Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา การบัญชีสินค้าและระบบใบสำคัญ รหัสวิชา 20201-2101

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชา การบัญชีสินค้าและระบบใบสำคัญ รหัสวิชา 20201-2101

Published by จอมขวัญ ศรีสวัสดิ์, 2021-11-16 03:45:07

Description: แผนบัญชีสินค้าและระบบใบสำคัญ

Search

Read the Text Version

1 แผนการจัดการเรียนรู้ มงุ่ เนน้ สมรรถนะอาชีพและบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วชิ า การบัญชีสนิ คา้ และระบบใบสำคัญ รหัสวิชา 20201-2101 หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 จัดทำโดย นางสาวจอมขวัญ ศรสี วัสดิ์ พนักงานราชการ(คร)ู ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 วิทยาลัยการอาชีพสอยดาว อาชีวศกึ ษาจงั หวัดจนั ทบรุ ี สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

2 โครงการสอน หลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี พทุ ธศักราช 2562 รหัส 20201-2101 วชิ าการบญั ชีสินค้าและระบบใบสำคัญ จำนวน 3 หน่วยกิต 5 ช่วั โมง/สัปดาห์ จดุ ประสงค์รายวิชา 1. เข้าใจหลักการและกระบวนการปฏบิ ตั ิงานบัญชเี กี่ยวกบั สนิ ค้าคงคลัง และระบบใบสำคัญ 2. บันทึกบญั ชีเกย่ี วกบั สินคา้ คงคลังตามหลกั การบัญชีทีร่ ับรองท่ัวไป 3. จัดการและวัดมลู คา่ สนิ ค้าคงคลงั ตามหลักการบัญชีทรี่ ับรองทัว่ ไป 4. บันทึกบญั ชีเก่ียวกับระบบใบสำคัญ 5. มีกิจนสิ ยั มีระเบยี บ ละเอยี ดรอบคอบ ซอื่ สตั ย์ มวี ินัย ตรงต่อเวลา และ มีเจตคตทิ ดี่ ีต่อวิชาชีพบญั ชี สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความรู้เก่ยี วกับหลักการและกระบวนการปฏบิ ัตงิ านบัญชีเก่ียวกบั สินคา้ คงคลงั และระบบใบสำคญั 2. บันทกึ บัญชเี กีย่ วกับสนิ ค้าคงคลงั ตามหลกั การบญั ชที ีร่ ับรองทั่วไป 3. จัดทำแผน่ งานสินค้าคงคลังและวดั มลู คา่ สินค้าคงคลังตามหลกั การ บญั ชที ี่รับรองท่วั ไป 4. บนั ทกึ บัญชเี ก่ียวกับระบบใบสำคัญ คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบตั เิ กี่ยวกับการจดั ทำและนำเสนองบการเงนิ ของธรุ กจิ ซ้ือขายสนิ ค้าด้วยวิธกี ารบันทึกบญั ชีสนิ ค้า คงคลังทง้ั ทจ่ี ดทะเบยี นและ ไม่จดทะเบียนภาษีมูลคา่ เพ่มิ หลกั การจัดการสินค้า ขน้ั ตอนและวิธีการปฏบิ ัติงานการจัดซื้อ การกำหนดจุดส่ังซ้ือ การตรวจรบั จดั เก็บสินคา้ และใหร้ หสั สนิ ค้า จัดทำบัญชีควบคมุ สินค้า จัดทำเอกสารการเบิกจ่าย การตรวจนับ การวัดมลู ค่าและรายงานสินค้าคงเหลือในวันสิ้นงวดบัญชี รวมทงั้ ปฏิบัติเกี่ยวกบั วิธกี าร ลักษณะของ ระบบใบสำคัญ วธิ ีการจดั เก็บใบสำคัญ การบันทกึ รายการในทะเบยี นใบสำคญั และทะเบียนจา่ ยเช็ค

3 หนว่ ยการเรยี นรแู้ ละสมรรถนะรายวิชา หน่วยที่ เรื่อง/หน่วยการสอน สมรรถนะรายวิชา 1 ความรเู้ ก่ียวกับสนิ ค้า 1. แสดงความรู้เกีย่ วกับหลักการและ 1.ความหมายของสนิ คา้ กระบวนการปฏบิ ตั ิงานบญั ชเี ก่ียวกบั 2.ประเภทของสนิ ค้า สนิ คา้ คงคลังและระบบใบสำคัญ 3.เอกสารที่ใช้เกี่ยวกบั สินค้า 2. บันทกึ บัญชเี กี่ยวกบั สินคา้ คงคลัง 4.ความสำคญั ของสนิ ค้าคงเหลอื ตามหลักการบญั ชที ี่รบั รองท่ัวไป 5.การแสดงรายการสินคา้ คงเหลอื ในงบการเงนิ 3. จัดทำแผ่นงานสนิ ค้าคงคลงั และวัด 2 ระบบการควบคุมสนิ ค้า มูลคา่ สนิ คา้ คงคลงั ตามหลกั การ บญั ชี 1.การควบคมุ สินคา้ ทีร่ ับรองท่ัวไป 2. การควบคุมการดำเนินงาน 4. บันทกึ บัญชเี ก่ียวกับระบบใบสำคัญ 3. การควบคุมทางบัญชี 4.การควบคุมค่าใช้จา่ ยเกี่ยวกับสนิ คา้ 5. การควบคมุ ปริมาณการสง่ั ซือ้ 6. การควบคมุ ปริมาณสินค้าคงเหลอื 7. การใช้รหสั แท่ง 3 การตรวจนับ การวัดมูลค่า และการรายงาน สินค้า คงเหลอื ในวนั สนิ้ งวดบัญชี 1.การตรวจนบั สนิ ค้าคงเหลอื 2.ประโยชนข์ องการตรวจนับสินคา้ คงเหลอื 3.การนบั รวมสินคา้ ทถ่ี อื เปน็ สินคา้ คงเหลอื 4.วิธกี ารตรวจนับสินค้าคงเหลือ 5.การวัดมูลค่าสนิ คา้ คงเหลือในวันสิน้ งวดบัญชี 4 การบนั ทกึ รายการเกย่ี วกบั สนิ ค้าคงเหลอื 1.การบนั ทึกรายการของกจิ การที่จดทะเบียนภาษมี ูลค่าเพิม่ 2.การบันทึกรายการซื้อสินคา้ กรณีมีส่วนลดรบั

4 3.การบนั ทกึ รายการเก่ยี วกบั สนิ คา้ คงเหลอื 4.การบนั ทึกบญั ชแี ยกประเภทท่ีเกี่ยวกับต้นทนุ ขาย 5.การปิดบญั ชีในสมุดรายวันทวั่ ไป หน่วยที่ เร่ือง/หน่วยการสอน สมรรถนะรายวชิ า 5 การจดั ทำและนำเสนองบการเงนิ ของธุรกิจซ้อื ขายสนิ คา้ 1.ผมู้ ีหนา้ ทจ่ี ดทะเบียนภาษมี ลู คา่ เพิ่ม 2.ผู้ประกอบการท่ีไมต่ อ้ งจดทะเบยี นภาษมี ลู คา่ เพม่ิ 3.รปู แบบการจัดทำและนำเสนองบการเงิน 4.งบ การเงิน ของธุรกิจ ซื้อขายสินค้าท่ีจ ดทะเบี ยน ภาษีมูลค่าเพ่ิม-วิธีบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบส้ินงวด และแบบต่อเนอ่ื ง 5.งบการเงินของธุรกิจซอ้ื ขายสนิ ค้าที่ไมจ่ ดทะเบียน ภาษีมลู ค่าเพมิ่ -วธิ ีบนั ทกึ บัญชีสนิ ค้าคงเหลือแบบส้นิ งวด และแบบต่อเนื่อง 6 ระบบใบสำคญั 1.ความหมายและความสำคัญของใบสำคัญ 2.เอกสารประกอบการลงบญั ชี 3.การจดั ทำระบบใบสำคัญและการกำหนดเลขท่เี อกสาร 4.ใบสำคญั จ่าย 5.การจัดเก็บใบสำคญั เข้าแฟ้ม 6.ระบบใบสำคัญ 7.ทะเบยี นใบสำคญั จา่ ย 8.ทะเบยี นจา่ ยเชค็ 9.การจัดเก็บใบสำคญั คา้ งจา่ ย 7 การยกเลิกหรอื การแกไ้ ขใบสำคัญจา่ ย 1.การชำระหนี้บางสว่ น 2.การจ่ายค่าขนส่งแทนเจา้ หน้ี 3.การสง่ คืนสินคา้

5 4.การชำระหนด้ี ว้ ยต๋วั เงนิ 5.การจา่ ยเงินเดอื นและค่าแรงงาน หนว่ ยที่ เรื่อง/หนว่ ยการสอน สมรรถนะรายวชิ า 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดและการเปลี่ยนวิธีการบัญชีมาใช้ ระบบใบสำคญั 1.การแก้ไขข้อผิดพลาด 2.การเปลย่ี นวิธีการบัญชีมาใช้ระบบใบสำคญั 3.ประโยชน์ของการบนั ทกึ บญั ชีระบบใบสำคัญ

6 ตารางวิเคราะห์สมรรถนะการเรยี นรู้ ลำดับ เรือ่ ง/รายการสอน ระดบั สมรรถนะท่พี ึงประสงค์ กิจ จำนวน ท่ี ความรู้ ทักษะ นิสยั คาบ (ชม.) 1 2 3 4 56 1 212 1 ความรูเ้ ก่ียวกบั สินคา้ 2 2 - - -- 3 -3- 5 2 ระบบการควบคมุ สนิ คา้ 1 1 2 - - - 3 - 3 - 15 3 การตรวจนับการวัดมูลค่าและการรายงาน 1 1 2 - - - 3 - 3 - 15 สนิ ค้าคงเหลือในวนั สิน้ งวดบัญชี 4 การบนั ทกึ รายการเกยี่ วกับสินคา้ คงเหลือ 1 1 2 - - - 3 - - 15 5 การจดั ทำและนำเสนองบการเงินของธุรกิจ 2 1 2 - - - 3 - - 15 ซอื้ ขายสนิ คา้ 6 ระบบใบสำคญั 22 - -- - -3- 5 7 การยกเลกิ หรือการแกไ้ ขใบสำคญั จา่ ย 2 2 - -- - -3- 5 8 การแกไ้ ขข้อผิดพลาดและการเปลยี่ น 1 1 2 - -- 3 -3- 5 วธิ ีการบัญชีมาใชร้ ะบบใบสำคัญ สรปุ เน้ือหา/สอบกลางภาค 5 สรปุ เน้ือหา/สอบปลายภาค 5 รวม 10 10 10 10 - - - - - - 90 ความสำคัญ/สัดสว่ นคะแนน (ร้อยละ) 2 2 2 2 -- 1 -1- ระดับสมรรถนะ ความรู้ 1 = ความจำ 2 = ความเขา้ ใจ 3 = การนำไปใช้ 4 = วิเคราะห์ 5 = สังเคราะห์ 6 = ประเมนิ คา่ ทกั ษะ 1 = การทำตามแบบ 2 = ถูกตอ้ งแม่นยำ กิจนสิ ัย 1 = การประเมินคุณคา่ 2 = การจดั ระบบ

7 การประเมินผล 40 % ประกอบด้วย 1. ด้านความรู้ 40 % ประกอบดว้ ย 1.1 ประเมนิ ตามสภาพจริงจากแบบประเมนิ 1.2 ประเมินสรปุ ผลการเรียนรู้ 20 % ประกอบด้วย 2. ดา้ นทักษะการปฏบิ ตั ิ 100 % 2.1 ประเมินตามสภาพจริงจากแบบประเมิน 2.2 งานบรกิ ารนอกห้องเรยี น ระดับคะแนน 3. ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 4 3.1 ประเมนิ ตามสภาพจริงจากแบบประเมิน 3.5 รวม 3 2.5 การตัดสินผลการเรยี น 2 1.5 เกณฑก์ ารประเมนิ 1 0 80 - 100 75 - 79 70 - 74 65 - 69 60 - 64 55 - 59 50 - 54 0 - 49 แหล่งการศกึ ษาคน้ ควา้ 1. หนังสอื อา้ งอิง 2. ห้องสมดุ ของวทิ ยาลยั ฯ และห้องสมดุ ประชาชน 3. การสบื คน้ ขอ้ มูลจาก Internet เว็บไซตต์ ่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง

8 ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรยี นรู้และเวลาทใี่ ช้ในการจดั การเรียนรู้ แผนการ เร่ือง/หน่วยการสอน สปั ดาห์ ช่ัวโมง เรยี นรู้ที่ ที่ ที่ 1 ความรู้เก่ียวกับสินค้า 1 1-5 1.ความหมายของสินค้า 2.ประเภทของสนิ ค้า 3.เอกสารที่ใช้เกย่ี วกับสนิ ค้า 4.ความสำคญั ของสนิ คา้ คงเหลอื 5.การแสดงรายการสินคา้ คงเหลือในงบการเงนิ 2 ระบบการควบคมุ สนิ ค้า 2-4 6-20 1.การควบคมุ สนิ คา้ 2. การควบคุมการดำเนนิ งาน 3. การควบคมุ ทางบัญชี 4.การควบคมุ คา่ ใช้จา่ ยเก่ยี วกับสนิ คา้ 5. การควบคุมปรมิ าณการสงั่ ซอ้ื 6. การควบคมุ ปรมิ าณสนิ ค้าคงเหลอื 7. การใช้รหัสแท่ง 3 การตรวจนับ การวัดมูลค่า และการรายงาน สินค้าคงเหลือในวันส้ินงวด 5-7 21-35 บัญชี 1.การตรวจนับสินคา้ คงเหลอื 2.ประโยชน์ของการตรวจนับสินคา้ คงเหลอื 3.การนับรวมสนิ ค้าทีถ่ ือเป็นสนิ คา้ คงเหลอื 4.วิธกี ารตรวจนบั สนิ คา้ คงเหลือ 5.การวดั มลู ค่าสนิ คา้ คงเหลือในวันสิน้ งวดบัญชี 4 การบันทึกรายการเกี่ยวกับสนิ ค้าคงเหลอื 8-10 36-50 1.การบันทกึ รายการของกิจการทีจ่ ดทะเบยี นภาษีมลู ค่าเพิ่ม 2.การบันทึกรายการซ้ือสินค้ากรณมี สี ่วนลดรับ 3.การบนั ทึกรายการเกีย่ วกับสนิ คา้ คงเหลือ

9 4.การบันทกึ บญั ชีแยกประเภททีเ่ ก่ียวกับต้นทนุ ขาย 5.การปิดบัญชีในสมุดรายวันทว่ั ไป แผนการ เรอ่ื ง/หนว่ ยการสอน สัปดาห์ ช่ัวโมง เรียนรูท้ ่ี ที่ ท่ี 5 การจัดทำและนำเสนองบการเงิน ของธรุ กิจซ้ือขายสินคา้ 11-13 51-65 1.ผมู้ ีหนา้ ทจ่ี ดทะเบยี นภาษีมูลคา่ เพมิ่ 2.ผู้ประกอบการทไี่ ม่ต้องจดทะเบยี นภาษีมูลค่าเพิ่ม 3.รปู แบบการจัดทำและนำเสนองบการเงิน 4.งบการเงินของธุรกิจซื้อขายสินค้าที่จดทะเบยี นภาษีมูลค่าเพม่ิ -วธิ บี ันทึกบัญชี สนิ คา้ คงเหลอื แบบสิ้นงวดและแบบตอ่ เน่ือง 5.งบการเงนิ ของธรุ กจิ ซอ้ื ขายสนิ ค้าท่ีไมจ่ ดทะเบยี นภาษีมลู คา่ เพิม่ -วิธบี ันทึก บญั ชีสินคา้ คงเหลอื แบบส้ินงวดและแบบตอ่ เนอ่ื ง 6 ระบบใบสำคัญ 14 66-70 1.ความหมายและความสำคัญของใบสำคัญ 2.เอกสารประกอบการลงบญั ชี 3.การจดั ทำระบบใบสำคญั และการกำหนดเลขท่ีเอกสาร 4.ใบสำคัญจา่ ย 5.การจดั เก็บใบสำคัญเขา้ แฟ้ม 6.ระบบใบสำคญั 7.ทะเบียนใบสำคัญจา่ ย 8.ทะเบยี นจ่ายเชค็ 9.การจัดเก็บใบสำคัญคา้ งจ่าย 7 การยกเลิกหรือการแกไ้ ขใบสำคัญจ่าย 15 71-75 1.การชำระหนบี้ างส่วน 2.การจ่ายค่าขนส่งแทนเจา้ หนี้ 3.การสง่ คนื สินคา้ 4.การชำระหนด้ี ้วยตัว๋ เงนิ 5.การจา่ ยเงินเดอื นและคา่ แรงงาน

10 แผนการ เร่อื ง/หนว่ ยการสอน สปั ดาห์ ช่ัวโมง เรยี นรทู้ ี่ ท่ี ท่ี 16 76-80 8 การแก้ไขขอ้ ผดิ พลาดและการเปลี่ยนวิธกี ารบญั ชีมาใชร้ ะบบใบสำคญั 1.การแกไ้ ขข้อผดิ พลาด 17 81-85 2.การเปลย่ี นวิธกี ารบญั ชีมาใช้ระบบใบสำคัญ 18 86-90 3.ประโยชน์ของการบนั ทกึ บญั ชีระบบใบสำคัญ สรุปเนอื้ หา/สอบกลางภาค 90 สรุปเนอ้ื หา/สอบปลายภาค รวม

11 แผนการจดั การเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 1 หน่วยที่ 1 รหสั วิชา 20201-2101 การบญั ชสี ินค้าและระบบใบสำคัญ สอนครงั้ ที่ 1 (1-5) ช่ือหนว่ ย ความร้เู กยี่ วกบั สินคา้ จำนวน 5 ชม. สาระสำคัญ สนิ ค้าในทางบัญชี คอื สนิ คา้ คงเหลอื หมายถงึ ส่ิงของซึ่งธุรกิจมีไว้เพื่อขายหรืออยู่ในระหว่างกระบวนการผลิต สำหรับกิจการซ้ือขายสินค้า สินค้าคงเหลือคือสินค้าสำเร็จรูป สินค้าของกิจการอุตสาหกรรมมี 4 ประเภทคือ สินค้า สำเรจ็ รปู สินคา้ ระหว่างผลิต วัตถดุ บิ วสั ดุสิ้นเปลือง เอกสารที่ใช้เก่ียวกับสนิ ค้ามีหลายชนิด ได้แก่ ใบขออนุมตั ซิ ื้อ ใบสั่ง ซอ้ื ใบรบั ของ ฯลฯ สินคา้ มีความสำคัญตอ่ กิจการมาก เพราะเป็นสนิ ทรพั ย์หมุนเวียนทมี่ ีมูลค่าเปน็ เงิน หากตีราคาสนิ ค้า คงเหลือผิดพลาดจะมีผลกระทบต่องบการเงินของกิจการ ทำให้การแสดงรายการสินค้าคงเหลือในงบการเงินผิด สินค้า คงเหลอื จะแสดงในต้นทนุ ขายสำหรับงบกำไรขาดทุน และแสดงเป็นสินทรัพยห์ มนุ เวียนในงบแสดงฐานะการเงนิ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1.อธบิ ายความหมายของสนิ คา้ ได้ 2.จำแนกประเภทของสินค้าได้ 3.อธิบายเอกสารที่ใชเ้ ก่ียวกบั สนิ คา้ ได้ 4.อธบิ ายความสำคญั ของสนิ คา้ ได้ 5.อธิบายการแสดงรายการสินค้าคงเหลอื ในงบการเงนิ ได้ 6.มกี ิจนิสยั มรี ะเบียบ ละเอยี ดรอบคอบ ซ่ือสตั ย์ มีวินัย ตรงต่อเวลา และมเี จตคติท่ีดี ต่อวชิ าชีพบัญชี 7.มกี ารพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผู้สำเร็จการศกึ ษา สำนักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ทค่ี รสู ามารถสงั เกตไดข้ ณะทำการสอนในเรือ่ ง 10.1 ความมีมนุษยสัมพนั ธ์ 10.2 ความมีวินัย 10.3 ความรบั ผิดชอบ 10.4 ความซ่อื สัตยส์ ุจรติ 10.5 ความเช่อื ม่นั ในตนเอง 10.6 การประหยัด

12 10.7 ความสนใจใฝ่รู้ 10.8 การละเว้นสง่ิ เสพตดิ และการพนัน 10.9 ความรักสามัคคี 10.10 ความกตัญญกู ตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรูเ้ กยี่ วกับหลกั การและกระบวนการปฏบิ ัติงานบญั ชเี ก่ยี วกบั สนิ ค้าคงคลงั และระบบใบสำคญั 2. บนั ทกึ บัญชเี กย่ี วกบั สนิ คา้ คงคลงั ตามหลักการบัญชที ี่รบั รองทั่วไป 3. จัดทำแผ่นงานสินคา้ คงคลงั และวดั มูลค่าสินคา้ คงคลงั ตามหลักการ บัญชีทร่ี ับรองทัว่ ไป 4. บันทกึ บัญชเี ก่ยี วกับระบบใบสำคัญ เน้อื หาสาระ 1.ความหมายของสินคา้ 2.ประเภทของสนิ ค้า 3.เอกสารทใ่ี ชเ้ กยี่ วกบั สนิ ค้า 4.ความสำคญั ของสินคา้ 5.การแสดงรายการสนิ คา้ คงเหลือในงบการเงนิ กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ นำเขา้ สู่บทเรยี น 1.ครูกล่าวถึงสินค้า ซ่ึงเปน็ สนิ ทรัพย์ท่ีกิจการคา้ มีไว้เพื่อจำหน่ายโดยมีวตั ถปุ ระสงค์ในการหากำไร ดังน้ัน เจา้ ของ กิจการจึงมีรายได้จากการขายสินค้าเป็นหลัก และคำนึงถึงค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานต่าง ๆ ด้วย ผู้เรียนยกตัวอย่าง สินคา้ ได้แก่ เครอ่ื งเขยี น หนังสือ เคร่อื งสำอาง คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ เครื่องเสยี ง เป็นตน้ 2.ผู้เรียนจดบันทกึ คะแนนจากการทำแบบประเมนิ ผลกอ่ นเรยี นไว้ในสมดุ ปฏิบตั ิการบัญชีของตนเอง ขนั้ สอน 3.ครูอธิบายของความหมายของสินค้า ประเภทของสินค้า เอกสารท่ีใช้เก่ียวกับสินค้า ความสำคัญของสินค้า และการแสดงรายการสินค้าคงเหลือในงบการเงิน โดยใช้สื่อ Power Point ประกอบการอธิบายพรอ้ มยกตัวอย่างการ เรยี นการสอน 4.ครูอธิบายสินค้า(Goodsหรือ Merchandise)หมายถึง สิ่งของซึ่งธรุ กิจมีไว้เพื่อขายตามลักษณะการประกอบ ธุรกิจปกติ หรืออยู่ในระหวา่ งกระบวนการผลติ เพื่อใหเ้ ป็นสินคา้ สำเร็จรปู เพอื่ ขาย หรือมไี ว้เพอ่ื ใช้ในการผลิตสินคา้ หรือ การใหบ้ ริการ ส่วนสินค้าในทางบญั ชหี มายถงึ สินคา้ คงเหลอื (Inventory) ความหมายตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 2

13 (ปรบั ปรุง 2552) เรื่อง สินค้าคงเหลอื ของสภาวิชาชพี บัญชี ในพระบรมราชปู ถัมภ์สินค้าคงเหลอื หมายถึงสินทรพั ย์ซง่ึ มี ลกั ษณะใดลักษณะหนง่ึ ดังต่อไปนี้ 1) ถือไวเ้ พ่อื ขายตามลักษณะการประกอบธุรกิจตามปกติของกจิ การ 2) อยูใ่ นระหว่างกระบวนการผลติ เพื่อใหเ้ ป็นสนิ ค้าสำเรจ็ รูปเพ่อื ขาย 3) อยู่ในรูปของวัตถดุ บิ หรอื วสั ดทุ ม่ี ีไวเ้ พือ่ ใชใ้ นกระบวนการผลิตสนิ ค้าหรอื ใหบ้ ริการ 5.ครบู อกประเภทของสนิ ค้า หรอื สินคา้ คงเหลือ ในทางบัญชีจำแนกตามลกั ษณะของธุรกิจ ดังน้ี 1) กิจการซ้ือขายสินค้าสินคา้ คงเหลอื ประกอบด้วย สินคา้ ทซ่ี ือ้ และถอื ไวเ้ พอื่ ขาย 2) กจิ การอตุ สาหกรรมหรือกจิ การท่ผี ลติ สนิ คา้ เพ่อื ขาย มี 4 ประเภทคือ 2.1 สินค้าสำเร็จรปู (Finished Goods) 2.2 สนิ ค้าระหว่างผลิต(Goods in Process) หรอื งานระหวา่ งทำ (Work in Process) 2.3 วัตถดุ บิ (Raw Materials) 2.4 วัสดสุ ิ้นเปลอื ง(Supplies)หรอื วัสดโุ รงงาน (Factory Supplies) 3) กจิ การบรกิ ารสนิ ค้าคงเหลือประกอบด้วย ต้นทนุ งานใหบ้ รกิ าร (ประกอบด้วยคา่ แรงงานและค่าใช้จ่าย อ่ืนที่เกย่ี วขอ้ งกบั การใหบ้ รกิ าร) ในส่วนที่สมั พนั ธก์ ับรายได้ทยี่ ังไมร่ ับร้ขู องกจิ การที่ใหบ้ ริการ 6.ครแู ละผ้เู รยี นแสดงเอกสารท่ใี ชเ้ กย่ี วกบั สนิ ค้า และช่วยกันแสดงความคิดเห็นในการนำไปใช้ ได้แก่ 1) ใบขอซ้ือหรือใบขออนมุ ตั ิซ้ือ (Purchase requisition) 2) ใบสง่ั ซ้อื (Purchase Order) 3) ใบรับของ (Receiving Report) 4) ใบส่งของ/ใบกำกบั สนิ ค้า/ใบกำกับภาษี (Delivery Order/Invoice/Tax Invoice) 5) ใบสง่ คนื สนิ ค้าหรือใบขอลดหนี้ (Debit Noteหรือ Debit Memorandum) 6) ใบรบั คนื สนิ ค้าหรือใบหกั หนี้หรือใบลดหนี้ (Credit Noteหรือ Credit Memorandum) 7) ใบเพิ่มหนี้ 7.ครูอธิบายความสำคัญของสินค้า โดยสินค้าหรือสินค้าคงเหลือมีความสำคัญต่อกิจการค้ามาก เพราะเป็น สนิ ทรัพย์หมุนเวียนที่มมี ูลค่าเป็นเงินที่สามารถนำไปเปลย่ี นสภาพเป็นเงินสดได้เรว็ โดยการขาย รองจากเงนิ สดและเงิน ฝากธนาคาร หากสินค้าขาดมืออาจทำให้กิจการหยุดชะงัก สูญเสียรายได้ สินค้าจะมีการหมุนเวียนโดยการซื้อมาและ ขายไป ในวันสิ้นงวดจะมีการตรวจนับและตีราคาสนิ ค้าคงเหลือ แผนกบญั ชีก็จะ บันทึกราคาทุนของสินค้าที่ซ้ือมาและ ราคาทุนของสินคา้ ที่ขายไป หากมีข้อผิดพลาดจะกระทบต่องบแสดงผลการดำเนินงาน และงบแสดงฐานะทางการเงิน ของกจิ การ นน่ั คอื ทำให้ตน้ ทนุ ขาย กำไรขาดทนุ และงบแสดงฐานะการเงนิ ผดิ พลาด ซึง่ มผี ลกระทบดังน้ี 1) สนิ คา้ คงเหลือปลายงวดสงู ต้นทุนขายต่ำ กำไรสุทธิสูงไป 2) สินค้าคงเหลอื ปลายงวดตำ่ ต้นทนุ ขายสูง กำไรสทุ ธิต่ำไป 3) สินคา้ คงเหลอื ตน้ งวดสูง ตน้ ทนุ ขายต่ำ กำไรสุทธิสูงไป 4) สนิ คา้ คงเหลอื ตน้ งวดตำ่ ต้นทนุ ขายสงู กำไรสุทธิต่ำ

14 8.ครูและผู้เรียนแสดงผลของการตีราคาสินค้าคงเหลือผิดพลาดท่ีมีผลกระทบต่องบกำไรขาดทุน และสรุปผล กระทบของการตีราคาสินคา้ คงเหลือ 9.ผ้เู รียนฝึกทักษะแสดงผลของการตีราคาสินค้าคงเหลือผิดพลาดท่ีมีผลกระทบตอ่ งบกำไรขาดทุน และสรปุ ผล กระทบของการตีราคาสินคา้ คงเหลือ งบกำไรขาดทุน ตรี าคาถกู ต้อง ตรี าคาต่ำไป ขายทั้งสิน้ 185,000 185,000 หกั รับคนื สินค้า 5,000 5,000 สว่ นลดจ่าย 3,600 8,600 3,600 8,600 ขายสทุ ธิ 176,400 176,400 ตน้ ทุนขาย สินค้าคงเหลอื ตน้ งวด 25,000 25,000 ซ้อื สินค้า 115,000 บวกคา่ ขนส่งเขา้ 4,500 119,500 หกั สว่ นลดรับ 8,000 ซ้อื สทุ ธิ 111,500 111,500 สนิ ค้าทม่ี ไี วเ้ พือ่ ขาย 136,500 136,500 หกั สินค้าคงเหลือปลายงวด 40,500 34,000 ตน้ ทนุ ขาย 96,000 102,500 กำไรข้นั ต้น 80,400 73,900 หักคา่ ใชจ้ ่ายทง้ั ส้นิ 52,700 52,700 กำไรสทุ ธิ 27,700 21,200 10.ผเู้ รียนสรุปผลกระทบต่อการตีราคาสินค้าคงเหลือปลายงวดต่ำไป 6,500 บาท ทำให้มีผลกระทบต่องบกำไร ขาดทนุ ดังน้ี ตน้ ทนุ ขายสงู กวา่ ความจรงิ 6,500 บาท (102,500 – 96,000) กำไรสุทธิต่ำกวา่ ความจริง 6,500 บาท (27,700 – 21,200)

15 11.ผู้เรียนแสดงรายการสนิ ค้าคงเหลอื จะแสดงในงบกำไรขาดทุนสินคา้ คงเหลือจะแสดงในต้นทนุ ขายโดยสนิ ค้า คงเหลอื ต้นงวดจะแสดงเปน็ รายการบวก (ส่วนทข่ี ายไปแล้ว) สว่ นสนิ ค้าคงเหลอื ปลายงวด จะแสดงเป็นรายการหัก (ส่วน ทเ่ี หลืออยู่) โดยแสดงเปน็ งบประกอบตน้ ทนุ ขายดังน้ี งบกำไรขาดทุนจำแนกค่าใช้จ่ายตามหนา้ ที่ : แบบข้ันเดยี ว ร้านกงั หนั งบกำไรขาดทนุ สำหรบั งวด 1 ปี สน้ิ สุดวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25X1 หมายเหตุ หน่วย: บาท รายได้ (1) 176,400 รายได้จากการขาย 96,400 คา่ ใช้จา่ ย (2) ต้นทุนขาย 22,200 149,100 ค่าใชจ้ ่ายในการขาย 20,000 27,300 ค่าใชจ้ า่ ยในการบรหิ าร 10,500 ค่าใชจ้ า่ ยอน่ื รวมคา่ ใช่จ่าย กำไรสทุ ธิ

งบกำไรขาดทุนจำแนกค่าใชจ้ า่ ยตามหน้าที่ : แบบหลายขน้ั 16 รา้ นกังหนั 96,400 80,000 งบกำไรขาดทนุ 52,700 สำหรบั งวด 1 ปี สน้ิ สดุ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 27,300 หมายเหตุ หนว่ ย: บาท รายไดจ้ ากการขาย (1) 176,400 ต้นทุนขาย กำไรขั้นตน้ (2) ค่าใช้จา่ ยในการขาย คา่ ใช้จ่ายในการบริหาร 22,200 คา่ ใชจ้ า่ ยอื่น 20,000 รวมค่าใช่จา่ ย 10,500 กำไรสุทธิ หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ หนว่ ย: บาท 25,000 หมายเหตุ 2 ตน้ ทุนขาย สนิ คา้ คงเหลือตน้ งวด 115,000 111,500 ซื้อสนิ ค้า 4,500 136,500 บวกคา่ ขนสง่ เข้า 40,500 119,500 96,000 หกั สว่ นลดรบั 8,000 ซ้ือสทุ ธิ สนิ ค้าทมี่ ีไวเ้ พื่อขาย หกั สนิ ค้าคงเหลอื ปลายงวด ต้นทุนขาย 12.ครแู ละผู้เรียนจัดทำงบแสดงฐานะการเงนิ สินค้าคงเหลือ (ปลายงวด) ในกิจการซอ้ื มาขายไป จะแสดงในงบ แสดงฐานะการเงนิ ในหวั ข้อสินทรัพยห์ มนุ เวียนตอ่ จากบัญชีลูกหน้ีการคา้ หรือตวั๋ เงนิ รับ ส่วนในกิจการอุตสาหกรรมจะแสดง

17 สินคา้ คงเหลือ 4 รายการ คอื สินคา้ สำเรจ็ รปู สนิ ค้าระหวา่ งผลิต (งานระหว่างทำ) วัตถุดิบและวสั ดุส้ินเปลือง โดยจะตอ้ ง แสดงเรยี งลำดบั ตามสินคา้ สำเรจ็ รูปจนถึงวสั ดุส้นิ เปลืองดงั นี้ งบแสดงฐานะการเงนิ ของกจิ การซ้อื มาขายไป รา้ นแกว้ พาณิชย์ งบแสดงฐานะการเงนิ (บางสว่ น) วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25X1 สนิ ทรพั ย์ สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น เงนิ สดและรายการเทียบเทา่ เงินสด 18,000 ลูกหน้กี ารคา้ และลกู หน้ีอ่ืน 13,500 สนิ ค้าคงเหลอื 9,000 วสั ดสุ ำนกั งาน 1,500 รวมสินทรพั ยห์ มนุ เวียน 42,000 13.ผู้เรียนทำแบบฝึกปฏิบัติ เพอ่ื ให้เกิดทกั ษะการเรียนรใู้ นเรื่องกจิ การซ้ือขายสินคา้ ขนั้ สรปุ และการประยกุ ต์ 14.ผู้เรียนยกตัวอย่างงบการเงินในกิจการซ้ือขายสินค้า โดยคำนึงถึงเงือ่ นไขคุณธรรมประกอบด้วย ในการซ้ือ สินค้ามาบริโภคหรือจำหน่ายกต็ ้องคำนงึ่ ถึงความพอดี ระมดั ระวังผลกระทบที่เกิดขนึ้ อย่างรอบคอบ จะไดไ้ ม่มีปญั หาตา่ ง ๆ ตามมา เชน่ ผลขาดทนุ หรือการกู้ยมื เงนิ มาลงทุน เปน็ ตน้ 1) การมคี วามรู้ คอื นำความร้มู าใช้ในการวางแผนและดำเนินชีวิต 2) การมีคณุ ธรรม คอื มีความซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต สามคั คี และช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกัน 15.ผู้เรยี นทำแบบประเมนิ หลงั เรยี นใช้เวลาประมาณ 10 นาที โดยวิธีเปลย่ี นกันตรวจ ครูเฉลยในแผน่ ใสหนา้ ชัน้ เรยี น สือ่ และแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสือเรียน วิชาการบัญชสี นิ ค้าและระบบใบสำคัญ ของสำนกั พิมพเ์ อมพันธ์ 2. สื่อ Power Point 3. กจิ กรรมการเรียนการสอน 4. ใบความรู้ 5. กจิ กรรมเสนอแนะผู้เรยี นเป็นสำคัญ และสง่ เสรมิ คุณธรรมนำความรู้ หลกั ฐาน 1. บันทกึ การสอน 2. ใบแสดงผลการปฏบิ ตั ิงาน

18 3. แผนจัดการเรยี นรู้ 4. ใบเชค็ ชือ่ เข้าห้องเรยี น การวดั ผลและการประเมนิ ผล วธิ วี ัดผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรู้ก่อนเรียนและหลงั เรียน 4. ประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสำคญั และสง่ เสริมคุณธรรมนำความรู้ 5 ประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ 6 สงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลุ่ม 7 การสังเกตและประเมนิ พฤตกิ รรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เครอื่ งมอื วัดผล 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยคร)ู 3. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ (โดยผู้เรียน) 4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรยี นร้กู อ่ นเรยี นและหลังเรยี น 6. แบบประเมินกิจกรรมเสนอแนะผู้เรียนเป็นสำคัญ และสง่ เสริมคุณธรรมนำความรู้ 7. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผู้เรยี นร่วมกนั ประเมิน เกณฑ์การประเมนิ ผล 1. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มชี อ่ งปรับปรงุ 2. เกณฑ์ผา่ นการประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) 4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑ์ผ่าน คือ 50% 5. แบบประเมินผลการเรียนรมู้ ีเกณฑผ์ ่าน 50% 6. แบบประเมนิ กิจกรรมเสนอแนะผู้เรียนเปน็ สำคญั และส่งเสริมคุณธรรมนำความร้ผู ่าน 50% 7 แบบประเมินคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนนขึ้นอยูก่ บั การ ประเมินตามสภาพจรงิ กิจกรรมเสนอแนะ 1.ทำใบงานและแบบประเมนิ ผลการเรยี น 2.บันทึกการรับ-จา่ ย 3.กจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รียนเปน็ สำคญั และส่งเสรมิ คณุ ธรรมนำความรู้

19 สมุดบนั ทึก รายรับ-รายจ่าย ของนาย/นาง/นางสาว....................................................... ประจำภาคเรยี นท่ี.../........ระหว่างเดอื น..................ถงึ เดือน................พ.ศ........ วัน เดือน ปี รายการ รายรับ รายจ่าย คงเหลือ หมายเหตุ:1.ถา้ ไมพ่ อใหใ้ ชก้ ระดาษ A-4 ตีแบบฟอร์มเพ่ิมเตมิ ได้ 2.ครผู ูส้ อนอาจให้บันทกึ เป็นวัน/อาทติ ย/์ เดอื นแลว้ สรุปเป็นภาคเรียน.../....กไ็ ด้ สรุป.................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................ ............ ข้อเสนอแนะ...................................................................................................................................... แบบประเมนิ กิจกรรมสง่ เสรมิ คุณธรรมนำความรู้ คำชีแ้ จง ให้ประเมินรายการแต่ละข้อแลว้ เขยี น เคร่ืองหมาย  ลงในช่องระดบั คุณภาพตามความเป็นจริง โดย กำหนดนำ้ หนกั คะแนน ดงั น้ี.- 5 = ดีมาก, 4 = ด,ี 3 = พอใช้ , 2 = ควรปรบั ปรุง, 1 = ใชไ้ มไ่ ด้ รายการประเมิน พฤติกรรมบ่งช้ี ระดับคุณภาพ 1. การมีมนุษยสัมพนั ธ์  แสดงกรยิ าท่าทางสุภาพตอ่ ผ้อู ่ืน 5 4 32 1  รับฟังความคดิ เห็นของผอู้ ื่น 2.ความมวี ินยั  ตรงต่อเวลาในการทำงาน  ประพฤตติ นถกู ต้องตามศีลธรรมอนั ดงี าม 3. ความรบั ผิดชอบ  ปฏิบัติงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายเสรจ็ ตามกำหนด  ปฏิบัติงานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ 4. ความซอ่ื สัตยส์ ุจรติ  ไม่นำผลงานผอู้ ่ืนมาแอบอา้ งเป็นของตนเอง  พดู ในส่ิงทเี่ ปน็ ความจริง 5. ความสนใจใฝ่รู้  ศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง  แสวงหาประสบการณแ์ ละความรู้ใหม่ ๆ 6. ความเช่ือมั่นในตนเอง  กลา้ แสดงความคดิ เห็นอย่างมีเหตผุ ล  กลา้ ทักทว้ งในสิง่ ทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง รวมคะแนนทไ่ี ด.้ ......................................คะแนน ขอ้ คิดเห็นเพิ่มเติม

20 1. กระบวนการคดิ ท่ีใช้ คอื ……….…………………………………….………………………………… 2. สงิ่ ทคี่ วรปรับปรงุ คอื ……….…………………………………….……………………………………….. ผ้ปู ระเมนิ ............................................ เกณฑก์ ารประเมินระดับคุณภาพ 28-30 คะแนน= ดมี าก 25-27 คะแนน= ดี 20-24 คะแนน= พอใช้ 15-19 คะแนน= ควรปรับปรงุ 0-14 คะแนน= ใช้ไมไ่ ด้ หมายเหตุ.- อา้ งองิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผูส้ ำเรจ็ การศึกษา สำนักงาน มาตรฐานการอาชีวศกึ ษา คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ บนั ทึกหลังการสอน ขอ้ สรปุ หลงั การสอน ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... .............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................................... ............................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................. . ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................... ปัญหาท่พี บ ............................................................................................................................. ...................... ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................... ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......................

21 .............................................................................................................................................. ..... ............................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................................. ...................... ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................... แนวทางแก้ปัญหา .................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................................. ...................... ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................... ................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................... .............................................................................................................................................. ..... แผนการจดั การเรียนร้แู บบบรู ณาการที่ 2 หนว่ ยที่ 2 รหสั วชิ า 20201-2101 การบญั ชสี นิ คา้ และระบบใบสำคญั สอนครั้งที่ 2 (6-10) ชอื่ หน่วย ระบบการควบคมุ สินคา้ จำนวน 5 ชม. สาระสำคญั การควบคุมสินค้าจะควบคุมการดำเนินงานตัง้ แตก่ ารขออนุมัติจัดซื้อจนถึงการเก็บรกั ษาสินค้าในโกดัง ส่วน การควบคุมทางบัญชีจะจัดทำทะเบียนรับสินค้า ทะเบียนจ่ายสินค้า บัญชีแยกประเภทสินค้า และทะเบียนสินค้า นอกจากนั้นยังตอ้ งควบคุมคา่ ใช้จา่ ยเกย่ี วกบั สนิ ค้า เพ่อื ลดคา่ ใช้จ่ายต่างๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ซึง่ การควบคุมปรมิ าณการสงั่ ซ้ือ ก็จะลดค่าใช้จ่ายลงโดยคำนวณหาปริมาณการส่ังซื้อท่ีประหยัดและระยะเวลาในการสั่งซื้อ นอกจากนั้นการควบคุม ปริมาณสินค้าคงเหลือก็จะควบคุมโดยกำหนดสนิ ค้าคงเหลือสูงสุด สินค้าคงเหลือต่ำสุด เพื่อคำนวณหาจุดส่ังซื้อเพ่ิม และปรมิ าณการสง่ั ซือ้ เพือ่ มใิ หส้ ินคา้ ขาดมอื จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1.อธิบายความสำคัญของการควบคมุ สินคา้ ได้ 2.อธบิ ายการควบคมุ การดำเนนิ งานได้ 3.มกี จิ นสิ ัย มีระเบียบ ละเอียดรอบคอบ ซื่อสตั ย์ มีวินยั ตรงตอ่ เวลา และมีเจตคตทิ ด่ี ี ตอ่ วิชาชีพบัญชี

22 สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั หลักการและกระบวนการปฏบิ ตั ิงานบัญชีเกีย่ วกับสินค้าคงคลงั และระบบใบสำคัญ 2. บันทกึ บัญชเี กย่ี วกบั สนิ ค้าคงคลงั ตามหลักการบญั ชที ่ีรบั รองทว่ั ไป 3. จดั ทำแผ่นงานสินคา้ คงคลงั และวดั มลู คา่ สนิ คา้ คงคลงั ตามหลกั การ บญั ชีท่ีรบั รองทว่ั ไป 4. บันทกึ บัญชเี กยี่ วกบั ระบบใบสำคญั เน้ือหาสาระ 1.การควบคมุ สนิ ค้า 2.การควบคุมการดำเนนิ งาน กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรยี น 1.ครูกลา่ วถึงเมอ่ื มกี ารซื้อขายสนิ ค้า กจิ การต้องบันทึกบนั ชีซ่ึงตามมาตรฐานการบญั ชีได้มีการกำหนดไวช้ ดั เจน และแนะนำใหผ้ เู้ รียนศกึ ษามาตรฐานการบัญชีเพ่ิมเตมิ 2. ผู้เรียนทำแบบประเมินก่อนเรียนใชเ้ วลา 10 นาที และเฉลยใสแ่ ผ่นใสให้ดูหนา้ ชั้นเรยี นและใหผ้ ู้เรียนแลก กนั ตรวจประเมินผล ข้ันสอน 2.ครูอธิบายการควบคุมสินค้า โดยมคี วามสำคัญตอ่ ธรุ กิจเพ่ือใหก้ ารดำเนินงานมีประสิทธิภาพ ธุรกจิ ตอ้ งมี การควบคมุ ในเรื่องตอ่ ไปนี้ 1) การควบคมุ การดำเนนิ งาน 2) การควบคมุ ทางบัญชี 3.ครแู ละผูเ้ รยี นอธบิ ายและแสดงเสน้ ทางเดินของเอกสารในการควบคมุ การดำเนนิ งาน โดยการควบคมุ การ ดำเนินงาน (Operating Control) เป็นการควบคุมภายในจะตอ้ งกำหนดวิธีควบคุมใหร้ ัดกุม ซ่ึงจะมกี ารควบคุมในเรอ่ื ง ดงั น้ี 1) การขออนุมตั ซิ ้ือ 2) การส่งั ซื้อ 3) การรับของ 4) การเกบ็ รักษา 5) การเบกิ จ่าย 4.ครูและผ้เู รยี นอธิบายพรอ้ มแสดงเสน้ ทางเดินของเอกสารในการควบคมุ ทางบัญชี โดยการควบคุม สินค้านอกจากจะควบคุมการดำเนินงาน ตงั้ แต่การขออนมุ ัตซิ ้อื จนถงึ การเบกิ จา่ ยแล้ว ต้องควบคุมทางบัญชี โดยจัดทำ บัญชสี ินคา้ ซึ่งเปน็ บัญชอี กี ชดุ หน่ึงแยกจากบัญชีการเงนิ เพื่อเปน็ เครอ่ื งมือควบคมุ สนิ ค้าเพราะบนั ทึกจำนวนสง่ิ ของ แต่ บญั ชกี ารเงนิ จะไมม่ ีจำนวนสนิ ค้า บญั ชสี นิ ค้าประกอบด้วย

23 1) ทะเบยี นรบั สินค้า 2) ทะเบียนจ่ายสนิ คา้ 3) บัญชีแยกประเภทสินค้า 4) ทะเบียนสินค้า ขั้นสรุปและการประยกุ ต์ ผ้เู รยี นวางแผนการนำหลกั ของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ต์ใชใ้ นการบนั ทึกบัญชีเกี่ยวกบั การซื้อขาย สนิ ค้า ซ่งึ ในเน้อื หาของสปั ดาหน์ ้ีสามารถสรปุ ไดด้ งั นี้ (1) สรา้ งภูมิคมุ้ กันทีด่ ีในตัวเองได้ เช่น ใช้ความรอบคอบในการบันทึกบญั ชีไม่ให้ผิดพลาด (2) มีเหตผุ ลในการวิเคราะห์รายการค้าแตล่ ะรายการ เพอ่ื บนั ทึกบัญชี (3) มีความเพยี งพอ ในการซอ้ื ขายสนิ คา้ เพอ่ื บริโภคหรือจำหน่าย (4) มีเงื่อนไขดา้ นคุณธรรม ได้แก่ บนั ทกึ บัญชีใหถ้ กู ต้อง (5) มีเงื่อนไขด้านวิชาการ ได้แก่ บนั ทกึ บัญชีตามหลกั การบญั ชีทย่ี อมรับทัว่ ไป และมคี วามรู้ เร่อื งมาตรฐานการบัญชี (6) สามารถนำรายการบญั ชไี ปบนั ทึกในเคร่ืองคอมพิวเตอรห์ รือโปรแกรมสำเรจ็ รปู บัญชไี ด้ สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรียน วชิ าการบญั ชีสินค้าและระบบใบสำคญั ของสำนกั พมิ พ์เอมพันธ์ 2. ส่อื Power Point 3. กิจกรรมการเรียนการสอน 4. ใบความรู้ 5. กิจกรรมเสนอแนะผเู้ รียนเปน็ สำคญั และส่งเสรมิ คณุ ธรรมนำความรู้ หลักฐาน 1. บันทกึ การสอน 2. ใบแสดงผลการปฏบิ ตั งิ าน 3. แผนจดั การเรียนรู้ 4. ใบเช็คช่ือเขา้ ห้องเรียน การวดั ผลและการประเมินผล วิธีวัดผล 1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้กอ่ นเรียน 4. ประเมนิ กิจกรรมเสนอแนะผเู้ รียนเปน็ สำคัญ และส่งเสริมคณุ ธรรมนำความรู้

24 5 ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ 6 สงั เกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ 7 การสังเกตและประเมินพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เคร่อื งมอื วัดผล 1.แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2.แบบประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุม่ (โดยครู) 3.แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยผ้เู รยี น) 4.แบบประเมนิ กจิ กรรมใบงาน 5.แบบประเมนิ ผลการเรียนรู้กอ่ นเรยี น 6.แบบประเมินกิจกรรมเสนอแนะผูเ้ รียนเป็นสำคญั และสง่ เสริมคุณธรรมนำความรู้ 7.แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผ้เู รียนร่วมกันประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มีชอ่ งปรับปรุง 2. เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 3. เกณฑ์ผ่านการสังเกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 4. กจิ กรรมใบงาน เกณฑ์ผา่ น คอื 50% 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้กอ่ นเรียนมเี กณฑผ์ ่าน 50% 6. แบบประเมินกจิ กรรมเสนอแนะผู้เรียนเปน็ สำคญั และสง่ เสริมคุณธรรมนำความร้ผู ่าน 50% 7 แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คะแนนข้ึนอย่กู บั การ ประเมินตามสภาพจรงิ กจิ กรรมเสนอแนะ 1. ทำใบงานและแบบประเมินผลการเรียนรู้ 2. บันทกึ การรบั -จา่ ย 3. กิจกรรมเสนอแนะผเู้ รยี นเป็นสำคัญ และส่งเสรมิ คณุ ธรรมนำความรู้ สมดุ บันทึก รายรับ-รายจา่ ย ของนาย/นาง/นางสาว....................................................... ประจำภาคเรียนท่ี.../........ระหวา่ งเดอื น..................ถงึ เดือน................พ.ศ. ........ วัน เดอื น ปี รายการ รายรบั รายจา่ ย คงเหลือ

25 หมายเหตุ:1.ถา้ ไมพ่ อใหใ้ ช้กระดาษ A-4 ตีแบบฟอร์มเพ่ิมเตมิ ได้ 2.ครผู ้สู อนอาจให้บันทึกเป็นวนั /อาทิตย์/เดือนแลว้ สรุปเปน็ ภาคเรยี น.../....ก็ได้ สรุป.................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ................................................................................................................................. ..... ............................................................................................................................. ............................... บันทกึ หลงั การสอน ขอ้ สรุปหลังการสอน .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .......................................................................................................................................... ........ ปัญหาทพี่ บ ................................................................................................................................................. . .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ..................................................................................................................................................

26 ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................................ ...... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. แนวทางแกป้ ัญหา .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ..................... แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการที่ 3 หนว่ ยท่ี 2 รหสั วิชา 20201-2101 การบญั ชีสนิ คา้ และระบบใบสำคญั สอนครง้ั ที่ 3 (11-15) ช่อื หน่วย ระบบการควบคมุ สนิ คา้ จำนวน 5 ชม. สาระสำคญั การควบคมุ สินค้าจะควบคุมการดำเนินงานต้งั แตก่ ารขออนมุ ัติจัดซ้ือจนถึงการเก็บรกั ษาสินค้าในโกดัง ส่วน การควบคุมทางบัญชีจะจัดทำทะเบียนรับสินค้า ทะเบียนจ่ายสินค้า บัญชีแยกประเภทสินค้า และทะเบียนสินค้า นอกจากน้ันยังต้องควบคมุ คา่ ใช้จา่ ยเก่ียวกบั สินค้า เพอ่ื ลดคา่ ใช้จา่ ยตา่ งๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง ซ่ึงการควบคุมปริมาณการสัง่ ซ้ือ ก็จะลดค่าใช้จ่ายลงโดยคำนวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดและระยะเวลาในการสั่งซ้ือ นอกจากน้ันการควบคุม ปริมาณสินค้าคงเหลือก็จะควบคุมโดยกำหนดสินค้าคงเหลือสูงสดุ สินค้าคงเหลือต่ำสุด เพ่ือคำนวณหาจุดสั่งซื้อเพิ่ม และปริมาณการส่ังซื้อเพ่ือมิใหส้ ินคา้ ขาดมอื จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.อธบิ ายการควบคุมทางบัญชี 4.จัดทำทะเบยี นท่ใี ชใ้ นการควบคมุ ทางบัญชีได้ 5.บอกประเภทของการควบคุมค่าใชจ้ า่ ยเก่ยี วกบั สินค้าได้ 6.มีกิจนิสยั มีระเบยี บ ละเอียดรอบคอบ ซ่อื สัตย์ มีวนิ ยั ตรงตอ่ เวลา และมีเจตคตทิ ดี่ ี ต่อวิชาชีพบญั ชี

27 7.มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผู้สำเรจ็ การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ที่ครูสามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนในเร่ือง 13.1 ความมีมนษุ ยสมั พนั ธ์ 13.2 ความมีวินยั 13.3 ความรบั ผดิ ชอบ 13.4 ความซ่อื สตั ย์สจุ ริต 13.5 ความเช่ือม่ันในตนเอง 13.6 การประหยัด 13.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 13.8 การละเวน้ สง่ิ เสพติดและการพนนั 13.9 ความรักสามคั คี 13.10 ความกตัญญกู ตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เก่ยี วกบั หลักการและกระบวนการปฏบิ ัติงานบญั ชีเกี่ยวกับสินคา้ คงคลงั และระบบใบสำคญั 2. บันทึกบัญชเี ก่ยี วกบั สนิ คา้ คงคลงั ตามหลกั การบัญชที ี่รบั รองทว่ั ไป 3. จดั ทำแผ่นงานสนิ ค้าคงคลงั และวัดมูลค่าสินคา้ คงคลังตามหลักการ บัญชีท่ีรบั รองทวั่ ไป 4. บันทึกบัญชีเกี่ยวกบั ระบบใบสำคัญ เนอ้ื หาสาระ 3.การควบคุมทางบัญชี 4.การควบคมุ ค่าใชจ้ า่ ยเกย่ี วกับสนิ ค้า 5. การควบคมุ ปรมิ าณการสง่ั ซ้ือ กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นำเข้าสู่บทเรียน 1.ครูกล่าวถึงเมอ่ื มกี ารซ้อื ขายสนิ ค้า กจิ การตอ้ งบันทกึ บนั ชีซง่ึ ตามมาตรฐานการบญั ชไี ด้มกี ารกำหนดไว้ชดั เจน และแนะนำใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษามาตรฐานการบญั ชเี พมิ่ เติม 2. ผู้เรียนทำแบบประเมินก่อนเรียนใชเ้ วลา 10 นาที และเฉลยใสแ่ ผน่ ใสให้ดูหนา้ ชน้ั เรยี นและใหผ้ ้เู รยี นแลก กนั ตรวจประเมินผล

28 ขนั้ สอน 2.ครอู ธบิ ายการควบคมุ สนิ ค้า โดยมีความสำคญั ตอ่ ธรุ กิจเพื่อให้การดำเนินงานมปี ระสทิ ธิภาพ ธุรกิจต้องมีการ ควบคุมในเรือ่ งตอ่ ไปนี้ 3) การควบคมุ ทางบญั ชี 4) การควบคมุ คา่ ใช้จา่ ยเก่ียวกบั สินค้า 3.ครูและผู้เรียนอธบิ ายและแสดงเส้นทางเดินของเอกสารในการควบคุมการดำเนินงาน โดยการควบคมุ การดำเนนิ งาน (Operating Control) เปน็ การควบคมุ ภายในจะต้องกำหนดวิธคี วบคุมใหร้ ัดกุม ซ่งึ จะมกี ารควบคมุ ใน เรื่องดงั นี้ 1) การขออนมุ ตั ซิ ้อื 2) การส่ังซ้อื 3) การรบั ของ 4) การเกบ็ รักษา 5) การเบิกจา่ ย 4.ครูและผูเ้ รยี นอธิบายพร้อมแสดงเส้นทางเดินของเอกสารในการควบคุมทางบญั ชี โดยการควบคุม สนิ คา้ นอกจากจะควบคมุ การดำเนนิ งาน ต้ังแตก่ ารขออนมุ ตั ซิ ือ้ จนถึงการเบกิ จ่ายแลว้ ต้องควบคุมทางบัญชี โดยจัดทำ บัญชสี ินค้า ซง่ึ เป็นบัญชีอีกชดุ หนงึ่ แยกจากบญั ชีการเงินเพอ่ื เป็นเครื่องมอื ควบคมุ สนิ คา้ เพราะบนั ทึกจำนวนสิ่งของ แต่ บัญชกี ารเงินจะไม่มจี ำนวนสนิ ค้า บัญชสี นิ คา้ ประกอบดว้ ย 1) ทะเบยี นรบั สนิ คา้ 2) ทะเบยี นจา่ ยสินคา้ 3) บัญชีแยกประเภทสนิ คา้ 4) ทะเบียนสนิ คา้ 5.ครูและผู้เรยี นอธบิ ายพร้อมแสดงเสน้ ทางการเดนิ เอกสารในการควบคุมค่าใช้จ่ายเกย่ี วกบั สินค้า โดย การควบคมุ ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกบั สนิ คา้ ก็เพ่ือทำใหค้ า่ ใช้จา่ ยเกี่ยวกับสินคา้ ต่ำที่สุดทำใหก้ ำไรสุทธิสูงสุด ซ่งึ ค่าใชจ้ ่ายเกี่ยวกบั สนิ ค้าคงเหลอื (Inventory Expenses) แบง่ เปน็ 3 ประเภทคอื 1) คา่ ใช้จา่ ยในการสัง่ ซอ้ื หรือส่งั ผลิตสินคา้ (Ordering Costs) 2) คา่ ใชจ้ ่ายในการเกบ็ รกั ษา (Inventory Carrying Cost) 3) ค่าใช้จ่ายเนอ่ื งจากสนิ คา้ ขาดแคลน (Out of Stock Cost) 6.ครูและผเู้ รียนอธบิ ายและแสดงการควบคุมปรมิ าณสินค้าคงเหลือ โดยการควบคมุ ปริมาณสนิ ค้าคงเหลือ คอื การปอ้ งกนั ไม่ให้สนิ ค้าในมือมจี ำนวนมากหรือน้อยเกินไป เพราะอาจจะทำให้เกิดความเสยี หายในการดำเนินงานได้ ซ่ึงควรจะควบคมุ ในเรอื่ ง ดังน้ี 1) จำนวนสนิ คา้ คงเหลือ 2) จดุ ท่ีสงั่ ซือ้ เพม่ิ

29 3) ปริมาณการส่ังซื้อเพ่ิม ข้ันสรปุ และการประยุกต์ 7.ครสู รปุ อกี ครั้งโดยเช่อื มโยงให้เหน็ กระบวนการนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวนั 8.ผู้เรยี นวางแผนการนำหลกั ของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกต์ใช้ในการบนั ทึกบัญชเี กย่ี วกับการซือ้ ขายสินค้า ซ่งึ ในเนื้อหาของสปั ดาห์นี้สามารถสรุปได้ดังนี้ (1) สร้างภูมคิ ้มุ กันทด่ี ีในตวั เองได้ เชน่ ใช้ความรอบคอบในการบนั ทึกบัญชีไมใ่ หผ้ ิดพลาด (2) มเี หตผุ ลในการวิเคราะห์รายการค้าแต่ละรายการ เพอื่ บันทกึ บญั ชี (3) มคี วามเพียงพอ ในการซอ้ื ขายสนิ คา้ เพ่อื บริโภคหรอื จำหน่าย (4) มเี งื่อนไขด้านคณุ ธรรม ไดแ้ ก่ บันทกึ บัญชีให้ถกู ต้อง (5) มเี ง่อื นไขด้านวชิ าการ ได้แก่ บนั ทกึ บัญชีตามหลกั การบัญชที ่ยี อมรบั ทัว่ ไป และมคี วามรู้ เรอ่ื งมาตรฐานการบญั ชี (6) สามารถนำรายการบญั ชไี ปบันทึกในเคร่ืองคอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมสำเรจ็ รปู บญั ชไี ด้ สือ่ และแหล่งการเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรียน วชิ าการบัญชีสินคา้ และระบบใบสำคญั ของสำนกั พมิ พเ์ อมพันธ์ 2. สอ่ื Power Point 3. กิจกรรมการเรยี นการสอน 4. ใบความรู้ 5. กิจกรรมเสนอแนะผู้เรยี นเปน็ สำคัญ และส่งเสรมิ คุณธรรมนำความรู้ หลักฐาน 1. บันทกึ การสอน 2. ใบแสดงผลการปฏบิ ตั ิงาน 3. แผนจดั การเรียนรู้ 4. ใบเช็คชอื่ เขา้ หอ้ งเรยี น การวดั ผลและการประเมินผล วิธวี ดั ผล 1. สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรียนรกู้ อ่ นเรยี น 4. ประเมินกิจกรรมเสนอแนะผเู้ รียนเปน็ สำคญั และส่งเสรมิ คุณธรรมนำความรู้ 5 ประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ 6 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม 7 การสงั เกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

30 เครื่องมือวดั ผล 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบุคคล 2. แบบประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ (โดยคร)ู 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ (โดยผู้เรียน) 4. แบบประเมินกิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมนิ ผลการเรยี นรกู้ ่อนเรยี น 6. แบบประเมินกิจกรรมเสนอแนะผู้เรียนเปน็ สำคญั และสง่ เสริมคณุ ธรรมนำความรู้ 7. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและผเู้ รียนร่วมกนั ประเมิน เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มชี ่องปรบั ปรุง 2. เกณฑ์ผา่ นการประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป) 3. เกณฑผ์ ่านการสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50% 5. แบบประเมินผลการเรยี นรู้ก่อนเรยี นมเี กณฑ์ผา่ น 50% 6. แบบประเมินกิจกรรมเสนอแนะผเู้ รียนเป็นสำคญั และสง่ เสริมคุณธรรมนำความรู้ผ่าน 50% 7 แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ คะแนนข้นึ อย่กู บั การ ประเมนิ ตามสภาพจริง กจิ กรรมเสนอแนะ 1. ทำใบงานและแบบประเมินผลการเรียนรู้ 2. บนั ทึกการรบั -จ่าย 3. กจิ กรรมเสนอแนะผ้เู รยี นเปน็ สำคญั และสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนำความรู้ สมุดบนั ทึก รายรบั -รายจ่าย ของนาย/นาง/นางสาว....................................................... ประจำภาคเรยี นที.่ ../........ระหว่างเดือน..................ถึงเดือน................พ.ศ. ........ วนั เดอื น ปี รายการ รายรบั รายจ่าย คงเหลอื

31 หมายเหตุ:1.ถา้ ไม่พอให้ใช้กระดาษ A-4 ตีแบบฟอร์มเพ่ิมเตมิ ได้ 2.ครูผู้สอนอาจให้บนั ทกึ เป็นวนั /อาทิตย/์ เดือนแล้วสรุปเป็นภาคเรียน.../....ก็ได้ สรปุ .................................................................................................................................................... .................................................................................................... ........................................................ ขอ้ เสนอแนะ...................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ บนั ทกึ หลังการสอน ขอ้ สรุปหลงั การสอน .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .............................................................................................................................. .................... ............................................................................................................. ..................................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ปัญหาทพ่ี บ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ..................................................................................................................................................

32 ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .............................................................................................................................................. .... แนวทางแก้ปญั หา .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. แผนการจดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการที่ 4 หน่วยที่ 2 รหัสวชิ า 20201-2101 การบัญชีสินค้าและระบบใบสำคญั สอนคร้ังท่ี 4 (16-20) ช่อื หนว่ ย ระบบการควบคมุ สินคา้ จำนวน 5 ชม. สาระสำคญั การควบคมุ สินค้าจะควบคุมการดำเนินงานตัง้ แตก่ ารขออนุมัติจัดซื้อจนถึงการเก็บรักษาสินค้าในโกดัง ส่วน การควบคุมทางบัญชีจะจัดทำทะเบียนรับสินค้า ทะเบียนจ่ายสินค้า บัญชีแยกประเภทสินค้า และทะเบียนสินค้า นอกจากนน้ั ยงั ตอ้ งควบคุมคา่ ใชจ้ ่ายเกีย่ วกบั สนิ คา้ เพอ่ื ลดคา่ ใชจ้ า่ ยต่างๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง ซงึ่ การควบคมุ ปรมิ าณการสั่งซื้อ ก็จะลดค่าใช้จ่ายลงโดยคำนวณหาปริมาณการสั่งซ้ือท่ีประหยัดและระยะเวลาในการส่ังซ้ือ นอกจากนั้นการควบคุม ปริมาณสินค้าคงเหลือกจ็ ะควบคุมโดยกำหนดสินค้าคงเหลือสูงสดุ สินค้าคงเหลือต่ำสุด เพ่ือคำนวณหาจุดส่ังซ้ือเพิ่ม และปริมาณการสั่งซ้ือเพอ่ื มใิ หส้ นิ ค้าขาดมอื จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 6.อธบิ ายการควบคุมปริมาณการสง่ั ซ้ือได้ 7.คำนวณปริมาณการส่ังซือ้ ได้ 8.อธบิ ายการควบคุมปรมิ าณสินคา้ คงเหลือ 9.คำนวณหาจุดส่ังซ้อื ปรมิ าณการสง่ั ซื้อและระยะเวลาสงั่ ซอื้ ได้

33 10.อธิบายการใช้รหัสแทง่ ได้ 11.มีทักษะปฏิบัตงิ านบญั ชตี ามหลกั การบัญชที ่ีรับรองทว่ั ไป พรอ้ มสำหรับการปฏบิ ัตงิ าน ในวชิ าชพี บัญชี 12.มีกิจนิสัย มรี ะเบยี บ ละเอียดรอบคอบ ซอ่ื สัตย์ มวี ินัย ตรงตอ่ เวลา และมเี จตคตทิ ี่ดี ต่อวชิ าชีพบญั ชี 13.มีการพัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้สำเรจ็ การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ท่ีครูสามารถสงั เกตไดข้ ณะทำการสอนในเรื่อง 13.1 ความมีมนุษยสัมพนั ธ์ 13.2 ความมีวินยั 13.3 ความรับผดิ ชอบ 13.4 ความซอื่ สตั ย์สุจรติ 13.5 ความเชือ่ มั่นในตนเอง 13.6 การประหยัด 13.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 13.8 การละเวน้ สงิ่ เสพติดและการพนัน 13.9 ความรกั สามคั คี 13.10 ความกตัญญูกตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกยี่ วกบั หลักการและกระบวนการปฏบิ ัติงานบัญชเี กี่ยวกบั สินคา้ คงคลงั และระบบใบสำคัญ 2. บันทึกบัญชเี ก่ียวกับสินคา้ คงคลังตามหลกั การบญั ชที รี่ บั รองทว่ั ไป 3. จดั ทำแผ่นงานสนิ คา้ คงคลงั และวัดมูลคา่ สินคา้ คงคลงั ตามหลกั การ บญั ชที ่ีรับรองท่วั ไป 4. บนั ทึกบัญชเี กี่ยวกบั ระบบใบสำคัญ เนอื้ หาสาระ 6.การควบคุมปรมิ าณสินค้าคงเหลอื 7.การใช้รหสั แท่ง (Bar Code) กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเขา้ สู่บทเรยี น 1.ครกู ลา่ วถงึ เม่อื มกี ารซ้อื ขายสินคา้ กจิ การตอ้ งบันทกึ บันชีซ่ึงตามมาตรฐานการบัญชไี ดม้ ีการกำหนดไวช้ ัดเจน และแนะนำให้ผ้เู รยี นศึกษามาตรฐานการบัญชเี พิ่มเตมิ 2. ผู้เรียนทำแบบประเมินก่อนเรียนใชเ้ วลา 10 นาที และเฉลยใสแ่ ผ่นใสใหด้ หู นา้ ช้นั เรยี นและให้ผเู้ รยี นแลก กนั ตรวจประเมินผล

34 ขนั้ สอน 1.ครูอธบิ ายการควบคุมสินคา้ โดยมีความสำคัญตอ่ ธรุ กิจเพ่ือใหก้ ารดำเนินงานมีประสทิ ธิภาพ ธุรกิจตอ้ งมกี าร ควบคุมในเรือ่ งตอ่ ไปนี้ 1) การควบคมุ การดำเนินงาน 2) การควบคมุ ทางบัญชี 3) การควบคุมค่าใช้จ่ายเกย่ี วกบั สินค้า 4) การควบคุมปรมิ าณการสงั่ ซอ้ื 5) การควบคุมปรมิ าณสนิ คา้ คงเหลอื 2.ครแู ละผเู้ รียนอธบิ ายพร้อมแสดงเสน้ ทางการเดนิ เอกสารในการควบคุมคา่ ใช้จ่ายเกี่ยวกบั สินคา้ โดย การควบคุมค่าใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั สินคา้ กเ็ พ่อื ทำใหค้ า่ ใช้จ่ายเกยี่ วกับสินค้าตำ่ ที่สดุ ทำให้กำไรสุทธิสูงสดุ ซ่งึ คา่ ใช้จา่ ยเกย่ี วกบั สนิ คา้ คงเหลือ (Inventory Expenses) แบง่ เปน็ 3 ประเภทคอื 1) คา่ ใช้จ่ายในการสั่งซือ้ หรอื สั่งผลิตสินค้า (Ordering Costs) 2) ค่าใชจ้ า่ ยในการเกบ็ รักษา (Inventory Carrying Cost) 3) ค่าใชจ้ า่ ยเน่อื งจากสินค้าขาดแคลน (Out of Stock Cost) 3.ครแู ละผู้เรียนอธิบายและแสดงการคำนวณการควบคมุ ปริมาณการส่งั ซ้อื โดยการควบคุมปริมาณการ สัง่ ซือ้ คือการควบคมุ ราคาสนิ ค้าเพ่ือประหยัดคา่ ใช้จ่าย โดยการสั่งซ้อื โดยประหยดั ซึ่งจะต้องคำนวณหาปรมิ าณการ สั่งซอ้ื ทปี่ ระหยดั (Economic Order Quantity) เพราะถา้ ส่งั ซือ้ ปริมาณทเ่ี หมาะสมก็จะประหยัดคา่ ใช้จา่ ยในการสั่งซ้อื ปริมาณการส่งั ซอ้ื ที่ประหยัดมีสูตรในการคำนวณดงั นี้ EOQ = 2SO C 100 EOQ = ปริมาณการส่ังซ้ือที่ประหยัด S = ปรมิ าณสนิ คา้ ทีข่ ายหรือใชต้ ลอดงวด (Selling) O = คา่ ใชจ้ ่ายในการสงั่ ซอื้ ตอ่ ครงั้ (Orderingcosts) C = ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาต่อหน่วย (Carryingcosts) 4.ครูและผู้เรียนแสดงการคำนวณในรา้ นมานพ ใชร้ ะบบการควบคมุ ภายในโดยควบคมุ การส่ังซอ้ื ซึ่งกจิ การ คาดว่าจะขายสินค้าได้ 5,000 หน่วย ค่าใชจ้ ่ายในการส่ังซอ้ื ต่อคร้งั 15 บาท คา่ ใช้จ่ายในการเก็บรกั ษา 10 บาทตอ่ หนว่ ย ให้คำนวณปริมาณการสงั่ ซอื้ ท่ีประหยัด

35 แทนคา่ EOQ = 2(5,000)(15) = 150,000 = 10 .10 100 1,500,000 = 1,224.74 หน่วย ปรมิ าณการสงั่ ซอ้ื ท่ปี ระหยัดคือจำนวน 1,225 หนว่ ย/คร้ัง หลังจากคำนวณหาปรมิ าณการส่งั ซ้ือทป่ี ระหยดั แล้ว จะสามารถคำนวณหายอดท่ีเกีย่ วขอ้ งอีก คอื การ คำนวณหาจำนวนคร้ังของการสง่ั ซอื้ จำนวนครงั้ ของการสง่ั ซื้อ ปรมิ าณการขาย = ปรมิ าณการสััง แทนคา่ = 5,000 1,225 =4.08 ครงั้ /ปี จำนวนครง้ั ของการสัง่ ซ้อื 4 ครง้ั /ปี หลังจากทราบจำนวนครั้งของการสงั่ ซื้อแลว้ สามารถคำนวณหาระยะเวลาการส่ังซอื้ (Lead time) ซงึ่ หมายถงึ ชว่ งระยะเวลาระหวา่ งที่ทำคำสัง่ ซอื้ จนถงึ เวลาไดร้ บั ของเข้าเก็บโกดังโดยมสี ตู รในการคำนวณ ดงั น้ี ระยะเวลาการสัง่ ซอื้ = จานวนวนใน 1 ปี จานวนครง้ ทส่ี ง่ ซอ้ื 365 แทนค่า = 4 = 91.25 วนั /ครั้ง ระยะเวลาการสัง่ ซ้ือ = 91 วัน/ครงั้ 5.ครูและผเู้ รยี นอธิบายและแสดงการควบคุมปรมิ าณสินค้าคงเหลือ โดยการควบคมุ ปริมาณสนิ ค้าคงเหลอื คือ การป้องกันไม่ใหส้ ินค้าในมือมจี ำนวนมากหรือนอ้ ยเกินไป เพราะอาจจะทำใหเ้ กดิ ความเสียหายในการดำเนินงานได้ ซึ่งควรจะควบคมุ ในเร่ือง ดังนี้ 1) จำนวนสินค้าคงเหลือ 2) จุดท่ีส่งั ซอ้ื เพ่ิม 3) ปริมาณการส่งั ซ้ือเพ่มิ 6.ครูอธบิ ายการใช้รหัสแท่ง (Bar Code) โดยรหสั แทง่ หรอื บาร์โคด้ (Bar Code) คอื รหัสผลิตภณั ฑ์ทเ่ี ป็น ภาษาสากลทางธรุ กจิ ทีใ่ ช้กนั ท่วั โลก ซ่ึงปัจจบุ นั บารโ์ คด้ สรา้ งขึน้ ภายใต้แบบแผนของสมาคมสัญลักษณร์ หสั แทง่ สากล แบ่งเปน็ 2 กลมุ่ คอื 1) ระบบ UPC = UniversalProductCodeใช้ในอเมริกาและแคนนาดา 2) ระบบ EAN = EuropeanArticleNumberingใช้กันมากท่ัวโลก เชน่ ยุโรป เอเชีย- แปซิฟิก ออสเตรเลียและลาตินอเมริกา รวมท้ังประเทศไทยด้วย

36 ขัน้ สรุปและการประยุกต์ 6.สรุปใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ใจถงึ รหัสแทง่ (Bar Code) สำหรับกิจการขนาดใหญใ่ นปัจจบุ นั จะนยิ มใช้รหัสแทง่ (Bar Code) เพราะเป็นมาตรฐานสากล สามารถตรวจสอบจำนวน ราคาสินค้าได้ เพราะเม่อื บาร์โค้ดถกู อ่านก็จะส่งข้อมลู ไปตัดยอดสินคา้ จากบตั รสินค้าในเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ทำใหท้ ราบยอดสนิ คา้ คงเหลอื ทันที ซงึ่ สะดวก รวดเรว็ กิจการที่ใช้รหัสแท่งจะไมต่ รวจนับสนิ คา้ คงเหลือทุกชนิด เพราะมีการบนั ทึกสินค้าแบบตอ่ เน่ืองโดยปอ้ นข้อมูลรับเขา้ และตัด ยอดเมอ่ื จำหน่ายสินคา้ ด้วยบาร์โคด้ จะตรวจนับสินคา้ คงเหลือ โดยวธิ กี ารสุม่ ตัวอยา่ งกบั สนิ คา้ บางชนดิ เทา่ น้ัน 7.ครสู รปุ อกี คร้ังโดยเชอ่ื มโยงใหเ้ ห็นกระบวนการนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั 8.ผเู้ รยี นวางแผนการนำหลักของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ์ ช้ในการบันทึกบัญชีเก่ียวกับการซื้อขายสินค้า ซ่ึงใน เนื้อหาของสปั ดาหน์ ้ีสามารถสรปุ ได้ดงั นี้ (1) สร้างภูมคิ มุ้ กนั ที่ดีในตวั เองได้ เช่น ใช้ความรอบคอบในการบนั ทกึ บัญชีไมใ่ หผ้ ิดพลาด (2) มีเหตผุ ลในการวิเคราะหร์ ายการคา้ แต่ละรายการ เพอ่ื บนั ทึกบัญชี (3) มคี วามเพียงพอ ในการซ้อื ขายสินค้าเพอ่ื บรโิ ภคหรอื จำหนา่ ย (4) มีเง่อื นไขด้านคุณธรรม ไดแ้ ก่ บนั ทกึ บัญชใี หถ้ กู ต้อง (5) มีเงื่อนไขด้านวชิ าการ ได้แก่ บันทึกบัญชตี ามหลักการบัญชีที่ยอมรบั ท่วั ไป และมคี วามรู้ เรื่องมาตรฐานการบญั ชี (6) สามารถนำรายการบญั ชีไปบันทึกในเคร่ืองคอมพวิ เตอรห์ รอื โปรแกรมสำเรจ็ รูปบัญชไี ด้ ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนงั สือเรยี น วชิ าการบัญชีสนิ คา้ และระบบใบสำคัญ ของสำนักพมิ พ์เอมพนั ธ์ 2. สือ่ Power Point 3. กิจกรรมการเรียนการสอน 4. ใบความรู้ 5. กิจกรรมเสนอแนะผ้เู รียนเป็นสำคญั และสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนำความรู้ หลักฐาน 1. บันทกึ การสอน 2. ใบแสดงผลการปฏบิ ัติงาน 3. แผนจัดการเรยี นรู้ 4. ใบเชค็ ช่ือเขา้ ห้องเรียน การวดั ผลและการประเมนิ ผล วธิ ีวัดผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมินผลการเรียนรกู้ อ่ นเรียน

37 4. ประเมินกิจกรรมเสนอแนะผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั และส่งเสริมคณุ ธรรมนำความรู้ 5 ประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 6 สังเกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่ 7 การสังเกตและประเมินพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมอื วดั ผล 1. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุ่ม (โดยคร)ู 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่ (โดยผู้เรยี น) 4. แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรยี นรกู้ อ่ นเรยี น 6. แบบประเมินกจิ กรรมเสนอแนะผู้เรยี นเปน็ สำคัญ และสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนำความรู้ 7. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ โดยครูและผเู้ รียนร่วมกนั ประเมิน เกณฑก์ ารประเมินผล 1. เกณฑผ์ ่านการสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล ต้องไม่มชี อ่ งปรับปรุง 2. เกณฑผ์ ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คอื ปานกลาง (50% ขึ้นไป) 3. เกณฑ์ผา่ นการสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50% ขึ้นไป) 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คือ 50% 5. แบบประเมินผลการเรียนร้กู อ่ นเรียนมีเกณฑ์ผ่าน 50% 6. แบบประเมินกิจกรรมเสนอแนะผเู้ รียนเปน็ สำคัญและส่งเสรมิ คุณธรรมนำความรู้ผา่ น 50% 7 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนขนึ้ อยูก่ บั การ ประเมินตามสภาพจรงิ กจิ กรรมเสนอแนะ 1. ทำใบงานและแบบประเมินผลการเรยี นรู้ 2. บันทึกการรบั -จ่าย 3. กิจกรรมเสนอแนะผู้เรียนเป็นสำคัญ และส่งเสรมิ คุณธรรมนำความรู้ สมุดบันทึก รายรบั -รายจา่ ย ของนาย/นาง/นางสาว....................................................... ประจำภาคเรียนที.่ ../........ระหว่างเดือน..................ถงึ เดือน................พ.ศ. ........ วัน เดือน ปี รายการ รายรับ รายจ่าย คงเหลือ

38 หมายเหตุ:1.ถ้าไมพ่ อใหใ้ ชก้ ระดาษ A-4 ตีแบบฟอร์มเพ่ิมเตมิ ได้ 2.ครูผูส้ อนอาจให้บันทกึ เป็นวัน/อาทิตย/์ เดือนแล้วสรปุ เปน็ ภาคเรยี น.../....ก็ได้ สรุป................................................................................................................................ .................... ............................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ...................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ บนั ทกึ หลงั การสอน ขอ้ สรปุ หลงั การสอน ...................................................................................................................................... ............ ...................................................................................................................... ............................ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. ................................................................................................................................. ................. .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................ ...................... ปัญหาทพ่ี บ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ..................................................................................................................................................

39 ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .............................................................................................................................................. .... แนวทางแกป้ ัญหา .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. แผนการจัดการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการท่ี 5 หน่วยท่ี 3 รหสั วชิ า 20201-2101 การบญั ชีสินค้าและระบบใบสำคญั สอนคร้งั ที่ 5 (21-25) ชอื่ หน่วย การตรวจนบั การวัดมูลค่า และการรายงานสินคา้ คงเหลอื ใน จำนวน 5 ช.ม. วันสิน้ งวดบญั ชี สาระสำคัญ การตรวจนบั สินค้า คือ การตรวจสอบสินค้าที่มอี ยู่จริงกับบัญชีสนิ ค้าของกิจการ ซ่ึงควรจะมีการตรวจนับ อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 2 คร้ัง เพ่ือปอ้ งกันการทุจริตและการขาดแคลนสนิ คา้ การตรวจนับสินค้าตอ้ งพจิ ารณาสินคา้ ที่มไิ ด้อยู่ ในกิจการดว้ ย เช่น สินคา้ ระหวา่ งทาง สินค้าฝากขายฯ เมื่อตรวจนบั แลว้ กิจการท่ีบันทึกบัญชรี ะบบ Periodicก็ตอ้ ง ตีราคาสินค้าคงเหลือ ซึ่งจะตีตามราคาทุน หรือมูลค่าสุทธิท่ีจะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะตำ่ กว่า หรือวิธีราคาขายปลีก หรือวิธีต้นทุนมาตรฐาน สว่ นระบบ Perpetual จะไม่ตีราคาสินค้าคงเหลือ เพราะบันทกึ บัญชสี นิ ค้าตอ่ เนอื่ ง จงึ ทราบ ราคาสนิ คา้ คงเหลือจากทะเบยี นสนิ คา้ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.อธบิ ายความหมายของการตรวจนบั สินค้าคงเหลอื ได้ 2.บอกประโยชนข์ องการตรวจนับสนิ คา้ คงเหลือได้

40 3.มกี ารพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ของผู้สำเรจ็ การศึกษา สำนกั งาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ที่ครสู ามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง 5.1 ความมมี นษุ ยสมั พนั ธ์ 5.2 ความมีวนิ ัย 5.3 ความรบั ผดิ ชอบ 5.4 ความซ่อื สตั ยส์ ุจรติ 5.5 ความเช่อื มั่นในตนเอง 5.6 การประหยดั 5.7 ความสนใจใฝ่รู้ 5.8 การละเว้นสิ่งเสพตดิ และการพนัน 5.9 ความรกั สามัคคี 5.10 ความกตัญญูกตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เกีย่ วกับหลักการและกระบวนการปฏบิ ตั ิงานบัญชเี กย่ี วกบั สินค้าคงคลงั และระบบใบสำคัญ 2. บันทกึ บัญชีเกี่ยวกบั สนิ คา้ คงคลงั ตามหลกั การบัญชีที่รับรองทั่วไป 3. จัดทำแผ่นงานสินค้าคงคลงั และวัดมลู ค่าสินคา้ คงคลังตามหลักการ บัญชที ี่รบั รองทัว่ ไป 4. บันทึกบัญชเี กยี่ วกบั ระบบใบสำคญั เนือ้ หาสาระ 1.การตรวจนับสนิ คา้ คงเหลอื 2.ประโยชนข์ องการตรวจนบั สนิ ค้าคงเหลอื กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรยี น 1.ครูเล่าใหผ้ ูเ้ รยี นฟังว่าการตรวจนบั สนิ คา้ คงเหลอื คอื การตรวจสอบสนิ คา้ ท่ีมีอยจู่ รงิ กับบัญชสี นิ คา้ ของกจิ การ ซ่ึงจะต้องมีการตรวจนบั อย่างน้อยปลี ะ 2 ครง้ั คอื การตรวจนบั เปน็ ปกติประจำปี และตรวจนบั กอ่ นการตรวจนับปกติ 2.ครูและผู้เรยี นช้ีแจงว่ากิจการที่บันทึกรายการเก่ียวกับสนิ ค้าแบบส้ินงวด (Periodic) กิจการจะต้องทำการ ตรวจนับสินค้าเพื่อให้ทราบจำนวนสินค้าเมื่อสิ้นงวดบัญชี เพื่อจัดทำงบการเงิน ส่วนกิจการที่บันทึกรายการเกี่ยวกับ สินคา้ แบบตอ่ เนอื่ ง (Perpetual) จะตรวจนับสินค้าเพอื่ ตรวจสอบกับจำนวนทีบ่ ันทกึ ไว้ในบัญชีสินคา้ ข้ันสอน 3.ครูอธิบายและสาธติ การตรวจนับสนิ คา้ คงเหลือ โดยแสดงสื่อ Power Point ประกอบการเรียนการสอน

41 4.ครแู ละผู้เรียนบอกประโยชนข์ องการตรวจนับสินคา้ คงเหลอื มปี ระโยชน์ดังนี้ 1) เพ่ือทำใหท้ ราบจำนวนสินค้าคงเหลอื ทีแ่ ทจ้ ริง หากมีของขาดหรือเกินตอ้ งปรับบญั ชใี ห้ถกู ตอ้ ง 2) เพอื่ เปรยี บเทียบสินคา้ ที่ตรวจนับไดก้ ับสนิ ค้าในทะเบียนสนิ คา้ 3) ทำให้เราทราบความเสยี หายของสนิ คา้ ทีม่ ี เช่น ถกู ทำลายโดยแมลง เสอ่ื มสภาพ ล้าสมยั จะได้หาวธิ ี ปอ้ งกนั ขอ้ บกพร่อง หรือพจิ ารณาว่าควรเก็บสนิ คา้ น้ันไว้อีกหรอื ควรจำหน่ายออกไป 4) เพอ่ื ป้องกันการทจุ รติ การยกั ยอก การสญู เสียของสินคา้ 5) เพื่อปอ้ งกันการขาดแคลนสนิ คา้ เพราะทราบยอดคงเหลอื จากการตรวจนบั ถ้า สินค้าเหลอื น้อยหรอื ถึง จุดสั่งซ้อื จะไดส้ ั่งซือ้ ทันที เน่ืองจากการสง่ั ซ้อื อาจลา่ ช้าได้ 6) เพอ่ื นำจำนวนสินคา้ คงเหลือทตี่ รวจนับได้ไปจดั ทำงบการเงนิ 5.ครแู ละผูเ้ รียนแสดงการนับรวมสนิ คา้ ที่ถือเปน็ สนิ ค้าคงเหลอื โดยการนบั รวมสนิ ค้าท่ถี อื เป็นสินค้าคงเหลือใน วนั ส้นิ งวด ควรรวมเฉพาะสินคา้ ทเ่ี ปน็ กรรมสิทธิข์ องกิจการเท่านนั้ ซึ่งกรรมสิทธิใ์ นสนิ คา้ มิได้มเี ฉพาะสินค้าท่คี งเหลืออยู่ ในร้านและยังไดไ้ ด้ขาย แตย่ งั รวมถึงสินค้าท่ีมิได้อยู่ในรา้ นดว้ ย 6.ผเู้ รียนวางแผนการนำหลักของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ตใ์ ช้ในการบนั ทกึ บญั ชเี กี่ยวกับการซื้อขายสินคา้ ซึง่ ในเนื้อหาของสปั ดาห์น้สี ามารถสรุปได้ดังนี้ (1) สร้างภูมิค้มุ กนั ท่ดี ใี นตวั เองได้ เช่น ใช้ความรอบคอบในการบนั ทึกบัญชไี ม่ใหผ้ ิดพลาด (2) มเี หตผุ ลในการวเิ คราะห์รายการคา้ แตล่ ะรายการ เพอ่ื บันทกึ บญั ชี (3) มีความเพยี งพอ ในการซ้ือขายสนิ คา้ เพื่อบรโิ ภคหรือจำหนา่ ย (4) มเี งอ่ื นไขดา้ นคณุ ธรรม ไดแ้ ก่ บนั ทกึ บัญชีให้ถูกตอ้ ง (5) มีเงื่อนไขด้านวิชาการ ได้แก่ บนั ทึกบญั ชตี ามหลกั การบัญชที ่ยี อมรบั ทั่วไป และมีความรู้ เรอื่ งมาตรฐานการบัญชี (6) สามารถนำรายการบัญชีไปบนั ทึกในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์หรือโปรแกรมสำเรจ็ รูปบญั ชไี ด้ ข้นั สรปุ และการประยุกต์ 7.สรุปโดยผู้เรียนฝกึ ทกั ษาทำใบงานใหเ้ กดิ ความชำนาญ เพ่อื ประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั และประเมนิ ผเู้ รยี น ตามแบบฟอรม์ ต่อไปนี้ ชอื่ ผู้เรยี น ประสบการณ์พืน้ ฐานการเรียนรู้ วธิ กี ารเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ ผลงาน 1. 2. 3. 4. 5. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้

42 1. หนังสอื เรียน วิชาการบัญชีสินคา้ และระบบบัญชีเดยี่ ว ของสำนกั พิมพ์เอมพนั ธ์ 2. ส่ือ Power Point 3. กิจกรรมการเรยี นการสอน 4. ใบความรู้ 5. กิจกรรมเสนอแนะผู้เรียนเป็นสำคัญ และส่งเสริมคณุ ธรรมนำความรู้ หลักฐาน 1. บันทกึ การสอน 2. ใบแสดงผลการปฏบิ ัติงาน 3. แผนจัดการเรยี นรู้ 4. ใบเชค็ ชื่อเขา้ หอ้ งเรยี น การวัดผลและการประเมนิ ผล วิธวี ดั ผล 1. สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมินผลการเรยี นรกู้ อ่ นเรียนและหลงั เรยี น 4. ประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผ้เู รียนเปน็ สำคัญ และส่งเสริมคณุ ธรรมนำความรู้ 5 ประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม 6 สงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลมุ่ 7 การสงั เกตและประเมินพฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ เคร่ืองมอื วดั ผล 1. แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุม่ (โดยคร)ู 3. แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกลุ่ม (โดยผู้เรียน) 4. แบบประเมนิ กิจกรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรยี นรกู้ ่อนเรยี นและหลงั เรยี น 6. แบบประเมนิ กิจกรรมเสนอแนะผูเ้ รียนเป็นสำคญั และสง่ เสรมิ คณุ ธรรมนำความรู้ 7. แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ โดยครูและผ้เู รยี นร่วมกนั ประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ ผล 1. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ตอ้ งไมม่ ีชอ่ งปรบั ปรุง 2. เกณฑ์ผา่ นการประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 3. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม คือ ปานกลาง (50% ขึ้นไป)

43 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑ์ผา่ น คอื 50% 5. แบบประเมินผลการเรียนรมู้ ีเกณฑผ์ า่ น 50% 6. แบบประเมินกิจกรรมเสนอแนะผู้เรยี นเปน็ สำคญั และส่งเสรมิ คุณธรรมนำความรผู้ า่ น 50% 7 แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ คะแนนขน้ึ อยู่กบั การ ประเมนิ ตามสภาพจริง กิจกรรมเสนอแนะ 1. ทำใบงานและแบบประเมินผลการเรียนรู้ 2. บันทกึ การรบั -จ่าย 3. กจิ กรรมเสนอแนะผู้เรียนเปน็ สำคญั และส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้ สมดุ บนั ทกึ รายรับ-รายจา่ ย ของนาย/นาง/นางสาว....................................................... ประจำภาคเรียนท่.ี ../........ระหว่างเดอื น..................ถงึ เดือน................พ.ศ........ วัน เดือน ปี รายการ รายรบั รายจา่ ย คงเหลือ

44 หมายเหตุ:1.ถ้าไม่พอใหใ้ ช้กระดาษ A-4 ตีแบบฟอรม์ เพ่ิมเตมิ ได้ 2.ครูผู้สอนอาจใหบ้ ันทกึ เปน็ วัน/อาทิตย/์ เดือนแล้วสรปุ เปน็ ภาคเรยี น.../....ก็ได้ สรุป.................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................... ข้อเสนอแนะ...................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ แบบประเมินกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมนำความรู้ คำชีแ้ จง ใหป้ ระเมนิ รายการแต่ละข้อแล้วเขียน เครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ งระดบั คณุ ภาพตามความเปน็ จริง โดย กำหนดน้ำหนกั คะแนน ดงั นี้.- 5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช้ , 2 = ควรปรบั ปรุง, 1 = ใช้ไมไ่ ด้ รายการประเมิน พฤติกรรมบง่ ช้ี ระดบั คณุ ภาพ 1. การมีมนษุ ยสมั พนั ธ์  กลา่ วขอบคุณเมื่อไดร้ ับการชว่ ยเหลอื จากผ้อู น่ื 5 4 32 1  รับฟังความคดิ เห็นของผู้อ่ืน 2.ความมีวินัย  ไมม่ าโรงเรียนสาร  เขา้ หอ้ งเรยี นทันเวลาสม่ำเสมอ 3. ความรับผดิ ชอบ  ปฏิบัตงิ านท่ไี ดร้ ับมอบหมายเสร็จตามกำหนด  ปฏิบัติงานดว้ ยความละเอียดรอบคอบ 4. ความซื่อสัตยส์ จุ ริต  ไมน่ ำผลงานผู้อ่ืนมาแอบอ้างเป็นของตนเอง  พูดในสิ่งทเ่ี ปน็ ความจรงิ 5. ความสนใจใฝ่รู้  ศกึ ษาค้นคว้าจากกรมสรรพากร  แสวงหาประสบการณ์และความรใู้ หม่ ๆ 6. ความเช่ือม่ันในตนเอง  ยอมรับฟังข้อเสนอแนะจากผู้อน่ื  แสดงความคิดเหน็ เรื่องภาษมี ูลค่าเพ่มิ

45 รวมคะแนนทีไ่ ด้.......................................คะแนน ข้อคิดเห็นเพ่มิ เติม 1. กระบวนการคดิ ท่ใี ช้ คือ……….…………………………………….………………………………… 2. สิง่ ที่ควรปรับปรงุ คือ……….…………………………………….……………………………………….. ผู้ประเมนิ ............................................ เกณฑก์ ารประเมินระดบั คุณภาพ 28-30 คะแนน= ดีมาก 25-27 คะแนน= ดี 20-24 คะแนน= พอใช้ 15-19 คะแนน= ควรปรับปรงุ 0-14 คะแนน= ใชไ้ มไ่ ด้ หมายเหต.ุ - อา้ งองิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มและคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของผู้สำเรจ็ การศกึ ษา สำนกั งาน มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร บันทึกหลังการสอน ขอ้ สรปุ หลังการสอน ................................................................................................................................. ................. .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... ....................................................................................................... ........................................... ............................................................................................................................. ..................... ปัญหาทพี่ บ ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ..................................................................................................................................................

46 ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .............................................................................................................................................. .... แนวทางแก้ปัญหา .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ..................... แผนการจัดการเรียนรแู้ บบบูรณาการที่ 6 หน่วยที่ 3 รหสั วิชา 20201-2101 การบัญชีสินค้าและระบบใบสำคญั สอนครง้ั ที่ 6 (26-30) ชือ่ หนว่ ย การตรวจนบั การวดั มูลค่า และการรายงานสินคา้ คงเหลือใน จำนวน 5 ช.ม. วันสนิ้ งวดบญั ชี สาระสำคัญ การตรวจนบั สินค้า คือ การตรวจสอบสินค้าที่มีอยู่จริงกับบัญชีสนิ ค้าของกิจการ ซง่ึ ควรจะมีการตรวจนับ อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 2 ครั้ง เพือ่ ป้องกนั การทุจรติ และการขาดแคลนสนิ ค้า การตรวจนบั สินคา้ ตอ้ งพจิ ารณาสินค้าท่ีมไิ ดอ้ ยู่ ในกิจการดว้ ย เชน่ สินค้าระหวา่ งทาง สินค้าฝากขายฯ เมื่อตรวจนบั แลว้ กิจการท่ีบันทกึ บญั ชรี ะบบ Periodicก็ต้อง ตรี าคาสินค้าคงเหลือ ซ่ึงจะตีตามราคาทุน หรือมูลค่าสุทธิท่ีจะได้รบั แล้วแต่ราคาใดจะตำ่ กว่า หรือวิธีราคาขายปลีก หรือวิธตี ้นทุนมาตรฐาน ส่วนระบบ Perpetual จะไม่ตรี าคาสนิ ค้าคงเหลือ เพราะบันทึกบญั ชีสนิ ค้าตอ่ เนอ่ื ง จงึ ทราบ ราคาสนิ ค้าคงเหลือจากทะเบียนสินค้า จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.อธบิ ายสนิ คา้ ที่นับรวมเป็นสนิ คา้ คงเหลอื ได้ 4.วิธีการตรวจนบั สนิ คา้ คงเหลือ

47 5.มกี ารพฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคข์ องผ้สู ำเร็จการศกึ ษา สำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ครสู ามารถสงั เกตได้ขณะทำการสอนในเรื่อง 5.1 ความมมี นุษยสัมพนั ธ์ 5.2 ความมีวนิ ัย 5.3 ความรบั ผิดชอบ 5.4 ความซ่อื สตั ยส์ ุจริต 5.5 ความเชือ่ มน่ั ในตนเอง 5.6 การประหยัด 5.7 ความสนใจใฝร่ ู้ 5.8 การละเว้นสง่ิ เสพติดและการพนัน 5.9 ความรักสามัคคี 5.10 ความกตญั ญูกตเวที สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรู้เก่ียวกบั หลักการและกระบวนการปฏิบัติงานบญั ชเี กยี่ วกับสนิ คา้ คงคลงั และระบบใบสำคญั 2. บันทกึ บัญชีเกย่ี วกับสินคา้ คงคลงั ตามหลกั การบญั ชีทร่ี ับรองทว่ั ไป 3. จดั ทำแผ่นงานสินค้าคงคลงั และวดั มูลค่าสินคา้ คงคลังตามหลักการ บัญชที ร่ี บั รองทั่วไป 4. บนั ทกึ บัญชีเก่ียวกบั ระบบใบสำคัญ เนอ้ื หาสาระ 3.การนบั รวมสนิ คา้ ทถี่ ือเป็นสินคา้ คงเหลือ 4.วิธกี ารตรวจนบั สินคา้ คงเหลอื กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนำเข้าสูบ่ ทเรียน 1.ครเู ลา่ ให้ผเู้ รยี นฟงั วา่ การตรวจนับสนิ ค้าคงเหลือคอื การตรวจสอบสินค้าทีม่ อี ยูจ่ รงิ กับบญั ชีสนิ ค้าของกิจการ ซ่งึ จะตอ้ งมกี ารตรวจนบั อยา่ งนอ้ ยปีละ 2 ครงั้ คอื การตรวจนบั เป็นปกตปิ ระจำปี และตรวจนบั ก่อนการตรวจนับปกติ 2.ครูและผู้เรียนช้ีแจงว่ากจิ การที่บันทึกรายการเกี่ยวกับสินค้าแบบส้ินงวด (Periodic) กิจการจะต้องทำการ ตรวจนับสินค้าเพื่อให้ทราบจำนวนสินค้าเม่ือส้ินงวดบัญชี เพื่อจัดทำงบการเงิน ส่วนกิจการที่บันทึกรายการเกี่ยวกับ สินคา้ แบบต่อเน่ือง (Perpetual) จะตรวจนบั สินคา้ เพื่อตรวจสอบกบั จำนวนทบ่ี ันทึกไว้ในบัญชีสินคา้ ขนั้ สอน 3.ครอู ธบิ ายและสาธติ การตรวจนบั สินคา้ คงเหลือ โดยแสดงส่ือ Power Point ประกอบการเรยี นการสอน 4.ครูและผเู้ รียนบอกประโยชน์ของการตรวจนบั สินคา้ คงเหลอื มปี ระโยชนด์ งั น้ี 1) เพอื่ ทำใหท้ ราบจำนวนสินคา้ คงเหลอื ทแี่ ท้จรงิ หากมีของขาดหรอื เกนิ ต้องปรบั บัญชีใหถ้ กู ต้อง

48 2) เพื่อเปรยี บเทียบสนิ คา้ ท่ีตรวจนบั ไดก้ ับสนิ คา้ ในทะเบียนสินค้า 3) ทำให้เราทราบความเสยี หายของสินค้าท่มี ี เช่น ถกู ทำลายโดยแมลง เสอ่ื มสภาพ ลา้ สมยั จะไดห้ าวิธี ปอ้ งกันขอ้ บกพรอ่ ง หรือพจิ ารณาว่าควรเกบ็ สินค้านั้นไว้อกี หรือควรจำหนา่ ยออกไป 4) เพื่อป้องกันการทุจริตการยกั ยอก การสญู เสียของสินค้า 5) เพือ่ ป้องกันการขาดแคลนสินค้า เพราะทราบยอดคงเหลอื จากการตรวจนบั ถา้ สนิ คา้ เหลือนอ้ ยหรอื ถงึ จุดสัง่ ซือ้ จะได้สัง่ ซื้อทนั ที เนื่องจากการสง่ั ซอ้ื อาจล่าชา้ ได้ 6) เพอ่ื นำจำนวนสนิ คา้ คงเหลอื ทีต่ รวจนับไดไ้ ปจดั ทำงบการเงิน 5.ครแู ละผเู้ รียนแสดงการนบั รวมสินคา้ ทีถ่ ือเป็นสินคา้ คงเหลือ โดยการนบั รวมสนิ คา้ ทถี่ ือเปน็ สินคา้ คงเหลอื ใน วนั ส้นิ งวด ควรรวมเฉพาะสนิ คา้ ท่เี ปน็ กรรมสิทธิข์ องกิจการเทา่ นน้ั ซึ่งกรรมสทิ ธ์ใิ นสนิ ค้า มิไดม้ ีเฉพาะสินค้าท่ีคงเหลืออยู่ ในร้านและยังไดไ้ ด้ขาย แตย่ ังรวมถึงสนิ ค้าที่มิไดอ้ ยใู่ นรา้ นด้วย 6.ผู้เรียนวางแผนการนำหลักของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใ์ ช้ในการบนั ทกึ บญั ชีเกย่ี วกับการซื้อขายสนิ ค้า ซ่ึง ในเนอื้ หาของสปั ดาห์น้ีสามารถสรปุ ได้ดงั นี้ (1) สรา้ งภูมิคุ้มกันที่ดใี นตัวเองได้ เช่น ใช้ความรอบคอบในการบันทึกบัญชไี มใ่ ห้ผดิ พลาด (2) มเี หตุผลในการวิเคราะหร์ ายการคา้ แต่ละรายการ เพอ่ื บันทกึ บัญชี (3) มีความเพียงพอ ในการซ้ือขายสินคา้ เพือ่ บรโิ ภคหรือจำหน่าย (4) มีเงือ่ นไขด้านคุณธรรม ได้แก่ บนั ทึกบัญชใี หถ้ ูกต้อง (5) มีเง่ือนไขดา้ นวิชาการ ได้แก่ บันทกึ บญั ชตี ามหลักการบญั ชที ย่ี อมรบั ท่ัวไป และมีความรู้ เรื่องมาตรฐานการบญั ชี (6) สามารถนำรายการบญั ชไี ปบันทึกในเคร่อื งคอมพิวเตอร์หรือโปรแกรมสำเรจ็ รปู บญั ชีได้ ขนั้ สรุปและการประยกุ ต์ 7.สรุปโดยผู้เรยี นฝึกทกั ษาทำใบงานใหเ้ กดิ ความชำนาญ เพอื่ ประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั และประเมนิ ผเู้ รยี น ตามแบบฟอรม์ ตอ่ ไปน้ี ชื่อผเู้ รยี น ประสบการณพ์ ้นื ฐานการเรียนรู้ วธิ ีการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ ผลงาน 1. 2. 3. 4. 5. ส่ือและแหลง่ การเรียนรู้ 1. หนังสอื เรียน วชิ าการบัญชสี ินค้าและระบบบญั ชีเดีย่ ว ของสำนักพิมพเ์ อมพนั ธ์ 2. สอ่ื Power Point

49 3. กิจกรรมการเรยี นการสอน 4. ใบความรู้ 5. กิจกรรมเสนอแนะผู้เรียนเป็นสำคัญ และสง่ เสริมคณุ ธรรมนำความรู้ หลักฐาน 1. บันทกึ การสอน 2. ใบแสดงผลการปฏิบตั ิงาน 3. แผนจัดการเรยี นรู้ 4. ใบเชค็ ชอื่ เข้าห้องเรยี น การวดั ผลและการประเมนิ ผล วิธีวดั ผล 1. สงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. ตรวจใบงาน 3. ตรวจแบบประเมนิ ผลการเรยี นร้กู อ่ นเรียนและหลงั เรียน 4. ประเมนิ กจิ กรรมเสนอแนะผู้เรียนเป็นสำคญั และส่งเสริมคณุ ธรรมนำความรู้ 5 ประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม 6 สังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรมกลมุ่ 7 การสงั เกตและประเมนิ พฤตกิ รรมด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ ม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เคร่อื งมือวัดผล 1. แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล 2. แบบประเมินพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ (โดยคร)ู 3. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม (โดยผู้เรยี น) 4. แบบประเมินกจิ กรรมใบงาน 5. แบบประเมินผลการเรียนรู้กอ่ นเรยี นและหลงั เรียน 6. แบบประเมินกจิ กรรมเสนอแนะผเู้ รียนเป็นสำคญั และส่งเสรมิ คุณธรรมนำความรู้ 7. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ โดยครูและผูเ้ รียนร่วมกนั ประเมิน เกณฑ์การประเมินผล 1. เกณฑ์ผา่ นการสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล ตอ้ งไม่มีชอ่ งปรับปรุง 2. เกณฑ์ผ่านการประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่ คือ ปานกลาง (50 % ขึ้นไป) 3. เกณฑผ์ า่ นการสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลุม่ คอื ปานกลาง (50% ข้ึนไป) 4. กิจกรรมใบงาน เกณฑผ์ า่ น คอื 50% 5. แบบประเมนิ ผลการเรียนรมู้ ีเกณฑผ์ ่าน 50%

50 6. แบบประเมินกิจกรรมเสนอแนะผู้เรยี นเป็นสำคญั และส่งเสรมิ คุณธรรมนำความร้ผู า่ น 50% 7 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คะแนนข้ึนอยู่กับการ ประเมนิ ตามสภาพจริง กิจกรรมเสนอแนะ 1. ทำใบงานและแบบประเมินผลการเรยี นรู้ 2. บนั ทกึ การรบั -จ่าย 3. กิจกรรมเสนอแนะผู้เรียนเปน็ สำคัญ และสง่ เสริมคุณธรรมนำความรู้ สมุดบนั ทึก รายรบั -รายจา่ ย ของนาย/นาง/นางสาว....................................................... ประจำภาคเรียนท่.ี ../........ระหว่างเดือน..................ถงึ เดือน................พ.ศ........ วนั เดอื น ปี รายการ รายรบั รายจา่ ย คงเหลอื