หน่วยท่ี 1 | ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ 018 คมู่ อื ครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ในหลายประเทศ สามารถอธิบายและทาความเข้าใจองค์ความรู้เร่ืององค์ประกอบของเซลล์ได้เหมือนกัน แมจ้ ะมคี วามแตกต่างทางดา้ นภาษา สงั คม และวฒั นธรรม เฉลยคาถามระหวา่ งเรยี น • คาถามแบบใดท่ีวิทยาศาสตร์ไมส่ ามารถตอบได้ แนวคาตอบ คาถามที่ไม่มีหลักฐานท่ีน่าเช่ือถือและตรวจสอบได้มาสนบั สนุนข้อสรปุ เป็นคาถามที่วิทยาศาสตร์ ไมส่ ามารถตอบได้ เชน่ เรอ่ื งความเชือ่ ตา่ ง ๆ หรือเร่อื งลลี้ ับทีย่ ังไม่มคี าตอบชดั เจน • ยกตัวอย่างธรรมชาติของวิทยาศาสตร์อย่างน้อย 3 ตัวอย่างท่ีพบจากบทความเก่ียวกับโครงสร้างอะตอม และการศึกษาวิจัยใบหน้าของหญงิ สาวโบราณปลายยคุ กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ แนวคาตอบ นักเรียนสามารถตอบได้ตามความเข้าใจของตนเอง เชน่ o การศึกษาวิจัยใบหน้าของหญิงสาวโบราณปลายยุคก่อนประวัติศาสตร์ได้ข้อสรุปเพ่ิมมากข้ึนเมื่อมีหลักฐานท่ี นา่ เชื่อถือมาเพิม่ เช่น จากการค้นพบโครงกระดูก ต่อมามกี ารวิเคราะห์ทางกายภาพจนสรปุ ได้วา่ เป็นโครงกระดูก ของหญิงสาว หรือการนาชิ้นส่วนกระดูกไปวิเคราะห์หาอายุ จนได้ข้อสรุปว่าโครงกระดูกดังกล่าวมีอายุราว 13,640 ปี o ข้อสรุปสามารถได้จากข้อมูลหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ผสมผสานกับจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ เช่น นกั วิทยาศาสตร์จนิ ตนาการและสรา้ งสรรค์ภาพหญิงสาวโบราณจากขอ้ มูลโครงกระดกู หญิงและขอ้ มลู อน่ื ๆ โดยที่ ไมไ่ ดเ้ หน็ ด้วยตาตัวเอง o ข้อสรุปสามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีหลักฐานท่ีน่าเชื่อถือมาสนับสนุนแนวคิดใหม่และลบล้างแนวคิดเก่า เช่น จากแนวคิดเดิมท่ีว่าอะตอมเป็นส่ิงท่ีเล็กที่สุดของสสาร ต่อมามีการค้นพบอิเล็กตรอน โปรตอน หรือแนวคิดท่ีว่า อะตอมประกอบด้วยอนุภาคประจุบวกและลบกระจายอยู่ทั่วอะตอม ต่อมาจากหลักฐานต่าง ๆ ได้ข้อสรุปว่า อนภุ าคประจุบวกอยเู่ ปน็ นวิ เคลียสตรงกลาง และมอี นุภาคประจลุ บโคจรโดยรอบ o วิทยาศาสตร์เป็นกิจการทางสังคมของมนุษยชาติ มีความเป็นสากล เช่น องค์ความรู้เก่ียวกับอะตอมมีการศึกษา ทง้ั ในคนจากประเทศต่าง ๆ ร่วมกนั สรปุ จนไดอ้ งค์ความรู้ o กระบวนการทางานเพื่อให้ได้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มีต้ังแต่การตั้งคาถาม การเก็บข้อมูลหรือหาหลักฐาน การสร้างคาอธิบาย การเช่ือมโยงสู่หลักการทางวทิ ยาศาสตร์และการส่ือสาร เช่น มีคาถามเกี่ยวกับองค์ประกอบ ของสสาร หรือข้อมูลของโครงกระดูกท่ีค้นพบ นาไปสู่การหาหลักฐานต่าง ๆ จนได้ข้อสรุปในแต่ละยุคเท่าที่มี หลักฐานเพียงพอที่จะอธิบายได้ และเพ่ิมเติมหรือเปลี่ยนแปลงคาอธิบายเดิมเม่ือมีข้อมูลใหม่ที่น่าเชื่อถือมา สนับสนนุ เช่น แบบจาลองอะตอมที่เปลยี่ นแปลงไปตามหลกั ฐานที่เพ่ิมมากขน้ึ 7. นาเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.2 วัตถุอะไรอยู่ในกล่อง เพื่อความเข้าใจย่ิงข้ึนเกี่ยวกับธรรมชาติวิทยาศาสตร์ในกิจกรรมต่อไป วา่ ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์ดังกลา่ วช่วยสง่ เสริมสนบั สนนุ การสรา้ งความรทู้ างวิทยาศาสตร์อย่างไร สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
9 หนว่ ยท่ี 1 | ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 1.2 วัตถอุ ะไรอยูใ่ นกลอ่ ง แนวการจัดการเรียนรู้ ครดู าเนินการดงั นี้ ก่อนการทากจิ กรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดาเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจการอ่านโดยใช้คาถาม ดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนเ้ี กย่ี วกบั เร่ืองอะไร (ลกั ษณะของธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ จากการหาคาตอบว่าอะไรอยู่ในกล่องปริศนา) • กิจกรรมน้มี ีจุดประสงค์อะไร (สังเกต อภิปรายและลงความเห็นเกี่ยวกับสิ่งท่อี ยู่ในกลอ่ งปรศิ นา จากนน้ั ยกตวั อย่าง และอธิบายธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตรท์ ่สี อดคล้องกบั กิจกรรม) • การทากิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (สังเกต เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์สิ่งที่อยู่ในกล่องปริศนาโดยใช้ ประสาทสัมผัส ต่อมาจงึ ใชเ้ คร่ืองมือ จากนนั้ นาเสนอและอภิปรายสรปุ รว่ มกัน) • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง (ข้อมูลหลักฐานต่าง ๆ เพ่ือสนับสนุนความคิดว่าสิ่งใดอยู่ในกล่อง ปรศิ นา โดยใชป้ ระสาทสัมผสั ต่าง ๆ) ระหวา่ งการทากิจกรรม (15 นาที) 2. ขณะที่แต่ละกลุ่มทากิจกรรม ครูควรเดินสังเกตการทากิจกรรมในแต่ละกลุ่ม และให้คาแนะนา ถ้านักเรียนมีข้อสงสัย ในประเดน็ ตา่ ง ๆ เชน่ การใชป้ ระสาทสัมผัสหรือการใช้เคร่ืองมอื ในการเก็บข้อมูล หลงั การทากจิ กรรม (15 นาที) 3. ให้นักเรียนนาเสนอผลการทากิจกรรม ตอบคาถามท้ายกิจกรรม เพ่ือให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า ธรรมชาติของ วทิ ยาศาสตร์มีมุมมองเชงิ วทิ ยาศาสตร์วา่ ปรากฏการณห์ รือคาถามตา่ ง ๆ สามารถทาความเขา้ ใจได้โดยอาศยั หลกั ฐาน สนับสนุน การแปลผล ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ โดยสรุปเป็นคาอธิบายหรือแนวคิดทาง วิทยาศาสตร์ซง่ึ เปลย่ี นแปลงได้ เมื่อมีหลกั ฐานเพม่ิ เตมิ ทเี่ ชื่อถือได้และนามาสรา้ งคาอธบิ ายใหม่ การสบื เสาะหาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ประกอบโดยการรวบรวมข้อมูลหลักฐานจากวธิ ีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การทดสอบ หรือ วิธีการต่าง ๆ เพ่ือนามาสร้างคาอธิบายหรือตอบคาถามในสิ่งที่สงสัย ซ่ึงเป็นกระบวนการที่เป็นระบบ แต่ขั้นตอนก็มี ความยืดหยุ่นกลับไปกลับมาได้ไม่ตายตัว จากกิจกรรมจะเห็นได้ว่า วิทยาศาสตร์เป็นกิจการทางสังคมที่ซับซ้อนของ มนุษยชาติ แนวคิดหรือคาอธิบายทางวิทยาศาสตร์มีความเป็นสากลแต่อาจจะมีความแตกต่างกัน และในบางคร้ัง วทิ ยาศาสตร์ก็ไม่สามารถใหค้ าตอบท่สี มบรู ณ์หรอื ตอบคาถามทุกคาถามได้ คลา้ ยกบั การหาคาตอบในกจิ กรรม สสถถาาบบันันสสง่ง่ เเสสรริมิมกกาารรสสออนนววทิิทยยาาศศาาสสตตรรแ์แ์ ลละะเเททคคโโนนโโลลยยีี
หน่วยท่ี 1 | ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ 0110 คู่มอื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ 4. ให้นักเรยี นเรยี นร้เู พ่ิมเตมิ โดยอ่านเนอ้ื หาและตอบคาถามระหว่างเรยี นเกีย่ วกับจิตวทิ ยาศาสตรจ์ ากหนังสือเรยี น 5. ให้นกั เรียนร่วมกันอภิปรายเกย่ี วกบั จิตวิทยาศาสตร์ เพื่อใหไ้ ดข้ อ้ สรุปวา่ จิตวทิ ยาศาสตร์ เปน็ ลกั ษณะนสิ ยั ของบุคคล ท่เี กยี่ วขอ้ งกับความรู้สึกนึกคิดทางวิทยาศาสตร์ ซึง่ มีการนกึ คิดและแสดงออกได้หลายแนวทางเชน่ การวิเคราะห์และ ให้เหตุผลแต่ละข้อมูลก่อนการประเมินและตัดสินใจ การไม่แสดงความคิดเห็นต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ก่อนลงมือทา หรือได้ข้อมูลเพียงพอ การสืบเสาะและใช้หลักฐานสนับสนุนการอธิบายทางวิทยาศาสตร์ การรายงานหลักฐานเชิง ประจักษ์อยา่ งครบถว้ น ไม่แอบอ้างผลงานผอู้ ่นื รวมทงั้ การเห็นคุณค่า ความสาคัญ และความสนใจตอ่ วทิ ยาศาสตร์ เฉลยคาถามระหวา่ งเรยี น • ยกตัวอยา่ งเครอื่ งมอื ทีช่ ่วยในการสงั เกตหรือเก็บข้อมลู ต่าง ๆ มา 3 ตวั อย่าง แนวคาตอบ ตวั อย่างเครอื่ งมอื ท่ชี ว่ ยในการสังเกตหรือเก็บขอ้ มูล เช่น ไมบ้ รรทัด เครือ่ งชง่ั กล้องจุลทรรศน์ เฉลยคาถามระหว่างเรียน • จากบทความเก่ียวกับโครงสร้างอะตอม และหญิงโบราณ นักเรียนคิดว่านักวิทยาศาสตร์น่าจะมีลักษณะ นิสยั อยา่ งไรบา้ ง เพราะเหตุใด แนวคาตอบ ทีมนักวิจัยหรือนักวิทยาศาสตร์น่าจะมีลักษณะนิสัยช่างสงสัยเก่ียวกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ รอบตัว มีความอดทนในการค้นคว้าหรือทาการทดลองเพ่ือเก็บข้อมูลหลักฐาน เช่ือมต่อหลักฐานและการลง ข้อสรุปจากหลักฐานที่มี ซื่อสัตย์ต่อหลักฐานท่ีมี ยอมรับความเห็นคนอื่น ใจกว้างหากมีข้อมูลใหม่มาลบล้าง แนวคดิ เดมิ • ในการทากิจกรรมท่ี 1.2 นกั เรยี นมีจิตวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งไรบา้ ง แนวคาตอบ นักเรียนสามารถตอบได้ตามความเข้าใจของตนเอง เช่น มีความช่างสงสัยในการทากิจกรรม มคี วามอดทนในการเกบ็ ข้อมูล ใจกว้างในการยอมรบั ความคิดเหน็ ของผอู้ ืน่ • จติ วิทยาศาสตร์ชว่ ยใหก้ ารทางานบรรลุผลสาเรจ็ ได้อยา่ งไร แนวคาตอบ นักเรียนสามารถตอบได้ตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ทาให้ได้ข้อมูลที่เป็นจริงสอดคล้องกับ หลักฐานทีม่ ไี มม่ ีอคติ เนอ่ื งจากเช่ือม่นั ต่อหลักฐานนั้น ทาใหง้ านท่ีตอ้ งใชเ้ วลาและความทุ่มเทสาเร็จเนื่องจาก มีความอดทน ทาให้งานที่ต้องใช้แนวคิดร่วมกันหลายคนวิเคราะห์สาเร็จได้เน่ืองจากมีความใจกว้างยอมรับ ความเหน็ ของผ้อู น่ื ทน่ี ่าเชอื่ ถือ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
11 หน่วยที่ 1 | ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ คมู่ ือครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ 6. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเก่ียวกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า วิทยาศาสตร์มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากศาสตร์แขนงอื่น ๆ โดยธรรมชาติของวิทยาศาสตร์จะให้ความสาคัญกับการ มองโลกในมุมมองแบบวิทยาศาสตร์ท่ีเห็นว่า ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เราสามารถทาความเข้าใจได้โดยอาศัยกระบวนการหา หลักฐาน ลงความคิดเห็น ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ในการสร้างแนวคิดและคาอธิบายทาง วิทยาศาสตร์ที่มีความน่าเช่ือถือ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์จึงเป็นวิถีทางแหง่ การ เรียนรู้ส่ิงรอบตัวอย่างท่ีไม่มีท่ีสิ้นสุด โดยลักษณะนิสัยของบุคคลท่ีเก่ียวข้องกับความรู้สึกนึกคิดทางวิทยาศาสตร์ เรียกว่า จิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งแสดงออกได้หลายแนวทาง เช่น วิเคราะห์และให้เหตุผลแต่ละข้อมูลก่อนการประเมินและตัดสินใจ ไม่แสดงความคิดเห็นต่อสถานการณ์ต่าง ๆ ก่อนลงมือทาหรอื ไดข้ ้อมูลเพียงพอ สืบเสาะและใช้หลกั ฐานสนับสนุนคาอธบิ าย ทางวิทยาศาสตร์ รายงานหลักฐานเชิงประจักษ์อย่างครบถ้วน ไม่แอบอ้างผลงานผู้อื่น ยอมรับความเห็นหรือแนวคิดที่มี ประจักษ์พยานและเหตุผล แม้ว่าความเห็นหรือแนวคิดดังกล่าวจะแตกต่างจากตนเอง รวมทั้งเห็นคุณค่า ความสาคัญ และ ความสนใจตอ่ วิทยาศาสตร์ 7. ให้นักเรียนร่วมกันอภปิ รายคาถามนาหนว่ ย เพือ่ ให้ได้คาตอบดังตัวอยา่ ง เฉลยคาถามนาหนว่ ย • ความร้ทู างวิทยาศาสตรเ์ ปลีย่ นแปลงได้หรือไม่ อย่างไร แนวคาตอบ ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์เปลย่ี นแปลงได้หากมีหลกั ฐานและคาอธบิ ายใหมท่ ีน่ ่าเชอ่ื ถือมาสนับสนุน • วทิ ยาศาสตรม์ ีลกั ษณะเฉพาะตวั อยา่ งไร แนวคาตอบ วิทยาศาสตร์ใหค้ วามสาคัญกับข้อมลู หลักฐานและการสร้างคาอธบิ ายท่ีสอดคล้องกับหลักฐานนั้น ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มีความเป็นสากล เป็นกิจกรรมของมนุษยชาติ องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์คงทน เชื่อถือได้ แต่เปลยี่ นแปลงเม่อื มีหลักฐานหรือข้อมลู ใหม่ ๆ มาสนบั สนุน การสืบเสาะหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ยกระบวนการท่เี ปน็ ระบบแตไ่ ม่มีข้ันตอนตายตัว • ลักษณะนสิ ัยแบบใดทีช่ ว่ ยใหท้ างานทางวทิ ยาศาสตร์สาเร็จ แนวคาตอบ ลักษณะนิสัยท่ีช่วยให้การทางานทางวิทยาศาสตร์สาเร็จมีหลากหลาย เช่น ใจกว้างยอมรับ ความเห็นผู้อ่ืนที่น่าเชื่อถือ ช่างสงสัย ละเอียดรอบคอบ อดทน เช่ือม่ันต่อหลักฐาน ซ่ือสัตย์ ไม่แอบอ้างผลงาน ของผู้อน่ื มาเป็นของตนเอง สสถถาาบบนัันสสง่่งเเสสรรมิมิ กกาารรสสออนนววิทิทยยาาศศาาสสตตรรแ์แ์ ลละะเเททคคโโนนโโลลยยีี
หน่วยท่ี 1 | ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ 0112 คู่มอื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ 8. ให้นักเรียนตรวจสอบตนเองเพ่ือสรุปองค์ความรู้ท่ีได้จากบทเรียน โดยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือเขียนผัง มโนทัศน์สิ่งท่ีได้เรียนรจู้ ากหน่วยการเรียนรูน้ ี้ ตัวอยา่ งผงั มโนทศั น์ในบทเรยี นธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และจติ วิทยาศาสตร์ ธรรมชาติของวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย จติ วทิ ยาศาสตร์ ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ ปรากฏการณต์ ่าง ๆ สามารถอธบิ ายและ เช่น เชน่ การอธบิ ายปรากฎการณ์ตา่ ง ๆ เชน่ ช่างสงสยั ทานายได้ โดยความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ มีความอดทน ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะความรู้ทาง มคี วามคงทน เช่อื มน่ั ต่อหลักฐาน วทิ ยาศาสตร์มีกระบวนการทีเ่ ปน็ ใจกว้าง ระบบ แต่มีลาดับขั้นตอนไมต่ ายตวั ความร้ทู างวิทยาศาสตร์ ซ่อื สตั ย์ เปลยี่ นแปลงได้ เมอ่ื มี วิทยาศาสตรเ์ ปน็ กจิ การสากลของ มนุษยชาติ ทกุ คนมสี ว่ นร่วมได้ หลกั ฐานใหม่ ๆ ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์มกี ารจัดระบบ วิทยาศาสตรต์ อบ และแตกแขนงเปน็ สาขาทหี่ ลากหลาย คาถามท่สี มบรู ณไ์ ม่ได้ โดยองคก์ รต่าง ๆ และมีหลกั จรยิ ธรรม ทกุ คาถาม ในการดาเนินการร่วมกัน 9. เชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้เร่ืองต่อไปว่า ในหน่วยการเรียนรู้ต่อ ๆ ไป จะเปิดโอกาสให้นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ซึ่งสอดคล้องกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และพัฒนาจิตวิทยาศาสตร์ให้เพ่ิมข้ึน เพื่อเป็นรากฐานใน การดารงชีวิตจรงิ ต่อไป สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
13 หน่วยท่ี 1 | ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ คมู่ อื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยกิจกรรมของหน่วยท่ี 1 สสถถาาบบนัันสสง่ง่ เเสสรรมิิมกกาารรสสออนนววทิทิ ยยาาศศาาสสตตรรแ์์แลละะเเททคคโโนนโโลลยยีี
หนว่ ยที่ 1 | ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ 0114 คู่มือครรู ายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมท่ี 1.1 ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์เปน็ อย่างไร นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ผ่านการอ่านและวิเคราะห์ข้อมูลการพัฒนาองค์ความรู้ วทิ ยาศาสตร์ จดุ ประสงค์ อา่ นบทความ วเิ คราะห์และสรปุ แนวคดิ เก่ยี วกบั ธรรมชาตวิ ิทยาศาสตร์ เวลาท่ใี ชใ้ น 45 นาที การทากิจกรรม วัสดุและอุปกรณ์ -ไมม่ -ี การเตรยี มตวั -ไมม่ -ี ล่วงหนา้ สาหรบั ครู ข้อเสนอแนะ -ไมม่ -ี ในการทากจิ กรรม ส่อื การเรยี นร้/ู • หนังสือเรยี นรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ระดบั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 เล่ม 1 ของ สสวท. แหลง่ เรียนรู้ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
15 หนว่ ยที่ 1 | ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ คมู่ ือครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างผลการทากิจกรรม การพัฒนาองค์ความรเู้ ก่ียวกับโครงสรา้ งอะตอม หลกั ฐาน แนวคิด/ข้อสรปุ สสารประกอบด้วยอนุภาคขนาดเลก็ ท่ี แบง่ แยกอกี ไม่ไดเ้ รยี กวา่ อะตอม พบอนุภาคประจบุ วกแผม่ าจากอะตอม อะตอมประกอบด้วยอนภุ าคประจบุ วก พบอนภุ าคประจลุ บแผ่มาจากอะตอม และอนภุ าคประจลุ บกระจายอยูท่ วั่ อะตอม อะตอมประกอบด้วยอนภุ าคประจบุ วก ขนาดใหญ่อยู่ตรงกลางและมอี นุภาคประจุ ลบเคลือ่ นท่โี ดยรอบ เมอื่ ยงิ อนภุ าคประจุบวกเขา้ ไปในอะตอม อะตอมประกอบด้วยอนภุ าคประจบุ วกขนาด บางครงั้ อนภุ าคดงั กลา่ วมกี ารสะทอ้ นกลบั เลก็ อย่ตู รงกลางเปน็ นิวเคลยี สและมอี นภุ าค หรือเบนไปจากแนวเดมิ ประจลุ บเคลื่อนท่ีโดยรอบ นา้ หนักอะตอมของฮเี ลียมหนักกวา่ ที่ควรจะเป็น 2 นวิ เคลียสของอะตอมมอี นุภาคท่เี ป็นกลาง เท่า เรยี กว่า นวิ ตรอน สสถถาาบบนันั สสง่ง่ เเสสรรมิิมกกาารรสสออนนววทิทิ ยยาาศศาาสสตตรร์แแ์ ลละะเเททคคโโนนโโลลยยีี
หน่วยท่ี 1 | ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ 0116 คู่มอื ครูรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ตวั อยา่ งผลการทากจิ กรรม การพัฒนาองคค์ วามร้เู ก่ียวกับหญงิ สาวโบราณปลายยคุ ก่อนประวัติศาสตร์ หลกั ฐาน แนวคดิ /ขอ้ สรุป พบโครงกระดูก ณ เพิงถ้าผาลอด เมื่อนามา โครงกระดูกเพศหญงิ อายุเมอื่ ตาย 25-35 ปี วิเคราะหแ์ ละไดข้ ้อมลู ลกั ษณะทางกายภาพ ความสงู ประมาณ 5 ฟุต เช่น กระดูกเชงิ กราน และฟนั กราม ข้อมูลจากการทดสอบหาอายโุ ดยใช้ โครงกระดกู มีอายรุ าว 13,640 ปี คาร์บอน-14 โมเดลต้นแบบ 3 มติ ิ ของโครงกระดูก ขอ้ มลู จากการสแกนตวั อย่างกระโหลก และจาลองโดยใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ข้อมลู จากเทคนิคการจาลองใบหน้าจาก ภาพวาดใบหน้าหญิงโบราณ กระโหลก การวเิ คราะห์เนือ้ เยอ่ื และ รูปปนั้ ใบหนา้ หญงิ สาวยุคโบราณ กลา้ มเนือ้ บนใบหน้า สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
17 หน่วยที่ 1 | ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ ค่มู อื ครูรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคาถามท้ายกิจกรรม 1. องคค์ วามรู้ทางวิทยาศาสตร์ไดม้ าอย่างไร แนวคาตอบ ข้อสรุปหรือองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์จะต้องอาศัยข้อมูลหลักฐาน รวมทั้งการวิเคราะห์ข้อมูล และสรา้ งคาอธิบายทีน่ า่ เชือ่ ถือและสอดคล้องกบั หลกั ฐานน้ัน 2. ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้หรอื ไม่ อยา่ งไร แนวคาตอบ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เปลี่ยนแปลงได้เม่ือมีหลักฐานเพิ่มเติม หรือหลักฐานใหม่ลบล้างแนวคิด หรอื ข้อสรุปเดมิ 3. จากกจิ กรรม สรุปไดว้ า่ อย่างไร แนวคาตอบ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์มีลักษณะเฉพาะตัวที่แตกต่างจากศาสตร์อื่น ๆ โดยมุมมองแบบ วิทยาศาสตร์ต่อปรากฏการณ์ต่างๆ มีลักษณะเฉพาะ เช่น องค์ความรู้หรือคาอธิบายต่อปรากฏการณ์หรือส่ิง ต่างๆอาศัยข้อมูลหรือหลักฐานที่น่าเช่ือถือมาประกอบกันเพื่อสร้างคาอธิบาย โดยองค์ความรู้หรือคาอธิบาย ต่างๆ สามารถเปลีย่ นแปลงไดเ้ มื่อมหี ลกั ฐานเพิม่ ข้นึ หรือหลักฐานใหมท่ ี่น่าเชื่อถอื มาสนับสนนุ คาอธบิ ายใหม่ สสถถาาบบนัันสส่ง่งเเสสรรมิมิ กกาารรสสออนนววทิทิ ยยาาศศาาสสตตรรแ์์แลละะเเททคคโโนนโโลลยยีี
หนว่ ยท่ี 1 | ธรรมชาตขิ องวทิ ยาศาสตร์ 0118 คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 1.2 วัตถอุ ะไรอยูใ่ นกล่อง นักเรียนจะได้เรยี นรูเ้ กย่ี วกับธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตรผ์ ่านการสังเกต เกบ็ ข้อมลู ลงความเห็นเกย่ี วกบั ส่ิงท่ีอย่ใู น กลอ่ งปริศนา จดุ ประสงค์ 1. สงั เกต เกบ็ ข้อมูล อภปิ รายและลงความเหน็ เก่ยี วกบั ส่งิ ท่ีอยู่ในกลอ่ ง 2. ยกตวั อยา่ งและอธบิ ายธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับการทากจิ กรรม เวลาที่ใชใ้ น 40 นาที การทากิจกรรม วสั ดุและอุปกรณ์ วัสดุท่ใี ชต้ อ่ กลุ่ม รายการ ปรมิ าณ/กล่มุ 1. กลอ่ งปริศนา 1 กล่อง 2. อุปกรณช์ ่วยในการสังเกต เช่น 1 ชดุ ไม้บรรทดั เครอ่ื งชั่ง ดนิ สอ ไม้จิ้มฟัน การเตรยี มตัว เตรียมกล่องบรรจุวัตถุปริศนาท่ีคุณครูเลือกเอง โดยกล่องปิดทึบไม่สามารถมองเห็นวัตถุปริศนา ล่วงหนา้ สาหรบั ครู ได้ และเจาะรูเล็ก ๆ ด้านข้าง 1 รู วัตถปุ รศิ นาควรเปน็ วัตถทุ ่ีหาไดง้ า่ ย นักเรยี นทกุ คนรูจ้ กั ข้อเสนอแนะ -ไม่ม-ี ในการทากจิ กรรม สอ่ื การเรียนรู้/ • หนังสอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ระดบั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 เลม่ 1 ของ สสวท. แหลง่ เรยี นรู้ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
19 หนว่ ยที่ 1 | ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ ค่มู ือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตัวอยา่ งผลการทากจิ กรรม ผลการสงั เกตและเก็บรวบรวมขอ้ มลู วตั ถุปริศนาทอ่ี ยู่ในกล่อง โดยใช้ประสาทสัมผัสของตนเอง • เมื่อเขย่ากลอ่ งมีเสยี งวตั ถุกระทบขา้ งกล่อง กล่องเบา • กลอ่ งไม่มีกล่นิ และมสี ี (ตามกลอ่ งที่ครเู ตรยี ม) • วตั ถุมีพื้นที่ใหเ้ คลื่อนท่ใี นกล่องมาก การลงข้อสรปุ เก่ียวกับวัตถปุ รศิ นา • วตั ถขุ องแขง็ ขนาดเลก็ น้าหนกั ไม่มาก ผลการสังเกตและเก็บรวบรวมข้อมูลวัตถุปริศนาที่อยู่ในกล่อง โดยใช้เครือ่ งมือตา่ งๆช่วยในการสังเกต • เมื่อใชด้ ินสอไมห้ รือไมจ่ มิ้ ฟันเจาะรกู ลอ่ งและสัมผสั กบั วตั ถุพบว่าบางครงั้ ดินสอสามารถทะลุชอ่ งของวัตถไุ ป ไดบ้ ริเวณตรงกลางของวัตถุ มีรปู รา่ งแบน ๆ ความสูงประมาณ 1 เซนตเิ มตร การลงข้อสรุปเกยี่ วกับวตั ถุปริศนา • วัตถุปรศิ นามีรปู รา่ งกลมแบนมรี ูตรงกลาง วัตถปุ ริศนาน่าจะเป็นยางลบ หรือเทปกาว เฉลยคาถามทา้ ยกจิ กรรม 1. การลงความเห็นส่ิงที่อยู่ในกล่อง จากข้อมูลที่ได้จากการสังเกตโดยใช้ประสาทสัมผัส โดยใช้เคร่ืองมือ และการอภปิ รายรว่ มกันในชั้นเรยี น เหมือนหรอื แตกตา่ งกันหรอื ไม่ อย่างไร แนวคาตอบ แตกต่างกันโดยเม่อื ใช้ประสาทสัมผัสของตนเอง จะลงขอ้ สรปุ ไดว้ ่าเปน็ ของแขง็ ขนาดเล็ก น้าหนกั เบา เม่ือใช้เคร่ืองมือโดยใช้ดินสอลอดผ่านกล่องไปสัมผัสวัตถุได้ข้อมูลเพิ่มขึ้นว่าเป็นวัตถุที่มีลักษณะกลมแบน เม่อื อภปิ รายร่วมกันทัง้ ชัน้ เรยี นก็ไดข้ ้อมูลหลกั ฐานเพ่มิ ขน้ึ ว่ามีความหนาประมาณ 1 เซ็นติเมตร จนสรปุ รว่ มกัน วา่ วตั ถุดังกล่าวน่าจะเปน็ ยางลบ หรอื เทปกาว 2. เพราะเหตใุ ดการลงความเห็นในขอ้ 1 จึงเหมือนหรอื แตกต่างกัน แนวคาตอบ การลงความเห็นในข้อ 1 แตกต่างกันเนื่องจากมีข้อมูลหลักฐานเพิ่มเติมที่น่าเชื่อถือมาสนับสนุน คาอธิบายใหม่ 3. การทากิจกรรมของนักเรยี นสอดคลอ้ งกบั ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ใดบา้ ง อธิบาย แนวคาตอบ การทากิจกรรมสอดคล้องกับธรรมชาติวิทยาศาสตร์ในการวิเคราะห์หลักฐานและสรุปข้อมูล จากน้นั เมอื่ มีขอ้ มูลเพมิ่ หรอื หลักฐานใหม่ก็สามารถเปล่ียนแปลงขอ้ สรุปได้ การสร้างคาอธบิ ายอาศัยจนิ ตนาการ การลงความคดิ เหน็ เช่ือมโยงกับหลักฐานอย่างมีเหตุผล สสถถาาบบันนั สสง่่งเเสสรริมิมกกาารรสสออนนววทิทิ ยยาาศศาาสสตตรรแ์แ์ ลละะเเททคคโโนนโโลลยยีี
หนว่ ยท่ี 1 | ธรรมชาตขิ องวิทยาศาสตร์ 0120 คมู่ ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคาถามทา้ ยกจิ กรรม 4. จากกิจกรรม สรุปไดว้ ่าอยา่ งไร แนวคาตอบ การลงความเห็นเกี่ยวกับส่ิงท่ีอยู่ในกล่องทาได้โดยใช้หลักฐานที่เก็บได้ในแต่ละข้ันตอน ท้ังการใช้ ประสาทสัมผัส และการใช้เคร่ืองมือชว่ ย โดยข้อสรปุ เปลีย่ นแปลงได้เม่ือมีหลกั ฐานใหม่เพ่มิ เติม หรอื แนวคิดใน การวิเคราะห์ทน่ี ่าเชอ่ื ถอื และสอดคล้องกับหลักฐานนน้ั โดยกระบวนการทางานดังกลา่ วสอดคลอ้ งกับธรรมชาติ วิทยาศาสตร์ที่ว่า สิ่งต่างๆสามารถทาความเข้าใจได้เมื่อมีหลักฐานสนับสนุน แนวคิดสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีหลักฐานเพิ่มเติมท่ีเช่ือถือได้ การสร้างคาอธิบายอาศัยจินตนาการ การลงความคิดเห็นเชื่อมโยงกับ หลกั ฐานอยา่ งมเี หตุผล สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
21 หน่วยท่ี 2 | สายละลาย คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 2หนว่ ยท่ี ห น่ ว ย ก า ร เ รี ย น รู้ นี้ มี จุ ด มุ่ ง ห ม า ย ใ ห้ นั ก เ รี ย น เ รี ย น รู้ เ ก่ี ย ว กั บ องค์ประกอบของสารละลาย ปัจจัยที่มีผลต่อสภาพละลายได้และความ เข้มข้นของสารละลาย เพ่ือให้เข้าใจว่าสารละลายประกอบด้วยตัวละลาย และตัวทาละลาย ซึ่งละลายโดยใช้อัตราส่วนต่าง ๆ และไม่เกิดสารใหม่ สารละลายอ่ิมตัวมีอัตราส่วนระหว่างตัวละลายต่อตัวทาละลายสูงสุด อัตราส่วนดังกล่าวคือสภาพละลายได้ของสารละลาย ขึ้นอยู่กับชนิดของ ตัวละลายและตัวทาละลาย อุณหภูมิและความดัน การระบุความเข้มข้น ของสารละลายสามารถระบุได้ในหน่วยร้อยละ การใช้สารละลายใน ชีวิตประจาวันควรคานึงถึงความเข้มข้นของสารละลาย และผลกระทบต่อ สงิ่ มีชีวิตและสง่ิ แวดล้อม องค์ประกอบของหน่วย บทที่ 1 องค์ประกอบของสารละลายและปัจจัยทมี่ ผี ลต่อสภาพละลายได้ เรื่องที่ 1 องคป์ ระกอบของสารละลาย เวลาท่ใี ช้ 2 ชว่ั โมง เรอ่ื งท่ี 2 สภาพละลายได้และ เวลาที่ใช้ 6 ช่ัวโมง 30 นาที ปจั จยั ทมี่ ผี ลต่อสภาพละลายได้ กจิ กรรมท้ายบท เวลาทใ่ี ช้ 30 นาที บทท่ี 2 ความเขม้ ข้นของสารละลาย เร่อื งที่ 1 ความเข้มข้นของสารละลาย เวลาทใ่ี ช้ 4 ชัว่ โมง ในหน่วยรอ้ ยละ กจิ กรรมทา้ ยบท เวลาท่ใี ช้ 1 ชว่ั โมง สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รวมเวลาท่ีใช้ 14 ช่ัวโมง
หนว่ ยท่ี 2 | สารละลาย 0122 ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ บทท่ี 1 องค์ประกอบของสารละลายและปจั จัย ทม่ี ผี ลต่อสภาพละลายได้ สาระสาคญั สารละลายประกอบด้วยตัวทาละลายและตัวละลาย สารละลายมีทั้งสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สารละลายท่ีเกดิ จากสารท่ีมีสถานะเดียวกัน สารท่ีมีปรมิ าณมากทส่ี ุดจดั เป็นตัวทาละลาย กรณสี ารละลายเกดิ จากสารท่ีมี สถานะต่างกัน สารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลายและมีปริมาณมากที่สุดจัดเป็นตัวทาละลาย สารละลายท่ีตัวละลาย ไม่สามารถละลายในตัวทาละลายปริมาณหนึ่ง ๆ ได้อีกท่ีอุณหภูมิและความดันหน่ึง ๆ เรียกว่า สารละลายอ่ิมตัว สภาพละลายได้ของสารในตวั ทาละลายเปน็ ค่าทีบ่ อกปริมาณของสารเป็นกรัมทลี่ ะลายได้ในตัวทาละลาย 100 กรมั จนได้ สารละลายอ่ิมตัว ณ อุณหภูมิและความดันหนึ่ง ๆ สภาพละลายได้ของสารบ่งบอกความสามารถในการละลายของ ตัวละลายในตัวทาละลาย ขึ้นอยู่กับชนิดของตัวทาละลายและตัวละลาย อุณหภูมิ และความดัน สารชนิดหน่ึง ๆ มี สภาพละลายได้แตกต่างกันในตัวทาละลายท่ีแตกต่างกัน ส่วนสารต่างชนิดกันมีสภาพละลายได้ในตัวทาละลายหนึ่ง ๆ ไม่เท่ากันเมื่ออุณหภูมิคงที่ แต่เม่ืออุณหภูมิสูงขึ้น สภาพละลายได้ของสารส่วนมากจะเพ่ิมขึ้น ยกเว้นแก๊สเมื่ออุณหภูมิ สงู ขน้ึ สภาพการละลายไดจ้ ะลดลง ส่วนความดนั มผี ลต่อสภาพละลายได้ของแกส๊ โดยเม่อื ความดันเพิ่มขน้ึ สภาพละลาย ได้ของแก๊สจะเพิ่มขึ้น ความรู้เก่ียวกับสภาพละลายได้ของสารเมื่อเปลี่ยนแปลงชนิดตัวละลายและตัวทาละลาย อุณหภูมิ และความดัน สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจาวนั จดุ ประสงค์ของบทเรียน เมอ่ื เรยี นจบบทนแี้ ล้ว นักเรยี นจะสามารถทาส่ิงต่อไปน้ีได้ 1. ระบอุ งคป์ ระกอบของสารละลายได้วา่ สารใดเปน็ ตวั ละลายหรือตวั ทาละลาย 2. อธิบายผลของชนดิ ตัวละลาย ชนดิ ตัวทาละลาย อณุ หภูมิ และความดนั ท่ีมตี ่อสภาพละลายได้ของสาร สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
23 หน่วยที่ 2 | สายละลาย คมู่ ือครูรายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ภาพรวมการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ จุดประสงค์ แนวความคดิ ตอ่ เนื่อง กจิ กรรม รายการประเมนิ การเรียนรู้ของบทเรียน 1. อธิบายเกณฑท์ ใ่ี ช้ 1. ระบอุ งคป์ ระกอบของ 1. สารละลายประกอบดว้ ยตวั ทา กิจกรรมที่ 2.1 สารละลายได้ว่าสารใด ในการระบุตวั เป็นตัวละลายหรือตัวทา ละลายและตัวละลาย ระบตุ วั ละลาย ละลายและตวั ทา ละลาย ละลาย 2. สารละลายมีสถานะเปน็ ได้ทงั้ และตัวทาละลาย 2. ระบุตวั ละลายและ 2. อธบิ ายผลของชนิดตวั ตวั ทาละลายใน ละลาย ชนดิ ตัวทา ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ได้อย่างไร สารละลาย ละลาย อณุ หภูมิ และ ความดันท่ีมตี ่อสภาพ 3. สารละลายทีป่ ระกอบด้วยสารทีม่ ี 1. สังเกตสารละลาย ละลายไดข้ องสาร อิ่มตัวและอธบิ าย สถานะตา่ งกัน ตัวทาละลายคือสาร ความหมายของ สารละลายอ่มิ ตัว มีสถานะเหมอื นกบั สารละลาย 2. วิเคราะหแ์ ละ ซ่ึงสว่ นใหญ่จะเป็นสารท่ีมีปริมาณ อธบิ ายสภาพ ละลายไดข้ องสาร มากที่สดุ ในตวั ทาละลาย 4. สารละลายทป่ี ระกอบด้วยสารท่มี ี สถานะเหมือนกนั สารที่มีปริมาณ มากที่สดุ จัดเป็นตัวทาละลาย สว่ น องคป์ ระกอบที่มีนอ้ ยกวา่ จัดเป็นตวั ละลาย 1. สารละลายอิ่มตัว คือ สารละลาย กิจกรรมที่ 2.2 ท่ีตัวละลายไม่สามารถละลายใน สารละลายอมิ่ ตวั ตัวทาละลายปริมาณหนึ่งได้อีกที่ คืออะไร อุณหภูมิและความดันหน่ึง 2. สภาพละลายได้ของสารเปน็ ปรมิ าณของสารเปน็ กรมั ที่ละลาย ไดใ้ นตวั ทาละลาย 100 กรัม ได้ สารละลายอิ่มตวั พอดี ณ อณุ หภมู ิ และความดันหนึ่ง สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารละลาย 0124 คู่มือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ จดุ ประสงค์ แนวความคิดตอ่ เนอ่ื ง กิจกรรม รายการประเมิน การเรยี นรู้ของบทเรียน 3. สภาพละลายได้ของสารบ่งบอก กจิ กรรมท่ี 2.3 1. ทดลองและอธบิ าย ผลของชนิดของตวั ความสามารถในการละลายได้ของ ชนิดของตวั ละลายและตัวทา ละลายที่มตี ่อสภาพ ตัวละลายในตัวทาละลาย ขึน้ อยู่ ละลายและตวั ทา ละลายไดข้ องสาร กับชนดิ ของตวั ทาละลายและตัว ละลายมีผลต่อ 1. ออกแบบการ ทดลองและทดลอง ละลาย อุณหภมู ิ และความดัน สภาพละลายได้ เปรยี บเทียบสภาพ ละลายได้ของสารท่ี 4. สารชนิดหนงึ่ ๆ มีสภาพละลายได้ ของสารอยา่ งไร อณุ หภูมิต่าง ๆ ต่างกันในตวั ทาละลายที่ตา่ งกัน 1. วเิ คราะห์ข้อมูลและ ระบแุ นวทางการใช้ และสารต่างชนดิ กันมสี ภาพละลาย ตัวทาละลายตา่ ง ๆ อย่างถูกต้องและ ได้ในตวั ทาละลายชนดิ เดียวกันไม่ ปลอดภัย เท่ากันเม่ืออุณหภมู คิ งที่ 5. เมอ่ื อุณหภมู สิ ูงข้ึน สารสว่ นใหญ่มี กิจกรรมท่ี 2.4 สภาพละลายได้เพ่ิมขึน้ ยกเว้น อุณหภมู ิมีผลต่อ แกส๊ เมื่ออุณหภูมิสงู ขน้ึ สภาพการ สภาพละลายได้ ละลายได้จะลดลง ของสารอย่างไร 6. ความดันมผี ลต่อสภาพละลายได้ ของแกส๊ โดยเมอื่ ความดันเพ่ิมข้นึ สภาพละลายได้ของแก๊สจะเพ่ิมขึ้น 7. ความรู้เก่ียวกับสภาพละลายได้ กิจกรรมท้ายบท ของสารเมื่อเปลยี่ นแปลงชนิดตวั การใช้ตวั ทา ละลายและตวั ทาละลาย อณุ หภูมิ ละลายอย่าง และความดัน สามารถนาไปใช้ ถกู ต้องและ ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวัน ปลอดภยั ทาได้ อย่างไร สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
25 หนว่ ยท่ี 2 | สายละลาย ค่มู อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ท่ีควรจะได้จากบทเรยี น ทักษะ เรอื่ งที่ ทา้ ยบท 12 • ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ • การสังเกต • • • การวัด • • • การจาแนกประเภท • • • การหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสเปซกับสเปซ และสเปซกบั เวลา การใช้จานวน •• การจัดกระทาและส่ือความหมายขอ้ มูล •• การลงความเหน็ จากข้อมูล •• การพยากรณ์ การต้ังสมมตฐิ าน • การกาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ การกาหนดและควบคุมตวั แปร • การทดลอง • การตคี วามหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ •• การสรา้ งแบบจาลอง ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ดา้ นการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณและการแกป้ ัญหา • • ด้านการส่อื สาร สารสนเทศและการรูเ้ ทา่ ทนั สื่อ • ดา้ นความรว่ มมือ การทางานเปน็ ทีม และภาวะผู้นา • • ดา้ นการสรา้ งสรรคแ์ ละนวตั กรรม • ด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ • และการสื่อสาร ดา้ นการทางาน การเรยี นรู้ และการพึ่งตนเอง • • สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยที่ 2 | สารละลาย 0126 คู่มอื ครรู ายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ การนาเข้าสหู่ น่วยการเรยี นรู้ ครดู าเนินการดังนี้ 1. กระตุ้นความสนใจของนักเรียน เพื่อนาเข้าสู่ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง สารละลาย โดยให้ นักเรียนสังเกตยาแก้ไอแบบน้าเช่ือม น้าหวาน น้ายาบ้วนปาก หรือสังเกตภาพนาหน่วยและ ร่วมกนั อภิปรายโดยใชค้ าถามต่อไปนี้ • นักเรียนเคยรับประทานยาแก้ไอแบบ น้าเช่ือมหรือไม่ ยาแก้ไอมีลักษณะและ รสชาติอย่างไร (นักเรียนตอบได้โดยอิสระ เช่น ยาแก้ไอแบบน้าเชื่อม เป็นของเหลว สแี ดงเข้ม รสหวาน) 2. เชื่อมโยงเข้าสู่การเรียนในหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โดยใชค้ าถามว่า • สารต่าง ๆ ที่ยกตัวอย่าง ทั้งยาแก้ไอแบบ น้าเชอื่ ม นา้ หวาน นา้ ยาบว้ นปาก มลี กั ษณะ เป็นเน้ือเดียว ใส ไม่มีตะกอน สารดังกล่าว เป็นสารประเภทใด และการใช้ประโยชน์ ต้องคานึงถึงอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ เช่น สารดังกล่าวเป็นสารละลาย การใช้ประโยชน์ต้อง คานึงถึงขอ้ แนะนาการใช้ ปริมาณสารทีแ่ นะนาให้ใช้) คาตอบของนักเรียนอาจจะถูกต้องหรือยังไม่ถูกต้องทั้งหมด ให้ครูบันทึกคาตอบไว้ก่อน และอธิบายว่า นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของสารละลาย ปัจจัยที่มีผลต่อสภาพละลายได้ และความเข้มข้นของ สารละลายในหน่วยการเรียนรนู้ ้ี 3. นักเรียนอ่านเน้ือหานาหน่วย และร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้แนวคิดว่ายาแก้ไอแบบน้าเช่ือม น้าหวาน น้ายาบ้วนปาก เป็นสารผสมที่ประกอบด้วยสารหลายชนิดผสมกันเป็นเน้ือเดียว จัดเป็นสารละลาย การนาสารละลายไปใชป้ ระโยชน์ ต้องคานึงถึงชนิดของสารท่ีนามาผสมกัน และความเข้มข้นของสารละลาย จากนั้น นักเรียนอ่านคาถามนาหน่วยและ ร่วมกนั อภปิ ราย เพือ่ ให้ทราบว่าจะต้องเรยี นรเู้ รอื่ งอะไรบา้ งในหนว่ ยนี้ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
27 หนว่ ยท่ี 2 | สายละลาย ค่มู ือครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ 4. เชอ่ื มโยงเข้าสู่บทท่ี 1 โดยใหน้ ักเรียนดภู าพนาบท ความรู้เพม่ิ เติมสาหรบั ครู และอภิปรายร่วมกันโดยใช้คาถาม ครอู าจเขียน คาถามไว้บนกระดานและบันทึกคาตอบของ ภาพนาบทแสดงน้าหวานสีต่าง ๆ ที่ได้จากการละลายน้าตาล นกั เรยี นไว้ สารแต่งสีและกล่ินในน้า บางชนิดอาจมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ละลายอยดู่ ้วย • นกั เรยี นคิดว่าน้าหวานที่เห็นในภาพประกอบ ด้วยอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ ของตนเอง เชน่ มีน้า น้าตาล สารแตง่ สแี ละกล่ิน และอาจมีสารอื่นทล่ี ะลายนา้ ได้) • นักเรียนคิดว่าน้าหวานเป็นสารละลายหรือไม่ เพราะเหตุใด (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น น้าหวานเป็นสารละลายเพราะมนี า้ ตาลละลายอยใู่ นนา้ หวาน) • นอกจากน้าหวานแล้ว รอบ ๆ ตัวเรามีอะไรอีกบ้างท่ีเป็นสารละลาย ยกตัวอย่าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจ ของตนเอง เช่น นา้ เกลือ น้าชา) • สารแต่ละชนิดละลายในสารอีกชนิดหนึ่งได้เท่ากันหรือไม่ ขึ้นอยู่กบั อะไร (นกั เรยี นตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น ไม่เท่ากนั ข้นึ อยู่กบั ชนดิ ของสารทีน่ ามาละลายกัน อณุ หภมู )ิ • สารละลายชนิดเดียวกัน เช่น น้าหวานท่ีจาหน่ายในท้องตลาดมีรสหวานเท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด (นักเรียน ตอบตามความเข้าใจของตนเอง เช่น มรี สหวานไม่เทา่ กัน เพราะมีปรมิ าณนา้ ตาลไม่เท่ากัน) 5. ให้นักเรียนอ่านเน้ือหานาบทเพ่ือหาคาตอบของคาถามท่ีครูถามหรือเขยี นไว้บนกระดาน และอภปิ รายเพ่ือให้ได้คาตอบ ทถ่ี กู ตอ้ ง ดงั น้ี • นักเรียนคิดว่าน้าหวานที่เห็นในภาพประกอบด้วยอะไรบ้าง (น้าหวานในภาพประกอบด้วยน้า น้าตาล สารแต่งสี และกล่นิ ) • นักเรียนคิดว่าน้าหวานเป็นสารละลายหรือไม่ เพราะเหตุใด (น้าหวานเป็นสารละลาย เพราะเป็นสารผสมที่ ประกอบด้วยสารหลายชนดิ ผสมกนั เป็นเน้อื เดียว) • นอกจากน้าหวานแล้ว รอบ ๆ ตัวเรามีอะไรอีกบ้างท่ีเป็นสารละลาย ยกตัวอย่าง (น้าอัดลม น้ายาล้างห้องน้า น้าสม้ สายชู น้ายาล้างจาน อากาศ เหล็กกลา้ ไร้สนิม) • สารแตล่ ะชนดิ ละลายในสารอีกชนิดหน่ึงได้เท่ากันหรือไม่ ขน้ึ อยู่กบั ปัจจัยใด (สารแตล่ ะชนดิ ละลายในสารอีกชนิด หนงึ่ ไดไ้ ม่เท่ากนั ข้นึ อย่กู บั ปัจจยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง เชน่ ชนิดของสาร อุณหภูมิ และความดนั ) • สารละลายชนิดเดียวกัน เช่น น้าหวาน ความรู้เพม่ิ เติมสาหรบั ครู ที่จาหน่ายในท้องตลาดมีรสหวานเท่ากัน หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด (น้าหวานทจ่ี าหน่ายใน ปัจจัย หมายถึง สาเหตุท่ีทาให้เกิดผลน้ัน เช่น ปัจจัยท่ีมีผลต่อ ท้องตลาดมีรสหวานไม่เท่ากัน เพราะมี การละลาย หมายถงึ สาเหตุทท่ี าให้เกิดการละลายไมเ่ ทา่ กัน เชน่ อัตราส่วนผสมระหว่างน้าตาลกับน้าไม่ ชนิดของสารทีใ่ ช้ละลาย อณุ หภมู ิขณะละลาย เท่ากัน) สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารละลาย 0128 คู่มอื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ 6. จากน้ันนักเรียนอ่านคาถามนาบท จุดประสงค์ของบทเรียน และอภิปรายร่วมกัน เพ่ือให้นักเรียนทราบขอบเขต เน้ือหาที่นักเรียนจะได้เรียนรู้ในบทเรียน รวมทั้งเป้าหมายการเรียนรู้ (นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของ สารละลาย และบอกได้ว่าองค์ประกอบใดจัดเป็นตัวละลายหรือตัวทาละลายในสารละลาย สภาพละลายได้ อธิบาย ผลของชนิดตวั ละลาย ชนิดตวั ทาละลาย อุณหภมู ิ และความดันท่ีมีผลต่อสภาพละลายไดข้ องสาร) สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
29 หน่วยท่ี 2 | สายละลาย คู่มือครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ 7. เร่ืองที่ 1 องคป์ ระกอบของสารละลาย แนวการจดั การเรียนรู้ ครูดาเนินการดงั น้ี 1. ให้นักเรียนดูภาพนาเรื่อง อ่านเนื้อหานาเร่ือง ท่ีเก่ียวกับเหล็กกล้าไร้สนิม แล้วใช้คาถาม อภิปราย เพ่ือให้ไดข้ ้อสรปุ ว่า เหลก็ กลา้ ไรส้ นิม หรือ stainless steel เป็นสารละลายท่ีมี สถานะเป็นของแข็ง ประกอบด้วยเหล็กละลาย กับธาตุหลายชนิด เพ่ือให้มีสมบัติเหมาะสมกับ การใชง้ าน และอา่ นคาสาคัญในหนังสือเรยี น 2. ให้นักเรียนทากิจกรรมทบทวนความรูก้ ่อนเรียน แล้วนาเสนอผลการทากิจกรรม หากครูพบว่า นักเรียนยงั ทากจิ กรรมทบทวนความร้กู อ่ นเรียน ไม่ถกู ต้อง ครคู วรทบทวนหรือแก้ไขความเข้าใจ ผิดของนักเรียน เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ พ้ื น ฐ า น ที่ ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ เ พี ย ง พ อ ที่ จ ะ เ รี ย น เรื่องสารละลายตอ่ ไป เฉลยทบทวนความรกู้ ่อนเรียน เขียนเครื่องหมาย หนา้ ขอ้ ความทถี่ ูกตอ้ ง และเขียนเครื่องหมาย หน้าขอ้ ความทไ่ี มถ่ ูกต้อง สารละลายมีทงั้ ที่เป็นสารเนอ้ื เดียวและสารเนอ้ื ผสม ไม่ถูกตอ้ ง เพราะสารละลายเปน็ สารเนอื้ เดียวเสมอ สาร 2 ชนดิ เมอื่ ผสมเปน็ เน้อื เดยี วกันแสดงว่าเกดิ การละลายกัน ไมถ่ ูกตอ้ ง เพราะสาร 2 ชนดิ เม่อื ผสมเปน็ เนื้อเดยี วกนั อาจไม่เกดิ การละลาย แต่เกดิ ปฏกิ ิริยาเคมีได้ นา้ แขง็ เมื่อเปลีย่ นเป็นน้าแสดงว่ามกี ารละลายเกดิ ขน้ึ ไม่ถูกต้อง เพราะน้าแข็งเปลี่ยนเป็นน้า เป็นการเปล่ียนสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว เรียกว่า การหลอมเหลว สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยที่ 2 | สารละลาย 0130 คู่มือครรู ายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ 3. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเก่ียวกับตัวละลายและตัวทาละลายโดยทากิจกรรมรู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียน สามารถตอบตามความเข้าใจของตนเอง โดยครูจะไม่เฉลยคาตอบ แต่นาข้อมูลจากการตรวจสอบความรู้เดิมของ นักเรียนน้ีไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ว่าควรเน้นย้าหรืออธิบายเร่ืองใดเป็นพิเศษ เมื่อนักเรียนเรียนจบ เร่อื งนแ้ี ลว้ นกั เรียนจะมคี วามรู้ความเขา้ ใจครบถ้วนตามจุดประสงค์ของบทเรียน ตัวอยา่ งแนวคิดคลาดเคล่อื นซึง่ อาจพบในเรอ่ื งน้ี • สารละลายมีสถานะของเหลวเท่าน้ัน (Adadan, E., & Savasci., 2012) • ตัวละลายตอ้ งมสี ถานะเปน็ ของแข็งเสมอ (Çalık, M., & Ayas, A., 2005) 4. ให้นักเรียนอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 13 และอภิปรายร่วมกัน เก่ียวกับองค์ประกอบของสารละลาย เพ่ือให้ได้ ข้อสรุปว่า สารละลาย (solution) เป็นสารผสมเนื้อเดียวที่ประกอบด้วยตัวละลาย (solute) และตัวทาละลาย (solvent) โดยท่ีอนุภาคของตัวละลายกระจายตัวอย่างสม่าเสมออยู่ในอนุภาคของตัวทาละลาย สารละลายมีท้ัง สถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส จากน้ันตอบคาถามระหว่างเรียน เฉลยคาถามระหวา่ งเรยี น • จากภาพ 2.2 อธบิ ายการละลายของสารไดอ้ ย่างไร แนวคาตอบ จากภาพ 2.2 อธบิ ายการละลายของสารไดว้ ่าในสารละลายซงึ่ เปน็ ของผสมเนอ้ื เดยี ว ตวั ละลาย กระจายตัวอยู่ในตัวทาละลายอยา่ งสม่าเสมอทุกสว่ น และไมร่ วมกันเปน็ สารใหม่ 5. นาเข้าสู่กจิ กรรมที่ 2.1 ระบุตัวละลายและตัวทาละลายได้อย่างไร โดยครูต้ังคาถามสร้างความสนใจว่านักเรยี นทราบ หรือไมว่ า่ จะระบตุ ัวละลายและตวั ทาละลายได้อย่างไร ใชเ้ กณฑใ์ ดในการระบุ ถา้ ใชเ้ กณฑต์ า่ งกันจะได้ผลตา่ งกนั หรือไม่ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
31 หน่วยที่ 2 | สายละลาย คู่มือครูรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมที่ 2.1 ระบุตัวละลายและตัวทาละลายไดอ้ ย่างไร แนวการจดั การเรยี นรู้ ครูดาเนินการดังนี้ ก่อนการทากจิ กรรม (10 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดาเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจการอ่านโดยใช้คาถาม ดังต่อไปน้ี • กิจกรรมนเี้ ก่ยี วกับเร่อื งอะไร (ตัวละลายและตวั ทาละลาย) • กจิ กรรมนี้มีจุดประสงค์อะไร (วิเคราะหข์ ้อมูลและอธบิ ายเกณฑ์ทีใ่ ช้ระบุตวั ละลายและตวั ทาละลายในสารละลาย) • วิธดี าเนนิ กิจกรรมมีขั้นตอนโดยสรุปอย่างไร (วิเคราะหส์ ถานะและปริมาณเป็นร้อยละขององค์ประกอบแต่ละชนิด ของสารละลายในตาราง เพ่ืออธบิ ายเกณฑ์ท่ใี ชใ้ นการระบุวา่ องค์ประกอบใดเปน็ ตัวละลายและตัวทาละลาย) • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมอะไรบ้าง (สถานะและปริมาณเป็นร้อยละขององค์ประกอบแต่ละชนิดของ สารละลายในตาราง) ระหว่างการทากิจกรรม (15 นาท)ี 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือทากิจกรรม ครูเดินสังเกตการทากิจกรรมของนักเรียน พร้อมให้คาแนะนากรณีนักเรียนมี ขอ้ สงสัยในประเดน็ ต่าง ๆ เช่น วิธีการวเิ คราะห์ขอ้ มูลในตาราง หลังการทากิจกรรม (25 นาที) 3. สุ่มนักเรียนบางกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม ครูควรบันทึกผลการทากิจกรรมของนักเรียนบนกระดานเพ่ือใช้ ประกอบการอภิปราย จากน้ันครูนาอภิปรายเพ่ือวิเคราะห์ตารางข้อมูลองค์ประกอบของสารแต่ละชนิด โดยอาจใช้ แนวคาถามดังต่อไปนี้ • น้าหวาน น้าเชื่อมเมเปิล และน้าโซดา มีสารใดเป็นตัวทาละลายตามลาดับ (น้าหวาน น้าเชื่อมเมเปิล และ นา้ โซดา มีนา้ เปน็ ตัวทาละลาย) • ตัวทาละลายของน้าหวาน น้าเช่ือมเมเปิล และน้าโซดา มีสถานะเหมือนหรือแตกต่างจากสถานะของสารละลาย อย่างไร (ตัวทาละลายของน้าหวาน นา้ เช่ือมเมเปิล และนา้ โซดา มสี ถานะเหมือนกับสารละลายคือสถานะของเหลว) • ตัวละลายของน้าหวาน น้าเชื่อมเมเปิล และน้าโซดา มีสถานะเหมือนหรือแตกต่างจากสถานะของสารละลาย อยา่ งไร (ตวั ละลายของสารละลายทัง้ 3 ชนดิ มสี ถานะแตกตา่ งจากสถานะของสารละลาย คอื ของนา้ หวานเป็น ของแข็ง ตวั ละลายของน้าเช่อื มเมเปิลเปน็ ของแขง็ ตวั ละลายของน้าโซดาเป็นแก๊ส) • ถ้าสารละลายประกอบด้วยสารต่างสถานะกัน มีเกณฑ์อย่างไรในการระบุตัวทาละลาย (ถ้าสารละลาย ประกอบดว้ ยสารตา่ งสถานะกนั ตวั ทาละลายมสี ถานะเดยี วกนั กบั สารละลาย) สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หน่วยท่ี 2 | สารละลาย 0132 คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ • ทอง 18 K น้าส้มสายชู อากาศ มสี ารใดเปน็ ตวั ทาละลายตามลาดับ และมสี ถานะเหมอื นหรือตา่ งจากสารละลาย อยา่ งไร (ทอง 18 K ประกอบด้วยทองคาร้อยละ 75 ทองแดงร้อยละ 16 และเงินร้อยละ 9 เป็นตวั ละลาย ทั้งทองคา ทองแดง และเงิน ตา่ งมสี ถานะของแข็ง ทอง 18 K มีทองคาเป็นตวั ทาละลาย ซ่งึ มีสถานะของแขง็ เหมือนกับทอง 18 K นา้ ส้มสายชปู ระกอบดว้ ยน้าร้อยละ 95 กรดนา้ สม้ รอ้ ยละ 5 ท้งั นา้ และกรดนา้ สม้ เป็นของเหลว น้าสม้ สายชูมนี ้า เปน็ ตัวทาละลาย ซึง่ มีสถานะเดยี วกนั กับน้าส้มสายชู อากาศประกอบด้วยไนโตรเจนร้อยละ 78 และออกซิเจน อาร์กอน คาร์บอนไดออกไซด์ และแก๊สอ่ืน ๆ รวม ประมาณร้อยละ 22 ซ่งึ ท้ังหมดล้วนมีสถานะแก๊ส อากาศมีไนโตรเจนเปน็ ตวั ทาละลายและมสี ถานะเดียวกันกับ อากาศ) • ตัวทาละลายของทอง 18 K น้าส้มสายชู และอากาศ มีปริมาณเป็นอย่างไรเม่ือเปรียบเทียบกับตัวละลายใน สารละลาย (ตัวทาละลายมปี รมิ าณมากกวา่ เมื่อเปรยี บเทียบกับตวั ละลาย) • ถ้าสารละลายประกอบด้วยสารท่ีมีสถานะเหมือนกัน มีเกณฑ์อย่างไรในการระบุตัวทาละลาย (ถ้าสารละลาย ประกอบด้วยสารท่ีมีสถานะเหมือนกัน สารท่ีมีปริมาณมากกว่าจัดเป็นตัวทาละลาย ส่วนองค์ประกอบท่ีเหลือ จดั เป็นตัวละลาย) 4. ให้นักเรียนตอบคาถามท้ายกิจกรรมและอภิปรายคาตอบร่วมกัน เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า ในการระบุ ตัวละลายหรือตัวทาละลายในสารละลาย พิจารณาจากสถานะและปริมาณของสารองค์ประกอบในสารละลาย สารละลายที่ประกอบดว้ ยสารที่มสี ถานะต่างกัน สารทีม่ สี ถานะเหมือนกับสารละลาย ซึง่ ส่วนใหญ่เปน็ สารท่ีมีปริมาณ มากที่สุดจัดเป็นตัวทาละลาย (solvent) ส่วนสารละลายที่ประกอบด้วยสารท่ีมีสถานะเดียวกัน สารที่มีปริมาณมาก ทสี่ ดุ จดั เปน็ ตัวทาละลาย สารอน่ื ๆ ท่ีเหลือจัดเป็นตวั ละลาย (solute) 5. ให้นักเรียนเรียนรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับเกณฑ์การระบุตัวละลายและตัวทาละลาย โดยอ่านเนื้อหาที่ต่อจากกิจกรรมที่ 2.1 ประกอบการอภิปราย จากนั้นให้นักเรียนตอบคาถามระหว่างเรียน ถ้าพบว่านักเรียนยังไม่เข้าใจ ควรอธิบายและ ยกตัวอยา่ งเพม่ิ เติม สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
33 หนว่ ยท่ี 2 | สายละลาย คู่มือครรู ายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคาถามระหวา่ งเรยี น ภาพแผนภมู วิ งกลมปรมิ าณองคป์ ระกอบในอะมัลกัมอดุ ฟนั • สารใดเป็นตัวละลาย สารใดเปน็ ตวั ทาละลาย ทราบได้อยา่ งไร แนวคาตอบ อะมัลกัมอุดฟัน (ของแข็ง) มีเงิน (ของแข็ง) เป็นตัวทาละลาย มีปรอท (ของเหลว) ดีบุก (ของแข็ง) ทองแดง (ของแข็ง) และของแข็งอื่น ๆ เป็นตัวละลาย โดยพิจารณาจากสถานะของอะมัลกัมอุดฟัน ซึ่งเป็น สารละลายที่มีสถานะเป็นของแข็ง เงินซ่ึงมีสถานะเดียวกับอะมัลกัมอุดฟันและเป็นของแข็งท่ีมีปริมาณมากที่สุด จดั เป็นตัวทาละลาย ส่วนสารอน่ื ๆ จดั เป็นตวั ละลาย • สารละลายอ่ืน ๆ ในชีวิตประจาวันท่ีมีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลว และแก๊ส มีอะไรบ้าง ยกตัวอย่างและ ระบวุ ่ามสี ารใดเปน็ ตัวละลายและตวั ทาละลาย แนวคาตอบ ตวั อย่างสารละลายอน่ื ๆ ในชีวิตประจาวนั เช่น สารละลายท่ีมีสถานะเป็นของแข็ง เช่น ทองเหลืองชนิดหนึ่ง ประกอบด้วยทองแดงกับสังกะสี ใน อัตราส่วนโดยมวลของทองแดง : สังกะสี = 5 : 95 โดยสังกะสีเป็นตัวทาละลาย ทองแดงเป็นตัวละลาย (ทองเหลอื งชนดิ อืน่ อาจมีอตั ราสว่ นโดยมวลของทองแดง : สงั กะสีตา่ งจากน้ี ขน้ึ อยกู่ ับวตั ถปุ ระสงค์การใชง้ าน) สารละลายท่มี สี ถานะเปน็ ของเหลว เชน่ แอลกอฮอลล์ า้ งแผล ประกอบด้วยไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์และ น้า ในอัตราส่วนโดยปริมาตรของไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์ : น้า = 70 : 30 โดยไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์เป็นตัว ทาละลาย และนา้ เปน็ ตวั ละลาย สารละลายท่ีมีสถานะเป็นแก๊ส เช่น แก๊สหุงต้ม ประกอบด้วยแก๊สโพรเพนและบิวเทนในอัตราส่วนโดย ปรมิ าตรของโพรเพน : บิวเทน = 70 : 30 โดยโพรเพนเป็นตัวทาละลายและบิวเทนเป็นตวั ละลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารละลาย 0134 คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 6. อภิปรายร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับส่ิงที่ได้เรียนรู้จากการทากิจกรรม 2.1 การตอบคาถามระหว่างเรียน และการอ่าน เพิ่มเติม เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า สารละลายเป็นสารผสมเน้ือเดียวที่ประกอบด้วยสารบริสุทธ์ิตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป มีทั้งที่ เปน็ ของแข็ง ของเหลว และแกส๊ องคป์ ระกอบของสารละลายจาแนกเป็นตวั ละลายและตัวทาละลาย โดยอนภุ าคของ ตัวละลายกระจายตัวอยู่ในตวั ทาละลายทงั้ หมดอย่างสม่าเสมอ สารละลายจึงเป็นสารเนื้อเดียว สารละลายท่เี กิดจาก สารที่มีสถานะต่างกัน ตัวทาละลายคือสารที่มีสถานะเหมือนกับสารละลาย สารละลายที่เกิดจากสารที่มีสถานะ เหมือนกัน สารทมี่ ปี ริมาณมากท่สี ดุ จัดเป็นตัวทาละลาย สว่ นองค์ประกอบทเี่ หลือจัดเป็นตัวละลาย 7. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวความคิดคลาดเคลื่อนเก่ียวกับเร่ืองนี้ จากการตอบคาถามก่อนเรียน ระหว่างเรียน หรืออาจ ตรวจสอบโดยใชก้ ลวธิ อี ่นื ๆ ใหค้ รูแก้ไขแนวคดิ คลาดเคลือ่ นนัน้ ให้ถกู ต้อง เชน่ แนวคิดคลาดเคลือ่ น แนวคดิ ท่ถี ูกต้อง สารละลายเปน็ ของเหลวเสมอ สารละลายมที ง้ั ทีเ่ ปน็ ของแขง็ ของเหลว และแก๊ส (Adadan, E., & Savasci., 2012) (Solutions, 2015) ตัวละลายตอ้ งมสี ถานะเป็นของแข็งเสมอ ตวั ละลายมที ั้งท่เี ปน็ ของแขง็ ของเหลว และแกส๊ (Çalık, M., & Ayas, A., 2005) (Solutions, 2015) 8. นาเข้าสู่เร่ืองสภาพละลายได้และปัจจัยท่ีมีผลต่อสภาพละลายได้ โดยครูใช้คาถามว่าในสารละลายหน่ึง ๆ ตัวละลาย จะละลายในตัวทาละลายอย่างไม่จากดั ปรมิ าณหรือไม่ และมปี จั จยั ใดบ้างทม่ี ผี ลต่อการละลายของสาร สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
35 หน่วยที่ 2 | สายละลาย ค่มู อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เร่ืองท่ี 2 สภาพละลายได้และปจั จัยทีม่ ผี ลต่อสภาพละลายได้ แนวการจดั การเรียนรู้ ครูดาเนนิ การดงั น้ี 1. สร้างความสนใจแก่นักเรียนโดยครูนารูปภาพ หรือเล่าเหตุการณ์เกี่ยวกับสารละลายอ่ิมตัว เพ่ือให้นักเรียนพิจารณา เช่น การเตรียม น้าเช่ือม การทาผลไม้เชื่อม ผลไม้แช่อิ่มใน ท้องถิ่นของนักเรียน การนาผลไม้เช่ือมไปแช่ เย็นแล้วพบว่ามีเกล็ดน้าตาลเกิดข้ึน ครูอาจใช้ คาถามว่า ปรากฏการณ์นี้เกิดขึ้นได้อย่างไร มี ปัจจัยอะไรบ้างท่ีเก่ียวข้อง หรือถ้าต้องการทา นา้ เชือ่ มใหเ้ ข้มข้นมาก ๆ จะทาได้อยา่ งไร 2. ให้นักเรียนดูภาพนาเร่ือง ซึ่งเป็นภาพน้าเช่ือม อ่านเน้ือหานาเร่ืองที่เกี่ยวกับการเตรียมน้าเชื่อม และอ่านคาสาคัญ ทากิจกรรมทบทวนความรู้ ก่อนเรียน แล้วนาเสนอผลการทากิจกรรม หากครูพบว่านักเรียนยังทากิจกรรมทบทวน ความรู้ก่อนเรียนไม่ถูกต้อง ครูควรทบทวนหรือ แกไ้ ขความเข้าใจผดิ ของนักเรียน เพอ่ื ใหน้ ักเรียน มีความร้พู น้ื ฐานทถี่ ูกต้องและเพียงพอท่จี ะเรียนเร่ืองสภาพละลายได้และปัจจัยทม่ี ีผลต่อสภาพละลายไดต้ ่อไป เฉลยทบทวนความรกู้ ่อนเรยี น เขียนเครื่องหมาย หน้าข้อความทถ่ี ูกต้อง เขียนเครื่องหมาย X หนา้ ขอ้ ความทีไ่ ม่ถูกตอ้ ง สารละลายเกดิ จากสาร 2 ชนดิ ขนึ้ ไปละลายเข้าดว้ ยกันในอัตราส่วนผสมตา่ ง ๆ สารละลายทม่ี ีสถานะเปน็ ของเหลวจะมนี ้าเป็นตวั ทาละลาย ไม่ถูกตอ้ ง เพราะสารละลายท่ีมีสถานะเป็นของเหลวอาจมีของเหลวอ่ืน ๆ เช่น เอทานอล เปน็ ตัวทาละลาย สารละลายท่มี ีสถานะเปน็ แก๊ส แก๊สท่ีมีปริมาณมากทส่ี ดุ เป็นตัวทาละลาย สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยท่ี 2 | สารละลาย 0136 คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ 3. ตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับสภาพละลายได้และปัจจัยท่ีมีผลต่อสภาพละลายได้ โดยให้ตอบคาถามใน รู้อะไรบ้างก่อนเรียน นักเรียนสามารถตอบตามความเข้าใจของนักเรียน โดยครูจะไม่เฉลยคาตอบ และครูนาข้อมูล จากความรู้เดิมของนักเรียนนี้ไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ว่าควรเน้นย้าหรืออธิบายเรื่องใดเป็นพิเศษ เม่ือนกั เรยี นเรียนจบเร่ืองนแ้ี ลว้ นักเรยี นจะมีความรู้ความเข้าใจครบถ้วนตามจุดประสงค์ของบทเรยี น ตัวอย่างแนวคดิ คลาดเคลื่อนซ่งึ อาจพบในเรือ่ งนี้ • ถ้าเพ่ิมอุณหภูมิของสารละลาย ตวั ละลายจะละลายไดม้ ากข้ึนเสมอ (Uzuntiryaki, E. and Geban, O., 2005). 4. นาเข้าสู่กิจกรรม 2.2 สารละลายอ่ิมตัวคอื อะไร โดยใช้คาถามสร้างความสนใจว่า ถ้าละลายตัวละลายจานวนมากใน น้า แลว้ ตัวละลายจะละลายหมดหรอื ไม่ เพราะเหตุใด สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
37 หน่วยที่ 2 | สายละลาย คมู่ อื ครูรายวิชาพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมท่ี 2.2 สารละลายอมิ่ ตัวคืออะไร แนวการจัดการเรียนรู้ ครูดาเนนิ การดังน้ี http://ipst.me/9898 ก่อนการทากิจกรรม (15 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดาเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจการอ่านโดยใช้คาถาม ดังตอ่ ไปน้ี • กจิ กรรมนีเ้ กยี่ วกบั เร่อื งอะไร (สารละลายอ่มิ ตัว) • กจิ กรรมนี้มจี ุดประสงคอ์ ะไร (สังเกตและบรรยายการละลายของสาร) • วิธีดาเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (เติมโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตคร้ังละ 1 ช้อนเบอร์หน่ึงลงใน น้า 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ใช้แท่งแก้วคนจนละลายหมด และเติมเพ่ิมลงไปทีละช้อนจนโซเดียมไฮโดรเจน คาร์บอเนตเริ่มละลายไมห่ มด สังเกตและบันทึกจานวนชอ้ นของโซเดียมไฮโดรเจนคารบ์ อเนตทใ่ี ช้ทั้งหมด) ครูแนะนาการตวงสารด้วยช้อนตักสารที่ถูกต้อง โดยใช้ช้อนตักสารข้ึนมา จากนั้นปาดสารให้เสมอกับ ขอบช้อนโดยไมอ่ อกแรงกดดว้ ยดา้ มช้อนตักสารอีกคันหนง่ึ ครูเน้นให้นักเรียนใช้แท่งแก้วคนของเหลวในบีกเกอร์จนโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตละลาย สังเกต การเปลี่ยนแปลงแล้วจึงเติมลงไปอีกทีละช้อน เมื่อสังเกตเห็นสารละลายเหลืออยู่จึงหยุดเติม ครูควรแจ้งนักเรียน ใหท้ ราบว่าปรมิ าณสารทีจ่ ัดให้เพียงพอต่อการทากิจกรรมแลว้ ไมส่ ามารถขอเพิ่มได้อีก เพอื่ ให้นกั เรียนตระหนักถึง ความรบั ผิดชอบตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม • ข้อควรระวังในการทากิจกรรมมีอะไรบ้าง (ละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตจนหมดก่อนแล้วจึงเติมตัวละลาย เพิ่มลงไปอีกทีละช้อนจนเริ่มละลายไม่หมด จึงหยุดเติมตัวละลาย และหากมีสารเหลือ ห้ามเทสารกลับลงใน ขวดสารเคมี) • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมอะไรบ้าง (สังเกตการละลายของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตในน้า และบันทึก จานวนชอ้ นของโซเดยี มไฮโดรเจนคารบ์ อเนตทใ่ี ช้ทั้งหมด) ระหว่างการทากจิ กรรม (25 นาท)ี 2. นกั เรียนแต่ละกลุ่มลงมือทากิจกรรม โดยครเู ดินสังเกตการทากิจกรรมของนักเรียน พรอ้ มใหค้ าแนะนากรณีนักเรียนมี ข้อสงสัยในประเด็นต่าง ๆ เช่น วิธีการสังเกตว่าโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตละลายหมดหรือยัง วิธีนับจานวนช้อนท่ี ตวงโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตทั้งหมด โดยเร่ิมนับต้ังแต่ช้อนแรกท่ีเติมลงไป ใช้แท่งแก้วคนจนละลายหมด แล้วจึง เติมช้อนท่ีสอง ทาซ้าจนกระท่ังสารไม่ละลาย นับจานวนช้อนเฉพาะที่สารละลายจนหมดโดยไม่ต้องนับช้อนสดุ ท้ายที่ ละลายไม่หมด สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยท่ี 2 | สารละลาย 0138 คมู่ ือครูรายวิชาพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ หลัง-การทากจิ กรรม (20 นาที) 3. ใหน้ ักเรียนนาเสนอผลการทากิจกรรม โดยควรนาเสนอผลการทดลองบนกระดาน และร่วมกันตรวจสอบผล อภปิ ราย สาเหตุที่ทาให้ผลการทากิจกรรมคลาดเคลื่อน เช่น การตักสาร การเติมสารในขณะท่ียังละลายไม่หมด ตอบคาถาม ท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรปุ ผลของกิจกรรมโดยใช้คาถามท้ายกิจกรรมเป็นแนวทาง เพ่ือให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรม ว่า เม่ือเติมโซเดียมไฮโดรเจนคารบ์ อเนตซ่ึงเป็นของแข็งสีขาวลงในน้า ใช้แท่งแก้วคน สารจะละลายจนหมด แสดงวา่ โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตละลายน้าได้ เม่ือเติมโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตลงไปเรื่อย ๆ จะพบว่าสารละลายได้ ชา้ ลง จนกระท่งั มโี ซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตเหลืออยทู่ ี่ก้นบีกเกอร์ แสดงว่าโซเดียมไฮโดรเจนคารบ์ อเนตละลายไม่ หมด เรยี กสารละลายทีต่ วั ละลายไมส่ ามารถละลายได้หมดในตัวทาละลายปรมิ าณหนงึ่ ๆ วา่ สารละลายอ่ิมตัว 4. ให้นักเรียนเรียนรู้เพ่ิมเติม โดยอ่านเนื้อหาในหนังสือเรียนหน้า 16 จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า สารละลายอ่ิมตัว (saturated solution) เป็นสารละลายที่ตัวละลายไม่สามารถละลายได้หมด โดยปริมาณมากท่ีสุด ของตัวละลายทีส่ ามารถละลายไดใ้ นตัวทาละลายจานวนหนงึ่ เรียกวา่ สภาพละลายไดข้ องสาร (solubility) โดยทัว่ ไป สภาพละลายได้ของสารในน้ามีหน่วยเป็น กรัมของสารต่อน้า 100 กรัม (g/100 gwater) นอกจากนี้อาจพบเห็นใน หนว่ ยอนื่ ได้ เช่น กรมั ต่อลติ ร 5. ให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติม โดยอภิปรายร่วมกันเก่ียวกับสารละลายอิ่มตัว โดยใช้ตาราง 2.1 สภาพละลายได้ของ สารบางชนิดในน้า 100 กรัมท่ีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส ในหนังสือเรียนหน้า 19 และอ่านข้อมูลเพิ่มเติม จากนั้น รว่ มกันอภปิ รายเพื่อใหไ้ ด้ขอ้ สรุปวา่ สภาพละลายได้ของสารแต่ละชนิดในน้า 100 กรมั ทีอ่ ุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส มีค่าไม่เท่ากัน และถ้านาสารปริมาณมากกว่าสภาพละลายได้มาละลายในน้า 100 กรัมที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จะมีสารสว่ นหน่งึ ไม่ละลาย ให้นักเรยี นสงั เกตว่า ตาราง 2.1 ระบอุ ณุ หภมู กิ บั สภาพละลายได้ของสารในน้าไว้ แสดงวา่ อุณหภมู ิมผี ลตอ่ สภาพละลายไดข้ องสาร 6. ประเมนิ การเรยี นรู้ของนักเรียนเรื่องสภาพละลายได้ โดยให้นกั เรียนตอบคาถามระหว่างเรยี นในหนงั สอื เรียน สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
39 หนว่ ยที่ 2 | สายละลาย คมู่ อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคาถามระหวา่ งเรยี น • จากตาราง 2.1 สารใดละลายไดม้ ากทส่ี ดุ ในนา้ ทีอ่ ุณหภมู ิ 20 องศาเซลเซียส แนวคาตอบ จากตาราง 2.1 น้าตาลทรายละลายได้มากท่ีสุดท่ีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส คือ 202 กรัม ในนา้ 100 กรัม • ถ้าใช้น้า 300 กรัมจะสามารถละลายจนุ สีไดส้ ูงสุดก่กี รมั จึงจะได้สารละลายอิ่มตัวพอดีท่ีอุณหภมู ิ 20 องศา เซลเซียส แนวคาตอบ ถา้ ใช้นา้ 300 กรัมจะสามารถละลายจุนสีไดส้ ูงสดุ 96 กรมั จะได้สารละลายอิ่มตัวพอดีท่ีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซยี ส 7. นาเข้าสู่กจิ กรรมที่ 2.3 ชนดิ ของตัวละลายและตัวทาละลายมผี ลต่อสภาพละลายได้ของสารอย่างไร โดยตั้งคาถาม ว่า ถ้าเปล่ียนตัวทาละลายจากน้าเป็นสารอื่น เช่น เอทานอล สภาพละลายได้ของสารแต่ละชนดิ ในสารน้นั จะเท่ากับ สภาพละลายไดข้ องสารในน้าหรือไม่ อย่างไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 2 | สารละลาย 0140 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 2.3 ชนิดของตัวละลายและตวั ทาละลายมีผลต่อสภาพละลายได้ของสารอย่างไร แนวการจัดการเรียนรู้ ครูดาเนนิ การดงั นี้ http://ipst.me/9899 ก่อนการทากิจกรรม (25 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดาเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจการอ่านโดยใช้คาถาม ดังต่อไปนี้ • กิจกรรมนเ้ี กยี่ วกับเรอื่ งอะไร (ชนดิ ของตัวละลายและตวั ทาละลายทส่ี ่งผลต่อสภาพละลายได้ของสาร) • ตัวละลายทใี่ ชใ้ นกิจกรรมนีค้ ืออะไร (ดีเกลือและพมิ เสน) • ตวั ทาละลายที่ใชใ้ นกิจกรรมนี้คอื อะไร (นา้ และเอทานอล) • กิจกรรมน้ีมีจุดประสงค์อะไร (ทดลองและอธิบายผลของชนิดตัวละลายและตัวทาละลายท่ีมีต่อสภาพละลายได้ ของสาร) • วิธีดาเนินกิจกรรมมีข้ันตอนโดยสรุปอย่างไร (ละลายดีเกลือในน้า เขย่าและสังเกตการเปล่ียนแปลงของดีเกลือ เติมดีเกลือลงไปอีกทีละช้อนจนเร่ิมไม่ละลาย นับจานวนช้อนของสารท่ีใช้ทั้งหมด บันทึกผล จากนั้นตรวจสอบ สภาพละลายได้ของดีเกลือในเอทานอล และสภาพการละลายได้ของพิมเสนในน้าและเอทานอลด้วยวิธีการ เดียวกนั ) • ตารางบนั ทกึ ผลการทากิจกรรมควรเป็นอยา่ งไร (ตารางบนั ทกึ ผลการทากิจกรรมควรแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ปรมิ าณของตัวละลายในตัวทาละลายแต่ละชนิด) • ข้อควรระวงั ในการทากิจกรรมมีอะไรบ้าง (เอทานอลติดไฟงา่ ย ไมใ่ ห้นาเขา้ ใกล้ไฟ เพราะอาจเป็นอันตรายได้) • นักเรยี นต้องสงั เกตหรือรวบรวมอะไรบ้าง (สงั เกตการเปล่ียนแปลงของตวั ละลายในตวั ทาละลาย และปรมิ าณตัว ละลายท่ีเตมิ ลงในตัวทาละลายแต่ละชนดิ ) ครูเน้นให้นักเรียนละลายตัวละลายจนหมดก่อนแล้วจึงเติมตัวละลายลงไปอีกทีละช้อน จนสารเร่ิมไม่ละลาย จึง หยดุ เติม บันทึกจานวนช้อนทตี่ วงสารทั้งหมดลงในตารางบนั ทึกผล ระหว่างการทากจิ กรรม (40 นาท)ี 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือทากจิ กรรม โดยครเู ดินสังเกตการทากจิ กรรมของนักเรียน พรอ้ มใหค้ าแนะนากรณีทน่ี ักเรียน มีข้อสงสัยในประเด็นต่าง ๆ เช่น วธิ กี ารสงั เกตการละลายของสาร การนับจานวนชอ้ นที่ตวงสารแต่ละชนดิ การบันทึก ผลการทากจิ กรรม สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
41 หน่วยที่ 2 | สายละลาย คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ หลงั การทากิจกรรม (25 นาที) 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม โดยครูควรเขียนผลการทากิจกรรมของกลุ่มไว้บนกระดานเพ่ือใช้ ประกอบการอภิปรายและตอบคาถามท้ายกิจกรรม ให้นักเรียนตอบคาถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของ กิจกรรมโดยใช้คาถามท้ายกิจกรรมเป็นแนวทาง เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า ดีเกลือมีสภาพละลายได้ในน้า มากกว่าในเอทานอล ส่วนพิมเสนมีสภาพละลายได้ในเอทานอลมากกว่าในน้า ชนิดของตัวละลายและตัวทาละลายมี ผลตอ่ สภาพละลายได้ของสาร 4. ใหน้ กั เรยี นเรียนรู้เพ่มิ เติมเกี่ยวกับผลของตัวละลายและตัวทาละลายที่มผี ลต่อสภาพละลายไดข้ องสาร โดยอ่านเนื้อหา และดูภาพ 2.4 ในหนังสือเรียนหน้า 21 ประกอบการอภิปราย เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า สารบางชนิดละลายได้ดีใน ตัวทาละลายหนึ่งแตไ่ ม่ละลายในตัวทาละลายอน่ื ชนิดของตวั ละลายและตวั ทาละลายมีผลตอ่ สภาพละลายไดข้ องสาร การเตรียมสารละลายจึงต้องคานึงถึงความเหมาะสมระหว่างตวั ละลายและตัวทาละลาย สารหลายชนดิ ละลายได้ดีใน น้า จึงใช้น้าเป็นตัวทาละลาย แต่สารบางชนิด เช่น สีทาเล็บ ละลายในน้าได้น้อยมาก แต่ละลายได้ดีในน้ายาล้างเล็บ ซึง่ มสี ่วนผสมหลักเปน็ แอซีโตน การล้างสที าเลบ็ จงึ ใชน้ ้ายาล้างเล็บแทนนา้ 5. เชอ่ื มโยงเขา้ สู่กจิ กรรมที่ 2.4 อุณหภมู มิ ีผลตอ่ สภาพละลายได้ของสารอยา่ งไร โดยใชค้ าถามเพ่ือนาเข้าสู่กิจกรรมว่า นอกจากชนิดตัวละลายและตัวทาละลายแล้ว ยังมีปัจจัยอ่ืนอีกหรือไม่ที่ส่งผลต่อสภาพละลายได้ของสาร บางครั้งถ้า เราเปล่ียนตัวทาละลายไม่ได้ เราจะทาอย่างไรให้ตัวทาละลายเดิมสามารถละลายตัวละลายได้มากข้ึน เช่น ในการชง เครอื่ งดื่ม ถ้าตอ้ งการให้ตวั ละลายละลายในน้ามากขึ้น จะเลอื กใชน้ า้ อุณหภูมิห้องหรอื น้ารอ้ น สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยที่ 2 | สารละลาย 0142 คู่มอื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมที่ 2.4 อณุ หภมู มิ ีผลต่อสภาพละลายได้ของสารอย่างไร แนวการจัดการเรยี นรู้ ครดู าเนินการดังน้ี กอ่ นการทากิจกรรม (30 นาที) 1. ให้นักเรียนอ่านช่ือกิจกรรม จุดประสงค์ และวิธีดาเนินกิจกรรม และตรวจสอบความเข้าใจการอ่านโดยใช้คาถาม ดังตอ่ ไปน้ี • กิจกรรมนีเ้ ก่ียวกับเร่อื งอะไร (ผลของอุณหภูมิต่อสภาพละลายได้ของสาร) • กิจกรรมนีม้ จี ดุ ประสงคอ์ ะไร (ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอธบิ ายผลของอุณหภูมิที่มีต่อสภาพละลายได้ของ จนุ สีในน้า) • วธิ ีดาเนินกิจกรรมมีขนั้ ตอนโดยสรุปอย่างไร (ออกแบบการทดลองเพื่อศกึ ษาผลของอุณหภมู ิท่ีมีต่อสภาพละลายได้ ของจุนสี โดยระบุปัญหา ต้ังสมมติฐาน กาหนดตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม ออกแบบตารางบันทึก ผล จากนนั้ ใหล้ งมือทดลอง บันทึกผล อภิปราย สรุปผลการทดลอง และนาเสนอผล) • นักเรียนต้องสังเกตหรือรวบรวมอะไรบ้าง (สังเกตการละลายของตัวละลายในน้าท่ีอุณหภูมิต่าง ๆ และบันทึก ปรมิ าณของตัวละลายที่ใช้) ครูควรให้เวลานักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบการทดลองตามความคิดของกลุ่ม โดยแนะนาให้นักเรียนระบุ ปัญหาที่สนใจจะศึกษาเก่ียวกับผลของอุณหภูมิต่อสภาพละลายได้ของสาร และต้ังสมมติฐานหรือคาดคะเนคาตอบท่ี น่าจะเป็นไปได้ก่อน แล้วจึงหาวิธีการตรวจสอบสมมติฐานโดยกาหนดและควบคุมตัวแปรที่เก่ียวข้อง นาเสนอ การออกแบบการทดลองของกลุ่ม ครูอภิปรายร่วมกับนักเรียนเพื่อปรับปรุงวิธีการทดลองให้ถูกต้ อง สามารถ ตรวจสอบสมมติฐานที่ต้ังไว้ได้จริง โดยแต่ละกลุ่มไม่จาเป็นต้องออกแบบการทดลองเหมือนกัน จากนั้นจึงให้นักเรียน เริม่ ดาเนนิ การทดลอง ครูให้ความรู้และแนะนาความปลอดภัยในการใช้สารเคมี ซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อร่างกาย เช่น จุนสีท่ีใช้ใน กิจกรรมน้ี ถ้าสัมผัสทางผิวหนังอาจเกิดการระคายเคือง ถ้ารับประทานอาจทาให้เกิดอาการปวดท้องรุนแรง อาเจียน นอกจากน้ี จนุ สเี ป็นสารประกอบที่มีทองแดง (คอปเปอร์) ซง่ึ เปน็ โลหะหนักเป็นองค์ประกอบ การท้ิงสารเคมีไม่ถูกวิธี อาจทาให้เกดิ การปนเปอื้ นในดนิ น้า และเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวติ ได้ ระหวา่ งการทากิจกรรม (40 นาที) 2. ขณะท่ีนักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือทากิจกรรม ครูควรเดินสังเกตการทากิจกรรมของนักเรียน และให้คาแนะนากรณี นักเรียนมีข้อสงสัยในประเด็นต่าง ๆ เช่น การควบคุมตัวแปรที่ต้องควบคุมให้คงท่ี การแก้ไขปัญหาที่พบจากการ ทดลอง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
43 หน่วยท่ี 2 | สายละลาย คมู่ อื ครูรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ หลังการทากิจกรรม (20 นาที) 3. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรม ตอบคาถามท้ายกิจกรรม และร่วมกันสรุปผลของกิจกรรมโดยใช้ คาถามท้ายกิจกรรมเป็นแนวทาง เพื่อให้ได้ข้อสรุปจากกิจกรรมว่า จุนสีละลายในน้าที่อุณหภูมิสูงได้ดีกว่าละลายใน น้าท่อี ณุ หภมู ิต่า 4. ให้นักเรียนเรียนรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับผลของอุณหภูมิท่ีมีต่อสภาพละลายได้ของสาร โดยใช้กราฟในภาพ 2.5 ในหนังสือ เรียนหน้า 23 ประกอบการอภิปราย และอ่านข้อมูลเพิ่มเติมในหนังสือเรียน เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่าเม่ืออุณหภูมิเพิ่มขึ้น สภาพละลายได้ของสารส่วนใหญ่เพ่ิมขนึ้ แตส่ ารบางชนดิ มีสภาพละลายไดล้ ดลง 5. ให้นักเรียนตอบคาถามระหว่างเรียน เพื่อประเมินความเข้าใจเก่ียวกับสภาพละลายได้ของสารในหนังสือเรียน และ ร่วมกนั อภิปรายคาตอบ เฉลยคาถามระหว่างเรยี น จากภาพ 2.5 ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี • อณุ หภูมิมีผลอย่างไรตอ่ สภาพละลายได้ของสารแตล่ ะชนิด แนวคาตอบ เม่ืออุณหภูมิสูงขึ้น สารส่วนใหญ่มีสภาพละลายได้เพ่ิมข้ึน แต่มีสารบางชนิดมีสภาพละลายได้ น้อยลง เช่น ซีเซียมซลั เฟต • ถ้าละลายโซเดียมคลอไรด์ 20 กรัม ในน้า 100 กรัมที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส โซเดียมคลอไรด์จะ ละลายหมดหรือไม่ แนวคาตอบ โซเดียมคลอไรด์ 20 กรมั ละลายไดห้ มดในน้า 100 กรัม ท่ีอุณหภมู ิ 40 องศาเซลเซียส • ถ้าละลายโพแทสเซียมไนเทรต 20 กรัม ในน้า 50 กรัมที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส แล้วลดอุณหภูมิลง เหลือ 20 องศาเซลเซียส จะเกดิ การเปลย่ี นแปลงอยา่ งไร แนวคาตอบ โพแทสเซียมไนเทรต 20 กรัม ละลายได้หมดในน้า 50 กรัม ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส ได้สารละลายใส ไม่มีสี ไม่มีตะกอน แต่เมื่อนาไปลดอุณหภูมิลงเหลือ 20 องศาเซลเซียส โพแทสเซียมไนเทรต ละลายได้เพียง 15 กรัม ในน้า 50 กรัม เน่ืองจากสภาพละลายได้ของโพแทสเซียมไนเทรตลดลงเมื่ออุณหภูมิ ลดลง จะมโี พแทสเซียมไนเทรตบางส่วนท่ีไมล่ ะลายตกตะกอนอยู่ท่ีก้นภาชนะ 6. ให้นักเรียนเรียนรู้เพ่ิมเติมเก่ียวกับผลของอุณหภูมิท่ีมีต่อสภาพละลายได้ของแก๊ส โดยใช้กราฟในภาพ 2.6 ในหนังสือ เรียนหน้า 24 ประกอบการอภิปราย และอา่ นข้อมูลเพิ่มเติมในหนังสือเรยี น เพือ่ ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปว่า แก๊สมสี ภาพละลาย ได้ลดลงเมื่ออุณหภูมเิ พิม่ ข้ึน สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 2 | สารละลาย 0144 คู่มอื ครูรายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ 7. เช่ือมโยงความรู้เร่ืองสภาพละลายได้ของแก๊สกับภาวะโลกร้อนตามหนังสือเรียน เพ่ือชวนให้นักเรียนคิดต่อไปว่า ถ้าโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น น้าในแหล่งน้ามีอุณหภูมิสูงข้ึน แก๊สออกซิเจนซ่ึงเป็นปัจจัยจาเป็นต่อการดารงชีวิตของ ส่ิงมีชีวิตส่วนใหญ่จะละลายในน้าได้มากขึ้นหรือน้อยลง และส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร ซ่ึงจะกระตุ้นให้นักเรียนเกิด ความตระหนกั ในการรว่ มมือกนั ลดความรนุ แรงของภาวะโลกรอ้ น 8. อภปิ รายรว่ มกับนักเรียนเกย่ี วกบั ส่ิงที่ได้เรียนรูจ้ ากการทากจิ กรรมและจากข้อมลู ในหนงั สือเรียน เพื่อให้ไดข้ อ้ สรุปว่า อุณหภูมิมีผลต่อสภาพละลายได้ของสาร เม่ืออุณหภูมิเพ่ิมข้ึน สภาพละลายได้ของสารส่วนใหญ่เพ่ิมข้ึน แต่มีสาร บางชนิด เม่ืออุณหภูมิเพ่ิมขึ้น สภาพละลายได้จะลดลง เช่น ซีเซียมซัลเฟต และสภาพละลายได้ของแก๊สจะลดลงเม่ือ อุณหภมู เิ พ่มิ ขึน้ 9. อภิปรายร่วมกับนักเรียนเกี่ยวกับองค์ประกอบที่ละลายในน้าอัดลม ตามเน้ือหาในหนังสือเรียนหน้า 24 แล้วร่วมกัน อภิปรายเพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า แก๊สที่อยู่ในน้าอัดลมคือแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เมื่อเปิดขวด ความดันภายในขวด ลดลงจนเท่ากับความดันบรรยากาศ ทาให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ละลายในน้าอัดลมได้น้อยลง จึงมีบางส่วนแยกตัว ออกจากสารละลาย ทาให้เหน็ ฟองแก๊สท่ีไมส่ ามารถละลายในน้าอดั ลมเคลือ่ นท่ีข้ึนสู่ผิวหน้าน้าอัดลม 10. เช่ือมโยงความรู้กับสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีพบในชีวิตประจาวนั เช่น การเก็บรักษาน้าอัดลมให้มีแก๊สอัดอยู่ในน้าอัดลม มากที่สดุ โดยใช้ภาพ 2.7 ในหนงั สอื เรยี นหนา้ 25 เพือ่ ใหไ้ ด้ข้อสรปุ วา่ ความดันเปน็ ปจั จัยหน่ึงที่มผี ลต่อสภาพละลาย ได้ของสารที่มีสถานะแก๊ส ถ้าความดันสูงขึ้น สภาพละลายได้ของแก๊สจะเพิ่มข้ึน ซ่ึงตรงกันข้ามกับอุณหภูมิ ถา้ อณุ หภูมสิ งู ขึน้ สภาพละลายได้ของแก๊สจะลดลง จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นตอบคาถามระหวา่ งเรยี น เฉลยคาถามระหวา่ งเรยี น • ถา้ นักเรียนตอ้ งการเก็บรักษาความซา่ ของน้าอัดลมไว้ สามารถทาได้อยา่ งไรบ้าง แนวคาตอบ ควรปดิ ฝาขวดนา้ อดั ลมให้แน่นเพ่ือรักษาความดัน และแช่ตูเ้ ยน็ เพ่ือเพ่ิมสภาพละลายได้ของแก๊ส ในสารละลาย 11. นาอภิปรายโดยใช้คาถามว่า นักเรียนคิดว่าความดันมีผลต่อสภาพละลายได้ของสารที่ตัวละลายมีสถานะของเหลว และของแข็งหรือไม่ อยา่ งไร ท้งั นเี้ พือ่ กระตุน้ ให้นกั เรยี นคดิ วเิ คราะหแ์ ละสืบคน้ ความรตู้ ่อไป 12. นาอภปิ รายเก่ยี วกบั การนาความรเู้ รื่องปัจจัยต่าง ๆ ทม่ี ผี ลตอ่ สภาพละลายได้ไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน โดยให้ นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิดหรือสืบค้นข้อมูลและนาเสนอ ครูเพิ่มเติมความรู้ตามหนังสือเรียน เช่น ประโยชน์ของการเลือกตัวทาละลายทเ่ี หมาะสมเพ่ือใชส้ กดั สารจากสมนุ ไพร สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
45 หนว่ ยท่ี 2 | สายละลาย คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ 13. ถ้าพบว่านักเรียนมีแนวคิดคลาดเคลื่อนเก่ียวกับเรื่องสารละลายอ่ิมตัว ครูสามารถแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนของ นักเรียนได้ตลอดช่วงการจัดการเรียนการสอน โดยครูอาจต้ังคาถามและให้นกั เรียนร่วมกันอภิปรายเพ่ือแก้ไขแนวคิด คลาดเคลอื่ นใหถ้ กู ตอ้ ง เชน่ แนวคิดคลาดเคล่ือน แนวคิดท่ีถกู ตอ้ ง ถ้าเพ่ิมอุณหภมู ขิ องสารละลาย ตัวละลายจะ สภาพละลายได้ของตัวละลายที่เป็นของแข็งและ ละลายไดม้ ากขึ้นเสมอ (Uzuntiryaki, E. and ของเหลวส่วนใหญ่จะเพ่ิมขึ้นเม่ือเพ่ิมอุณหภูมิ Geban, O., 2005) (The LibreTexts libraries, 2018) 14. ให้นักเรียนร่วมกันสรุปหัวข้อเรื่องในบทที่ 1 องคป์ ระกอบของสารละลายและปัจจยั ที่มีผลต่อสภาพละลายได้ สงิ่ ท่ีได้ เรียนรจู้ ากบทเรียนนค้ี ือ สารละลายเปน็ สารผสมเน้ือเดยี วท่ีประกอบด้วยสารบรสิ ทุ ธิ์ตั้งแต่ 2 ชนิดข้นึ ไปมารวมกันโดย ไม่มีสารใหมเ่ กิดขึ้น อนุภาคของตัวละลายกระจายอยู่ในตัวทาละลายท้ังหมดอย่างสม่าเสมอ จึงมองเห็นเปน็ เนื้อเดียว สารละลายท่ีมีตัวละลายอยู่ในปริมาณมากที่สุดที่สามารถละลายได้ในตัวทาละลายจานวนหน่ึง ณ อุณหภูมิหน่ึง เรียกว่า สารละลายอิ่มตัว ปริมาณมากท่ีสุดของตัวละลายท่ีสามารถละลายได้ในตัวทาละลายจานวนหนึ่งเรียกว่า สภาพละลายได้ของสาร ซงึ่ ข้นึ อยู่กบั ชนิดของสาร (ตวั ละลายและตัวทาละลาย) และอณุ หภมู ิ ส่วนความดนั เป็นปัจจัย ท่มี ีผลต่อการละลายของตวั ละลายทมี่ สี ถานะแก๊ส 15. จากนัน้ ครใู ห้นักเรียนทากิจกรรมตรวจสอบตนเอง เพือ่ สรปุ องคค์ วามรู้ท่ไี ด้เรยี นรู้จากบทเรยี น โดยการเขียนบรรยาย วาดภาพ หรือเขียนผังมโนทัศน์ส่ิงท่ีได้เรียนรู้จากบทเรียนองค์ประกอบของสารละลายและปัจจัยท่ีมีผลต่อสภาพ ละลายได้ 16. ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานโดยการแลกเปลี่ยนเรียนร้แู ละรว่ มอภิปรายในชนั้ เรียน หรือตดิ แสดงผลงานบน ผนังหอ้ งเพื่อให้นักเรยี นกลมุ่ อนื่ ไดช้ มผลงาน จากน้ันครูและนักเรียนอภิปรายสรุปองค์ความรูท้ ่ีไดจ้ ากบทเรยี นรว่ มกัน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยที่ 2 | สารละลาย 0146 คู่มือครูรายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตวั อย่างผงั มโนทศั น์ในบทเรียนองคป์ ระกอบของสารละลายและปจั จัยทีม่ ีผลตอ่ สภาพละลายได้ สารละลาย มี สถานะของแข็ง เปน็ สถานะของเหลว สถานะของแก๊ส สารทป่ี ระกอบด้วยสาร 2 ชนิดขึน้ ไป ผสมเป็ นเนื้อเดยี วกนั โดยไม่เกดิ เป็ นสารใหม่ ชนิดตัวละลาย ชนิดตัวทาละลาย ประกอบด้วย อณุ หภูมิ ตัวทาละลาย ตวั ละลาย ความดัน มี เมอื่ สถานะเหมือนสารละลาย ซึ่ง ไม่สามารถละลายได้หมดท่ี ส่วนใหญ่มปี ริมาณมากทสี่ ุดใน อุณหภูมิและความดนั หนึ่ง ๆ สารละลาย ทาให้ สารละลายอมิ่ ตัว มี ปริมาณตัวละลายมากทสี่ ุดในตวั ทาละลาย จานวนหน่ึงทอ่ี ณุ หภูมิและความดนั หน่ึง ๆ ทาให้ทราบ ขน้ึ อยกู่ ับ สภาพละลายได้ของสาร มีหน่วยเป็น กรัมของตวั ละลายในนา้ 100 กรัม 17. ให้นักเรียนทากิจกรรมท้ายบท การใช้ตัวทาละลายอย่างถูกต้องและปลอดภัยทาได้อย่างไร และตอบคาถามท้าย กิจกรรม จากนน้ั ให้นกั เรยี นตรวจสอบตนเองและทาแบบฝกึ หัดทา้ ยบท สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
47 หน่วยที่ 2 | สายละลาย คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคาถามสาคัญของบทท่ี 1 • สารละลายมอี งคป์ ระกอบอะไรบา้ ง แนวคาตอบ สารละลายประกอบดว้ ยตวั ทาละลายและตัวละลาย • การละลายของสารข้ึนอยกู่ ับปจั จยั ใดบา้ ง แนวคาตอบ การละลายของสารข้นึ อยู่กับชนดิ ของตวั ทาละลายและตัวละลาย อณุ หภมู ิ และความดนั สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 2 | สารละลาย 0148 คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยกจิ กรรมและแบบฝึกหดั ของบทที่ 1 หน่วยที่ 2 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
49 หนว่ ยท่ี 2 | สายละลาย คมู่ อื ครรู ายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมท่ี 2.1 ระบตุ ัวละลายและตัวทาละลายได้อย่างไร นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของสารละลาย ผ่านการวิเคราะห์และสื่อความหมายข้อมูลและลง ข้อสรุปจากขอ้ มลู ในหนงั สอื เรยี น และอธิบายเกณฑ์ที่ใชร้ ะบตุ วั ละลายและตัวทาละลาย จุดประสงค์ วิเคราะหข์ ้อมูลและอธิบายเกณฑท์ ่ใี ชใ้ นการระบตุ วั ละลายและตวั ทาละลาย เวลาท่ีใชใ้ น 1 ชั่วโมง การทากจิ กรรม วัสดแุ ละอุปกรณ์ -ไม่ม-ี การเตรียมตัว ครูอาจเตรียมภาพหรือสารละลายของจรงิ ทม่ี ชี ่อื ในตารางมาใหน้ ักเรียนสังเกต ล่วงหนา้ สาหรบั ครู ขอ้ เสนอแนะ -ไมม่ -ี ในการทากจิ กรรม สือ่ การเรยี นร้/ู • หนังสือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 เล่ม 1 ของ สสวท. แหล่งเรยี นรู้ห สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 2 | สารละลาย 0150 คู่มือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคาถามท้ายกิจกรรม 1. การระบตุ ัวละลายและตวั ทาละลายในสารละลายนา้ หวาน นา้ เชือ่ มเมเปิล นา้ โซดา มเี กณฑ์อยา่ งไร แนวคาตอบ การระบุตัวละลายและตวั ทาละลายในสารละลายน้าหวาน นา้ เช่ือมเมเปิล นา้ โซดา พิจารณาจาก สถานะของสารละลายกับสถานะของตวั ทาละลาย โดยสารทีม่ ีสถานะเหมือนสารละลายเปน็ ตัวทาละลาย และ สารทมี่ สี ถานะตา่ งจากสารละลายเป็นตวั ละลาย 2. การระบุตัวละลายและตวั ทาละลายในสารละลายทอง 18 K นา้ ส้มสายชู และอากาศ มีเกณฑอ์ ยา่ งไร แนวคาตอบ การระบุตัวละลายและตัวทาละลายในสารละลายทอง 18 K น้าส้มสายชู และอากาศ พิจารณา จากปรมิ าณสาร สารทีม่ ีปริมาณมากที่สดุ เป็นตวั ทาละลาย สารทมี่ ปี รมิ าณน้อยกวา่ เปน็ ตัวละลาย 3. ถ้าองคป์ ระกอบในสารละลายมีสถานะตา่ งกนั จะมเี กณฑ์อย่างไรในการระบุว่าสารใดเป็นตัวละลายหรือตัว ทาละลาย แนวคาตอบ ถา้ องค์ประกอบในสารละลายมีสถานะต่างกัน จะระบตุ ัวละลายและตวั ทาละลายไดโ้ ดยพจิ ารณา จากสถานะและปริมาณสารที่เป็นองค์ประกอบ สารท่ีเป็นตัวทาละลายจะเป็นสารที่มีสถานะเดียวกับ สารละลาย ซ่ึงสว่ นใหญ่เป็นสารทมี่ ีปริมาณมากที่สุดในสารละลาย 4. ถา้ องคป์ ระกอบในสารละลายมีสถานะเหมือนกนั จะมีเกณฑ์อยา่ งไรในการระบุว่าสารใดเป็นตวั ละลายหรือ ตัวทาละลาย แนวคาตอบ ถ้าองค์ประกอบในสารละลายมีสถานะเหมือนกัน จะระบุตัวละลายและตัวทาละลายได้โดย พิจารณาจากปริมาณสารทีเ่ ปน็ องคป์ ระกอบ สารทีม่ ปี รมิ าณมากทีส่ ดุ ในสารละลายจัดเปน็ ตวั ทาละลาย 5. จากกจิ กรรม สรปุ ได้วา่ อยา่ งไร แนวคาตอบ จากกิจกรรมสรุปไดว้ า่ สถานะและปริมาณของสารองค์ประกอบในสารละลายสามารถนามาใช้ใน การระบุว่าสารใดเป็นตัวละลายหรือตัวทาละลาย โดยสารละลายที่องค์ประกอบมีสถานะเหมือนกัน สามารถ ระบุตัวละลายและตัวทาละลายโดยใช้ปริมาณของสารเป็นเกณฑ์ สารท่ีมีปริมาณมากที่สุดในสารละลายเป็น ตัวทาละลาย องค์ประกอบอน่ื ท่เี หลือเปน็ ตวั ละลาย แต่สารละลายที่องค์ประกอบมสี ถานะต่างกัน สามารถระบุ ตัวละลายและตัวทาละลายโดยใช้สถานะและปริมาณของสารเป็นเกณฑ์ โดยสารท่ีมีสถานะเหมือนสารละลาย ซง่ึ สว่ นใหญเ่ ป็นสารท่ีมปี รมิ าณมากทสี่ ุดเป็นตัวทาละลาย องค์ประกอบทเี่ หลอื เปน็ ตัวละลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
51 หน่วยที่ 2 | สายละลาย คมู่ อื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ กจิ กรรมท่ี 2.2 สารละลายอิ่มตวั คืออะไร นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับสารละลายท่ีมีตัวละลายอยู่มากจนไม่สามารถละลายในตัวทาละลายได้อีก ผ่านการ สงั เกตเพือ่ สรปุ ความหมายของสารละลายอม่ิ ตัว และเชื่อมโยงไปส่เู รื่องสภาพละลายไดข้ องสาร จดุ ประสงค์ สังเกตและบรรยายการละลายของสาร เวลาท่ีใชใ้ น 1 ช่วั โมง การทากจิ กรรม วัสดุและอุปกรณ์ วัสดทุ ใี่ ช้ตอ่ กลมุ่ รายการ ปริมาณ/กล่มุ 1. โซเดยี มไฮโดรเจนคาร์บอเนต 6.5 กรัม (10 ชอ้ นเบอร์หนึ่ง) 2. นากลัน่ 3. บกี เกอรข์ นาด 50 cm3 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. ชอ้ นตกั สารเบอรห์ นึ่ง 1 ใบ 5. แท่งแกว้ คน 1 คนั 1 อัน การเตรียมตวั ครูสามารถหาซ้ือโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตได้ตามร้านขายยาหรือร้านสะดวกซ้ือ ซึ่งมักใช้ชื่อ ลว่ งหน้าสาหรับครู วา่ โซเดยี มไบคาร์บอเนต ขอ้ เสนอแนะ • ครูทบทวนวิธีการตักสารกอ่ นให้นักเรยี นเริม่ ทากจิ กรรม ในการทากจิ กรรม • แนะนาให้นักเรียนละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต (ตัวละลาย) จนหมดก่อนแล้วจึงเติม ตัวละลายเพ่มิ ลงไปอกี ทลี ะชอ้ นจนเร่มิ ละลายไม่หมด จงึ หยดุ เติมตัวละลาย • จานวนช้อนของโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตท่ีต้องใช้ทั้งหมด ประมาณ 5 ช้อน ดังนั้นเมื่อ เติมโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตถึงช้อนท่ี 5 อาจมีบางส่วนละลายไม่หมด ครูควรแนะนาให้ นกั เรียนประมาณปริมาณโซเดียมไฮโดรเจนคารบ์ อเนตท่ลี ะลายไปด้วยสายตา สือ่ การเรยี นร้/ู • หนงั สือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 เลม่ 1 ของ สสวท. แหล่งเรยี นรู้ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 2 | สารละลาย 0152 คูม่ ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ตัวอย่างผลการทากิจกรรม ลักษณะของโซเดยี มไฮโดรเจนคารบ์ อเนต เปน็ ของแข็งสีขาว ไม่มีกลิน่ ตารางบนั ทกึ ผลการสังเกตการละลายของโซเดยี มไฮโดรเจนคารบ์ อเนตในน้า จานวนช้อน ของโซเดียมไฮโดรเจนคารบ์ อเนต ผลการสงั เกต 1 ของแข็งสีขาวหายไปหมดอยา่ งรวดเร็ว ไดข้ องเหลวใส ไม่มีสี 2 ของแขง็ สขี าวหายไปหมดอยา่ งรวดเร็ว ได้ของเหลวใส ไม่มีสี 3 ของแขง็ สีขาวค่อย ๆ หายไปหมด เนือ่ งจากการละลายของสารชา้ ลง ไดข้ องเหลวใส ไมม่ ีสี 4 ของแข็งสีขาวหายไปหมดอย่างชา้ ๆ ได้ของเหลวใส ไมม่ ีสี 5 ของแข็งสีขาวหายไปบางส่วน มีบางส่วนเหลอื อยู่ในของเหลวใส ไมม่ ีสี เฉลยคาถามท้ายกิจกรรม 1. เมือ่ เติมโซเดียมไฮโดรเจนคารบ์ อเนตลงในนา้ เกดิ การเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร แนวคาตอบ เม่ือเติมโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตลงในน้า เกิดการเปลี่ยนแปลงคือโซเดียมไฮโดรเจน คาร์บอเนตจะละลายหายไปในน้า และเม่ือเติมต่อไปเรื่อย ๆ โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตจะค่อย ๆ ละลาย หายไปอย่างช้า ๆ และเม่ือถึงปริมาณหนึ่งโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตบางส่วนไม่ละลาย ยังคงปรากฏเป็น ของแข็งอยทู่ ่กี น้ บีกเกอร์ 2. ใช้โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตท้ังหมดก่ีช้อน ตั้งแต่เร่ิมต้นจนเร่ิมเห็นโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต เหลืออยู่ แนวคาตอบ เมื่อเติมโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตลงในน้าประมาณ 5 ช้อนเบอร์หน่ึง จะเริ่มเห็นโซเดียม ไฮโดรเจนคาร์บอเนตเหลอื อยู่ท่ีก้นบีกเกอร์ 3. สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตเร่ิมอ่ิมตัวเมื่อใช้โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตกี่ช้อน ทราบได้อย่างไร แนวคาตอบ สารละลายโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตเรม่ิ อิ่มตัวเม่ือเติมโซเดียมไฮโดรเจนคารบ์ อเนตจานวน 5 ชอ้ น เหน็ ไดจ้ ากมีโซเดยี มไฮโดรเจนคารบ์ อเนตบางสว่ นเหลืออยู่ท่ีกน้ บกี เกอร์เมื่อเติมลงไป 5 ช้อน 4. จากกิจกรรม สรปุ ไดว้ า่ อยา่ งไร แนวคาตอบ จากกิจกรรม สรปุ ไดว้ า่ เมือ่ เตมิ โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตลงในสารละลายไปเรือ่ ย ๆ ในทสี่ ุด โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตจะไม่สามารถละลายได้อีก สารละลายที่ไม่สามารถละลายตัวละลายได้หมด เรยี กว่า สารละลายอิม่ ตวั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
53 หน่วยท่ี 2 | สายละลาย คูม่ ือครูรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 2.3 ชนิดของตวั ละลายและตวั ทาละลายมีผลตอ่ สภาพละลายไดข้ องสารอย่างไร นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับสภาพละลายได้ของสารชนิดเดียวกันในตัวทาละลายต่างกัน และสภาพละลายได้ ของสารตา่ งกันในตวั ทาละลายท่ีเหมือนกนั ผ่านการทดลอง การศกึ ษาข้อมูลจากตารางในหนงั สือเรียน จากนน้ั วเิ คราะห์ และสรปุ ผลของชนิดของตัวละลายและตัวทาละลายทีม่ ีต่อสภาพละลายได้ของสาร จดุ ประสงค์ ทดลองและอธบิ ายผลของชนิดตัวละลายและตัวทาละลายทม่ี ีตอ่ สภาพละลายได้ของดีเกลือและ พมิ เสนในตวั ทาละลายทเ่ี ป็นนา้ และเอทานอล เวลาที่ใชใ้ น 1 ชว่ั โมง 30 นาที การทากจิ กรรม วสั ดุและอุปกรณ์ วัสดุทใ่ี ช้ต่อกลุ่ม รายการ ปริมาณ/กลุ่ม 12 กรัม (ประมาณ 20 ช้อนเบอร์สอง) 1. ดเี กลอื 7 กรัม (ประมาณ 20 ช้อนเบอรส์ อง) 2. พิมเสน 10 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3. นากลั่น เมอื่ เติ 4. เอทานอล 2 คนั 4 หลอด 5. ช้อนตกั สารเบอรส์ อง 1 ใบ 4 อนั 6. หลอดทดลองขนาดใหญ่ 7. กระบอกตวงขนาด 10 cm3 8. แท่งแก้วคน การเตรียมตวั • ดเี กลอื ทใี่ ช้ในกิจกรรมคอื แมกนีเซยี มซลั เฟตหรอื ดเี กลือฝรั่ง สว่ นเอทานอลทใ่ี ช้มคี วามเข้มข้น ลว่ งหน้าสาหรบั ครู 95% สารทง้ั สองชนดิ หาซอ้ื ไดจ้ ากรา้ นจาหนา่ ยสารเคมีและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ • พมิ เสนท่ใี ช้เป็นของแข็ง หาซือ้ ได้จากร้านขายยาแผนโบราณหรอื ร้านสมนุ ไพร • ถ้าไม่มีหลอดทดลองขนาดใหญ่ อาจใชถ้ ว้ ยพลาสตกิ ใสขนาดเลก็ แทนได้ • ถ้าไมม่ กี ระบอกตวง อาจใชก้ ระบอกฉีดยาแทนได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 2 | สารละลาย 0154 คู่มอื ครรู ายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ขอ้ เสนอแนะ • เอทานอลติดไฟง่าย ครูควรเตือนนักเรียนให้ระมัดระวังไม่ให้นาเข้าใกล้ไฟ เพราะอาจเป็น ในการทากจิ กรรม อนั ตรายได้ • ครูควรแนะนาให้นักเรียนละลายตัวละลายจนหมดก่อนแล้วจึงเติมตัวละลายลงไปอีกทีละช้อน จนเร่ิมละลายไมห่ มดจึงหยุดเติม • การนับจานวนชอ้ นตวั ละลายทใ่ี ช้ในแตล่ ะครงั้ ใชว้ ธิ ีการเดยี วกบั กิจกรรม 2.2 สอ่ื การเรียนรู/้ • หนังสอื เรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 เล่ม 1 ของ สสวท. แหล่งเรียนรู้ ตวั อยา่ งผลการทากจิ กรรม ชนดิ ของ ปรมิ าณตัวทาละลาย ชนิดของตัวละลาย ปริมาณตัวละลายท่ีละลายได้ ตวั ทาละลาย (cm3) ดีเกลือ (ช้อน) 5 พิมเสน 8 นา้ กลน่ั 5 ดเี กลอื น้ากล่ัน 5 พิมเสน นอ้ ยกว่า 1 เอทานอล 5 น้อยกว่า 1 เอทานอล 10 สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
55 หนว่ ยท่ี 2 | สายละลาย ค่มู ือครูรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เฉลยคาถามทา้ ยกจิ กรรม 1. สภาพละลายได้ของดีเกลือมีค่าประมาณก่ีกรัมในน้า 100 กรัม (ดีเกลือ 1 ช้อนเบอร์สองมีมวล 0.61 กรัม และน้า 1 ลกู บาศก์เซนติเมตรมีมวล 1 กรมั ) แนวคาตอบ สภาพละลายได้ของดีเกลอื จากกิจกรรม คานวณได้ดงั นี้ มวลของดีเกลือ 6 ช้อนเบอรส์ อง = 6 ช้อน x 0.61 กรมั = 3.66 กรมั ในนา้ 5 กรัม (กาหนดใหน้ า้ 1 ลกู บาศก์เซนติเมตรหนัก 1 กรมั ) ดังน้ัน สภาพละลายไดข้ องดเี กลอื = (3.66 กรัม x 100 กรัม)/5 กรัม = 73.2 กรัม ในน้า 100 กรัม 2. สภาพละลายได้ของพิมเสนมีคา่ ประมาณกี่กรัมในน้า 100 กรมั (พิมเสน 1 ชอ้ นเบอร์สองมีมวล 0.34 กรัม และนา้ 1 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตรมมี วล 1 กรัม) แนวคาตอบ สภาพละลายได้ของพิมเสนจากกจิ กรรม คานวณไดด้ ังนี้ มวลของพมิ เสน 1 ชอ้ นเบอร์สอง = 1 ช้อน x 0.34 กรัม = 0.34 กรัม ในน้า 5 กรมั (กาหนดใหน้ า้ 1 ลูกบาศกเ์ ซนติเมตรหนัก 1 กรัม) ดังนัน้ สภาพละลายได้ของพิมเสน = (0.34 กรมั x 100 กรมั )/5 กรมั = 6.8 กรัม ในนา้ 100 กรมั จากผลการทากิจกรรม พิมเสนละลายได้น้อยกว่า 1 ช้อนเบอร์สอง ดังนั้นสภาพละลายได้ของพิมเสนมีค่านอ้ ย กว่า 6.8 กรัมในนา้ 100 กรัม 3. ชนิดของตัวละลายมีผลต่อสภาพละลายได้ของสารในตัวทาละลายหนึง่ ๆ หรือไม่ ทราบไดอ้ ยา่ งไร แนวคาตอบ ชนิดของตัวละลายมีผลต่อสภาพละลายได้ของสาร เพราะดีเกลือมีสภาพละลายได้ในน้ามากกว่า พมิ เสน เนอ่ื งจากใช้ดเี กลือปรมิ าณมากกวา่ ในการทาใหส้ ารละลายกลายเป็นสารละลายอม่ิ ตวั 4. เม่อื เปล่ียนตัวทาละลายจากนา้ กล่ันเป็นเอทานอล สภาพละลายไดข้ องดเี กลือและพิมเสนเปลีย่ นแปลง หรือไม่ อย่างไร แนวคาตอบ เมื่อเปลี่ยนตัวทาละลายจากน้ากล่ันเป็นเอทานอล สภาพละลายได้ของดีเกลือและพิมเสน เปล่ียนแปลง โดยสภาพละลายได้ของดีเกลือในเอทานอลมีค่าลดลงจากสภาพละลายได้ในน้า ส่วนสภาพ ละลายได้ของพมิ เสนในเอทานอลมีคา่ เพิ่มข้ึนจากสภาพละลายไดใ้ นนา้ 5. จากกิจกรรม สรุปไดอ้ ย่างไร แนวคาตอบ จากกิจกรรม สรุปได้ว่า ดีเกลือมีสภาพละลายได้ในน้ามากกว่าในเอทานอล ส่วนพิมเสนมี สภาพละลายไดใ้ นเอทานอลมากกวา่ ในน้า สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หน่วยท่ี 2 | สารละลาย 0156 คมู่ อื ครูรายวชิ าพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ กิจกรรมท่ี 2.4 อณุ หภูมมิ ผี ลต่อสภาพละลายได้ของสารอยา่ งไร นักเรียนจะได้เรียนรู้เก่ียวกับการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิที่ส่งผลต่อสภาพละลายได้ของสารบางชนิดในน้า ผ่าน การทดลอง จุดประสงค์ ออกแบบการทดลอง ทดลอง และอธิบายผลของอุณหภมู ทิ ่ีมตี ่อสภาพละลายได้ของจุนสีในนา้ เวลาทใ่ี ชใ้ น 1 ชั่วโมง 30 นาที การทากจิ กรรม วสั ดแุ ละอุปกรณ์ วสั ดุที่ใชต้ ่อกลมุ่ รายการ ปรมิ าณ/กลุ่ม 1. ดีเกลือ 30 กรัม 2. นา้ กลน่ั 3. น้าแข็ง 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. ช้อนตักสารเบอร์สอง 100 กรัม 5. บกี เกอรข์ นาด 50 cm3 1 อัน 6. บกี เกอรข์ นาด 250 cm3 3 ใบ 7. กระบอกตวง 25 cm3 1 ใบ 8. เทอร์มอมิเตอร์ 1 ใบ 9. แท่งแก้วคน 1 อัน 10.ขาตงั้ พร้อมทจ่ี ับ 1 อัน 11.ชดุ ตะเกยี งแอลกอฮอล์ 1 ชดุ 1 ชดุ การเตรียมตวั -ไมม่ -ี ลว่ งหนา้ สาหรบั ครู ขอ้ เสนอแนะ • กาหนดอุณหภูมิที่จะทาการทดลองร่วมกับนักเรียน ซ่ึงควรมี 2-3 ค่า คือ อุณหภูมิต่ากว่า ในการทากิจกรรม อุณหภูมิหอ้ ง อุณหภมู ิห้อง อุณหภมู ิสูงกว่าอณุ หภูมหิ อ้ ง • อา่ นอุณหภมู ิแต่ละการทดลอง บันทกึ ในตารางบันทกึ ผล สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
57 หนว่ ยที่ 2 | สายละลาย ค่มู ือครูรายวชิ าพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ • พยายามควบคุมอุณหภูมิที่ทดลองให้คงที่ (ยกเว้นท่ีอุณหภูมิห้อง ไม่ต้องควบคุม) โดยให้ นักเรียนแช่หลอดทดลองในบีกเกอร์ท่ีบรรจุน้า และจุ่มเทอร์มอมิเตอร์ให้กระเปาะของ เทอร์มอมิเตอร์อยู่ในของเหลวในหลอดทดลอง ยดึ เทอรม์ อมเิ ตอร์ด้วยชดุ ขาตั้งพร้อมที่จับ ถ้าต้องการเพิ่มอุณหภูมิ อาจนาบีกเกอร์ไปให้ความร้อน ถ้าต้องการลดอุณหภูมิ อาจเติม นา้ แข็งลงในบกี เกอร์ • นักเรยี นอาจออกแบบการทดลองไดห้ ลายแบบ ครตู ้องช่วยเหลือนักเรียนในการพิจารณา ความถูกต้องและความเหมาะสมของการทดลองแต่ละแบบ ก่อนที่จะให้นักเรียนลงมือ ทดลอง ซ่ึงจะช่วยให้ประหยัดเวลา และได้ผลการทดลองท่ีสามารถนามาสรุปองค์ความรู้ ท่ีถูกต้อง ส่อื การเรียนรู้/ • หนงั สือเรยี นรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เล่ม 1 ของ สสวท. แหล่งเรียนรู้ ตัวอย่างผลการทากจิ กรรม ตัวอย่างการออกแบบการทดลอง แบบท่ี 1 ละลายจุนสี 1 ช้อนเบอร์หน่ึงในน้า 10 ลูกบาศก์เซนติเมตรที่อุณหภมู ิห้อง คนจนละลายหมด เติมจุนสีเพิ่ม ลงไปทีละช้อน คนสารละลายทุกครั้งท่ีเติมจุนสี เมื่อจุนสีเริ่มละลายไม่หมด หยุดเติมจุนสี นับจานวนช้อน ที่ตวง จุนสีท่ีใช้ทั้งหมด บันทึกผล จากน้ันทากิจกรรมซ้าในภาชนะใหม่ โดยเปลี่ยนอุณหภูมิของน้าเป็นอุณหภูมิท่ีสูงกว่า อณุ หภมู ิหอ้ ง และอณุ หภมู ทิ ี่ต่ากวา่ อณุ หภมู หิ ้อง ตัวอยา่ งตารางบนั ทกึ ผล 1 อณุ หภูมิ (°C) ปรมิ าณน้า (cm3) ปรมิ าณจนุ สที ี่ละลายได้ (ช้อน) 20* 10 30** 10 60*** 10 *อณุ หภูมติ ่ากวา่ อณุ หภมู หิ ้องทีว่ ัดได้ **อุณหภูมหิ ้องท่วี ัดได้ ***อณุ หภูมสิ งู กว่าอุณหภูมิหอ้ งทว่ี ัดได้ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250