก่ ยูคาลปิ ตสั กระถนิ สะเดา แคบา้ น มะขาม เปน็ ตน้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
250 บทท่ี 25 | มนุษยก์ บั ความยงั่ ยืนของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ชวี วิทยา เลม่ 6 แนวทางการจัดการทรพั ยากรดิน ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาหวั ขอ้ แนวทางการจดั การทรพั ยากรดนิ และศกึ ษารปู 25.9 และถามค�ำ ถาม นกั เรยี น ดงั น้ี จากรูป 25.9 นอกจากการปลูกพืชแบบขนั้ บนั ได และการปลกู พชื คลมุ ดนิ แล้ว นกั เรยี น คดิ วา่ มีแนวทางการจดั การทรพั ยากรดินไดอ้ ยา่ งไรอีกบา้ ง ค�ำ ถามนเ้ี ปน็ ค�ำ ถามกระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นหาแนวทางการจดั การทรพั ยากรดนิ ในวธิ กี ารอน่ื ๆ เชน่ การปลกู พชื หมนุ เวยี น การไถพรวนดนิ การลดการใชส้ ารเคมที างการเกษตรจะชว่ ยลดสารมลพษิ ทส่ี ะสม ในดนิ เปน็ ตน้ ซง่ึ นกั เรยี นจะไดเ้ รยี นรตู้ อ่ ไปในเรอ่ื งแนวทางการจดั การทรพั ยากรดนิ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี น ตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี เพราะเหตใุ ดหญา้ แฝกจึงสามารถชว่ ยป้องกนั การพงั ทลายของดนิ ได้ หญ้าแฝกมีระบบรากยาว สานกันแน่น ช่วยอุ้มน้ำ�และยึดดินไว้ จึงป้องกันการพังทลายของ ดนิ นอกจากนหี้ ญา้ แฝกยงั มลี กั ษณะอน่ื ๆ อกี ท�ำ ใหถ้ กู น�ำ มาใชใ้ นการอนรุ กั ษดนิ และน�้ำ เชน่ การแตกหนอ่ เปน็ กอ เบยี ดกนั แนน่ มใี บยาว แขง็ แรง ขยายพนั ธโุ์ ดยใชห้ นอ่ ท�ำ ใหค้ วบคมุ การ แพรก่ ระจายได้ ปรับตัวเข้ากบั สภาพแวดลอ้ มไดด้ ี ทนทานตอ่ โรคพชื เป็นตน้ ปญั หามลพษิ ทางดนิ มผี ลกระทบตอ่ มนษุ ยแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งไร และมแี นวทางในการแกไ้ ข ปัญหาอย่างไร การท้ิงขยะลงในดินหรือใช้สารเคมีทางการเกษตร ทำ�ให้เกิดการสะสมของสารมลพิษในดิน ซง่ึ ท�ำ ใหส้ มบตั ขิ องดนิ บางประการเปลย่ี นไป เชน่ ความเปน็ กรด-เบส หรอื อาจท�ำ ใหส้ ง่ิ มชี วี ติ ท่ี อาศยั อยใู่ นดนิ ตาย นอกจากนพ้ี ชื ทป่ี ลกู บนดนิ บรเิ วณนก้ี จ็ ะไดร้ บั สารมลพษิ ตกคา้ งไปดว้ ย และ สารมลพษิ เหลา่ นก้ี จ็ ะถา่ ยทอดไปตามโซอ่ าหาร ดงั นน้ั เมอ่ื มนษุ ยแ์ ละสตั วก์ นิ พชื เหลา่ นเ้ี ขา้ ไป กจ็ ะไดร้ บั สารมลพษิ ตกคา้ งดว้ ย ส�ำ หรบั แนวทางแกไ้ ขปญั หาตอ้ งมกี ารก�ำ จดั ขยะอยา่ งถกู หลกั วชิ าการ ลดการใชส้ ารเคมที างการเกษตร ลดการใชส้ ง่ิ ของทท่ี �ำ จากพลาสตกิ จะชว่ ยลดปญั หา มลพษิ ทางดนิ ได้ จากน้ันครูอาจอธิบายเพ่ิมเติมเก่ียวกับโครงการพระราชดำ�ริของพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธเิ บศรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การจดั การทรพั ยากรดนิ ดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 6 บทที่ 25 | มนุษย์กบั ความยงั่ ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม 251 ทฤษฎแี กลง้ ดนิ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชด�ำ ริ เรม่ิ จากวธิ กี ารแกลง้ ดนิ ใหเ้ ปรย้ี วดว้ ยการท�ำ ใหด้ นิ แหง้ และเปยี กสลบั กนั ไปเพอ่ื เรง่ ปฏกิ ริ ยิ าทาง เคมขี องดนิ ซง่ึ จะไปกระตนุ้ ใหส้ ารไพไรทท์ �ำ ปฏกิ ริ ยิ ากบั ออกซเิ จนในอากาศปลดปลอ่ ยกรดก�ำ มะถนั ออก มาท�ำ ใหด้ นิ เปน็ กรดจดั จนถงึ ขน้ั แกลง้ ดนิ ใหเ้ ปรย้ี วสดุ ขดี จนกระทง่ั ถงึ จดุ ทพ่ี ชื ไมส่ ามารถเจรญิ งอกงาม ได้ จากนน้ั จงึ หาวธิ กี ารปรบั ปรงุ ดนิ ดงั กลา่ วใหส้ ามารถปลกู พชื ได้ วธิ กี ารแกไ้ ขปญั หาดนิ เปรย้ี วจดั ตาม แนวพระราชด�ำ รคิ อื ควบคมุ ระดบั น�ำ้ ใตด้ นิ เพอ่ื ปอ้ งกนั การเกดิ กรดก�ำ มะถนั โดยควบคมุ น�ำ้ ใตด้ นิ ใหอ้ ยู่ เหนอื ชน้ั ดนิ เลนทม่ี สี ารไพไรทอ์ ยู่ เพอ่ื ไมใ่ หส้ ารไพไรทท์ �ำ ปฏกิ ริ ยิ ากบั ออกซเิ จนหรอื ถกู ออกซไิ ดซ์ ทฤษฎปี อ้ งกนั การเสอ่ื มโทรมและพงั ทลายของดนิ โดยหญา้ แฝก หญา้ แฝกเปน็ พชื พน้ื บา้ นของไทยทม่ี คี ณุ สมบตั พิ เิ ศษในการชว่ ยปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลายของ หนา้ ดนิ และอนรุ กั ษค์ วามชมุ่ ชน้ื ใตด้ นิ ซง่ึ มวี ธิ กี ารปลกู แบบงา่ ย ๆ เกษตรกรสามารถด�ำ เนนิ การไดเ้ องโดย ไมต่ อ้ งใหก้ ารดแู ลหลงั การปลกู มาก ทง้ั ประหยดั คา่ ใชจ้ า่ ยกวา่ วธิ อี น่ื ๆ จงึ ไดพ้ ระราชทานพระราชด�ำ รใิ ห้ ด�ำ เนนิ การศกึ ษาทดลองเกย่ี วกบั หญา้ แฝก หญา้ แฝก (vetiver grass) มี 2 สายพนั ธค์ุ อื หญา้ แฝกดอน (Vetiveria nemoralis A. Camus) และหญา้ แฝกหอม (Vetiveria zizanioides Nash) เปน็ พชื ทม่ี อี ายุ ไดห้ ลายปี ขน้ึ เปน็ กอแนน่ ใบเปน็ รปู ขอบขนาน ปลายแคบสอบแหลม ยาวประมาณ 35-80 cm กวา้ ง 5-9 cm มรี ากยาวหยง่ั ลกึ ลงในดนิ หญา้ แฝกมกี ารขยายพนั ธท์ุ ไ่ี ดผ้ ลเรว็ โดยการแตกหนอ่ จากล�ำ ตน้ ใตด้ นิ หรอื บางครง้ั สามารถแตกแขนงและรากออกในสว่ นของกา้ นชอ่ ดอกได้ เมอ่ื หญา้ แฝกโนม้ ลงดนิ ท�ำ ใหม้ ี การเจรญิ เตบิ โตเปน็ กอหญา้ แฝกใหมไ่ ด้ ทฤษฎใี หม่ การจดั การทด่ี นิ เพอ่ื การเกษตรตามพระราชด�ำ ริ แบง่ พน้ื ทถ่ี อื ครองทางการเกษตรโดยเฉลย่ี แลว้ เกษตรกรไทยมเี นอ้ื ทด่ี นิ ประมาณ 10-15 ไรต่ อ่ ครอบครวั แบง่ ออกเปน็ สดั สว่ น 30-30-30-10 คอื สว่ นแรก : รอ้ ยละ 30 เนอ้ื ทเ่ี ฉลย่ี 3 ไร่ ใหท้ �ำ การขดุ สระกกั เกบ็ น�ำ้ ไวใ้ ชใ้ นการเพาะปลกู โดยมคี วามลกึ ประมาณ 4 เมตร ซง่ึ จะสามารถรบั น�ำ้ ไดจ้ ถุ งึ 19,000 ลกู บาศกเ์ มตร โดยการรองรบั จากน�ำ้ ฝน ราษฎรจะสามารถน�ำ น�ำ้ นไ้ี ปใชใ้ นการเกษตรไดต้ ลอดปแี ละยงั สามารถเลย้ี งปลาและปลกู พชื น�ำ้ พชื รมิ สระ เพอ่ื เพม่ิ รายไดใ้ หก้ บั ครอบครวั อกี ทางหนง่ึ ดว้ ย สว่ นทส่ี อง : รอ้ ยละ 60 เนอ้ื ทเ่ี ฉลย่ี ประมาณ 10 ไร่ เปน็ พน้ื ทท่ี �ำ การเกษตรปลกู พชื ผลตา่ ง ๆ โดยแบง่ พน้ื ทน่ี อ้ี อกเปน็ 2 สว่ น คอื รอ้ ยละ 30 ในสว่ นทห่ี นง่ึ : ท�ำ นาขา้ ว ประมาณ 5 ไร่ รอ้ ยละ 30 สว่ น ทส่ี อง : ปลกู พชื ไรห่ รอื พชื สวน ตามแตส่ ภาพของพน้ื ทแ่ี ละภาวะตลาด ประมาณ 5 ไร่ ซง่ึ ในพน้ื ทท่ี �ำ การ เกษตรนต้ี อ้ งมนี �ำ้ ใชใ้ นชว่ งฤดแู ลง้ ประมาณ 1,000 ลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ไร่ ถา้ หากแบง่ แตล่ ะแปลงเกษตรให้ มเี นอ้ื ท่ี 5 ไร่ ทง้ั 2 แหง่ แลว้ ความตอ้ งการน�ำ้ จะตอ้ งใชป้ ระมาณ 10,000 ลกู บาศกเ์ มตร ทจ่ี ะตอ้ งเปน็ น�ำ้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
252 บทที่ 25 | มนุษยก์ ับความย่งั ยืนของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ชีววทิ ยา เลม่ 6 ส�ำ รองไวใ้ ชใ้ นยามฤดแู ลง้ สว่ นทส่ี าม : รอ้ ยละ 10 เปน็ พน้ื ทท่ี เ่ี หลอื มเี นอ้ื ทเ่ี ฉลย่ี ประมาณ 2 ไร่ จดั เปน็ ท่ี อยอู่ าศยั ถนนหนทางคนั คดู นิ หรอื คคู ลอง ตลอดจนปลกู พชื สวนครวั และเลย้ี งสตั ว์ 25.2.3 ทรัพยากรอากาศ ครูอาจใช้ข่าวสถานการณ์เก่ียวกับการเกิดฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมโครเมตร ท่ีมีผล กระทบกับสุขภาพของมนุษย์ และให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าการเกิดฝ่นุ ละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมโครเมตรนน้ั สว่ นใหญเ่ กดิ จากสาเหตใุ ดและสง่ ผลตอ่ รา่ งกายมนษุ ยอ์ ยา่ งไร จากการอภปิ รายสามารถ สรปุ ไดว้ า่ สาเหตอุ าจมาจากเขมา่ ควนั จากทอ่ ไอเสยี รถยนต์ ฝนุ่ ละอองทเ่ี กดิ จากการกอ่ สรา้ งอาคาร ถนน ตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 25.10 สดั สว่ นของแกส๊ ทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบของอากาศ และ ครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ กบั นกั เรยี นเกย่ี วกบั ชน้ั บรรยากาศของโลก ดงั น้ี บรรยากาศสามารถจ�ำ แนกตามลกั ษณะและความสงู ได้ 2 สว่ น คอื บรรยากาศสว่ นลา่ งซง่ึ เปน็ สว่ นทอ่ี ยใู่ กลผ้ วิ โลก อณุ หภมู จิ ะลดลงตามระดบั ความสงู ประกอบดว้ ยชน้ั โทรโพสเฟยี ร์ สตราโทสเฟยี ร์ และมโี ซสเฟยี ร์ สว่ นบรรยากาศสว่ นบน เปน็ ชน้ั บรรยากาศทย่ี ง่ิ สงู อณุ หภมู จิ ะยง่ิ เพม่ิ ขน้ึ ประกอบดว้ ย ชน้ั เทอรโ์ มสเฟยี ร์ ไอโอโนสเฟยี ร์ และเอกโซสเฟยี ร์ ดงั รปู เอกโซสเฟยี ร์ (exosphere) สัญญาณ km 12 50 80 100 200 300 400 500 550 600 โทรศพั ท์ โทรทัศน์ การสอ่ื สารต่าง ๆ ผา่ นดาวเทียมเกดิ ข้ึนในชัน้ น้ี ไอโอโนสเฟยี ร์ (ionosphere) ไอออนตา่ ง ๆ ในช้ันนจ้ี ะสะท้อน เทอร์โมสเฟยี ร์ (thermosphere) คลน่ื วทิ ยุกลบั สโู่ ลก และปรากฏการณ์ เปน็ ช้ันท่ีอยู่เหนือจากผวิ โลกขึ้นไป ของแสงพุ่งขึน้ ไปจากขอบฟา้ ทางทิศ 80 km และไมส่ ามารถระบุขอบเขต เหนอื ในเวลากลางคืนเกดิ ขึ้นในช้ันน้ี ของชนั้ นไี้ ด้อยา่ งชัดเจน มโี ซสเฟียร์ (mesosphere) โทรโพสเฟียร์ (troposphere) มกี ารเผาไหมข้ องอุกกาบาตเกดิ ขึ้นใน เป็นช้ันที่เกดิ ฝน หมิ ะ ชนั้ นมี้ ากท่ีสดุ ท�ำ ใหเ้ กดิ สะเก็ด พายแุ ละเมฆ หมอกมากทส่ี ุด ดาวหาง สตราโทสเฟยี ร์ (stratosphere) เปน็ ชัน้ ของโอโซนท่มี กี ารดูดซบั รังสี อลั ตราไวโอเลต รูปช้ันบรรยากาศต่าง ๆ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เล่ม 6 บทท่ี 25 | มนุษยก์ ับความยง่ั ยืนของทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 253 ปัญหาทีเ่ กดิ ขนึ้ จากทรัพยากรอากาศ ปญั หามลพษิ ทางอากาศ ครอู าจยกตวั อยา่ งพรอ้ มน�ำ รปู กรณเี กดิ เหตกุ ารณไ์ ฟไหมป้ า่ ทางภาคเหนอื ของประเทศไทย และ กรณไี ฟไหมป้ า่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ทป่ี ระเทศออสเตรเลยี มาใหน้ กั เรยี นวเิ คราะหถ์ งึ สาเหตแุ ละผลกระทบทเ่ี กดิ ขน้ึ ซง่ึ ค�ำ ตอบอาจมไี ดห้ ลากหลายขน้ึ อยกู่ บั เหตกุ ารณแ์ ละขอ้ เทจ็ จรงิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ เชน่ สาเหตขุ องไฟไหมป้ า่ อาจ เกดิ ขน้ึ ไดเ้ องบา้ งตามธรรมชาติ แตส่ ว่ นใหญพ่ บวา่ เกดิ จากการกระท�ำ ของมนษุ ย์ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบ ท�ำ ใหเ้ กดิ การสญู เสยี ทง้ั พชื พรรณ สตั วป์ า่ ตา่ ง ๆ ลม้ ตาย และกอ่ ใหเ้ กดิ หมอก ควนั ความรอ้ น เปน็ มลพษิ ทางอากาศ นอกจากน้คี รูควรต้งั คำ�ถามถามนักเรียนต่อไปว่า มลพิษทางอากาศท่เี กิดจากมนุษย์เป็น ผกู้ ระท�ำ มอี น่ื ใดอกี บา้ งเพอ่ื เชอ่ื มโยงวา่ อาจเกดิ ไดจ้ ากการปลอ่ ยสารมลพษิ จากโรงงานอตุ สาหกรรมใน รปู ของควนั แกส๊ หรอื การเผาขยะ เปน็ ตน้ จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี กรณีท่ีเกิดไฟไหม้ป่าทางภาคเหนือเป็นประจำ� หรือไฟไหม้ป่าพรุทางภาคใต้นั้น ก่อให้เกิด ผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี ีวติ มนุษย์ และสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งไรบา้ ง อธิบาย เม่ือเกิดไฟไหม้ป่าจะทำ�ให้เกิดหมอกควัน ฝุ่นละออง แก๊ส CO2 รวมทั้งอุณหภูมิที่เกิดข้ึนใน ขณะนนั้ สงู ส่งผลให้ปา่ ไมถ้ กู เผาไหม้ สง่ิ มีชวี ิตท่ีอาศยั อยู่ในปา่ ขาดอากาศหายใจและทนต่อ สภาพของอณุ หภมู ทิ ส่ี งู ไมไ่ ดจ้ นเปน็ อนั ตรายถงึ แกช่ วี ติ นอกจากนหี้ ากไฟปา่ ลกุ ลามมาสแู่ หลง่ ชมุ ชนจะท�ำ ใหเ้ กดิ การเผาไหมท้ อ่ี ยอู่ าศยั ของชมุ ชนตามไปดว้ ยท�ำ ใหเ้ กดิ การสญู เสยี แหลง่ ที่ อยู่อาศัย แหลง่ ท�ำ กนิ และทรัพยส์ ินตา่ ง ๆ สำ�หรับผลกระทบที่มีต่อส่ิงแวดล้อมทำ�ให้เกิดการปนเปื้อนของสารมลพิษในอากาศ สง่ ผลกระทบทางดา้ นเศรษฐกจิ และปญั หาสขุ ภาพตา่ ง ๆ ตามมา ท�ำ ใหเ้ กดิ ความสญู เสยี ความ หลากหลายทางชวี ภาพ อาจส่งผลกระทบต่อการเปล่ียนแปลงแทนทีใ่ นระบบนเิ วศ สารมลพษิ ทป่ี นเปอ้ื นในอากาศ ครูให้นักเรียนศึกษาหัวข้อสารมลพิษท่ีปนเป้ือนในอากาศพร้อมท้ังผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต่อ รา่ งกายและสขุ ภาพในหนงั สอื เรยี น ตวั อยา่ งสารมลพษิ ทป่ี นเปอ้ื นในอากาศ เชน่ อนภุ าคแขวนลอยใน อากาศ แกส๊ คารบ์ อนมอนอกไซด์ แกส๊ ไนโตรเจนไดออกไซด์ แกส๊ ซลั เฟอรไ์ ดออกไซด์ แกส๊ โอโซน และ สารโลหะหนกั จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
254 บทที่ 25 | มนษุ ย์กบั ความยง่ั ยืนของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม ชวี วทิ ยา เล่ม 6 มลพษิ ทางอากาศทีเ่ กิดขน้ึ กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบในด้านใดได้บา้ ง ยกตวั อยา่ ง ทำ�ให้เกิดการลดลงของโอโซนในบรรยากาศ เช่น การใช้สารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน (chlorofluorocarbons; CFCs) ในการผลิตโฟม และอุตสาหกรรมพลาสติกบางชนิด ซ่ึงสารซีเอฟซีเปน็ ตวั ท�ำ ลายโอโซน ท�ำ ให้เกดิ ปรากฏการณเ์ รอื นกระจก (green house effect) เชน่ การใชป้ ๋ยุ ทีม่ ีไนโตรเจนเปน็ องค์ประกอบ การเผาหญ้าจากทุ่งนา ทำ�ให้เกิดแก๊สไนตรัสออกไซด์มีส่วนทำ�ให้เกิด ปรากฏการณ์เรือนกระจก ทำ�ให้เกิดฝนกรด เช่น ในบรรยากาศมีออกไซด์ของไนโตรเจนและกำ�มะถันปนเป้ือน แก๊ส เหล่าน้ีจะละลายปนอยู่กับไอน้ำ�ของบรรยากาศ และถูกออกซิไดซ์เป็นกรดไนตริกและกรด ก�ำ มะถนั โดยทว่ั ไปฝนจะมคี า่ pH ประมาณ 5.6 ซงึ่ สภาพกรดของน�ำ้ ฝนมาจากกรดคารบ์ อนกิ ที่เกิดจากแก๊ส CO2 ท่ีมีอยู่แล้วในบรรยากาศ แต่ฝนท่ีเกิดจากกรดไนตริกและกรดกำ�มะถัน อาจมีคา่ pH ต�่ำ ถงึ 4.0 ความรเู้ พมิ่ เตมิ ปรากฏการณเ์ รือนกระจก (green house effect) บรรยากาศของโลกซ่ึงประกอบด้วยแก๊สชนิดต่าง ๆ ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแก๊สไนโตรเจนและ ออกซเิ จน โดยรวมปรมิ าณรอ้ ยละ 99 ทเี่ หลอื อกี รอ้ ยละ 1 จะเปน็ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ มเี ทน และแกส๊ อน่ื ๆ รวมทงั้ ไอน�้ำ และฝนุ่ ละออง แกส๊ ทเ่ี หลอื เพยี งรอ้ ยละ 1 นที้ ม่ี คี วามส�ำ คญั เนอ่ื งจาก เปรียบเสมือนกับแก๊สเรือนกระจกเม่ือรังสีจากดวงอาทิตย์ส่องมายังผิวโลก รังสีอัตราไวโอเลต จะถกู ดดู กลนื ในชน้ั ของโอโซนและบางสว่ นจะสะทอ้ นกลบั ไปในบรรยากาศและพบวา่ รงั สที ส่ี อ่ ง มาถงึ ผวิ โลกนบ้ี างสว่ นจะถกู น�ำ ไปใชแ้ ละบางสว่ นจะถกู แกส๊ อน่ื ๆ หรอื แกส๊ เรอื นกระจกดดู กลนื ไว้ แล้วสะทอ้ นกลบั ออกไปในรูปของรงั สีอินฟาเรดหรอื ความร้อนท�ำ ให้โลกอนุ่ ข้ึน แกส๊ เรอื นกระจกที่ส�ำ คญั ได้แก่ 1. คารบ์ อนไดออกไซด์ แกส๊ นไี้ มม่ กี ลนิ่ ดดู ซบั ความรอ้ นไดด้ ี ใชใ้ นอตุ สาหกรรมหลายชนดิ เชน่ โซดา น�้ำ อัดลม การเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลงิ ฟอสซิลในยานพาหนะและโรงงานอตุ สาหกรรม การ เผาปา่ ไม้ ท�ำ ใหเ้ กดิ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ซงึ่ เปน็ แกส๊ หลกั ทที่ �ำ ใหเ้ กดิ ปรากฏการณเ์ รอื น กระจกถงึ ร้อยละ 57 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เล่ม 6 บทท่ี 25 | มนุษยก์ ับความยงั่ ยืนของทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม 255 2. คลอโรฟลูออโรคาร์บอนหรือ CFC เป็นแก๊สที่มนุษย์สังเคราะห์ข้ึนใช้ในอุตสาหกรรม เช่น เครื่องทำ�ความเย็นต่าง ๆ ใช้เป็นแก๊สขับดันในกระป๋องสเปรย์ ใช้เป็นสารผสมท่ีทำ�ให้เกิด ฟองในการผลติ โฟม CFC นด้ี ดู ซบั ความรอ้ นไดด้ กี วา่ คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ปน็ หมนื่ เทา่ มอี ายุ ยาวนานเป็น 100 ปี จึงสลายตวั ท�ำ ให้เกดิ ปรากฏการณ์เรอื นกระจกไดม้ ากถงึ รอ้ ยละ 24 3. มเี ทน เปน็ แกส๊ ทเี่ กดิ เองตามธรรมชาติ และจากการกระท�ำ ของมนษุ ย์ เชน่ การเผาไหมเ้ ชอื้ เพลิงฟอสซิล การทำ�เหมืองถ่านหิน การใช้แก๊สธรรมชาติ การปลูกพืชในพื้นท่ีที่มีนำ้�ท่วม ขัง มีเทนดูดซับความร้อนได้ดีกว่าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 20 เท่า จึงมีส่วนทำ�ให้เกิด ปรากกฏการณเ์ รอื นกระจกได้มาก 4. ไนตรัสออกไซด์ เกดิ ตามธรรมชาติและการกระท�ำ ของมนุษย์ เชน่ การใชป้ ุ๋ยท่ีมไี นโตรเจน เป็นองค์ประกอบ การเผาหญ้าจากทุ่งนา เผาป่าไม้ เผาเช้ือเพลิงฟอสซิลจากยานพาหนะ และโรงงานอุตสาหกรรม ไนตรัสออกไซด์ดูดซับความร้อนได้ดีกว่าคาร์บอนไดออกไซด์ถึง 200 เทา่ มสี ่วนทำ�ให้เกดิ ปรากฏการณเ์ รอื นกระจกไดป้ ระมาณรอ้ ยละ 6 ผลกระทบจากปรากฏการณ์เรอื นกระจก 1. ผลกระทบต่อภูมิอากาศ เช่น พายุไต้ฝุ่น นำ้�ท่วม การพังทลายของดิน ดินเส่ือมคุณภาพ เกิดฝนท้ิงช่วงยาวนานมาก เกดิ ความแหง้ แล้ง 2. ผลกระทบต่อพลังงาน การผลิตพลังงานไฟฟ้าจากแหล่งธรรมชาติ ได้รับผลกระทบจาก ความแปรปรวนของอากาศ การเกดิ ฟา้ คะนอง พายุฝน ลมแปรปรวน เปน็ อุปสรรคต่อการ ขดุ เจาะนำ้�มนั ในทะเล 3. ผลกระทบต่อระดับนำ้�ทะเล อากาศร้อน น้ำ�แข็งละลาย เป็นผลให้ระดับนำ้�ทะเลสูงขึ้น ส่งผลกระทบต่อพื้นทช่ี ายทะเล มผี ลกระทบตอ่ สภาพสงั คมและเศรษฐกิจ 4. ผลกระทบตอ่ แหลง่ น�ำ้ อณุ หภมู สิ งู เปน็ เหตใุ หน้ �้ำ ระเหยมากขนึ้ พชื ไดน้ �ำ้ นอ้ ยลงท�ำ ใหพ้ ชื ไม่ เจรญิ เตบิ โต 5. ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพอนามยั อากาศรอ้ นท�ำ ใหป้ ระสทิ ธภิ าพการท�ำ งานลดลง หงดุ หงดิ งา่ ย มีผลตอ่ สขุ ภาพอนามยั 6. ผลกระทบต่อเกษตรกรรม เม่ือปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพ่ิมข้ึน พืชก็สามารถ สังเคราะห์ด้วยแสงได้มากข้ึน แมลงก็จะมีอาหารสมบูรณ์ทำ�ให้เกิดการขยายพันธุ์ และ กระจายพันธ์ุได้มากข้ึนและรวดเร็วทำ�ให้เกิดโรคระบาด มีแมลงศัตรูเพิ่มมากข้ึน พืชและ สตั วท์ ไ่ี ม่สามารถปรับตัวไดท้ นั กอ็ าจสญู พันธไ์ุ ด้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
256 บทที่ 25 | มนษุ ยก์ ับความยง่ั ยืนของทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม ชวี วทิ ยา เล่ม 6 ฝนกรด การเกดิ ฝนกรด เกดิ จากในบรรยากาศมอี อกไซดข์ องไนโตรเจนและก�ำ มะถนั ปนเปอื้ นแกส๊ ทป่ี น เปอื้ นนจี้ ดั เปน็ มลพษิ ทางอากาศทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ จากยานพาหนะและโรงงานอตุ สาหกรรม แกส๊ เหล่านี้จะละลายปนอยู่กับไอน้ำ�ของบรรยากาศ และถูกออกซิไดส์เป็นกรดไนตริกและกรด กำ�มะถนั ในที่สุด โดยท่ัวไปนำ้�ฝนจะมีค่า pH ประมาณ 5.6 ซงึ่ สภาพกรดของนำ�้ ฝนมาจากกรด คาร์บอนิกที่เกิดจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีอยู่แล้วในบรรยากาศ แต่ฝนที่เกิดจากกรดไน ตรกิ และกรดกำ�มะถนั อาจมีคา่ pH ตำ�่ ถึง 4.0 ในกรณที ่มี ลี ะอองหมอกหนาทบึ บางครง้ั อาจพบ ค่า pH ได้ถึง 2.0 ผลกระทบจากฝนกรด 1. ผลกระทบต่อระบบนิเวศในน�้ำ ทำ�ให้ค่า pH ในน�้ำ ตำ�่ ถ้า pH ตำ่�กว่า 5 จะทำ�ใหส้ ัตว์น้�ำ ไม่ สามารถมีชีวติ อยไู่ ด้ 2. ผลกระทบต่อสวนสาธารณะและเขตป่าสงวน ฝนกรดทำ�ให้ใบไม้ร่วงหล่น เมล็ดไม่งอก ชะล้างสารอาหารจากใบพืช 3. ผลกระทบต่อพชื เศรษฐกจิ ถา้ คา่ pH เป็น 3 จะมีผลรุนแรงทำ�ลายใบของตน้ ถว่ั และชะลา้ ง ธาตุแคลเซียมจากใบยาสูบ ท่ีส�ำ คัญคือจะท�ำ ลายการแตกตาและยับยงั้ การสังเคราะห์ด้วย แสง นอกจากน้ีฝนกรดยังละลายและชะล้างสารอาหารในดิน ทำ�ให้พืชไม่เจริญเติบโต ผลผลิตลดลง 4. ผลกระทบตอ่ วัสดแุ ละส่ิงปลกู สร้างตา่ ง ๆ ทำ�ใหถ้ กู กดั กรอ่ นผุพังเส่อื มโทรม 5. ผลกระทบตอ่ น�ำ้ ในแหลง่ น�้ำ ท�ำ ใหน้ �ำ้ มสี ภาพเปน็ กรดไมเ่ หมาะตอ่ การน�ำ มาอปุ โภค บรโิ ภค เป็นสาเหตทุ ำ�ใหข้ าดแคลนนำ้�ได้ ปรากฏการณ์เอลนโิ ญและลานิญา เป็นปรากฏการณท์ เ่ี กิดขึ้นในมหาสมทุ รแปซิฟิก แถบเส้นศนู ย์สูตรบรเิ วณชายฝ่ังตะวันตกของ ทวีปอเมริกากลางและอเมริกาใต้ไปจนถึงฝั่งตะวันออกของทวีปออสเตรเลียตอนเหนือ มีหลัก ฐานว่า ปรากฏการณ์น้ีได้เกิดมานานนับพันปีมาแล้ว และเป็นปรากฏการณ์ท่ีแสดงให้เห็นถึง ความสมั พันธ์ของกระแสลมในบรรยากาศและกระแสน้ำ�ในมหาสมทุ ร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เลม่ 6 บทที่ 25 | มนุษยก์ บั ความยง่ั ยนื ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 257 โดยปกติแล้วนอกฝั่งทวีปอเมรกิ าใตแ้ ละอเมริกากลางจะมกี ระแสน�้ำ เย็นฮัมโบลท์ (Humboldt current) ซงึ่ มผี ลตอ่ สภาพภมู อิ ากาศบรเิ วณน้ี โดยจะท�ำ ใหอ้ ากาศแหง้ แลง้ และเยน็ เกดิ ขนึ้ บรเิ วณ ตอนใตข้ องประเทศเอกวาดอร์ เปรู และตอนเหนอื ของชลิ ี รวมทง้ั มผี ลใหก้ ระแสน�้ำ ในมหาสมทุ ร มอี ณุ หภมู ติ �่ำ กวา่ บรเิ วณเสน้ ศนู ยส์ ตู รหรอื บรเิ วณอนื่ ถงึ 5.5 องศาเซลเซยี ส ในปที ไ่ี มเ่ กดิ เอลนโิ ญ นั้น ลมสินค้าตะวันออกเฉียงใต้มีกำ�ลังแรงและพัดไปทางตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟิก (พัด ไปทางออสเตรเลีย) และเม่อื ผสมกบั แรงบิดจากการหมนุ รอบตัวเองของโลกหรือแรงโครอิ อลสิ (coriolis force) ท�ำ ให้กระแสลมเหนือเสน้ ศูนยส์ ตู รเคลื่อนบิดไปทางขวามอื และกระแสลมใต้ เสน้ ศนู ยส์ ตู รเคลอ่ื นบดิ ไปทางซา้ ยมอื เปน็ ผลใหพ้ ดั พากระแสน�้ำ อนุ่ ทผี่ วิ หนา้ มหาสมทุ รบรเิ วณ นอกชายฝั่งเปรูเคล่ือนที่ห่างจากฝ่ังไปทางตะวันตก (ออสเตรเลีย) กระแสนำ้�เย็นที่อยู่ลึกลงไป ด้านล่าง (เพราะน้ำ�เย็นหนักกว่าน้ำ�อุ่น) จึงหมุนวนขึ้นมาแทนท่ีนำ้�อุ่นท่ีผิวน้ำ� เรียกว่าเกิด upwelling พรอ้ มกบั น�ำ สารอาหารจากกน้ ทะเลขนี้ มาสผู่ วิ น�ำ้ ท�ำ ใหม้ กี ารเจรญิ ของแพลงกต์ อน อยา่ งสมบรู ณ์ และท�ำ ใหม้ ปี ลาโดยเฉพาะปลาแองโชวอี ดุ มสมบรู ณม์ าก เปรจู งึ เปน็ ประเทศทจ่ี บั ปลาแองโชวีสูงทสี่ ุดในโลก โดยเฉพาะในชว่ งตน้ คริสตศักราช 1970 การเกิดปรากฏการณ์เอลนิโญ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศเหนือบริเวณ มหาสมทุ รแปซิฟิกตอนใต้ทกุ 3-5 ปหี รืออาจนานถึง 8 ปี โดยยงั ไมส่ ามารถสรุปสาเหตไุ ด้ เรยี ก ว่า ภาวะอากาศแปรปรวนของซีกโลกใต้ (southern oscillation; SO) การเปลีย่ นแปลงนี้ท�ำ ให้ เกิดความกดอากาศสูงเหนือแปซิฟิกตะวันตก (ออสเตรเลีย) และมีความกดอากาศตำ่�เหนือ แปซฟิ ิกตะวันออก (อเมริกาใต้) ซงึ่ เป็นภาวะกลับกนั กับช่วงปกตทิ �ำ ให้เกิดลมพัดยอ้ นกลับจาก แปซิฟิกตะวันตกไปยังแปซิฟิกตะวันออก ซ่ึงก็คือ ลมสินค้าท่ีอ่อนกำ�ลังลงหรือพัดย้อนกลับ กระแสลมทีอ่ ่อนลงหรอื พัดยอ้ นกลับน้ี จะพดั เอากระแสน�้ำ ทผี่ วิ หน้าแปซิฟิกทางตะวนั ตกซ่ึงมี อุณหภูมิสงู มายังฝ่งั อเมริกาใต้ และปกคลมุ ท่ผี วิ หนา้ มหาสมทุ รทำ�ใหก้ ระแสนำ�้ เย็นบรเิ วณนี้ไม่ สามารถหมุนวนขึ้นมาผิวหน้านำ้�ได้ จึงทำ�ให้บริเวณชายฝ่ังอเมริกาใต้แถบประเทศเอกวาดอร์ เปรู ชิลีขาดกำ�ลังการผลิตอาหารในทะเลทำ�ให้ปลาตายหรืออพยพไปท่ีอื่น เป็นการสูญเสีย ทางการประมงอยา่ งมาก ในขณะเดยี วกนั ท�ำ ใหเ้ กดิ ฝน พายุ และมคี วามชมุ่ ชน้ื มากขน้ึ ในบรเิ วณ น้ี แต่ฝ่ังตะวนั ตกบริเวณออสเตรเลยี อนิ โดนีเซีย เอเซียตะวนออกเฉียงใตแ้ หง้ แล้งกวา่ ปกติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
258 บทที่ 25 | มนษุ ยก์ ับความย่ังยืนของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม ชีววทิ ยา เล่ม 6 ลมผิวโลก พัดไปทางตะวนั ตก เส้นศนู ย์สตู ร กระแสนำ้�อนุ่ ถกู พดั อเมริกาใต้ ออสเตรเลยี ขนึ้ มาทีผ่ ิวหนา้ มหาสมทุ ร น้ำ�อนุ่ ชนั้ น้ำ�อุน่ นำ�้ เยน็ รูปสภาพภูมิอากาศที่เกิดตามปกติ เกดิ ความแห้งแลง้ ขนึ้ ท่ี ลมออ่ นก�ำ ลังพดั ยอ้ นกลับและ ออสเตรเลียและเอเชีย ท�ำ ใหเ้ กดิ พายุ ตะวนั ออกเฉียงใต้ กระแสน้ำ�อุ่นถูกพัดย้อน อเมริกาใต้ กลบั ไปทีอ่ เมริกาใต้ เสน้ ศูนย์สตู ร ออสเตรเลยี นำ�้ อุ่น ชั้นน�ำ้ อนุ่ น�้ำ เย็น รปู การเกิดปรากฏการณ์เอลนิโญ ส่วนปรากฏการณ์ลานิญาเป็นปรากฏการณ์ตรงข้ามกับเอลนิโญ เกิดจากอุณหภูมิผิวนำ้�ของ มหาสมุทรแปซฟิ ิกตามแนวเส้นศนู ย์สูตร ในชว่ งตอนกลางและตะวนั ออก (อเมรกิ าใต)้ มคี า่ ต�ำ่ กว่าปกติ ทั้งนี้เนื่องจากลมสินค้าตะวันออกเฉียงใต้ที่พัดอยู่เป็นประจำ�ในแปซิฟิกเขตร้อนทาง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 6 บทท่ี 25 | มนุษย์กับความยัง่ ยนื ของทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม 259 ซีกใต้มีกำ�ลังแรงกว่าปกติ จึงพัดพาน้ำ�ทะเลอุ่นจากผิวหน้าของแปซิฟิกตะวันออก (บริเวณ เอกวาดอร์ เปรู ชลิ ี) ไปสะสมทางแปซิฟิกตะวนั ตก (ออสเตรเลยี อนิ โดนเี ซยี ) มากขึ้น บริเวณ ชายฝั่งอเมริกาใต้จึงเกิดกระแสนำ้�เย็น และเกิดการหมุนเวียนมวลน้ำ�เย็นจากมหาสมุทรจากที่ ลกึ ขน้ึ มาสผู่ ิวนำ้� ท�ำ ให้บรเิ วณฝัง่ อเมรกิ าใตแ้ ถบประเทศเอกวาดอร์ เปรู ชลิ ี มอี ากาศหนาวเย็น มีความแห้งแล้งเพ่ิมข้ึน ส่วนฝ่ังตรงข้ามคือ แปซิฟิกตะวันตกบริเวณออสเตรเลีย อินโดนีเซีย และเอเซยี ฝง่ั ตะวันออกเฉยี งใต้ มคี วามชุม่ ชืน้ มากขึ้น ดชั นกี ารตรวจสอบคณุ ภาพอากาศ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาเกณฑด์ ชั นคี ณุ ภาพอากาศของประเทศไทยดงั ตาราง 25.4 ซง่ึ แบง่ ออกเปน็ 5 ระดบั โดยใชส้ เี ปน็ สญั ลกั ษณเ์ ปรยี บเทยี บระดบั ของผลกระทบตอ่ สขุ ภาพมนษุ ย์ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี น ลองท�ำ กจิ กรรมเสนอแนะ วเิ คราะหค์ ณุ ภาพอากาศ ในหนงั สอื เรยี น กิจกรรมเสนอแนะ : วเิ คราะห์คณุ ภาพอากาศ จุดประสงค์ 1. สบื คน้ รวบรวม และวเิ คราะหข์ อ้ มลู คณุ ภาพของอากาศในประเทศไทยจากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ 2. เปรยี บเทยี บคุณภาพของอากาศในทอ้ งถิ่นของนักเรียนกับพื้นท่อี ืน่ ๆ ในประเทศไทย 3. เสนอแนวทางการแกไ้ ขคุณภาพของอากาศในท้องถ่นิ ของนักเรียน แนวการท�ำ กจิ กรรม ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลคุณภาพอากาศในท้องถิ่นของนักเรียนและพ้ืนที่อื่น ๆ ใน ประเทศไทยทนี่ กั เรยี นสนใจศกึ ษา ซง่ึ สามารถสบื คน้ ขอ้ มลู ไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ http://air4thai.pcd. go.th/webV2/ ของกรมควบคุมมลพิษ แล้วนำ�ข้อมูลท่ีได้เปรียบเทียบกับเกณฑ์ดัชนีคุณภาพ อากาศของประเทศไทย จากตาราง 25.4 ตวั อย่างผลการทำ�กิจกรรม เลอื กพน้ื ทใี่ นทอ้ งถน่ิ ของนกั เรยี น คอื บรเิ วณแขวงคลองจนั่ เขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานคร ตัง้ แต่วนั ที่ 12 กนั ยายน – 18 กนั ยายน 2562 ไดข้ ้อมลู ดังรูป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
260 บทท่ี 25 | มนษุ ยก์ บั ความย่ังยนื ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ชวี วิทยา เล่ม 6 กราฟคณุ ภาพอากาศแสดงค่าของมลพิษตามแตส่ ถานี PM2.5 PM1.0 O3 CO NO2 SO2 AQI 300 200 AQI 100 50 33 25 16 7 13 10 15 18 0 12 ก.ย. 13 ก.ย. 14 ก.ย. 15 ก.ย. 16 ก.ย. 17 ก.ย. 18 ก.ย. ตารางแสดงคุณภาพอากาศยอ้ นหลงั 7 วัน PM2.5 PM1.0 O3 CO NO2 SO2 (ppb) (ppb) วนั ท่ี (ug/m ) (ug/m ) (ppb) (ppm) AQI คุณภาพอากาศ 19 - Avg 24 hr Avg 24 hr Avg 8 hr Avg 8 hr 16 - 18 คุณภาพดมี าก 20 - 15 คณุ ภาพดีมาก 18 ก.ย. 18 28 6 - 13 - 10 คณุ ภาพดีมาก 17 ก.ย. 15 28 5 - 10 - 13 คุณภาพดีมาก 16 ก.ย. 10 17 9 - 11 - 7 คุณภาพดมี าก 15 ก.ย. 13 23 5 - 9 - 33 คณุ ภาพดี 14 ก.ย. 7 13 5 - 16 คุณภาพดีมาก 13 ก.ย. 13 60 6 - 12 ก.ย. 16 23 4 - ความหมายของสี 0-25 26-50 51-100 101-200 201 ข้ึนไป ดีมาก ดี ปานกลาง เรม่ิ มผี ลกระทบ มีผลกระทบ ตอ่ สขุ ภาพ ตอ่ สุขภาพ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 6 บทที่ 25 | มนษุ ยก์ บั ความยง่ั ยนื ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม 261 เลอื กพน้ื ทอ่ี น่ื ๆ ในประเทศไทย คอื บรเิ วณต�ำ บลเวยี งพางค�ำ อ�ำ เภอแมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย ตง้ั แต่วนั ท่ี 12 กันยายน – 18 กันยายน 2562 ไดข้ อ้ มูลดงั รูป กราฟคณุ ภาพอากาศแสดงคา่ ของมลพิษตามแต่สถานี PM2.5 PM1.0 O3 CO NO2 SO2 AQI 300 200 AQI 100 50 25 11 11 9 11 11 12 13 0 12 ก.ย. 13 ก.ย. 14 ก.ย. 15 ก.ย. 16 ก.ย. 17 ก.ย. 18 ก.ย. ตารางแสดงคณุ ภาพอากาศยอ้ นหลัง 7 วนั PM2.5 PM1.0 O3 CO NO2 SO2 (ppb) (ppb) วนั ที่ (ug/m ) (ug/m ) (ppb) (ppm) AQI คณุ ภาพอากาศ - - Avg 24 hr Avg 24 hr Avg 8 hr Avg 8 hr - - 13 คุณภาพดีมาก - - 12 คุณภาพดมี าก 18 ก.ย. 13 25 8 0.63 - - 11 คณุ ภาพดมี าก 17 ก.ย. 12 24 9 0.31 - - 11 คุณภาพดมี าก 16 ก.ย. 11 21 8 0.42 - - 9 คุณภาพดีมาก 15 ก.ย. 10 22 7 0.41 - - 11 คณุ ภาพดีมาก 14 ก.ย. 8 18 2 0.34 11 คุณภาพดมี าก 13 ก.ย. 8 21 1 0.53 12 ก.ย. 11 20 5 0.44 ความหมายของสี 0-25 26-50 51-100 101-200 201 ขึ้นไป ดีมาก ดี ปานกลาง เรมิ่ มผี ลกระทบ มีผลกระทบ ต่อสุขภาพ ตอ่ สขุ ภาพ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
262 บทที่ 25 | มนุษยก์ ับความย่ังยนื ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ชวี วิทยา เลม่ 6 ตัวอยา่ งผลการทำ�กิจกรรม เมอื่ เปรยี บเทยี บขอ้ มลู คณุ ภาพอากาศบรเิ วณแขวงคลองจนั่ เขตบางกะปิ กรงุ เทพมหานคร กบั บรเิ วณต�ำ บลเวยี งพางค�ำ อ�ำ เภอแมส่ าย จงั หวดั เชยี งราย ในชว่ งวนั เดยี วกนั พบวา่ ทง้ั 2 บรเิ วณ โดยภาพรวมผลการวิเคราะห์คุณภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์ดีมาก แต่มีข้อสังเกตว่าเมื่อพิจารณา ดชั นีเปน็ รายตัวพบว่า - บริเวณแขวงคลองจ่นั เขตบางกะปิ ตรวจพบ NO2 แต่ไม่พบ CO - บริเวณต�ำ บลเวยี งพางคำ� อำ�เภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ตรวจพบ CO แตไ่ ม่พบ NO2 ซ่ึง อาจวิเคราะห์ได้อีกต่อไปว่าบริเวณท้ัง 2 แห่งน้ี บริเวณกรุงเทพมหานครมีการจราจรค่อน ขา้ งหนาแนน่ กวา่ แหลง่ ทมี่ าของ NO2 อาจมาจากการเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลงิ รถยนตเ์ ปน็ หลกั สว่ น บรเิ วณจงั หวดั เชยี งรายอยใู่ นชนบท อาจมกี ารจราจรหนาแนน่ นอ้ ยกวา่ และทพี่ บ CO บา้ ง นน้ั อาจเกดิ จากในชมุ ชนนนั้ มกี จิ กรรมบางอยา่ งทม่ี กี ารใชเ้ ชอ้ื เพลงิ แลว้ เกดิ การเผาไหมแ้ บบ ไมส่ มบรู ณแ์ ละท�ำ ให้เกิด CO ข้นึ จากกิจกรรมเสนอแนะ จะเห็นได้ว่าในแต่ละท้องถ่ินของนักเรียนเม่ือเปรียบเทียบกับพ้ืนท่ี อน่ื ๆ ในประเทศไทยจะมคี ณุ ภาพอากาศทเ่ี หมอื นหรอื แตกตา่ งกนั ทง้ั นข้ี น้ึ อยกู่ บั สภาพภมู ปิ ระเทศและ กจิ กรรมของคนในทอ้ งถน่ิ ดว้ ย ซง่ึ ถา้ ทอ้ งถน่ิ ของนกั เรยี นมปี ญั หามลพษิ ทางอากาศอาจสง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ เชน่ โรคระบบทางเดนิ หายใจ เปน็ ตน้ ส�ำ หรบั แนวทางการปอ้ งกนั เชน่ เมอ่ื อยภู่ ายนอกอาคาร ควรสวมหนา้ กากอนามยั เปน็ ตน้ สว่ นการแกไ้ ขคณุ ภาพอากาศ เชน่ ใชบ้ รกิ ารรถยนตส์ าธารณะมากกวา่ การใชร้ ถยนตส์ ว่ นตวั การปลกู ตน้ ไมช้ ว่ ยกรองอากาศ เปน็ ตน้ นอกจากการใชเ้ กณฑด์ ชั นคี ณุ ภาพอากาศ เพอ่ื ตรวจสอบคณุ ภาพอากาศแลว้ ยงั สามารถใชก้ ารตรวจสอบคณุ ภาพอากาศอยา่ งงา่ ยดว้ ยตนเอง ซง่ึ นกั เรยี นจะไดศ้ กึ ษาจากกจิ กรรม 25.2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เล่ม 6 บทที่ 25 | มนษุ ยก์ บั ความยั่งยืนของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 263 กิจกรรม 25.2 การวัดปริมาณฝุน่ ละอองในอากาศอยา่ งง่าย จดุ ประสงค์ 1. วดั ปริมาณฝนุ่ ละอองในอากาศ 2. วิเคราะห์ปัญหาฝุ่นละอองในอากาศ สาเหตุ และผลกระทบที่อาจเกิดข้ึน รวมท้ังเสนอ แนวทางการแกไ้ ขปัญหา แนวการท�ำ กิจกรรม ครอู าจแบง่ กลมุ่ นกั เรยี น เพอื่ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ เลอื กส�ำ รวจคณุ ภาพอากาศในทอ้ งถนิ่ ทมี่ สี ภาพ แวดลอ้ มทแี่ ตกต่างกนั เช่น โรงเรียน ในบา้ นพัก ริมถนน สวน จากน้ันน�ำ สไลดท์ ี่ตดิ ดว้ ยแถบ กระดาษส�ำ หรบั บนั ทกึ ขอ้ มลู ไปผกู แขวนไวใ้ นบรเิ วณทเี่ ลอื กส�ำ รวจคณุ ภาพอากาศ เปน็ เวลา 24 ชว่ั โมง และน�ำ สไลดใ์ นแตล่ ะบรเิ วณมาตรวจสอบดปู รมิ าณฝนุ่ หรอื เขมา่ ควนั ดว้ ยแวน่ ขยายหรอื กลอ้ งจุลทรรศน์ใชแ้ สงแบบสเตอริโอ ข้อเสนอแนะส�ำ หรบั ครู 1. ครูชี้แจงกับนักเรียนว่าสาเหตุท่ีให้ในแต่ละบริเวณกำ�หนดจุดสำ�รวจอย่างน้อย 3 จุดนั้น เนอ่ื งจากในรอบ 24 ชวั่ โมง ทศิ ทางลมอาจมกี ารเปลยี่ นแปลงได้ การก�ำ หนดจดุ ส�ำ รวจอยา่ ง น้อย 3 จุด ในบรเิ วณเดียวกัน ค่าปรมิ าณฝุ่นละอองท่ีสำ�รวจได้สามารถสะท้อนปรมิ าณฝ่นุ ละอองโดยภาพรวมในบริเวณนัน้ ๆ ได้ 2. ปรมิ าณฝนุ่ ละอองทสี่ �ำ รวจใหด้ วู า่ ฝนุ่ ทเี่ กาะบนสไลดม์ คี วามหนาแนน่ มากหรอื นอ้ ย นอกจาก ใช้แว่นขยายหรือกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบสเตอริโอดูแล้ว อาจนำ�สไลด์มาส่องดูแสงท่ี ผ่านสไลด์ก็อาจบอกปริมาณฝุ่นละอองได้คร่าว ๆ ในกรณีที่แสงผ่านสไลด์ได้น้อยแสดงว่า ปริมาณฝุ่นละอองมีมาก ตวั อย่างผลการทำ�กจิ กรรม รูปตวั อยา่ งสไลด์ส�ำ หรบั บันทึกขอ้ มูล สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
264 บทท่ี 25 | มนษุ ย์กับความยั่งยืนของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ชวี วิทยา เล่ม 6 บริเวณที่สำ�รวจคือ บ้านพักแถวรามอินทราเป็นบริเวณสวนภายนอกบ้านพัก วันที่สำ�รวจ 17 มกราคม 2562 ก�ำ หนดจดุ ผกู แขวนสไลดไ์ ว้ 3 จดุ เหนอื ทศิ ทางลมและหนั ดา้ นทม่ี วี าสลนี ออก บริเวณที่สำ�รวจคือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) อาคาร อ�ำ นวยการชน้ั 4 เปน็ บรเิ วณระเบยี ง ก�ำ หนดจดุ ผกู แขวนสไลดไ์ ว้ 3 จดุ เหนอื ทศิ ทางลมและหนั ด้านที่มีวาสลีนออก ผลการทำ�กิจกรรม เมื่อนำ�สไลด์ท่ีผูกแขวนไว้ทั้ง 3 จุด บริเวณบ้านพักแถวรามอินทรามา ตรวจสอบปรมิ าณฝ่นุ ละออง พบว่า ปรมิ าณฝุ่นละอองท้ัง 3 จุด มปี ริมาณไม่แตกต่าง และเม่อื เปรยี บเทยี บปรมิ าณฝนุ่ ละอองในภาพรวมกบั ปรมิ าณฝนุ่ ละอองในภาพรวมบรเิ วณสสวท. พบวา่ ฝุ่นละอองบริเวณบ้านพักแถวรามอินทรามีปริมาณฝุ่นละอองน้อยกว่าบริเวณสสวท. ทั้งนี้อาจ เนอ่ื งมาจากบรเิ วณบา้ นพกั แถวรามอนิ ทราอยแู่ ถวชานเมอื ง การจราจรไมห่ นาแนน่ มาก และมี พื้นที่สเี ขียวปลูกต้นไมค้ อ่ นขา้ งมาก เมื่อเปรียบเทยี บกับบริเวณสสวท. เฉลยค�ำ ถามท้ายกจิ กรรม คุณภาพอากาศจากฝุ่นละอองในแตล่ ะจดุ ที่สำ�รวจ และแต่ละบริเวณเปน็ อยา่ งไร และสรปุ ไดว้ า่ อย่างไร ในบรเิ วณทน่ี กั เรยี นเลอื กส�ำ รวจนน้ั อาจมสี ภาพแวดลอ้ มในแตล่ ะจดุ ทไ่ี มแ่ ตกตา่ งกนั ดงั นน้ั ปริมาณคณุ ภาพอากาศจากฝุ่นละอองที่สำ�รวจได้ในแตล่ ะจุดทส่ี �ำ รวจได้ โดยภาพรวมอาจ ไม่แตกต่างกัน แต่หากเปรียบเทียบระหว่างบริเวณท่ีสำ�รวจอาจมีความแตกต่างกัน เช่น บริเวณที่มีชุมชนหนาแน่นแออัด หรือจราจรคับคั่ง อาจมีปริมาณฝุ่นละอองค่อนข้างมาก ส่วนบริเวณสวนสาธารณะอาจมีปริมาณฝุ่นละอองน้อยกว่า เป็นต้น ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับสภาพ แวดล้อมของแตล่ ะท้องถนิ่ แนวทางการจัดการทรพั ยากรอากาศ ครูให้นักเรียนศึกษาหัวข้อแนวทางการจัดการทรัพยากรอากาศในหนังสือเรียน และร่วมกัน อภปิ รายวา่ นอกจากทก่ี ลา่ วมาแลว้ ยงั มแี นวทางอน่ื ใดอกี บา้ ง และแนวทางการจดั การทรพั ยากรอากาศ วธิ ใี ด ทน่ี กั เรยี นสามารถปฏบิ ตั ไิ ดท้ นั ที ซง่ึ จากการอภปิ รายสามารถสรปุ ไดว้ า่ แนวทางทน่ี กั เรยี นสามารถ ท�ำ ได้ เชน่ การเดนิ ทางไปโรงเรยี นของนกั เรยี นสามารถใชบ้ รกิ ารขนสง่ สาธารณะแทนการใชร้ ถยนตบ์ คุ คล ได้ และการคดั แยกขยะและน�ำ กลบั มาใชใ้ หมเ่ พอ่ื ลดการเผาขยะทก่ี อ่ ใหเ้ กดิ มลพษิ ทางอากาศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 6 บทท่ี 25 | มนุษย์กบั ความยง่ั ยนื ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 265 25.2.4 ทรัพยากรป่าไม้ รปู ต้นไมใ้ นป่า ครอู าจน�ำ รปู ทรพั ยากรปา่ ไม้ เชน่ ปา่ ดบิ ชน้ื ทม่ี ตี น้ ไม้ ไลเคน มอส ขน้ึ อยู่ ดงั รปู มาใหน้ กั เรยี นดแู ลว้ ถามนกั เรยี นวา่ ถา้ ปา่ ไมใ้ นรปู น้ถี ูกทำ�ลายไปนักเรียนจะร้สู ึกอย่างไร คำ�ถามน้เี ป็นการกระต้นุ ให้ นักเรียนรู้สึกถึงความหวงแหนในทรัพยากรป่าไม้ท่ีอุดมสมบูรณ์ท่ี มนษุ ยแ์ ละสง่ิ มชี วี ติ อน่ื ๆ ไดใ้ ชป้ ระโยชน์ จากนน้ั ครเู ชอ่ื มโยงใหเ้ หน็ ถงึ ความส�ำ คญั ของทรพั ยากรปา่ ไม้ การใชป้ ระโยชนจ์ ากปา่ ไมข้ อง มนษุ ยแ์ ละสง่ิ มชี วี ติ อน่ื ๆ เพอ่ื สกู่ จิ กรรม 25.3 ทรพั ยากรปา่ ไม้ กจิ กรรม 25.3 ศึกษาการเปลี่ยนแปลงพ้นื ทีป่ ่าไมข้ องประเทศไทย จุดประสงค์ 1. วเิ คราะห์ข้อมลู การเปลย่ี นแปลงพ้นื ทปี่ ่าไมข้ องประเทศไทยตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2543-2561 2. สบื คน้ ขอ้ มลู เกีย่ วกับสาเหตขุ องการเปลีย่ นแปลงพน้ื ทป่ี า่ ไม้ของประเทศไทย 3. อภิปราย และเสนอแนวทางการแก้ไขปญั หา การจดั การทรัพยากรปา่ ไม้อยา่ งยั่งยืน แนวการท�ำ กิจกรรม ครูให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อมูลกราฟพ้ืนท่ีป่าไม้ของประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543-2561 เพอื่ ดกู ารเปลยี่ นแปลงพนื้ ทป่ี า่ ไม้ จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู พนื้ ทป่ี า่ ไมเ้ ปน็ รายภาคตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2543-2561 ไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ http://forestinfo.forest.go.th/55/Content.aspx?id=72 เพื่อดูแนวโน้มการเปล่ียนแปลงพื้นที่ป่าไม้ในภาพรวม และหาแนวทางการจัดการพ้ืนที่ป่าไม้ เพอื่ การใช้ประโยชน์อย่างย่งั ยืน ตวั อย่างผลการทำ�กิจกรรม กราฟข้อมูลพนื้ ที่ป่าไม้ของประเทศไทยแบง่ ตามรายภาค ดังรูป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
266 บทที่ 25 | มนุษย์กบั ความย่ังยนื ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ชวี วทิ ยา เลม่ 6 พ้ืนที่ปา่ (ลา้ นไร่) 80 60 40 20 0 2543 2545 2547 2549 2551 2553 2555 2557 2559 2561 ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคใต้ เฉลยค�ำ ถามท้ายกิจกรรม พนื้ ท่ีปา่ ไม้ของประเทศไทยตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2543-2561 มกี ารเปล่ยี นแปลงอยา่ งไร เพ่มิ ขน้ึ หรือลดลง และน่าจะมาจากสาเหตุใด จากสถานการณพ์ นื้ ทปี่ า่ ไมใ้ นประเทศไทย ชว่ งปี พ.ศ. 2543-2549 และปี พ.ศ. 2551-2556 พบวา่ พน้ื ทปี่ า่ ไมใ้ นประเทศไทยยงั ลดลงอยา่ งตอ่ เนอื่ งอาจเปน็ เพราะการบกุ รกุ พนื้ ทป่ี า่ ไม้ เพ่ือทำ�เกษตรกรรม การทำ�ไม้เพื่อการส่งออก การสร้างเข่ือนเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า และ การเกิดไฟป่า แต่ในปี พ.ศ. ปี พ.ศ. 2549-2551 พื้นที่ป่าไม้เพ่ิมข้ึนอาจมีสาเหตุมาจาก โครงการเพ่ิมพ้ืนที่ป่าจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน แต่อย่างไรก็ตามหลังจากปี พ.ศ. 2556 เปน็ ตน้ ไปแนวโนม้ ของพนื้ ทปี่ า่ ไมข้ องประเทศไทยคอ่ นขา้ งคงทอ่ี าจเปน็ เพราะมกี าร รณรงคใ์ หอ้ นรุ กั ษท์ รพั ยากรปา่ ไม้ เมอ่ื มกี ารตดั ไมไ้ ปใชป้ ระโยชนก์ จ็ ะมกี ารปลกู ทดแทนขนึ้ มาใหม่ การเปลยี่ นแปลงพน้ื ทปี่ า่ ไมเ้ ปน็ รายภาคในภาพรวม ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2543-2561 เปน็ อยา่ งไร การเปล่ียนแปลงพื้นที่ป่าไม้เป็นรายภาคในภาพรวมของภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ภาคตะวนั ออก ภาคกลาง และภาคใต้ มแี นวโน้มการเปลี่ยนแปลงไปในทศิ ทางเดยี ว กบั การเปลย่ี นแปลงพนื้ ทป่ี า่ ไมข้ องประเทศไทย ดงั กราฟขอ้ มลู พน้ื ทป่ี า่ ไมข้ องประเทศไทย แบ่งตามรายภาคด้านบน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 6 บทที่ 25 | มนษุ ยก์ บั ความยัง่ ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 267 แนวทางในการจัดการพื้นทปี่ า่ ไมเ้ พ่ือการใชป้ ระโยชน์อยา่ งยงั่ ยนื ท�ำ ได้อยา่ งไรบ้าง รฐั บาลไดม้ แี นวทางในการเพิม่ พน้ื ทป่ี า่ ดังรปู ปัญหา / เป้าหมาย ปญั หาด้านทดี่ นิ ปญั หาคามขัดแย้งท่ดี ินในพื้นท่ี ปญั หาด้านปา่ ไม้ ปา่ เป้าหมาย: เป้าหมาย: การกระจายการถอื ครองทดี่ นิ เป้าหมาย: หยดุ ยั้งการบุกรกุ ป่า ฟ้ืนฟปู า่ อย่างเปน็ ธรรม คนอย่รู ่วมกบั ปา่ ฟน้ื ฟูป่าตาม เพิม่ พนื้ ที่ป่าเศรษฐกิจ กรอบกติกาท่ีเป็นธรรม ข้อเสนอปฏิ ูรปและการ ัจดการแ ้กไข ัปญหา ปรับปรงุ พฒั นากฏหมาย ปรบั ปรงุ มติ ครม. ปรับปรุงพัฒนากฏหมาย กฏหมายดา้ นการจัดการทีด่ ิน มติ ครม. 30 มิ.ย. 2541 และมติ จดั ทำ�ประมวลกฏหมายป่าไม้ อื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง มติ ครม. องค์กร ช้ันคณุ ภาพลมุ่ นำ�้ องคก์ ร จัดต้งั กคณะกรรมการนโยบาย จัดตง้ั คณะกรรมการนโยบาย ท่ดี ินแห่งชาติ ตาม พ.ร.บ. ปรบั ปรุงพฒั นากฏหมาย ปา่ ไม้แหง่ ชาติ คณะกรรมการนโยบายท่ีดนิ - พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ แหง่ ชาติ - พ .ร.บ. สงวนและคมุ้ ครองสตั วป์ า่ ส่งเสริมเพิ่มพืน้ ท่ีป่าเศรษฐกิจ - พ.ร.บ. ป่าชุมชน - ป รบั ปรุง พ.ร.บ. ป่าไม้ (ม.7 เคร่ืองมอื ใหม่ - พ.ร.บ. สิทธิชุมชนตาม - จดั ตัง้ ธนาคารทด่ี นิ และมาตราอนื่ ๆ - ภาษีทด่ี นิ และส่งิ ปลูกสร้าง รัฐธรรมนูญ - ปรับปรงุ พ.ร.บ. สวนปา่ - แ ผนบรหิ ารจดั การท่ดี ินและ - ส นับสนุนธนาคารตน้ ไม้ การแกไ้ ขปัญหาความขดั แยง้ เคร่อื งมอื เศรษฐศาสตร์ ทรพั ยากรทีด่ นิ ของประเทศ ที่ดินในพืน้ ที่ป่าสงวนแห่งชาติ พนั ธบตั รป่าไม้ และปา่ อนรุ ักษ์ (1) พจิ ารณาเป็นรายพืน้ ที่ (2) ช มุ ชนมสี ิทธใิ นการใช้ ประโยชนไ์ มไ่ ดก้ รรมสทิ ธิ์ ระบบสนับส ุนน 1. ระบบการผังเมอื งแบบใหม่ 2. ระบบ 3. แผนท่ี 4. การประเมิน 5. คณะ Big Dataa แนวเขตท่ดี นิ ยทุ ธศาสตรก์ าร กรรมการ ท่ดี นิ - ปา่ ไม้ รัฐแบบ พฒั นาอยา่ ง นโยบายทีด่ ิน บูรณาการ ย่ังยนื (SEA) แห่งชาติ (One Map) (คทช.) ท่มี า : อรยพุ า สงั ขะมาน ธนากร ไชยยศ ชฎาภรณ์ ศรใี ส วรางคณา จนั ดา. (2560-2561). สถานการณป์ า่ ไมไ้ ทยพทุ ธศกั ราช 2560-2561 มลู นธิ สิ บื นาคะเสถียร. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
268 บทที่ 25 | มนุษย์กับความยง่ั ยนื ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม ชวี วิทยา เล่ม 6 ปญั หาท่เี กดิ ขึน้ จากการใช้ทรพั ยากรป่าไม้ ปญั หาการลดลงของทรพั ยากรปา่ ไม้ ครอู าจใชค้ �ำ ถามถามนกั เรยี นวา่ การลดลงของพน้ื ทป่ี า่ ไมน้ กั เรยี นคดิ วา่ เกดิ มาจากสาเหตใุ ดได้ บา้ ง ซง่ึ ค�ำ ตอบของนกั เรยี นอาจตอบจากความรพู้ น้ื ฐานเดมิ ทน่ี กั เรยี นมี ครสู ามารถสรปุ ไดว้ า่ สาเหตทุ ่ี ท�ำ ใหพ้ น้ื ทป่ี า่ ไมล้ ดลงเกดิ จากการตดั ไมท้ �ำ ลายปา่ การตอ้ งการใชไ้ มเ้ พอ่ื สรา้ งทอ่ี ยอู่ าศยั เกดิ ไฟปา่ เปน็ ตน้ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี การลดลงของพืน้ ทป่ี ่าไมก้ อ่ ให้เกดิ ผลกระทบด้านใดอกี บา้ ง ขาดแหล่งต้นนำ้�ลำ�ธาร เกิดการพังทลายของดินจากวาตภัย การสูญเสียความหลากหลาย ทางชวี ภาพ แนวทางการจดั การและการอนุรักษท์ รัพยากรป่าไม้ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาหวั ขอ้ แนวทางการจดั การและการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรปา่ ไม้ ในหนงั สอื เรยี น ซง่ี การก�ำ หนดเขตปา่ อนรุ กั ษเ์ พอ่ื ปอ้ งกนั การบกุ รกุ เปน็ แนวทางหนง่ึ ในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรปา่ ไม้ ครู สามารถให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพ่มิ เติมจากเว็บไซต์ http://www.dnp.go.th/wildlife_it/n_web/ lacegant/conservation_areas_search.php เกย่ี วกบั เขตพน้ื ทร่ี กั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ และเขตพน้ื ทห่ี า้ มลา่ สตั วป์ า่ ของส�ำ นกั อนรุ กั ษส์ ตั วป์ า่ กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพ์ุ ชื จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถาม ในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี แนวทางในการเพม่ิ พื้นที่ป่าไมห้ รือการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรปา่ ไม้โดยวิธใี ดบ้าง การสร้างความตระหนัก กระตุ้นจิตสำ�นึกในการอนุรักษ์ป่าไม้ให้กับประชาชน การปลูกป่า ทดแทน บริหารจัดการหรือแบ่งพ้ืนท่ีตามการใช้ประโยชน์ให้ชัดเจน จัดต้ังพื้นที่อนุรักษ์ เปน็ ตน้ 25.2.5 ทรพั ยากรสตั วป์ า่ ครอู าจน�ำ รปู ของสบื นาคะเสถยี ร ซง่ึ เปน็ นกั อนรุ กั ษแ์ ละนกั วชิ าการดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ ทพ่ี ยายามปกปอ้ งเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ทงุ่ ใหญน่ เรศวร และเขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ หว้ ยขาแขง้ และไดฆ้ า่ ตวั ตายเพอ่ื ใหส้ งั คมเหน็ ความส�ำ คญั ของการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ และใชค้ �ำ ถามถามนกั เรยี นวา่ รจู้ กั บคุ คลในรปู นห้ี รอื ไม่ และบคุ คลนไ้ี ดท้ �ำ ประโยชนอ์ ยา่ งไรใหก้ บั ประเทศไทย ซง่ึ ค�ำ ตอบของนกั เรยี น นน้ั ขน้ึ อยกู่ บั ประสบการณค์ วามรทู้ น่ี กั เรยี นทราบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วิทยา เล่ม 6 บทที่ 25 | มนุษย์กับความย่ังยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม 269 หรือครูอาจใช้รูปการทำ�ร้ายสัตว์ป่าหรือค้าขายสัตว์ป่า หรือข่าวเหตุการณ์ท่ีเก่ียวข้องกับ ทรพั ยากรสตั วป์ า่ และถามค�ำ ถามนกั เรยี นวา่ นกั เรยี นรสู้ กึ อยา่ งไรตอ่ เหตกุ ารณห์ รอื ขา่ วทเ่ี กดิ ขน้ึ จาก นน้ั ถามนกั เรยี นวา่ หากเหตกุ ารณเ์ ชน่ นเ้ี กดิ ขน้ึ เรอ่ื ย ๆ จะเกดิ ผลอยา่ งไร ซง่ึ ครนู �ำ ไปสขู่ อ้ สรปุ วา่ จะท�ำ ให้ สตั วป์ า่ นน้ั ๆ สญู พนั ธไ์ุ ด้ แลว้ อาจถามค�ำ ถามเพม่ิ เตมิ อกี วา่ นกั เรยี นคดิ วา่ สตั วป์ า่ มปี ระโยชนต์ อ่ มนษุ ย์ และสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งไร และสตั วป์ า่ ชนดิ ใดทส่ี ญู พนั ธไ์ุ ปแลว้ จากประเทศไทยบา้ ง ซง่ึ ค�ำ ตอบของนกั เรยี น อาจหลากหลาย แตส่ ามารถสรปุ ไดว้ า่ สตั วป์ า่ มปี ระโยชนต์ อ่ มนษุ ยแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ ชว่ ยใหเ้ กดิ ความ สมดลุ ของระบบนเิ วศ ชว่ ยการกระจายเมลด็ พนั ธพ์ุ ชื การผสมเกสร เปน็ ตน้ ส�ำ หรบั สตั วป์ า่ บางชนดิ ท่ี สญู พนั ธไ์ุ ปแลว้ จากประเทศไทย เชน่ สมนั เปน็ ตน้ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาขอ้ มลู ในกลอ่ งชวนคดิ เกย่ี วกบั สตั วป์ า่ สงวนในประเทศไทย และลอง ตอบค�ำ ถามในกลอ่ งชวนคดิ ชวนคิด สตั วป์ า่ สงวนชนดิ ใหม่ 4 ชนดิ ทเ่ี พม่ิ เขา้ มาใหมน่ ล้ี ว้ นเปน็ สตั วท์ อ่ี าศยั อยใู่ นทะเลนนั้ บอกถงึ อะไรไดบ้ า้ ง สถานการณใ์ ดบา้ งทอี่ าจเปน็ สาเหตทุ �ำ ใหส้ ตั วท์ งั้ 4 ชนดิ นมี้ แี นวโนม้ ทจี่ ะลดลง สตั วป์ ่าสงวนชนดิ ใหม่ 4 ชนดิ คอื วาฬบรูดา วาฬโอมรู ะ เตา่ มะเฟอื ง และฉลามวาฬ บอก ถงึ ไดว้ า่ สตั วท์ ง้ั 4 ชนดิ นม้ี โี อกาสทจ่ี ะสญู พนั ธไุ์ ปจากประเทศไทย เนอื่ งจากสภาพแวดลอ้ ม ในทะเลมีความไม่เหมาะสมต่อการดำ�รงชีวิตของสัตว์เหล่านี้ และสัตว์เหล่าน้ีมีผลต่อการ ควบคมุ กลไกในระบบนเิ วศเพราะเปน็ ผลู้ า่ ล�ำ ดบั ตน้ ของโซอ่ าหาร รวมทง้ั สตั วเ์ หลา่ นม้ี กี าร กระจายพันธ์ุจำ�นวนน้อยในประเทศไทย และอยู่ในรายการของสหภาพระหว่างประเทศ เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (International Union for Conservation of Nature and Natural Resources; IUCN) จึงต้องมีการด�ำ เนนิ การต้ัง เป็นสัตว์ป่าสงวน สำ�หรับสาเหตุท่ีทำ�ให้สัตว์เหล่านี้มีแนวโน้มลดลง เช่น การกินพลาสติก หรือไมโครพลาสตกิ เขา้ ไปในรา่ งกาย การลา่ สัตว์ทะเล เป็นต้น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
270 บทที่ 25 | มนษุ ย์กบั ความยงั่ ยนื ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม ชวี วทิ ยา เลม่ 6 กิจกรรม 25.4 เหตุการณจ์ ากข่าวเก่ียวกบั สตั วป์ า่ จุดประสงค์ 1. ศึกษา วิเคราะห์ สถานการณข์ องสัตวป์ ่าจากเหตกุ ารณใ์ นขา่ ว 2. อธิบายสาเหตุและผลกระทบที่เกิดข้ึนพร้อมท้ังเสนอแนวทางในการแก้ไข หรืออนุรักษ์ ทรพั ยากรสตั ว์ป่า แนวการทำ�กิจกรรม ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ เลอื กศกึ ษาเหตกุ ารณใ์ นขา่ ว จากนนั้ วเิ คราะหเ์ กย่ี วกบั สาเหตุ ปญั หา ผลกระทบที่เกิดขนึ้ และแนวทางแกไ้ ข พรอ้ มนำ�เสนอและรว่ มกันอภิปรายในช้นั เรยี น ตัวอยา่ งผลการทำ�กิจกรรม ข่าวที่ 1 รวบพรานป่า อ.เชียงดาว พร้อมซากเลียงผา-เกง้ สาเหตุ ปญั หา : เกิดจากการล่าสตั วป์ า่ ผลกระทบ : ทำ�ให้จำ�นวนสัตว์ป่า คือ เลียงผา เก้ง นกเขา ลดจำ�นวนลง และอาจ สญู พนั ธไุ์ ปจากประเทศไทย โดยเฉพาะเลยี งผาจดั เปน็ สตั วป์ า่ สงวนทใี่ กล้ สญู พนั ธุ์แลว้ นอกจากน้ียังมีผลกระทบต่อระบบนิเวศ จ�ำ นวนประชากร ทลี่ า่ เลยี งผา เกง้ เปน็ อาหารลดลง ลดการแพรก่ ระจายของเมลด็ พนั ธพ์ุ ชื จากนกเขา แนวทางการแกไ้ ข : ปลูกจิตสำ�นึกให้ประชาชนเห็นความสำ�คัญและประโยชน์ของสัตว์ป่า และขยายพันธ์เุ พ่ิมจ�ำ นวนเลียงผา เกง้ ใหม้ จี ำ�นวนมากข้ึน ขา่ วท่ี 2 ลอ่ ซอ้ื “ลูกหมคี วาย” รอดเหยอื่ ค้าสัตวป์ ่าออนไลน์ สาเหตุ ปญั หา : การคา้ ขายสตั วป์ า่ ผลกระทบ : ทำ�ให้จ�ำ นวนสัตวป์ า่ คมุ้ ครอง คอื เหยยี่ ว นกกาฮัง เสอื กระต่าย และหมี ควาย ลดจำ�นวนลง มผี ลกระทบต่อการควบคุมกลไกในระบบนิเวศ แนวทางการแก้ไข : ปลกู จิตส�ำ นกึ ให้ประชาชนเห็นความส�ำ คญั และประโยชนข์ องสัตวป์ า่ มี เครือข่ายการเฝ้าระวัง ควบคมุ ตดิ ตามการซือ้ ขายสตั ว์ปา่ ออนไลน์ และ ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแจ้งเบาะแสกบั เจา้ หนา้ ทขี่ องรัฐ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 6 บทท่ี 25 | มนษุ ย์กับความยงั่ ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม 271 ขา่ วที่ 3 ช้างป่า แอบซุ่มลอยคอในนำ้� เตรียมบุกสวนผลไม้ สาเหตุ ปัญหา : เกิดการขาดแคลนอาหารของช้างป่าทำ�ให้ช้างป่าต้องบุกรุกเพ่ือออกมา หากนิ ในพื้นที่ทำ�กินของมนษุ ย์ ผลกระทบ : เกิดความเสียหายกับสวนผลไม้ ทำ�ให้จำ�นวนผลผลิตลดลง และทำ�ให้ พฤติกรรมของช้างป่าเปลี่ยนแปลงไป จากที่เคยหากินในป่าเปล่ียนมา หากินในสวนผลไม้ท่ีคนปลูกไว้ และอาจทำ�ร้ายคนได้ นอกจากนี้ยังส่ง ผลกระทบต่อระบบนิเวศที่ช้างป่าอาศัยอยู่ และมีการเพิ่มจำ�นวนพืชท่ี เปน็ อาหารของช้างป่ามากขนึ้ แนวทางการแก้ไข : ศึกษาพ้ืนที่ในบริเวณท่ีช้างป่าอาศัยอยู่ว่าขาดแคลนพืชอาหารของช้าง ป่าหรือไม่ หรือบริเวณท่ีช้างป่าอาศัยอยู่ถูกบุกรุกจากคน จึงเป็นสาเหตุ ให้ช้างป่าบุกรุกเข้าไปหากินในสวนผลไม้ อาจจัดทำ�ร้ัวไฟฟ้าเพ่ือกั้น เขตแดนไม่ให้ช้างป่าออกมาจากป่า เพ่ือมาหากินในบริเวณท่ีอยู่อาศัย ของคน เฉลยค�ำ ถามท้ายกิจกรรม ในถิ่นที่อยู่อาศัยของนักเรียนมีปัญหาหรือผลกระทบท่ีเก่ียวกับสัตว์ป่าอื่นใดบ้างหรือไม่ อยา่ งไร คำ�ตอบขึ้นอยู่กับถิ่นท่ีอยู่อาศัยของนักเรียนจะพบปัญหาหรือผลกระทบที่เก่ียวกับสัตว์ป่า นนั้ ๆ ซง่ึ นกั เรยี นควรตดิ ตามขอ้ มลู ขา่ ว เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ จะท�ำ ใหส้ ามารถทราบ ปญั หาและ ผลกระทบท่ีเกิดขึ้น แนวทางการอนรุ กั ษแ์ ละจัดการทรพั ยากรสัตว์ป่าในประเทศไทยควรเปน็ อย่างไร ขน้ึ อยกู่ บั ขอ้ มูลและเหตผุ ลที่นักเรยี นให้ แต่สามารถสรปุ ไดว้ ่า ควรจัดตัง้ พ้นื ทอ่ี นรุ ักษส์ ัตว์ ป่า ส่งเสริมการวิจัยและเพ่ิมองค์ความรู้สัตว์ป่า เผยแพร่ความรู้และสร้างจิตสำ�นึกให้ ประชาชนอนุรักษ์ทรพั ยากรสตั ว์ปา่ เพาะเล้ยี งและขยายพันธสุ์ ัตว์ป่าหายาก เป็นต้น จากกจิ กรรมนน้ี กั เรยี นจะไดฝ้ กึ วเิ คราะห์ อภปิ รายในประเดน็ เกย่ี วกบั สาเหตุ ผลกระทบ ปญั หา และเสนอแนวทางการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรสตั วป์ า่ ในหลายแงม่ มุ ทง้ั ดา้ นการลา่ สตั วป์ า่ การคา้ ขายสตั วป์ า่ และการบกุ รกุ ของสตั วป์ า่ เขา้ มาหากนิ ในสวนผลไม้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
272 บทที่ 25 | มนุษย์กบั ความยัง่ ยนื ของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ชวี วิทยา เล่ม 6 จากน้ันครูอาจขยายความรู้เพ่ิมเติมให้กับนักเรียนเก่ียวกับกรณีศึกษาการอนุรักษ์สัตว์ป่าท่ี ประสบความส�ำ เรจ็ ในประเทศไทย ดงั น้ี ชะนี (Hylobates lar) ไดส้ ญู หายไปจากปา่ ธรรมชาตใิ นจงั หวดั ภเู กต็ ตง้ั แตช่ ว่ งปี 2520 อยา่ งไร กต็ ามยงั พบลกู ชะนซี ง่ึ ถกู ลกั ลอบน�ำ มาบรกิ ารถา่ ยรปู กบั นกั ทอ่ งเทย่ี วในจงั หวดั ภเู กต็ อยา่ งผดิ กฎหมาย เปน็ ประจ�ำ โครงการคนื ชะนสี ปู่ า่ (The gibbon rehabilitation project) รว่ มกบั เขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขา พระแทว จงั หวดั ภเู กต็ ไดเ้ รม่ิ ฟน้ื ฟแู ละอนรุ กั ษป์ ระชากรชะนใี นจงั หวดั ภเู กต็ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2535 โดยชว่ ย เหลอื ชะนที ถ่ี กู น�ำ มาเลย้ี งอยา่ งผดิ กฎหมาย น�ำ มาเพาะขยายพนั ธ์ุ หรอื อนบุ าลฟน้ื ฟสู ภาพรา่ งกายและ พฤตกิ รรมใหพ้ รอ้ มเขา้ อยอู่ าศยั ในปา่ และปลอ่ ยคนื สปู่ า่ เขาพระแทวซง่ึ เปน็ ผนื ปา่ ดบิ ชน้ื ผนื สดุ ทา้ ยใน จงั หวดั ภเู กต็ ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2545 เปน็ ตน้ มา มรี ายงานวา่ สามารถปลอ่ ยชะนคี นื สปู่ า่ ได้ 30 ตวั และมกี าร เกดิ ของลกู ชะนใี นปา่ เพม่ิ ขน้ึ 11 ตวั ปจั จบุ นั มรี ายงานการพบชะนใี นปา่ ธรรมชาตเิ ขาพระแทวอยา่ งนอ้ ย 23 ตวั ซง่ึ เปน็ ผลจากการท�ำ งานระยะยาวของโครงการคนื ชะนสี ปู่ า่ นอกจากนโ้ี ครงการคนื ชะนสี ปู่ า่ ยงั รณรงคต์ อ่ ตา้ นการลา่ สตั วป์ า่ เผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารและฝกึ อบรมเกย่ี วกบั การอนรุ กั ษป์ า่ ไมแ้ ละสตั วป์ า่ แกป่ ระชาชนทว่ั ไป ควบคกู่ บั การท�ำ งานอนรุ กั ษช์ ะนดี ว้ ย ทม่ี า : Osterberg, P., Samphanthamit, P., Maprang, O., Punnadee, S., & Brockelman, W. Y. (2015). Gibbon (Hylobates lar) reintroduction success in Phuket, Thailand, and its conservation benefits. American journal of primatology, 77(5), 492-501. ปัญหาทีเ่ กดิ ขนึ้ จากทรพั ยากรสัตวป์ า่ ปญั หาการลดลงของทรพั ยากรสตั วป์ า่ จากการทน่ี กั เรยี นไดท้ �ำ กจิ กรรม 25.4 ไปแลว้ นน้ั ครอู าจถามนกั เรยี นวา่ นอกจากสาเหตกุ าร ลา่ สตั วป์ า่ การคา้ สตั วป์ า่ แลว้ ยงั มสี าเหตอุ น่ื ใดทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ การลดลงของทรพั ยากรสตั วป์ า่ ไดอ้ กี และการ ลดลงของสัตว์ป่าส่งผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมอย่างไร ซ่งี สามารถสรุปได้ว่า สาเหตุอ่นื ท่ที ำ�ให้เกิดการ ลดลงของทรพั ยากรสตั วป์ า่ เชน่ สตั วป์ า่ ขาดทอ่ี ยอู่ าศยั การเกดิ ภยั ธรรมชาตติ า่ ง ๆ การเกดิ โรคระบาด ในสตั วป์ า่ เปน็ ตน้ ท�ำ ใหส้ ง่ ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศและมนษุ ย์ แนวทางการจัดการและอนุรักษท์ รัพยากรสตั วป์ า่ ครอู าจใชเ้ หตกุ ารณข์ า่ วเรอ่ื งพะยนู มาเรยี ม ทไ่ี ดต้ ายไปเมอ่ื เรว็ ๆ น้ี ถามนกั เรยี นวา่ นกั เรยี น จะมแี นวทางในการอนรุ กั ษพ์ ะยนู หรอื ทรพั ยากรสตั วป์ า่ ชนดิ อน่ื ๆ ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง ซง่ึ ค�ำ ตอบของนกั เรยี น มหี ลากหลาย แตส่ ามารถสรปุ ไดว้ า่ แนวทางการจดั การและอนรุ กั ษท์ รพั ยากรสตั วป์ า่ ควรก�ำ หนดพน้ื ท่ี อนรุ กั ษ์ ปลกู จติ ส�ำ นกึ ใหป้ ระชาชนเกดิ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรสตั วป์ า่ ลดการทง้ิ ขยะทง้ั บนบกและในน�ำ้ ไมบ่ กุ รกุ พน้ื ทป่ี า่ และหาวธิ กี ารเพาะเลย้ี งและขยายพนั ธเ์ุ พม่ิ จ�ำ นวน เปน็ ตน้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เล่ม 6 บทท่ี 25 | มนษุ ยก์ บั ความย่งั ยืนของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 273 จากนน้ั ครถู ามค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี ทรัพยากรสัตวป์ า่ มีความสำ�คัญต่อมนุษย์และสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งไร และมีแนวทางการอนรุ ักษ์ ทรพั ยากรสัตวป์ า่ ได้อยา่ งไรบ้าง ทรัพยากรสัตว์ป่ามีความสำ�คัญต่อมนุษย์และส่ิงแวดล้อม ทำ�ให้เกิดความสมดุลของระบบ นิเวศ ในด้านการกระจายพันธ์ุพืช การผสมเกสร การทำ�ลายศัตรูพืช และมลูสัตว์ทำ�ให้ดิน เกดิ ความอดุ มสมบรู ณ์ แนวทางการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรสตั วป์ า่ เชน่ ปลกู จติ ส�ำ นกึ ใหป้ ระชาชน เหน็ คณุ คา่ และประโยชนข์ องสตั วป์ า่ โดยการเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธข์ อ้ มลู ตา่ ง ๆ การก�ำ หนด พื้นที่อนุรักษ์ เพ่ือให้สัตว์ป่ามีที่อยู่อาศัย ส่งเสริมการวิจัยเก่ียวกับสัตว์ป่า เพ่ือให้เกิดความ เขา้ ใจในพฤตกิ รรมการเปลยี่ นแปลงของสตั วป์ า่ และน�ำ ขอ้ มลู มาใชใ้ นการจดั การและอนรุ กั ษ์ สัตว์ป่า การเพาะเล้ียงและขยายพันธุ์สัตว์ป่าหายาก เพ่ือเพิ่มจำ�นวนสัตว์ป่าหายากให้มาก ขึน้ หลงั จากทน่ี กั เรยี นไดศ้ กึ ษาครบทกุ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ลว้ ครคู วรใหน้ กั เรยี นไดท้ �ำ กจิ กรรม ตรวจสอบความเข้าใจ ในหนังสือเรียน เพ่อื ท่นี ักเรียนจะได้เห็นความเช่อื มโยงของปัญหา สาเหตุของ ทรพั ยากรธรรมชาตหิ นง่ึ ๆ สามารถสง่ ผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาตอิ น่ื ๆ ได้ ดงั นน้ั แนวทางการแกไ้ ข ปญั หาจงึ ตอ้ งมองเชอ่ื มโยงในทกุ มติ ขิ องทรพั ยากรธรรมชาตทิ เ่ี กย่ี วขอ้ งกนั จงึ จะท�ำ ใหก้ ารแกไ้ ขปญั หา เกดิ ความยง่ั ยนื กรณีศึกษา จากประเดน็ ขา่ วทนี่ กั เรยี นเลอื กศกึ ษานนั้ เกยี่ วขอ้ งกบั ผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ ด บา้ ง อธบิ าย ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนระหว่างทรัพยากรธรรมชาติน้ันเกิดข้ึนได้จากสาเหตุใด และส่งผล กระทบต่ออกี ทรัพยากรหน่ึงไดอ้ ย่างไร แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กิดขึ้นตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาตนิ ้ัน ๆ ท�ำ ไดอ้ ยา่ งไรบ้าง ขา่ วท่ี 1 ขยะอิเล็กทรอนิกส์ แกไ้ มไ่ ด้ถ้ารฐั ไม่ใส่ใจ จดั การจรงิ จัง สาเหตุ ปัญหา : การท้ิงขยะอิเล็กทรอนิกส์ การลักลอบนำ�ขยะอิเล็กทรอนิกส์เข้า ประเทศไทยส่งผลใหไ้ มม่ กี ารจดั การขยะเหล่านี้อยา่ งถกู หลกั วชิ าการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
274 บทที่ 25 | มนุษย์กบั ความยงั่ ยืนของทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ชีววิทยา เลม่ 6 ผลกระทบ : ตอ่ ทรพั ยากรดนิ เกดิ การรวั่ ไหลและสะสมสารมลพษิ ลงในดนิ เชน่ ตะกวั่ นิกเกิล แคดเมียม สังกะสี ทองแดง เกิดการถ่ายทอดสารมลพิษไปตาม โซ่อาหาร รวมท้งั เกดิ อันตรายตอ่ สิ่งมีชวี ติ ท่อี าศัยอยู่ในดนิ ตอ่ ทรัพยากรนำ�้ เกดิ การรวั่ ไหลและสะสมสารมลพษิ ลงในนำ�้ ใต้ดิน หรือ ถูกชะสารมลพิษลงสู่แหล่งนำ้� ทำ�ให้สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในนำ้�ได้รับสาร มลพิษเหล่าน้ี รวมท้ังเกิดอันตรายต่อมนุษย์ท่ีอาศัยนำ้�เพ่ือการบริโภค อุปโภค ตอ่ ทรพั ยากรอากาศ หากมกี ารน�ำ ขยะอเิ ลก็ ทรอนกิ สไ์ ปเผา จะท�ำ ใหเ้ กดิ สารมลพิษปนเป้ือนในอากาศ โดยเฉพาะไอระเหยของสารโลหะหนัก จำ�พวกตะกัว่ ปรอท สง่ ผลตอ่ สขุ ภาพของมนษุ ย์ แนวทางการแก้ไข : หาวิธีการกำ�จัดขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกหลักวิชาการมีกฏหมายควบคุม การนำ�เข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งมากำ�จัดที่ประเทศไทยใช้อุปกรณ์ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ตา่ ง ๆ อยา่ งค้มุ ค่า และเกิดประโยชน์ ขา่ วที่ 2 เศร้า มาเรยี มลกู พะยนู ขวัญใจตาย “ช็อก-เจอถุงพลาสติก” สาเหตุ ปัญหา : พะยนู กนิ ขยะพลาสตกิ ทปี่ นเปอ้ื นในทะเล ท�ำ ใหเ้ กดิ การอดุ ตนั ในทางเดนิ อาหารและตาย ผลกระทบ : ตอ่ ทรพั ยากรสตั วป์ า่ ท�ำ ใหจ้ �ำ นวนประชากรของพะยนู ลดนอ้ ยลง ซงึ่ อาจ ทำ�ใหส้ ญู พันธุ์ในอนาคต และสง่ ผลต่อระบบนิเวศในทะเล ตอ่ ทรพั ยากรน�ำ้ การทงิ้ ขยะพลาสตกิ ลงในทะเล เมอื่ สะสมเปน็ เวลานาน ๆ จะทำ�ให้พลาสติกเกิดการแตกหักเป็นช้ิน ๆ หรือแตกย่อยเป็นไมโคร พลาสติก สัตว์ที่อาศัยอยู่ในนำ้�อาจกินเศษพลาสติกเหล่าน้ันเป็นอาหาร ได้ และเกดิ การสะสมถา่ ยทอดไปตามโซอ่ าหารและสง่ ผลตอ่ ระบบนเิ วศ ในทะเล แนวทางการแก้ไข : ปลูกจิตสำ�นึกให้ประชาชนลดการใช้พลาสติกในชีวิตประจำ�วัน เช่น ใช้ ถงุ ผา้ แทนถงุ พลาสตกิ น�ำ แกว้ น�ำ้ ของตนเองไปใสเ่ ครอื่ งดม่ื เปน็ ตน้ ออก มาตรการหรือกฏหมายบทลงโทษที่เข้มงวดในการท้ิงขยะลงบนดินและ แหลง่ น�้ำ รวมท้งั การเพาะและขยายพนั ธพ์ุ ะยูนใหเ้ พมิ่ จ�ำ นวนมากขึน้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 6 บทท่ี 25 | มนุษยก์ บั ความยงั่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม 275 ขา่ วท่ี 3 พบพนั ธไุ์ มช้ นดิ ใหมข่ องโลก “พรหมจุฬาภรณ์” รอตอ่ ยอดยาต้านมะเร็ง สาเหตุ ปญั หา : การเสยี่ งตอ่ การสญู พนั ธข์ุ องพนั ธไุ์ มช้ นดิ ใหมข่ องโลก ซง่ึ อาจเกดิ จากการ คุกคามพืน้ ท่ีเพ่ือท�ำ การเกษตร ผลกระทบ : ตอ่ ทรพั ยากรป่าไม้ ท�ำ ใหป้ า่ ไมถ้ กู ทำ�ลายอันเนือ่ งมาจากการบุกรุกพืน้ ที่ ปา่ ส่งผลให้พรหมจฬุ าภรณ์ที่เปน็ พชื เฉพาะถ่ินและหายากอาจสูญพนั ธุ์ ไปด้วย ตอ่ ทรพั ยากรสตั วป์ า่ เมอื่ ปา่ ดบิ แลง้ บนเขาหนิ ปนู ถกู ท�ำ ลาย สง่ ผลตอ่ การ ท�ำ ลายทอี่ ยอู่ าศยั แหลง่ อาหาร แหลง่ ผสมพนั ธขุ์ องสตั วป์ า่ ท�ำ ใหส้ ตั วป์ า่ อาจลดจ�ำ นวนลงได้ ต่อทรัพยากรอากาศ การระเบิดหินปูน เพื่อนำ�มาใช้ประโยชน์จะส่งผล ให้เกิดฝุ่นละอองปนเป้ือนในอากาศ ทำ�ให้เกิดมลพิษทางอากาศ เกิด อันตรายต่อส่งิ มชี ีวติ และมนษุ ย์ แนวทางการแกไ้ ข : กำ�หนดเขตป่าอนุรักษ์บริเวณพ้ืนที่ป่าดิบแล้งบนภูเขาหินปูนท่ี อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช ซึ่งพบพืชชนิดนี้การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการเพาะ เลี้ยงเน้ือเย่ือพืช เพื่อเพิ่มจำ�นวนพืชชนิดนี้ และนำ�ไปปลูกในสวน พฤกษศาสตร์ หรอื สถานทีร่ าชการ เพ่อื ลดโอกาสการสญู พันธ์ุ ข่าวท่ี 4 มองโกเลีย เลง็ ใช้ “ถงุ เพาะช�ำ ชวี ภาพ” จากไทยพลกิ ฟ้ืนทะเลทราย สาเหตุ ปญั หา : ลดปัญหาจากขยะพลาสตกิ และปญั หายางพารามรี าคาตกต่ำ� ผลกระทบ : ต่อทรัพยากรป่าไม้ ช่วยเพ่ิมโอกาสการรอดของกล้าไม้ โดยการผลิตถุง เพาะชำ�ท่ีสามารถใส่ปุ๋ยลงในถุงเพาะชำ� และเม่ือถุงเพาะชำ�ย่อยสลาย ตามธรรมชาตกิ ็จะกลายเป็นปุ๋ยใหก้ บั ต้นไม้ ต่อทรัพยากรดิน ถุงเพาะชำ�ไม่มีสารมลพิษสะสมในดิน เน่ืองจากผลิต จากยางพาราที่มีการปรับปรุงสูตรให้เหมาะสมต่อการใช้เป็นถุงเพาะชำ� กล้าไม้ และเม่ือย่อยสลายพืชก็สามารถนำ�ธาตุอาหารในดินไปใช้ ประโยชน์ แนวทางการแกไ้ ข : รว่ มมอื กนั อนรุ กั ษท์ รพั ยากรปา่ ไม้ โดยการขยายพนั ธก์ุ ลา้ ไมใ้ หม้ จี �ำ นวน มากขน้ึ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
276 บทท่ี 25 | มนุษย์กบั ความย่ังยนื ของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ชีววิทยา เล่ม 6 ขา่ วที่ 5 ขา่ วดี \"พรคุ วนเครง็ \" ฝ่นุ PM2.5 ลดลงอยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน สาเหตุ ปัญหา : เกิดไฟป่าท่ีพรุควนเคร็ง อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช ทำ�ให้เกิดฝุ่น PM2.5 ผลกระทบ : ตอ่ ทรพั ยากรปา่ ไม้ ไฟปา่ ท�ำ ใหจ้ �ำ นวนพนื้ ทป่ี า่ ไมล้ ดลง พนั ธไ์ุ มต้ า่ ง ๆ ถกู ท�ำ ลายและอาจสญู พนั ธุ์ ต่อทรัพยากรสัตว์ป่า ไฟป่าทำ�ให้สัตว์ป่าไม่มีที่อยู่อาศัย ถูกเผาไหม้และ เสียชีวติ ทำ�ใหเ้ กดิ การลดลงของจำ�นวนและบางชนดิ อาจสูญพันธ์ุ ตอ่ ทรพั ยากรอากาศ ไฟปา่ ท�ำ ใหเ้ กดิ ปรมิ าณฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ ทสี่ ง่ ผล ต่อสุขภาพของมนุษย์และสัตว์ป่า รวมท้ังเกิด CO2 ในปริมาณมากท่ีส่ง ผลต่อการเกดิ ภาวะโลกร้อน ต่อทรัพยากรนำ้� ทำ�ให้ป่าท่ีเป็นแหล่งต้นน้ำ�ลำ�ธารถูกทำ�ลาย เกิดการ สูญเสียแหลง่ ต้นน้ำ�ลำ�ธาร เกิดการขาดแคลนนำ้� แนวทางการแก้ไข : ลดการเผาขยะหรือการท�ำ ให้เกดิ เชอื้ ไฟปะทุในป่า รวมท้งั เฝ้าระวงั เมอื่ มีไฟป่าเกิดข้ึนให้รีบแจ้งเจ้าหน้าท่ีของรัฐ ผู้ที่อาศัยอยู่ใกล้บริเวณเกิด ไฟป่า งดกิจกรรมกลางแจ้ง ควรใช้หน้ากากอนามัยป้องกันฝุ่นละออง ขนาดเลก็ เมื่อต้องออกจากบ้าน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เล่ม 6 บทท่ี 25 | มนุษย์กบั ความยั่งยืนของทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 277 แนวการวดั และประเมนิ ผล ด้านความรู้ - เรอื่ งปญั หาและผลกระทบทเ่ี กดิ จากการใชท้ รพั ยากรดนิ แนวทางการแกไ้ ขปญั หาทเี่ กดิ จาก การใชท้ รพั ยากรน�ำ้ ทรพั ยากรดนิ ปญั หามลพษิ ทางอากาศ แนวทางการแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กดิ จากมลพิษทางอากาศ ปัญหาและผลกระทบที่เกิดจากการทำ�ลายป่าไม้ แนวทางในการ ปอ้ งกนั การท�ำ ลายปา่ ไมแ้ ละการอนรุ กั ษป์ า่ ไม้ ปญั หาและผลกระทบทท่ี �ำ ใหส้ ตั วป์ า่ มจี �ำ นวน ลดลง และแนวทางในการอนุรักษ์สัตว์ป่า จากการสืบค้นข้อมูล การอภิปราย และการทำ� กิจกรรม ด้านทักษะ - การสังเกต การลงความเห็นจากข้อมูล การจัดกระทำ�และส่ือความหมายข้อมูล จากการ สืบคน้ ขอ้ มูล และการอภปิ ราย - การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การส่ือสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ ความร่วมมือ การท�ำ งานเป็นทมี และภาวะผ้นู ำ� จากการสืบค้นขอ้ มลู และการน�ำ เสนอ ด้านจิตวิทยาศาสตร์ - ความสนใจในวทิ ยาศาสตร์ เก่ียวกับเหตกุ ารณท์ ่เี กิดขึน้ ในชวี ติ จรงิ - การใชว้ จิ ารณญาณ ความซอ่ื สตั ย์ การยอมรบั ความเหน็ ตา่ ง ความใจกวา้ ง ความมงุ่ มน่ั อดทน จากการสงั เกตพฤติกรรม และการอภปิ รายรว่ มกนั 25.3 การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มเพ่อื ความยง่ั ยนื จุดประสงค์การเรียนรู้ สบื คน้ ขอ้ มลู ชนดิ พนั ธต์ุ า่ งถน่ิ ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม และเสนอ แนวทางในการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาการรกุ รานของชนดิ พนั ธต์ุ า่ งถน่ิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
278 บทที่ 25 | มนษุ ยก์ ับความยัง่ ยนื ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ชวี วิทยา เล่ม 6 แนวการจดั การเรยี นรู้ เม่อื นักเรียนได้เรียนหัวข้อทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ข้างต้นแล้ว ครูอาจให้นักเรียนช่วยกัน อภปิ รายถงึ แนวทางทจ่ี ะท�ำ ใหม้ นษุ ยม์ ที รพั ยากรธรรมชาตใิ ชไ้ ดต้ ลอดไป โดยใชค้ �ำ ถามถามนกั เรยี นดงั น้ี การใชถ้ งุ ผา้ แทนการใชถ้ งุ พลาสตกิ จดั วา่ เปน็ แนวทางในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ หรือไม่ เพราะเหตใุ ด ค�ำ ตอบจากการอภปิ รายของนกั เรยี นอาจมหี ลากหลายขน้ึ อยกู่ บั ความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี น แต่ สามารถสรุปได้ว่า การใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติกจัดเป็นแนวทางหน่ึงในการอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติ เพราะถงุ พลาสตกิ ยอ่ ยสลายไดย้ าก และใชเ้ วลานาน กอ่ ใหเ้ กดิ มลพษิ ทางน�ำ้ ทาง ดนิ และทางอากาศ จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาหวั ขอ้ หลกั การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ในหนงั สอื เรยี น 25.3.1 หลักการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายความหมายของค�ำ วา่ อนรุ กั ษ์ (conservation) โดยครอู าจใช้ รปู หลกั การอนรุ กั ษม์ าชว่ ยอธบิ ายท�ำ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ความเขา้ ใจค�ำ วา่ อนรุ กั ษแ์ ละเกดิ ความเชอ่ื มโยงได้ ไดแ้ ก่ อาจใช้ นำ� เพม่ิ หลกั การอนรุ กั ษ์ การใช้แบบยง่ั ยนื เทคโนโลยี ทรพั ยากร ผลติ ผล การเก็บกกั การรักษาซอ่ มแซม ใช้ อาจกอ่ ให้เกดิ การฟ้ืนฟู ตอ้ ง การป้องกัน การก�ำ จดั /บ�ำ บดั การพฒั นา ของเสยี และมลพษิ รูปหลกั การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เล่ม 6 บทที่ 25 | มนษุ ยก์ ับความย่ังยนื ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม 279 ยกตัวอย่างการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนท่ีต้องอาศัย เทคโนโลยีควบคู่กัน แนวทางการพัฒนาพ้ืนที่เสื่อมโทรมเพ่ือสร้างความย่ังยืนในการผลิตอาหารและอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตดิ ้านดนิ และน้�ำ โดยใชเ้ ทคโนโลยีเขา้ มาเกยี่ วข้อง ตวั อย่างเช่น โครงการ ทุ่งกุลาร้องไห้ ก่อนปี พ.ศ. 2514 ทุ่งกุลาร้องไห้เป็นทุ่งโล่งมีสภาพแห้งแล้งเป็นดินทรายจัด ดินเคม็ มคี วามอุดมสมบรู ณ์ตำ่� ขาดแคลนนำ�้ ในตน้ ฤดูฝนและน้�ำ ท่วมในปลายฤดเู พาะปลกู ในการพฒั นาทรพั ยากรน�้ำ ไดม้ กี ารสรา้ งฝายกนั้ น�้ำ แมน่ �้ำ มลู อ�ำ เภอทา่ ตมู จงั หวดั สรุ นิ ทร์ และ โรงสบู น�้ำ ดว้ ยไฟฟา้ 1 แหง่ ทางดา้ นทรพั ยากรดนิ ไดจ้ ากการจดั สรา้ งระบบควบคมุ การระบาย น�ำ้ ผวิ ดนิ การระบายเกลอื ควบคไู่ ปกบั ระบบเกบ็ เกยี่ ว น�ำ้ ทงิ้ จากน�ำ้ ฝนในพน้ื ทแ่ี ละน�ำ้ ทา่ จาก ล�ำ น�ำ้ หรือแมน่ ำ้�ในพืน้ ท่ีใกลเ้ คียง มกี ารปรับปรุงดนิ โดยเพ่ิมอนิ ทรยี วัตถุและป๋ยุ ลงในดิน ให้ มรี ะบบปลูกพชื เชงิ อนรุ ักษ์ดนิ และน้�ำ ที่สัมพนั ธ์กบั การท�ำ ข้าวนาปี ชุมชนหรือท้องถิ่นของนักเรียนมีโครงการหรือกิจกรรมใดบ้างที่มีส่วนสร้างความตระหนัก และดแู ลรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมเพือ่ ความยัง่ ยืน ค�ำ ตอบขน้ึ อยกู่ บั ชมุ ชนหรอื ทอ้ งถนิ่ ของนกั เรยี น ยกตวั อยา่ งเชน่ ชมุ ชน ต.แมย่ วม อ.แมส่ ะเรยี ง จ.แม่ฮ่องสอน ได้จัดทำ�โครงการส่งเสริมการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมเพ่ือลดภาวะ โลกรอ้ น โดยไดร้ บั การสนบั สนนุ จากส�ำ นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) จุดประสงค์ของโครงการเพ่ือปลูกจิตสำ�นึกและสร้างความตระหนักผ่านเวทีการแลกเปลี่ยน พดู คยุ และท�ำ กจิ กรรมตา่ ง ๆ เชน่ การปลกู ปา่ การท�ำ แนวปอ้ งกนั ไฟปา่ การท�ำ ฝายชะลอน�้ำ การปลกู ตน้ ไมใ้ นบา้ นเรอื น ลดการใชถ้ งุ พลาสตกิ ลดการเผาปา่ ลดการใชส้ ารเคมใี นการเพาะ ปลกู เปน็ ตน้ 25.3.2 ชนดิ พันธุต์ า่ งถ่นิ ทีส่ ่งผลกระทบต่อทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ครูนำ�รูปผักตบชวามาให้นักเรียนดู และถามคำ�ถามนักเรียนว่า นักเรียนคิดว่าผักตบชวามี ถน่ิ ก�ำ เนดิ ในประเทศไทยหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ดจงึ คดิ เชน่ นน้ั ค�ำ ตอบของนกั เรยี นอาจตอบวา่ ใชห่ รอื ไมใ่ ช่ ขน้ึ อยกู่ บั เหตผุ ลทน่ี กั เรยี นให้ แตค่ รคู วรสรปุ ใหน้ กั เรยี นเกดิ ความเขา้ ใจวา่ ผกั ตบชวาเปน็ สง่ิ มชี วี ติ ทถ่ี กู น�ำ เขา้ มาในประเทศไทย และมกี ารกระจายพนั ธอ์ุ ยา่ งรวดเรว็ จนกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาทางน�ำ้ จากน้ันให้นักเรียนศึกษาหัวข้อชนิดพันธ์ุต่างถ่ินในประเทศไทยท่ีแบ่งได้เป็น 4 รายการ ในหนงั สอื เรยี น และตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
280 บทที่ 25 | มนุษย์กบั ความยัง่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ชีววิทยา เลม่ 6 ชนดิ พนั ธตุ์ า่ งถนิ่ ทร่ี กุ รานแลว้ และมแี นวโนม้ รกุ รานทนี่ กั เรยี นรจู้ กั มอี ะไรอกี บา้ ง จงยกตวั อยา่ ง ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นท่ีรุกรานแล้ว ตัวอย่างเช่น ปลาหมอคางดำ� หอยทากยักษ์แอฟริกา ปลาซัคเกอร์ เต่าญีป่ ุ่น ผกั ตบชวา ไมยราบยกั ษ์ เปน็ ต้น ชนดิ พันธ์ุต่างถิน่ ทมี่ แี นวโนม้ รุกราน ตัวอยา่ งเช่น ปลาช่อนอเมซอน ปลาหมอสี กบบลุ ฟร๊อก หงอนไกฝ่ รง่ั พวงชมพู เป็นต้น การทีช่ นิดพันธตุ์ ่างถ่ินสามารถรกุ รานได้ในพื้นที่ใหม่เกดิ จากสาเหตุและปัจจยั ใดได้บา้ ง สาเหตเุ รมิ่ ตน้ เกดิ จากการทส่ี งิ่ มชี วี ติ ถกู น�ำ เขา้ มาในแหลง่ ทอ่ี ยใู่ หม่ โดยแหลง่ ทอ่ี ยใู่ หมอ่ ยนู่ อก เขตการกระจายพันธดุ์ ง้ั เดิมในธรรมชาติของส่งิ มีชวี ติ นัน้ อาจจะโดยธรรมชาตหิ รือกิจกรรม ของมนุษย์ ปัจจัยที่ช่วยทำ�ให้ชนิดพันธุ์ต่างถ่ินสามารถรุกรานได้ในพ้ืนท่ีใหม่ เช่น ความ สามารถในการสบื พนั ธ์ุ เพมิ่ ขนาดประชากร และเจรญิ เตบิ โตไดด้ กี วา่ สงิ่ มชี วี ติ ดง้ั เดมิ ในพน้ื ท่ี นั้น ครูอาจขยายความรู้เพ่ิมเติมให้กับนักเรียนเก่ียวกับชนิดพันธ์ุต่างถ่ิน มาตรการการป้องกัน ควบคุมและกำ�จัดชนิดพันธ์ตุ ่างถ่นิ ซ่งึ จัดทำ�โดยสำ�นักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม ไดท้ เ่ี วบ็ ไซต์ http://www.kanchanaburi.doae.go.th/content/Control%20foreigners61. pdf จากน้ันให้นักเรียนทำ�กิจกรรม 25.5 ชนิดพันธ์ุต่างถ่ินท่ีรุกราน สาเหตุและผลกระทบจาก เหตกุ ารณใ์ นขา่ ว สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววทิ ยา เล่ม 6 บทท่ี 25 | มนษุ ยก์ ับความย่ังยืนของทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม 281 กิจกรรม 25.5 ชนดิ พนั ธ์ุตา่ งถ่นิ ทีร่ ุกราน สาเหตแุ ละผลกระทบจากเหตุการณใ์ นข่าว จดุ ประสงค์ 1. ศึกษา วเิ คราะห์ สถานการณจ์ ากเหตกุ ารณใ์ นขา่ ว 2. อธิบายสาเหตุและผลกระทบท่ีเกิดขึ้นพร้อมทั้งเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาชนิดพันธ์ุ ตา่ งถนิ่ รกุ ราน ตวั อยา่ งผลการท�ำ กิจกรรม สาเหตุ ปัญหา : การแพรก่ ระจายของหนอนตวั แบนนวิ กนิ ใี นประเทศไทย ท�ำ ใหห้ อยทาก และไสเ้ ดอื นถกู ท�ำ ลาย และการก�ำ จดั ไมถ่ กู วธิ ที �ำ ใหเ้ กดิ การกระจายพนั ธ์ุ ของหนอนตัวแบนนวิ กนิ เี พิม่ มากขึ้น ผลกระทบ : อาจท�ำ ใหห้ อยทากเฉพาะถนิ่ สญู พนั ธุ์ รวมถงึ ไสเ้ ดอื นดนิ เนอื่ งจากหนอน ตวั แบนนวิ กนิ กี นิ หอยทาก และไสเ้ ดอื นดนิ เปน็ อาหาร และหนอนตวั แบน นวิ กนิ อี าจเพม่ิ จ�ำ นวนมากขน้ึ จนสง่ ผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศ นอกจากนี้ อาจมีการปนเปื้อนของไข่หนอนตัวแบนนิวกินี รวมทั้งพยาธิชนิดอื่น ๆ ปนเปื้อนในพืชผัก ซึ่งหากรับประทานผักที่ไม่สะอาดทำ�ให้เกิดอันตราย ต่อสขุ ภาพได้ แนวทางแกไ้ ข : การก�ำ จดั หนอนตวั แบนนวิ กนิ โี ดยใชน้ �ำ้ รอ้ นลวก หรอื หยอดดว้ ยเกลอื ปน่ เฉลยค�ำ ถามท้ายกิจกรรม ในท้องถิ่นของนักเรียนพบการแพร่กระจายของหนอนตัวแบนนิวกินีหรือไม่ และจะส่ง ผลกระทบตอ่ สงิ่ มีชีวิตใดบ้างในพ้นื ท่นี นั้ อาจพบหรอื ไมพ่ บการแพรก่ ระจาย กรณมี ีการแพร่กระจายอาจสง่ ผลกระทบต่อประชากร หอยทากและไส้เดือนดินลดน้อยลง เพราะหนอนตัวแบนนิวกินีกินสิ่งมีชีวิตเหล่าน้ีเป็น อาหาร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
282 บทที่ 25 | มนุษย์กับความยงั่ ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม ชีววทิ ยา เลม่ 6 จากการท�ำ กจิ กรรมนส้ี ามารถสรปุ ไดว้ า่ ชนดิ พนั ธต์ุ า่ งถน่ิ รกุ รานในบทความขา่ วนค้ี อื หนอนตวั แบนนวิ กนิ ี สาเหตขุ องการรกุ รานอาจเนอ่ื งจากหอยตวั แบนนวิ กนิ อี อกมาลา่ หอยทากเปน็ อาหาร ท�ำ ให้ สง่ ผลกระทบเสย่ี งตอ่ การสญู พนั ธข์ุ องหอยทาก และเปน็ พาหะปรสติ พวกพยาธปิ อดหนู พยาธหิ อยโขง่ อาจสง่ ผลตอ่ สขุ ภาพและอนามยั ของมนษุ ยไ์ ด้ แนวทางการแก้ไขปัญหาการแพรก่ ระจายของชนดิ พนั ธต์ุ า่ งถน่ิ ครูอาจยกตัวอย่างสถานการณ์การแพร่กระจายของผักตบชวาในประเทศ และถามคำ�ถาม นกั เรยี นวา่ มแี นวทางในการแกไ้ ขปญั หาการแพรก่ ระจายของผกั ตบชวาไดอ้ ยา่ งไร ค�ำ ตอบของนกั เรยี น อาจมีหลากหลาย และครูสามารถสรุปได้ว่า ในกรณีของผักตบชวาได้เข้ามาในประเทศไทยนานแล้ว ดงั นน้ั การแกไ้ ขปญั หาจงึ ควรก�ำ จดั ไมใ่ หผ้ กั ตบชวาเกดิ การขยายพนั ธเ์ุ พม่ิ จ�ำ นวน หรอื อาจน�ำ ผกั ตบชวา มาใชป้ ระโยชนใ์ นการท�ำ ผลติ ภณั ฑจ์ กั สาน จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาหวั ขอ้ แนวทางการแกไ้ ขปญั หาการ แพรก่ ระจายของชนดิ พนั ธต์ุ า่ งถน่ิ ในหนงั สอื เรยี น และตอบค�ำ ถามตรวจสอบความเขา้ ใจเรอ่ื งการแพร่ กระจายของปลาหมอคางด�ำ ในประเทศไทย ตรวจสอบความเข้าใจ ปลาหมอคางดำ�จัดเปน็ ชนิดพนั ธ์ุตา่ งถ่นิ ประเภทใด เปน็ ชนดิ พนั ธต์ุ า่ งถนิ่ ทร่ี กุ รานแลว้ ซง่ึ มกี ารประเมนิ แลว้ วา่ การรกุ รานมผี ลกระทบตอ่ ระบบ นเิ วศและเศรษฐกิจ ผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ จากการรกุ รานของปลาหมอคางด�ำ เปน็ อย่างไร สง่ ผลตอ่ ระบบนเิ วศ คอื สง่ ผลใหส้ ตั วน์ �ำ้ ทอ้ งถนิ่ เสย่ี งตอ่ การสญู พนั ธุ์ เพราะปลาหมอสคี าง ดำ� กินตัวอ่อนสัตว์น้ำ�เป็นอาหาร ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจ คือ สามารถกินตัวอ่อนสัตว์ นำ้�เศรษฐกิจที่เพาะเลี้ยง ทำ�ให้ไม่สามารถเพาะเล้ียงสัตว์นำ้�เศรษฐกิจได้ในพ้ืนที่ที่มีการ ระบาดของปลาหมอคางดำ� แนวทางการป้องกันและแก้ไขการรุกรานของปลาหมอคางดำ�ควรเปน็ อยา่ งไร ไม่ปล่อยปลาต่างถิ่นทุกชนิดลงสู่แหล่งนำ้�ธรรมชาติ สร้างนวัตกรรมเพื่อแปรรูปปลาหมอ คางด�ำ ใหม้ มี ลู คา่ ทางเศรษฐกจิ เพม่ิ ขน้ึ ใหค้ วามรปู้ ระชาชนในเรอ่ื งผลกระทบของชนดิ พนั ธ์ุ ตา่ งถ่ินในด้านต่าง ๆ เพอ่ื เพิ่มแรงจงู ใจใหป้ ระชาชนในการก�ำ จัดปลาหมอคางด�ำ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 6 บทที่ 25 | มนษุ ย์กับความยัง่ ยืนของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 283 ในการจดั การเรยี นรบู้ ทนเ้ี รอ่ื งมนษุ ยก์ บั ความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม ครู อาจแบง่ กลมุ่ นกั เรยี นใหศ้ กึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ทรพั ยากรธรรมชาตดิ า้ นน�ำ้ ดนิ อากาศ ปา่ ไม้ สตั วป์ า่ ในประเดน็ ของความส�ำ คญั ประโยชน์ สาเหตทุ ท่ี �ำ ใหท้ รพั ยากรธรรมชาตเิ หลา่ นเ้ี กดิ ปญั หาขน้ึ และสง่ ผลกระทบกบั มนษุ ยแ์ ละสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งไร รวมทง้ั แนวทางการจดั การ แกไ้ ข และการอนรุ กั ษ์ ทรพั ยากรธรรมชาตเิ หลา่ น้ี โดยอาจใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ น�ำ เสนอขอ้ มลู จากการสบื คน้ ขอ้ มลู ในรปู แบบ วดิ โี อคลปิ หรอื บทความทางวชิ าการ นอกจากนย้ี งั สามารถจดั การเรยี นรใู้ นรปู แบบการจดั คา่ ยวชิ าการ ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มไดอ้ กี ดว้ ย แนวการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ - เรอ่ื งหลกั การจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มรวมทง้ั การพฒั นาทย่ี ง่ั ยนื และชนดิ พันธุต์ ่างถิน่ ทส่ี ่งผลกระทบตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม จากการสบื ค้นขอ้ มูล การอภิปราย และการทำ� กิจกรรม ดา้ นทักษะ - การลงความเหน็ จากขอ้ มลู การจดั กระท�ำ และสอื่ ความหมายขอ้ มลู การตคี วามหมายขอ้ มลู และการลงขอ้ สรุป จากการสบื คน้ ขอ้ มูล และการอภปิ ราย - การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การส่ือสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ ความร่วมมอื การท�ำ งานเป็นทมี และภาวะผนู้ ำ� จากการสบื คน้ ขอ้ มูล การน�ำ เสนอ ด้านจติ วิทยาศาสตร์ - ความสนใจในวิทยาศาสตร์ เกย่ี วกับเหตุการณท์ ี่เกดิ ขน้ึ ในชีวติ จริง - การใช้วิจารณญาณ ความรอบคอบ ความเช่ือม่ันต่อหลักฐาน ความซ่ือสัตย์ วัตถุวิสัย การยอมรบั ความเหน็ ตา่ ง ความใจกวา้ ง ความมงุ่ มนั่ อดทน จากการสงั เกตพฤตกิ รรมในการ อภิปรายร่วมกัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
284 บทที่ 25 | มนุษยก์ บั ความยง่ั ยนื ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ชีววทิ ยา เลม่ 6 เฉลยแบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 25 1. ชาวบา้ นในหมบู่ า้ นแหง่ หนง่ึ สงั เกตวา่ โรงงานอตุ สาหกรรมในหมบู่ า้ นท�ำ ใหค้ ณุ ภาพน�้ำ ในบงึ ท้ัง 4 แหล่งในหมู่บ้านลดลง จึงได้ร้องเรียนให้เจ้าหน้าท่ีมาตรวจสอบ ผลการวิเคราะห์ คุณภาพนำ้� ไดผ้ ลดังตาราง ผลการวิเคราะห์ บึงแหล่งท่ี 1 บึงแหลง่ ท่ี 2 บึงแหลง่ ท่ี 3 บึงแหลง่ ที่ 4 pH 6.0 7.0 6.5 7.5 temperature (°C) 26 27 27 26 DO (mg/L) 6.0 5.0 2.5 2.0 BOD (mg/L) 2.0 3.0 5.0 8.0 จากผลการวิเคราะห์คุณภาพแหล่งนำ้� ถ้านักเรียนอาศัยอยู่ในหมู่บ้านนี้ จะแนะนำ�ให้คน ในหมู่บ้านน�ำ น้ำ�จากบงึ แหลง่ ใดมาใช้ เพราะเหตุใด แนะนำ�ให้นำ�นำ้�จากบึงแหล่งท่ี 1 และ 2 มาใช้เพราะคุณภาพนำ้�ยังดีอยู่ เน่ืองจากค่า DO หรือปรมิ าณแกส๊ ออกซเิ จนทล่ี ะลายน้ำ�มคี ่าสูง และมีคา่ BOD หรอื ปรมิ าณแกส๊ ออกซเิ จน ที่จุลินทรีย์ใช้ในการสลายสารอินทรีย์ในน้ำ�ต่ำ� ขณะที่ไม่แนะนำ�ให้นำ�นำ้�จากบึงแหล่งที่ 3 และ 4 มาใชเ้ นือ่ งจากค่า DO แก๊สออกซเิ จนท่ลี ะลายน�ำ้ มคี า่ ต�่ำ กวา่ 3.0 มิลลิกรมั ต่อลติ ร และมคี ่า BOD ที่สงู กวา่ 5.0 มลิ ลกิ รมั ต่อลิตร ซ่ึงถือวา่ เป็นน้ำ�เสีย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เลม่ 6 บทที่ 25 | มนษุ ยก์ บั ความย่ังยนื ของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 285 2. นักวิทยาศาสตร์ตรวจสอบสมบัติของพืชชนิดหน่ึงเพ่ือประเมินความสามารถในการบำ�บัด แหล่งนำ้�ที่ปนเป้ือนตะก่ัว โดยทดลองปลูกพืชชนิดน้ันในน้ำ�ท่ีปนเป้ือนตะก่ัวที่ 500 มิลลิกรัมต่อลิตร แล้ววัดปริมาณตะกั่วตกค้างในนำ้�หลังจากการทดลอง 24 48 และ 72 ชว่ั โมงตามล�ำ ดบั เปรยี บเทยี บกบั ชดุ การทดลองควบคมุ ทไี่ มใ่ ชพ้ ชื บ�ำ บดั ไดผ้ ลการศกึ ษา ดังนี้ ความเ ้ขม ้ขนของตะกั่ว ( ิมล ิลก ัรม/ ิลตร) 600 500 400 300 200 100 0 เวลา (ช่วั โมง) 24 48 72 ใชพ้ ชื บำ�บัด ไมใ่ ชพ้ ืชบำ�บัด 2.1 เมอื่ เวลาผา่ นไป 3 วนั ปรมิ าณตะกวั่ ปนเปอื้ นในน�ำ้ ของชดุ การทดลองทใ่ี ชพ้ ชื บ�ำ บดั มี ปรมิ าณเทา่ ใด แตกตา่ งจากชดุ การทดลองทไี่ มใ่ ชพ้ ชื บ�ำ บัดหรือไม่ ปริมาณ 170 มิลลิกรมั /ลติ ร แตกตา่ งจากชดุ การทดลองทใ่ี ช้พชื บำ�บัด 330 มลิ ลกิ รมั ต่อลติ ร 2.2 จากผลการศกึ ษา พชื ชนิดนสี้ ามารถน�ำ มาใช้บ�ำ บดั น�้ำ ทีป่ นเปือ้ นตะก่ัวไดห้ รือไม่ สามารถใชไ้ ด้ เนอื่ งจากชดุ การทดลองทใ่ี ชพ้ ชื บ�ำ บดั สามารถลดปรมิ าณตะกว่ั ปนเปอ้ื น ในน้�ำ ได้ 2.3 ถา้ พชื ที่ใชใ้ นการทดลองยงั คงเจริญเติบโตไดด้ เี ท่าเดมิ เม่ือนกั วิทยาศาสตร์เก็บข้อมลู ต่อไปในชั่วโมงท่ี 96 ผลการศึกษาที่เปน็ ไปได้มากท่ีสุดคืออะไร ปริมาณตะก่ัวละลายนำ้�ในชุดการทดลองที่ไม่ใช้พืชบำ�บัดจะอยู่ท่ีประมาณ 500 มลิ ลกิ รมั ตอ่ ลติ รเชน่ เดมิ แตช่ ดุ การทดลองทใ่ี ชพ้ ชื บ�ำ บดั จะลดต�ำ่ ลงกวา่ 200 มลิ ลกิ รมั ต่อลิตร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
286 บทที่ 25 | มนษุ ยก์ ับความย่งั ยืนของทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม ชีววทิ ยา เลม่ 6 3. นักวิทยาศาสตร์ตรวจวัดอัตราการพังทลายของดิน โดยตรวจวัดปริมาณตะกอนดินท่ีถูก ชะล้างในบรเิ วณต่าง ๆ ไดผ้ ลการศกึ ษาดงั กราฟ ัอตราการพังทลายของดิน (กรัม/ตารางเมตร) 0.8 0.7 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 0 ไมป่ ลูก แปลง ป่า ป่า ปลูก เกษตร ท่ถี กู ทำ�ลาย สมบรู ณ์ พชื คลุมดนิ พชื คลุมดิน 3.1 จากขอ้ มลู ในกราฟบรเิ วณทม่ี กี ารพงั ทลายของหนา้ ดนิ สงู สดุ คอื บรเิ วณใด และคดิ เปน็ ปรมิ าณเทา่ ใด ปา่ ท่ถี ูกทำ�ลาย 0.7 กรัม/ตารางเมตร 3.2 ถ้านักเรียนเป็นเกษตรกรและต้องการลดปัญหาการพังทลายของหน้าดินในแปลง เกษตร ควรทำ�อย่างไร ปลกู พืชคลุมดิน 3.3 ให้นกั เรยี นสบื คน้ ข้อมูลและอภิปรายว่าสาเหตทุ ท่ี �ำ ใหพ้ ้ืนท่ปี ่าสมบรู ณม์ ีการพังทลาย ของดนิ ต�่ำ เพราะอะไร พรอ้ มท้ังระบแุ หล่งที่มาของข้อมลู ป่าสมบูรณ์มักมีไม้ต้น และไม้พ้ืนล่างขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น ซ่ึงจะช่วยลดการชะล้าง ของดนิ จากกระแสนำ้�และกระแสลม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชวี วทิ ยา เลม่ 6 บทท่ี 25 | มนษุ ยก์ บั ความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 287 4. นักวิทยาศาสตร์ทดลองวัดปริมาณ CO2 ท่ีปล่อยออกจากเคร่ืองยนต์ขนาดความจุ กระบอกสบู 2.5 ลิตรขณะท�ำ งานท่ี 2,500 รอบต่อนาที โดยเตมิ นำ้�มันแตกต่างกัน 7 ชนิด และอนุภาคนาโนของสาร A ที่ความเข้มข้น 0.1% 0.2% และชุดควบคุมทีไ่ มเ่ ตมิ อนุภาค นาโนของสาร A ไดผ้ ลการศกึ ษาดงั กราฟ ความเ ้ขมข้นของแ ๊กส CO2 (% ของแก๊ส ้ทังหมด) 3.7 3.6 3.5 ชนิดท่ี ชนดิ ที่ ชนิดที่ ชนิดท่ี ชนิดท่ี ชนดิ ที่ 3.4 2 34 56 7 3.3 3.2 ชนดิ น้�ำ มนั 3.1 3.0 2.9 2.8 2.7 2.6 2.5 2.4 2.3 2.2 2.1 2.0 ชนดิ ท่ี 1 ไม่เติมอนุภาคนาโนของสาร A เติมอนุภาคนาโนของสาร A ความเขม้ ขน้ 0.1% เตมิ อนภุ าคนาโนของสาร A ความเข้มขน้ 0.2% 4.1 น�ำ้ มนั ชนดิ ใดและเตมิ อนภุ าคนาโนของสาร A ความเขม้ ขน้ เทา่ ใด ปลอ่ ย CO2 นอ้ ยทส่ี ดุ ชนิดท่ี 4 และเตมิ อนภุ าคนาโนของสาร A ทคี่ วามเข้มขน้ 0.1% 4.2 ถา้ ไมเ่ ตมิ อนุภาคนาโนของสาร A ในน้�ำ มัน จะเลอื กใชน้ �ำ้ มนั ชนิดใด เพราะเหตุใด ชนดิ ที่ 7 เพราะปล่อยแกส๊ CO2 ทีค่ วามเข้มข้นต�ำ่ สุด 4.3 น�้ำ มนั ชนดิ ใดบา้ งเมอื่ เตมิ อนภุ าคนาโนของสาร A สามารถลดความเขม้ ขน้ ของ CO2 ได้ ชนิดที่ 2 ชนดิ ที่ 3 ชนดิ ที่ 4 ลดความเข้มข้นของ CO2 เมื่อเติมอนุภาคนาโนของสาร A ทคี่ วามเข้มข้น 0.1% และ 0.2% ส�ำ หรบั ชนิดท่ี 5 และชนดิ ที่ 6 ลดความเขม้ ข้น ของ CO2 เมือ่ เติมอนุภาคนาโนของสาร A ที่ความเข้มข้น 0.2% เท่านนั้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
288 บทท่ี 25 | มนษุ ยก์ ับความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ชีววิทยา เลม่ 6 5. บรษิ ัทแหง่ หนง่ึ ไดต้ รวจเลือดของพนกั งานตำ�แหน่งตา่ ง ๆ ได้ผลการตรวจเลือดดังตาราง ตำ�แหน่งงาน ลักษณะงาน ปริมาณแคดเมียม ปริมาณตะกั่ว ในเลือด ในเลือด (ไมโครกรมั ตอ่ ลิตร) (ไมโครกรมั ตอ่ เดซลิ ติ ร) พนักงานธุรการ ประจ�ำ สำ�นักงาน ทำ�งาน 1.4 4.5 เอกสารและประสานงาน เป็นหลัก 2.2 8.5 4.1 10.6 พนักงานขับรถ ขับรถบริการพนักงาน ออกนอกสถานที่ พนกั งานคัดแยกขยะ ตรวจสอบและคดั แยก ขยะด้วยมือตามประเภท ก่อนส่งไปกำ�จัดหรอื รไี ซเคลิ ค่ามาตรฐานปริมาณแคดเมยี มในเลอื ดไมค่ วรเกนิ 2 ไมโครกรัมต่อลติ ร และปรมิ าณตะกว่ั ในเลอื ดไม่ควรเกิน 10 ไมโครกรมั ตอ่ เดซลิ ติ ร 5.1 อาชีพที่มีความเสี่ยงได้รับพิษจากโลหะหนักมีอาชีพใดบ้าง และอาชีพใดมีความเส่ียง ท่จี ะเจ็บป่วยมากทีส่ ุด อาชพี พนกั งานขบั รถและพนกั งานคดั แยกขยะ โดยอาชพี พนกั งานคดั แยกขยะมคี วาม เส่ยี งท่ีจะไดร้ บั พิษจากโลหะหนักและอาจเจ็บปว่ ยไดม้ ากท่สี ุด 5.2 เมอื่ เปรยี บเทยี บปรมิ าณโลหะหนกั ในเลอื ดของพนกั งานทใี่ ชแ้ ละไมใ่ ชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั ระหว่างท�ำ งาน ดังตารางด้านลา่ ง การใชอ้ ปุ กรณ์ปอ้ งกนั ส่งผลอยา่ งไรต่อผใู้ ช้ ตำ�แหนง่ งาน ปรมิ าณแคดเมียมในเลือด ปรมิ าณตะกว่ั ในเลอื ด (ไมโครกรมั ตอ่ ลิตร) (ไมโครกรมั ตอ่ เดซลิ ติ ร) ไม่ใชอ้ ปุ กรณ์ป้องกนั ใชอ้ ุปกรณ์ปอ้ งกัน 1.83 8.31 0.71 2.33 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชีววิทยา เล่ม 6 บทที่ 25 | มนุษยก์ บั ความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 289 พนกั งานทใี่ ชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั ระหวา่ งการท�ำ งานมปี รมิ าณแคดเมยี มและตะกว่ั ในเลอื ด ต่ำ�กว่าพนักงานท่ีไม่ใช้อุปกรณ์ป้องกันระหว่างทำ�งานมาก ซึ่งลดความเส่ียงท่ีจะเจ็บ ปว่ ยหรอื เปน็ อันตรายถึงแกช่ ีวิตจากพิษโลหะหนกั ได้ 5.3 อุปกรณ์เหล่าน้ีสามารถป้องกันความเสี่ยงที่เกิดข้ึนจากการทำ�งานได้อย่างไรบ้าง โดยตอบค�ำ ถามขอ้ 5.3.1-5.3.2 ก. ถุงมือยาง ข. รองเทา้ ห้มุ ส้น ค. หน้ากากอนามัย ง. แวน่ ตานิรภัย จ. เส้ือคลุม ฉ. หมวกนริ ภยั 5.3.1 ป้องกนั รา่ งกายจากการสมั ผสั กับโลหะหนักหรือสารเคมีอันตรายโดยตรง ก. ข. ค. ง. จ. ฉ. 5.3.2 ปอ้ งกันร่างกายจากการกระแทกของวัตถทุ ่มี ีความแขง็ ข. ง. จ. ฉ. 5.3.3 ถา้ สวมใสอ่ ปุ กรณเ์ หลา่ นค้ี รบขณะท�ำ งาน สามารถปอ้ งกนั อวยั วะใดของรา่ งกาย ขณะท�ำ งานไดบ้ ้าง ศรี ษะ ดวงตา ลำ�ตัว แขน ขา เทา้ อวัยวะในระบบทางเดินหายใจ 5.3.4 พนักงานตำ�แหน่งงานใดควรใช้อุปกรณ์เหล่าน้ีเม่ือปฏิบัติงานมากท่ีสุด เพราะเหตุใด พนักงานคัดแยกขยะ เพราะมโี อกาสสมั ผัสกบั โลหะหนักขณะท�ำ งานมากทส่ี ดุ 6. นักวิทยาศาสตร์บันทึกจำ�นวนสปีชีส์ของนกประเภทต่าง ๆ ที่พบในป่าดิบช้ืนแห่งหน่ึงของ ประเทศไทย และสวนปาล์มนำ้�มันและสวนยางพาราที่อยู่รอบพ้ืนที่ป่าดิบชื้นแห่งน้ัน ไดผ้ ลการศึกษาดงั นี้ ประเภทนก จำ�นวนสปชี ีสท์ พี่ บ ปา่ ดิบช้นื สวนปาลม์ น้ำ�มัน สวนยางพารา นกกนิ แมลง นกทกี่ นิ อาหารไดห้ ลากหลาย 67 18 23 23 18 14 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331