Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบริหารงานคุณภาพในองค์กร

การบริหารงานคุณภาพในองค์กร

Published by poo_supreeda, 2021-03-06 09:17:54

Description: การบริหารงานคุณภาพในองค์กร
พชรภัทร สุธารัตน์

Search

Read the Text Version

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 50 โครงสรา้ ง ทรพั ยากรมนุษย์ สภาพแวดล้อม การบริหาร  การจดั โครงสรา้ ง  สรา้ งบรรยากาศให้มี แบบง่าย ความเช่ือถอื  ใส่ใจและใกล้ชดิ ลกู คา้  วสิ ัยทศั นข์ องผ้นู า ระหว่างกัน  ปฏบิ ตั กิ ารฉับไว  การมงุ่ ปฏิบัติ  มกี ารกระจายอานาจ  มีกามุ่งสนใจ  การดาเนินการแบบยดึ  การอ่อนในท่า  การเพิม่ ผลผลติ โดย  ธุรกิจชดั เจน  แต่แขง็ ในที อาศยั การเห็นชอบ หลกั เกณฑแ์ ละเหตุผล ร่วมกนั น้อยลง  การมงุ่ ผลระยะยาว ตารางที่ 2.2 ความสาเร็จขององค์การ ท่มี า : สิฏฐากร ชูทรัพย์,และมนสั ชยั กรี ตผิ จญ (2558) สรปุ การเพ่ิมประสิทธิภาพในองค์การ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพโดยการเปรียบเทียบทรัพยากร ทีใ่ ช้ไปกับผลของงานทท่ี าในปจั จุบนั นับวา่ ไดผ้ ลมากนอ้ ยเพียงใด ซึง่ ปกตอิ งคก์ ารควรมที ้ังประสิทธิผล และประสิทธิภาพควบคู่กันไป จึงจะทาให้องคก์ ารบรรลุวตั ถุประสงค์ทตี่ ้ังไว้ ปรัชญาและอุดมการณ์การเพิ่มประสิทธิภาพในองค์การแบบด้ังเดิม มักจะอาศัยเกณฑ์การ วัดแบบง่ายๆ โดยพิจารณาว่าองค์การบรรลุเป้าหมายมากน้อยเพียงใด ต่อมาวิวัฒนาการของเกณฑ์ วัดประสิทธิภาพได้เปล่ียนแปลงไปเป็นการวิเคราะห์ที่ลึกซ้ึงมากขึ้น โดยได้มองไปถึงระยะเวลาของ เป้าหมาย เป้าหมายท่ีจะเป็นจริงหรือเป้าหมายท่ีสร้างขึ้นมาก โดยได้สร้างตัวเกณฑ์วัดประสิทธิภาพ ในองค์การ สรุปได้คือ เกณฑ์ผลสาเร็จตามเป้าหมาย เกณฑ์การบริหารประสิทธิภาพเชิงระบบ และเกณฑก์ ารบรหิ ารประสิทธภิ าพโดยอาศัยกลยทุ ธ์ตามสภาพแวดล้อมเฉพาะส่วน องค์การแห่งคุณภาพ เกิดจากการปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง สมาชิกทุกคนขององค์การ ถือเป็นส่วนหนึ่งของงาน ถึงแม้ว่าองค์การจะยังไม่มีปัญหาธุรกิจยังดาเนินไปด้วยดี องค์การก็จาเป็น ท่ีจะต้องพัฒนาปรับปรุงคุณภาพและเพ่ิมผลผลิตอย่างต่อเนื่อง เพื่อท่ีจะพัฒนาองค์การองค์การให้ บรรลุวัตถุประสงค์ และสู้กับคู่แข่งขันได้ ส่ิงที่ผลักดันให้องค์การเข้าสู่คุณภาพ คือ การลดต้นทุน วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 51 ความพงึ พอใจของลูกค้า คู่แขง่ และวิกฤตการณ์จึงต้องสร้างนิสยั แห่งคณุ ภาพของทรัพยากรบุคคลเพ่ือ เพิ่มประสิทธิภาพขององค์การ 7 ประการ ดังนี้ ความเป็นระเบียบ การทางานเป็นทีม การปรับปรุง อย่างต่อเน่ือง การศึกษาและฝึกอบรม การประกันคุณภาพ และอาศัยกลยุทธการบริหารคุณภาพ เป็นส่วนหน่ึงในการเพิ่มประสิทธิภาพในองค์การ อันได้แก่ วงจร PDCA ระบบ 5 ส กิจกรรมกลุ่ม QCC การปรับรื้อระบบ และระบบ TQM องค์การในยุคศตวรรษที่ 21 มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วมากกว่ายคุ อนื่ ๆ ทเ่ี คยผา่ นมา มคี วามก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยีทร่ี วดเร็ว วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 52 บทที่ 3 กำรบริหำรคุณภำพและระบบมำตรฐำนคุณภำพในองค์กำร หวั เรอ่ื ง 1. ความหมายของการบริหาร 2. หลักของการบริหารงานคณุ ภาพ 3. องคป์ ระกอบของการบริหารคณุ ภาพ 4. กระบวนการบริหารงานคณุ ภาพ 5. มาตรฐานระบบ ISO 9000 6. มาตรฐานระบบ ISO 14000 7. มาตรฐานระบบ ISO 18000 8. มาตรฐาน GAP 9. สามารถเปรียบเทยี บมาตรฐาน ISO 9000 ISO 14000 ISO 18000 ได้ จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เมื่อศึกษาบทที่ 3 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ 1. อธบิ ายความหมายของการบริหารได้ 2. อธิบายหลกั ของการบรหิ ารงานคุณภาพได้ 3. อธบิ ายองค์ประกอบของการบรหิ ารคณุ ภาพได้ 4. อธบิ ายกระบวนการบริหารงานคณุ ภาพได้ 5. อธิบายระบบมาตรฐาน ISO 9000 ได้ 6. อธิบายระบบมาตรฐาน ISO 14000 ได้ 7. อธบิ ายระบบมาตรฐาน ISO 18000 ได้ 8. อธบิ ายมาตรฐาน GAP ได้ 9. สามารถเปรยี บเทียบมาตรฐาน ISO 9000 ISO 14000 ISO 18000 ได้ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 53 ปัจจุบันผู้บริหารต้องเผชิญกับสถานการณ์ท่ีหลากหลาย ท้าทาย และการเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมมาก จะต้องทางานในแต่ละวันที่ยาวนาน ต้องแก้ปัญหาท่ียุ่งยากซับซ้อนตลอดเวลา นับวัน การบริหารจะมีความยุ่งยากมากขึ้น เน่ืองจากสถานการณ์ท่ีเกิดข้ึนโดยไม่คาดคิด ท้ังในด้าน เศรษฐกิจ การเมอื ง สังคม และเทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดงั นัน้ กระบวนการ บริหารงานจงึ เปน็ กระบวนการเพ่ือใหบ้ รรลุจดุ มุ่งหมายขององค์การ โดยองค์การจาเป็นต้องนาระบบ มาตรฐานสากลเข้าสู่กระบวนการบริหารงานขององค์การที่มุ่งเน้นกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์บน พื้นฐานการจัดการคุณภาพเพ่ือป้องกันการเกิดข้อบกพร่องในกระบวนการผลิต สร้างความพึงพอใจ ใหก้ บั ลกู ค้า และมกี ารปรบั ปรงุ อยา่ งต่อเนอื่ ง 1. ควำมหมำยของกำรบรหิ ำร (Definition of Management) ความหมายของการบริหาร มีคาท่ีใช้อยู่ 2 คาท่ีใช้ในความหมายเดียวกัน คือ คาว่า กำรบริหำร (Administration) และคาวา่ กำรจดั กำร (Management) คาว่า Administration จะใชก้ ารบริหาร ในเร่ืองนโยบาย (Policy) ส่วน คาว่า Management เป็นการนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ (Implementation) การท่ีจะนาคาไปใช้ให้สังเกตคาว่า Administration นิยมนาไปใช้ทางการบริหาร ราชการ ส่วนคาว่า Management นิยมใช้ในทางธุรกิจ แต่สองคาน้ีอาจใช้แทนกันได้ และหมายถึง บริหารเชน่ กนั การบรหิ าร คอื การทางานใหส้ าเร็จโดยอาศยั ผอู้ ่นื ฮาลอรด์ ดี คูลย์ (Haroed D. Koontz, 1972) ไดก้ ล่าวไว้ การบริหาร คือ เป็นกระบวนการจัดองค์การ และใช้ทรัพยากรต่างๆ เพ่ือให้บรรลุ วัตถปุ ระสงค์ทกี่ าหนดไว้ลว่ งหนา้ เออรเ์ นสย์ เดลล์ (Ernest Dale, 1973) ได้กล่าวไว้ การบริหาร คือ การดาเนินงานร่วมกันของคณะบุคคล ซึ่งเป็นกลุ่มผู้บริหารขององค์การใน ส่วนท่เี กีย่ วกับการวางแผน การจัดต้งั องคก์ าร การจัดคนเข้าทางาน ส่ังการและการควบคุมกิจกรรม ให้ดาเนนิ ไปตามนโนบายจนบรรลวุ ัตถปุ ระสงคข์ ององคก์ ารทีว่ างไว้อย่างประหยัด และมีประสทิ ธิภาพ การบริหารหรือการจัดการ คอื กระบวนการอยา่ งหนึ่งภายในองคก์ าร ซง่ึ มีลาดับการทางาน เป็นขนั้ ตอน มีกล่มุ บุคคลเป็นกลไกสาคัญในการบรหิ ารงาน มเี งนิ ทุน เครือ่ งจักร และวัสดคุ รุภัณฑ์ ต่างๆ เป็นองคป์ ระกอบดว้ ย วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 54 การบริหาร คือ กระบวนการดาเนินงานเพ่ือให้บรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การ โดยกลุ่มคน หรือบุคคลท่ีทาหน้าที่วางแผนให้คนอื่นทางานแทน โดยอาศัยศาสตร์และศิลป์เพื่อให้งานสาเร็จตาม เปา้ หมาย (Goal) ขององคก์ ารภายใต้ส่งิ แวดลอ้ มทีเ่ ปล่ียนแปลงอยา่ งมีประสิทธิภาพ รูปท่ี 3.1 การบรหิ าร ที่มา : พชรภัทร สุธารักษ์ (2559) 2. หลักของกำรบรหิ ำรงำนคุณภำพ หลักการบริหารงานคุณภาพ (Quality Management Principle : QMP) มีหลักการท่ี สาคัญพ้ืนฐาน 8 หลกั การ ทผ่ี ูบ้ ริหารองค์การจาเป็นต้องทาความเขา้ ใจ คือ 2.1 กำรให้ควำมสำคัญกับลูกค้ำ (Customer Focus) ลูกค้าคือเป้าหมายทางธุรกิจ ดงั นนั้ องคก์ ารจึงตอ้ งให้ความสาคญั กบั ลูกค้า โดยมงุ่ ตอบสนองความพงึ พอใจของลกู คา้ ดงั นี้คอื 2.1.1 สารวจตรวจสอบ ความต้องการของลูกค้าที่แท้จริง หรือความคาดหวังของ ลูกค้าจากการซื้อ และที่สาคัญองค์การต้องสร้างความพึงพอใจเม่ือลูกค้าได้รับสินค้าหรือบริการ เรยี บรอ้ ยแล้ว และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของลกู คา้ ที่มีความสมดลุ กับความพึงพอใจ วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 55 รูปท่ี 3.2 สารวจตรวจสอบ ท่มี า : http://www.impressionconsult.com 2.1.2 การประเมินผลความพึงพอใจของลูกค้า และการสรา้ งความสัมพนั ธ์ระหว่าง ลูกค้ากับองค์การ เพ่ือให้องค์การได้รับข้อมูลจากลูกค้าอย่างถูกต้อง และรวดเร็วก่อนขายและหลัง การขาย โดยการจัดระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relation Management) เพ่ือสร้าง ความพงึ พอใจใหก้ บั ลูกคา้ 2.1.3 สร้างระบบสือ่ สารทัว่ ทงั้ องคก์ าร รว่ มตอบสนองความต้องการของลูกคา้ 2.2 หลักควำมเป็นผู้นำ (Leadership) ผู้บริหารขององค์การทุกระดับต้องใช้ภาวะผู้นา ในการจัดการบริห าร องค์การให้ ดาเนิน ไปตามเป้าหมาย แล ะวัตถุปร ะส งค์ของอ งค์การ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ โดยการสร้างบรรยากาศการทางานที่จูงใจบุคลากรให้ร่วมสร้างผลงานเพื่อตอบสนอง ความตอ้ งการของลูกค้า การจัดระบบบริหารคุณภาพต้องการผู้บริหารท่ีมีภาวะเป็นผู้นา ประกอบด้วยบุคลิกภาพ ความรู้ความสามารถ ความม่ันคงทางอารมณ์ ความสามารถในการแก้ไข ปัญหา มีวิสัยทัศน์ในการบริหาร และที่สาคัญผู้บริหารจะต้องมีทัศนคติหรือแนวคิดในการบริหาร แบบประชาธปิ ไตย ยอมรบั ในความเท่าเทยี มกันของมนษุ ย์ และยอมรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อืน่ แนวทางการบรหิ ารแบบผนู้ า มดี งั นี้ วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 56 2.2.1 กาหนดวสิ ยั ทศั น์ (Vision) และพันธกจิ (Mission) ขององค์การในหนว่ ยงาน ให้ชัดเจนและสอดคลอ้ งกับเปา้ หมายและวัตถุประสงค์ขององค์การ โดยเนน้ ลูกค้าเปน็ สาคญั 2.2.2 มีความตืน่ ตัวในการดาเนนิ การใหเ้ ปน็ แบบอยา่ งแกบ่ ุคลากรในองค์การ 2.2.3 สรา้ งแรงจูงใจ กระตุ้นให้บุคลากรมสี ่วนร่วมในการบริหารงาน 2.2.4 สร้างความเชือ่ ม่ันใหแ้ กบ่ คุ ลากร เมือ่ เกิดการเปล่ียนแปลงขึ้นภายในองค์การ ตอ้ งขจัดความกลัว ความหวาดระแวงในความม่นั คงของตนเองและของบุคลากร 2.2.5 ใหค้ วามเปน็ ธรรมแก่ผใู้ ตบ้ ังคับบัญชา 2.2.6 เปน็ ทป่ี รึกษาและเป็นทพ่ี ่งึ พาใหค้ วามช่วยเหลือผใู้ ต้บังคบั บญั ชา 2.2.7 เปน็ แบบอยา่ งที่ดีท้งั กาย วาจา และใจ 2.3 กำรมสี ่วนรว่ มของบุคลำกร (Involvement of People) ความร่วมมอื ของบุคลากร คือ ความสาเร็จขององค์การ บุคลากรทุกคนไม่ใช่จะทาหน้าที่ของตนเองใหด้ ีทส่ี ุดเท่านัน้ แตต่ อ้ งให้ ความร่วมมือร่วมใจกับเพ่ือนรว่ มงานในการสร้างผลงานให้สาเร็จตามเปา้ หมายขององค์การ และเกิด ประโยชนต์ อ่ ส่วนรวมมากที่สุดดว้ ย 2.4 ก ำ ร บ ริ ห ำ ร เ ชิ ง ก ร ะ บ ว น ก ำร (Process Approach to Management) คือ การบรหิ ารกจิ กรรมและทรพั ยากรเชิงกระบวนการ เช่น บุคลากร เทคโนโลยี วตั ถุดบิ เพ่อื ปอ้ นเข้า สู่ระบบการทางานของหนว่ ยงานต่างๆ เพ่ือให้ไดผ้ ลงานตามเป้าหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพสูงสดุ ปจั จยั ทรัพยากร กระบวนการทางาน ผลผลิตตามเปา้ หมาย รปู ท่ี 3.3 แสดงกระบวนการทางาน ทีม่ า : พชรภัทร สธุ ารักษ์ (2559) แนวทางการบริหารตามหลกั การการดาเนนิ งานเชิงกระบวนการ มดี งั น้ี คอื 2.4.1 มีการกาหนดและวางแผนการดาเนินงานทุกข้ันตอน เพื่อให้การทางาน เปน็ ไปดว้ ยความตอ่ เน่อื งและราบรนื่ 2.4.2 ใหค้ วามสาคญั กับปจั จยั การผลิต วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 57 2.4.3 ใหค้ วามสาคัญกบั วธิ ีการทางานของทุกหน่วยงานภายในองค์การ เพราะการ ทางานในแตล่ ะข้ันตอนภายในหน่วยงานย่อมสง่ ผลตอ่ คุณภาพของผลิตภัณฑแ์ ละงานบรกิ าร 2.4.4 ประเมินผลการทางาน เพื่อให้ทราบว่าผลการปฏิบัติงานของแต่ละคนนั้นได้ เป็นเป็นอยา่ งไร 2.4.5 เม่ือเกิดปัญหาต้องพิจารณากระบวนการดาเนินงาน ต้ังแต่จุดเริ่มต้น จนถึง จดุ สุดทา้ ยก่อนส่งมอบผลติ ภัณฑ์และบรกิ ารถงึ มือลกู ค้า 2.5 กำรบริหำรงำนอย่ำงเป็นระบบ (System Approach to Management) หมายถึง การให้ความสาคัญกับการสัมพันธ์เก่ียวข้องของหน่วยงานต่างๆขององค์การ เพราะทุกหน่วยงาน มีสว่ นรว่ มในการสร้างผลงานคณุ ภาพตามความต้องการของลูกคา้ ท้ังทางตรงและทางอ้อม ดงั นน้ั การ บริหารงานอย่างเป็นระบบ จึงจาเป็นท่ีได้ระบุ ทาความเข้าใจ และจัดกระบวนการต่างๆ อย่างเป็น ระบบ เพื่อจะช่วยให้องค์การบรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล แนวทางการ บริหารงานอย่างมรี ะบบ มดี งั นี้คือ 2.5.1 มกี ารกาหนดเปา้ หมายและวธิ ีการดาเนนิ งานขององค์กรไว้อย่างชดั เจน 2.5.2 วางโครงสร้างการบริหารงานอย่างชดั เจน มีการเบ่งหน้าที่ความรบั ผิดชอบแต่ ละหน่วยให้ชดั เจน 2.5.3 องค์การต้องสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความตระหนักในระบบ ความสมั พนั ธ์ทีม่ ีตอ่ กันระหวา่ งหนว่ ยงาน 2.5.4 การประเมนิ ผลงานของทุกฝ่ายท่ีเกย่ี วขอ้ ง 2.5.5 การแก้ไขปัญหาใดๆ ขององค์การ ต้องพิจารณาผลสืบเน่ืองและผลกระทบ ระหวา่ งหนว่ ยงานด้วย 2.6 กำรปรับปรุงงำนอย่ำงต่อเน่ือง (Continual Improvement) คือ กระบวนการท่ี เกิดวงจรบริหารงานระบบคุณภาพ PDCA คือ การวางแผนการดาเนินงาน การประเมินผลการ ดาเนินงาน การปรับปรุงแก้ไข และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ทาให้การดาเนินงานเพิ่มประสิทธิภาพ ข้ึนเร่อื ยๆ การปรบั ปรุงงานอย่างตอ่ เนอื่ ง มีแนวทางดังน้ี คอื 2.6.1 กาหนดการปรับปรุงงานอย่างต่อเนอ่ื งไว้เป็นนโยบายขององค์การ 2.6.2 กาหนดแผนการประเมินผลงานและเกณฑก์ ารประเมินทีช่ ดั เจน วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 58 2.6.3 ดาเนนิ การปรับปรงุ อยา่ งต่อเนอ่ื งในทุกดา้ น 2.6.4 ให้ความรู้ วิธีการ และเครอื่ งมือที่ใชใ้ นการปรับปรุงงาน 2.6.5 ประเมนิ ผลการปรบั ปรุงงานทกุ คร้งั พรอ้ มท้ังยอมรบั และยกย่องหนว่ ยงานท่ี มกี ารปรบั ปรงุ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 2.7 กำรตัดสินใจบนพ้ืนฐำนของควำมเป็นจริง (Factual Approach to Decision Making) คือ การตัดสินใจท่มี คี ณุ ภาพจะต้องอาศัยข้อมลู ที่ถูกต้อง มีแบบสอบถามท่ีสามารถนามาใช้ ประกอบการวเิ คราะห์ เป็นข้อมูลที่มคี วามหลากหลายและแตกตา่ งตามแหล่งท่ีไดม้ า เช่น ไดม้ าจาก บุคลากร หน่วยงาน ลูกค้า ดังน้ันการใช้ข้อมูลใดต้องมั่นใจว่าข้อมูลนั้นมีความถูกต้องเป็นข้อมูลจริง เช่ือถอื ได้ จึงตอ้ งมกี ารวิเคราะหข์ ้อมลู ก่อนนาเขา้ ข้อมลู มาใชเ้ พ่ือใหก้ ารตัดสินใจมีประสิทธภิ าพสูงสุด การตดั สนิ ใจควรดาเนินการเป็นขัน้ ตอนหรือกระบวนการ ดังน้ีคอื 2.7.1 การกาหนดปัญหา การกาหนดปัญหาผู้มีส่วนเก่ียวข้องต้องเข้าใจปัญหา วเิ คราะหข์ อบเขตลกั ษณะของปัญหาก่อนท่ีจะแก้ปัญหา 2.7.2 การคน้ หาทางเลอื ก ในการวิเคราะหป์ ญั หาต่างๆ สามารถคน้ หาทางเลือกใน การแกป้ ญั หาไดห้ ลายทางเลือก โดยพิจารณาปจั จัยขอ้ จากดั โอกาส และอปุ สรรคต่างๆ 2.7.3 การประเมินทางเลือก เป็นข้ันตอนประเมินการเลือกที่ดีท่ีสุด เหมาะสม ที่สุด ซึง่ มีข้อควรแก่การพิจารณา ไดแ้ ก่ ปัจจยั เชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ 2.7.4 กระบวนการผลลัพธ์และป้อนกลับ โดยดูจากผลลัพธ์ป้อนกลับ สามารถ ตอบสอนงตามความคาดหวงั ไวห้ รือไม่ ถา้ ไม่บรรลผุ ล อาจจะต้องพจิ ารณาทางเลอื กอนื่ ใหม่ 2.7.5 ปฏิบัติการตามการตัดสินใจ ควรให้บุคคลหลายฝ่ายมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจ 2.7.6 การตัดสินใจ การตัดสินใจควรพิจารณาประสบการณ์ในอดีต การทดลอง การวจิ ยั และการวิเคราะห์ 2.8 ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงองค์กำรกับผู้ส่งมอบ (Mutually Beneficial Supplies Relationships) ผู้ส่งมอบหรือตัวแทนจาหน่าย มีความสาคัญต่อองค์กรอย่างยิ่ง ดังนั้นการสร้าง สัมพันธภาพกับผู้ส่งมอบจึงควรอยู่บนพื้นฐานของความเสมอภาคด้านผลประโยชน์เพราะต่างต้อง พึ่งพาซ่ึงกันและกัน ถ้าองค์การและผู้ส่งมอบมีความเข้าใจ และมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน ย่อมส่งผล วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 59 ในเชิงสร้างสรรค์เพ่ือให้เกิดประโยชน์ร่วมกันจะช่วยเพิ่มความสามารถ ในการสร้างคุณค่าร่วมกันของ ท้ังสองฝ่าย หลักการ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การกับผู้ส่งมอบ (Mutually Beneficial Supplier Relationship) คลา้ ยกนั กบั หลักการ ได้ประโยชน์ท้งั สองฝ่าย (Win-Win Situatio) หมายถึง ในการมี ปฏสิ ัมพันธ์กนั ในเรื่องใดๆก็ตาม ทกุ ฝ่ายจะชนะหมด ไม่มีใครแพ้ ดงั น้ัน แนวทางการสร้างสัมพันธ์กนั คือ 2.8.1 เลอื กตัวแทนจาหนา่ ย หรือผู้สง่ มอบท่มี คี ุณภาพ 2.8.2 สร้างความสัมพันธ์ที่จะได้รับผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นความซื่อสัตย์และ ใหค้ วามร่วมมอื ตดิ ตอ่ ประสานงานกันด้วยระบบสอ่ื สารทร่ี วดเร็ว สามารถแขง่ ขันกบั ผู้ผลิตรายอนื่ ได้ รูปท่ี 3.4 การสง่ มอบสนิ ค้า ที่มา : http://www.mobilelogistics.co.th/page/service/ 3. องคป์ ระกอบของกำรบริหำรคณุ ภำพ (Management Component) จากแนวคิดการบริหารของนักวิชาการต่างๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในภาคอุตสาหกรรมการ การ บริหารจะมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลมากน้อยเพียงใด ข้ึนอยู่กับองค์ประกอบการบริหาร 3 ประการ คอื 3.1 เป้ำหมำย (Goal) หรือวัตถุประสงค์ที่แน่นอนในการบริหารองค์การ ผู้บริหารจะต้อง กาหนดทศิ ทางหรอื วตั ถปุ ระสงค์ของการทางานให้ชัดเจน 3.2 ปจั จัยในกำรบรหิ ำร (Factor of Management) โดยท่ัวไปแลว้ ปจั จยั ในการบริหาร ที่สาคญั มี 5 ประการ คือ 3.2.1 คน (Men) ไดแ้ ก่ บุคคลภายในองค์การทุกระดับต้องร่วมแรงร่วมใจกันทางาน วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 60 3.2.2 เงนิ (Money) สถานะทางการเงินขององค์ การที่สรา้ งความเช่ือม่ันให้แกล่ ูกค้า 3.2.3 วสั ดุ (Material) ได้แก่ ทรพั ยากรทด่ี มี ีคุณภาพและมปี รมิ าณเพยี งพอ 3.2.4 เทคนิควิธี (Method) ได้แก่ วิธีการหรือเทคโนโลยีที่ทันสมัยสอดคล้องกับ สภาพการผลิต 3.2.5 เครื่องจกั ร (Machine) ไดแ้ ก่ เครือ่ งมืออปุ กรณใ์ นการผลิตทท่ี ันสมยั 3.3 ลักษณะของกำรบริหำร (Management Style) การบริการเป็นท้ังศาสตร์และศิลป์ท่ีผู้บริหารจะต้องนามาประยุกต์ใช้ในการบริหาร ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพสูงสุดต่อองค์การ ลิปปทั ท์ และไวท์ (Lippitt & White) ไดส้ รุปลกั ษณะของการ บริหารไว้ 3 แบบ คอื 3.3.1 การบรหิ ารแบบประชาธิปไตย 3.3.2 การบริหารแบบเผดจ็ การ 3.3.3 การบรหิ ารแบบเสรนี ยิ มหรือแบบอสิ ระ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 61 องคป์ ระกอบของกำรบริหำร (Management Component) เป้ำหมำย ปัจจยั กำรบริหำร ลกั ษณะกำรบรหิ ำร Goal Factor of Management Management Style วัตถปุ ระสงค์ คน ผนู้ ำแบบประชำธิปไตย เงนิ ผนู้ ำแบบเผด็จกำร วสั ดุ ผูน้ ำแบบอิสระ เทคนคิ วิธกี ำร เครอื่ งจักร รปู ท่ี 3.5 แผนภมู ิแสดงองคป์ ระกอบการบรหิ าร ทม่ี า : สมชาย วณารักษ์ (2549) 4. กระบวนกำรบรหิ ำร (Process Management) กระบวนการของการบริหารของแตล่ ะองค์การนนั้ มีความแตกต่างกนั ขึ้นอยูก่ ับว่าองคก์ ารไหน จะใช้วิธีการใดในการบรหิ ารจดั การกบั ทรัพยากรภายในองคก์ ารของตน เพอื่ ใหเ้ กิดความสอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมและเพือ่ ให้บรรลวุ ัตถุปะสงค์สงู สุดตามท่ีองค์กรนนั้ ๆไดว้ างไว้ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 62 ในกระบวนการบริหารจัดการในองค์กรน้ันประกอบไปด้วยหลากหลายแนวความคิดทาง บริหาร เช่นหลัก POSDC, POLC, POSCORB เป็นต้น ซึ่งผู้บริหารองค์การจะมีหน้าที่ ที่จะเลือกสรร เอาหลักการในการบริหารที่เหมาะสมมาประยุกต์หรือปรับใช้กับองค์การของตนเพ่ือประโยชน์ของ องค์การเอง แต่โดยรวมแลว้ หลกั การบริหารจะประกอบไปดว้ ยข้ันตอนเหล่าน้ีคือ 4.1 กำรวำงแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการในการกาหนดเป้าหมาย หรือ วัตถุประสงค์ สาหรับช่วงเวลาในอนาคต และวิธีรการให้องค์การบรรลุเป้าหมาย โดยยึดหลักความมี ประสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ลมากท่สี ดุ 4.2 กำรจัดองค์กำร (Organizing) หมายถึง ขบวนการของการกาหนดรูปแบบ โครงสรา้ งขององค์การ กฎเกณฑ์ ทจี่ ะใช้ควบคมุ ทรพั ยากรต่างๆ ใหท้ างานรว่ มกนั เพ่อื บรรลุเป้าหมาย ขององค์การ โดยจะต้องมีการกาหนดอานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบ ของพนักงานแต่ละคนว่า ใครทาอะไร ใช้วิธี และเคร่ืองมืออะไรบ้าง ในการทางานตามกฎเกณฑ์เฉพาะท่ีจะทาให้งานน้ันดาเนิน ไปได้ 4.3 กำรจัดคนเข้ำทำงำน (Staffing) หมายถึง หน้าที่เก่ียวกับการบริหารงานบุคคล โดยเร่ิมตั้งแต่ เสาะหา คัดเลอื ก บรรจุคนทมี่ คี วามรู้ ความสามารถเขา้ ทางาน พฒั นาฝกึ อบรมใหบ้ คุ คล กรมีความสามารถมากเพ่ิมขึน้ ในการทางาน 4.4 กำรสั่งกำร (Directing) หมายถึง ความพยายามที่จะทาให้การกระทาต่างๆ ของ ทุกฝา่ ยในองค์กร เปน็ ไปในทางท่จี ะสง่ เสรมิ ให้เกิดผลสาเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ท่ีตอ้ งการ 4.5 กำรควบคุม (Controlling) หมายถงึ การติดตามประเมินผลการปฏบิ ัติงานต่างๆ ว่าเปน็ ไปตามแผนทว่ี างไว้หรอื ไม่และมขี ้อบกพร่องอะไรทีจ่ ะต้องทาการแก้ไขหรอื ไม่ 4.6 ภำวะผู้นำในองค์กำร( Leading) หมายถึง หน้าท่ีทางการบริหารท่ีเกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมองค์การ การใช้อานาจหน้าที่ แรงจูงใจ อันจะทาให้บุคลากรขององค์การสามารถทางานได้ บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ท่ีองคก์ ารตั้งไว้ 4.7 กำรงบประมำณ (Budgeting) หมายถึง การจัดทางบประมาณ การทาบัญชี การใชจ้ ่าย และการควบคมุ ตรวจสอบดา้ นการเงินและทรัพยส์ นิ ขององค์การ ขนั้ ตอนท่ีสาคัญท่สี ดุ ในกระบวนการบรหิ ารน้ันอาจหมายถึงขั้นตอนท้ังหมดท่ีมอี ยู่ เพราะ ในการบริหารจัดการองค์กรน้ันจะต้องใช้การร่วมมือของทุกส่วน ทุกข้ันตอน เพ่ือให้องค์กรสามารถ วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 63 ขับเคลื่อนต่อไปได้ เร่ิมตั้งแต่กระบวนการวางแผ่น และกาหนดเป้าหมาย การจัดการรูปแบบ โครงสร้างขององค์กร การกาหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบให้ชัดเจน การเลือกสรรคนที่มีคุณภาพ เข้ามาทางาน การควบคมุ ใหง้ านท่ีทาบรรลผุ ลสาเร็จ และมปี ระสิทธภิ าพ ไปจนถึงผนู้ าในองคก์ าร กรรมการผู้จดั การ ผ้จู ดั การฝา่ ยบุคคล ผู้จดั การฝ่ายผลติ ผจู้ ดั การฝ่ายตลาด ผจก.แผนกวศิ วกรรม ผจก.แผนกวัสดุภณั ฑ์ ผจก.แผนกโรงงาน ผจก.แผนกควบคุมการผลิต ฝา่ ยวิจยั ออกแบบ ฝ่ายมาตรฐาน ฝา่ ยซอ่ มบารงุ - วดั ผล พฒั นา การผลิต - จัดกระบวนการผลติ หวั หน้าชา่ ง - จดั ตารางเวลาทางาน หรอื ผคู้ วบคุม - ควบคมุ คณุ ภาพ ช่างเชื่อม ช่างไฟฟา้ ชา่ งติดตง้ั ช่างปรับแต่ง ชา่ งพน่ สี บรรจุหบี หอ่ รปู ที่ 3.6 แผนภูมแิ สดงการจัดองค์การสายการบรหิ ารฝา่ ยบคุ คล ทม่ี า : สมชาย วณารกั ษ์ (2549) 5. มำตรฐำนระบบ ISO 9000 ISO 9000 เปน็ อนกุ รรมการมาตรฐานทใี่ ชเ้ รยี กมาตรฐาน 5 ชุด คอื ISO 9000 ISO 9001 ISO 9002 ISO 90003 และ ISO 9004 โดย ISO 9000 เป็นมาตรฐานเก่ียวกับระบบงานในทุก แผนกงานและตอ้ งกาหนดไวใ้ นเอกสาร ISO 9000 จะช่วยเพมิ่ ประสิทธภิ าพขององค์การได้อย่างดี วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 64 แต่ละประเทศจะมีองค์การมาตรฐานของตนเอง เช่น สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม (สมก.) เป็นองค์การมาตรฐานของประเทศไทย จะทาหน้าท่ีเป็นตัวแทนสมาชิกของ สหประชาชาติ ซึ่งมีสานักงานเลขานุการอยู่ท่ีกรุงเจนิวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ประกอบด้วย สมาชิกจากประเทศต่างๆ ทั่วโลก 194 ประเทศ โดยมีภารกิจหลัก คือ ให้การสนับสนุนและพัฒนา มาตรฐาน ใหก้ ารพัฒนาความรว่ มมอื ดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เศรษฐศาสตรแ์ ละภูมิปญั ญาของ มวลมนุษยชน 5.1 ควำมหมำยของมำตรฐำน ISO 9000 มาตรฐานคุณภาพ ISO 9000 หมายถึง มาตรฐานระบบคุณภาพสากล เป็นการ ประกนั คุณภาพและการบรหิ ารคุณภาพขนั้ พ้ืนฐาน โดยเนน้ การสรา้ งคณุ ภาพภายในองค์การประเภท ใดก็ได้ไม่จากัดชนิดสินค้าและบริการ ไม่ระบุประเภทหรือขนาดของอุตสาหกรรมใช้ได้โดยไม่มี ขีดจากัด มาตรฐาน ISO 9001 เป็นระบบคุณภาพแบบการประกันคุณภาพสาหรับผู้ผลิตใน การออกแบบหรือการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การผลิต การติดตั้ง และการบริการ ถือเป็นมาตรฐานท่ีใช้ ในการทาตามสัญญาข้อตกลงได้ มาตรฐาน ISO 9002 เป็นระบบคุณภาพแบบการประกันคุณภาพสาหรับผู้ผลิต ต้ังแตก่ ารผลิต การตดิ ตง้ั หรอื บรกิ าร ถอื เปน็ มาตรฐานใช้ในการทาตามสัญญาข้อตกลงได้ มาตรฐาน ISO 9003 เป็นระบบคุณภาพแบบการประกันคุณภาพสาหรับผู้ผลิตใน การตรวจสอบและทดสอบข้ันสุดทา้ ย ถือเป็นมาตรฐานใชใ้ นการทาตามสัญญาข้อตกลงได้ มาตรฐาน ISO 9004 เป็นมาตรฐานสาหรับแนวทางการใช้บริหารคุณภาพและ ขยายขน้ั ตอนการดาเนินงานอยา่ งละเอียด ISO 9001, ISO 9002 และ ISO 9003 5.2 ลักษณะสำคัญของระบบมำตรฐำน ISO 9000 5.2.1 เป็นมาตรฐานระบบการบริหารคุณภาพ เพื่อสนองความพอใจของลูกค้า เน้นการผลิตทคี่ ุณภาพ โดยจัดระบบหรือข้ันตอนการดาเนนิ งานและหลกั เกณฑ์ เพ่ือประกันคุณภาพ ทีผ่ า่ นการตรวจสอบโดยระบบเอกสาร เพื่อให้สินคา้ หรอื บริการมคี ณุ ภาพตามท่ีลูกคา้ ต้องการ 5.2.2 เป็นมาตรฐานท่ีท่ัวโลกยอมรับ ท่ัวโลกเป็นสมาชิก สามารถนาข้อกาหนด ของ ISO 9000 ไปประยุกตใ์ ชก้ บั ธรุ กจิ แตล่ ะประเภทไดต้ ามความเหมาะสมกบั ลกั ษณะธุรกจิ ของตน วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 65 5.2.3 เป็นมาตรฐานที่ไม่ใชบ้ ังคับ โดยเน้นความสมัครใจของรัฐบาลแตล่ ะประเทศ และความสมัครใจของแตล่ ะองค์การ 5.2.4 เป็นมาตรฐานที่ระบุข้อกาหนดให้เป็นแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ ระบบมาตรฐานคุณภาพโดยให้การรับรองระบบริหารงานคุณภาพท้ังองค์การ แต่ไม่ได้ รับรองมาตรฐานของผลติ ภัณฑ์ 5.2.5 เป็นมาตรฐานที่ให้ความสาคญั เอกสารการปฏิบัติงาน 5.2.6 เปน็ มาตรฐานท่ีเนน้ ความร่วมมอื ของทกุ คนในองค์การ 5.2.7 เป็นมาตรฐานทใ่ี หค้ วามสาคัญของกระบวนการผลติ 5.2.8 เป็นมาตรฐานที่เปิดโอกาสให้แก้ไขปรับปรุง สามารถปรับปรุงทุก กระบวนการทางานได้ตลอดเวลา 5.2.9 เป็นมาตรฐานท่ีมีการตรวจประเมินโดยบุคคลที่สาม (Third Party Assessment) เพื่อรับรองให้ผ่านหรือไม่ ถ้าผ่านจะมีการตรวจซ้าแบบสุ่มปีละไม่ต่ากว่า 2 คร้ัง เมื่อ ได้รับใบรับรองมาตรฐานคุณภาพ ISO 9000 เป็นเวลา 3 ปีแล้ว ต้องเริ่มตรวจประเมินใหม่เหมือน ครง้ั แรก 5.2.10 เปน็ มาตรฐานทสี่ ามารถนาไปใช้ไดก้ ับธุรกิจทุกประเภท 5.3 วัตถุประสงคก์ ำรจดั ทำมำตรฐำนระบบ ISO 9000 5.3.1 เพื่อสร้างความเชอื่ ม่ันใหล้ กู ค้าพอใจผลิตภณั ฑ์หรือบริการ 5.3.2 เพอื่ สรา้ งความมั่นใจให้กบั ผู้บริการ สามารถดาเนินการตา่ งๆ เพ่ือสนองความ ต้องการลกู คา้ 5.3.3 เพ่ือให้มีระบบการบริหารคุณภาพเป็นลายลักษณ์อักษร และส่งผลให้บรรลุ นโยบายคุณภาพอย่างมีประสิทธิภาพ 5.3.4 เพื่อควบคุมการบริหารในองค์การได้ทุกระกระบวนการอย่างครบวงจรของ การผลติ 5.3.5 เพ่ือการพัฒนาและปรับปรุงระบบการปฏิบัติงาน ซ่ึงเป็นพื้นฐานการสร้าง คณุ ภาพทั้งระบบ 5.3.6 เพ่ือประหยัดค่าใช้จ่ายในระยะยาวและลดความสูญเสียท่ีอาจเกิดจากการ ดาเนินงานท่ีขาดประสิทธภิ าพ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 66 5.4 ประโยชน์ของมำตรฐำนระบบ ISO 9000 องคก์ ารทไ่ี ด้รับใบรับรองมาตรฐาน ISO 9000 นอกจากจะสรา้ งความนา่ เช่ือถือและ สรา้ งความม่นั ใจใหแ้ กล่ ูกค้าแล้วยังเป็นการประชาสัมพันธ์ว่า สนิ ค้าหริอบริการขององค์การมีคุณภาพ ISO 9000 สามารถก้าวไปสู่ “องค์การแห่งคุณภาพ” ได้ ซึ่งในปัจจุบันตลาดมีการแข่งขันกันอย่าง รุนแรง การเพ่ิมผลิตสินค้า หรือผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพเท่าน้ันที่จะทาให้องค์การดาเนินการอยู่ได้ ประโยชนข์ องมาตรฐาน ISO 9000 5.4.1 ประโยชน์ต่อองคก์ าร คือ 1) องค์การสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพ และลดการสูญเสียให้ นอ้ ยลง 2) สามารถพัฒนาคุณภาพของวัตถุดิบได้ เนื่องจากกระทบการตรวจสอบ และการเลอื กสรร 3) การควบคุมกระบวนการตั้งแต่เริ่มต้นจนจบ ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และเวลา 4) องค์การสามารถจัดส่งสินค้าเข้าสู่การแข่งขันได้ สะดวกมากย่ิงขึ้น เน่ืองจากมาตรฐาน ISO 9000 เปน็ ที่ยอมรับกนั อยโู่ ดยทวั่ ไป 5) สร้างความเชื่อมัน่ ใหก้ ับลกู ค้า ทาใหย้ อดการจาหน่ายสินค้าเพิ่มมากขั้น 6) สรา้ งความม่นั ใจใหก้ ับลูกคา้ 7) มาตรฐาน ISO 9000 ชว่ ยลดการเส่ียงในการผลิตสนิ ค้าที่ไมป่ ลอดภยั 8) สร้างโอกาสในการสง่ ออกสินค้าเพิ่มมากขึ้น 5.4.2 ประโยชน์ตอ่ ลกู ค้า คอื 1) ได้รับรู้ในระดับคุณภาพของสินค้าหรือบริการของบริษัท ซ่ึงผ่านการ ตรวจประเมนิ จากหน่วยงานอสิ ระ 2) ลกู ค้ามีทางเลือกซอื้ สนิ คา้ และบรกิ ารมากขนึ้ จากการแข่งขัน 3) ลูกค้ามีความม่นั ใจในคณุ ภาพของสนิ คา้ หรือบรกิ าร 4) ลดการเสี่ยง เพราะมาตรฐาน ISO 9000 ช่วยผลกั ภาระความรับผิดชอบ ให้กบั ผู้ขาย วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 67 5) ตรวจสอบระบบคุณภาพของผู้ขายได้ ซ่ึงจะต้องเป็นไปตามความ ต้องการของลกู คา้ 5.4.3 ประโยชน์ต่อพนักงานลูกจ้าง คอื 1) ลดระดับปัญหาและความยุ่งยากในการทางาน เนื่องจากการวัดระบบ อย่างมีประสทิ ธิภาพ 2) พนักงานเข้าใจในบทบาทหน้าทแี่ ละวตั ถุประสงค์ขององค์การ 6. มำตรฐำนระบบ ISO 14000 ปัจจุบันท่ัวโลกได้มีการเคลื่อนไหว เพื่อการบารุงรักษาและการปรบั ปรุงคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม และปกป้องสุขภาพของมวลมนุษย์ ปัญหาส่ิงแวดล้อมในขณะน้ีวิกฤตเกินกว่าที่จะใช้มาตรการ ระดับประเทศมาแก้ไข แต่เป็นปัญหาของโลกที่ทุกประเทศต้องร่วมมอื ในการแก้ไขปัญหา ซ่ึงรวมถงึ ภาครัฐบาลและเอกชน โดยการวางมาตรฐานและปรัชญาในการพัฒนาด้านต่างๆ ควบคู่ไปกับการ ดูแลส่ิงแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นปัญหาที่ท่ัวโลกให้ความสนใจและหลายองค์การได้รับความ กดดันให้มีการแก้ไขปัญหาส่ิงแวดล้อมท่ีดีขึ้นระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับระหว่าง ประเทศ เพ่ือให้มีหลักเกณฑ์เดียวกันสาหรับใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงหรือพัฒนาระบบการ จดั การสิ่งแวดล้อม http://www.nirunkeaw 2558.Wordpress องค์การระหว่างประเทศวา่ ด้วยมาตรฐาน (The International Organization for Standardization ISO) ก็ได้รับการเรียกร้องจากบรรดาประเทศสมาชิกในเร่ืองดังกล่าวและได้มีการดาเนินการเพื่อจัด วางระบบมาตรฐานใหม่ คอื ISO 14000 โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อวางมาตรฐานการจัดการสงิ่ แวดล้อม และแนะนาหน่วยงานตา่ งๆ ในเรื่องของระบบการจดั การสิง่ แวดลอ้ ม (Environment Management System EMS) ซ่ึงสามารถรวมเข้ากับระบบบริหารอ่ืนๆ ของหน่วยงานเพ่ือที่จะช่วยให้หน่วยงาน เหลา่ นัน้ ประสบความสาเรจ็ ในเรือ่ งของระบบการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มพร้อมไปกบั ความสาเร็จทางธุรกจิ วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 68 6.1 ควำมหมำยของมำตรฐำน ISO 14000 มาตรฐาน ISO 14000 คือมาตรฐานสากลว่าด้วยการจัดการด้านส่ิงแวดล้อม (Environmental Management) ขององค์การให้มีผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมน้อยท่ีสุด ท้ังในส่วน ของกิจการและภายในองค์การกระบวนการผลิตสินค้าและการจัดการเร่ืองผลกระทบจากสิ่งแวดล้อม องค์การธุรกิจสามารถจดั ทาระบบจัดการส่ิงแวดล้อม และขอการรับรองได้โดยสมัครใจ องค์การต้อง มีการประกาศนโยบายอย่างชัดเจน มีการดาเนินงานอย่างจริงจังและเป็นข้ันตอน โดยมุ่งเน้นให้ องค์การมีการพัฒนาปรับปรุง ตลอดจนรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง (https://www.nirunkeaw 2558.wordpress) มาตรฐาน ISO 14000 จะครอบคลุมถึงการฝึกอบรมพนักงาน การจัดการด้าน ความรบั ผิดชอบ และระบบต่างๆ ท่ีตอ้ งทางาน มาตรฐาน ISO 14000 ประกอบด้วย ISO 14000 - หลกั เกณฑท์ วั่ ไปของการจัดการด้านส่ิงแวดล้อม ISO 140001, 1404 - ระบบการจัดการสงิ่ แวดล้อม ISO 14010, 14012 - การตรวจสอบส่งิ แวดล้อม ISO 14031 - การตรวจสอบพฤติกรรมด้านสงิ่ แวดลอ้ ม มาตรฐาน ISO 14000 น้ีเป็นมาตรฐานท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อให้องค์การต่างๆ นาไปใช้ในลกั ษณะของการสง่ เสริมสนบั สนุนเพอ่ื ให้เกิดการจัดการคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ มทด่ี ี หน่วยงานท่ีจะรับเอามาตรฐาน ISO 14000 ไปใช้น้ัน สามารถที่จะนาไปใช้โดยท่ัว ท้ังองค์การ หรืออาจจะดาเนินการเฉพาะหน่วยย่อยเพียงหน่วยต่างจากความยืดหยุ่นข้อน้ี คาดว่า อตุ สาหกรรมขนาดเล็กและกลางคงนาไปใช้ได้อย่างประสบผลสาเรจ็ ได้ 6.2 ลักษณะสำคัญของมำตรฐำนระบบ ISO 14000 มาตรฐาน ISO 14000 เป็นมาตรฐานใหม่เก่ียวกับส่ิงแวดล้อม ซึ่งองค์การและ บริษัทต่างๆ สามารถนาไปใช้ได้ตามความสมัครใจ โดยไม่มีกฎหมายบังคับ การไม่มีกฎหมายบังคับ เช่นนี้ จะทาใหม้ าตรฐานใหม่นม้ี ีผลกระทบต่อองค์การอยา่ งไร และในขอบเขตแคไ่ หน ดงั นี้ 6.2.1 มาตรฐาน ISO 14000 ไม่ต้องใช้กฎหมายเพ่ือให้มีผลกระทบต่อธุรกิจโลก ดังจะเห็นได้จากในปัจจุบันนี้ ทุกคนย่อมตระหนักถึงความสาคัญของสิ่งแวดล้อม เช่น เม่ือรู้ว่า สารเคมที ใ่ี ช้ในตเู้ ยน็ แอร์ รถ และในสินคา้ หลายๆ อย่างเปน็ อันตรายตอ่ ช้ันบรรยากาศโลก สังคมก็มี วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 69 มาตรการตอบสนองทันทีในการไม่ใช้สารนั้นๆ ถึงแม้ว่าการไม่ใช้สารน้ันจะเป็นผลลาบาก และทาให้ เกดิ ภาวะขาดทนุ ตอ่ ธุรกจิ เปน็ จานวนมาก 6.2.2 มาตรฐาน ISO 14000 จะเป็นการพัฒนา และมีอิทธิพลอย่างมหาศาล สาหรบั สงั คมธรุ กจิ ในทกุ ระดบั ในระดับบรษิ ัท จะมผี ลตอ่ วิธีดาเนินงานของบริษัทน้นั ๆ ทงั้ ต่อผูจ้ ดั ส่ง สนิ ค้า ผรู้ บั เหมาชว่ งและลูกค้า และสถาบันการเงนิ นอกจากนีจ้ ะมผี ลต่อการดาเนินงานภายในของ กระบวนการผลติ การใช้วัตถดุ ิบและระบบการบริหาร 6.2.3 ระดับอุตสาหกรรม จะมีผลกระทบอย่างมากสาหรับธุรกิจอุตสาหกรรมที่ไม่ สามารถรับเอามาตรฐานสิ่งแวดล้อมไปใช้ได้ มาตรฐาน ISO 14000 ยังสามารถทาให้เกิด อุตสาหกรรมชนิดใหม่ข้ึนเพ่ือทดแทนสารท่ีเป็นอันตรายต่อสภาพแวดล้อม สารท่ีเป็นอันตรายจะถูก กาจดั ออกไปและมีการคดิ ค้นสารใหมข่ น้ึ มาใชแ้ ทน 6.2.4 ระดับประเทศ มาตรฐาน ISO 14000 จะมีผลกระทบต่อการค้าระหว่าง ประเทศ เราจะเห็นว่า บริษัทต่างๆ พยายามให้บริษัทคู่ค้าของตนคานึงถึงส่ิงแวดล้อม โดยจะไม่ ดาเนินธุรกิจด้วยหากไม่มีการดาเนินการรักษาส่ิงแวดล้อมและในทานองเดียวกัน ถ้าประเทศไหนนา มาตรฐาน ISO 14000 เข้าไปใช้ก็จะพบกับปัญหา และไม่เป็นที่ยอมรับในการดาเนินธุรกิจกับ ประเทศอ่ืน และสูญเสยี โอกาสในการดาเนนิ ธรุ กจิ ระหว่างประเทศ 6.3 ประโยชน์ของมำตรฐำน ISO 14000 จิตสานึกในเร่ืองส่ิงแวดลอ้ มเป็นเรื่องท่ีผู้บริหารควรให้ความสนใจ และปรับกลยุทธ์ มาใช้ในการบริหารงานด้านการผลิต การริเริ่มนาการจัดการสิ่งแวดล้อมมาใช้ในองค์การย่อม ไดเ้ ปรียบกวา่ คแู่ ข่งขนั องคก์ ารทจี่ ดั ระบบมาตรฐาน ISO 14000 จะได้รบั ประโยชน์ดงั นี้ 6.3.1 ลดต้นทุนระยะยาว องค์การที่มีการบริหารงานด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเป็น ระบบจะนาไปสู่การลดค่าใช้จ่ายต่างๆ เน่ืองจากมีการาจัดการทรัพยากร และการจัดการของเสีย อยา่ งประมสี ิทธภิ าพ 6.3.2 สร้างภาพลกั ษณ์ท่ีดีให้แก่องค์การ การบริหารงานด้านส่ิงแวดล้อมก่อให้เกิด สภาพแวดล้อมทีด่ ีในการทางาน รวมทั้งมกี ารปอ้ งกันในกรณีที่เกดิ อบุ ตั ิเหตุ 6.3.3 เพ่ิมโอกาสดา้ นการค้า องค์การท่ีไดร้ ับความเชอ่ื ถอื ในดา้ นความเป็นผนู้ าการ อนรุ กั ษ์สิ่งแวดล้อมจะเพม่ิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั นาไปสูก่ ารค้าในตลาดโลก ดังนน้ั วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 70 ISO 14000 เป็นมาตรฐานระหว่างประเทศ เพ่ือการจัดการส่ิงแวดล้อมเพื่อสร้างให้เกิดการ ยอมรบั ในสังคมธรุ กิจแตจ่ ะไม่เกดิ ประโยชนเ์ ลยถ้าทกุ คนเพียงคานงึ วา่ การทต่ี ้องดาเนินการมาตรฐาน ISO 14000 เพียงเพ่ือประโยชน์ทางการค้าเพียงอย่างเดียว แต่ทุกคน ทุกประเทศ ควรจะรับเอา มาตรฐานน้ไี ปใช้เพ่ือการปรับปรุง ปกปอ้ งส่งิ แวดล้อมอย่างต่อเน่ือง และเป็นภาระผูกพันของทุกคนใน องค์การ โดยไม่ใชห่ วังเพียงใบรับรองจากมาตรฐาน ISO 14000 ว่าเป็นเคร่อื งหมายทางการคา้ เท่านนั้ 7. ระบบมำตรฐำน ISO 18000 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภยั : มอก. 18001 : 2542 กาหนดขึ้นโดย ใช้ BS 8800 (Guide to Occupational Health Management System) เป็นแนวทางอาศัยหลัก ของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เข้ากับระบบการจัดการขององค์การ โดยมี เป้าหมายเพอื่ ลดและควบคุมความเส่ียงอนั ตรายของพนักงานและผู้ท่เี กยี่ วข้อง การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพ การดาเนินงานของธุรกิจให้เกิดความปลอดภัย และส่งเสริมภาพพจน์ด้านความรับผิดชอบของ องค์การท่ีมีต่อพนักงานและสังคม มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย OHSMS 18001 : 1999 กาหนดขนึ้ โดยอ้างอิง BS 8800 มาตรฐานของประเทศต่างๆ และมาตรฐาน ระบบ OHSMS ของหน่วยรับรองต่างๆ มาตรฐาน มอก. 18001: 2542 และ OHSMS 1800 : 1999 ไดก้ าหนดขึ้นเพ่ือตอบสนองความต้องการของผเู้ ก่ียวข้อง เพื่อใหเ้ กดิ ระบบการตรวจประเมินและการ รับรองความสอดคล้องของระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (http:// medinfo2.Psu.ac.th https://doctor7msu.files.wordpress.com) 7.1 ควำมหมำยของระบบมำตรฐำนระบบคุณภำพ ISO 18000 หรือในประทศไทย คือ มอก. 18000 เป็นมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภยั ซ่ึงกาหนดข้ึนเพื่อเปน็ แนวทางให้องค์การหน่วยงานต่างๆ นาไปปฏิบัติ โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือแก้ไขปัญหาอาชีวอนามัยและ ความปลอดภยั ในการทางานของพนักงาน ซ่ึงจะครอบคลุมถงึ แนวทางในการป้องกนั ไมเ่ กดิ ปัญหาด้าน สขุ ภาพและอุบตั เิ หตุตา่ งๆ ตอ่ ผปู้ ฏบิ ัติงานและสังคมโดยรอบ ระบบการจดั การอาชีวอนามัยและความปลอดภยั ระบบการอาชวี อนามัยและความ ปลอดภยั ISO 18000 นักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของมาตรฐานระบบการจดั การอาชีว อนามยั และความปลอดภัย มอก. 18000 สรปุ ไดด้ งั นี้ วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 71 7.1.1 มาตรฐานในด้านการจัดการความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย ของผู้ใช้ แรงงานเป็นแนวความคดิ ของตา่ งประเทศที่พฒั นาแล้วและเห็นความสาคัญของอบุ ัตเิ หตุทเ่ี กดิ จากการ ทางาน โรคที่เก่ียวเนื่องจากการทางานซ่ึงเป็นผลเสียต่อการลงทุนของบริษัท เหตุการณ์เหล่านี้ สามารถป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ ขน้ึ โดยระบบการบรหิ ารที่ดีและมปี ระสิทธภิ าพ 7.1.2 วิธีการดาเนินงานทางด้านสุขภาพอนามัย และความปลอดภัยที่รัฐบาลและ สถานประกอบการทุกแห่งควรให้ความสาคัญ และเล็งเห็นความจาเป็นในการลงทุนจัดการ เพื่อให้ ทรพั ยากรบคุ คลทเ่ี ราถือว่ามีความสาคัญทสี่ ุดมีสภาพความเป็นมนุษยท์ ี่สมบูรณ์ 7.1.3 วิธีการปฏิบัติงานเพ่ือสร้างคุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ รักษาคน รักษา สุขภาพอนามัย รักษาความปลอดภัยของมนุษย์น้ัน เป็นสิ่งพึงปรารถนาและเป็นส่ิงที่ควรให้รางวัล ตอบแทน สาหรับโรงงานหรอื สถานประกอบการทป่ี ฏิบตั ดิ ีเพ่ือตอบสนองนโยบายของรัฐบาลดังกล่าว 7.1.4 มาตรฐานท่สี รา้ งข้นึ มาแล้วรบั เขา้ มาเพอ่ื เปน็ ตัวสร้างภาพลกั ษณ์ ภาพลกั ษณ์ ในวิชาการโฆษณาและประชาสัมพันธ์เราเรียกว่าเป็นเทคนิคที่สาคัญท่ีจะดึงดูดลูกค้าให้มาบริโภค สินค้าของเรา เพราะฉะนั้นตัวภาพลักษณ์ จึงเป็นเรื่องท่ีสาคัญตัวหน่ึง แต่ในการสร้างภาพลักษณ์ ตรงนต้ี อ้ งเปน็ ภาพลักษณท์ ่แี ทจ้ ริง คอื สามารถปฏบิ ัติได้ 7.1.5 ค่านิยมใหม่ท่ีทันสมัยและควรเป็นวฒั นธรรมของประชาชนทุกคนในประเทศ คือค่านิยมความปลอดภัย ถ้าเราสร้างค่านิยมความปลอดภัยขึ้นมาได้ จะมีผลอย่างมากต่อ ประสิทธิภาพของการทางาน และกลายเป็นวฒั นาธรรมท่ที ุกคนปฏิบตั ิโดยไม่ตอ้ งบงั คบั กนั มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ISO 18000 หมายถึง มาตรฐานด้านการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานทุกคนในองค์การ โดย สถานประกอบการได้มีการดาเนินการอย่างเป็นระบบเพื่อป้องกันอุบัติเหตุท่ีเกิดจากการทางาน เพ่ือให้วิธีการปฏิบัติงานเพ่ือสร้างคุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ เพ่ือสร้างภาพลักษณ์ และจะมีผลต่อ การทางานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งให้การับรองโดย สมอ. โดยรับรองด้วยมาตรฐาน มอก. 18001 (2542) มาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรมการจดั การอาชีวอนามัยและความปลอดภยั วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 72 7.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องมำตรฐำน ISO 18000 วัตถุประสงค์ของมาตรฐานนี้ กาหนดข้ึนเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดทาระบบการ จัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัยขององค์การ และพัฒนาปรับปรุงระบบให้ดียิ่งขึ้นอย่าง ต่อเนือ่ งในดา้ นต่างๆ คอื 7.2.1 ลดความเสีย่ งต่ออันตรายและอุบตั ิเหตุตา่ งๆ ของพนักงานและผ้เู ก่ียวขอ้ ง 7.2.2 ปรบั ปรุงการดาเนินงานของธุรกจิ ใหเ้ กิดความปลอดภยั 7.2.3 ช่วยสร้างภาพพจน์ ความรับผิดชอบขององค์การต่อพนักงานภายในองค์การ ต่ออนาคต 7.3 ประโยชนข์ องมำตรฐำนระบบกำรจัดกำรอำชีวอนำมัยและควำมปลอดภัย ISO 18000 7.3.1 รักษาป้องกันชีวิต และทรัพย์สินอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุอันอาจเกิดขึ้นใน องคก์ าร 7.3.2 เป็นการเตรียมความพร้อมสาหรับอุบัติเหตุ และภาวะฉุกเฉินท่ีอาจเกิดขึ้น ซึ่งจะชว่ ยลดความเสยี หาย และความสูญเสียทงั้ ด้านชีวิต และทรพั ยส์ นิ 7.3.3 สร้างขวัญและกาลังใจแก่พนักงานให้เกิดความเช่ือม่ันในความปลอดภัยต่อ ชีวติ การทางานในองค์การ ซงึ่ จะมีผลโดยตรงต่อการเพิม่ ประสิทธภิ าพในการทางานและการผลติ 7.3.4 ลดตน้ ทุนระยะยาว เนอ่ื งจากสามารถควบคุมและลดจานวนการเกิดอุบัติเหตุ ท่ีจะเกดิ ขึ้นต่อความเสยี หายทางด้านรา่ งกายและทรัพย์สนิ 7.3.5 สรา้ งภาพลกั ษณท์ ดี่ ใี หก้ บั องค์การ 7.3.6 เกดิ การพฒั นาเทคโนโลยีใหมๆ่ ในการดาเนินงานดา้ นอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย 7.3.7 ได้รบั เครือ่ งหมายรับรอง โดยองค์การทีน่ ามาตรฐาน ISO 18000 ไปปฏิบัติ สามารถขอให้หนว่ ยงานรับรองให้การรบั รองระบบการจัดการอาชวี อนามัยและความปลอดภัย ซ่งึ จะ ทาให้องค์การสามารถนาไปใช้ในการโฆษณา และประชาสัมพันธ์ เพื่อเสริมสร้างภาพลักษณ์ของ องคก์ ารให้ดยี ่ิงขึ้นและเป็นท่ยี อมรบั ในสงั คม วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 73 8. มำตรฐำน GAP ดว้ ยความตอ้ งการบรโิ ภคอาหารท่ีปลอดภยั เพ่มิ ขนึ้ คุณภาพและความปลอดภยั อาหารจึงเป็น ปัจจัยสาคัญท่ีผู้บริโภคและหน่วยงานควบคุม ดูแลของภาครัฐเรียกร้องต่อผู้ผลิต ปัจจุบันหน่วยงาน ภาครัฐ จึงมีมาตรการถ่ายโอนงานด้านการรับรองฟาร์มในการผลิตข้ันปฐม ตามหลักปฏิบัติที่ดีด้าน การผลิตสินค้าเกษตร (Good Agriculture Practices, GAP) ให้กับภาคเอกชนท่ีสนใจ เพื่อเป็นการ สนับสนุน พ.ร.บ. มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551 ซึ่งกาหนดให้ต้องมีหน่วยงานตรวจสอบและ รบั รองมาตรฐาน (https://www.fisheries.go.th) บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จากัด ซึ่งเปิดดาเนินการตั้งแต่ปี 2546 ได้มุ่งเน้น ให้การบริการทดสอบคุณภาพ และความปลอดภัยทางด้านอาหารด้วยความถูกต้อง แม่นยา และ รวดเร็วภายใต้มาตรฐานสากล ISO/IEC 17025 ให้กับผู้ประกอบการและผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์โดย บุคลากรและระบบการทางานท่ีเป่ียมไปด้วยความเป็นมืออาชีพ และเชื่อถือได้ อันเป็นส่วนในการ ผลักดันให้อาหารไทยไปสู่ตลาดโลกอย่างมีคุณภาพ และเป็นที่ยอมรับด้วยความเชื่อม่ันในผลการ ดาเนินงานตลอดมา ในปี 2555 ผู้บรหิ าร บริษทั ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จากัด มนี โยบาย ท่ีจะเพ่ิมบทบาทของบริษัทฯ มาเป็นหน่วยตรวจสอบและรับรองระบบคุณภาพและผลผลิต โดยทา หนา้ ท่ีตรวจสอบและรับรองว่าระบบคุณภาพและผลผลิตให้เปน็ ไปตามมาตรฐานท่กี าหนด บรษิ ทั ฯ มีความพร้อมท่ีจะเป็นหน่วยรับรองตามมาตรฐาน ISO/IEC 17065 ภายใต้การรับรองของ มกอช. รวมทงั้ การขอเปน็ หน่วยรับรองระบบตามมาตรฐาน ISO/IEC 17021-1 สาขา GMP/HACCP การรับรองผลิตภัณฑ์/ระบบ ส่วนตรวจสอบและรับรองระบบ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศ ไทย) จากัด ทาหน้าที่เป็นหน่วยตรวจ (Inspection Body : IB) และหน่วยรับรอง (Certification Body : CB) ได้เริ่มดาเนินการใหบ้ ริการด้านการตรวจประเมินและให้การรับรองระบบ ดังน้ี GAP ฟาร์มเล้ียง และฟาร์มเพาะพันธุ์และอนบุ าล กุ้งทะเล ปลานิล ปลาสลดิ และก้งุ ก้ามกราม CoC ฟารม์ เลีย้ ง และฟาร์มเพาะพนั ธแุ์ ละอนุบาล กงุ้ ทะเล Good Manufacturing Practices (GMP) Hazard Analysis Critical Control Point (HACCP) วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 74 รปู ที่ 3.7 ฟาร์มเพาะเล้ยี งสตั ว์นา้ ทมี่ า: พชรภทั ร สธุ ารักษ์ (2559) GAP กรมประมงมำตรฐำนกำรปฏิบัติทำงกำรเพำะเล้ียงสัตว์น้ำท่ีดี สำหรับฟำร์ม เพำะพนั ธุ์และอนบุ ำลสัตว์นำ้ 8.1 สถำนที่ ข้อกาหนดสถานท่ีมีความสาคัญสาหรับฟาร์มเพาะพันธ์ุและอนุบาล เช่นเดยี วกบั ฟาร์มเลีย้ ง 1.1 มกี ารขึ้นทะเบยี นฟารม์ อย่างถูกต้อง 1.2 อยู่ใกล้แหลง่ น้าทีส่ ะอาด และมรี ะบบการถา่ ยเทนา้ ท่ีดี 1.3 มีการคมนาคมสะดวกและมีสาธารณปู โภคขน้ั พ้นื ฐาน 8.2 กำรจัดกำรทั่วไป การจัดการโรงเพาะฟักและอนุบาลลูกพันธุ์ที่ดีจะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิต ป้องกันปัญหาน้าเสียท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต และลดผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม โดยมีรายละเอียดตามข้อกาหนด ดงั น้ี 8.2.1 ปฏิบัติการเพาะพันธ์ุและอนุบาลตามคู่มือการเพาะพันธุ์สัตว์น้าของกรม ประมงหรือวิธกี ารอ่นื ทีถ่ ูกตอ้ งตามหลักวชิ าการ 8.2.2 มีแผนทแี่ สดงแหลง่ ทีต่ ้งั และแผนผังของฟารม์ 8.2.3 นา้ ท้ิงจากบ่อเพาะพันธุแ์ ละอนุบาล ต้องมีคา่ ไมเ่ กินค่ามาตรฐานน้าท้ิงจากการ เพาะเลยี้ งสัตวน์ ้าของกรมประมง 8.2.4 การเพาะพันธแุ์ ละอนบุ าลต้องดาเนินการอยา่ งถูกสขุ ลกั ษณะ วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 75 8.3 ปจั จัยกำรผลิต 8.1 ต้องใช้ปัจจัยการผลิต เช่น อาหาร อาหารเสริม วิตามิน ฯลฯ ซึ่งขึ้นทะเบียนกบั ทางราชการ (ในกรณีทีก่ าหนดใหป้ จั จยั การผลติ นัน้ ตอ้ งข้ึนทะเบียน) และไม่หมดอายุ 8.2 ปัจจัยการผลิตต้องปลอดจากการปนเป้ือนของยา และสารต้องห้ามในการ เพาะเลีย้ งสตั ว์น้าตามประกาศทางราชการ 8.3 การผลิตอาหารต้องมีกระบวนการท่ีถูกสุขลักษณะและปลอดภัยต่อสัตว์น้าและ ผู้บริโภค 8.4 มีการจัดเก็บปจั จัยการผลิตอยา่ งถกู สขุ ลักษณะ 8.4 กำรจัดกำรดูแลสุขภำพสัตว์น้ำ การดูแลสุขภาพสัตว์น้าจะช่วยลดความเครียดของลูก พันธ์ุสัตว์นา้ ทาใหส้ ตั ว์น้าเจรญิ เตบิ โตปกติมีอตั ราการรอดสงู รายละเอยี ดตามขอ้ กาหนด มีดงั น้ี 8.4.1 เตรียมบ่อ กระชัง และอุปกรณ์ที่ใช้อย่างถูกวิธีเพื่อป้องกันโรคท่ีจะเกิดกับ สัตว์น้า 8.4.2 เฝ้าระวังและดูแลสุขภาพสัตว์น้าอย่างสม่าเสมอ เม่ือสัตว์น้ามีอาการผิดปกติ หรือป่วย ควรพิจารณาด้านการจัดการ เช่น การเปล่ียนถ่ายน้าตามความเหมาะสม และ/หรือเพิ่ม ออกซิเจนกอ่ นการใชย้ าและสารเคมี 8.4.3 ในกรณีท่ีจาเป็นต้องใช้ยาและสารเคมี ให้ใช้ยาและสารเคมีท่ีขึ้นทะเบียน ถูกตอ้ ง และปฏิบัตติ ามฉลากอย่างเครง่ ครัด 8.4.4 ไมใ่ ชย้ าและสารเคมีต้องหา้ มตามประกาศทางราชการ 8.4.5 เม่ือสัตว์น้าป่วยหรือมีอาการระบาดของโรคต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ท่ีรับผิดชอบ และมีวธิ กี ารจดั การซากและน้าทง้ิ ท่ีเหมาสะสม 8.5 สุขลักษณะฟำร์ม เกษตรกรต้องให้ความสาคัญการจัดการสุขอนามัยฟาร์มเพาะพันธุ์ และอนุบาล เพือ่ ปอ้ งกนั การปนเป้ือนต่างๆ ในระบบการเพาะฟกั และอนบุ าลตามขอ้ กาหนด มีดงั นี้ 8.5.1 จัดการระบบน้าทิง้ อย่างเหมาะสม นา้ ทิง้ จากบ้านเรือนต้องแยกจากระบบการ เลีย้ ง 8.5.2 ห้องสุขาแยกเป็นสัดส่วน ห่างจากบ่อเพาะพันธ์ุและอนุบาล และมีระบบการ จดั การของเสยี อย่างถกู สุขลักษณะ วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 76 8.5.3 จัดอุปกรณ์ เครื่องมือ รวมท้ังปัจจัยการผลิตต่างๆ ในบริเวณฟาร์มให้เป็น ระเบียบ สะอาด ถูกสุขลักษณะเสมอ 8.5.4 มีระบบการจดั เกบ็ ขยะท่ดี ี เช่น ถงั ขยะมีฝาปดิ มิดชิด เพอื่ ป้องกนั แมลงวนั หนู แมลงสาบและการคุ้ยเข่ยี ของสัตวเ์ ล้ยี ง 8.6 กำรเกบ็ เกี่ยวและกำรขนส่ง 8.6.1 วางแผนเก็บเก่ียวผลผลิตถูกต้องตามความต้องการของตลาด และมีหนังสือ กากับการจาหน่ายลกู พนั ธสุ์ ตั วน์ ้า 8.6.2 มีการจดั การทดี่ ีระหวา่ งการขนสง่ ลูกพันธุส์ ัตว์นา้ 8.6.3 ผลผลิตสัตว์น้าท่ีเก็บเก่ียวต้องไม่มียาหรือสารเคมีตกค้างเกินมาตรฐานท่ีกรม ประมงกาหนด 8.7 กำรเก็บขอ้ มูล มบี นั ทึกการจัดการเพาะพันธุ์และอนบุ าล การให้อาหาร การตรวจสขุ ภาพ การใช้ยา และสารเคมีอย่างสม่าเสมอ และบันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน มาตรฐานสินค้าเกษตร หรือมาตรฐาน มกษ. เปน็ มาตรฐานแหง่ ชาติ พฒั นาโดยสานกั งานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช) กาหนดให้เป็นมาตรฐานท่ัวไป ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตามพระราชบัญญัติ มาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ 2551 เพื่อส่งเสริมสินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพ มาตรฐานและปลอดภัย โดยขอ้ กาหนดในมาตรฐานใชเ้ ป็นกรอบแนวทางปฏิบัติของเกษตรกร ตั้งแตก่ ระบวนการผลติ การเก็บ เกีย่ ว จนถงึ การเตรยี มการขนสง่ ออกจากฟารม์ หรอื การดแู ลขนสง่ จนถึงฟารม์ เลยี้ งสาหรับทเ่ี ป็นฟาร์ม เพาะและอนุบาลลูกพันธุ์ ศูนย์พัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้า (ศรฟ.) ได้เปิดให้การรับรองมาตรฐาน มกษ. ได้แก่ มาตรฐานสินค้า มกษ. 7401-2552 การปฏิบัติทางการ เพาะเลี้ยงสัตว์น้าที่ดีสาหรับฟาร์มเล้ียงกุ้งทะเล มาตรฐานสินค้าเกษตร มกษ.7405-2553 การปฏิบัติ ทางการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าท่ีดีสาหรับฟาร์มเล้ียงปลานิล มาตรฐาน GAP มกษ.มีข้อกาหนดตาม มาตรฐาน เป็นไปตามระดับความรุนแรงท่ีกิจกรรมน้ัน ส่งผลต่อกระบวนการผลิต คุณภาพผลผลิต และความปลอดภยั ต่อผบู้ ริโภค แบง่ เปน็ 3 กล่มุ ได้แก่ ข้อตอ้ งปฏบิ ัติ ขอ้ ควรปฏิบตั ิ และขอ้ ทแ่ี นะนา วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 77 สรปุ การบรหิ าร คอื กระบวนการทางสังคมของบคุ คลท่ที าหนา้ ที่วางแผนการจัดองค์การ จัดคน เข้าทางาน และควบคุมการทางานให้กิจกรรมขององค์การดาเนินไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ การบริหารจะมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับหลักการบริหาร 8 ประเภท และองค์ประกอบของการบริหาร 3 ประการ คือ เป้าหมาย ปัจจัยการบริหาร และ ลักษณะการบริหาร และการบริหารจาเป็นต้องนามาตรฐานระบบคุณภาพเข้าในการบริหาร เช่น มาตรฐาน ISO 9000 ISO 14000 และ ISO 18000 ISO 9000 คือ มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ เป็นการประกันคุณภาพและการ บริหารคุณภาพขั้นพน้ื ฐาน เน้นการสรา้ งคณุ ภาพภายในองคก์ าร ISO 14000 คือ มาตรฐานระบบการจัดการส่ิงแวดล้อม ซึ่งองค์การและบริษัทต่างๆ สามารถนาไปใช้ไดต้ ามความสมคั รใจ โดยไม่มีกฎหมายบงั คบั ISO 18000 คือ มาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ของ ผู้ปฏิบัติงานทุกคนในองค์การ โดยองค์การได้มีการดาเนินการอย่างเป็นระบบเพ่ือป้องกันอุบัติเหตุท่ี อาจจะเกดิ ขน้ึ จากการทางาน มาตรฐาน GAP เป็นมาตรฐานเพาะเล้ียงสัตว์น้าของกรมประมง ด้วยความต้องการให้ ผบู้ ริโภคอาหารมีความปลอดภยั เพ่มิ ขึ้น วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 78 บทที่ 4 วัฒนธรรมองคก์ ำร หวั เรอื่ ง 1. ความหมายของวฒั นธรรมองคก์ าร 2. ลักษณะสาคญั ของวัฒนธรรมองคก์ าร 3. องค์ประกอบของวัฒนธรรมองคก์ าร 4. ประเภทของวฒั นธรรมองค์การ 5. ประโยชน์ของวฒั นธรรมองคก์ าร 6. การพัฒนาวัฒนธรรมองคก์ ารให้เขม้ แขง็ 7. ปจั จยั ท่สี ่งเสริมวฒั นธรรมองค์การ 8. การบารงุ รักษาวัฒนธรรมองคก์ าร จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม เม่อื ศึกษาบทที่ 4 จบแล้ว นักศกึ ษาสามารถ 1. อธบิ ายความหมายของวัฒนธรรมองค์การได้ 2. อธบิ ายลกั ษณะสาคญั ของวัฒนธรรมองค์การได้ 3. อธบิ ายองค์ประกอบของวฒั นธรรมองค์การได้ 4. บอกประเภทของวัฒนธรรมองค์การได้ 5. บอกประโยชนข์ องวฒั นธรรมองคก์ ารได้ 6. ประยุกต์การใชว้ ฒั นธรรมองคก์ ารใหเ้ ขม้ แข็งได้ 7. อธบิ ายปัจจยั ที่สง่ เสริมวฒั นธรรมองคก์ ารได้ 8. อธบิ ายการบารุงรักษาวฒั นธรรมองค์การได้ วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 79 วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง อ ง ค์ ก า ร เ ป็ น วิ ถี ชี วิ ต ที่ ค น ก ลุ่ ม ใ ด ก ลุ่ ม ห นึ่ ง ยึ ด ถื อ ป ฏิ บั ติ สื บ ต่ อ กั น ม า จนกลายเป็นนิสัยและความเคยชิน และกลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีวิถีประพฤติปฏิบัติ ความ เช่ือ ค่านิยมรวมทั้งภาษา วัตถุสิ่งของต่างๆ วัฒนธรรมพัฒนามาจากครอบครัวเป็นหมู่บ้าน หมู่บ้าน เป็นเมือง เมืองเป็นรัฐ และรัฐเป็นอาณาจักร มีการรวมกันอย่างเป็นระเบียบ ผลของวัฒนธรรมจะ ออกมาในรูปจริยธรรม ตลอดจนค่านิยมที่ใช้ในการตัดสินใจหรือวินิจฉัยสั่งการ จริยธรรมองค์การถือ เป็นส่วนสาคัญท่ีจะทาให้การดาเนินงานขององค์การก้าวหน้า และส่งผลให้องค์การได้รับการยอมรับ ความเชื่อถือจากสังคม ดังน้ันองค์การทุกองค์การทุกประเภท จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องนาจริยธรรม หรือวัฒนธรรมมาใช้ในการบริหาร การแก้ปัญหาองค์การอย่างถูกวิธีเพื่อให้ได้รับความน่าเช่ือถือ ภาพพจน์ทดี่ ี ซ่งึ จะมีผลให้กับชอื่ เสียง เกยี รติยศและความก้าวหน้า และการเพิ่มประสิทธิภาพในระยะ ยาวขององคก์ าร รปู ท่ี 4.1 ประเพณกี ารแขง่ เรือ ที่มา : https://www.sanook.com/news/2055874/ (2559) 1. ควำมหมำยของวัฒนธรรมองคก์ ำร (Organization Culture) วฒั นธรรม (Culture) ในมมุ มองของนกั วิชาการ ไดใ้ หค้ วามหมายได้ ดังนี้ 1. สิ่งท่ีทาให้เจริญงอกงามในหมู่คณะ ลักษณะท่ีแสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็น ระเบียบเรียบรอ้ ย ความกลมเกลียวก้าวหนา้ ของชาติ และศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน 2. พฤตกิ รรมและสิ่งท่คี นในองค์การสรา้ งขึน้ ดว้ ยการเรยี นรู้ โดยมีกรอบอา้ งอิงร่วมกัน และ มีพฤตกิ รรมตอ่ กนั ในกลุ่มของตน เชน่ ภาษา ค่านยิ ม ความเชอ่ื และประสบการณ์ วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 80 วัฒนธรรมขององค์การ นกั วิชาการไดใ้ ห้ความหมายไว้ดงั นี้ คอื กอร์ดอน ( Gordon. 1999 : 342) กล่าวว่าวัฒนธรรมองค์การ คือ ส่ิงท่ีอธิบาย สภาพแวดล้อมภายในองค์การท่ีรวมเอาข้อสมมุติ ความเชื่อ และค่านิยมท่ีสมาชิกขององค์การมี ร่วมกันและใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานเพื่อมีปฏิสัมพันธ์กับโครงสร้างอย่างเป็นทางการในการ กาหนดรูปแบบพฤตกิ รรม วริ ชั สงวนวงศว์ าน (2547 : 20) กล่าววา่ วัฒนธรรมองคก์ าร คือ ค่านิยมและความเชอื่ ทมี่ ี ร่วมกันอย่างเป็นระบบท่ีเกิดข้ึนในองค์การ และใช้เป็นแนวทางในการกาหนดพฤติกรรมของคนใน องค์การนน้ั วัฒนธรรมองค์การจงึ เปน็ เสมอื น “บคุ ลกิ ภาพ” หรือ “จติ วิญญาณ” ขององคก์ าร สุนทร วงศ์ไวศยวรรณ (2540 : 11) กล่าวว่า วัฒนธรรมองค์การ หมายถึง สิ่งต่างๆ อันประกอบด้วยสิ่งประดิษฐ์ แบบแผนพฤติกรรม บรรทัดฐาน ความเช่ือ ค่านิยม อุดมการณ์ ความเขา้ ใจ และขอ้ สมมุตพิ ืน้ ฐานของคนจานวนหนงึ่ หรือส่วนใหญภ่ ายในองค์การ พร ภิเศก (2546 : 27) สรุปไว้ว่า วัฒนธรรมองค์การ คือ กลุ่มของค่านิยมร่วมท่ีได้รับ การยอมรับในกลุ่ม มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของสมาชิก และช่วยให้สมาชิกในองค์การเข้าใจว่าการ ปฏิบัติใดที่ได้รับการพิจารณาว่ายอมรับได้ เกิดแนวการปฏิบัติท่ีสืบต่อกันมา อีกทั้งค่านิยมเหล่านี้ มักจะถกู ถา่ ยทอดผ่านทางเร่ืองราว และสื่อทางสัญลักษณ์ตา่ งๆ วัฒนธรรมองค์กำร ( Organizational Culture) หมายถึง การแสดงให้เห็นถึงค่านิยม ความรู้ ความคิด ศีลธรรม ประเพณี เทคโนโลยี ตลอดจนส่ิงต่างๆ ท่ีมนุษย์สร้างข้ึนมา ความเช่ือถือศรัทธาร่วมกันของบรรดาสมาชิกภายในองค์การน้ันๆ และทั้งแสดงให้เห็นถึงสัญลักษณ์ ตา่ งๆ เชน่ ปรัชญา ตานาน นยิ าย เรอ่ื งราว และภาษาพิเศษ ฯลฯ วัฒนธรรมองค์การ หมายถึง ความคิด ความเช่ือแบบแผนปฏิบัติงาน และการดารงชีวิตของ บุคลากรในองค์การหนึ่งๆ ซ่ึงบุคลากรส่วนใหญ่ขององค์การยอมรับและปฏิบัติเป็นประเพณี และใช้ เป็นแบบแผนในการปฏิบัติตนในฐานะสมาชิกขององค์การ (สมคิด บางโม, องค์การและการจัด องคก์ าร กรุงเทพฯ : บรษิ ัทวิทยพัฒน์ จากัด , 2558) หน้า 16 วัฒนธรรมองค์การ (Organizational Culture) หมายถึง ค่านิยมและบรรทัดฐานท่ียึดถือ ร่วมกัน โดยสมาชิกขององค์การท่ีได้กลายเป็นรากฐานของระบบบริหาร วิธีปฏิบัติของสมาชิกของ องค์การ และผู้บริหารภายในองค์การ พลังนี้จะเรียกว่าวัฒนธรรมองค์การ ค่านิยมร่วมของ วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 81 วัฒนธรรมขององค์การจะเรียกร้องความสนใจต่อสิ่งที่สาคัญ และระบบแบบแผนของพฤติกรรม ทกี่ ลายเป็นบรรทัดฐานนาทางการกระทาส่ิงตา่ งๆ ภายในองคก์ าร วัฒนธรรมองค์การจะถูกหย่ังรากลึกในอดีต แต่จะถูกกระทบจากปัจจุบันและความคาดหวัง ในอนาคต แนวคดิ ของวัฒนธรรมในองค์การจะมีรากฐานมาจากมนุษย์วิทยา วฒั นธรรมขององค์การ จะเป็นการสะสมของความเช่ือ ค่านิยม งานพิธี เร่ืองราว ตานาน และภาษาพิเศษท่ีกระตุ้น ความรูส้ กึ ความผกู พันภายในบรรดาสมาชิกในองคก์ าร บคุ คลบางคนจะเรยี กวฒั นธรรมขององค์การ วา่ เป็น “กาวทางสังคม” ทจี่ ะผูกสมาชกิ ขององคก์ ารเข้าดว้ ยกนั วัฒนธรรมขององค์การ เป็น ระบบค่านิยมสมมติฐาน ความเชื่อและบรรทัดฐานร่วมกัน ท่ีผูกพันสมาชิกขององค์การให้เป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน วัฒนธรรมในองค์การจะสะท้อนให้เห็นถึง มุมมองร่วมของวิถีทางที่เรากระทาอยู่ ณ ท่ีน่ัน บางคร้ังวัฒนธรรมขององค์การจะหมายถึง วัฒนธรรมบริษัทเน่ืองจากแนวคิดของวัฒนธรรมมักจะถูกใช้อธิบายสภาพแวดล้อมภายในของบริษัท แต่แนวคิดของวัฒนธรรมสามารถใช้อธิบายสภาพแวดล้อมภายในองค์การที่ไม่มุ่งหวังกาไรด้วย เช่น หนว่ ยงานราชการ องคก์ ารการกศุ ล และพพิ ิธภณั ฑ์ เปน็ ต้น วัฒนธรรมขององค์การจะถูกพัฒนาขึ้น มาจากหลายแหล่ง เม่ือองคก์ ารใหม่ถูกก่อตงั้ ขั้นมาวัฒนธรรมมกั ถูกพัฒนาขึ้นมาใหม่ ท่ีจะสะท้อนให้ เห็นถึงแรงจูงใจและจิตนาการของบุคคลท่ีเกี่ยวข้อง โดยผู้ก่อตั้งมักจะมีผลกระทบท่ีสาคัญต่อ วฒั นธรรมทีถ่ ูกพฒั นาขึน้ มา วัฒนธรรมองค์การ (Organizational Culture) หมายถึง แนวทางทีไ่ ดย้ ึดถือปฏิบัติสืบทอด กันมา หรือเป็นวิถีชีวิตที่คนกลุ่มหน่ึงกลุ่มใด ยึดถือสืบทอดกันมา ซึ่งจะกลายเป็นความเคยชิน และ กลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี วิถีปฏิบัติ ความเชื่อ ค่านิยม วัฒนธรรมองค์การจะมีอิทธิพล ตอ่ ทัศนคติ และพฤตกิ รรมของสมาชกิ ในองค์การ วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 82 รปู ที่ 4.2 การแข่งขันกีฬาสี ที่มา : วทิ ยาลยั ประมงติณสูลานนท์ (2559) 2. ลกั ษณะสำคญั ของวฒั นธรรมองค์กำร วัฒนธรรมเป็นรากฐานท่ีกาหนดทัศนคติและพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคม องค์การถือว่า เป็นสังคมย่อยที่มีวัฒนธรรมขององค์การเป็นหลักในการดารงชีวิต หรือวิถีชีวิต หรือเป็นแบบแผน สาหรับพฤติกรรมในการทางานของบุคคล เป็นแบบหรือเป็นวิถีการดารงชีวิตที่ทาให้องค์การ มีเอกลักษณ์เป็นของตนเองต่างไปจากองค์การอื่น และสามารถแลกเปล่ียนกันและกระจายไปได้ใน หมู่สมาชิกของสังคม เปรียบเสมือนเป็นการหรือหลักท่ียึดองค์การหรือหน่วยงานให้กลมเกลียวกัน ไมแ่ ตกแยกกัน ดงั นัน้ ลกั ษณะทสี่ าคัญของวัฒนธรรมตอ่ องค์การสามารถแบ่งได้ดังน้ี 2.1 เปน็ แบบพฤติกรรมทเ่ี กดิ จำกกำรเรียนรู้ (Pattern of Learned) พฤตกิ รรมบางอย่างเกิดจากการเรียนรู้ และพฤติกรรมบางอย่างก็ได้รับเป็นมรดกตก ทอด (พันธุกรรม) แต่ในความหมายของวัฒนธรรมแล้วจะไม่ใช่พฤติกรรมท่ีได้รับตกทอดมา และไม่ใช่ พฤติกรรมที่เกิดจากสัญชาตญาณ บุคคลได้เรียนรู้พฤติกรรมอย่างมีจิตสานึก (Conscious) โดยผ่าน ตวั แทนต่างๆ อาทิ พอ่ แม่ เพ่อื น โรงเรียน บ้าน สถานบันตา่ งๆ อย่างเปน็ ทางการ และไม่เปน็ ทางการ และก่อให้เกิดอิทธิพลโดยตรงและโดยอ้อมต่อบุคคลในสงั คม พฤติกรรมการเรียนรู้ มีกระสวน หรือความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยท่ีประกอบขึ้น ถ้าแยกพฤติกรรมออกเป็นการกระทาต่างๆ เราจะพบความสัมพันธ์กับคนอ่ืนๆ และจัดรูปแบบเป็น กระสวนข้ึน กระสวนของพฤติกรรมนี้ไม่ใช่เพียงบุคคลแต่ละคนมีความสัมพันธ์กับสมาชิกของกลุ่ม ต่างๆ แต่รวมถึงกระสวนพฤติกรรมของแต่ละบุคคลที่ต้องเป็นฝ่ายมีการเสนอสนองกันและกันอัน วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 83 ก่อให้เกิดเป็นรวมๆ ข้ึนในสังคม อาทิ พฤติกรรมของสามีและภรรยา ซึ่งเป็นกระบวนการของ ความสมั พนั ธ์ โดยแตล่ ะฝ่ายก็มกี ระสวนพฤตกิ รรมของตนเองดว้ ย รูปที่ 4.3 พฤตกิ รรมท่เี กดิ จากการเรยี นรู้ ทีม่ า : วิทยาลัยประมงติณสลู านนท์ (2559) 2.2 เป็นส่งิ ทอ่ี ย่รู ่วมกนั (Charred by Members of Society) พฤติกรรมการเรียนรู้และผลของการเรียนรู้ไม่ได้เป็นสมบัติของคนใดคนหน่ึง หรือ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง แต่เป็นของสมาชิกของสังคมและมีการยึดถือปฏิบัติร่วมกัน การรับนามาปฏิบัติจะมี ระดับไม่เท่าเทียมกัน ขึ้นอยู่กับการเลือกหรือโดยสภาพการบังคับ ถ้าในสังคมใดการบังคับให้ พฤติกรรมปฏิบัติวัฒนธรรมท่ีเห็นว่าเหมาะอยู่ในขั้นท่ีรุนแรง บุคคลในสังคมจะปฏิบัติตามอย่าง เคร่งครัด แต่ในทางตรงกันข้ามถ้ากฎข้อบังคับของสังคมหย่อนยานบุคคลก็จะเลือกปฏิบัติตามความ มากน้อยแตกต่างกนั ไป รปู ที่ 4.4 พฤตกิ รรมการอยรู่ ่วมกนั ที่มา : วิทยาลยั ประมงติณสลู านนท์ (2559) วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 84 2.3 เป็นสิ่งที่ถ่ำยทอดสบื ต่อกนั มำ (Transmitted Among the Members of Society) พฤติกรรมการเรียนรู้เป็นการสืบทอดจากช่วงอายุหน่ึงไปยังอีกช่วงอายุหน่ึง และ แพร่กระจายระหว่างสมาชิกของสังคมโดยสัญลักษณ์ คือ ภาษาเป็นสื่องกลางในการถ่ายทอด ซ่ึงอาจจะแสดงออกในรูปของคาพูด การเขียน การสลักหรือจารึกไวใ้ นท่ีต่างๆ ตามความเหมาะสมใน ช่วงเวลานั้นๆ สัญลักษณ์ดังกล่าวให้มนุษย์สามารถ่ายทอดความรู้สึก ทัศนคติ ความคิดเห็นต่างๆ เพ่ือความเข้าใจระหวา่ งกันของสมาชกิ ในสังคม รปู ที่ 4.5 กจิ กรรมวันสถาปนาวทิ ยาลยั ทม่ี า : พชรภทั ร สุธารกั ษ์ (2559) 2.4 วัฒนธรรมสร้ำงควำมพอใจให้แก่มนุษย์ได้ (Culture is Gratifying) วัฒนธรรมเป็นสงิ่ ที่มนุษย์คิดสร้างข้ึนมา เพอ่ื ตอบสนองความต้องการขั้นมูลฐานของ มนุษย์ ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม เป็นต้น แต่ความต้องการดังกล่าวยังไม่เป็นท่ีเพียงพอ ความพอใจที่ได้รับจะรวมถึงความต้องการทางสังคมและวัฒนธรรมด้วย การพัฒนาวัฒนธรรม ท่ีเก่ียวกับความต้องการขั้นมูลฐานซ่ึงแต่เดิมอยู่ในรูปแบบง่ายๆ ไม่ซับซ้อนหรือสวยงามมาอยู่ในรูปที่ ประณีต สวยงาม และซบั ซอ้ นมากขน้ึ 2.5 วฒั นธรรมเป็นส่งิ ทีป่ รบั เปลี่ยนได้ (Culture is Adaptive) วัฒนธรรมมิใช่เป็นส่ิงที่คงที่ (Static) แต่มีการเปล่ียนแปลงอยู่เสมอ ท้ังน้ีเพราะ มนุษย์ได้ปรับปรุงแก้ไขเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้เหมาะกับสภาพแวดล้อมที่มีการ เปล่ียนแปลงอยู่เสมอ ความเจริญทางวิชาการ เทคโนโลยีต่างๆ ได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมาย และกว้างขวางตลอดทั้งความเจริญก้าวหน้าทางด้านการติดต่อส่ือสาร ทาให้วิถีการดาเนินชีวิต วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 85 พฤตกิ รรมของคนในสงั คมหนึ่งได้รับการปรับเปล่ยี นไปตามการแพร่กระจายวัฒนธรรมและอยู่ในอัตรา ท่ีเรว็ ขึ้น 2.6 เปน็ ผลรวมหรือกำรผสำนทำงวัฒนธรรม (Culture is Integrative) วฒั นธรรมของชาติหน่ึง หรอื สังคมหน่งึ เปน็ ผลรวมของแบบแผนหรือแนวทางดาเนิน ชีวิต โดยการนาองค์ประกอบย่อยๆ ของวัฒนธรรมหลายๆ อย่างประสานเข้ากัน แม้ว่าวัฒนธรรมที่มี ลักษณะแตกต่างกันจะดึงกันไปคนละทิศละทาง แต่มีแนวโน้มท่ีจะมีความแน่นอน และประสานกัน เพื่อใหส้ งั คมอยู่ได้ 2.7 เปน็ รูปแบบพฤติกรรมในอุดมคตทิ ี่ต้องยึดถือปฏบิ ตั ิตำม (Ideal Form of Behavior) รูปแบบพฤติกรรมในอุดคติเป็นแนวทางสาหรับการดาเนินชีวิต ส่ิงใดที่สมาชิกของ สังคมเห็นว่าดี มีความเหมาะสม ส่ิงนั้นจะกลายเป็นรูปแบบที่ทุกคนจะยึดถือและปฏิบัติตาม ในทาง ตรงกันข้าม สิ่งใดที่สมาชกิ ของสงั คมเห็นว่าไม่ควร ไม่เหมาะสม ก็จะไม่ถือปฏิบัติ ดังนั้น วัฒนธรรมจงึ เปน็ เสมอื นหน่ึงท่ีสังคมคาดหวัง หรอื เปน็ แบบในการดาเนนิ ของชวี ิตของคนในสังคม สังคมแต่ละสังคมต่างก็มีลักษณะวิถีชีวิตท่ีเป็นลักษณะเฉพาะของตนเอง หรือมีวัฒนธรรมที่ แตกตา่ งกัน รวมทั้งอยูใ่ นสภาพแวดล้อมท่ีไม่เหมือนกัน การใช้ประโยชน์จากส่ิงแวดล้อมตลอดจนการ มพี ฤติกรรมเพอ่ื ควบคุมสง่ิ แวดลอ้ มจงึ ไม่เหมือนกนั รปู ท่ี 4.6 วนั ไหว้ครู ทมี่ า : พชรภัทร สธุ ารักษ์ (2559) วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 86 2.8 เปน็ ลกั ษณะเหนืออินทรยี ์ (Superorganic) Superorganic เป็นคาศัพท์ เฮอร์ เบิร์ต สเปนเซอร์ (Herbert Spencer) นามาใช้ เป็นครั้งแรก และโครเบยร์ (Kroeber) ได้ศกึ ษาเพ่มิ เติมอยา่ งมหี ลักการ โดยเปรียบเทยี บวฒั นธรรมว่า เป็นลักษณะทีอ่ ยู่เหนือจากอินทรยี ์ (Organic) อนิ ทรยี ์ หมายถงึ “ตวั ตน” “รปู รา่ ง” หรอื “สา ร” ลักษณะที่เหนืออินทรีย์ คือ ลักษณะที่อยู่เหนือจากสภาพธรรมชาติหรือสัญชาตญาณของเอกัต บุคคล ลกั ษณะดงั กล่าวช่วยใหม้ นษุ ยร์ จู้ กั การเรยี นรู้และทาให้มีชีวิตรอดได้ทางกายภาพและทางสงั คม เลสล่ี เอ. ไวท์ (Leslie A White) ได้จาแนกระดับการวิเคราะห์วัฒนธรรมออกเป็น 3 ระดับ โดยใช้ความคิดเรื่อง Superorganic Organic และ Inorganic และได้แสดงความแตกต่างของ แนวความคิดทง้ั สามไว้ ดงั น้ี Superorganic หมายถึง ปรากฏการณ์ที่ประกอบด้วย เคร่ืองมือ เส้ือผ้า ศิลปะ องค์การทาง สังคม ศาสนา ระบบความคิด เป็นต้น วัฒนธรรมเป็นการจัดระเบียบขององค์วัตถุท่ีมีรูปร่างและไม่มี รูปร่างเพ่ือให้เกิดความสุนทรีย์และความสะดวกแก่ส่ิงมีชีวิต คุณลักษณะสาคัญของสังคมของ Superorganic คือสญั ลกั ษณ์โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ภาษา Inorganic หมายถึง ปรากฏการณ์ที่เรียกว่า ส่ิงไม่มีชีวิต ซึ่งแสดงคุณลักษณะโดยอะตอม โปรตอน อิเลก็ ตรอน คลื่น หรอื หน่วยอืน่ ๆ ทน่ี กั ฟสิ ิกสไ์ ดก้ าหนดไว้ Organic หมายถึง ปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับชีวภาพหรือส่ิงมีชีวิต และแสดงคุณลักษณะ โดยเซลลเ์ พ่อื งา่ ยต่อการเขา้ ใจว่ามนุษยเ์ ท่านัน้ ที่มีวัฒนธรรมในลกั ษณะท่เี หนืออินทรีย์ ในขณะทส่ี ัตว์มี เพียงอินทรีย์ที่ได้รับการถ่ายทอดทางสายโลหิต ลักษณะท่ีอยู่เหนืออินทรีย์น้ัน มนุษย์จะใช้สัญลักษณ์ ในการถ่ายทอดและใช้ศักยภาพในการปรับเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมเพื่อให้อินทรีย์อยู่ในสภาวะท่ี สมบรู ณ์ เกดิ ความมั่นคง ปลอดภยั และได้รับความสะดวก องค์การทป่ี ระสบผลสาเรจ็ ในด้านการบรหิ ารงานไดอ้ ยา่ งบรรลจุ ุดมุ่งหมาย ซึ่งจากการศึกษา ของเดเนียล อาร์ เดนิสัน (Daniel R. Denise : 1990) ในปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การและ ประสิทธิผลขององค์การ พบว่า วัฒนธรรมองค์การที่จะส่งผลต่อประสิทธิผล (Effectiveness) ของ องคก์ ารเปน็ อย่างมาก มีดังตอ่ ไปน้ี วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 87 1) การผูกพนั (Involvement) การผูกพันและการมีสว่ นร่วมในองคก์ าร 2) การปรับตัว (Adaptability) การปรับตัวท่ีเหมาะสมกับการเปล่ียนของ สภาพแวดลอ้ มท้งั ภายในและภายนอกองค์การ 3) การประพฤติปฏิบัติได้สม่าเสมอ (Consistency) ซึ่งจะทาให้เกิดการทางานที่ ประสานกันและสามารถคาดหมายพฤติกรรมต่างๆ ท่เี กดิ ขนึ้ ได้ 4) วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์การที่เหมาะสม วิสัยทัศน์และภารกิจขององค์การ ที่เหมาะสม ทาใหอ้ งค์การมกี รอบและทิศทางการดาเนินงานทช่ี ัดเจน ปัจจัยท้ัง 4 ส่วนข้างต้น จะทาให้องค์การสามารถบรรลุสู่ประสิทธิผล (Effectiveness) ตามที่ต้องการได้ ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การจึงมีความสาคัญที่จะสนับสนุนให้องค์การบรรลุ สู่วิสัยทศั น์ และภารกจิ ที่กาหนดอย่างเหมาะสมได้ รปู ท่ี 4.7 ลักษณะของวัฒนธรรมที่จะทาให้องคก์ ารบรรลปุ ระสทิ ธผิ ล ที่มา : กลั ยา สุดแดน (2558) 3. องค์ประกอบของวฒั นธรรมองคก์ ำร วฒั นธรรมองคก์ ารแตล่ ะองค์การจะมีความแตกต่างกันจะขึน้ อยู่กบั วสิ ัยทัศนห์ รือทัศนคติของ แต่ละองค์การ ตัวอย่างเช่น องค์การขนาดใหญ่จะมีเป้าหมายองค์การที่จะเป็นผู้นาในด้านใดด้าน หน่ึง ในระดับนานาชาติจึงอาจจะต้องมีการกาหนดวัฒนธรรมขององค์การให้พนักงานในองค์การ พร้อมรับความเปล่ียนแปลงและความท้าทายใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา และอาจจะมีการส่งเสริมการ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 88 เรียนรู้ให้กับพนักงานอย่างเต็มท่ี ซ่ึงสามารถสรุปองค์ประกอบที่สาคัญของวัฒนธรรมองค์การได้ 8 ประการ ดังนี้ คือ 3.1 สภำพแวดล้อมทำงธุรกิจ (Environment Status in Bussiness) บริษัทแต่ละ บริษัทจะดาเนินงานอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ที่เจาะจงท่ีจะกาหนดประเภทขององค์การที่ ต้องการความเจริญเติบโต ภายใต้สถานการณ์ที่มีการแข่งขันสงู การมุ่งการขายจะเป็นส่วนหน่ึงของ วฒั นธรรมขององค์การอย่างหน่งึ 3.2 ค่ำนิยม (Value) ค่านิยมท่ียึดถือร่วมกัน โดยพนักงานทุกคนจะเป็นคุณลักษณะ พนื้ ฐานขององค์การ ค่านิยม คือ สิ่งท่ีผลักดนั ความพยายามร่วมกนั ของสมาชิกในองค์การ ค่านิยม มกั จะถูกระบไุ วภ้ ายในเป้าหมายหรอื คาขวัญขององค์การ โดยแบง่ ค่านยิ มออกเปน็ ค่านิยมแกน (Core Values) ซึ่งเป็นแนวคิดและความเช่ือ ท่ีโดยทั่วไปจะถูกยึดถือโดยสมาชิกทุกคนขององค์การ และ ค่านิยมรอง (Sub Values) จะเป็นความประนีประนอมแนวคิดและความเช่ือท่ีถูกยึดถือ ซ่ึงค่านิยม รองจะไมข่ ดั แยง้ กับคา่ นยิ มแกนกลางขององค์การ และสามารถสนบั สนุนเท่าทจ่ี ะเป็นไปได้ 3.3 สัญลักษณ์ (Symbol) คือ วัตถุ การกระทา หรือเหตุการณ์ท่ีถ่ายทอดความหมาย บางอยา่ งเป็นสัญลกั ษณ์ท่ีเก่ียวข้องกบั วัฒนธรรมองค์การ ซึง่ จะถา่ ยทอดค่านิยมขององค์การ องค์การ แบง่ แหง่ จะใช้คาของภารกิจ เพอ่ื เป็นสญั ลกั ษณข์ องค่านยิ มท่ีสาคญั 3.4 เรื่องรำว (Stories) คือ เร่ืองเล่าบนรากฐานของเหตุการณ์จริงท่ีถูกบอกเล่าอยู่ บ่อยคร้ัง และรับรู้ร่วมกันระหว่างสมาชิกขององค์การ เร่ืองเล่าจะถูกบอกเล่าให้แก่พนักงานใหม่ เพื่อ รักษาค่านยิ มขององคก์ ารเอาไว้ 3.5 วีรบุรุษ (Hero) บุคคลบางคนจะถูกระบุไว้อย่างใกล้ชิดกับวัฒนธรรมขององค์การ ตัวอย่างเช่น วัฒนธรรมองค์การของไมโครซอฟท์จะถูกเช่ือมโยงใกล้ชิดกับวีรบุรุษของพวกเรา คือ บิล์ล เกตส์ พนักงานสามารถเข้าหา เกตส์ โดยตรงผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ของบริษัท ซึ่งเป็นตัวเชดิ แสดงเป็นตัวอย่างของการกระทาคุณลักษณะ และบุคลิกภาพของวัฒนธรรมองค์การ ซึ่งวีรบุรุษ บางคนจะถกู ยกย่องโดยเพอื่ นร่วมงาน เนอ่ื งจากมีความสาเร็จพิเศษ 3.6 ธรรมเนียมปฏิบัติ (Tradition) กิจกรรมและเหตุการณ์ปกติจะเป็นส่วนหนึ่งของ วัฒนธรรมขององค์การด้วย ตัวอย่างเช่น แทนเด็มคอมพิวเตอร์ จะสนับสนุนกิจกรรมทางสังคม ตอน บ่ายวันศกุ รท์ ่ีซอี โี อของบริษัทจะไดเ้ ข้ารว่ มกันเสมอ ซึ่งเปน็ การบอกถงึ คา่ นยิ มขององคก์ าร สรา้ งความ วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 89 ผูกพันธ์ระหว่างพนักงานด้วยการมีส่วนร่วมในเหตุการณ์สาคัญ บางคร้ังเหตุการณ์หลายอย่างจะถูก รวมเข้าไว้ภายในงานพธิ ีเพอ่ื เพม่ิ ความสาคญั และพนกั งานใหม่จะมคี วามคนุ้ เคยกับวฒั นธรรมองคก์ าร 3.7 เครือข่ำยทำงวัฒนธรรม (Cultural Network) วัฒนธรรมขององค์การจะถูก ถ่ายทอดผ่านเครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ เร่ืองราวของอุดมคติและวีรบุรุษขององค์การก่อนหน้าน้ีจะ ถูกรบั รรู้ ่วมกนั ทว่ั ทงั้ องค์การและระหวา่ งรุน่ ของสมาชกิ ในองคก์ าร 3.8 คำขวัญ (Slogan) คือ ประโยคหรือถ้อยคาท่ีแสดงค่านิยมขององค์การ บริษัทหลาย แห่งได้ใช้คาขวัญเพื่อถ่ายทอดความหมายพิเศษแก่พนักงาน ซ่ึงคาขวัญจะเป็นพิธีการถ่ายทอด วัฒนธรรมที่ดีอีกอย่างหน่ึง เพราะคาขวัญสามารถใชถ้ ้อยคาต่างๆ โดยผู้บริหารระดับสูงได้ ซ่ึงคาขวัญ จะเผยแพร่ปรัชญาของผู้บริหารระดับสูงออกไปอย่างกว้างขวาง (ณัฎชูพันธ์ เขจรนันทน์, พฤติกรรม องคก์ าร กรุงเทพฯ : บรษิ ัท ซเี อ็ดยูเคชั่น จากัดมหาชน, 2551) หนา้ 257 สภำพแวดลอ้ มทำงธุรกจิ คาขวญั คา่ นยิ ม เครอื ข่ายทาง องคป์ ระกอบ สัญลักษณ์ วัฒนธรรม ของวฒั นธรรม เรอื่ งราว ธรรมเนยี มปฏิบตั ิ องค์การ วีรบุรษุ รูปที่ 4.8 องค์ประกอบของวัฒนธรรมองค์การ ทม่ี า: ณฎั ฐพันษ์ เขจรนันทร์ (2551) วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 90 4. ประเภทของวัฒนธรรมองคก์ ำร ในการพิจารณาว่า คานิยามใดมีความสาคัญและเหมาะสมกับองค์การหรือไม่น้ัน ผู้นา จาเป็นตอ้ งวิเคราะหป์ ัจจยั สภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ วิสัยทัศน์ และกลยทุ ธ์ของบริษัท ดว้ ยเหตุ น่ีวัฒนธรรมของแต่ละองค์การจึงผิดแผกแตกต่างกัน อย่างไรก็ตามถ้าเป็นอุตสาหกรรมอย่างเดียวกัน ก็มกั จะมีวฒั นธรรมที่คลา้ ยคลึงกนั ค่านยิ มทีด่ ีขององค์การควรมุ่งทค่ี วามมีประสิทธิผล วัฒนธรรมองค์การสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ประเภท คือ เน้นมิติของความยืดหยุ่น (Flexibility) กับการมีเสถียรภาพ (Stability) และเน้นการมองภายในเป็นสาคัญ (Internal Focus) กับการมุ่งเน้นไปสู่ภายนอก (External Focus) โดยแต่ละแบบมุ่งเน้นค่านิยมต่างกัน ดังนี้คือ www teacher.ssru.ac.th 4.1 วัฒนธรรมแบบปรับตัว (Adaptability Culture) เป็นวัฒนธรรมที่มุ่งเน้นความ ยืดหยุ่นสูง และมุ่งเน้นการตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมภายนอก เกิดข้ึนจากการท่ีผู้นาเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leader) มุ่งสร้างค่านิยมใหม่ขององค์การ ที่เอื้อต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการ คาดการณ์ภาวะแวดล้อมภายนอก เพื่อให้เกิดพฤติกรรมในองค์การท่ีสามารถตอบสนองได้ตลอดเวลา พนักงานขององค์การมีอิสระในการตัดสินใจ และพร้อมปฏิบัติได้ทันทีเม่ือมีความจาเป็น โดยยึด ค่านิยมในการตอบสนองความต้องการลูกค้าเป็นสาคัญ ผู้นามีบทบาทสาคัญในการสร้างความ เปล่ียนแปลงให้เกิดข้ึนในองค์การด้วยการกระตุ้นใหพ้ นักงานกลา้ เส่ียง กล้าทดลอง ทาในส่ิงใหม่ และ เน้นการให้รางวัลและผลตอบแทนแก่ผู้ท่ีมีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์เป็นพิเศษ โดยเน้นการมอบอานาจ ในการตัดสินใจแก่พนักงาน (Employee Empowerment) เน้นกลยุทธ์ ความยืดหยุ่นและ ความสามารถตอบสนองไดร้ วดเรว็ เปน็ หลกั 4.2 วฒั นธรรมแบบมงุ่ ผลสำเร็จ (Achievement Culture) เปน็ วัฒนธรรมที่มุง่ เน้นความ มีเสถียรภาพ หรือความมั่นคง และมุ่งเน้นการยอมรับหรือการตอบรับจากสภาพแวดล้อมภายนอก องค์การ ลักษณะสาคัญของวัฒนธรรมแบบมุ่งผลสาเร็จ คอื การมวี สิ ัยทศั น์ที่ชัดเจนของเป้าหมายของ องค์การ และผู้นามุ่งผลสาเร็จตามเป้าหมาย เช่น ตัวเลขยอดขายเพิ่มขึ้น กาไรเพิ่มข้ึน มีส่วนแบ่ง ตลาดเพิม่ ข้นึ องคก์ ารมุง่ ใหบ้ ริการลูกค้าพิเศษเฉพาะกลุ่มในสภาวะแวดล้อมภายนอก แตไ่ ม่เห็นความ จาเป็นต้องยืดหยุ่น และต้องเปล่ียนแปลงรวดเร็วแต่อย่างใด องค์การท่ียึดวัฒนธรรมแบบมุ่งผลสาเรจ็ จะเน้นค่านิยมแบบแข่งขัน ชารุด ความสามารถริเร่ิมของบุคคล และความพึงพอใจต้องการทางาน วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 91 หนักในระยะยาวจนกว่าจะบรรลุผลตามเป้าหมาย ซึ่งจะมุ่งการเอาชนะ พนักงานท่ีมีผลงานท่ีดีจะได้ ผลตอบแทนสูง ในขณะท่ผี มู้ ีผลงานต่ากว่าเป้าจะถกู ไล่ออกจากงาน จะทาใหพ้ นกั งานมีการแขง่ ขันกัน ทางานอย่างหนกั โดยมุง่ เนน้ ยอดขายและกาไรเป็นที่ตง้ั 4.3 วัฒนธรรมแบบเครือญำติ (Clan Culture) เป็นวัฒนธรรมที่มีความยืดหยุ่นสูง ม่งุ เนน้ สภาพแวดล้อมภายในองค์การ จะให้ความสาคัญกับการมสี ว่ นรว่ มของพนักงานภายในองค์การ เพ่ือให้สามารถพัฒนาตนเองให้พร้อมท่ีจะรบั รองการเปล่ยี นแปลงรวดเร็วจากภายนอก เป็นวฒั นธรรม ท่ีเน้นความต้องการของพนักงานมากกว่าวัฒนธรรมแบบอ่ืน ดังนั้นองค์การจึงมีบรรยากาศของมวล มติ รทร่ี ว่ มกันทางานคลา้ ยอยูใ่ นครอบครวั เดยี วกนั ผ้นู ามงุ่ เนน้ ความรว่ มมอื การให้ความเอาใจใส่ และ ความเอื้ออาทรทั้งพนักงานและลูกค้า โดยพยายามหลีกเล่ียงมิให้เกิดความรู้สึกแตกต่างกันทาง สถานภาพ อีกทง้ั ผูน้ าจะยึดมั่นในการให้ความเปน็ ธรรมและการปฏิบัติตามคามัน่ สญั ญาอย่างเคร่งครัด 4.4 วัฒนธรรมแบบรำชกำร (Bureaucratic Culture) เป็นวัฒนธรรมท่ีมุ่งเน้นความมี เสถียรภาพและความม่ันคง และมุ่งเน้นภายในองค์การเป็นสาคัญ ให้ความสาคัญต่อภาวะแวดล้อม ภายใน มีความคงเส้นคงวาในการดาเนินการเพ่ือให้เกิดความมั่นคง โดยจะมุ่งเน้นด้านวิธีการ ความ เป็นเหตุผล ความมีระเบียบของการทางาน มุ่งเน้นยึดและปฏิบัติตามระเบียบ ยึดหลักการประหยัด โดยความสาเร็จขององค์การจะเกิดจากความสามารถในการบูรณการและความมีประสิทธิภาพ ผู้นา ส่วนใหญ่จะพยามยามหลีกเล่ียงวัฒนธรรมแบบราชการ เน่ืองจากต้องการมีความยืดหยุ่น และความ คล่องตัวมากขึ้น วัฒนธรรมแต่ละแบบสามารถสร้างความสาเร็จให้แก่องค์การได้ทั้งสน้ิ การที่จะยึดวัฒนธรรม แบบใดหรอื ผสมผสานมากน้อยเพยี งใด ขน้ึ อยกู่ ับการมุ่งเนน้ ดา้ นกลยทุ ธ์ขององค์การ และความจาเป็น ของเง่ือนไขสภาพแวดล้อมเปน็ สาคัญ โดยท่อี งค์การหน่ึงๆ อาจมีวัฒนธรรมองค์การมากกวา่ หนึ่งแบบ หรืออาจจะมคี รบทกุ แบบกไ็ ด้ 5. ประโยชน์ของวัฒนธรรมขององคก์ ำร 5.1 ช่วยในกำรปรับตัวต่อสภำพแวดล้อมภำยนอก (External Adaptation) ช่วยในการ ปรับตัวตอ่ สภาพแวดล้อมภายนอก ซ่ึงจะเก่ียวข้องกบั การทางานใหบ้ รรลุผลสาเรจ็ วิธีการทใ่ี ชเ้ พ่อื ให้ บรรลุเป้าหมายและวิธีการของการกาหนดขอบเขตของความสาเร็จและความล้มเหลวน้ัน โดย วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 92 พนักงานจะต้องพัฒนาวิธีการท่ียอมรับและค้นหาวิธีการที่ดีท่ีสุด และแต่ละบุคคลจะต้องทราบถึง สาเหตุทป่ี ระสบความสาเรจ็ และลม้ เหลว 5.2 ช่วยในกำรประสมประสำนภำยใน (Internal Integration) ช่วยในการประสม ประสานภายใน จะเก่ียวข้องกับการสร้างสรรค์การร่วมกลุ่ม โดยการค้าหา วิธีการปรับตัวในการ ทางาน และใช้ชีวิตอยู่ร่วมกัน จะเริ่มต้นด้วย การกาหนดลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์โดยการรวบรวม แต่ละบุคคลและวัฒนธรรมกลุ่มย่อยภายในองค์การ การพัฒนาลักษณะท่ีเป็นเอกลักษณ์การใช้ สนทนาและปฏิกิริยาระหว่างกัน ประกอบด้วยการค้นหาโอกาสหรืออุปสรรคความก้าวหน้าเก่ียวกับ นวัตกรรมซงึ่ เกดิ จากการรว่ มมือกัน 5.3 วัฒนธรรมองค์กำรช่วยสร้ำงควำมสำมัคคีในองค์กำร วัฒนธรรมองค์การ คือ ส่ิงท่ี หล่อหลอมให้คนในองค์การมีและเข้าใจกฎกติกาในการอยู่ร่วมกัน ทาหน้าที่หลอมให้คนในองค์การมี ความเช่ือและพฤติกรรมไปในทิศทางเดียวกัน วัฒนธรรมทาให้คนในองค์การอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสขุ และลดความขัดแย้ง 5.4 วัฒนธรรมองค์กำรช่วยให้องค์กำรบรรลุเป้ำหมำยขององค์กำรได้โดยง่ำย เน่ืองจากช่วยหล่อหลอมให้คนในองค์การมีความเชื่อและพฤติกรรมไปในทางเดียวกัน ก็คือ วัตถุประสงค์หรือเป้าหมายขององค์การนั่นเอง อีกท้ังการมีความขัดแย้งภายในระดับต่า ย่อมทาให้ องค์การสามารถพัฒนาได้เร็วกว่าองค์การที่มีความขัดแย้งสูง เพราะทุกคนในองค์การจะร่วมมือกัน สรา้ งประโยชน์ใหแ้ กอ่ งค์การ ไมใ่ ช่ขัดผลประโยชนก์ ัน 5.5 วัฒนธรรมองค์กำรเป็นสัญลักษณ์อย่ำงหนึ่งขององค์กำร วัฒนธรรมองค์การเป็น สัญลักษณ์อย่างหนึ่งขององค์การ เช่น บริษัท 3M มีวัฒนธรรมหลักขององค์การ คือ การสร้าง นวัตกรรมใหม่อยู่เสมอ ดังน้ันพนักงานทุกคนใน บริษัท 3M แม้กระทั้งพนักงานความสะอาด จะ เป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนาเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ได้ ทาให้บริษัท 3M มีผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกสู่ตลาดเสมอ และยกใหบ้ รษิ ทั 3M เปน็ บรษิ ทั แหง่ นวตั กรรม อย่างไรก็ตามวัฒนธรรมองค์การจะสร้างประโยชน์ได้ต่อเม่ือวัฒนธรรมน้ันเหมาะสมกับ องค์การนั้นๆ ซึ่งวัฒนธรรมของแต่ละองค์การก็มีความแตกต่างกันไป ตามสภาพแวดล้อมของแต่ละ องค์การ การจะมีวัฒนธรรมองค์การที่เข้มแข็งได้นั้นต้องอาศัยระยะเวลาที่ยาวนาน ความเข้มแข็ง ของผ้นู า และความรว่ มมอื ของคนในองคก์ าร วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 93 6. กำรพฒั นำวฒั นธรรมองคก์ ำรใหเ้ ขม้ แข็ง องค์การถูกก่อต้ังข้ึนมาโดยกลุ่มบุคคลและมีการสร้างวัฒนธรรมที่ให้ความหมายในกิจกรรม ตา่ งๆ วัฒนธรรมองค์การ คือ ประสบการณ์ บุคลกิ ภาพ คา่ นยิ ม และบรรยากาศที่สร้างได้ “เป็น วิถีทางท่ีกระทาส่ิงต่างๆ ให้บรรลุความสาเร็จ” ทุกบริษัทจะมีวัฒนธรรมองค์การ และวัฒนธรรมจะ นาทางส่ิงที่ดาเนินอยู่ และจะมีอิทธิพลต่อวิธีการตัดสินใจของผู้บริหาร มุมมองต่อสภาพแวดล้อม และกลยุทธ์ของบริษัท วัฒนธรรมสามารถจะเป็นจุดแข็งหรือจุดอ่อนก็ได้ จะเป็นจุดแข็งเมื่อทาให้ การติดต่อส่ือสารประหยัดและง่าย เอื้ออานวยต่อการตัดสินใจและการควบคุม ส่งเสริมการวาง แผนการดาเนินกลยุทธ์ และเพ่ิมระดับความร่วมมือความผูกพันภายในบริษัท จะเป็นจุดอ่อนเม่ือ ความเชอ่ื และค่านยิ มรว่ มทีส่ าคัญแทรกแซงความต้องการของธรุ กิจ กลยทุ ธข์ ององค์การ และบคุ คลที่ กาลังทางาน วัฒนธรรมท่ีเข้มแข็งมีความสาคัญมากต่อองค์การ เพราะทาให้องค์การสามารถปรับตัว เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้ง่ายข้ึน วัฒนธรรมของบริษัทที่มีการพัฒนาดีเด่นจะ แสดงใหเ้ ห็นถงึ คณุ ลักษณะต่อไปน้ี 6.1 กำรมุ่งกำรกระทำ ความเป็นทางการนอ้ ย และความคล่องตัว จนแสดงออกถึง ความตั้งใจทางาน และมคี วามรับผิดชอบ เพื่อใหง้ านสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย 6.2 กำรอยู่ใกล้ชิดกับลูกค้ำ การรับเอาแนวความคิดทางการตลาด และการ หลงใหลกับคณุ ภาพความไวว้ างใจไดใ้ นการบรกิ าร เพือ่ สรา้ งความพงึ พอใจให้แกล่ ูกค้า 6.3 ควำมเป็นอิสระและกำรเป็นผู้ประกอบกำร การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ และความเสียงภยั ผบู้ รหิ ารกลา้ ทจ่ี ะตัดสนิ ใจ กล้าเสยี่ ง 6.4 กำรเพ่ิมประสิทธิภำพโดยคน การรักษาบรรยากาศที่ไว้วางใจและการ ติดตอ่ สอื่ สารแบบสองพวกที่ไหลเวียนอย่างเสรเี อาไว้ 6.5 กำรบริกำรแบบสัมผัสและผลักดันด้วยค่ำนิยม การสร้างค่านิยมและ วฒั นธรรมองค์การให้เป็นทีย่ อมรบั ของพนกั งาน 6.6 กำรกระจำยธุรกจิ อย่ำงระมัดระวัง การหลีกเล่ียงจากธรุ กิจทีไ่ มเ่ กีย่ วพันกัน 6.7 โครงสร้ำงท่ีเรียบง่ำยและสำยงำนท่ีปรึกษำน้อย โครงสร้างองค์การที่มีระดับ การบริหารน้อยระดบั และสายงานทีป่ รกึ ษานอ้ ย วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 94 6.8 กำรควบคุมอย่ำงเข้มงวดและผ่อนปรนในขณะเดียวกัน การควบคุมค่านิยม แกนกลางอย่างเขม้ งวด แต่ความเป็นอสิ ระ การเป็นผ้ปู ระกอบการ และการคิดคน้ ส่ิงใหม่ถูกผลักดัน ไปยังระดบั ล่าง 7. ปจั จยั ที่เสริมสรำ้ งวัฒนธรรมองคก์ ำร กระแสแห่งการบริหารจัดการองค์การในยุคปัจจุบันค่อนข้างมาแรง เน่ืองจากมีการแข่งขัน ทางธุรกิจมากขึ้น องค์การท่ีปรับตัวได้ไม่ดีก็อาจหายไปจากวงโคจรทางธุรกิจ ดังน้ัน ฝ่ายบริหาร ระดับสงู ในทกุ องค์การจงึ จาเป็นจะต้องมกี ารเสริมสรา้ งวฒั นธรรมทางองค์การแบบย่ังยืน ปจั จยั สาคัญ ท่ีมีส่วนช่วยในการเสริมสร้างหลักฐานและความต่อเนื่องของวัฒนธรรมองค์การ ท่ีสาคัญมี 2 ปัจจัย ดังน้ีคอื 7.1 บทบำทของผู้ก่อต้ัง วัฒนธรรมที่เข้มแข็งจะสะท้อนค่านิยมของผู้ก่อตั้งองค์การ วัฒนธรรมองค์การจะถูกกาหนดรูปร่างอย่างเข้มแข็งโดยผู้บริหาร โดยปกติวัฒนธรรมจะเร่ิมต้น เลียนแบบสิ่งท่ีผู้บริหารระดับสูงให้ความสนใจ บางครั้งวัฒนธรรมท่ีเร่ิมต้นโดยผู้ก่อต้ังสามารถสร้าง ความขดั แย้งระหว่างผู้บริหารระดบั สงู ทตี่ ้องการเห็นองค์การเปลยี่ นแปลงทิศทางได้ 7.2 กำรขัดเกลำทำงสังคม การขัดเกลาทางสังคมเป็นปจั จยั ที่ร่วมสร้างวัฒนธรรมท่ีปรากฏ ขนึ้ ในองค์การ เน่ืองจากการขัดเกลาทางสังคมจะเปน็ วิธีสร้างการเรียนรู้ทางความเช่ือ ค่านยิ ม และ สมมตุ ิฐานทางวัฒนธรรม 8. กำรบำรงุ รกั ษำวัฒนธรรมองคก์ ำร วัฒนธรรมเป็นสิ่งท่ีได้รับการปฏิบัติอยู่ในองค์การเพื่อทาหน้าท่ีบารุงรักษาให้พนักงานได้มี ประสบการณ์คล้ายคลึงกัน อาทิ วิธีการปฏิบัติทางด้านทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นวัฒนธรรมองค์การ ได้แก่ กระบวนการคัดเลือก เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน วิธีการปฏิบัติในการให้รางวัล การ ฝกึ อบรมและการพัฒนาอาชีพ และระเบียบข้อบังคับในการเล่ือนตาแหน่ง สาหรบั วิธกี ารท่สี าคัญท่ีจะ ชว่ ยบารุงรกั ษาวัฒนธรรม มี 3 วธิ ี ดังนี้ 8.1 กำรคัดเลือก (Selection) เป้าหมายของกระบวนการคัดเลือก ก็คือ ต้องการแต่งต้ัง บุคคลที่มีความรู้ ทักษะ และความสามารถ ในการปฏิบัติงานให้เข้ามาทางานในองค์การ ซ่ึงการ ตัดสินใจว่า บุคคลใดจะได้รับการแต่งต้ังเข้าทางานในองค์การน้ัน จะต้องแน่ใจว่าได้บรรจุคนท่ีมี วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 95 ค่านิยมสอดคล้องกับค่านิยมขององค์การ ดังนั้น กระบวนการคัดเลือกเป็นการบารุงรักษาวัฒนธรรม องคก์ าร โดยไม่คดั เลอื กคนทต่ี ่อตา้ นหรือคอยทาลายค่านิยมหลกั ขององคก์ าร 8.2 ผบู้ รหิ ำรระดบั สงู (Top Management) ผบู้ รหิ ารระดับสงู จะเปน็ ผ้ทู ่สี ่งผลกระทบต่อ วัฒนธรรมองค์การ โดยอาศัยสิ่งที่พูดและความประพฤติของผู้บริหารนั้น กล่าวคือ ผู้บริหารระดับสูง จะเป็นผู้กาหนดบรรทัดฐานต้ังแต่ความกล้าเส่ียงท่ีต้องการ ความอิสระของผู้บริหารที่มีต่อ ผู้ใต้บังคับบัญชา การแต่งตัวท่ีเหมาะสม การจ่ายเงินในรูปของการข้ึนเงินเดือน การเล่ือนตาแหน่ง และการใหร้ างวลั อ่ืนๆ เปน็ ต้น 8.3 กระบวนกำรเรียนรู้ทำงสังคม (Socialization) ไม่ว่าองค์การจะมีการสรรหา และ คัดเลือกพนักงานใหม่ได้ดีเพียงใด แต่พนักงานใหม่เหล่าน้ันยังไม่เคยได้รับการอบรมสั่งสอนเกี่ยวกับ วัฒนธรรมองค์การเลย จึงทาให้ไม่คุ้นเคยกับวัฒนธรรมองค์การ และมีแนวโน้มที่จะกระทบต่อความ เช่ือและลูกค้าในสถานที่ทางานได้ ดังน้ัน องค์การจะต้องช่วยให้พนักงานใหม่ได้ปรับตัวให้เข้ากับ วัฒนธรรม ซึ่งกระบวนการปรับตัวน้ี เราเรียกว่า “กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม” อาทิ ทหารเรือทุก คนต้องเข้าค่าย เพื่อให้เกิดความผูกพันในอาชีพทหารเรือ โดยครูฝึกจะสั่งสอนทหารเรือคนใหม่ให้ทา ในส่ิงที่ทหารเรือต้องทา เป็นต้น เม่ือเราพูดถึงกระบวนการเรียนรู้ทางสังคม ขั้นตอนที่สาคัญท่ีสุดของ กระบวนการเรียนรู้ทางสังคม ก็คือ การเข้าสู่องค์การ เพราะองค์การจะได้แสวงหาลักษณะของ บุคคลภายนอก ใหม้ าเป็นพนกั งานท่ดี ี กระบวนการเรียนรูท้ างสงั คมประกอบดว้ ย 3 ขน้ั ตอน ก่อนเขา้ องคก์ าร การเผชญิ หนา้ กนั การแปรรูป ผลผลิต ความผูกพนั การออกจากงาน 8.3.1 ข้ันก่อนเข้าองค์การ บุคคลแต่ละคนก่อนเข้ามาในองค์การก็จะนาค่านิยม ทัศนคติ และความคาดหวังติดตัวมาด้วย ท้ังที่เป็นเรื่องงานและเรื่ององค์การ อาทิ งานต่างๆ ท่ีเป็น งานอาชีพ สมาชิกใหม่ จะต้องผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางสังคม โดยการฝึกอบรม และเรียนใน โรงเรียนก่อน เช่น จุดประสงค์หลักของของโรงเรียนธุรกิจก็คือ ต้องการให้นักศึกษาได้เรียนรู้เก่ียวกับ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 96 ทัศนคติและพฤติกรรมของบริษัทต่างๆ ดงั นนั้ หากผู้บริหารเช่ือวา่ ความสาเร็จเกดิ จากการท่ีพนักงาน มีคา่ นิยมแบบแสวงหากาไร เป็นคนท่ีมคี วามจงรกั ภักดี ขยันทางานและยอมรับการส่ังงานของหัวหน้า ก็จะบรรจุคนที่จบจากโรงเรียนธุรกิจดังกล่าว ซึ่งองค์การส่วนมากจะมีกระบวนการคัดเลือกพนักงาน เพอ่ื ให้แน่ใจว่างานตา่ งๆ ไดร้ ับการบรรจคุ นที่เหมาะสมต่อไป 8.3.2. ข้ันเผชญิ หน้ากัน เปน็ ข้นั ตอนทีพ่ นักงานใหม่ได้เข้ามาอยู่ในองค์การแล้ว ทา ให้บุคคลต้องเผชิญกับความหวังเกี่ยวกับงาน เพื่อนร่วมงาน หัวหน้า และองค์การกับความเป็นจริง หากความคาดหวังถูกต้องก็จะยืนยันการรับรู้ต้ังแต่แรก แต่หากความคาดหวังกับความเป็นจริง แตกตา่ งกัน กจ็ ะทาใหพ้ นักงานใหม่ต้องเขา้ สกู่ ระบวนการเรียนรทู้ างสงั คมใหม่ เพื่อจะไดส้ อดคล้องกับ ความต้องการขององค์การ แตห่ ากพนักงานคนใหม่ไม่สามารถทาได้กจ็ ะตอ้ งลาออกจากงานไป 8.3.3. ขั้นแปรรูป เป็นข้ันตอนท่ีพนักงานใหม่ได้ปรับค่านิยมการทางานของตนเอง ไปเปน็ คา่ นิยมการทางานของกลมุ่ และบรรทัดฐานของกลุ่ม ซ่งึ ขั้นแปรรปู นีจ้ ะมีความสมบูรณ์ก็ต่อเม่ือ สมาชกิ ใหม่ไดป้ รับตวั ให้เขา้ กับองค์การและงานของตนเอง พนกั งานใหม่ที่ได้รับการยอมรับจากเพ่ือน ร่วมงาน จะมีความเช่ือม่ันในตนเองเก่ียวกับความสามารถในการทางานได้สาเร็จ มีความเข้าใจระบบ เป็นอย่างดี ทาให้ทราบวา่ ต้องใชเ้ กณฑอ์ ะไร ในการวัดผลและประเมินผลการทางาน และทราบวา่ ต้อง คาดหวังอะไร หากขั้นแปรรูปสาเร็จจะก่อให้เกิดผลกระทบไปในทางที่ดีแก่ผลผลิตของพนักงานใหม่ ความผกู พนั ต่อองคก์ าร และการออกจากงานลดลง สรุป วัฒนธรรมองค์การ คือ ค่านิยมและบรรทัดฐานที่ยดึ ถือร่วมกันมา โดยสมาชิกขององค์การ ที่กลายเป็นรากฐานของระบบบริหาร มีความผูกพันเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน มีอิทธิพลต่อทัศนคติ และพฤติกรรมของสมาชกิ ในองคก์ าร ลักษณะสาคัญของวัฒนธรรมองค์การ คือ วัฒนธรรมจะมีลักษณะท่ีสาคัญดังน้ี เป็นแบบ พฤติกรรมท่ีเกิดจากการเรียนรู้ที่อยู่ร่วมกัน เป็นส่ิงท่ีสืบทอดต่อกันมาสร้างความพอใจให้แก่มนุษย์ เป็นส่ิงท่ีสามารถปรับเปลี่ยนได้ เป็นผลรวมหรือการผสานทางวัฒนธรรม เป็นรูปแบบพฤติกรรมท่ี ต้องยึดถือและเป็นลักษณะท่ีเหนืออินทรี วัฒนธรรมท่ีก่อให้องค์การเกิดประสิทธิภาพต้องเป็น วฒั นธรรมท่มี ีความผูกพนั มกี ารปรบั ตัว การประพฤตปิ ฏบิ ตั ิได้สม่าเสมอ มวี สิ ัยทศั นแ์ ละภารกิจของ วทิ ยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบริหารงานคณุ ภาพในองค์การ 97 องค์การท่เี หมาะสม วฒั นธรรมในองค์การก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อองค์การ เชน่ ชว่ ยในการปรับตัวต่อ สภาพแวดล้อมภายนอก ช่วยในการผสมผสานภายใน ช่วยให้องค์การบรรลุเป้าหมาย และ วฒั นธรรมเปน็ สญั ลักษณอ์ ย่างหนึ่งขององค์การ องค์ประกอบของวัฒนธรรม สามารถแบ่งได้ 8 ประการ คือ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ค่านิยม สัญลักษณ์ เรื่องราว วีรบุรุษ ธรรมเนียมปฏิบัติ เครือข่ายวัฒนธรรม คาขวัญ วัฒนธรรมสามารถแบ่งออกได้ 4 ประเภท คือ วัฒนธรรมแบบปรับตัว วัฒนธรรมแบบม่งุ ผลสาเร็จ วัฒนธรรมแบบเครอื ญาติ วัฒนธรรมแบบราชการ วฒั นธรรมขององค์การ จะมีประโยชนต์ อ่ องค์การดงั นีค้ ือ ชว่ ยในการปรบั ตวั ตอ่ สภาพแวดล้อม ท้ังภายนอกและภายใน ช่วยให้เกิดความสามัคคีขึ้นในองค์การ ช่วยให้องค์การบรรลุเป้าหมายได้ โดยง่าย และก็เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งขององค์การ องค์การสามารถพัฒนาวัฒนธรรมให้เข้มแข็งได้ โดยการมุ่งเน้นกระทาการอยู่ใกล้ชิดกับลูกค้า ความเป็นอิสระและการเป็นผู้ประกอบการ การเพ่ิม ประสทิ ธิภาพโดยการกระจายธรุ กจิ อย่างระมัดระวัง การบารุงรักษาวัฒนธรรมองค์การ สามารถทาได้ 3 วิธี คือ การคัดเลือกแต่งต้ังบุคลากรท่ีมี ความรู้ มีทักษะ และมีความสามารถ การบริหารระดับสูงผู้บริหารระดับสูงต้องมความกล้าเสี่ยง และ กระบวนการทางสงั คม วทิ ยาลัยประมงตณิ สลู านนท์

วิชา การบรหิ ารงานคณุ ภาพในองค์การ 98 บทท่ี 5 กำรเพมิ่ ผลผลติ และกำรควบคุมกำรผลิตในองคก์ ำร หวั เร่อื ง 1. ความหมายของการเพิ่มผลิต 2. วตั ถปุ ระสงคข์ องการเพิ่มผลผลติ 3. ปัจจัยท่ีมีอทิ ธิพลต่อการเพิม่ ผลผลติ 4. องคป์ ระกอบของการเพิ่มผลผลิตหนว่ ยท่ี 5 5. การคกวบำครมุเพกาิ่มรผผลลติ ติแลผะลขนั้ แตลอนะกกาำรรคควบวคบมุ คกามุ รกผลำติรผลติ ในองคก์ ำร 6. ประเภทการผลิต 7. กระบวนการผลติ 8. การเพ่ิมผลผลิตโดยรวม 9. ประโยชน์จากการเพ่ิมผลผลิตในองคก์ าร จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เม่อื ศึกษาบทท่ี 5 จบแล้ว นักศกึ ษาสามารถ 1. อธบิ ายความหมายของการเพม่ิ ผลติ ได้ 2. บอกวัตถปุ ระสงคข์ องการเพิ่มผลผลติ ได้ 3. อธบิ ายปัจจัยท่ีมีอิทธิพลตอ่ การเพ่ิมผลผลิตได้ 4. อธิบายองค์ประกอบของการเพ่ิมผลผลิตได้ 5. บอกขัน้ ตอนและวิธกี ารควบคุมการผลติ ได้ 6. บอกความแตกตา่ งของประเภทการผลติ ได้ 7. อธบิ ายกระบวนการผลติ ได้ 8. ประเมินการเพ่มิ ผลผลิตโดยรวมได้ 9. อธบิ ายเสนอประโยชนจ์ ากการเพิม่ ผลผลติ ในองค์การ วิทยาลยั ประมงตณิ สลู านนท์

วชิ า การบริหารงานคณุ ภาพในองคก์ าร 99 การเพ่ิมผลผลิตในองค์การ คือ กระบวนการลดต้นทุนการผลิต การเพ่ิมคุณค่าให้กับ ผลิตภัณฑ์ และการเพ่ิมประสิทธิภาพการทางานให้เกิดคุณค่า คุณภาพ โดยใช้ทรัพยากรในการผลิต น้อยท่ีสุด การเพิ่มผลผลิตมีความสาคัญต่อบุคคล องค์การ และประเทศ เพราะการเพิ่มผลผลิตทาให้ เกิดผลงานคุณภาพ สร้างความม่ันคง และความน่าเชื่อถือ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเพ่ิมผลผลิต คือ นโยบายของรัฐบาล ทรัพยากรที่นาไปใช้ รวมท้ังค่านิยม การเพ่ิมผลผลิตที่ดีนั้นองค์การจะต้องผลิต สินคา้ และบริการท่ีมีคุณภาพตรงตามความต้องการดว้ ยข้ันตอนและวิธีการควบคุมการผลิต ผลิตภณั ฑ์ ทีม่ ีความนา่ เชื่อถือ สร้างความพงึ พอใจให้แกล่ ูกค้า ซึ่งจะส่งผลถึงการเพ่มิ ผลผลิตโดยรวมขององค์การ ในที่สดุ 1. ควำมหมำยของกำรเพมิ่ ผลผลติ การเพ่ิมผลผลิต (Productivity) เป็น กระบวนการเพ่ิมประสิทธิภาพการทางานเพื่อให้เกิด ประสิทธิผลการเพิ่มปริมาณ เพิ่มคณุ ภาพหรือเพิ่มคุณคา่ ของสนิ คา้ และบริการ ดงั น้นั การเพิ่มผลผลิต (Productivity) หมายถึง อัตราส่วนระหว่างผลผลิตท่ีได้ (Output) กบั ปัจจัยนาเขา้ (Input) ซึง่ เกิดจากประสทิ ธิภาพจากการทางานของแต่ละองค์การ คาวา่ “Productivity” หรือ การเพ่ิมผลผลิตมีการแปลในภาษาตา่ งๆ กนั และให้ความหมาย ต่างๆ กัน เช่น การเพิ่มปริมาณการผลิต การปรับปรุงเพ่ิมผลผลิต เป็นต้น แต่ในความเป็นจริงแล้ว การเพ่ิมผลผลิตไม่จาเป็นต้องเพิ่มปริมาณการผลิต ถ้าหน่วยงานหรือองค์การสามารถลดต้นทุนการ ผลติ ลงได้กถ็ ือว่าเป็นการเพมิ่ ผลผลิต การลดต้นทนุ ลดการสญู เสยี และการใชป้ ระโยชน์จากปจั จยั การ ผลิตให้มากข้ึน ก็นับว่าเป็นการเพิ่มผลผลิต ดังนั้นการเพิ่มผลผลิตจึงเป็นเคร่ืองมือในการประกอบ ธรุ กิจและการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั การเพิม่ ผลผลติ น้ันเริ่มต้นจากการนาแนวคดิ ตามหลักวิทยาศาสตร์มาใช้ในการบริหาร ซง่ึ เริ่ม จากเฟรดเดอริค ดับเบิลยู เทเลอร์ โดยเน้นหลักการบริหารแบบวิทยาศาสตร์ ต้องเปลี่ยนแปลง ทัศนคติของพนักงานและฝ่ายบริหารท่ีมองเห็นความจาเป็นในการนาหลักวิทยาศาสตร์มาใช้ในการ บริหารงาน การที่จะผลักดันให้เกิดผลผลิตต้องการความร่วมมือจากกลุ่มคนต่างๆ เช่น นายจ้าง ลูกจ้าง และประชาชนทั่วไป เนื่องจากการเพิ่มผลผลิตน้ันก่อประโยชน์ให้กับบุคคลในกลุ่มต่างๆ นั้นเอง วิทยาลัยประมงตณิ สลู านนท์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook