วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 100 ความหมายการเพิม่ ผลผลติ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 แนวคดิ คือ 1.1 แนวคิดทำงดำ้ นวิทยำศำสตร์ การเพม่ิ ผลผลติ (Productivity) คือ อัตราสว่ นระหวา่ งมูลค่าของสนิ ค้าและบรกิ ารท่ีผลิต ต่อมลู ค่าของทรัพยากรทใ่ี ชไ้ ป ผลผลิต = สนิ คา้ และบรกิ ารต่างๆ ปจั จัยการผลิต = ทรัพยากรท่ีใชใ้ นการผลติ /วัตถดุ บิ จากการเพิ่มผลผลิตในแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ จะต้องมีการเพิ่มผลผลิต ซึ่งสามารถวัดทาง กายภาพ (Physical Productivity) คือ วัดขนาดผลงานเป็นชิ้น น้าหนัก จานวนคนงาน และการวัด คุณค่า (Value Productivity) วัดเป็นจานวนเงิน ค่าที่เป็นตัวเงินได้ สามารถทาให้หน่วยงานหรือ องค์การมองเป็นรูปธรรมได้ชัดเจนว่า การประกอบธุรกิจนั้นมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลหรือไม่ จากการศึกษาอัตราส่วนผลผลิตและปัจจัยการผลิตดังกล่าว สามารถนามาเป็นแนวทางการเพิ่ม ผลผลติ ได้ 5 แนวทาง ดงั นี้คอื 1.1.1 ผลผลิตเพ่ิมขึ้นแต่ปัจจัยการผลิตเท่าเดิม คือ ผลผลิต (Output) เพิ่มข้ึน ปัจจัยการผลิต (Input) เท่าเดิม แนวทางนี้นาไปใช้ในการเพ่ิมผลผลิตในสภาวะเศรษฐกิจอยู่ในสภาพ ปกติ จงึ เป็นการเพ่มิ ผลผลิตมีค่าสงู ขน้ึ โดยปจั จัยการผลิตเท่าเดมิ ผลผลติ ปจั จยั การผลิต 1.1.2 ผลผลิตเพิ่มข้ึน แต่ปัจจัยการผลิตลดลง คือ ผลผลิต (Output) เพม่ิ ปัจจัยการผลติ (Input) ลดลง แนวทางนสี้ ามารถทจี่ ะนามาใช้เพอื่ ช่วยในการเพมิ่ ผลผลติ ที่มีค่าสูง มากกว่าวิธีอ่ืนๆ เป็นแนวทางที่ผู้ปฏิบัติต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการปรับปรุงกระบวนการ วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 101 ผลิต วิธีการทางานทั้งหมดจนไม่มีการสูญเสียในกระบวนการผลิตเลย แนวทางน้ีเป็นการเพ่ิมผลผลิต หรือเพ่ิมประสิทธิภาพด้วยต้นทุนต่า ใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ในองค์การอย่างคุ้มค่าหรือมีประสิทธิภาพ สูงสดุ ผลผลิต ปจั จัยการผลติ 1.1.3 ผลผลิตเพิ่มข้ึน ปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้น แต่ปัจจัยการผลิตเพ่ิมขึ้นในอัตรา ที่น้อยกว่าการเพิ่มของผลผลิต คือ ผลผลิต (Output) เพิ่มมาก แต่ ปัจจัยการผลิต (Input) เพิ่มใน อตั ราทนี่ อ้ ยกวา่ ผลผลิต ปัจจยั การผลติ 1.1.4 ผลผลิตเท่าเดิม แต่ปัจจัยการผลิตลดลง คือผลผลิต (Output) คงท่ี แต่ ปัจจัยการผลิต (Input) ลดลง แนวทางนไ้ี มเ่ พ่มิ ยอดการผลติ แตจ่ ะมงุ่ ให้ความสาคญั ลดปัจจยั การผลิต ลง คือ การใช้ปัจจัยการผลิตท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เหมาะสมท่ีสุดจะใช้กับช่วงภาวะเศรษฐกิจ ถดถอย ความต้องการของตลาดมีไม่มากนัก เช่น การประหยัดน้า ประหยัดไฟ ขจัดเวลาท่ีสูญเสีย ตา่ งๆ การประหยัดทรัพยากรทม่ี ีอยใู่ หใ้ ช้อยา่ งจากดั และจาเปน็ ลดความฟุ่มเฟอื ยตา่ งๆ ลง ผลผลิต ปจั จัยการผลติ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 102 1.1.5 ผลผลิตลดลง ปัจจัยการผลิตลดลงในอัตราท่ีมากกว่า คือผลผลิต (Output) ลดลง ปัจจัยการผลิต (Input) ลดลงมากกว่า แนวทางน้ีไม่ยอมเพิ่มผลผลิตแต่จะมุ่งให้ ความสาคัญปัจจัยการผลิต แนวทางน้ีจะใช้ในช่วงภาวะท่ีเศรษฐกิจถดถอย คนไม่มีกาลังซื้อ สินค้า ฟุ่มเฟอื ย ไมม่ คี วามจาเป็นต่อการดารงชีวติ เช่น รถยนต์ น้าหอม ผลผลติ ปัจจัยการผลติ จากแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ท่ีกล่าวมาน้ี ความหมายของการเพ่ิมผลผลิตมิได้หมายถึง การเพ่ิมปริมาณการผลิต หรือบริการอย่างเดียว แต่จะหมายถึงการเพ่ิมคุณค่าของผลิตภัณฑ์และการลด ตน้ ทนุ การผลติ 1.2 แนวคดิ ทำงเศรษฐกิจและสงั คม ในทางเศรษฐกิจและสังคม การเพิ่มผลผลิตเป็นเครื่องแสดงถึงระดับความสาเร็จของ เป้าหมายพ้ืนฐานที่นาไปสู่การอยู่ดีกินดีของประชาชน และคุณภาพชีวิตและการทางาน การเพ่ิม ผลผลิตตามแนวคดิ ทางเศรษฐกิจและสังคม จึงเปน็ เครื่องมือวัดความเจริญก้าวหนา้ ทางเศรษฐกิจและ สังคมได้เป็นอย่างดี การเพิ่มผลผลิตระดับชาติ แสดงความสามารถของชาติในการดาเนินงานพัฒนา ประเทศหรือพัฒนาเศรษฐกิจให้ม่ันคงและก้าวหนา้ ย่ิงๆ ข้ึนไป ด้วยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด มีประสิทธิภาพ เพ่ือก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด การเพ่ิมผลผลิตตามแนวคิดทางเศรษฐกิจและสังคม มี ดังนี้ 1.2.1 ความสานึกในจิตใจ เป็นความสามารถหรือการมีพลังด้านความสามารถ ท่ีมนุษย์แสวงหาทางปรับปรุงส่ิงต่างๆ ให้ดีขึ้นเสมอโดยที่เช่ือว่าเราสามารถทาส่ิงต่างๆ ในวันนี้ดีกว่า เมื่อวาน และพรุ่งนี้ต้องดีกว่าวันนี้ โดยผู้มีจิตสานึกด้านการเพิ่มผลผลิตจะประยุกต์ใช้เทคนิคและ วิธีการใหม่นามาใช้อย่างต่อเน่ืองเพ่ือให้เกิดประโยชน์แก่หน่วยงาน สังคม และประเทศชาติ และทัน ต่อสภาวะเศรษฐกจิ และสังคมทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงอยตู่ ลอดเวลา วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 103 1.2.2 การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด การเพิ่มผลผลิตเป็นความสานึก ในการดาเนินกิจกรรมในชีวิตประจาวันด้วยการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์พร้อม ท้ังความพยายามลดการสูญเสียต่างๆ ลง เพื่อความเจริญมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศชาติด้วยความสานึก เช่น การช่วยกันประหยัดพลังงานต่างๆ และค่าใช้จ่ายต่างๆ การมี จิตสานึกในการเคารพกฎระเบียบต่างๆ เพ่ือความสงบสุขของสังคม การมีนิสัยตรงต่อเวลา การลด ขอ้ ผดิ พลาดตา่ งๆ การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ รปู ที่ 5.1 เศรษฐกจิ ทม่ี า : https://www.edtguide.com/review/447433/otop-midyear-2016-6-13-June-2016 การเพ่ิมผลผลิตตามแนวคิดทางเศรษฐกิจและสังคม หมายถึง การสร้างทัศนคติแห่งจิตใจ ที่ จะแสวงหาทางปรับปรงุ สง่ิ ต่างๆ ให้ดีอยู่เสมอ โดยการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัดใหเ้ กิดประโยชน์ สูงสุด จะเห็นได้ว่า ความหมายของการเพ่ิมผลผลติ ทั้งแนวคิดด้านวทิ ยาศาสตร์ และแนวคิดทางด้าน เศรษฐกิจและสังคม หลายแนวคิดและหลายกิจกรรมเป็นสิ่งท่ีช่วยผลักดันและปรับปรุงการเพิ่ม ผลผลติ ทกุ ระดบั ในองค์การ เพ่ือความเจริญรงุ่ เรือง 2. วัตถปุ ระสงคข์ องกำรเพม่ิ ผลผลติ เน่ืองจากปัจจุบันทรัพยากรมีอยู่อย่างจากัด นับวันมีแต่จะขาดแคลนลง การเพ่ิมผลผลิตเป็น เครื่องมือสาคัญท่ีใช้ในการวางแผนเพื่อทาให้องค์การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้ เกิดประโยชน์สูงสุด มีการสูญเสียน้อยที่สดุ เพ่ือตอบสนองหรือให้บริการแก่กลุม่ บุคคลมากที่สุด อีกท้ัง วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 104 การแข่งขันสูงข้ึน องค์การต่างๆ จะอยู่รอดได้ต้องมีการปรับตัวเองอยู่เสมอ การเพิ่มผลผลิตเป็น แนวทางปรับปรงุ ประสิทธภิ าพ คุณภาพ ลดต้นทุน ทาใหส้ ามารถสู้กบั แข่งขันได้ การผลิตไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ จะพบว่า วัตถุประสงค์การผลิต คือ การทากาไรให้มากที่สุด โดยการมีส่วนแบ่งตลาดให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ และสามารถจ่ายเงิน ปันผลแก่ผู้ถือหุ้นให้ได้มากที่สุด ซึ่งองค์การควรยึดแนวทาง เฮนรี่ ฟอร์ด (Henry Ford) ได้เขียนไว้ใน หนังสือ ปี พ.ศ. 2505 ที่ช่ือ “Today and Tomorrow” มีหลักการในการท่ีจะยึดคลองตลาด/ส่วน แบง่ ทางการตลาด คือ 2.1 กำรสร้ำงควำมพอใจใหแ้ ก่ลูกค้ำอยำ่ งครบถ้วน ความพงึ พอใจของลูกค้า สามารถจะ ประเมินเกณฑ์การวัดได้ เช่น ประเมินโดยคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของการส่งมอบสินค้าตรงเวลา หรือ คานวณจากองค์ประกอบหลายอ่านแล้วแต่จะกาหนด วิธีการวัดผลท่ีดีท่ีก็คือ การประเมินของลูกค้า เพราะมผี ลโดยตรงการผลติ 2.2 กำรมกี ำไรท่เี หมำะสมเพียงพอ การเพิม่ ผลผลิตท่จี ะประสบความสาเรจ็ ได้น้ัน องค์การ จะต้องให้ “คุณค่า” (Value) แก่ลูกค้า องค์การท่ีดาเนินงานได้ดี จะสามารถทากาไรในจานวน ท่ีเหมาะสมเพียงพอกว่าองค์การทต่ี ้งั เป้าหมายกาไรเป็นสาคัญ 2.3 กำรใช้เงินทุนในกำรผลิตอย่ำงมีประสิทธิภำพ ไม่มีสินค้าคงคลังค้างมากเกินไป ซึ่งจะ ทาให้ต้นทุนค่าใช้จ่ายสูงมากขึ้น จึงทาให้เสียโอกาสที่จะสามารถเพ่ิมผลผลิต เพ่ือตอบสนองต่อการ เปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็ว และเสียโอกาสท่ีจะผลิตสินค้าตัวใหม่ๆ เพ่ิมข้ึน และอาจก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายที่สูง มากขึ้น 2.4 กำรสร้ำงควำมพอใจแกผ่ ู้ถอื หุ้น การท่อี งคก์ ารผู้ผลติ จะสรา้ งมลู คา่ เพ่ิมให้แกว่ ัตถุดิบที่ มีราคาต่า องค์การผู้ผลิตจึงต้องเป็นผู้ท่ีสร้างความพึงพอใจท่ีแท้จริงแก่ผู้ถือหุ้น เพราะการสร้าง มลู คา่ เพิม่ แต่วตั ถุดบิ เพียงอยา่ งเดยี วไมใ่ ชเ่ ปน็ การสรา้ งความมัน่ คง ถ้าขายสินคา้ น้ันไม่ได้ จึงเปน็ หน้าที่ ขององค์การ ผู้ผลติ จะตอ้ งสร้างมูลค่าในสินคา้ ใหไ้ ด้ อยา่ งนอ้ ยท่สี ุดต้องเทา่ กบั ราคาท่ขี ายให้กบั ลูกค้า 2.5 กำรให้รำงวัลตอบแทนแก่ผู้มีส่วนร่วมอย่ำงเสมอภำค บุคคลผู้มีส่วนร่วมในการเพ่ิม ผลผลิตจนสามารถทาให้องค์การประสบความสาเร็จ ได้แก่ พนักงาน ผู้จัดการ เจ้าของกิจการและ ผถู้ อื หุน้ บคุ คลเหลา่ นจี้ ะตอ้ งได้รบั การแบ่งปนั ผลประโยชนอ์ ยา่ งเสมอภาพดว้ ยความเปน็ ธรรม วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 105 2.6 กำรปฏิบัติต่อผู้ส่งมอบและลูกค้ำอย่ำงยุติธรรม ความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้ส่งมอบ – ผู้ผลิต – ลกู คา้ เปน็ ลกั ษณะความสัมพนั ธ์ท่ตี ่อเนื่องเก่ียวข้องกันอยา่ งแยกไม่ออก ผูผ้ ลิตจงึ ต้องปฏิบัติ ต่อผู้ส่งมอบ และลูกค้าอย่างยุติธรรมโดยไม่เอาเปรียบต่อกัน เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกัน อันเป็นผลดีต่อการประกอบธรุ กิจการผลติ ในระยะยาว 2.7 กำรเป็นผู้มีควำมรับผิดชอบต่อสังคม หน่วยงานหรือองค์การผู้ผลิต ต้องมีความ รับผิดชอบต่อสังคมโดยส่วนรวม เช่น ยึดถือมาตรการของรัฐในเร่ืองภาษี มลพิษความปลอดภัย อันตรายต่อสุขภาพของประชาชน ซึ่งปัจจัยเหล่าน้ี อาจถูกมองว่าเป็นเร่ืองเล็กๆ ซึ่งปัจจัยเหล่าน้ี หมายถึง ชือ่ เสยี ง การยอมรบั ของลกู คา้ ที่มผี ลกระทบต่ออุตสาหกรรมการผลติ โดยตรง 3. ปัจจัยท่ีมอี ิทธพิ ลต่อกำรเพ่ิมผลผลิต สภาพแวดล้อมภายนอก (External Factor) จะเก่ียวข้องโดยตรงและส่งผลกระทบ ต่อศักยภาพของการบริหารองค์การและความสามารถในการบรรลุเป้าหมายของการผลิต องค์การ จะต้องประเมินโอกาสและอุปสรรคจากสิ่งแวดล้อมภายนอกท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเทคโนโลยี สาหรับผลิตภัณฑ์และบริการ สภาพการแข่งขันของธุรกิจ ซ่ึงมีอิทธิพลต่อความสาเร็จของการ เพ่ิมผลผลิต องค์การท่ีมีการดาเนินงานลักษณะท่ีซับซ้อน บางองค์การได้กาหนดแผนวิเคราะห์ ส่ิงแวดล้อมท่ีมีผลกระทบโดยตรงต่อการเพ่ิมผลผลิต การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับ ส่ิงแวดล้อมภายนอก ผู้บรหิ ารควรใหค้ วามสาคญั ในการวิเคราะห์โอกาสและอปุ สรรค เพ่ือการวางแผน ในอนาคต ดงั น้นั ปัจจยั ทีม่ อี ิทธพิ ลต่อการเพิม่ ผลผลติ ทีส่ าคัญตอ่ องคก์ าร ไดแ้ ก่ 3.1 นโยบำยของรัฐ (Policies) หมายถึง แนวทางท่ีรัฐกาหนดของเขตครอบคลุมถึง เป้าหมายของรัฐในการท่ีจะเร่งรัดพัฒนาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความม่ันคง การจ้างงาน บนพ้ืนฐานและความเป็นธรรม และการปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชนในชาติให้ประสบ ความสาเร็จตามเป้าหมายที่จะกาหนด ดังน้ันรัฐจะต้องกาหนดนโยบายส่งเสริมและการกระทาอย่าง ตอ่ เน่ืองในเรือ่ งต่างๆ ดงั ต่อไปนคี้ ือ 3.1.1 การวางแผน โดยรวมการใช้สาธารณูปโภค ตามกรณีในเร่อื งราคาและฐานภาษี 3.1.2 การสง่ เสริมอุตสาหกรรมขนาดยอ่ มเพือ่ ทดแทนการนาเข้า 3.1.3 การเปล่ียนแปลงแบบแผนความตอ้ งการภายในประเทศ วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 106 3.1.4 ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจบนพ้นื ฐานการแข่งขนั อย่างเสรี 3.1.5 การสร้างความเจริญก้าวหน้าจะต้องควบคู่ไปกับการศึกษาและการรักษา สภาพแวดลอ้ ม 3.2 ทรัพยำกรทใ่ี ช้ (Resources) หมายถึง ทรัพยากรท้ังหลายท่ีใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ซงึ่ มีผลกระทบต่อการเพ่มิ ผลผลิตทั้งสิ้น ไดแ้ ก่ 3.2.1 ทรพั ยากรธรรมชาติ 3.2.2 ทรัพยากรบคุ คล 3.2.3 ทรัพยากรทางดา้ นการเงิน 3.2.4 ทรัพยากรทางดา้ นการผลติ 3.2.5 การจัดองค์การและการบรหิ ารดา้ นการผลติ 3.3 ค่ำนิยมทำงสังคมและวัฒนธรรม หมายถึง แนวคิด ความเช่ือ อุดมการณ์ ตามความ ต้องการของกลุ่มคนในสังคม รวมถึงจริยธรรมในการทางานและทัศนคติของบุคคล เช่น ค่านิยมส่วน บุคคล (Individual Values) และทัศนคติของคนในสังคมที่เรียกว่า ค่านิยมของสังคม ซึ่งมีผลต่อการ เพ่ิมผลผลิตทงั้ ส้ิน รูปที่ 5.2 คา่ นยิ มทางสงั คมและวัฒนธรรม ทมี่ า : พชรภัทร สุธารักษ์ (2558) 4. องค์ประกอบของกำรเพิม่ ผลผลิต การผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ ไม่ว่าจะเป็นองค์การขนาดใหญ่ หรือขนาดเล็กก็ตาม กิจการ จะเจริญเติบโตก็ตอ่ เม่ือองคก์ ารสามารถเพิ่มความได้เปรียบในเชิงการคา้ การเพมิ่ ผลผลติ ท่ีดีน้ันจะต้อง ประกอบด้วย คุณภาพของสินค้าและบริการที่ลูกค้าพึงพอใจตรงตามความต้องการ องค์ประกอบของ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 107 การเพิ่มผลผลิตจึงเป็นส่ิงที่สาคัญอย่างมากที่ผู้ประกอบการจะต้องคานึงถึง เพราะจะส่งผลถึง ภาพลักษณ์ขององค์การ และเป็นการทากาไรที่ย่ังยืน ปัจจุบันผู้ประกอบการส่วนใหญ่ จะคานึงถึงแต่ผลกาไรเพียงอย่างเดียว มุ่งแต่จะลดต้นทุน ทาให้มีการละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หรือไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณต่างๆ เพื่อให้การประกอบกกิจการ หรือการดาเนินธุรกิจอุตสาหกรรม การเพ่มิ ผลผลิต มกี ารดาเนนิ การท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาตโิ ดยส่วนรวม จึงควรปฏิบัติ ตามองคป์ ระกอบ 7 ประการ คอื QCDSMEE ดงั น้ีคอื 4.1 Q : Quality คุณภาพ หมายถึง ข้อกาหนด (Specification) ของสินค้าที่องค์การ หรือหน่วยงานกาหนดขึ้น ที่จะสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า และสร้างความพึงพอใจ ให้กับลูกค้า เพราะปัจจุบันคุณภาพ หมายถึง ส่ิงท่ีลูกค้าต้องการหรือพอใจ ความพึงพอใจของลูกค้า คือเหตผุ ลทท่ี าให้ลกู ค้าเลอื กซ้อื สนิ คา้ หรอื ใชบ้ รกิ าร ดังนัน้ ผผู้ ลติ จงึ ตอ้ งคานงึ ถงึ คณุ ภาพกอ่ น 4.1.1 ประเภทคณุ ภาพ 1) คุณภาพดา้ นเทคนิค ไดแ้ ก่ ลกั ษณะทางกายภาพ และความสามารถใน การใช้งานที่ที่ส่งผลต่อคุณภาพของสินค้า และบริการ เช่น ความแข็งแรงของผลิตภัณฑ์ ระบบปอ้ งกันความปลอดภัย 2) คุณภาพด้านจิตวิทยา ได้แก่ คุณลักษณะท่ีมีผลจิตใจของผู้บริโภคใน การตัดสินใจซ้ือสินค้าและใช้บริการ เช่น ความสวยงาม การออกแบบผลิตภัณฑ์ภาพลักษณ์ ของสินคา้ ฯลฯ 3) คุณภาพด้านความผูกพันต่อเน่ืองหลังการขาย เช่น การให้บริการหลัง การขาย การรบั ประกันสินคา้ ฯลฯ 4) คุณภาพด้านเวลา เช่น อายุการใช้งานของผลิตภัณฑ์ ความยากง่ายใน การบารงุ รกั ษา ความรวดเรว็ ในการใหบ้ รกิ าร ฯลฯ 5) คุณภาพด้านจริยธรรม เช่น ความถูกต้องตามมาตรฐานการผลิต ความ จริงใจในการให้บริการ 4.2 C : Cost ต้นทุน หมายถึง ค่าใช้จ่ายต่างๆ ท่ีองค์การหรือหน่วยงานจ่ายไปเพื่อ ดาเนินการผลิตสินค้าหรือบริการ ต้นทุนจะเร่ิมเกิดข้ึนตั้งแต่ข้ันตอนแรกของการวางแผน วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 108 การออกแบบผลิตภัณฑ์กระบวนการผลิตการตรวจสอบ การจัดเก็บ การขนส่ง จนกระทั่งสินค้าพร้อม ทสี่ ่งมอบให้กับลกู คา้ ซ่ึงประกอบดว้ ย 4.2.1 ต้นทุนวัตถุดิบ (Material Cost) เป็นค่าวัตถุดิบท่ีซ้ือมาจากหน่วยงาน ภายนอก เพ่อื นาไปผลติ สินคา้ และบริการ ตลอดจนคา่ วัสดตุ า่ งๆ ทจี่ าเป็นต้องใชใ้ นการปฏิบตั ิงาน เช่น อุปกรณส์ านกั งาน 4.2.2 ต้นทุนแรงงาน ( Labor Cost) คือ ค่าจ้างพนักงานเพื่อทาหน้าที่ต่างๆ ในกระบวนการทางานขององค์การ เชน่ การตรวจสอบคุณภาพสนิ ค้า การวางแผนการผลิต เปน็ ตน้ 4.2.3 ต้นทุนการทางานของเคร่ืองจักร (Machine Cost) คือ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเคร่ืองจักรที่ใช้ในการผลิตสินค้าโดยไม่คานึงว่าเครื่องจักรน้ันกาลังทางานหรือไม่ ได้แก่ คา่ พลงั งานและเช้ือเพลิงท่ีใชใ้ นการขบั เคล่ือนเคร่ืองจกั ร ตลอดจนค่าซ่อมบารงุ รักษาเครื่องจกั ร ในการเพิ่มผลผลิตน้ัน จะต้องลดต้นทุน ในการผลิตให้ต่าลง ซึ่งต้องควบคุมไปกับการบริหาร คุณภาพด้วย โดยการพยามลดความสูญเสีย ลดค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่ไม่จาเป็นออกไป ขณะเดียวกัน ประหยัด แรงงาน และทรัพยากรต่างๆ ท่ีมีอยู่อย่างจากัด พนักงานจะต้องปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง จะทาให้งานที่ทามคี ุณภาพดขี ึน้ และลดการสญู เสีย 4.3 D : Delivery การส่งมอบ หมายถึง การจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่ให้สามารถผลิต สนิ ค้าหรือบริการได้ถึงมือลูกค้าตามเวลาที่กาหนด โดยวธิ กี ารทาใหห้ นว่ ยงานผลิตและส่งชิน้ งานไปยัง หน่วยงานตอ่ ไปโดยไม่ล่าชา้ เพ่ือทจ่ี ะสง่ มอบสินคา้ ให้กบั ลูกค้าตามกาหนดเวลาท่ีลูกค้าตอ้ งการ อุปสรรคของการส่งมอบสินค้าทส่ี าคญั คอื ความสญู เสยี ตา่ งๆ ทีม่ ีผลกระทบต่อการส่งมอบสินค้า เช่น 1. วัตถดุ บิ ขาด ไมเ่ พียงพอตอ่ ความต้องการของฝ่ายผลติ 2. เสยี เวลารอคอยข้อมูล เพื่อใชใ้ นการออกแบบ 3. กาลงั การผลิตไมเ่ พยี งพอตอ่ การผลติ 4. เครื่องจักรเสีย 5. ผลิตชิน้ งานแต่ละชิ้นเสียเวลานานเกินไป 6. พนกั งานมวี ิธีการทางานไม่เหมาะสม วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 109 4.4 S : Safety ความปลอดภัย หมายถึง สภาวการณ์ที่ปราศจากอุบัติเหตุ หรือสภาวะ ท่ีปราศจากภัยที่ก่อให้เกิดบาดเจ็บหรือสูญเสีย หรือ หมายถึง การควบคุมความสูญเสียจากอุบัติเหตุ ท่ีเกี่ยวกับการบาดเจ็บ เจ็บป่วย ทรัพย์สินเสียหาย และความสูญเสียเน่ืองจากขบวนการผลิต ซ่ึงการ ควบคุมน้ีรวมไปถึงการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุและการดาเนินการให้สูญเสียน้อยท่ีสุด เม่ือเกิด อบุ ตั เิ หตุขึ้น ในองค์การที่มีความปลอดภัย หรือหน่วยงานท่ีมีสภาพการทางานท่ีปลอดภัย พนักงานทกุ คนทางานดว้ ยปลอดภัย จะเกิดประโยชน์ ดงั น้ี 1. ผลผลิตรวมเพ่ิมขึ้น คือ พนักงานจะมีความรู้สึกไม่หวาดกลัว หรือวิตกกังวล หากมสี ภาพแวดลอ้ มทดี่ จี ะสง่ ผลใหก้ ารทางานได้เตม็ ท่ี ทาให้ผลผลติ เพิม่ ขนึ้ หรือดีข้ึน 2. ต้นทุนการผลิตลดลง คือ ต้นทุนการผลิตเน่ืองจากความสูญเสียต่างๆ ที่เกิดข้ึน จากอบุ ตั ิเหตุ เช่น คา่ รกั ษาพยาบาล ค่าเงินทดแทนการบาดเจ็บ ทาให้ต้นทุนการผลติ ตา่ ลง 3. ทาให้องค์การมกี าไรมากขึ้น ทางานอย่างปลอดภัย ทาใหผ้ ลผลติ สูง ต้นทนุ ต่าลง 4. ทรัพยากรมนุษย์ให้แก่ประเทศชาติ เพราะอุบัติเหตุที่เกิดข้ึนแต่ละครั้งทาให้ พนักงานบาดเจ็บ พกิ าร หรอื เสียชวี ติ ได้ 5. เป็นการจูงใจในการทางาน สถานท่ีทางานปลอดภัย ทาให้พนักงานเกิดความ ต้องการ และรู้สึกสนใจในงานมากขึน้ วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 110 ความปลอดภัย ปลอด ภัย ปราศจาก (ไม่มี) อนั ตรายท่ี ก่อใหเ้ กดิ ความ NO สูญเสีย NO ความปลอดภยั คือ การควบคมุ ความสญู เสียจาก อบุ ัตเิ หตุ รปู ท่ี 5.3 แผนภมู คิ วามปลอดภัย ทม่ี า : สมชาย วณารกั ษ์ (2549) 4.5 M : Morale ขวัญและกาลังใจในการทางาน หมายถึง สภาพจิตใจของผู้ปฏิบัติงาน ความรู้สึกนึกคิดท่ีได้รับอิทธิพลจากแรงกดดันหรือสิ่งเร้าจากปัจจัย หรือสภาพแวดล้อมในองค์การที่ อยูร่ อบตัวเรา และจะมปี ฏิกริ ยิ าโตต้ อบกลับ คือ พฤตกิ รรมในการทางาน ซ่ึงจะมีผลโดยตรงตอ่ ผลงาน ของบุคคลน้ันที่สามารถทาใหพ้ นักงานมีความกระตือรือรน้ ในการทางาน มีความซอื่ สัตย์ จงรักภักดีต่อ องคก์ าร มคี วามสามคั คี ซ่ึงปัจจัยทส่ี ง่ ผลตอ่ ขวญั กาลงั ใจของพนักงาน 1. คุณสมบัติและลักษณะของผู้บังคับบัญชาเป็นความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้บังคับบัญชาและ ผู้ใต้บังคับบญั ชา 2. ความพงึ พอใจในการปฏิบตั ิงาน ความรู้สกึ โดยรวมในการปฏบิ ัติงาน รายไดท้ ไ่ี ดร้ ับ เพ่ือน รว่ มงาน 3. รางวัลผลตอบแทน ผลประโยชนจ์ ากกาไร 4. แผนและนโยบายขององคก์ าร 5. สภาพแวดลอ้ ม ในการปฏิบตั ิงานและบรรยากาศในการทางาน 6. สุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ของผปู้ ฏบิ ตั ิงาน วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 111 4.6 E : Environment สิง่ แวดล้อม หมายถงึ สง่ิ ทอ่ี ยู่รอบตัวเรา ทงั้ ท่ีมีชวี ิตและไม่มี ชีวิต ท่ีส่งผลกระทบตอ่ กระบวนการผลิตขององค์การ การผลิตที่ดจี ะต้องมคี วามรบั ผิดชอบ ไมส่ รา้ ง มลพิษและไมท่ าลายส่ิงแวดล้อม การเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมส่งผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดล้อมเป็น อยา่ งมาก สาเหตสุ าคัญที่ทาใหเ้ กดิ ปัญหาส่งิ แวดล้อมภายในประเทศ เช่น น้าเสียและสารพิษจาก แหลง่ อตุ สาหกรรม ควนั ดาทเี่ กดิ จากกระบวนการเผาไหม้จากโรงงาน ขยะและของเสยี ต่างๆ ท่ียอ่ ย สลายยาก เชน่ พลาสตกิ ซึ่งมีปริมาณเพิม่ ขึน้ เรื่อยๆ ดังนั้น การเพิ่มผลผลิตกับสิ่งแวดล้อม คือ การผลิตที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อม เพ่ือการพัฒนาท่ี ย่ังยืน การใช้เทคโนโลยีที่สะอาดในการผลิต และการจัดการระบบส่ิงแวดล้อม เพื่อลดต้นทุนและเพิ่ม ผลผลิต จะช่วยลดค่าใช้จ่ายสาหรับการบาบัดของเสียต่างๆ ที่เกิดข้ึนจากกระบวนการผลิต ซ่ึงทาให้ เกดิ การเพิม่ ผลผลติ ขององคก์ าร สังคม และประเทศชาติ 4.7 E : Ethics จรรยาบรรณในการดาเนินธุรกิจ หมายถึง มาตรฐานการปฏิบัติ หรือ วินิจฉัยของผู้บริหารที่ไม่เบียดเบียน หรือเอาเปรียบผู้อ่ืนโดยไม่เป็นธรรม ผู้อื่นหมายความถึง ผู้ขาย ผถู้ อื หนุ้ พนกั งานค่แู ขง่ ขัน สงั คมและส่งิ แวดล้อม ดังตอ่ ไปนี้ 4.7.1. จรรยาบรรณต่อลูกค้า (Customer) การกาหนดราคา และคุณภาพสินค้า หรือบริการอยา่ งเหมาะสมไมก่ กั ตุนสินค้า 4.7.2. จรรยาบรรณต่อผลิตภัณฑ์ (Product) สินค้ามีคุณภาพ ตรงตามมาตรฐาน มีความปลอดภยั ตอ่ ผู้บริโภค 4.7.3. จรรยาบรรณตอ่ ผจู้ ดั หาวัตถุดบิ (Supplier) การยดื ระยะเวลาในการ ชาระบิล ปดิ บงั ขอ้ มูล 4.7.4. จรรยาบรรณต่อคู่แข่งขัน (Competitor) ไม่กลั่นแกล้ง หรือใส่ร้ายคู่แข่งขัน ทั้งทางตรง และทางออ้ ม 4.7.5. จรรยาบรรณต่อพนักงาน (Employer) จ่ายค่าตอบแทนอย่างเหมาะสม ใหส้ วัสดกิ ารท่ดี ี และใหค้ วามเท่าเทียมกนั กับพนกั งานทกุ คนสรา้ งสภาพแวดลอ้ มในการทางานทด่ี ี 4.7.6. จรรยาบรรณตอ่ ผู้ประกอบธุรกิจ (Owner) มีความรับผดิ ชอบ ซ่ือสตั ย์ สุจรติ ไม่ขัดผลประโยชนน์ ายจา้ ง มีการแบง่ เงินเปน็ ผลใหเ้ หมาะสม และถกู ตอ้ ง วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 112 4.7.7. จรรยาบรรณต่อหน่วยงานราชการ (Government) ปฏิบัติตามกฎหมาย ให้ความรว่ มมอื และสนบั สนุน มที ศั นคติทดี่ ตี อ่ หน่วยงานราชการ 4.7.8. จรรยาบรรณต่อสังคม (Society) ไม่โฆษณา เพ่ือหลอกลวงขายสินค้า และให้บริการในราคาท่ีเหมาะสม ฯลฯ 4.7.9. จรรยาบรรณต่อสิ่งแวดล้อม (Environment) ไม่ปล่อยของเสียต่างๆ สสู่ ิง่ แวดลอ้ ม อนั ทาให้เกิดมลภาวะ และทาลายสง่ิ แวดล้อม องค์ประกอบของการเพิ่มผลผลติ สามารถจดั แยกออกไดด้ งั นี้ QCD ทาเพ่ือลูกค้า คือ ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพตามท่ีลูกค้ากาหนด มีการควบคุมภาพ การผลิต มีการจดั สง่ ทีต่ รงเวลา เพือ่ ความม่นั ใจใหก้ ับลกู คา้ SM ทาเพอ่ื พนักงาน เปน็ การเพมิ่ ผลผลิตเพื่อประโยชน์ของพนักงาน คือ ทาให้พนักงานรู้สึก ปลอดภัยในการทางาน และเกิดขวัญกาลงั ใจในการผลิต EE ทาเพื่อสังคม ทาให้พนักงานมีความสุขในการทางานจากส่ิงแวดล้อมภายในองค์การ แก้ไขปญั หาอุปสรรคทเี่ คยมใี หห้ มดไป เป็นการเพ่ิมผลผลติ บนพื้นฐานของคณุ ธรรมและความยง่ั ยนื 5. กำรควบคมุ กำรผลิตและขัน้ ตอนกำรควบคุมกำรผลติ 5.1 กำรควบคุมกำรผลิต (Production Control) คือ กิจกรรมกากับดูแลให้การทางาน เป็นไปตามกระบวนการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องตามแบบผลิตในเวลาอันสั้นและได้ปริมาณ มากท่ีสุด ผลิตภัณฑ์มีการบกพร่องน้อยที่สุด กิจกรรมการควบคุมการผลิตเร่ิมต้ังแต่ปัจจัยนาเข้า กระบวนการผลิต จนสาเรจ็ ออกเป็นผลผลติ หรือผลติ ภณั ฑ์ดังแสดงไว้ในแผนภูมิ รปู ท่ี 5.4 แผนภมู แิ สดงการควบคุมการผลิตภัณฑ์ ท่ีมา : สมชาย วณารักษ์ (2549) วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 113 การควบคุมการผลิตเพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีข้อบกพร่องน้อยท่ีสุด เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่ดีท่ีสุด ตรงต่อความต้องการของลูกค้า ความสาคัญของการควบคุมการผลิตสรุปได้ดังนี้ (สมชาย วณารักษ์, การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาและเพ่ิมผลผลิต กรุงเทพฯ : บริษัท สานักพิมพ์เอมพันธ์ จากัด, 2549) หน้า 157 5.1.1 เพื่อกากับให้ผลผลิตหรือผลิตภัณฑ์ได้มาตรฐาน โดยคานึงถึงการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางาน กิจกรรมท่ีใช้ในการควบคุมการผลิตน้ีจะเกี่ยวกับการศึ กษาเวลา การเคลือ่ นไหว การตรวจสอบทาอยา่ งไรจึงให้มีข้อผิดพลาดน้อยท่สี ุด 5.1.2 เพื่อป้องกันรักษาทรัพย์สินขององค์การ โดยพิจารณาถึงการป้องกันไม่ให้ ทรัพยส์ นิ ขององค์การถกู นาไปใช้ผิดวัตถปุ ระสงค์ ดว้ ยเหตนุ ้ี จงึ ต้องมกี ารแบ่งหน้าท่ีกนั รบั ผิดชอบและ มีการจัดระบบการเกบ็ ข้อมลู 5.1.3 เพื่อกากับให้คุณภาพของผลิตภัณฑ์ได้มาตรฐาน องค์การจะต้องทาการ ควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ซ่ึงอาจทาได้หลายวิธี เช่น การตรวจสอบคุณลักษณะ การใช้หลักสถิติ เพ่ือการควบคมุ คุณภาพ 5.1.4 เพ่ือใช้วัดงานต่างๆ ท่ีกาลังปฏิบัติอยู่ ซึ่งการควบคุม ได้แก่ ตัวเลขท่ีแสดงผล การผลิตต่อหนว่ ยเวลา การเปรียบเทียบตน้ ทนุ ล้วนแต่เปน็ เครื่องมือตรวจสอบผลงานที่กาลังปฏิบัติอยู่ ว่าเป็นไปตามเง่อื นไขท่ีกาหนดหรอื ไม่ 5.1.5 เพื่อใช้ประกอบในการวางแผนและกาหนดแผนการปฏบิ ตั ิงานต่างๆ ซึ่งได้วาง มาตรการควบคมุ กอ่ นเรม่ิ ต้นการทางานแล้ว 5.1.6 เพ่ือช่วยให้ผู้บริหารสามารถจัดความสมดุลในระหว่างแผนงานกลุ่มต่างๆ และเพอ่ื ใชเ้ งินทุนให้เกดิ ผลกาไรสงู สดุ 5.1.7 เพอื่ กาหนดขอบเขตผู้ปฏบิ ัติงานต่างๆ ในการปฏิบัติงาน วิธนี ้จี ะเปน็ เครื่องมือ วัดอย่างหน่ึงในการปฏิบัติงานว่าเป็นไปตามมาตรฐานเพียงใด ผู้ปฏิบัติงานดีย่อมได้ผลตอบแทนเพ่ิม ซึง่ เป็นมาตรฐานทอ่ี งค์การยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิ 5.2 ขั้นตอนกำรควบคุมกำรผลิต จะเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการผลิต ซ่ึงข้ันตอนและวิธีการ ผลิตจะถูกกาหนดเป็นระยะของการควบคุมการผลิตพอสรุปไดด้ งั น้ี วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 114 5.2.1 ข้ันบันทึกรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการผลิต เป็นข้ันของการกาหนดนโยบาย กาหนดแผนการผลิต อาจเสนอเปน็ แผนภูมกิ ารกาหนดแผนการผลติ โดยรวม 5.2.2 ข้ันวิเคราะห์เปรียบเทียบการผลิตกับแผนงาน ว่าจานวนการผลิตมากน้อย เพยี งใดกับเวลาการดาเนินงาน 5.2.3 ขั้นตอนการควบคุมคุณภาพของการผลิต หาแนวทางแก้ไข ปรับปรุง หรือ เปล่ียนแปลงกระบวนการผลติ ให้ผลผลติ ออกมาเป็นไปตามเปา้ หมายทีว่ างไว้ 5.2.4 ขั้นการจาหน่าย เก็บรวบรวมข้อมูลเอาไว้เปรียบเทียบการผลิตคร้ังก่อน ถือ วา่ เปน็ การประเมินผลการผลติ รูปที่ 5.5 แผนแสดงขั้นตอนและวธิ กี ารควบคมุ การผลิต ท่มี า : https://goo.gl/images/JBkSrE 6. ประเภทกำรผลติ อุตสาหกรรมการผลิตต่างๆ ล้วนแล้วแต่เกี่ยวข้องกับการนาเอาวัตถุดิบ ซึ่งมักจะใช้ ทรัพยากรธรรมชาติมาผา่ นกระบวนการแปรรูป หรือทาการผลิตโดยใช้แรงงานคนและเคร่อื งจักรแลว้ สง่ ผ่านเพ่อื นาไปแปรรูปหรอื ผลติ ในขัน้ ตอนต่อๆ ไป จนได้ผลติ ภณั ฑ์สาเร็จรปู ขน้ั สุดทา้ ย วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 115 ประเภทของการผลิต หมายถึง การแบ่งประเภทตามลักษณะหรือรูปแบบของกระบวนการ ผลติ ซง่ึ สามารถแบง่ ประเภทของการผลติ ออกได้ 2 ประเภทใหญๆ่ ดงั นี้ 6.1 แบง่ ตำมลักษณะเฉพำะของผลิตภัณฑ์ 6.1.1 การผลิตตามคาสั่ง (made-to-order) เป็นการผลิตท่ีผลิตภัณฑ์จะ เปลีย่ นแปลงตามความต้องการของลูกค้าแต่ละราย กระบวนการผลิตไม่สามารถคาดการณ์ไว้ลว่ งหน้า ได้ ผู้ผลิตต้องมีความสามารถและความชานาญหลายอย่าง เช่น การตัดวิวาห์ การรับสร้างบ้านบน ทดี่ นิ ของลูกคา้ การทาผม เป็นต้น รปู ท่ี 5.6 : การผลติ ตามคาสัง่ ทมี่ า : https://www.2bbride.com/weddinglibrary/weddinglibrary_review_front/review_view/58 6.1.2 การผลิตเพื่อรอจาหน่าย (made-to-stock) เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ท่ีเป็น มาตรฐานเดียวกันตามความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป็นเปา้ หมายส่วนใหญ่ การจัดหาวัตถุดิบและการ เตรียมกระบวนการผลิต สามารถทาได้ล่วงหน้า เครื่องจักรอุปกรณ์จะเป็นเคร่ืองมือเฉพาะงาน และ ผู้ผลิตถูกอบรมมาเพื่อทางานตามเฉพาะอย่าง เช่น การผลิตรถยนต์ การผลิตสบู่ การผลิตเคร่ืองแบบ นักเรียน วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 116 รูปท่ี 5.7 : การผลิตเพอ่ื รอจาหน่าย ท่มี า : https://www.prachachat.net/motoring/news-133156 6.1.3 การผลิตเพ่ือคาส่ังซื้อ (assembly-to-order) เป็นการนาช้ินส่วนท่ีจะ ประกอบเป็นสนิ ค้าสาเรจ็ รูปไดห้ ลายชนดิ มีลักษณะแยกออกเปน็ ส่วน เมื่อได้รับคาสัง่ ซ้ือจากลกู ค้า จงึ ทาการประกอบให้เป็นสินค้าตามลักษณะที่ลูกค้าต้องการ ได้แก่ การผลิตเคร่ืองใช้ไฟฟ้าหลายรุ่นท่ีมี การใช้อะไหลเ่ หมอื นกนั รูปท่ี 5.8 : การผลติ เพือ่ รอคาสั่งซอ้ื ทีม่ า : https://www.sanook.com/home/2557 6.2 แบง่ ตำมระบบกำรผลิตและปรมิ ำณกำรผลติ 6.2.1 การผลิตแบบโครงการ (Project Manufacturing) เป็นลักษณะการผลิต ผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่ ราคาแพง มีลักษณะเฉพาะตามความต้องการของลูกค้าเฉพาะราย เช่น การ สร้างทางด่วน การต่อเรือดาน้า การต่อเครื่องบิน การสร้างเข่ือน มีปริมาณการผลิตแต่ละคร้ังน้อย ผลิตครั้งเดียวและใชเ้ วลานาน การผลิตเกดิ ขึน้ ทสี่ ถานต้งั ของโครงการ วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 117 รปู ที่ 5.9 : การผลติ แบบโครงการ ทม่ี า : พชรภทั ร สธุ ารกั ษ์ (2559) 6.2.2 การผลิตแบบไม่ต่อเน่ือง (Job shop) เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ท่ีมีลักษณะ หลากหลายตามความต้องการของลูกค้า โดยมีปริมาณผลิตต่อคร้ังเป็นล็อต มีการเปล่ียนแปลง ผลิตภัณฑ์ค่อนข้างบ่อย และผลผลิตไม่มีมาตรฐานสูงมานัก เช่น การบริการคนที่เข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาล รปู ท่ี 5.10 : การผลติ แบบไม่ต่อเนอื่ ง ทีม่ า : https://workpointnews.com 6.2.3 การผลิตแบบกลุ่ม (batch production) เป็นการผลิตที่คล้ายกับการผลิต แบบไม่ต่อเนื่องมาก จนบางครั้งจัดเป็นการผลิตประเภทเดียวกัน แต่จะแตกต่างกันตรงท่ีมีการผลิต แบบกลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์ท่ีผลิตแยกเป็นกลุ่มๆ ในแต่ละกลุ่มจะผลิตตามมาตรฐาน เดียวกันท้ังล็อต ในขณะท่ีการผลิตแบบไม่ต่อเน่ืองจะมีลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย มากกว่า วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 118 6.2.4 การผลิตตามสายการประกอบ หรือการผลิตแบบไหลผ่าน (line-flow) เป็น การผลิตผลิตภัณฑ์ที่เหมือนกันในปริมาณมาก เช่น การผลิตรถยนต์ การผลิตปลากระป๋อง การผลิต เคร่อื งซกั ผ้า รูปท่ี 5.11 : การผลติ ตามสายการประกอบ ทม่ี า : http://www.dcarmagazine.com/ 6.5.5 การผลิตแบบต่อเนื่อง (Continuous Production) เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ ชนิดเดียวกันในปริมาณท่ีมากมายอย่างต่อเนื่อง โดยใช้เครื่องจักรเฉพาะอย่าง ซ่ึงมักจะเป็นการผลิต หรือแปรรปู ทรัพยากรธรรมชาติเป็นวัตถุดบิ เช่น การกล่ันน้ามนั การผลิตสารเคมี รปู ท่ี 5.12 : การผลติ แบบต่อเนื่อง ทมี่ า : http://ninhthuanit.com วัตถุประสงค์พื้นฐานของการผลิตจะคล้ายคลึงกัน ถึงแม้วัตถุประสงค์ของแต่ละองค์การใช้ บุคลากรท่ีมคี วามชานาญ และมีความสามารถพเิ ศษในการใชเ้ คร่ืองจักรอุปกรณ์ เพื่อใชท้ าการผลิตซึ่ง วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 119 ทกุ อยา่ งล้วนแต่เขา้ สู่กระบวนการแปรรปู วัสดุ หรอื วตั ถุดบิ ทมี่ ีราคาต่าใหเ้ ป็นสินค้า หรือผลติ ภัณฑ์ท่ีมี ราคาสูงขึน้ โดยการเพิม่ คุณค่าในทกุ ขน้ั ตอนของการแปรรูปหรอื กระบวนการผลิต 7. กระบวนกำรผลติ กระบวนการผลติ (Production Process) หมายถงึ ขน้ั ตอนการทางานด้านการผลิตและการ บริการท่ีแสดงถึงรายละเอียดลาดับขั้นตอนของการเปล่ียนสถานะ ปัจจัยนาเข้าให้เป็นผลผลิต องค์การต้องพิจารณาการผลิตให้เป็นกระบวนการที่ครอบคลุมต้ังแต่การส่งมอบ (Suppliers) ผ่าน กระบวนการต่างๆ ของการผลิตทั้งหมด เร่ือยไปจนสิ้นสุดถึงมือลูกค้า (Customers) โดยสามารถ ตรวจสอบคุณภาพ (Inspection) ที่จะทาให้ได้สินค้าท่ีมีคุณภาพดีสอดคล้องกับความต้องการของ ผบู้ ริโภค รูปที่ 5.13 : แผนภมู ิแสดงกระบวนการผลิตสนิ คา้ ขององค์การ ทม่ี า : http://www.pjw.co.th/molding.php วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 120 การบริหารการผลิตจะมีประสิทธิภาพเพ่ิมมากขึ้น เม่ือข้ันตอนกระบวนการผลิตไหลอย่าง ต่อเนื่องไม่ติดขัด และมีระบบท่ีง่ายๆ ไม่ยุ่งยาก โดยเฉพาะในการผลิตที่ย่ิงมีระบบย่อย หรือแยก ส่วนมากเทา่ ใด กจ็ ะมปี ัญหามากข้ึนเทา่ นน้ั กิจกรรมการผลิตมีขั้นตอนท่ีค่อนข้างยุ่งยาก จะเห็นได้จากการจัดการผลิตภัณฑ์ เคร่ืองจักร และอุปกรณ์ในการผลิต แหล่งกาเนิดพลังงาน การตลาด ช่องทางการจัดจาหน่ายและการส่งมอบ สนิ คา้ กจิ กรรมทัง้ หมดนจี้ ะแตกตา่ งกนั เทคโนโลยีท่ซี ับซอ้ น พนักงานจาเปน็ ตอ้ งมที กั ษะความชานาญ อยา่ งมาก การผลติ ลักษณะนี้จะผลิตได้อย่างรวดเร็ว ทันตอ่ เหตุการณ์ โดยมกี ารคานวณปจั จยั การผลิต อยา่ งมีประสิทธภิ าพ มลี กั ษณะการทางานสอดคล้องกัน การจดั การสินค้าคงคลงั และการควบคุมการ ผลิตจาเป็นต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญท่ีเข้าใจในสาขาเหล่านั้น ผู้บริหารการผลิตหรือผู้จัดองค์การจะต้อง มอบหมายความรับผิดชอบเก่ียวกับการผลิต หรือการปฏิบัติงานให้อยู่ในความดูแลของผู้เชี่ยวชาญ ด้านต่างๆ ฝ่ายที่สาคัญในองค์การ ได้แก่ ฝ่ายการตลาด ฝ่ายวิศวกรรม และฝ่ายการผลิต ซึ่งมักจะถูก แบ่งแยกหน้าที่ออกจากกันอย่างชัดเจน และทางานกันอย่างอิสระโดยไม่ขึ้นต่อกัน ปัญหาที่ฝ่าย การตลาดและฝ่ายวิศวกรรมต้องเผชิญโดยมากมักจะไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเอง ส่วนฝ่ายการผลิต มักจะสามารถแก้ปัญหาได้เอง ถ้าองค์การการผลิตขาดความสนใจระบบการผลิตไม่พิจารณาถึงความ จาเป็นทจี่ ะต้องมกี ารประสานงานรว่ มมือกันทั้งสามฝ่าย ผู้บริหารอาจคดิ ไมถ่ ึงว่าปญั หาท่เี กดิ ขนึ้ ในแต่ ละฝา่ ยจะเกดิ จากฝา่ ยอน่ื ๆ การแบง่ แยกหน้าทงี่ านของฝ่ายต่างๆ ออกจากกันเช่นน้ี จะปรากฏให้เห็น ไดท้ ่ัวไปทุกองค์การ แสดงให้เหน็ ว่า องคก์ ารการผลติ เหล่าน้ันขาดความเขา้ ใจในเร่ืองของกระบวนการ ผลิต และวิธีการเพมิ่ ผลผลิตอยา่ งแท้จรงิ 8. กำรเพิ่มผลผลิตโดยรวม การเพิ่มผลผลิตโดยรวม คือ ผลรวมของการเพ่ิมผลผลิตด้านต้นทุนและการเพ่ิมผลผลิตด้าน ทรพั ยากรบุคคล ซึง่ จะนาไปสู่ความมั่นคงขององค์การและของชาติโดยรวม การเพม่ิ ผลผลิตโดยรวมมี ปัจจัยสาคัญ 2 ประการ คอื วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 121 8.1 กำรเพิ่มผลผลิตของทุน (Capital Productivity) การเพ่ิมผลผลิตของทุน ส่วนหน่ึง ของการวัดการเพิม่ ผลผลิต คือ ดูจากจานวนรายได้ท่ีได้รับการลงทนุ โดยเปรยี บเทียบกบั เงนิ ทุนท่ีต้อง จา่ ยไป อัตราส่วนท่ใี ช้ในการพิจารณาดงั น้ี การเพ่มิ ผลผลิต = จานวนเงนิ ทีไ่ ด้รับ จานวนเงนิ ทนุ ทน่ี าไปลงทนุ การเพม่ิ ผลผลิตทุน ทาได้ 2 ลกั ษณะ คือ 8.1.1 เคร่ืองจักร (Machine) หมายถึง เครื่องจักรซึ่งเป็นอุปกรณ์ในการผลิตท้ัง ระบบอัตโนมตั ิ คอมพวิ เตอร์ ตลอดจนหุ่นยนตใ์ นการผลิต 8.1.2 เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนาเอาวิธีการต่างๆ มาใช้ในการ ผลิต ได้แก่ วิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์และการผลิต รวมท้ังการประยุกต์ใช้วิธีการทาง วิศวกรรม รูปท่ี 5.14 : การทางานของเครอ่ื งจักร ที่มา : http://oknation.nationtv.tv/blog/recommenddee/2014/05/27/entry-1 8.2 กำรเพิ่มผลผลิตกำลังคน เป็นการเพิ่มผลผลิตจากการใช้ทรัพยากรบุคคล ซึ่งมีปัจจัย สาคญั ไดแ้ ก่ 8.2.1 การวางแผนกาลังคน (Manpower Planning) คือ การวางแผนกาลังคนเพื่อ ประสิทธิภาพในการผลิตโดยจะกาหนดจานวนบุคลากร การใช้ประโยชน์จากบุคลากร การเพ่ิม วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 122 ศักยภาพของคน หากองค์การมีการวางแผนเรื่องกาลังคนไวอ้ ย่างเหมาะสม จะทาให้การปรับปรุงการ เพ่มิ ผลผลิตกส็ ามารถทาไดง้ า่ ย 8.2.2 สัมพันธภาพของพนักงานและฝ่ายจัดการ (Labor Management Relation) เป็นเรื่องที่จาเป็นสาหรับการเพ่ิมผลผลิต ถึงแม้ว่าองค์การจะมีเครื่องจักรท่ีดีและทันสมัยที่สุด พนกั งานได้รับการอบรมมาอย่างดีกต็ าม ถา้ หากความสมั พนั ธภาพระหวา่ งพนักงานกับฝ่ายจัดการไม่ดี การทางานก็อาจจะไมส่ าเรจ็ เท่าทค่ี วร 8.2.3 ทัศนคติในการทางาน (Work Attitude) เป็นการหาแนวทางท่ีจะทาให้ พนักงานทุกคนในองค์การมีทัศนคติท่ีดีในการทางานเห็นความสาคัญท่ีจะปรับปรุงการปฏิบัติงาน ตา่ งๆ ใหด้ อี ยู่เสมอ ถา้ หากพนักงานทุกคนมีทัศนคติที่ดีและมุ่งมั่นทีจ่ ะปรับปรุงการเพ่ิมผลผลิตจะเกิด ประโยชน์ต่อองค์การอย่างมาก ทัศนคติในการทางานจะเกี่ยวพันกับส่ิงต่างๆ คือ ความมีระเบียบวนิ ัย การตรงตอ่ เวลา การปฏิบตั ิตามกฎและการรักษาความสะอาดเรยี บร้อยของสถานที่ทางาน ความตั้งใจ ทจ่ี ะร่วมมือระหว่างพนกั งานและการทางานเปน็ ทีม 8.2.4 ระดับทักษะของแรงงาน (Level of Skill) ปัจจุบันสภาพแวดล้อมในการผลิต เปล่ียนแปลงไปเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการทางาน จึงจาเป็นท่ีจะต้องพัฒนา ให้การศึกษาข้ันพื้นฐานและทักษะท่ียากข้ึน เพ่ือให้พนักงานพร้อมท่ีรับเทคโนโลยีใหม่ๆ นามาใช้ผลิต สินค้าและบริการให้ดีข้ึน ดังนั้น การฝึกอบรมทักษะให้พนักงานมีความรู้ในหลายอย่าง (Multi Skill- Beside) เปน็ สง่ิ จาเป็นตอ่ การเพมิ่ ผลผลติ 8.2.5 การบริหารการเพิ่มผลผลิต (Productivity Management) การเพ่ิมผลผลิต จะตอ้ งมกี ารบริหารงานอย่างเป็นระเบยี บ มกี ฎมรี ะเบียบเพื่อให้การทางานเปน็ ไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และประสิทธิผล การบริหารกิจกรรมการเพ่ิมผลผลิตในองค์การจาเป็นต้องมีการวางแผน การ จัดรูปแบบวิธีการ การสื่อสาร การจูงใจ เพื่อรวมพลังความสามารถของบุคลากรในองค์การในการ พฒั นาปรับปรงุ การเพิม่ ผลผลิตอย่างต่อเนื่อง 8.2.6 การประกอบการ (Entrepreneurship) ลักษณะของผู้ประกอบการมีความ ชานาญ สามารถปฏิบัติการสร้างความคิดริเร่ิมใหม่ๆ สร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการใหม่หรือปรับปรุง ธรุ กจิ ในสภาพปจั จุบนั วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 123 จะเห็นได้ว่าท้ัง 6 การท่ีกล่าวมาน้ี จะส่งผลกระทบต่อการเพิ่มผลผลิต การเพ่ิม ผลผลิตโดยรวม เป็นผลของการเพ่ิมผลผลิตด้านทุนและทรัพยากรบุคคล ถ้าหากการเพิ่มผลผลิต โดยรวมของหนว่ ยงานดี ย่อมนาไปสู่การเพม่ิ ผลผลิตของอุตสาหกรรมและของชาติดีดว้ ยตามลาดับซ่ึง จะสง่ ผลดีตอ่ ทุกฝ่ายไมว่ า่ จะเป็นเจ้าของกิจการ พนกั งาน ผูบ้ รโิ ภคและรัฐบาล 9. ประโยชนจ์ ำกกำรเพม่ิ ผลผลติ ในองคก์ ำร ประโยชน์ท่ีได้รับจากการเพิ่มผลผลิตในองค์การ ซ่ึงสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน ไดด้ งั น้ีคือ 9.1 บุคลำกรหรอื พนักงำน ไดร้ ับประโยชน์จำกกำรเพ่มิ ผลผลติ ดงั นี้ คือ 9.1.1 ความมน่ั คงในการทางาน องคก์ ารทด่ี าเนินการเพม่ิ ผลผลิตหรือมนี โยบายเพ่ิม ผลผลิตองค์การน้ันจะให้ความสาคัญต่อบุคลากรหรือกับพนักงานทุกระดับ ทาให้พนักงานได้รับการ พัฒนาท้ังด้านความรู้ความสามารถ ในขณะเดียวกันความม่ันคงขององค์การก็ทาให้พนักงานมีความ มนั่ คงดว้ ย 9.1.2 การพัฒนาตนเอง กระบวนการเพิ่มผลผลิตและกิจกรรมการเพิ่มผลผลิต นอกจากประสิทธิภาพการทางานของบุคลากรแล้วยังทาให้เกิดการพัฒนาตนเองของบุคลากรด้วย เช่น กิจกรรมการศึกษาวิธีการทางาน (Method Study) กิจกรรม QCC การผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just in time) เปน็ ต้น 9.1.3 การทางานด้วยความสะดวกและความปลอดภัย เพราะเทคนิควิธีการเพิ่ม ผลผลติ ดา้ นเทคโนโลยจี ะชว่ ยสรา้ งความปลอดภยั ในการทางานให้กบั พนักงาน 9.1.4 ความภาคภมู ใิ จ ทไ่ี ด้เปน็ สว่ นหนงึ่ ขององคก์ ารท่ีมคี ณุ ภาพ 9.1.5 แรงจูงใจในการทางาน การสร้างสรรค์ผลงานคุณภาพ เพราะเกิดจากการเพิม่ ผลผลิตด้านกาลังคนขององค์การ ให้ความสาคัญต่อบุคลากรมีการจัดการด้านบุคลากร เปิดโอกาสให้ บคุ ลากรและพนกั งานทางานได้อยา่ งเต็มศักยภาพ 9.2 ประโยชน์ตอ่ องค์กำร 9.2.1 ผลกาไร ไม่ว่าจะเป็นการเพ่ิมผลผลิต โดยมีเป้าหมายการลดต้นทุนหรือการ เพิ่มคณุ ภาพของสินคา้ กส็ ามารถทาใหอ้ งค์การไดร้ บั ผลกาไรเพิ่มขึน้ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 124 9.2.2 ความม่ันคง องค์การทใ่ี ห้ความสาคัญต่อส่งิ แวดล้อมและจรรยาบรรณของการ ดาเนนิ ธุรกิจ องค์การยอ่ มไดร้ ับการยอมรับและเชอ่ื ถือจากลูกคา้ ผถู้ อื หุ้น และสงั คม 9.2.3 ความเช่ือม่ันของลูกค้า จากการเพ่ิมผลผลิตทางด้านเทคโนโลยีและด้าน บุคลากร ให้องค์การสามารถขายสินค้าและบริการท่ีมีคุณภาพตรงตามความต้องการของลูกค้า ทาให้ ลกู ค้ามคี วามเชือ่ ถือเชือ่ มนั่ ในองค์การ มีผลทาให้องค์การขายสนิ ค้าและบริการได้อยา่ งตอ่ เนื่อง 9.2.4 ความสามารถในการแข่งขัน ซึ่งข้ึนอยู่กับต้นทุนหน่วยงานหรืองค์การท่ีมี ประสิทธภิ าพ สามารถลดตน้ ทุน ทาให้องคก์ ารมีกาไรและสามารถสูก้ บั คู่แขง่ ขนั ได้ 9.3 ประโยชน์ตอ่ ประเทศชำติ 9.3.1 ได้รับภาษีเพ่ิมข้ึน ผลกาไรจากการประกอบการและการมงี านทาของบุคลากร ทาใหร้ ฐั สามารถเก็บภาษีได้เพิม่ 9.3.2 ความมัน่ คงทางเศรษฐกจิ ความมั่นคงของบคุ ลากรและขององคก์ าร คือ ความ มั่นคงของประเทศ เพราะองค์การเป็นหน่วยผลิตหนึ่งของประเทศ ซ่ึงผลผลิตขององค์การจะถูก คานวณเป็นผลผลิตมวลรวมประชาชาติ (GDP) ซึ่งใชเ้ ป็นตวั เลขวัดความมัน่ คงทางเศรษฐกิจ 9.3.3 ความมั่นคงทางสังคม บุคลากรมีงานทา มีความมั่นคงมีความปลอดภัย ก็ทา ใหส้ ังคมด้านประชากรไม่มปี ัญหาทางสงั คม 9.3.4 สร้างความเช่ือมั่นให้กับต่างประเทศ การเพ่ิมผลผลิตขององค์การในด้าน คุณภาพของสินค้าและบริการ การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภายในองค์การและภายนอกองค์การ ตลอดจนการดูแลทรัพยากรบคุ คลอย่างมีประสทิ ธภิ าพ เปน็ เงื่อนไขทางการค้าระหว่างประเทศ ทาให้ ต่างประเทศยอมรบั สนิ ค้าและยงั มีความเชือ่ มนั่ ท่จี ะเข้ามาลงทุนในประเทศดว้ ย สรุป การเพ่ิมผลผลิต หมายถึง อัตราส่วนระหว่างผลผลิตท่ีได้กับปัจจัยนาเข้า วัตถุประสงค์ที่ สาคัญของการเพ่ิมผลผลิต คือการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าบนพ้ืนฐานของความเป็นธรรมแก่ ผู้เก่ียวข้องและมีความรับผิดขอบต่อสังคม สภาพแวดล้อมภายนอก ส่งผลกระทบต่อการบริหาร องค์การและความสามารถในการบรรลุเป้าหมายของการผลิต ได้แก่ นโยบายของรัฐ ทรัพยากรท่ีใช้ คา่ นยิ มทางสังคมและวัฒนธรรม ซง่ึ ถือเปน็ ปัจจัยท่มี อี ทิ ธิพลตอ่ การเพ่ิมผลผลติ ในองค์การ วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 125 องค์ประกอบท่ีสาคญั ของการเพิ่มผลผลติ จะมอี งคป์ ระกอบอยู่ 7 ตวั ดว้ ยกัน คอื QCDSMEE การควบคมุ การผลติ คอื กิจกรรมกากบั ดูแลให้การทางานเป็นไปตามกระบวนการผลิตอย่างมี ประสิทธิภาพ มีขั้นตอนและวิธีการผลิตท่ีถูกกาหนดเป็นระยะของการควบคุม กระบวนการผลิตเป็น ข้ันตอนการทางานด้านการผลิตและการบริการที่แสดงถึงรายละเอียด ลาดับข้ันตอนของการ เปล่ียนแปลง ประเภทการผลิต คือ การแบ่งประเภทการผลิตตามลักษณะ หรือรูปแบบของกระบวนการ ผลิต ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทใหญ่ คือ การผลิตตามลักษณะเฉพาะของการผลิตภัณฑ์ และ การผลติ ตามระบบการผลติ และปริมาณการผลิต กระบวนการผลิต คือ ข้ันตอนการทางานด้านการผลิตและการบริการท่ีแสดงถึงรายละเอียด ลาดับขนั้ ตอนของการเปลย่ี นสถานะปจั จยั ใหเ้ ข้าเป็นผลผลติ การเพิ่มผลโดยรวม คือ ผลรวมของการเพ่ิมผลผลิตตน้ ทุนและการเพ่ิมผลผลิตด้านทรัพยากร บุคคล ซึ่งจะนาไปสู่ความม่ันคงขององค์การและของชาติโดยรวม การเพิ่มผลผลิตโดยรวมมีปัจจัย สาคัญอยู่ 2 ประการ คอื การเพิ่มผลผลติ ของทนุ และการเพ่ิมผลผลติ กาลังคน ประโยชน์ของการเพิ่มผลผลิตในองค์การ ซึ่งผู้ท่ีได้รับประโยชน์จากการเพิ่มผลผลิตใน องค์การ สามารถแบง่ ออกได้ 3 ส่วน คือ บคุ ลากรหรือพนักงานในองค์การ องค์การ และประเทศชาติ ที่ไดร้ บั ผลประโยชนจ์ ากการเพม่ิ ผลผลิตในองค์การ วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 126 บทที่ 6 กลยทุ ธก์ ำรเพม่ิ ประสิทธิภำพกำรทำงำนในองค์กำรและบรรยำกำศ กำรสรำ้ งแรงจูงใจในกำรทำงำน หวั เรอ่ื ง 1. ความหมายของกลยุทธ์ในองค์การ 2. การบรหิ ารเชงิ กลยทุ ธ์ 3. กลยุทธ์การบรหิ ารท่ีมีประสิทธภิ าพในองค์การ 4. บรรยากาศในองค์การกบั ความพึงพอใจในการทางาน 5. การสร้างบรรยากาศในองคก์ ารกับความก้าวหนา้ ของบุคคล 6. ความหมายของการจูงใจ 7. ทฤษฎกี ารจูงใจ 8. ความสาคญั ของแรงจูงใจในการทางาน จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เมอ่ื ศกึ ษาบทท่ี 6 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ 1. อธิบายความหมายของกลยุทธ์ในองคก์ ารได้ 2. อธิบายการบริหารเชิงกลยทุ ธ์ได้ 3. อธิบายกลยุทธก์ ารบรหิ ารที่มปี ระสทิ ธิภาพในองคก์ ารได้ 4. อธิบายบรรยากาศในองค์การกบั ความพงึ พอใจในการทางานได้ 5. อธบิ ายการสร้างบรรยากาศในองคก์ ารกบั ความก้าวหนา้ ของบุคคลได้ 6. บอกความหมายของการจงู ใจได้ 7. เลอื กทฤษฎกี ารจูงใจได้ 8. สามารถวางแผนการให้ความสาคญั ของแรงจงู ใจในการทางานได้ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 127 กลยทุ ธก์ ารเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานในองค์การด้วยการสร้างบรรยากาศ และแรงจูงใจ ในการทางานย่อมก่อให้เกิดความพอใจในการทางานและพัฒนาบุคคล นับว่าเป็นขั้นตอนแรกที่ ส่งเสริมให้พนักงานและองค์การมีโอกาสก้าวหน้าและมีส่วนร่วมในการทางานให้องค์การมากข้ึน เป็น การสร้างความรู้สึกในทางสร้างสรรค์และส่งเสริมให้พนักงานใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มท่ีเต็ม ความสามารถ และส่งผลให้องค์การบรรลุเป้าหมายได้อย่างสาเร็จ สามารถทาให้งานมีคุณภาพสูงข้ึน อย่างไรก็ตามกลยุทธ์การเพ่ิมประสิทธิภาพการทางานในองค์การควรกาหนดให้สอดคล้องกันทุกด้าน เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกัน ช่วยส่งเสริมกาลังใจในการทางาน เพราะรู้ว่าตนได้รับความเป็นธรรม ก่อใหเ้ กดิ ความม่ันคงในอาชพี และทกุ คนจะปฏิบัติงานเพอ่ื มุ่งหวังให้เกิดประโยชน์ต่องานมากทีส่ ดุ 1. ควำมหมำยของกลยทุ ธใ์ นองค์กำร องค์การทุกแห่งท่ีอยู่รอดเติบโตได้น้ัน จะต้องสามารถปรับตนเองให้เข้ากับเง่ือนไข สภาพแวดล้อมท่ีเปล่ียนแปลงเสมอ ท้ังน้ีด้วยเหตุผลจากการเกี่ยวข้องกันเป็นเชิงระบบนั้นเอง เพราะ ขณะใดขณะหนึ่งท่ีองค์การจัดตั้งขึ้นมานั้น สภาพภายในขององค์การจะจัดข้ึนโดยมีความสอดคล้อง และเข้าได้กับสภาพการณ์แวดล้อมในขณะน้ันมากท่ีสุด แต่เมื่อเวลาผ่านไป การเปลี่ยนแปลงของ สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวิทยาการใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา ในสภาพแวดล้อมภาย นอกน้ัน จะส่งผลกระทบถึงสภาพองค์การภายในที่เคยจัดไว้นั้นด้วย และการท่ีองค์การจะสามารถมี ประสิทธิภาพต่อไปได้ ก็ต่อเม่ือต้องมีการเปล่ียนแปลงให้เข้ากับเง่ือนไขใหม่ได้เสมอ การบริหาร องคก์ ารใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ จึงมเี รอื่ งท่ีสาคัญทีต่ ้องพิจารณา คอื 1.1 ผบู้ ริหารตอ้ งเข้าใจถงึ ลักษณะสภาพแวดลอ้ มทเ่ี ก่ียวข้องกับองคก์ าร 1.2 ผ้บู รหิ ารต้องเข้าใจว่า องค์การสมั พนั ธ์กับสภาพแวดล้อมอย่างไร โดยพจิ ารณาในแง่ของ การพจิ ารณาปจั จัยสาคญั ตา่ งๆ ตามความหมายของพฤตกิ รรมองค์การ แนวคิดการจัดการเชิงกลยุทธ์ สามารถนาไปใช้เป็นแนวทางให้องค์การก้าวไปในทิศทาง ท่ีเหมาะสม และให้องค์การมีวิธีการปฏิบัติงานให้ประสบผลสาเร็จเหนือคู่แ ข่ง ดังนั้นในการมี กระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์เพื่อเป็นพื้นฐานในการจัดการบริหารเชิงกลยุทธ์ในองค์การ จึงจาเป็น จะต้องมีความเขา้ ใจเกย่ี วกับแนวคิดกลยุทธใ์ นองค์การ (พิชิต เทพวรรณ, การจัดการทรพั ยากรเชิงกล ยทุ ธ์ กรงุ เทพฯ : ซเี อด็ ยูเคช่นั , 2554 ) หน้า 52 วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 128 คาว่า “กลยุทธ์” เป็นคาท่ีมีการกล่าวถึงกันบ่อย มีนักวิชาการได้ให้ความหมายคาว่า “กลยุทธ์” ดงั น้ี สเคอรเ์ มอฮอส์น (Schermerhorn, 2002) ให้ความหมายของ กลยทุ ธ์ คือ แผนแม่บทหรือ แผนปฏิบัติงานหลักที่สาคัญ ซ่ึงองค์การใช้เป็นส่ิงท่ีกาหนดแนวทางในการดาเนินงานในระยะยาว ตลอดจนเพ่ือใช้สาหรับการจัดสรรทรัพยากรเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ก่อให้เกิดความได้เปรียบทางการ แข่งขันที่ยั่งยืน ( พิชิต เทพวรรณ์, การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ด ยูเคช่นั จากัด(มหาชน), 2554) หน้า 9 พิตส์และไล (Pitts & Lei, 2005) ให้ความหมายของ กลยุทธ์ คือ ความคิด (ldeas) แผนงาน (Plan) การปฏิบัติการ (Action) ต่างๆ ท่ีองค์การนามาใช้ให้เกิดความสาเร็จเหนือกว่าคู่ แขง่ ขนั ตลอดจนกลยุทธน์ ้นั ออกแบบเพ่ือชว่ ยให้องค์การบรรลุผลสาเรจ็ และมีความได้เปรยี บทางการ แข่งขัน โดยความได้เปรียบทางการแข่งขันน้ันมาจากความสามารถที่องค์การจะทาให้โดดเด่นและ เหนอื กว่าคู่แขง่ ขัน จอห์น และโชเลส (Johnson & Scholes, 2006) ให้ความหมาย กลยุทธ์ คือ กรอบ หรือ ทิศทางขององค์การระยะยาว โดยมีการจัดสรรทรัพยากรท่ามกลางสภาวะแวดล้อมที่ท้าทายเพ่ือให้ เกิดประโยชน์กับองค์การ รวมถึงให้มีความสอดคล้องกับความต้องการทางตลาด และความคาดหวัง ของผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสียขององค์การ กลยุทธ์ในองค์การ หมายถึง การที่องค์การได้แสดงความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม โดยใช้ วิธีการบริหารท่ีองค์การเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมและเป็นแนวทางในการจัดสรรทรัพยากร โดยท่ี องค์การใชค้ วามสามารถพเิ ศษของตนที่มีอยู่ และทรพั ยากรที่เปน็ จุดแข็ง ตลอดจนความคิดความอ่าน ที่จะดาเนินประโยชน์จากสภาพแวดล้อมที่เปิดโอกาสน้ัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและก่อให้เกิดความ ได้เปรียบทางการแข่งขันที่ย่ังยืน สิ่งท่ีสาคัญย่ิงของกลยุทธ์คือ ในกลยุทธ์นั้นจะต้องมีองค์ประกอบ หลักๆ 3 องค์ประกอบ ได้แก่ เป้าหมาย วิธีการนาไปสู่เป้าหมาย และเคร่ืองมือ ที่จะทาให้บรรลุ วตั ถุประสงค์ วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 129 สถาบันการเงนิ พนักงาน และผลู้ งทนุ ราชการ องคก์ ำร สหภาพ ลูกคา้ กลุ่มผลประโยชน์ อืน่ ๆ คแู่ ขง่ ผู้ร่วมค้า ผู้สนองวัตถดุ บิ รูปที่ 6.1 กลยุทธ์กบั สภาพแวดล้อม ทม่ี า : สิฏฐากร ชูทรพั ย์, และมนัสชัย กีรตผิ จญ (2558) 2. กำรบริหำรเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) การบริหารงานในองค์การ ผูบ้ ริหารย่อมยึดหลักการและใหค้ วามสาคญั ในการบรรลุซ่งึ ความมี ประสิทธิผลขององค์การ (Organization Effectiveness) โดยหมายถึง การบริหารงานให้บรรลุ วัตถุประสงค์ขององค์การเพื่อพัฒนาองค์การให้ทันการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม และใน ขณะเดยี วกนั ยงั ต้องบรรลุซ่งึ ประสิทธิภาพขององคก์ าร (Organization Efficiency) โดยหมายถึง การ บรรลุเป้าหมายขององค์การโดยใช้ทรัพยากรทางการจัดการท่ีเหมาะสมหรือน้อยท่ีสุด ซ่ึงการบริหาร เชงิ กลยทุ ธ์ (Strategic Management) สามารถทาใหอ้ งค์การบรรลซุ งึ่ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล การบริหารเชิงกลยุทธ์ เป็นเรื่องของกระบวนการลาดับขั้นตอนต่างๆ ในการปฏิบัติท่ีต้องใช้ ทัง้ ศาสตร์และศลิ ป์ในการดาเนนิ งานของผู้บรหิ าร เพอ่ื ให้เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ และบรรลุวิสัยทัศน์ ขององค์การ ซ่ึงในการกาหนดแนวทางและทิศทางในการดาเนินงานองค์การจะถูกกาหนดข้ึนโดย หัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์การน้ันๆ และจาเป็นจะต้องมีการวิเคราะห์และประเมินปัจจัยต่างๆ วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 130 ที่เกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกในองค์การ เพื่อกาหนดวิธีการทางานเพ่ิมเติม จากเดิม หรือที่เรียกว่า “กลยุทธ์” พร้อมท้ังจัดทากิจกรรมแผนงาน หรือโครงการให้สอดคล้องในแต่ ละ กลยุทธ์ เพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานขององค์การที่จะให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ การบรหิ ารเชงิ กลยุทธ์ ประกอบด้วยข้ันตอนหลักในกระบวนการบรหิ ารเชงิ กลยทุ ธ์ ดงั น้ี คอื 2.1 ข้ันตอนกำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมเชิงกลยุทธ์ เป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่จะ สะทอ้ นใหเ้ ห็นภาพขององค์การในดา้ นต่างๆ ท้ังภายในและภายนอกองค์การ ซึ่งสภาพแวดล้อมเหลา่ นี้ ส่งผลกระทบต่อความได้เปรียบในเชิงธุรกิจได้ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเชิงกลยุทธ์ถือว่าเป็น กระบวนการเริ่มแรกของการบริหารเชิงกลยุทธ์ ซ่ึงในการวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์จะประกอบด้วย กจิ กรรมทส่ี าคญั ดงั นีค้ ือ 2.1.1 วิสัยทัศน์ (Vision) หมายถึง ความคาดหวังในอนาคตขององค์การที่ต้องการ จะเป็น โดยมิได้กาหนดวิธีการไว้เป็นข้อความท่ีเป็นทิศทางในการกาหนดพันธกิจขององค์การ ซึ่งเป็น สถานภาพอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายๆ อย่าง ที่องค์การมุ่งหมาย มุ่งหวัง หรือประสงค์จะเป็นหรือ จะมใี นอนาคต 2.1.2 พันธกิจ (Mission) หมายถึง การกาหนดขอบเขตของงานหรือบทบาทหน้าที่ อยา่ งกว้างๆ ทีอ่ งค์การต้องทาเพ่อื ให้บรรลุวสิ ยั ทศั น์กาหนดไว้ 2.1.3 เป้าประสงค์ (Goal) หมายถึง การกาหนดสิ่งที่ตอ้ งการในอนาคต ซึ่งองค์การ จะต้องพยายามให้เกิดขึ้นหรือผลลัพธ์ หรือผลสาเร็จท่ีองค์การบรรลุซ่ึงผลลัพธ์ หรือการบรรลุ เป้าประสงค์ เป็นหน้าที่หลักขององค์การ จะต้องสอดคล้องกับพันธกิจที่กาหนดไว้ และหน่วยย่อยใน องคก์ ารควรมวี ตั ถปุ ระสงค์หรอื เป้าประสงค์ของตนเองท่ีชัดเจน และสอดคล้องสนับสนุนซงึ่ กันและกนั 2.1.4 เป้าหมาย (Target) หมายถึง เกณฑ์ที่กาหนดไว้เพ่ือใช้เป็นกรอบในการ ปฏิบัติและวัดผลสาเร็จของกิจกรรม แผนงาน หรือโครงการ ท่ีคาดว่าจะทาได้ภายในระยะเวลา ที่กาหนด หรอื ผลผลิตที่ตอ้ งทาให้สาเรจ็ เพือ่ บรรลเุ ป้าประสงค์ 2.1.5 วัตถุประสงค์ (Objectives) หมายถึง สิ่งท่ีองค์การต้องการให้บรรลุต้ังแต่ ระยะส้นั จนถึงระยะยาว ทเ่ี ปน็ วตั ถปุ ระสงค์สงู สดุ ขององค์การ วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 131 2.1.6 นโยบายขององค์การ (Organization Policy) หมายถึง แนวทางกว้างๆ ท่กี าหนดขนึ้ เพ่ือช่วยผู้บริหารในการพิจารณาเป้าหมายะและเปา้ ประสงค์ หรือวัตถุประสงค์ ตลอดจน กาหนดแนวทางการปฏบิ ัติและการควบคมุ 2.2 กำรวำงแผนกลยุทธ์ (Strategic planning) หมายถึง การจัดวางแนวทางหรือวิธีการ ทางานท่ีดีที่สุด เพ่ือให้องค์การบรรลุเปา้ ประสงค์ พันธกิจ และวิสัยทัศน์ที่กาหนดไว้ กลยุทธ์จึงเปน็ ส่งิ สาคัญสาหรับทุกองคก์ าร โดยกลยุทธข์ องแตล่ ะองค์การจะถกู กาหนดตามลักษณะพน้ื ฐานขององค์การ น้ันๆ การวางแผนกลยุทธ์ ควรเร่มิ ดว้ ยการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมขององค์การ เน่อื งจาก องค์การต่างๆ มีปฏิสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ดังน้ัน ผู้บริหารจึงจาเป็นต้อง พิจารณาปัจจัยสนับสนุน หรืออุปสรรคต่อการดาเนินงาน และปัจจัยจุดเด่นจุดด้อยตอ่ การดาเนินงาน กจิ กรรมในการวางแผนกลยุทธข์ ององค์การ ประกอบดว้ ย 5 สว่ น ดงั น้ี คอื 2.2.1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ ซึ่งผู้บริหารจะต้องมีการ ตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ เพ่ือประเมินโอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Threats) 2.2.2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์การ ผู้บริหารจะต้องตรวจสอบ สภาพแวดล้อมภายในองคก์ ารและประเมนิ จุดแข็ง (Strengths) และจดุ ออ่ น (Weakness) 2.2.3 การสรุปโอกาส อุปสรรค จุดแข็ง และจุดอ่อน (SWOT Analysis) หลังจาก ทาการวเิ คราะห์ปจั จัยภายนอกและภายในองคก์ ารแลว้ ตอ้ งประมวลข้อมลู ทั้งสองเขา้ ดว้ ยกัน 2.2.4 การกาหนดกลยุทธ์ (Strategy formulation) หมายถึง การหาแนวทาง หรือวิธีการทางานท่ีดีที่สุด เพ่ือให้บรรลุเป้าหมาย เป้าประสงค์ พันธกิจ และวิสัยทัศน์ที่องค์การได้ กาหนดไว้ 2.2.5 การทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และเป้าประสงค์ เพ่ือให้องค์การ ก้าวไปสู่เป้าหมายได้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม ผู้บริหารจะต้องนาข้อมูลด้านต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับ กลยุทธ์มาทบทวนวิสัยทัศน์ขององค์การ พันธกิจ เป้าหมาย และเป้าประสงค์ขององค์การอีกครั้งว่ามี ความสอดคลอ้ งกับกลยทุ ธ์ทีจ่ ะดาเนินการแค่ไหน เพยี งใด วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 132 2.3 กำรนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ (Strategic Implementation) การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ ถือเป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงกลยุทธ์ที่จัดทาข้ึน นาไปสู่การปฏิบัติจริงเพ่ือให้เกิดผลลัพธ์ตามท่ี ตั้งเป้าหมายไว้ โดยการนากลยุทธ์ท่ีกาหนดไว้ไปสู่การปฏิบัติด้วยการจัดทาเป็นกิจกรรม โปรแกรม แผนงาน หรอื โครงการ ท่จี ะตอ้ งดาเนินการ ซ่ึงประกอบด้วยงานทีจ่ ะต้องทา เวลาดาเนินการ ผ้ปู ฏบิ ัติ หรือผู้รับผิดชอบ งบประมาณ ตัวช้ีวัด โดยมีโครงสร้างขององค์การ ระบบงาน เทคโนโลยีรับรอง ซึ่ง การนากลยุทธ์ไปปฏิบัติมีความยากกว่าการจัดกลยุทธ์ เพราะการนากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติต้องอาศัย ความร่วมมอื จากหลายๆ ฝา่ ย ความสาเรจ็ ของการนากลยทุ ธ์ไปปฏบิ ตั ิขน้ึ อยกู่ ับปจั จัย 2 อย่าง คือ 2.3.1 องคก์ ารมรี ะบบการจดั การทีด่ ี 2.3.2 บคุ ลากรมคี วามรูค้ วามสามารถ ผ้บู รหิ ารทกุ ระดบั จะต้องคิดอยู่ตลอดเวลาว่า “มงี านอะไรในความรับผิดชอบของตน ตามแผนกลยุทธ์ที่ต้องทาบ้าง และควรทาอะไรเพ่ือให้สิ่งนั้นบรรลุผลสาเร็จ” โดยผู้บริหารจะต้องให้ พนักงานทุกคนทราบอย่างชัดเจน และต้องจูงใจให้พนักงานทุกระดับยอมรับการเปล่ียนแปลงท่ีจะ เกิดข้ึน เพราะการปฏิบัติตามกลยุทธ์จะมีลักษณะท่ีเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในงานประจาวัน (Day- To-Day Decision) ในการจดั สรรทรพั ยากรเพ่ือนาไปใช้ในการดาเนนิ งานให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ 2.4 กำรควบคุมประเมินผลกลยุทธ์ (Strategic control and evaluation) เป็นข้ัน สุดท้ายในการบริหารเชิงกลยุทธ์ เพื่อตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนกลยุทธ์ที่ กาหนดไว้ว่า บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนดไว้หรือไม่ ในระหว่างการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ จะต้องมีการควบคุมกากับดูแลติดตามความก้าวหน้า หากพบปัญหาหรืออุปสรรคต่างๆ จะได้แก้ไขได้ ทันท่วงที ตลอดจนมีการประเมินผลสาเร็จของกลยุทธ์เป็นระยะๆ เพ่ือเป็นข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ไปยังขั้นตอนวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ การวางแผน และการนาไปปฏิบัติ เคร่ืองมือท่ีใช้ใน การบรหิ ารเชงิ กลยุทธ์ หรือใช้ในการบรหิ ารองค์การมีมากมาย แต่ทีน่ ยิ มนามาใช้กันอย่างแพร่หลายใน ปัจจบุ ัน มีดงั นี้ คอื 2.4.1 Balanced Scorecard เป็นเคร่ืองมือทางการที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน เป็นระบบที่เข้ามาทดแทนระบบการวัดผลการดาเนินงานทางการเงินแบบเก่าเพียงอย่างเดียว เป็น ระบบท่ีทุกหน่วยงานขององค์การมีส่วนเกี่ยวข้องเป็นเครื่องมือท่ีใช้ในการถ่ายทอดวิสัยทัศน์ของ องคก์ ารลงไปสู่เป้าหมายในระดับต่างๆ จนถึงการปฏิบัติ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 133 2.4.2 Benchmarking เป็นกระบวนการค้นหาวิธีปฏิบัติงานที่ดีที่สุด โดยการ เปรยี บเทียบกบั องค์การอื่นๆ ซ่ึงมีจุดม่งุ หมายให้ผเู้ รยี นรู้ในส่ิงท่ีผอู้ ่ืนทาและประสบความสาเรจ็ มาแล้ว นามาประยกุ ต์ใชใ้ นองค์การของตนเอง อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าการควบคุมและการประเมินผลกลยุทธ์ จะเป็นองค์ประกอบ หลักสาคัญในข้ันสุดท้ายของกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ แต่การดาเนินงานในข้ันตอนนี้จะช่วย ช้ีให้เห็นถึงข้อบกพร่องของแผนกลยุทธ์ท่ีได้นาไปปฏิบัติแล้ว ตลอดจนยังเป็นส่ิงท่ีกระตุ้นระบบการ บริหารงานใหม่ท่ัวท้ังองค์การให้เริ่มต้นการดาเนินงานใหม่อีกคร้ังเพ่ือให้การควบคุมและการ ประเมนิ ผลไดอ้ ยา่ งอย่างแท้จรงิ 3. กลยทุ ธก์ ำรบริหำรทม่ี ีประสิทธิภำพในองค์กำร กลยุทธ์การบริหารในองค์การท่ีเป็นที่ยอมรับน้ัน หมายถึง ผู้บริหารสามารถผ่านปัญหาการ บริหารในภาวะวกิ ฤตได้ เพราะในปัจจบุ ันการบริหารองค์การ ผู้บริหารต่างก็ประสบกับปัญหาตา่ งๆ ที่ ยุ่งยาก มากกว่าแต่ก่อน วิกฤตการณ์ต่างๆ ที่เกิดข้ึนในสภาพแวดล้อมได้ส่งผลกระทบทาให้ ประสิทธิภาพการบริหารงานขององค์การตกต่าลงไปจากเดิมเป็นอันมาก ปัญหาหลักๆ ท่ีผู้บริหาร ทงั้ หลายได้กาลงั เผชญิ อยู่ คือ ปัญหาประสิทธภิ าพทางการบริหาร โดยเฉพาะในด้านเกยี่ วกบั ผลผลิตท่ี ไม่ได้คุณภาพ กลยุทธ์การบริหารที่มีประสิทธิภาพจึงจาเป็นต้องสมบูรณ์ตามความหมายของการ บริหาร คือ การมีประสิทธิผล (Effectiveness) ที่สามารถกาหนดเป้าหมายท่ีดี และสามารถบรรลุ สาเร็จในเปา้ หมายนัน้ ได้ และการมปี ระสิทธิภาพ (Efficiency) ทีส่ ามารถทาสาเรจ็ ตามเปา้ หมายโดยมี ต้นทุนที่ต่าท่ีสุดด้วย ดังน้ันลักษณะของกลยุทธ์ การบริหารที่มีประสิทธิภาพที่จะทาให้การบริหารใน องค์การประสบความสาเร็จได้อย่างดีขึ้นทุกสถานการณ์ และทุกเงื่อนไขของสภาพแวดล้อมนั้น จะมี ลักษณะดงั น้ี คือ 3.1 เป็นกำรบริหำรที่กระทำอย่ำงเป็นระบบ การบริหารงานในกระบวนการต่าง ๆ อย่าง เป็นระบบจะช่วยให้องค์การบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพโดยการนา กระบวนการต่างๆมาเรียบเรยี ง วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 134 3.2 เป็นกำรบริหำรท่ีพร้อมสมบูรณ์ด้วยแผนงำนท่ีมีประสิทธิภำพ ท่ีสามารถระบุ เปา้ หมายทช่ี ัดเจน มีแผนงานที่มีประสิทธิภาพเป็นแผนทเ่ี กดิ ขน้ึ ได้โดยการให้ผู้ปฏิบตั ิงานได้มีสว่ นร่วม ในการพจิ ารณากาหนดเปา้ หมายองคก์ ารด้วย 3.3 เป็นกำรบริหำรท่ีพร้อมสมบูรณ์ด้วยเทคนิคกำรจัดทำแผน การวัดผล การจูงใจ การ ควบคุม การพัฒนา นักบริหาร และการสามารถแสวงหาผลประโยชน์จากสภาพแวดล้อมที่ เปล่ียนแปลงอีกด้วย ท้ัง 3 ลักษณะของกลยุทธ์ท่ีมีประสิทธิภาพในองค์การข้างต้น สามารถท่ีจะนามาพิจารณา จัดทาเปน็ กลยทุ ธ์การบริหารในทางปฏบิ ตั ิ โดยอาจจะแยกเปน็ กลยุทธ์การบริหาร ไดด้ ังน้ี คือ 1) ใช้วิธีการบริหารอย่างเป็นระบบ อาศัยการบริหารโดยเป้าหมาย (Management by Objective : MBO) เป็นเครอื่ งมือ 2) ใช้แผนกลยุทธ์ เป็นเครอ่ื งมอื เสรมิ สร้างประสทิ ธิภาพผลผลิตระยะยาว 3) ใช้โครงสรา้ งเป้าหมายผลสาเร็จเป็นตวั เร่งผลผลิต 4) อาศยั กระบวนการร่วมกันวางแผน และตง้ั เป้าหมาย เพ่ือให้พนักงานมีสว่ นรว่ ม ผูกพันต่อ เปา้ หมายผลสาเร็จ 5) ใชว้ ิธจี งู ใจคนเพ่ือให้เกดิ การเพ่มิ ผลผลิต 6) ใช้ระบบการควบคมุ แบบสร้างสรรค์ 7) เพิ่มประสิทธิภาพ ด้วยการสร้างขวัญและกาลังใจ ให้โอกาสก้าวหน้าในหน้าท่ีงานบรหิ าร แก่บุคลากร 8) เพ่ิมประสิทธิภาพ ในการว่างแผนทรัพยากรบุคคล และพัฒนาความสามารถทางการ บรหิ าร 9) ใช้กลยทุ ธเ์ พม่ิ ประสิทธิภาพจากการบรหิ ารพฤติกรรมองค์การโดยส่วนรวม 10) เพิ่มประสิทธิภาพ การบรหิ ารโดยให้สอดคล้องกบั ปัญหาที่จะเกดิ ข้ึนในอนาคต กลยุทธ์การบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ ตามที่ได้กล่าวมาแล้วน้ัน คือการบริหารเชิงรวมท่ีเป็น ภารกจิ ทางการบริหารของผ้บู รหิ ารที่มอี ยูเ่ ปน็ พิเศษ คือ 1) การใช้วิธีการบริหารแบบมุ่งหมายเป็นสาคัญ ทั้งนี้เพราะในภาวะเศรษฐกิจท่ีประสบ ปัญหาวิกฤตนั้น ประสิทธิภาพผลผลิตจะเป็นเรื่องสาคัญอย่างยิ่งท่ีนักบริหารจะต้องวัดผลและติดตาม วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 135 ผลตลอด การตั้งเป้าหมายผลสาเร็จท่ีต้องการและการติดตามผลงานที่ทาได้ต่างๆ ก็ต้องอาศัย เปา้ หมายเป็นเครอื่ งมือทีจ่ ะขาดเสยี ไม่ได้ 2) การจัดระบบการวางแผนที่สมบูรณ์ ทั้งน้ีเพ่ือให้องค์การมีความเข้มแข็งจากการมีระบบ วางแผนกลยุทธ์สาหรับระยะยาว รวมท้ังการมีระบบการวางแผนที่สามารถระบุเป้าหมายผลสาเร็จ ตา่ งๆ ทสี่ ามารถนามาใชบ้ ริหารงาน 3) การจัดระบบการบริหารงานขั้นปฏิบัติท่ีดีพร้อม คือ การใช้ระบบการวัดผล ประเมินผล การจงู ใจทรัพยากรบุคคล ตลอดจนระบบการควบคุมเพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือที่เหมาะสมสาหรับการสร้าง ประสทิ ธภิ าพผลผลติ ให้สูงข้นึ ได้ตลอดเวลา 4. บรรยำกำศในองค์กำรและควำมพึงพอใจในกำรทำงำน บรรยากาศในองค์การ (Organization Climate) หมายถึง ความรู้สึกของบุคลกรในองค์การ ต่อปัจจัยต่างๆ ในองค์การ หรืออีกนัยหนึ่งคือการรับรู้ของบุคลากรในองค์การต่อสภาวะแวดล้อมใน การทางาน ถ้าบรรยากาศหรอื Climate ในการทางานมคี วามเหมาะสมจะสง่ ผลต่อการจูงใจ บคุ ลากร ภายในองค์การทุกคนย่อมอยากทางานให้ได้ผลดีที่สุด แต่ถ้าในองค์การมีบรรยากาศไม่ดีแล้วย่อมทา ให้บุคลากรในองค์การไม่รู้สึกจูงใจที่จะทางาน ซ่ึงเปรียบเสมือนองค์การท่ีอากาศไม่ดี ท้องฟ้ามืดคลึ้ม อยู่ตลอดเวลา บุคลากรภายในองค์การก็อยากที่จะพักผ่อนหลบฝนไม่มีใครอยากทางาน ดังน้ันส่ิงท่ี สง่ ผลตอ่ บรรยากาศและความพงึ พอใจในการทางาน มดี งั น้ี คอื รปู ที่ 6.2 บรรยากาศในห้องทางาน ท่ีมา : http://thelaunchlab.co/images-of-office-space/ (2018) วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 136 4.1 องค์ประกอบของบรรยำกำศในองคก์ ำร 4.1.1 ด้านโครงสร้าง (Structure) ซึ่งในที่น้ีไม่ได้หมายถึงโครงสร้างขององค์การ เพียงอย่างเดียว แต่จะพิจารณาว่าบุคลากรรู้สึกว่ามีความชัดเจนในบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบ หรือไม่ ปัจจัยด้านโครงสร้างจะดีถ้าพนักงานมีความรู้สึกว่างานของทุกคนมีความชัดเจน และจะมี ความรู้สึกท่ีไม่ดี ถ้าบุคลากรมีความสับสนในงานที่ต้องทา และการตัดสินใจท่ีเกิดข้ึนว่าใครต้องเป็น ผรู้ บั ผิดชอบ 4.1.2 ด้านมาตรฐาน (Standards) ครอบคลุมถึงการที่พนักงานมีความภูมิใจใน งานที่ทาอยรู่ วมถึงความต้องการทจี่ ะยกมาตรฐานการทางานให้สงู ขึ้น ถา้ ระดบั ของมาตรฐานสงู แสดง ว่าพนกั งานมกี ารแสวงหาทางในการปรับปรงุ การทางานใหด้ ีขนึ้ อย่างตอ่ เน่ืองตลอดเวลา 4.1.3 ดา้ นความรับผิดชอบ (Responsibility) สะทอ้ นถึงความรู้สึกของพนักงานว่า สามารถทางานและรับผิดชอบงานได้โดยอิสระด้วยตนเองหรือไม่ หรือการเป็นเจ้านายของตนเองไม่ ตอ้ งคอยใหใ้ ครมาตรวจซา้ ถึงการทางานหรือการตัดสินใจทไี่ ด้ทาไป 4.1.4 ด้านการได้รับการยอมรับ (Recognition) สะท้อนว่าพนักงานมีความรู้สึกว่า รางวัล หรือผลตอบแทนท่ีได้รับเหมาะสมกับงานท่ีได้ทาหรือไม่ ถ้าระดับการยอมรับสูงแสดงว่า พนักงานในองค์การรู้สกึ วา่ มีความสมดลุ ระหวา่ งงานท่ีทาทาไปกบั ผลตอบแทนที่ไดร้ ับ 4.1.5 ด้านการได้รับการยอมรับ (Support) สะท้อนถึงความรู้สึกท่ีไว้เนื้อเช่ือใจ และการได้รับการสนบั สนุนในกลุ่มระดบั การสนับสนุนจนสูงถา้ พนักงานมีความรู้สึกวา่ ตนเองเป็นส่วน หน่ึงของทีมงาน และจะรู้สึกว่าจะได้รับการช่วยเหลือเมื่อต้องการ ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อขวัญและ กาลงั ใจในการทางาน 4.1.6 ด้านความมุ่งมั่น (Commitment) สะท้อนถึงความภาคภูมิใจท่ีได้เป็นส่วน หน่ึงขององค์การ และความมุ่งมั่นที่จะทางานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ ระดับของความ มุง่ ม่ันแสดงวา่ บุคลากรมคี วามภกั ดตี ่อองค์การ 4.2 ปัจจัยทสี่ ่งผลตอ่ บรรยำกำศในองค์กำร 4.2.1 พฤติกรรมของผู้นา (Leadership Practices) ถือเป็นปัจจัยท่ีมีความสาคัญ สูงสุดที่ส่งผลกระทบต่อบรรยากาศขององค์การ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤติกรรมและทัศนคติของ ผูบ้ รหิ ารท่ีบุคลการรบั รู้ วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 137 4.2.2 การจัดการภายในองค์การ (Organization Arrangements) เป็นปัจจัย สาคัญอันดับสองต่อปัจจัยด้านผู้นา ปัจจัยด้านน้ีจะครอบคลุมทุกอย่างท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารการ จัดการภายในองค์การไม่ว่าจะเป็นเรื่องการออกแบบงาน ระบบการให้รางวัลผลตอบแทน นโยบาย และวิธีการในการทางานต่างๆ ท่ีได้มีการกาหนดออกมาเป็นมาตรฐาน รวมถึงสถานที่และทาเลของ การทางานภายในองค์การ 4.2.3 กลยุทธ์บรรยากาศในการทางาน จะได้รับผลกระทบจากกลยุทธ์ขององค์การ โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้ากลยุทธ์มีความชัดเจน และสามารถสื่อสารให้พนักงานได้รับทราบต่อกลยุทธ์นน้ั และในขณะเดียวกันการขาดกลยทุ ธ์ท่ีชดั เจนกส็ ่งผลตอ่ บรรยากาศในการทางาน 5. กำรสร้ำงบรรยำกำศในองค์กำรกบั ควำมกำ้ วหนำ้ ของบคุ ลำกร การสร้างบรรยากาศในองค์การกับความก้าวหน้าของบุคลากร การพัฒนาองค์การจาเป็นต้อง มีลาดับข้ันตอนในการดาเนนิ งาน เพือ่ นาไปสู่ความสาเร็จขององค์การ ซงึ่ พอสรุปไดด้ งั ต่อไปน้ี 5.1 องค์กำรควรจะกำหนดแผนระยะยำว ซ่ึงในแผนน้ันจะต้องมีเป้าหมาย และ วัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะเจาะจง รัดกุม ชดั เจน 5.2 องค์กำรจะต้องกำหนดควำมต้องกำรด้ำนกำลังคนจำกวัตถุประสงค์และเป้ำหมำย เพอ่ื บคุ ลากรปัจจุบนั จะไดเ้ ตรยี มตัว หรอื อาจแสวงหาความรเู้ พ่ิมเตมิ เพื่อความก้าวหน้าในการทางาน ของเขา 5.3 องค์กำรควรทำกำรสำรวจบุคลำกรที่มีอยู่ เพ่ือจะได้รู้ว่าปัจจุบันมีกาลังคนท่ีมีลักษณะ และคุณสมบัตอิ ยา่ งไร 5.4 องค์กำรควรคำนึงถึงกำลงั คนที่มีอยู่ปัจจุบัน กับความต้องการกาลังคนขององค์การใน กิจการงานที่สาคัญต่างๆ เพ่อื จะไดจ้ ัดคนใหเ้ หมาะสมกบั งานหรือหนา้ ท่ี 5.5 องคก์ ำรควรจะกำหนดโครงกำรฝกึ อบรมตำมควำมต้องกำร เพอ่ื ส่งเสริมบุคลากรให้มี ความก้าวหน้าในการทางาน หรือปรับตัวให้ทันกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ หรือการสรรหาบุคลากร เพ่มิ เตมิ ตามความจาเปน็ ขององค์การ 5.6 องค์กำรควรจะส่ือสำรบอกกล่ำวให้บุคลำกรรู้ควำมต้องกำรกำลังคนประเภทต่ำงๆ เพ่อื ใหบ้ ุคลากรได้มีความกระตือรือรน้ ในการพัฒนาตนเองเสมอ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 138 5.7 องค์กำรควรจัดรับสมัคร สัมภาษณ์ คัดเลือก และตระเตรียมบุคลากรให้อยู่ในสภาพ พร้อมท่ีจะทางาน จัดทาคาบรรยายลักษณะงานไว้อย่างชัดเจน วางแผนงานให้เหมาะสมตามสภาพ กาลงั คนทมี่ ีอยู่ และท่รี ับเข้ามาใหม่ 5.8 องคก์ ำรควรมีระบบตรวจสอบกำรส่อื สำรภำยใน เพ่อื รกั ษาบรรยากาศขององค์การ รปู ที่ 6.3 การทางานอย่างมีความสขุ ท่มี า : https://www.sandler.com/blog/25-real-teamwork-tips-for-managers (2018) 6. ควำมหมำยของกำรจงู ใจ เพราะเหตุใดมนุษย์หรือสัตว์แสดงพฤติกรรมอยู่เสมอมาตั้งแต่เกิดจนตาย คาตอบเพราะมี แรงผลักดัน อานาจความอยากความต้องการ หรือพลังขับชักจูง กระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรม ออกมา กระบวนการต่างๆ ท่ีร่างกายและจิตใจถูกกระตุ้นจากส่ิงเร้าจะทาให้เกิดการแสดงออกของ พฤติกรรมเพือ่ ทจ่ี ะบรรลจุ ุดมุ่งหมาย ซึง่ ผบู้ ริหารหรอื ผนู้ าต้องมีความรแู้ ละความเข้าใจในหลกั การและ เทคนคิ จูงใจ (กัลยา สดุ แดน, การบริหารคณุ ภาพในองค์การ กรุงเทพฯ : บริษทั ศนู ย์หนงั สอื เมืองไทย จากัด, 2558 ) หนา้ 85 มอสเลย์ เพทรี่ และเม็กดินสัน (Mosley, Pietri and Megginson) อ้างใน (ณัฎฐพันธ์ เขจรนันท์, พฤติกรรมองค์การ กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด, 2551 ) หน้า 80 กล่าวถึง เป้าหมายขัน้ พื้นฐานของการจงู ใจทางการจดั การไว้ 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1) เพ่ือดึงดดู พนักงานทีม่ ศี ักยภาพใหร้ ่วมงานกบั องคก์ าร 2) เพอื่ กระตุ้นพนกั งานใหป้ ฏิบัติงานและสรา้ งผลงานที่มปี ระสทิ ธิภาพ วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 139 3) เพ่ือรักษาพนักงานที่มีความสามารถให้อยู่กับองค์การ การจูงใจ เป็นกระบวนการชักจูง เร้าใจ ท่ีเกิดขึ้นในตัวบุคคล และทาพฤติกรรมต่างๆ โดยท่ี ตัวเองปรารถนา หรอื ทาพฤติกรรมตามท่ีผ้จู ูงใจคนอื่นอยากทาใหก้ ็ได้ แรงจงู ใจ คือ พลังหรือแรงภายในของบุคคล ที่ทาให้เกิดพฤติกรรมและควบคุมแนวทางของ พฤตกิ รรมให้บรรลจุ ดุ มุ่งหมาย 6.1 แรงจูงใจจะเกยี่ วขอ้ งกบั องค์กำร 6.1.1 แรงจูงใจ เป็นกลไกท่ีไปกระตุ้น พลังของร่างกายให้เกิดการกระทา 6.1.2 แรงจงู ใจ เป็นแรงบงั คบั ให้กบั พลังของร่างกายท่จี ะกระทาอย่างมีทศิ ทาง 6.2 ลกั ษณะสำคัญของแรงจงู ใจ 6.2.1 เป็นตวั การท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ พลงั งานในการแสดงพฤตกิ รรม 6.2.2 เป็นสงิ่ เรา้ สง่ิ กระตนุ้ ใหอ้ นิ ทรีย์ไม่หยดุ น่ิง 6.2.3 เปน็ ส่งิ ทตี่ อ้ งการเสริมแรง เช่น รางวัล สง่ิ ของต่างๆ 6.3 อำนำจ หรอื อทิ ธิพลของแรงจูงใจ 6.3.1 ทาให้สภาพร่างกายเปล่ยี นแปลงไป 6.3.2 ทาให้สภาพอารมณเ์ ปลย่ี นแปลงไป 6.3.3 ก่อใหเ้ กดิ นิสัยความเคยชนิ 6.3.4 ชว่ ยสร้างความร้สู กึ 6.3.5 ทาใหเ้ กดิ ความมงุ่ หวงั ในสิ่งต่างๆ 6.4 กระบวนกำรจงู ใจ 6.4.1 องคป์ ระกอบของกระบวนการจูงใจ มอี งค์ประกอบ 3 ประการ 1) ความต้องการ (Needs) สภาวการณ์ของบางส่ิงบางอย่างของอินทรีย์ อาจจะเป็นการขาดทางด้านรา่ งกาย หรือขาดทางด้านจิตใจกไ็ ด้ 2) แรงขับ (Drive) เม่ือมนุษย์มีความขาดในบางส่ิงบางอย่าง ตามข้อ 1 ก็จะเกิดภาวะตึงเครียดขึ้นภายในร่างกาย ภาวะตึงเครียดน้ีจะกลายเป็นแรงขับหรือเป็นตัวกาหนด ทิศทาง เพ่ือไปสู่เปา้ หมายอันจะเป็นการลดภาวะความตึงเครียดน้นั วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 140 3) ส่ิงล่อใจ (Incentive) หรือเป้าหมาย (Goal) จะเป็นตัวกระตุ้น หรือ เป็นตัวล่อให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมตามที่คาดหวังหรือตามท่ีต้องการ ซ่ึงอาจจะมีได้หลายระดับตั้งแต่ สิ่งลอ่ ใจในเรอ่ื งพืน้ ฐาน คือปัจจยั ส่ีไปจนถึงความต้องการทางใจในด้านต่างๆ 6.4.2 ประเภทของการจงู ใจ นักจติ วทิ ยาได้แบง่ การจงู ใจออกเปน็ 2 ประเภท คอื 1) การจูงใจภายใน (Intrinsic Motivation) หมายถึง สภาวะของบุคคล ท่ีมีความต้องการในการกระทา การเรียนรู้ หรือการแสวงหาบางอย่างด้วยตัวเอง โดยมิต้องให้บุคคล อ่ืนมาเกี่ยวข้อง เป็นแรงจูงใจท่ีเกิดข้ึนจากส่ิงกระต้นภายในตัวเอง การจูงใจประเภทนี้ ได้แก่ ความ ต้องการ เจตคติ และความสนใจพิเศษ ซ่ึงแรงจูงใจ หรือแรงขับท่ีก่อให้เกิดพฤติกรรมต่างๆ เป็น ความรู้สึกนึกคิดที่ดี มีความสนใจในเร่ืองใดเร่ืองหนึ่งเป็นพิเศษ จุดมุ่งหมายของการจูงใจภายใน เพอ่ื ให้บรรลเุ ป้าหมายและความพอใจ 2) การจูงใจภายนอก I(Extrinsic Motivation) หมายถึง สภาวะบุคคลท่ี ได้รับแรงกระตนุ้ มาจากภายนอกให้มองเห็นจุดหมายปลายทาง และนาไปสูก่ ารเปลี่ยนแปลง หรือการ แสดงพฤติกรรมของบุคคล แรงจูงใจเหล่าน้ีได้แก่ เป้าหมายหรือความคาดหวังของบุคคล ความรู้ เกี่ยวกับความก้าวหน้า ความประทับใจอันเกิดจากบุคลิกภาพ และเครื่องล่อใจต่างๆ ท่ีก่อให้เกิดแรง กระตุน้ รูปท่ี 6.4 รางวลั จากความสาเร็จ https://www.mahprinting.com/content/4794/พิธีมอบรางวัลสวัสดิการพนักงานท่ี ปฏิบัตงิ านมานานและเบ้ียขยนั ประจาปี-2561 วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 141 7. ทฤษฎีจูงใจ ทฤษฎีจูงใจ คือพลังผลักดันให้คนมีพฤติกรรม และยังกาหนดทิศทางและเป้าหมายของ พฤตกิ รรมนน้ั ดว้ ย คนทมี่ ีแรงจงู ใจสูง จะใช้ความพยายามในการกระทาไปสู่เปา้ หมายโดยไมล่ ดละ แต่ คนท่ีมีแรงจูงใจตา่ จะไมแ่ สดงพฤตกิ รรม หรอื ไมก่ ็ลม้ เลกิ การกระทากอ่ นบรรลเุ ปา้ หมาย ดังนั้น ทฤษฎี แรงจงู ใจทสี่ าคญั มี 8 ทฤษฎี 7.1 ทฤษฎีควำมสัมพันธ์ระหว่ำงควำมต้องกำรแรงขับเคล่ือนและเครื่องล่อ (The Need Drive Incentive Theory) ทฤษฎีน้ีมีหลักการว่า ความต้องการของบุคคลจะเป็นแรงขับให้บุคคล แสดงพฤติกรรมเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายในเคร่ืองล่อที่มีอยู่ เช่น เม่ือบุคคลต้องการอาหารจะเกิดความ หิว กจ็ ะด้นิ รนใหไ้ ด้อาหารมาบาบัดความต้องการของบุคคล เมอื่ บุคคลอ่ิมแลว้ ความต้องการกห็ มดไป เพราะร่างกายกลับคืนสสู่ ภาวะสมดุลแล้ว 7.2 ทฤษฎีส่ิงเรำ้ (Cue Stimulus Theory) ส่ิงเรา้ เปน็ ตวั กระตุน้ ใหบ้ ุคคลแสดงพฤตกิ รรม เชน่ ปริญญาเป็นสงิ่ เรา้ ให้นกั เรยี นทาสาเรจ็ มธั ยมปลายดิ้นรนใหไ้ ดป้ รญิ ญา เป็นต้น 7.3 ทฤษฎีกำรเร้ำอำรมณ์ (Affective Arousal Theory) บุคคลจะแสดงพฤตกิ รรม ความต้องการไดถ้ า้ มกี ารเร้าอารมณ์เกิดข้ึน เชน่ หัวหน้าชมว่าลกู น้องทางานดี ทางานเกง่ และต้ังใจ ทางานมีความสขุ ในการทางานมากขนึ้ 7.4 ทฤษฎีแห่งกำรเรียนรู้ (Cognitive Theory) บุคคลจะแสดงพฤติกรรมได้ถ้าประสงค์ จะรู้ หรอื อยากจะทราบอะไร โดยการคาดคะเนเหตุการณ์ไวล้ ่วงหนา้ เช่น การถามปญั หาท่ีอยากรู้กับ บคุ คลทมี่ คี วามรู้ ซ่งึ คาดว่าจะไดร้ ้ไู ดเ้ ขา้ ใจมากขน้ึ ดงั เช่น 7.4.1 ทฤษฎีการเรียนรสู้ ังคม (Social Learning Theory) มีความเชอ่ื ว่าพฤติกรรม เกิดจากการเรียนรู้โดยการเลียนแบบโดยเฉพาะเม่ือตัวแบบ (Models) แสดงพฤติกรรมแล้วได้รับ รางวัลเขาจะทาตามและยดึ เอาบคุ คลท่ีกระทาพฤติกรรมเปน็ ตัวแบบ ตวั แบบจงึ เปน็ แรงจูงใจให้เขาทา พฤตกิ รรมตา่ งๆ 7.4.2 ทฤษฎีทางการรู้เข้าใจ (Cognitive Theory) ทฤษฎีในแนวน้ีใช้กระบวนการ คิดเป็นหลักในการอธิบายพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออกมา พฤติกรรมท่ีบุคคลแสดงออกข้ึนอยู่กับการ คิดตีความหมายของเหตุการณ์ เช่น เมื่อมีคนเดินชนเรา เราอาจจะตีความหมายได้หลายอย่าง เช่น วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 142 เขาอาจไม่ได้ต้ังใจ เขาอาจเมา เขาอาจใจลอย เขาอาจถูกผลัก หรือสะดุด การคิดตีความหมายการ กระทาของเขาจะมผี ลต่อการกระทาของเรา ทฤษฎีในกลุม่ นมี้ ี 3 ทฤษฎี ได้แก่ 1) ทฤษฎกี ารยกสาเหตุ (Attribution Theory) พฤติกรรมของบุคคลมาก จากสาเหตุหนึง่ จากสาเหตุพื้นฐาน 2 ชนิด คือ สาเหตุภายใน เช่น บุคลิกภาพหรือความพยายามของ เขา สาเหตุภายนอก เช่น สถานการณ์ทางสังคม การกระทาของคนอ่ืนหรือโชค เช่น เพื่อนทางาน พิเศษได้เงินก้อนใหญ่ อาจเปน็ เพราะความสามารถของเพื่อน (สาเหตภุ ายใน) หรอื เศรษฐกิจดี เจอคน ใจดี ได้เงินทปิ มาก (สาเหตุภายนอก) 2) ทฤษฎีความสอดคล้องทางการรู้การเข้าใจ (Cognitive-Consistency Theory) เมื่อบุคคลเกิดความเข้าใจท่ีขัดแย้งกันเขาจะเกิดความไม่สบายใจ และเม่ือเกิดความขัดแย้ง ทางการรู้การเข้าใจ บุคคลจะต้องเปล่ียนความคิดของเขาหรือการกระทาของเขาเพ่ือพยายามทาให้ เกิดความสอดคลอ้ งข้ึน 3) ทฤษฎีการคาดหวัง (Expectancy Theory) บุคคลมีความคิดเก่ียวกับ ผลท่ีอาจเกิดขึ้นจากการกระทาของเขาและเขาจะเลือกที่จะกระทาตามคุณค่าของผลที่เกิดข้ึนและ ความนา่ จะเป็นไปไดท้ ี่จะทาได้สาเรจ็ 7.5 ทฤษฎีจิตวิเครำะห์ (Psychoanalytic Theory) ทฤษฎีจิตวิเคราะห์มีหลักการว่า การแสดงพฤตกิ รรมของบุคคลเปน็ การสอนพฤติกรรมของบุคคล เป็นการสนองความต้องการทเี่ ก็บกด ไว้ในจิตสานึก เช่น พ่อแม่ชอบดุด่าเฆ่ียนตีลูก เพราะเก็บกดจากการถูกกระทากับตนเองมาก่อนจาก พอ่ แม่เชน่ กัน 7.6 ทฤษฎีสัญชำตญำณ (Instinct Theory) มีความเช่ือว่าสัญชาตญาณเป็นแรงจูงใจ ผลกั ดันให้มนษุ ย์ทาพฤติกรรม สัญชาตญาณคือ แบบอย่างของพฤติกรรมทไ่ี ม่ไดเ้ กิดจากการเรียนรู้ 7.7 ทฤษฎีแรงขับ ( Drives Theory) ทฤษฎีนี้ให้ความสาคัญกับแรงขับทางชีวะ (Biological Drives) เช่น ความหิว ความกระหาย ความต้องการทางเพศ ทาให้เกิดความเครียด ความเครียดท่ีเกิดข้ึนภายในเป็นตัวกระตุ้นให้บุคลากรกระทาส่ิงต่างๆ การทาให้ความเครียดลดลงนี้ เรยี กวา่ การเสริมแรง (Reinforcement) วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 143 7.8 ทฤษฎีควำมต้องกำรของมำสโลว์ (Maslow’s Hierachy of Need) อบั ราแฮม มาสโลว์ (Abraham Maslow) ได้แบ่งความต้องการของมนษุ ยต์ ามลาดับ ชนั้ แบ่งออกเปน็ 5 ชน้ั รูปท่ี 6.5 ลาดบั ขนั้ ความต้องการของมาสโลว์ ทีม่ า : https://sites.google.com/site/basicseling/hnwy-thi-8 7.8.1 ความต้องการทางรา่ งกาย (Physiological Needs) เปน็ ความต้องการขนั้ พ้ืนฐานของ มนุษยเ์ พือ่ ความอยู่รอด เช่น อาหาร เคร่ืองนุม่ หม่ ทอี่ ยู่อาศัย ยารกั ษาโรค อากาศ นา้ ด่มื การพักผ่อน เป็นต้น 7.8.2 ความต้องการความปลอดภัย และม่ันคง (Security or Safety Needs) เม่ือมนุษย์ สามารถตอบสนองความต้องการทางร่างกายได้แล้ว มนุษย์ก็จะเพ่ิมความต้องการในระดับท่ีสูงข้ึน ต่อไป เช่น ความต้องการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ความต้องการความมั่นคงในชีวิตและ หน้าที่การงาน 7.8.3 ความต้องการความผูกพันหรือการยอมรับ (ความต้องการทางสังคม) (Affiliation or Acceptance Needs) เป็นความต้องการเป็นส่วนหน่ึงของสังคม ซึ่งเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของ วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 144 มนุษย์ เช่น ความต้องการให้และได้รับซึ่งความรัก ความต้องการเป็นส่วนหน่ึงของหมู่คณะ ความ ตอ้ งการไดร้ บั การยอมรบั การต้องการได้รับความชืน่ ชมจากผู้อน่ื เป็นต้น 7.8.4 ความต้องการยกย่อง (Esteem Needs) หรือความภาคภูมิใจในตนเอง เป็นความ ต้องการการได้รับการยกย่อง นับถือ และสถานะจากสังคม เช่น ความต้องการได้รับความเคารพนับ ถอื ความต้องการมีความรู้ความสามารถ เป็นต้น 7.8.5 ความต้องการความสาเร็จในชีวิต (Self-Actualization) เป็นความต้องการสูงสุดของ แต่ละบุคคล เช่น ความต้องการที่จะทาทุกส่ิงทุกอย่างได้สาเร็จ ความต้องการทาทุกอย่างเพื่อ ตอบสนองความต้องการของตนเอง เป็นตน้ จากทฤษฎีลาดับข้ันตอนความต้องการของมาสโลว์ สามารถแบ่งความต้องการออกได้เป็น 2 ระดบั คอื 1) ความต้องการในระดับต่า (Lower Order Needs) ประกอบด้วย ความต้องการทาง ร่างกาย ความตอ้ งการความปลอดภยั และมั่นคง และความตอ้ งการความผูกพันหรอื การยอมรบั 2) ความต้องการในระดับสูง (Higher Order Needs) ประกอบด้วย ความต้องการยกย่อง และความต้องการความสาเรจ็ ในชวี ติ รูปท่ี 6.6 ความสาเร็จจากการทางาน ทม่ี า : https://www.storyblocks.com (2017) วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 145 8. ควำมสำคญั ของแรงจงู ใจในกำรทำงำน แรงจูงใจ เป็นกระบวนการซึ่งมีอิทธิพลท่ีให้กาหนดทิศทางและการใช้ความพยามในการ ทางานให้บรรลุวัตถุประสงค์ การจูงใจจึงเป็นสิ่งเร้าท่ีทาให้พนักงานเกิดความพึงพอใจ มีความคิดริเร่ิม ในการทางานอย่างเต็มที่งาน ดังนน้ั ผ้บู ริหารหรือหวั หน้างานจงึ จาเป็นต้องเข้าใจว่าอะไรคือแรงจูงใจท่ี ทาให้พนักงานทางานอย่างเต็มท่ี เพราะพนักงานตอบสนองต่องานและวิธีการทางานขององค์การ แตกต่างกัน แรงจูงใจจึงมีความสาคัญในการทางานเป็นอย่างย่ิง ความสาคัญของการจูงใจสามารถ สรุปไดด้ งั นี้ 8.1 แรงจูงใจชว่ ยเพมิ่ พลังในกำรทำงำนใหบ้ ุคคล พลัง (Energy) เป็นแรงขับเคลื่อนท่ีสาคัญต่อการกระทา หรือพฤติกรรมของมนุษย์ ในการทางานใดๆ ถ้าบุคคลมีแรงจูงใจในการทางานสูง ย่อมทาให้เกิดความขยันขันแข็ง กระตือรือร้น กระทาใหส้ าเรจ็ ซึ่งตรงกนั ข้ามกับบคุ ลทไ่ี มไ่ ด้มีแรงจงู ใจในการทางาน 8.2 แรงจงู ใจช่วยเพิ่มควำมพยำยำมในกำรทำงำนให้บุคคล ความพยายาม (Persistence) ทาให้บุคคลมีความมานะ อดทน บากบั่น คิดหา วธิ ีการนาความรู้ความสามารถและประสบการณ์ของตนมาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่องานให้มากทีส่ ดุ โดย ไม่ท้อถอยหรือละความพยายามง่ายๆ แม้งานะมีอุปสรรคขัดขวาง และเม่ืองานได้รับผลสาเร็จด้วยดีก็ มักคิดหาวิธกี ารปรบั ปรงุ พฒั นาให้ดีขึ้นเรอ่ื ยๆ 8.3 แรงจูงใจใหเ้ กิดกำรเปลี่ยนแปลงรูปแบบกำรทำงำนของบคุ คล การเปล่ียนแปลง (Variability) รูปแบบการทางานหรือวิธีการทางาน ในบางครั้ง ก่อให้เกิดการค้นพบช่องทางดาเนินงานที่ดีกว่าหรือประสบผลสาเร็จมากกว่า นักจิตวิทยาบางคนเช่ือ ว่า การเปลี่ยนแปลงเป็นเคร่ืองหมายความเจริญก้าวหน้าของบุคคล จะเห็นว่าบุคคลที่แสวงหาการ เรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ ในชีวิต บุคคลที่มีแรงจูงใจในการทางานสูง เมื่อดิ้นรนเพ่ือจะบรรลุวัตถุประสงค์ใดๆ หากสาเร็จบุคคลก็มักพยายามค้นหาสิ่งผิดพลาดและพยายามแก้ไขให้ดีขึ้นทุกวิถีทาง ซ่ึงจะทาให้เกิด การเปลี่ยนแปลงการทางาน จนในท่สี ดุ ทาให้คน้ พบแนวทางทเ่ี หมาะสม ซง่ึ อาจจะตา่ งไปจากแนวเดมิ 8.4 แรงจงู ใจในกำรทำงำนช่วยเสริมสรำ้ งคณุ ค่ำของควำมเป็นคนท่ีสมบูรณ์ บุคคลที่มีแรงจูงใจในการทางาน จะเป็นบุคคลท่ีมุ่งม่ันทางานทาให้เกิดความเจริญ กา้ วหน้า และการมุ่งมัน่ ทางานทต่ี นรบั ผดิ ชอบใหเ้ จรญิ กา้ วหน้า จัดวา่ เปน็ บคุ คลผ้นู ้ันมีจรรยาบรรณใน วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 146 การทางาน ผ้ทู ่มี ีจรรยาบรรณในการทางานจะเป็นบุคคลท่ีมีความรับผิดชอบ มน่ั คงในหนา้ ที่ มวี นิ ัยใน การทางาน ลกั ษณะดงั กล่าวแสดงใหเ้ ห็นถึงความสมบรู ณที่จะมีเวลาเหลอื พอที่จะคดิ และทาในสิ่งทไี่ ม่ดี สรปุ กลยุทธ์ขององค์การ หมายถึง การท่ีองค์การได้แสดงตัวเพ่ือให้เกิดความสัมพันธ์กับ สภาพแวดล้อม โดยใช้วิธีการบริหารที่องค์การเข้าไปเกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อมกลุ่มต่างๆ ตัวบุคคล องค์การอื่นๆ และสถาบันประเภทอ่ืนทั้งหลายท่อี ยู่ในองค์การ และนอกองคก์ าร การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) เป็นกระบวนการสร้างความมั่นในว่า องค์การได้รับผลประโยชน์จากการใช้กลยุทธ์ทเี่ หมาะสมนามาใช้ในดา้ นการตัดสนิ ใจ และนาไปปฏิบัติ ซึ่งกลยทุ ธ์จะเสนอความเป็นต่อในการแข่งขนั ระหวา่ งองค์และสิ่งแวดล้อมเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของ องคก์ าร กลยุทธก์ ารบรหิ ารท่ีมีประสิทธภิ าพในองค์การ หมายถึง การบริหารเชงิ รวม การบริหารแบบ มุ่งหมาย การบริหารแบบวางแผน และการบริหารข้ันปฏิบัติ การบริหารองค์การในทุกๆ วันน้ี ผู้บริหารต่างกป็ ระสบปญั หายุ่งยากมากกวา่ อดตี วิกฤตการณต์ ่างๆ ทเ่ี กดิ ขึ้นในสภาพแวดล้อมได้ส่งผล กระทบทาให้ประสิทธภิ าพการบริหารงานในองค์การตอ้ งตกตา่ จากเดิมมากมาย การสร้างบรรยากาศในองค์การเป็นสิ่งสาคัญ บรรยากาศในองค์การมีผลต่อประสิทธิภาพ ได้แก่ ความไว้วางใจ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การสร้างบรรยากาศในองค์การ จะมีผลถึง ความก้าวหน้าและการพัฒนาองค์การเป็นอย่างมาก เพื่อให้องค์การบรรลุเป้าหมายท่ีตั้งไว้ องค์การ ต้องมีการจูงใจ หรือสร้างแรงผลักดันให้บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมาอย่างมีทิศทาง เพ่ือบรรลุ จดุ มุ่งหมาย หรือเป้าหมายที่ตอ้ งการ ผูบ้ ริหารมหี นา้ ท่จี ูงใจเพือ่ เป็นการเสริมบรรยากาศในการทางาน การจงู ใจ คือ การนาเอาปัจจยั ต่างๆ มาเป็นแรงผลกั ดันใหบ้ ุคคลแสดงพฤติกรรมออกมาอย่าง มีทิศทาง เพ่ือบรรลุจุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายที่ต้องการ ดังน้ันผู้ที่ทาหน้าที่จูงใจ จะต้องค้นหาว่า บุคคลท่ีเขาต้องการจูงใจมีความต้องการหรือมีความคาดหวังอย่างไร มีประสบการณ์ ความรู้ และ ทัศนคติในเรื่องนั้นๆ อย่างไร แล้วพยายามดึงเอาส่ิงเหล่านั้นมาเป็นแรงจูงใจ (Motive) ในการแสดง พฤตกิ รรมหรอื เปล่ียนแปลงพฤติกรรมต่างๆ การจูงใจเปน็ สงิ่ จาเป็นท่จี ะช่วยให้เขา้ ใจถงึ พฤติกรรมและ วธิ กี ารสรา้ งหนทางเพื่อเปลีย่ นพฤตกิ รรมไปในทิศทางที่ต้องการ วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 147 ความสาคัญของแรงจูงใจในการทางาน เป็นกระบวนการที่มีอิทธิพลท่ีก่อให้เกิดการ เปล่ียนแปลงที่เปน็ สาเหตุให้เกิดความพึงพอใจในการทางาน ซงึ่ สามารถสรปุ ความสาคญั ของแรงจูงใจ ในการทางานได้ 4 ประการ คือ แรงจูงใจเป็นพลังในการทางาน แรงจูงใจก่อให้เกิดความพยายามใน การทางาน แรงจูงใจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทางานให้ดีขึ้น แรงจูงใจจะทาให้บุคคลมีความ มุ่งม่นั ในการทางาน วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 148 บทที่ 7 กิจกรรมระบบคุณภำพเพื่อเพิ่มประสิทธภิ ำพในกำรทำงำน และนำมำ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นกำรจัดกำรงำนอำชีพ หวั เรื่อง 1. การบรหิ ารคุณภาพท่ัวทง้ั องค์การ 2. กิจกรรม ซิกซ์ ซกิ ม่า 3. กจิ กรรมขอ้ เสนอแนะเพือ่ ปรบั ปรงุ งาน 4. กิจกรรมควบคมุ คุณภาพ QCC 5. กจิ กรรมการบารุงรกั ษาแบบมสี ว่ นรว่ ม 6. การผลติ แบบทนั เวลาพอดี 7. การนากจิ กรรมระบบคุณภาพและเพมิ่ ผลผลิตมาประยุกต์ใช้ในการจัดการงานอาชีพ จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เม่ือศกึ ษาบทที่ 7 จบแลว้ นกั ศกึ ษาสามารถ 1. อธบิ ายการบรหิ ารคุณภาพทวั่ ท้งั องค์การได้ 2. สามารถนากิจกรรม ซกิ ซ์ ซกิ มา่ ไปใชไ้ ด้ 3. อธิบายกิจกรรมขอ้ เสนอแนะเพือ่ ปรบั ปรงุ งานได้ 4. อธิบายกิจกรรมควบคมุ คุณภาพได้ QCC ได้ 5. อธบิ ายกจิ กรรมการบารงุ รักษาแบบมสี ่วนร่วมได้ 6. อธิบายการผลิตแบบทนั เวลาพอดีได้ 7. สามารถประเมินและวางแผนการนากิจกรรมระบบคุณภาพและเพ่ิมผลผลิตมาประยุกต์ใช้ ในการจัดการงานอาชพี ได้ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 149 กิจกรรมระบบคุณภาพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน มีความจาเป็นและสาคัญมาก สาหรับองค์การตา่ งๆ หากนามาใช้อย่างถูกต้อง เหมาะสมจะทาใหเ้ กิดการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ และเพ่ิมประสิทธิผลอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมระบบคุณภาพที่องค์การและหน่วยงานต่างๆ นิยมนามา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจัดการงานอาชีพของตนเองนน้ั ได้แก่กิจกรรมกล่มุ กิจกรรมกลุ่ม คือ การทางานร่วมกันโดยมีเปา้ หมายคุณภาพร่วมกัน กิจกรรมกลุ่มคุณภาพ ต้องได้รับความร่วมมือจากทุกคนในองค์การ เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพการทางาน ประกอบด้วย การบริหารคุณภาพท่ัวท้ังองค์การ กิจกรรมซิกซ์ ซิกม่า กิจกรรมข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุง กิจกรรม ควบคุมคุณภาพ QCC กิจกรรมการบารุงรักษาแบบนี้มีส่วนร่วม และกิจกรรมการผลิตแบบทันเวลา พอดี เป็นกิจกรรมที่บุคลากรร่วมกันคิดแก้ไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นภายในองค์การและเป็นกิจกรรม ทส่ี ่งเสรมิ นโยบายการบริหารอย่างมสี ว่ นร่วมของบุคลากรในองค์การเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางาน ของบคุ ลากรและเครอื่ งจักร 1. กำรบรหิ ำรคุณภำพท่ัวทงั้ องคก์ ำร 1.1 กำรบริหำรคุณภำพท่ัวทั้งองค์กำร (Total Quality Management : TQM) คือ เทคนิคการส่งเสริมการดาเนินธุรกิจให้สามารถอยู่รอดได้ในภาวะตลาดที่มีแต่การแข่งขัน ซ่ึงประกอบด้วยหลักและการปฏิบัติ (Principle and Practices) และเคร่ืองมือและเทคนิค (Tool and Techniques) โดยการเปล่ียนแปลงการจัดการพฤติกรรมและการปฏิบัติงานท้ังองค์การ TQM เกิดจากการนาศพั ท์ 3 คามารวมกนั โดยแตล่ ะคามคี วามหมาย ดงั น้ี Total คือ ทว่ั ทงั้ องค์การ Quality คอื ระดบั ความดเี ยี่ยมของสินคา้ และบรกิ ารทจี่ ดั ให้ Management คอื การกระทา การควบคุม หรือการสัง่ การ ก า ร บ ริ ห า ร คุ ณ ภ า พ ทั่ ว ทั้ ง อ ง ค์ ก า ร (Total Quality Management : TQM) ข อ ง สหรัฐอเมริกาจะมีลักษณะคล้ายกับ Total Quality Control : TQC) ของ ดร. ไพเกนบาวน์ การบริหารแบบให้ทุกคนภายในองค์การ ต้ังแต่ผู้บริหารระดับสูงจนถึงพนักงานระดับปฏิบัติการได้มี ส่วนร่วมในการสร้างผลงานคุณภาพตามความต้องการลูกค้าภายใต้ปรัชญา “สามัคคีคือพลัง” ความสามัคคีภายในองค์การทาให้เกิดความเป็นเอกภาพ และสามารถดาเนินสูเ่ ปา้ หมายขององค์การ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233