Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียน สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา ภาษาไทย (พท21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

หนังสือเรียน สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชา ภาษาไทย (พท21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

Published by nongbualumphulibrary, 2018-12-06 11:45:55

Description: หนังสือเรียน สาระความรู้พื้นฐาน
รายวิชา ภาษาไทย
(พท21001)
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

Search

Read the Text Version

ห น า | 151 ตวั อยา ง ยกมอื ข้ึน ยนื ขึ้น ปลอยเดย๋ี วน้นี ะ รูปประโยคคําสั่ง เชน ขา งตนนี้ อาจใสคําวา อยา จง หาม ขางหนาประโยคไดเพือ่ ใหคําสั่งจริงจงั ยิง่ ขึ้น ตวั อยา ง อยาทําบานเมืองสกปก จงตอบคําถามตอไปนี้ หามมียาเสพติดไวในครอบครอง 4. รูปประโยคคาํ ถาม ประโยครูปนี้ทําหนาที่เปนคําถามวางอยูตอนตนหรือตอนทายของประโยคก็ได คําแสดงคําถามแบงออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ คําแสดงคําถามทผ่ี สู ง สารตองการคําตอบเปนใจความใหม คําแสดงคําถามที่ผูสงสารตองการคําตอบเพียง “ใช” หรอื “ไม”

152 | ห น า เรือ่ งที่ 4 หลกั ในการสะกดคําสะกดอยางไรใหถ กู ตอ ง การใชภาษาในการสื่อสาร ไมวาจะดวยการพูด และการเขียน หรืออานจําเปนตองใชใหถูกตองโดยมหี ลักการไวดังนี้การใชต ัวสะกด ถาเปนคําภาษาไทยแทจะใชตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด เชน จง บิน ชม เชย เดียวปก รด พบ เปนตน สวนคําภาษาไทยทีม่ าจากภาษาตางประเทศนัน้ มีทั้งสะกดตรงตามมาตรา และใชต วั สะกดหลายตวั ตามรูปศัพทเดมิ โดยเฉพาะภาษาบาลีสันสกฤต เชน 1. คําในภาษาไทยที่มาจากภาษาเขมร ภาษาบาลี สันสกฤตบางคํา และคําทีม่ าจากภาษาอืน่ที่ใชตัวสะกดตรงตามมาตรา คําไทยที่มาจากภาษาเขมร เชน จาํ นอง ดาํ เนนิ ขจดั อาํ นวย บังคม คําไทยที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤต เชน ทาน คําไทยที่มาจากภาษาอื่น เชน มังคุด 2. คําไทยที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤตมีตัวสะกดอยูใ นมาตรา แม กน กก กด กบ อาจจะใชต วั สะกดไดห ลายตวั ตามรปู ในภาษาเดมิ ดงั ตัวอยา งตอไปนี่ 2.1 คําในแม กน เชน พน ใช น สะกด แปลวา ปา ศพั ทเดมิ พน อา น พะ นะ ชล ใช ล สะกด แปลวา น้ํา ศัพทเ ดมิ ชล อา น ชะ ละ บญุ ใช ญ สะกด แปลวา ความดี ศพั ทเ ดมิ ปญุ ญ อา น ปุน ยะ คณุ ใช ณ สะกด แปลวา ความเกอ้ื กลู ศัพทเ ดิม คณุ อา น คุ ณะ

ห น า | 153พร ใช ร สะกด แปลวา ความดี ศัพทเ ดิม วร อา น วะ นะ 2.2 คําในแม กก เชนชนก ใช ก สะกด แปลวา พอ ศัพทเดมิ ชนก อา น ชะ นะ กะมขุ ใช ข สะกด แปลวา หนา ปาก ทาง ศัพทเดมิ มขุ อา น มกุ ขะมัค ใช ค สะกด แปลวา หนทาง ศัพทเ ดมิ มค อา นวา มัก คะเมฆ ใช ฆ สะกด แปลวา ไอน้ํารวมตัวกันเปนกลุม ลอยตัวอยูในอากาศ เมฆ อา นวา เม ฆะจกั ร ใช กร สะกด แปลวา อาวธุ ศพั ทเดมิ จกร อา น จกั กระ 2.3 คําในแม กด เชน อนญุ าต พยางคหลังใช ต สะกด แปลวา ยินยอมให ศัพทเดิม อนุญาต อา นวา อะ นนุ ยา ตะ สจั ใช จ เปนตัวสะกด แปลวา การตั้งความสัตย ศัพทเดิม สัจฺจ อา นวา สัต จะ พชื ใช ช เปนตัวสะกด แปลวา เมล็ดพันธุไ ม ศัพทเดิม พืชและวีช อา นวา พี ชะ และ วี ชะ ครฑุ ใช ฑ สะกด หมายถึง พญานกที่เปนพาหนะของพระนารายณ ศพั ทเ ดมิ ครฑุ อา นวา คะ รู ดะ รฐั ใช สะกด แปลวา ประเทศ ศพั ทเ ดิม ร ฏ ฐ อา นวา รตั ถะ รถ ใช ถ สะกด แปลวา ยานทมี่ ีลอสาํ หรับเคลือ่ นไป ศพั ทเ ดมิ รถ อา นวา ระ ถะ อาพาธ อา นวา อา พา ทะ ชาติ ใช ติ สะกด แปลวา เกดิ ศัพทเ ดิม ชาติ อา นวา ชา ติ เหตุ ใช ตุ สะกด แปลวา ทมี่ า ศัพทเ ดิม เหตุ อา นวา เห ตุ มาตร ใช ตร สะกด แปลวา เครอื่ งวดั ตางๆ ศพั ทเ ดมิ มาตร อา นวา มาด ตระ เพชร ใช ชร สะกด แปลวา ชอ่ื แกวที่แขง็ ทส่ี ดุ และมีน้ําแวววาวกวา พลอยอน่ื ๆ ศพั ทเ ดมิ วชรฺ และ วชริ อา นวา วดั ชระ และ

154 | ห น า วะ ชิ ระ ทศิ ใช ศ สะกด แปลวา ดา น ขาง ทาง เบอ้ื ง ศพั ทเดมิ ทศิ อา นวา ทิ สะ คําในแมกด ในภาษาบาลี สนั สกฤตใชพ ยญั ชนะหลายตวั เปน ตวั สะกด จงึ ตอ งสังเกตและจดจําใหดีจึงจะสามารถเขียนไดถูกตองตามสะกดการันต 2.๔ คําในแม กบ เชนบาบ ใช ป สะกด แปลวา ความชั่ว ศพั ทเ ดิม บาป อา นวา ปา ปะเสพ ใช พ สะกด แปลวา กนิ บรโิ ภค ศัพทเ ดิม เสพ อา นวา เส พะโลภ ใช ภ สะกด แปลวา ความอยากไดไมร จู ักพอ ศัพทเดมิ โลภ อา นวา โล พะ 3. คําทีม่ าจากภาษาเขมร เรานํามาใชในลักษณะคําแผลงตาง ๆ มีขอควรสังเกต คือ เม่ือแผลงคําแลว ตวั สะกดจะเปน ตวั เดยี วกบั คาํ เดมิ เชน เกดิ เปน กาํ เนดิ จรสั เปน จาํ รัส ตรวจ เปน ตาํ รวจ ตรสั เปน ดาํ รสั เสรจ็ เปน สาํ เร็จ ฯลฯ 4. คําที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤตบางคําจะมีตัวสะกดและตัวตามในภาษาไทย เรานํามาใชทั้งรูปแบบเต็มรูปและตัดตัวสะกดออกบาง วฑุ ฒิ ไทยใช วฒุ ิ รฏฐ ไทยใช รฐั อฑฒ ไทยใช อฒั เชน อฒั จนั ทรการประและไมประวิสรรชนีย

ห น า | 155 การประวสิ รรชนยี  มหี ลักดังนี้ 1. คําไทยแททีอ่ อกเสียง อะ ชัดเจน และคําทีย่ อสวนจากคําประสม เชน มะมวง มะนาวกระทะ สะอกึ เปนตน ยกเวนคําบางคํา เชน ณ ธ ทนาย ฯพณฯ เปน ตน 2. คําทีม่ าจากภาษาบาลี สันสกฤต ถาตองการใชอานออกเสียง สระ อะ ทีท่ ายพยางค ใหประวิสรรชนียที่พยางคท า ย เชน พละ ศลิ ปะ สาธารณะ ทกั ษะ มรณะ สมณะ ฯลฯ 3. คําทีม่ าจากภาษาบาลี สันสกฤตทีม่ ีพยางคหนาออกเสียง กระ ตระ ประ ในภาษาไทยใหประวิสรรชนีย เชน กระษัย กระษาปณ ตระกูล ประกาศ ประสาท ประโยชน ประชาราษฎรฯลฯ 4. คําทีไ่ มทราบทีม่ าไดแนชัดวามาจากภาษาใด แตถาอานออกเสียง อะใหประวิสรรชนีย เชน กะละแม กะหล่ํา กะละมัง สะอาด สะครวญ สะดือ โพระดก พะโล สะระแหน จะละเม็ดสะวด้ี สะวา ด ปะเหลาะ ปะแหละ ฯลฯ การไมป ระวสิ รรชนีย มีหลกั ดังน้ี 1. คําทีอ่ อกเสียง อะ ไมเต็มมาตรา หรือคําทีเ่ ปนอักษรนํา เชน กนก ขนม ฉลาด สมองฯลฯ ยกเวนกะรตั 2. คําสมาสในภาษาบาลี สันสกฤต ซ่ึงมีเสียง อะ ระหวางคํา เชน พลศึกษา ศิลปกรรม เปนตน หรอื คาํ ทม่ี ีเสยี ง อะ ที่พยางคหนาของคํา 3. คําทีม่ าจากภาษาเขมรมีพยัญชนะตน 2 ตัวซอนกัน ในภาษาไทยอานออกเสียงพยัญชนะตัวหนาเปน อะ ไมตองประวิสรรชนีย เชน จรูญ จรวย จรวด ผม ผจญ สลา สมอง ขโมย ขนงขนาน ขนาบ ขนบ ถนน ถนอม 4. คําทับศัพทภาษาอังกฤษอาจจะประหรือไมประวิสรรชนียใหถือปฏิบัติตามแนวทีน่ ิยมเขยี นกนั มา เชน เยอรมนั อเมรกิ า สตกิ เกอร โปสเตอร ไอศกรมี อะลูมิเนยี ม อะตอม อะมีบาการใชค าํ อาํ อมั และ อาํ ม อาํ ( _ำ ) 1. ใชกับคําไทยทั่วไป เชน ชาํ คํา จาํ ราํ เปนตน 2. ใชกับคําแผลงที่มาจากภาษาอื่น เชน เกดิ กําเนดิ ตรวจ ตาํ รวจ เปน ตน อัม ( _ั ม ) 1. ใชคําที่เปนสระ อะ มีตัว ม สะกดในภาษาบาลี สันสกฤต เชน คัมภีร สัมผัสสมั ภาษณ อมั พร เปนตน 2. ใชกับคําที่มาจากภาษาอังกฤษ เชน กโิ ลกรมั ปม อัลบ้มั เปน ตน

156 | ห น า อําม (_ำ ม ) ใชกับคําทีม่ ีเสียงสระ อะ แลวมี ม ตามในภาษาบาลี สันสกฤต เชน อํามาตย อํามฤตอาํ มหิต เปนตนการใช ไอ ใอ อยั ไอย ( ไ- ใ- -ยั ไ-ย )1. การใช ไ- สระไอไมมลาย ใชกับคําไทยทัง้ หมด เชน ไกล ไคล ใจ ไหม ตระไคร ไฟไข ได ไป ฯลฯ เวนแตคําไทยที่ใชสระไอไมมวน 20 คํา และคํามาจากภาษาอืน่ นอกจากภาษาบาลีสันสกฤตใหใช ไอ เหมอื นภาษาไทยทงั้ ส้ินคําแผลงมาจาก สระ อิ อี เอ เปนสระไอในภาษาไทยใหใชสระไอไมมลาย เชน วิจิตรไพจิตร วิหาร ไพหาร ตรี ไตร ฯลฯ หรือคําบาลี สันสกฤตเดิมมีสระไออยูแ ลว ใหใช ไอ เชนไอศวรย ไอศวรรย ไมตรี ไมตรี ฯลฯ คําที่มาจากภาษาอืน่ ไมใชภาษาบาลี สันสกฤตใหใชสระไอเชน ไกเชอร เซยี งไฮ กาํ ไร ไนลอน ไนโตรเจน ไฉน ไสว ฯลฯ2. การใช ใ- สระใอไมมวน ใชกับ คาํ 20 คาํ ดงั น้ี ใฝใ จใครใครรใู ห ใหลหลง ในใหมใสใหญยง ตาํ่ ใต ใดใชใชใบบง ใยยืด ใสส ะใภใกลใ บ สบิ มว นสองหนหรอื ผใู หญหาผา ใหม ใหส ะใภใ ชคลองคอใฝใจเอาใสหอ มิหลงใหลใครขอดู จะใครล งเรอื ใบ ดูน้ําใสและปลาปูส่ิงใดอยูในตู มิใชอ ยูใตต ่ังเตียง บาใบถ ือใยบัว หูตามัวมาใกลเคียงเลาทองอยา ละเล่ยี ง ย่ีสิบมว นจาํ จงดี3. การใช -ั ย ( อัย )ใชคําที่มาจากภาษาบาลี สันสกฤต ซึง่ มีเสียงอะ และ ย ตาม และถาในภาษาเดิมมี ยสะกดและ ย ตามเมื่อนํามาใชในภาษาไทยใหคง ย ไว ชยั มาจาก ชย

ห น า | 157วยั ” วยนยั ” นยอาลยั ” อาลยอทุ ยั ” อทุ ยอัยยะ ” อยยอัยยิกา ” อยยิกา4. การใช ไ-ย (ไอย)ใชกับคําทีม่ าจากภาษาบาลีซึง่ มีสระ เอ มี ย สะกด และมี ย ตาม เ ยย เอย ย เมือ่ นํามาใชในภาษาไทย แผลงเปน “ไอย” เชนไวยากรณ มาจาก เวยฺยากรณอธปิ ไตย ” อธปิ เตยยฺไทยทาน ” เทยฺยทานเวไนย ” เวเนยยฺอสงไขย ” อสงเฺ ขยยฺการใชว รรณยกุ ตการใชวรรณยุกตไดถกู ตองน้ัน จะตองมีความรใู นเรอื่ งตอ ไปนี้1. ไตรยางค หรอื อักษร 3 หมู ไดแ กอกั ษรสูง มี 11 ตวั ไดแ ก ษ ฆ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส หอักษรกลาง มี 9 ตวั ไดแ ก ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป ออักษรสงู มี 24 ตวั แบง ออกเปน 2 ชนดิ ดงั น้ีอักษรต่ําคู มี 14 ตัว ไดแ ก ค ต ฆ ช ฌ ซ ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ฮอักษรตา่ํ เดี่ยว มี 10 ตวั ไดแ ก ง ญ ณ น ม ย ร ล ฬ ว2. คําเปนคําตาย2.1 คาํ เปน คอื คําทมี่ ลี ักษณะอยางใดอยางหน่ึงตอไปน้ีประสมกับสระเสียงยาวในแม ก กา เชน ป มาประสมกับสระ อาํ ไอ ใอ เอา เชน ไป ใกล ขาํมีตัวสะกดในมาตราแม กง กน เกย เกอว เชน ตรง จน กลม เชย เดยี ว2.2 คําตาย คือ คอื ทมี่ ีลักษณะอยางใดอยางหน่งึ

158 | ห น า ประสมกับสระเสียงสั้นในมาตราแม ก กา ยกเวน อํา ไอ ใอ เอา เชน จะ ผุ ติมีตัวสะกดในมาตราแม กก กด กบ 3. การผันอักษร มีหลกั การดงั น้ี อักษรสูง คําเปน พืน้ เสียงเปนเสียงจัตวา ผันดวย วรรณยุกต เปนเสียงเอก ผันดวยวรรณยกุ ต  วรรณยกุ ต  เปน เสยี งโท เชน ผา ผา ผา ขาม ขาม ขาม อักษรสูง คําตาย พื้นเสียงเปนเสียงเอก ผันเสียงวรรณยุกต  เปนเสียงโท เชน ฉะ ฉะขบ ขบ อักษรกลาง คําเปน พืน้ เสียงเปนเสียงสามัญ ผันดวยวรรณยุกต     เปนเสียง เอกโท ตรี จตั วา ตามลําดับ เชน ปะ ปา ปะ ปะ โกะ โกะ โกะ โกะ อักษรต่าํ คําเปน พืน้ เสียงเปนเสียงสามัญ ผันดวย วรรณยุกต   เปนเสียงโท ตรีตามลําดับ เชน คา คา คา เทา เทา เทา อักษรต่าํ คําตาย สระเสียงสั้น พืน้ เสียงเปนเสียง ตรี ผัน ดวยวรรณยุกต  เปนเสียงโทผันดว ยวรรณยุกต  เปนเสียงจตั วา เชน คะ คะ คะ อักษรตํา่ คําตายสระเสียงยาว พืน้ เสียงเปนเสียงโท ผันดวยวรรณยุกต  เปนเสียงตรีผันดว ยวรรณยกุ ต  เปนเสยี งจตั วา เชน คาบ คาบ คาบ อกั ษรตํา่ ตองอาศัยอกั ษรสงู หรอื อักษรกลางชวย จึงจะผันไดครบ 5 เสยี งเชน คา ขา ขา คา ขา เลา เหลา เลา เหลา เลา เหลาขอสังเกต 1. อักษรสูงและอักษรกลางจะมีรูปวรรณยุกตตรงกับเสียงวรรณยุกต 2. อกั ษรสงู และอกั ษรตํา่ ไมใชวรรณยุกตตรีเลย 3. อกั ษรตา่ํ จะมเี สยี งวรรณยุกตสงู กวา รปู วรรณยกุ ต 4. อักษรเดีย่ วหรืออักษรต่าํ เดีย่ วเมือ่ ตองการผันใหครบ 5 เสียง ตองใชอักษรสูงหรืออักษรกลางนํา เชน ยา หยา อยา ยา ยา หยา 5. อักษรคูและอักษรสูงตองอาศัยอักษรที่คูกันชวย จึงจะผันไดครบ 5 เสียง เชนคา ขา คา ขา คา ขาการใชเครื่องหมายทัณฑฆาต ( ) เครื่องหมายทัณฑฆาต  ใชเขียนเหมือนพยัญชนะทีไ่ มตองการออกเสียง ซึ่งเราเรียกวา ตัวการนั ต มีหลักการดงั น้ี 1. พยัญชนะทีอ่ ยูขางหลงั ตัวสะกด ถามีเครื่องหมายทัณฑฆาต ถือวาพยัญชนะตัวนัน้ เปนตัวการันตไ มต องออกเสยี ง เชน เสาร ไมค ยักษ อาทิตย เปนตน

ห น า | 159 2. พยัญชนะทีอ่ ยูขางหลังตัวสะกดสองตัวหรือสามตัว ถาตัวใดตัวหนึ่งมีเครื่องหมายทัณฑฆาตกํากับถือวา พยัญชนะทัง้ สองตัวเปนตัวการันต ไมตองออกเสียง เชน วันจันทร พระอินทรพระลักษณเ ปน ตน ท้ังนี้ จะไมใชเครือ่ งหมายทัณฑฆาตกับตัวสะกดที่เปนอักษรควบกล้ํา และตัวสะกดทีม่ ีสระกํากับ เชน จกั ร มติ ร เกียรติ เปนตน เร่อื งที่ 5 คําราชาศัพท ราชาศัพท แปลตามศัพท หมายถึง ถอยคําสําหรับพระราชา แตตามตําราหลักภาษาไทยไดใหความหมายกินขอบเขตไปถึงถอยคําภาษาสําหรับบุคคล 3 ประเภท คอื 1. ศัพทที่ใชสําหรับพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ 2. ศพั ทที่ใชส ําหรับพระภกิ ษุสงฆ 3. ศัพทท ใี่ ชสาํ หรบั สภุ าพชน1. ศัพทมีใชสําหรับพระมหากษตั ริยแ ละพระบรมศานุวงศ คําศัพทประเภทนี้เราจะไดฟงหรือไดอานบอยมาก สวนใหญจะเปนขาวหรือเรื่องราวที่เกี่ยวกับกรณียกิจของพระมหากษัตริยและพระบรมวงศานุวงศ ลักษณะของราชาศัพทประเภทนีม้ ีลกั ษณะเดน ทนี่ าสนใจ คอื 1.1 ใชค าํ วา ทรง เพือ่ ใหเ ปนคํากรยิ า ทรง นําหนากริยาที่เปนคําไทย เชน ทรงเลน ทรงรองเพลง ทรงออกกําลังกาย ทรง นําหนาคํานามทีเ่ ปนคําไทยแลวใชเปนกริยา เชน ทรงชาง ทรงมา ทรงเรอื ใบ ทรง นําหนาคําทีเ่ ปนราชาราศัพทอยูแ ลว เชน ทรงพระอักษร ทรงพระสําราญทรงพระราชนิพนธ 1.2 ใชคําไทยนําหนาคําที่เปนราชาศัพทอยูแลว เพอื่ ใหเปน คาํ กริยา เชน ทอดพระเนตร 1.3 ใชคําไทยนําหนาคําที่เปนราชาศัพทอยูแลว เพื่อใหเปนคํานาม เชน ซับพระพักตรผาเช็ดหนา ถุงพระบาท ถุงเทา ถุงพระหัตถ ถุงมือ การใชคําธรรมดานําหนาคําทีเ่ ปนราชาศัพทอยู

160 | ห น าแลวเพือ่ ใหเปน คํานาม ยงั มอี ีกเชน ฉลองพระองค ฉลองพระหัตถ ฉลองพระเนตร แวนตา มูลพระชวิ หา นาํ้ ลาย 1.4 ใชคําวา ตน หรือ หลวง ลงทายคํานามหรือกริยา เชน เสด็จประพาสตนพระแสงปน ตน เครื่องตน รถหลวง เรอื หลวง 1.5 คําทีก่ ําหนดใหเปนราชาศัพทสามารถจําแนกชนิดตางๆ ได เหมือนคําในภาษาสามัญ คือ มีทั้งคํานาม สรรพนาม กริยา วเิ ศษณ และมีคําลักษณะนามใชเ ปน พิเศษอกี ดวย เชนคํานาม พระเศียร หวั พระนลาฏ หนา ผาก พระชนก พอ พระชนนี แม พระราชสาสน จดหมาย พระแสงกรรบดิ มดี คําสรรพนาม ขาพระพทุ ธเจา กระหมอม หมอมฉัน บรุ ุษท่ี 1 ใตฝ า ละอองธลุ ีพระบาท ใตฝา พระบาท ฝาพระบาท บรุ ษุ ท่ี 2 พระองคทาน พระองค ทาน บุรุษที่ 3 คาํ กริยา กริยาเปนราชาศัพทอยูแลวไมตองมีคําวา ทรง นําหนา เชน เสด็จ ตรัส เสวย เปนตน นอกน้ันตองเติมดวยคําวาพระ หรือ ทรงพระราช เพือ่ ใหเปนคํากริยา เชน ทรงพระอักษร เขียนหนังสือทรงพระราชนิพนธ แตง หนงั สอื คําวิเศษณ มีแตคําขานรับ ซึง่ แยกตามเพศ คือ หญิงใชคําวา เพคะ ชาย ใชคําวา พระพุทธเจาขอรับพระพุทธเจาขา พะยะคะ คาํ ลักษณะนาม ใชคาํ วา องค กับ พระองค เปนคําทีเ่ กีย่ วกับสวนตาง ๆ ของรางกาย และเครือ่ งใชของทานเชน พระทนต 2 องค ฟน 2 ซ่ี ปราสาท 2 องค 1.6 การใชราชาศัพทแบบแผน วธิ พี ดู ในโอกาสตางๆ อกี ดว ย เชน การใชค ําขอบคณุ ถาเรากลาวแกพระมหากษัตริย ใชวา “รูสึกขอบพระมหากรุณาธิคุณเปน ลนเกลาฯ” การใชค ําขออนุญาต

ห น า | 161 ถาเรากลาวแกพระมหากษัตริย ใชวา “ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต” กลา วเม่ือถวายของ ถาเรากลาวเมื่อถวายของ “ขอพระราชทานทูลเกลาทูลกระหมอม ถวาย......................” หมายถึง สิ่งของ ขนาดเลก็ “ขอพระราชทานนอมเกลานอมกระหมอม ถวาย....................” หมายถึง สิ่งของขนาดใหญ ยกไมได2. ศพั ททีใ่ ชสาํ หรับพระภกิ ษุสงฆ พระภกิ ษเุ ปนผูท่ีไดร ับความเคารพจากบุคคลทั่วไป ในฐานะที่เปนผทู รงศีล และเปนผูสืบพระศาสนาการใชถอยคําจึงกําหนดขั้นไวตางหากอีกแบบหนึ่ง เฉพาะองคสมเด็จพระสังฆราช ซึง่ ถือเปนประมุขแหงสงฆนัน้ กําหนดใหราชาศัพทเทียบเทากับพระราชวงศชัน้ หมอมเจา แตถาพระภิกษุนั้นเปนพระราชวงศอยูแ ลวก็คงใหใชราชาศัพทตามลําดบั ช้นั ที่เปน อยูแ ลวนนั้ การใชถอยคําสําหรับพระภิกษุโดยทัว่ ไปมีขอสังเกตคือ ถาพระภิกษุใชกับพระภิกษุดวยกันหรือใชกับคนธรรมดา จะใชศัพทอยางเดียวกันตลอด ผิดกับราชาศัพทสําหรับกษัตริยและพระราชวงศคนอืน่ ทีพ่ ูดกับทานหรือพูดถึงทานจึงจะใชราชาศัพท แตถาพระองคทานพูดกับคนอืน่ จะใชภาษาสุภาพธรรมดา เชน มีผพู ดู ถึงพระวา “พระมหาสุนทรกําลังอาพาธอยูในโรงพยาบาล” พระมหาสุนทรพูดถงึ ตวั ทา นเองก็ยอ มกลา ววา “อาตมากาํ ลงั อาพาธอยทู โ่ี รงพยาบาล” มีผพู ดู ถงึ พระราชวงศห นึ่งวา “พระองคเจาดิศวรกุมารกําลังประชวร” พระองคเ จา เม่ือกลาวพระองคถึงพระองคเ องยอ มรับสง่ั วา “ฉันกาํ ลังปว ย”ตวั อยางคาํ ราชาศัพทสาํ หรับพระภกิ ษุบางคําคํานาม ภตั ตาหาร อาหาร ไทยทาน สง่ิ ของถวาย อาสนะ ทีน่ ่งั กุฏิ ทีพ่ ักในวัด เภสชั ยารกั ษาโรค ธรรมาสน ทแ่ี สดงธรรม

162 | ห น าคําสรรพนาม อาตมา ภกิ ษเุ รียกตนเองกับผอู ่ืน ผม กระผม ภิกษเุ รียกตนเองใชกบั ภกิ ษดุ วยกนั มหาบพิตร ภิกษุเรียกพระมหากษัตริย โยม ภิกษุเรียกคนธรรมดาที่เปนผใู หญก วา พระคุณเจา คนธรรมดาเรียกสมเด็จพระราชาคณะ ทาน คนธรรมดาเรียกสมเด็จพระราชาคณะคาํ กริยา ประเคน ยกของดวยมือมอบใหพระ ถวาย มอบให ฉนั กิน อาพาธ ปว ย มรณภาพ ตาย อนโุ มทนา ยนิ ดดี ว ย จําวดั นอนคาํ ลกั ษณะนาม รูป เปนลักษณะนามสําหรับนับจํานวนภิกษุ เชน พระภิกษุ 2 รูปคนทั่วไปนิยมใชคําวา องค3. คําท่ีใชสาํ หรบั สภุ าพชน การใชถอยคําสําหรับบุคคลทั่วไป จําเปนตองใชใหสมฐานะและเกียรติยศ ความสัมพันธระหวางผูท ีต่ ิดตอสือ่ สารกันจะตองคํานึงถึง อายุ เพศ และตําแหนงหนาทีก่ ารงานดวย นอกจากนั้นเวลา และ สถานท่ยี ังเปนเคร่อื งกําหนดอกี ดวยวา ควรเลือกใชถอยคําอยางไรจึงจะเหมาะสมตวั อยา งคําสภุ าพ เชนคํานาม บิดา พอ มารดา แม และใชคําวาคุณ นําหนาช่ือ เชน คุณพอ คุณลุง คุณประเสริฐ คุณครู เปนตน ศีรษะ หัว โลหิต เลือด อุจจาระ ขี้ ปสสาวะ เยีย่ ว โค ววั กระบือ ควาย สนุ ัข หมา สุกร หมูคํากริยา รับประทานอาหาร กิน ถึงแกกรรม ตาย คลอดบุตร ออกลูก ทราบ รู เรยี น บอกใหรูคําสรรพนาม ดิฉัน ผม กระผม บรุ ุษท่ี 1 คณุ ทาน เธอ บรุ ษุ ที่ 2 และ 3 การใชสรรพนามใหสุภาพ คนไทยนิยมเรียกตามตําแหนงหนาที่คําวิเศษณ ดว ย เชน ทานอธิบดี ทา นหวั หนา กอง เปน ตน คําขานรับ เชน คะ เจา คะ ครบั ครับผม เปน ตน คําขอรอง เชน โปรด ไดโ ปรด กรณุ า เปนตน

คําลักษณะนาม ห น า | 163 ลักษณะนามเพือ่ ยกยอง เชน อาจารย 5 ทาน แทนคําวา คน ลักษณะนามเพื่อใหสุภาพ เชน ไข 4 ฟอง แทนคําวา ลูก ผลไม 5 ผล แทนคาํ วา ลกู เร่ืองที่ 6 การใชส าํ นวน สภุ าษติ คําพังเพย คนไทยนิยมใชภาษาถอยคําสํานวนทีส่ ละสลวย ไพเราะ เสนาะหู และสะดวกแกการออกเสียงลักษณะนิสัยคนไทยเปนคนเจาบทเจากลอนอยูแ ลว เวลาพูดหรือเขียนจึงนิยมใชถอยคําสํานวนปนอยูเ สมอถอยคําสํานวนตางๆ เหลานี้ชวยใหการสื่อสารความหมายชัดเจน ไดความไพเราะถายทอดอารมณความรูสึกตางๆ ไดดี บางครัง้ ใชเปนการสือ่ สารความหมายเพือ่ เปรียบเปรยไดอยางคมคายลึกซึ้ง เหมาะสมกับวัฒนธรรมความเปนอยูของคนไทย ซึง่ แสดงถึงอัธยาศัยที่ดีตอคนอืน่ เปนพน้ื ฐานประเภทของถอ ยคําสํานวน1. ถอยคําสํานวน เปนสํานวนคําทีเ่ กิดจากการผสมคําแลวเกิดเปนคําใหม เชน คําผสม คําซอน หรือคําทีเ่ กิดจากการผสมคําหลายคํา ผสมกันเปนลักษณะสัมผัส คลองจอง มีความหมายไมแปลตรงตามรูปศัพท แตมีความหมายในเชิงอุปไมย เชนไกอ อ น หมายถึง คนที่ยังไมชํานาญในชั้นเชิงกิ่งทองใบหยก หมายถึง ความเหมาะสมของคูกันนั้นมีมาก

164 | ห น า เกลือจมิ้ เกลือ หมายถึง มีความดุรายเขาหากัน แกเผด็ กนั แกวงเทาหาเส้ียน หมายถึง การหาเรอ่ื งเดอื ดรอ น ขิงก็ราขากแ็ รง หมายถึง ตา งฝายก็รายเขาหากัน แขวนนวม หมายถึง เลิกการกระทําที่เคยทํามากอน คว่ําบาตร หมายถึง การบอกปฏิเสธไมคบคาสมาคมดวย คมในฝก หมายถึง มีความฉลาดรอบรูแตยังไมแสดงออก เมือ่ ไมถ ึงเวลา งามหนา หมายถึง งกู นิ หาง หมายถึง นา ขายหนา จนตรอก หมายถึง เกย่ี วโยงกนั เปน ทอดๆ จระเขขวางคลอง หมายถึง หมดหนทางทจ่ี ะหนไี ดชักหนา ไมถ ึงหลงั หมายถึง คอยกดี กนั ไมใ หค นอน่ื ทาํ อะไรไดส ะดวกชุบมือเปบ หมายถึง รายไดไ มพ อจับจายหญาปากคอก หมายถึง ฉวยผลประโยชนจากแรงงานคนอื่นตกหลุมพราง หมายถึง เรอื่ งงายๆ คิดไมถึงตําขาวสารกรอกหมอ หมายถึง เช่อื ตามที่เขาหลอก การทําอะไรเฉพาะหนาครั้งคราวพอทิ้งทวน หมายถึงนํา้ รอ นปลาเปน หมายถึง ใหเ สรจ็ ไปเทา น้นัน้ําเย็นปลาตาย ทาํ ดีท่สี ุดเปนครง้ั สุดทายน้ําทวมปาก หมายถึง การพูดหรือทําอยางละมุนละมอมบอ งตนื้ หมายถึง ยอมสําเร็จมากกวาทํารุนแรงผกั ชีโรยหนา หมายถึง รูอ ะไรแลวพดู ไมไ ดผาขร้ี ว้ิ หอทอง หมายถึง มีความคิดอยางโงๆใฝสูงเกนิ ศักดิ์ หมายถึง ทาํ ดแี ตเ พยี งผิวเผินฝากผฝี ากไข หมายถึง คนมั่งมีแตทําตวั ซอมซอพกหนิ ดกี วา พกนุน หมายถึง ทะเยอทะยานเกินฐานะพระอฐิ พระปนู หมายถึงมวยลม หมายถึง ขอยึดเปน ที่พ่งึ จนตายมดื แปดดา น หมายถึง ใจคอหนกั แนน ดกี วา ใจเบายอมแมวขาย หมายถึง นิง่ เฉยไมเดือดรอน ทําทา จะเลิกลม ไมด าํ เนินการตอไป มองไมเห็นทางแกไขคิดไมออก เอาของไมดีมาหลอกวาเปนของดี

ห น า | 165โยนกลอง หมายถึง มอบความรับผิดชอบไปใหค นอนื่ลอยชาย หมายถึง ทําตัวตามสบายลอยแพ หมายถึง ถกู ไลอ อก ปลดออก ไมเ ก่ียวขอ งกันตอ ไปสาวไสใ หกากิน หมายถึง ขุดคุยความหลัง สิ่งไมดีมาประจานกันเองสกุ เอาเผากนิ หมายถึง ทําอยางลวกๆ ใหเสร็จไปครัง้ หนึ่งๆหอกขางแคร หมายถึง อันตรายที่อยใู กลต ัวอดเปรย้ี วไวก นิ หวาน หมายถึง อดทน ลําบากกอน จึงสบายภายหลัง2. คําพังเพย หมายถึง ถอยคําทีก่ ลาวขึน้ มาลอยๆ เปนกลางๆ มีความหมายเปนคติสอนใจสามารถนําไปตีความแลวนําไปใชพูด หรือเขียนใหเหมาะสมกับเรือ่ งทีเ่ ราตองการสือ่ สารความหมายได มลี ักษณะคลายคลึงกับสุภาษิตมาก อาจเปนคํากลาวติ ชม หรอื แสดงความคดิ เหน็ เชนราํ ไมดโี ทษปโทษกลอง หมายถึง คนที่ทาํ อะไรผดิ แลวมักกลาวโทษส่งิ อ่นืขี่ชา งจับตกั๊ แตน หมายถึง การลงทนุ มากเพ่ือทํางานท่ไี ดผ ลเลก็ นอ ยชโ้ี พรงใหก ระรอก หมายถึง การแนะนําใหคนอื่นทําในทางไมด ีเสียนอยเสียยาก หมายถึง การไมร ูวา สง่ิ ไหนจาํ เปนหรือไมจาํ เปนเสียมากเสียงาย ใชจายไมเหมาะสมคําพงั เพยเหลานีย้ ังไมเ ปนสุภาษติ กเ็ พราะวา การกลา วนนั้ ยังไมม ขี อยุตวิ า เปน หลกั ความจริงที่แนน อน ยงั ไมไ ดเ ปน คําสอนทีแ่ ทจ รงิตัวอยางคําพังเพย ความหมายคําพงั เพย

166 | ห น ากระเชอกน ร่วั เปน คนสรุ ยุ สรุ า ยกลานักมกั บ่ิน คนทอ่ี วดเกง กลา จนเกนิ ไปจนอบั จนสกั วนัขชี่ างจบั ตกั๊ แตน ลงทุนไมคุม กบั ผลทไี่ ดทําบุญเอาหนา ภาวนากนั ตาย ทาํ อะไรเพอ่ื เอาหนา ไมท าํ ดว ยใจจริงหักดามพรา ดว ยเขา ทําอะไรโดยพลการรําไมดีโทษปโ ทษกลอง ทาํ ไมดีแตโ ทษผูอื่นนายพึ่งบาว เจา พึง่ ขา ทุกคนตองพึ่งพาอาศัยกันชาดไมดี ทาสีไมแดง สนั ดานคนไมด ี แกอ ยางไรกไ็ มดีไมงามกระรอกเจาะ หญงิ สวยทม่ี ีมลทนิมือไมพายเอาเทาราน้ํา ไมช ว ยแลว ยงั กดี ขวางฟน ฝอยหาตะเขบ็ ฟนเรือ่ งเกา มาเลา อกีหุงขาวประชดหมา ปงปลาประชดแมว แกลงทาํ แดกดันโดยอกี ฝายหนง่ึ ไมเ ดอื ดรอ นตวั อยา งการนาํ คาํ พังเพยไปใชในความหมายเปรยี บเทียบ เมื่อกอ นนีด้ ูไมคอยสวย เดย๋ี วนแ้ี ตง ตวั สวยมากนแ่ี หละ ไกงามเพราะขน คนงานเพราะแตง เจามันฐานะต่ําตอยจะไปรักลูกสาวคนรวยไดยังไง ตักน้าํ ใสกะโหลกชะโงกดูเงา ตนเองเสียบาง เราอยาไปทําอะไรแขงกับเขาเลย เขากับเราไมเหมือนกัน อยา เหน็ ชางข้ีขี้ตามชา งแหม...ฉนั วาฉันหนจี ากเพอื่ นเกา ทเ่ี ลวแลว มาเจอเพ่อื นใหมก พ็ อๆ กัน มันเขาตํารา หนเี สอื ปะจระเข เขาชอบถวงความเจริญของหมูคณะอยูเรื่อย แถมยังขัดขวางคนอืน่ อีก นีแ่ หละ คนมือไมพายเอาเทารานาํ้ 3. อุปมาอุปไมย หมายถึง ถอยคําทีเ่ ปนสํานวนพวกหนึง่ กลาวทํานองเปรียบเทียบใหเห็นจริงเขาใจแจมแจงชัดเจน และสละสลวยนาฟงมากขึน้ การพูดหรือการเขียนนิยมหาคําอุปมาอุปไมยมาเติมใหไดความชัดเจนเกิดภาพพจน เขาใจงาย เชน คนดุ หากตองการใหความหมายชัดเจน นาฟงและ เกิดภาพพจนชั ดเจนก็ ตองอุปมาอุ ปไ มยว า “ดุ เหมือน เสือ”ขรุขระมาก การสือ่ ความยังไมชัดเจนไมเห็นภาพ ตองอุปมาอุปไมยวา “ขรุขระเหมือนผิวมะกรูด”หรอื “ขรขุ ระเหมอื นผวิ พระจนั ทร” ก็จะทําใหเขาใจความหมายในรูปธรรมชัดเจนมากยิ่งขึ้น

ห น า | 167 ในการเขียนบทรอยแกวหรือแกวกรองก็ตาม เราไมอาจเขียนใหละเอียดลึกซึง้ เพือ่ สือ่ ความไดแ จม แจง เทา กบั การพดู บรรยายดว ยตนเองได ก็จําเปนตองใชอุปมาเพือ่ เปรียบเทียบใหผูร ับสารจากเราไดรับรูค วามจริง ความรูส ึก โดยการใชคําอุปมาเปรียบเทียบ ในการแตงคําประพันธก็นิยมใชอุปมากันมากเพราะคําอุปมาอุปไมยจะชวยตกแตงถอยคําสํานวนการเขียนใหไพเราะนาอาน กินใจประทับใจมากขึ้น สังเกตการใชอุปมาอุปไมยเปรียบเทียบในตัวอยางตอไปนี้ ทานจะไปทัพครั้งนี้ อยา เพิง่ ประมาทดูแคลนเลาป ดวยเลาปไดขงเบงมาไวเปน ทีป่ รึกษา อุปมา เหมอื นเสอื อนั คะนองอยใู นปา ใหญ ทานเรงระวังตัวจงดีตัวอยา งอุปมาที่ควรรูจัก กรอบเหมอื นขา วเกรยี บ กลวั เหมอื นหนกู ลวั แมวแข็งเหมือนเพชร คดเคี้ยวเหมือนเขาวงกตกลมเหมือนมะนาว งายเหมือนปอกกลวยเขาปากกนิ เหมอื นหมู โงเหมือนควายแกม แดงเหมอื นตาํ ลงึ สกุ ใจเสาะเหมือนปอกกลวยเขาปากขมเหมอื นบอระเพด็ เบาเหมอื นปยุ นุนขาวเหมือนสําลี พูดไมออกเหมือนน้ําทวมปากเขยี วเหมอื นพระอนิ ทรงงเปนไกตาแตก รกเหมอื นรงั หนูเงียบเหมือนปาชา ยากเหมือนงมเข็มในมหาสมุทรใจกวางเหมือนแมน ํา้ ลมื ตวั เหมอื นววั ลืมตนีใจดําเปน อกี า ชา เหมอื นเตาซนเหมอื นลงิ ซีดเหมอื นไกต มเดนิ เหมอื นเปด ดาํ เหมอื นตอตะโกตาดาํ เหมอื นนลิ ตาโตเทาไขหานบริสทุ ธิ์เหมอื นหยาดนา้ํ คาง ไวเหมอื นปรอทเรว็ เหมอื นจรวด หนกั เหมอื นเดมิเรยี บรอยเหมอื นผา พบั ไวเอะอะเหมอื นเจก ตน่ื ไฟ อดเหมอื นกาผอมเหมอื นเปรต สงู เหมอื นเสาโทรเลขมืดเหมือนลืมตาในกระบอกไม ใสเหมอื นตาตก๊ั แตนหวานเหมอื นนาํ้ ออ ย สวยเหมอื นนางฟา

168 | ห น า อว นเหมอื นตมุ เหนยี วเหมอื นตงั เมเปรย้ี วเหมอื นมะนาว หนา สวยเหมอื นพระจนั ทรว นั เพญ็หวงเหมอื นหมาหวงกา ง รกั เหมอื นแกว ตาดวงใจหนา ขาวเหมือนไขปอกยงุ เหมือนยุงตกี นั

ห น า | 169 เรอ่ื งที่ 7 หลักการแตงคาํ ประพันธการแตง คาํ ประพันธ คําประพันธมีรูปแบบหลายประเภท เชน กาพย กลอน โคลง ฉันท การศึกษา และฝกหัดแตงกาพย กลอน โคลง เปนการสืบสานวัฒนธรรมการใชภาษาวรรณศิลปของคนไทยการแตง กาพย คําประพันธรอยกรองประเภทกาพย มีหลายแบบเรียกชือ่ ตาง ๆ กันไป ตามลักษณะคําประพันธทีแ่ ตกตางกัน เชน กาพยยานี กาพยฉบัง กาพยสุรางคนางค กาพยขับไม เปนตน กาพยนน้ั สนั นษิ ฐานวา เอาแบบมาจากฉันท เพียงตัดคําครุ คาํ ลหอุ อกไป เทานนั้ ในทีน่ ีจ้ ะอธิบายเฉพาะกาพยยานี 11 กาพยฉบัง 16 และกาพยสุรางคนางค 28 เปนกาพยที่นยิ มแตง กนั โดยทว่ั ไป1. กาพยยานี 11 แผนผังตัวอยา ง สัมผัสคาํ สมั ผัสใจ ยานีมีลาํ นาํ วรรคหลังนี้มหี กคําฯ วรรคหนา หา คาํ ใช

170 | ห น าลักษณะคําประพันธ 1. บท บทหนึง่ มี 4 วรรค แบงเปนวรรคแรก 5 คํา วรรคหลัง 6 คํา รวม 11 คํา จึงเรียก ยานี11 2. สัมผสั ก. สัมผัสนอก หรอื สมั ผัสระหวา งวรรค อันเปนสัมผัสบงั คบั มีดังน้ีคําสุดทายของวรรคแรกวรรคที่หนึ่ง วรรคสดับ สัมผัสกับคําทีส่ ามของวรรคหลังวรรคท่สี อง วรรครบัคําสุดทายของวรรคที่สอง วรรครับ สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคทีส่ าม วรรครองดูแผนผังและตวั อยา งถาจะแตงบทตอไปตองมีสัมผัสระหวางบทสมั ผัสระหวา งบท ของกาพยยานี คอืคําสุดทายของวรรคสี่ วรรคสง เปนคาํ สงสัมผัสบังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสทีค่ ําสุดทายของวรรคสอง วรรครบั ดังตวั อยา ง ยานีมลี ํานาํ สัมผัสคาํ สัมผัสใจ วรรคหลงั นม้ี หี กคาํวรรคหนาหาคําใช หนึ่งบทมีสวี่ รรค พงึ ประจักษเ ปน หลักจําจงั หวะและลาํ นาํ กาพยย านดี งั นเ้ี ทอญฯคําสุดทายของบทตน คือคําวา “คํา” สงสัมผัสไปยังบทถัดไป บังคับใหรับสัมผัสทีค่ ําสุดทายของวรรคสองหรือวรรครับ ในทีน่ ้คี ือคําวา “จํา”ข. สัมผัสใน แตละวรรคของกาพยยานีจะแบงชวงจังหวะเปนดังนี้ วรรคแรก เปน สองคํากับสามคํา คือ หนง่ึ สอง หนึ่งสองสาม วรรคหลงั เปน สามคํากับสามคํา คือ หนึ่งสองสาม หนึ่งสองสาม ฉะนัน้ สมั ผสั ในจงึ กาํ หนดไดต ามชว งจงั หวะของแตล ะวรรคนน่ั เอง ดังตัวอยาง ยานี – มีลาํ นํา สมั ผสั คาํ – สมั ผัสใจขอ สงั เกต

ห น า | 171 กาพยยานีไมเครงสัมผัสในจะมีหรือไมมีก็ได ขอเพียงใชคําทีอ่ านแลวราบรืน่ ตามชวงจังหวะของแตละวรรคนั้นๆ เทานัน้ สวนสัมผัสนอกระหวางวรรคทีส่ าม วรรครอง กับวรรคที่สี่ วรรคสงนนั้ จะมีหรือไมม ีกไ็ ดไมบงั คับเชน กัน2. กาพยฉ บงั 16แผนผังตวั อยาง สามวรรคระวงั กาพยน ม้ี นี ามฉบงั จงั หวะจะโคนโยนคาํ ฯลักษณะคําประพันธ1. บทบทหนึ่งมี 3 วรรค อาจเรยี กวา วรรคสดบั วรรครบั วรรคสง กไ็ ด แบงเปนวรรคแรก วรรคสดบั มี 6 คํา วรรคทส่ี อง วรรครบั มี 4 คําวรรคท่ี 3 วรรคสง มี 6 คาํรวมทั้งหมด 16 คาํ จึงเรยี กฉบงั 162. สัมผัสก. สมั ผัสนอก หรอื สัมผสั ระหวา งวรรค อนั เปน สัมผัสบังคบั ดงั น้ีคําสุดทายของวรรคหนึ่ง วรรคสดบั สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคสอง วรรครับ สัมผัสระหวางบท ของกาพยฉบัง คือคําสุดทายของวรรคสาม วรรคสง เปน คําสง สัมผสั บังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสที่คําสุดทายของวรรคหนึ่ง วรรคสดบั ดังตวั อยา ง กาพยมีนามฉบัง สามวรรคระวงั

172 | ห น า จงั หวะจะโคนโยนคาํ สัมผสั จดั บทลาํ นาํ กาํ หนดจดจาํ หกคาํ สี่คาํ ดังน้ี ฯ ข. สัมผัสใน แตละวรรคของกาพยฉบัง แบงชวงจังหวะเปนวรรคละสองคํา ดงั น้ ี หนง่ึ สอง หนง่ึ สอง หนง่ึ สอง หนง่ึ สอง หนง่ึ สอง หนง่ึ สอง หนง่ึ สอง หน่ึงสองฉะนนั้ สมั ผสั ในกาํ หนดไดต ามชว งจงั หวะของแตล ะวรรคนน้ั เอง ดงั ตวั อยา ง กาพยน้ี – มีนาม ฉบัง จงั หวะ – จะ โคน – โยนคํา สามวรรคระวงัขอสังเกต กาพยฉบังไมเครงสัมผัสใน จะมีหรือไมมีก็ได ขอเพียงใชคําทีอ่ านราบรืน่ ตามชวงจังหวะของแตล ะวรรคน้ันๆ เทา นนั้ สว นสัมผสั นอกระหวา งวรรคท่สี อง วรรครับ กับวรรคทีส่ าม วรรคสง น้ัน จะมีหรือไมมีก็ไดไมบ งั คบั เชนกนัการแตง กลอน กลอน คําประพันธรอยกรองประเภทกลอน มีหลายแบบเรียกชือ่ ตางๆ กันไป ตามลักษณะฉันทลกั ษณท่แี ตกตางกันนั้นๆ เชน กลอนสี่ กลอนหา กลอนหก กลอนแปด และยังจําแนกออกไปตามลลี าทนี่ าํ ไปใชเชน กลอนเพลงยาว กลอนบทละคร กลอนเสภา รวมถึงกลอนบทตางๆ อกี ดว ย ในทน่ี จ้ี ะอธบิ ายเฉพาะกลอนหกและกลอนแปด อันเปนกลอนท่ีนิยมแตง กันโดยท่วั ไป

ห น า | 173 1. กลอนหกแผนผงัตวั อยาง กลอนหกหกคํารา่ํ รู วางคูวางคําน้ําเสยี ง ไพเราะเรอื่ ยร่าํ จําเรยี ง สําเนยี งสงู ตาํ่ คํากลอนฯลักษณะคําประพันธ 1. บท บทหนึ่งมี 4 วรรค วรรคทส่ี องเรยี กวรรครบั วรรคท่หี น่ึงเรียกวรรคสดบั วรรคทส่ี ามเรยี กวรรครอง วรรคท่ีสี่เรยี กวรรคสง แตล ะวรรคมี 6 คาํ จึงเรียกวา กลอนหก 2. เสยี งคาํ กลอนทุกประเภทจะกําหนดเสียงคําทายวรรคเปนสําคัญ กาํ หนดไดด งั น้ี คําทายวรรคสดับ กําหนดใหใ ชไดทกุ เสียง คําทายวรรครับ กําหนดหามใชเสียงสามัญกับตรี คําทายวรรครอง กําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญกับตรี คําทายวรรคสง กาํ หนดใหใ ชเ ฉพาะเสยี งสามัญกับตรี 3. สมั ผสั ก. สมั ผสั นอก หรอื สัมผสั ระหวา งวรรค อนั เปน สมั ผัสบงั คบั มีดังนี้คําสุดทายของวรรคที่หนึ่ง วรรคสดบั สัมผัสกบั คําที่สองหรอื ทสี่ ขี่ องวรรคทีส่ องวรรครับ คําสุดทายของวรรคท่ีสอง วรรครับ สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคท่ีสาม วรรครอง และคําทส่ี องหรอื ทีส่ ข่ี องวรรคทส่ี ี่ วรรคสง สัมผสั ระหวางบท ของกลอนทุกประเภท คือ

174 | ห น า คําสุดทายของวรรคที่สี่ วรรคสง เปนคําสงสัมผัสบังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสทีค่ ําสุดทายของวรรคที่สอง วรรครบั ตัวอยา ง กลอนหกหกคํารํ่ารู วางคูวางคําน้ําเสียง ไพเราะเร่ือยร่าํ จาํ เรียง สําเนียงสูงตาํ่ คาํ กลอน เรียงรอ ยถอ ยคําสัมผสั จํารสั จําหลักอักษร ทุกวรรคทุกบททุกตอน คือถอยสุนทรกลอนกานทฯคําสุดทายของบทตนคือวา กลอน เปนคําสั่งสัมผัส บังคับใหบทถัดไปตองรับสัมผัสทีค่ ําสุดทายของวรรคดวยคําวา “ ษร” ตามตัวอยางน้ัน ข. สัมผัสใน แตล ะวรรคของกลอนหก แบงชวงจังหวะเปนวรรคสองคํา ดงั น้ีหนง่ึ สอง หนง่ึ สอง หนง่ึ สอง ฉะนน้ั สมั ผสั ในจงึ กาํ หนดไดต ามชว งจงั หวะนน่ั เอง ดังตัวอยางขอสังเกต เรยี งรอ ย ถอ ย คํา สมั ผัสกลอนหกไมเครงสัมผัสในวรรคมากนัก อาจยายทส่ี ัมผสั จากคําทีส่ องไปคําที่สี่ได หรือจะไมสัมผัสสระเลย ใชการเลนคําไปตามชวงจังหวะก็ได ดงั ตวั อยา ง เชน ทุกวรรคทุกบททุกตอน2. กลอนแปด (กลอนสภุ าพ)แผนผังตวั อยาง วางเปน หลกั อกั ษรสนุ ทรศรี อนั กลอนแปดแปดคาํ ประจาํ วรรค สัมผสั มนี อกในไพเราะรู ฯ เสียงทายวรรคสูงต่ําจําจงดีลักษณะคําประพันธ

ห น า | 175 1. บท บทหนึ่งมี 4 วรรค วรรคทห่ี นึ่งเรียกวรรคสดบั วรรคทส่ี องเรยี กวรรครบั วรรคทส่ี ามเรยี กวรรครอง วรรคที่สีเ่ รยี กวรรคสง แตล ะวรรคมแี ปดคาํ จงึ เรยี กวา กลอนแปด 2. เสียงคํา กลอนแปดและกลอนทุกประเภทจะกําหนดเสียงคําทายวรรคเปนสําคัญ โดยกาํ หนดดงั น้ี คําทายวรรคสดับ กาํ หนดใหใ ชไดท กุ เสยี ง คําทายวรรครับ กําหนดหามใชเสียงสามัญและตรี คําทายวรรครอง กําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญและตรี คําทายวรรคสง กําหนดใหใชเฉพาะเสียงสามัญและตรี 3. สัมผสั ก. สัมผสั นอก หรือสัมผสั ระหวา งวรรค อนั เปน สัมผัสบังคับ มีดงั นี้ คําสุดทายของวรรคทีห่ นึ่ง วรรคสดับ สัมผัสกับคําทีส่ ามหรือทีห่ าของวรรคทีส่ องวรรครบั คําสุดทายของวรรคท่ีสอง วรรครับ สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคท่ีสาม วรรครอง และที่สามหรือที่หาของวรรคที่สี่ วรรครบั สมั ผัสระหวา งบท ของกลอนแปด คอื คําสุดทายของวรรคที่สี่ วรรคสง เปนคําสงสัมผัสบังคับใหบทตอไปตองรับสัมผัสทีค่ ําสุดทายของวรรคที่สอง วรรคสง อนั กลอนแปดแปดคาํ ประจาํ วรรค วางเปนหลักอักษรสุนทรศรี เสียงทายวรรคสูงต่ําจําจงดี สัมผัสมนี อกในไพเราะรู จดั จงั หวะจะโคนใหย ลแยบ ถือเปนแบบอยางกลอนสุนทรภู อานเขียนคลองทองจําตามแบบครู ไดเชิดชูบูชาภาษาไทยฯ คําสุดทายของบทตนในทีน่ ีค้ ือคําวา “รู” เปนคําสงสัมผัส บังคับใหบทถัดไปตองรับสัมผัสทค่ี ําสุดทายของวรรคท่สี อง วรรครบั ในทนี่ ค้ี ือคาํ วา “ภู” ข. สมั ผสั ใน แตล ะวรรคของกลอนแปด แบง ชว งจงั หวะออกเปน สามชว ง ดงั น้ ี หนึ่งสองสาม หนง่ึ สอง หนึ่งสองสาม ฉะน้ัน สมั ผสั ในจงึ กําหนดไดตามชวงจงั หวะในแตล ะวรรคนน่ั เอง ดังตัวอยาง อนั กลอนแปด – แปด คํา – ประจาํ วรรค วางเปนหลัก – อกั ษร – สุนทรศรี

176 | ห น า เรอ่ื งท่ี 8 การใชภาษาที่เปนทางการและไมเปนทางการ ภาษาทีใ่ ชมีระดับในการใช หนังสือเรียนบางเลม แบงภาษาออกเปน 3 ระดับ โดยเพิ่มภาษากึ่งทางการ แตใ นหนงั สือนีแ้ บงเปน 2 ระดบั คอื การใชภาษาที่เปนทางการ และไมเปนทางการ 1. ภาษาท่เี ปนทางการ ภาษาทางการ หมายถึง ภาษาทีใ่ ชอยางเปนทางการ มีลักษณะเปนแบบพิธีถูกตองตามแบบแผนของภาษาเขียน มีทั้งเสียงเครงขรึม จรงิ จงั อาจเรียกวาภาษาแบบแผนก็ได ภาษาทางการมักใชในการเขียนหนังสือราชการ การกลาวรายงาน คํากลาวเปดงาน การแสดงสุนทรพจนการเขียนตําราวิชาการ และการบันทึกรายงานการประชุม เปน ตน 2. ภาษาไมเปนทางการ ภาษาไมเปนทางการ หมายถึง ภาษาทีใ่ ชถอยคํางายๆ น้ําเสียงเปนกันเองไมเครงเครียดแสดงความใกลชิดสนิทสนมระหวางผูสงสารและผูรับสารอาจเรียกวาภาษาปากก็ได ภาษาไมเปนทางการ อาจจําแนกเปนภาษากลุมยอยๆ ไดอีกหลายกลุม เชน ภาษาถิน่ภาษาแสลง ภาษาตลาด ฯลฯ ใชในการสนทนาระหวางสมาชิกในครอบครัวคนสนิทคุนเคย ใชเขียนบันทึกสวนตัว และงานเขียนทีต่ องการแสดงความเปนกันเองกับผูอ าน เปน ตน สําหรับการเลือกใชภาษาแบบเปนทางการและไมเปนทางการจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับองคประกอบตางๆ ดงั น้ี 1. วัตถุประสงค จะตอ งพจิ ารณาวา งานเขยี นน้ันนําไปใชเพ่อื อะไร 2. สถานการณในตางสถานการณ ผูเขยี นจะใชระดับภาษาที่ตางกนั เชน ชาวเพื่อน “เชิญทานอาหารไดแลว” เชิญผูใหญ “ขอเชิญรับประทานอาหารไดแลวครบั ” ผูเรียนสามารถนําไปใชไดอยางเหมาะสมกับวัตถุประสงคและสถานการณ 

ห น า | 177กจิ กรรม บทท่ี 5 หลกั การใชภ าษากจิ กรรมท่ี 1 ใหผูเ รียนแยกคาํ ตอ ไปน้ีออกเปน 3 ประเภท ตามตารางผลไม รัฐบาล อคั คีภัย พลเรอื น ศลิ ปกรรมรปู ธรรม วทิ ยาลยั มหาชน พระเนตร พุทธกาลนพเกา คหกรรม สญั ญาณ นโยบาย ภูมศิ าสตรคาํ ประสม คําสมาส คําสนธิกจิ กรรมที่ 2 ใหผ เู รียนพจิ ารณาประโยคตอ ไปนวี้ าเปนประโยคชนดิ ใด1. วันนี้อากาศรอนมาก2. ฉันดใี จท่ีเธอมีความสุข3. พอ ซ้อื นาฬิกาเรอื นใหมใ หฉัน4. พช่ี อบสเี ขียวแตนอ งสาวชอบสีฟา5. รายการราตรีสโมสรใหความบันเทิงแกผูชมกจิ กรรมที่ 3 ใหผูเ รยี นฝก เขยี นอักษรยอประเภทตาง ๆ นอกเหนือจากตัวอยางทยี่ กมากิจกรรมที่ 4 ใหผูเรียนศึกษาและรวบรวมคําสุภาพ และคําราชาศัพทที่ใชและพบเห็นใน ชวี ิตประจําวนักิจกรรมที่ 5 ใหผเู รียนจับคูสํานวนใหตรงกับความหมาย 1 เกย่ี วโยงกนั เปน ทอดๆ ก. ผักชีโรยหนา 2 หมดหนทางทจ่ี ะหนไี ด ข. จับปลาสองมือ 3 ทาํ ดีทส่ี ดุ เปน ครงั้ สุดทาย ค. ขมน้ิ กับปูน 4 รนหาเรอ่ื งเดอื ดรอ น ง. แกวง เทาหาเส้ยี น

178 | ห น า 5 ทาํ ดแี ตเพยี งผวิ เผิน ฉ. จนตรอก 6 ไมด าํ เนนิ การตอไป ช. หญาปากคอก 7 นิ่งเฉยไมเ ดอื ดรอ น ซ. ทิ้งทวน 8 ทําอยางรวกๆ ใหพ อเสรจ็ ฌ. แขวนนวม 9 รอู ะไรแลว พดู ไมไ ด ญ. มวยลม 10 อยากไดสองอยางพรอมๆ กัน ฎ. ลอยแพ 11 ถกู ไลอ อก ปลดออก ฏ. หอกขางแคร 12 เรื่องงา ยๆ ท่คี ดิ ไมถ งึ ฐ. พระอฐิ พระปนู ฑ. สกุ เอาเผากนิ ฒ. งกู นิ หาง ณ. น้ําทวมปากกจิ กรรมท่ี 6 ใหผ เู รยี นเขยี นคําพังเพยใหต รงกับความหมายทีก่ าํ หนดให1. ชอบโทษผอู ืน่ โดยไมด ตู วั เอง2. ไมชวยแลว ยังกดี ขวางผูอ น่ื3. การลงทุนไมคมุ คากับผลทไี่ ดรบั4. ชอบรอื้ ฟนเรอื่ งเกา ๆ5. เปนคนชอบสรุ ุยสรุ า ยกิจกรรมท่ี 7 ตอบคําถามตอไปนสี้ นั้ ๆ แตไ ดใ จความ 1. การแตง คําประพนั ธตามหลักฉนั ทลกั ษณมีก่ีประเภท อะไรบาง2. บทประพันธตอ ไปนี้เปน คาํ ประพนั ธประเภทใด 2.1 ถงึ กลางวันสรุ ยิ นั แจมประจักษ ไมเห็นหนานงลักษณยิ่งมดื ใหญถงึ ราตรีมจี นั ทรอันอําไพ ไมเห็นโฉมประโลมใจใหมืดมน ววิ าหพ ระสมทุ ร 2.2 ขึ้นกกตกทุกขยาก แสนลําบากจากเวียงชัยผักเผือกเลือกเผาไฟ กินผลไมไ ดเ ปนแรง พระสุริยงเย็นยอแสง รอนรอนออ นอสั ดง

ห น า | 179ชวงด่งั นํา้ กรงิ่ แดง แฝงเมฆเขาเงาเมธุธรกิจกรรมที่ 8 ผูเรียนเขียนประโยคภาษาทางการ และไมเปนทางการอยางละ 3 ประโยคภาษาทางการ 1................................................................................... 2.................................................................................. 3...................................................................................ภาษาไมเปนทางการ 1................................................................................... 2.................................................................................. 3...................................................................................

180 | ห น าบทท่ี 6 วรรณคดี และวรรณกรรมสาระสาํ คัญ การเรียนภาษาไทย ตองเรียนรูใ นฐานะเปนวัฒนธรรมทางภาษาใหเกิดความชืน่ ชม ซาบซึ้งและภูมิใจในภาษาไทย โดยเฉพาะคุณคาของวรรณคดี และภูมิปญญาทางภาษาของบรรพบุรุษทีไ่ ดสรางสรรคไวอันเปนสวนเสริมความงดงามในชีวิต นอกจากนั้น วรรณคดีและวรรณกรรมตลอดจนบทรองเลนของเด็ก เพลงกลอมเด็ก ปริศนาคําทาย เพลงพืน้ บาน วรรณกรรมพืน้ บานเปนสวนหนึง่ของวฒั นธรรมซงึ่ มีคุณคา การเรียนภาษาไทยจึงตองเรียนวรรณคดี วรรณกรรม ภูมิปญญาทางภาษาท่ถี ายทอดความรสู กึ นกึ คดิ ท้งั รอยแกวและรอยกรองประเภทตางๆ เพือ่ ใหเกิดความซาบซึง้ และความภมู ใิ จในสิ่งท่ีบรรพบรุ ุษไดส่งั สมและสืบทอดมาจนถงึ ปจ จุบันผลการเรยี นรูท่ีคาดหวัง ผูเรยี นสามารถ 1. อธิบายความแตกตางและคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรมปจจุบันและวรรณกรรมทองถ่นิ 2. ใชหลักการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม หลักการพิจารณาวรรณคดีและวรรณกรรมใหเห็นคณุ คาและนําไปใชในชวี ิตประจําวัน 3. รอ งเลน หรือถา ยทอดเพลงพน้ื บานและบทกลอ มเด็กในทองถิ่นขอบขายเนือ้ หา เรื่องที่ 1 หลกั การพจิ ารณาวรรณคดแี ละหลกั การพนิ จิ วรรณกรรม เรือ่ งที่ 2 หลักการพนิ ิจวรรณคดีดา นวรรณศลิ ปด านสังคม เรอื่ งที่ 3 เพลงพืน้ บา น เพลงกลอ มเดก็

ห น า | 181 เรอื่ งท่ี 1 หลกั การพิจารณาวรรณคดีและหลักการพินิจวรรณกรรม กอนทีจ่ ะศึกษาถึงเรือ่ งการพิจารณาวรรณคดีและการพินิจวรรณกรรม ตองทําความเขาใจกับความหมายของคําวา วรรณคดี และ วรรณกรรม เพือ่ ใหนักศึกษาสามารถเขาใจในความหมายของคําทัง้ สองนี้ ไดอยางชัดเจนโดย ม.ล.บุญเหลือ เทพยสุวรรณ (2514: 58-133) ไดกลาวถึงความสัมพันธและความแตกตางระหวางวรรณคดีและวรรณกรรมไวด งั น้ีวรรณคดี ใชในความหมายวา วรรณกรรมหรือหนังสือทีไ่ ดรับการยกยองวาแตงดี มีวรรณกรรมศิลปกลาวคือมีลักษณะเดนในการใชถอยคําภาษาและเดนในการประพันธ ใหคุณคาทางอารมณและความรูสึกแกผูอานสามารถใชเปนแบบฉบับอางอิงได หนงั สือท่เี ปนวรรณคดีสามารถบงบอกลกั ษณะไดดงั นี้ 1. มเี นอ้ื หาดี มีประโยชนแ ละเปน สภุ าษิต 2. มีศิลปะการแตงทีย่ อดเยี่ยมทั้งดานศิลปะการใชคํา การใชโวหารและถูกตองตามหลักไวยากรณ 3. เปนหนังสือที่ไดรับความนิยมและสืบทอดกันมายาวนานกวา 100 ปวรรณกรรม ใชในความหมายวา งานหนังสือ งานนิพนธทีท่ ําขึ้นทุกชนิด ไมวาแสดงออกมาโดยวิธีหรือในรูปอยางใด เชน หนังสือ จุลสาร สิง่ เขียน สิง่ พิมพ ปาฐกถา เทศนา คําปราศรัย สุนทรพจน ส่งิ บนั ทึก เสยี ง ภาพ วรรณกรรมแบง ออกเปน 2 ประเภท 1. สารคดี หมายถึง หนังสือทีแ่ ตงขึน้ เพือ่ ใหความรู ความคิด ประสบการณแกผูอ านซึง่อาจใชร ูปแบบรอยแกวหรือรอ ยกรองกไ็ ด 2. บันเทิงคดี คือ วรรณกรรมทแี่ ตงขึ้นเพ่ือมุงใหค วามเพลิดเพลิน สนุกสนาน บันเทิงแกผูอ า นจึงมักเปน เรอ่ื งท่มี ีเหตุการณแ ละตวั ละคร การพินิจหรือการพิจารณาคุณคาของวรรณคดีหรือวรรณกรรม ไมว าจะเปนรอยแกวหรือรอยกรองมีหลักการพิจารณากวางๆ คลายกันคือ เราอาจจะตัง้ คําถามงายๆ วางานประพันธชิน้ นัน้ หรือเรื่องนัน้ ใหอะไรแกคนอานบางความหมาย การพินิจ คือการพิจารณาตรวจตรา พรอมทั้งวิเคราะหแยกแยะและประเมินคาได ท้ังน้ีนอกจากจะไดป ระโยชนต อ ตนเองแลว ยังมีจุดประสงคเพื่อนําไปแสดงความคิดเห็นและขอเท็จจริงให

182 | ห น าผูอ ืน่ ไดทราบดวย เชน การพินิจวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อเปนการแนะนําใหบุคคลทั่วไปที่เปนผูอ านไดรูจักและไดทราบรายละเอียดที่เปนประโยชนในดานตางๆ เชน ใครเปนผูแตง เปนเร่ืองเกี่ยวกับอะไร มีประโยชนตอใครบาง ทางใดบาง ผูพ ินิจมีความเห็นวาอยางไรคุณคาในแตละดานสามารถนําไปประยุกตใหเกิดประโยชนอยางไรในชีวิตประจําวันแนวทางในการพินิจวรรณคดีและวรรณกรรม การพนิ จิ วรรณคดแี ละวรรณกรรมมแี นวใหป ฏิบัติอยางกวางๆ เพือ่ ใหครอบคลุมงานเขียนทุกชนิดซึง่ ผูพินิจจะตองดูวาจะพินิจหนังสือชนิดใด มีลักษณะเฉพาะอยางไรซึ่งจะมีแนวในการพินิจที่จะตองประยกุ ตหรือปรับใชใหเหมาะสมกับงานเขียนนั้นๆ หลกั เกณฑกวางๆในการพินิจวรรณคดแี ละวรรณกรรม มดี งั น้ี 1. ความเปนมาหรือประวัติของหนงั สือและผูแตง เพ่ือชวยใหวิเคราะหในสว นอ่นื ๆ ไดด ขี ึ้น 2. ลกั ษณะคําประพันธ 3. เร่ืองยอ 4. เนื้อเรื่อง ใหวิเคราะหเรือ่ งตามหัวขอตามลําดับ โดยบางหัวขออาจจะมีหรือไมมีก็ไดตามความจําเปน เชน โครงเรอ่ื ง ตัวละคร ฉาก วิธีการแตง ลักษณะการเดินเรื่อง การใชถอยคําสํานวนในเรอ่ื ง การแตง วธิ คี ิดที่สรางสรรค ทัศนะหรือมุมมองของผูเขียน เปนตน 5. แนวคดิ จดุ มุงหมาย เจตนาของผูเขียนทฝ่ี ากไวใ นเร่ืองซง่ึ จะตองวเิ คราะหอ อกมา 6. คุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม ซึง่ โดยปกติแลวจะแบงออกเปน 4 ดานใหญๆ และกวางๆ เพือ่ ความครอบคลุมในทุกประเด็น ซึง่ ผูพินิจจะตองไปแยกแยะหัวขอยอยใหสอดคลองกับลักษณะหนงั สอื ทีจ่ ะพินจิ น้ันๆ ตามความเหมาะสมตอไป การอานวรรณคดีมรดกตองอานอยางพินิจจึงจะเห็นคุณคาของหนังสือ การอานอยางพินิจหมายความวาอยางไร การพินิจวรรณคดี คือการอานวรรณคดีอยางใชความคิด ไตรตรอง กลั่นกรอง แยกแยะหาเหตผุ ลหาสว นดี สวนบกพรองของหนังสือ เพื่อจะไดประเมินคาของหนังสือนัน้ ๆ อยางถูกตองและมีเหตุผล การอานหนังสืออยางพินิจพิเคราะหมีประโยชนตอชีวิตมาก เพราะผูพินิจวรรณคดี จะรูจ ักเลือกรับประโยชนจากหนังสือและนําประโยชนไปใชใ นชีวิตของตนไดและความสามารถในการประเมนิ คา ของผพู ินิจวรรณคดีจะชว ยใหผพู ินิจเปน ผูมเี หตผุ ล มีความยุติธรรมมีวิจารณญาณ การพินิจวรรณคดีผูพ ินิจไมควรเอาความรูส ึกหรือประสบการณสวนตนมาเปนหลักสําคัญในการตัดสินวรรณคดี เพราะแตล ะคนยอมมีความรูสึกและประสบการณตางกัน หลักการพินิจวรรณคดี

ห น า | 183 การพินิจวรรณคดี เปนการแนะนําหนังสือในลักษณะของการวิเคราะหวิจารณหนังสืออยางงายๆ โดยบอกเรื่องยอๆ แนะนําขอดีขอ บกพรองของวรรณคดี บอกช่ือผูแตง ประเภทของหนังสือลักษณะการแตง เนื้อเรื่องโดยยอๆ คุณสมบัติของหนังสือ ดวยการวิจารณเกีย่ วกับเนือ้ หา แนวคิดภาษา คุณคา และขอคิดตางๆ ประกอบทัศนะของผูพ ินิจ ซึง่ เปนลักษณะของการชักชวนใหผูอ านสนใจหนังสือเลมน้ัน การพินิจวรรณคดีเปนการศึกษาและวิเคราะหลักษณะของวรรณคดีเพือ่ นํามาแนะนาํ ใหเ กดิ ความเขา ใจซาบซึ้งอยางแจมแจง การพนิ ิจวรรณคดีมีหลักการพินจิ กวา งๆ 3 ดา นคอื 1. โครงสรางของวรรณคดี 2.ความงดงามทางวรรณคดี 3. คุณคาของวรรณคดีดานท่ี 1 โครงสรา งของวรรณคดี การที่เราจะพินิจวรรณคดีเรือ่ งใด เราจะตองพิจารณาวา เรือ่ งนัน้ แตงดวยคําประพันธชนิดใดโครงเรื่องเนือ้ เรือ่ งเปนอยางไร มีแนวคิดหรือสาระสําคัญอยางไร ตัวละครมีรูปราง ลักษณะนิสัยอยางไร ฉากมีความหมายเหมาะสมกับเรื่องหรือไม และมีวธิ ดี ําเนินเรอ่ื งอยา งไรดา นท่ี 2 ความงดงามทางวรรณคดี วรรณคดีเปนงานที่สรางขึ้นอยางมีศิลปะ โดยเฉพาะการใชถอยคําเพือ่ ใหเกิดความไพเราะในอรรถรส ซึง่ เราจะพิจารณาไดจากการใชคํา มีทัง้ การเลนคํา เลนอักษร พิจารณาไดจากการใชสํานวนโวหาร กวีโวหาร ซึ่งจะดูจากการสรางจันตภาพ ภาพพจน และพิจารณาจากการสรางอารมณในวรรณคดีสิ่งเหลานี้เปนความงดงามทางวรรณคดีทั้งนั้นโวหารภาพพจน การใชโวหารภาพพจน คือ การใชถอยคําใหเกิดภาพโดยวิธีการเปรียบเทียบอยางมีศิลปะภาพพจนมีหลายลักษณะ เชน อุปมา อุปลักษณ อธิพจน บุคลาธิษฐาน สัทพจน หรือการใชสัญลกั ษณเปนตน อุปมา คือการเปรียบเทียบเพือ่ ทําใหเห็นภาพหรือเกิดความรูสึกชัดเจน จึงตองนําสิง่ อืน่ ที่มีลักษณะคลายคลึงกันมาชวยอธิบาย หรือเชือ่ มโยงความคิดโดยมีคํามาเชือ่ ม ไดแก เหมือน เสมือนดจุ เลห  เฉก ดงั กล เพยี ง ราว ปนู ฯลฯ อุปลักษณ เปนการเปรียบเทียบที่ลึกซึง้ กวาอุปมา เพราะเปนการเปรียบสิ่งหนึง่ เปนสิ่งหนึง่มากจนเหมือนกบั เปนสง่ิ เดยี วกนั โดยใชคําวา “ เปน กับ คือ ” มาเชื่อมโยง

184 | ห น าตัวอยา ง “แมเ ปนโสมสองหลา” “สจุ ริตคอื เกราะบังศาสตรพอ ง” โวหารอธพิ จน เปน โวหารที่กวีกลาวเกนิ จรงิ เพื่อตองการที่จะเนนใหความสําคัญและอารมณความรูสกึ ท่รี นุ แรง เชนถึงตองงาวหลาวแหลนสักแสนเลม ใหต ดิ เตม็ ตวั ฉดุ พอหลดุ ถอนแตต อ งตาพาใจอาลยั วอน สุดจะถอนทิ้งขวางเสียกลางคัน (นิราศวดั เจาฟา สุนทรภู)บุคลาธิษฐาน เปนโวหารทีน่ ําสิ่งไมมีชีวิต หรือสิง่ ทีเ่ ปนนามธรรม มากลาวเหมือนเปนบคุ คลท่มี ีชวี ิตเชนเพชรน้ําคางหลนบนพรมหญา เยน็ หยาดฟา พาฝน หลงวนั ใหมเคลา เคลยี หยอกดอกหญา อยา งอาลยั เมอ่ื แฉกดาวใบไผไ หวตะวนัโวหารสทั พจน หมายถึง โวหารที่เลียนเสียงธรรมชาติ เชนทง้ั กบเขียดเกรียดกรดี จงั หรดี เร่ือย พระพายเฉอ่ื ยฉวิ ฉวิ วะหววิ หวามการสรา งอารมณ ความงามดานอารมณ เมื่อเราอานวรรณคดี จะเห็นวาเรามีความรูส ึกหรืออารมณรวมไปกับเรื่องตอนนั้นๆ ดวย เชน สงสาร โกรธ ชิงชัง นันแสดงวากวีไดสรางอารมณใหเรามีความรูส ึกคลอยตาม ซึง่ เปนความงามอยางหนึ่งในวรรณคดี กวีจะสอดแทรกความคิดออกมาในรูปของความรักความภาคภูมิใจ ความเศราสลดใจ และมีการเลือกสรรคําประพันธใหเหมาะสมกับเนือ้ เรือ่ ง การทีก่ วีใชถอยคําใหเกิดความงามเกิดอารมณทําใหเ ราไดร บั รสวรรณคดีตา งๆรสวรรณคดี รสวรรณคดีของไทยเปนลีลาของบทประพันธอยางหนึ่ง คือ การใชภาษาไทยใหเหมาะสมแกเนอ้ื ความของเรอ่ื ง กลาวคือแตงบทประพันธตามรสบทประพันธไทยหรือรสวรรณคดีไทยซึ่งมี 4 รส 1. เสาวรจนี เปนบทพรรณนาความงามของสถานที่ ธรรมชาติ ชมนาง เชน “ตาเหมือนตามฤคมาศพิศคิ้วพระลอราช ประดุจแกวเกาทัณฑ กง นา พิศกรรณงามเพริศแพรวกลกลิ่นบงกชแกว อีกแกมปรางทอง เปรียบนา” 2. นารีปราโมทย เปนบทเกี้ยวพาราสี แสดงความรักใคร เชน

ห น า | 185“เจางามปลอดยอดรักของพลายแกว ไดม าแลว แมอ ยา ขบั ใหก ลบั หนีพ่ีสตู ายไมเสียดายแกช วี ี แกวพ่อี ยา ไดพรา่ํ รําพนั ความพ่ผี ดิ พก่ี ม็ าลุแกโ ทษ จงคลายโกรธแมอยาถือวาหยาบหยามพี่ชมโฉมโลมลูบดวยใจงาม ทรามสวาทดิ้นไปไมไยด”ี3. พิโรธวาทัง เปนบทโกรธ บทตัดพอตอวา เหน็บแนม เสียดสี หรือแสดงความเคียดแคน เชนผันพระกายกระทืบพระบาทและอึง พระศพั ทส ีหนาทพึงสยองภัยเอออุเหมนะมึงชิชางกระไร ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉนก็มาเปน4. สัลลาปง คพิสยั เปนบทแสดงความโศกเศรา คร่ําครวญ อาลยั อาวรณ เชนเคยหมอบใกลไ ดกลิน่ สคุ นธต ลบ ละอองอบรสรื่นช่นื นาสาสนิ้ แผนดินสนิ้ รสสุคนธา วาสนาเรากส็ น้ิ เหมอื นกลน่ิ สคุ นธ (สนุ ทรภู)หลกั การและแนวทางการพจิ ารณาวรรณคดี การพจิ ารณาวรรณคดี คอื การแสดงขอ คดิ เหน็ เกย่ี วกบั วรรณคดีเลมใดเลมหน่ึงอยางส้ันๆ โดยมีเจตนาจะแนะนําวรรณคดีนั้นใหผูอานรูจ ักวามีเนือ้ เรื่องอยางไร มีประโยชนมีคุณคาอยางไร ผูพิจารณามีความคิดเห็นอยางไรตอวรรณคดีเรือ่ งนัน้ ๆ ชอบหรือไมชอบ เพราะเหตุใด มีลักษณะการวจิ ารณว รรณกรรม หลกั การพจิ ารณาวรรณคดี 1. แยกองคป ระกอบของหนงั สือหรอื วรรณคดีทีจ่ ะวจิ ารณใหไ ด 2. ทําความเขาใจองคประกอบที่แยกออกมาใหแจมแจงชัดเจน 3. พจิ ารณาหรือวเิ คราะหห นังสอื หรือวรรณคดตี ามหวั ขอ ตอไปน้ี 3.1 ประวัติความเปน มาและประวัติผแู ตง 3.2 ลักษณะการประพันธ 3.3 เรอ่ื งยอ 3.4 การวเิ คราะหเร่อื ง 3.5 แนวคดิ และจดุ มงุ หมายในการแตง 3.6 คุณคาดานตางๆ

186 | ห น าการพนิ จิ คณุ คาวรรณคดแี ละวรรณกรรมมี 4 ประเดน็ ดงั น้ี 1. คุณคาดานวรรณศิลป คือความไพเราะของบทประพันธซึง่ อาจจะเกิดจากรสของคําที่ผูแตงเลือกใชและรสความไพเราะที่ใหความหมายกระทบใจผอู า น 2. คุณคาดานเนือ้ หา คือการใหความรูส ึกในดานตางๆ ใหคุณคาทางปญญาและความคิดแกผอู า น 3. คุณคาดานสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมสะทอนใหเห็นภาพของสังคมในอดีตและวรรณกรรมที่ดีสามารถจรรโลงสังคมไดอีกดวย 4. การนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เพ่ือใหผ ูอ านไดประจักษในคุณคาของชีวิตไดความคิดและประสบการณจากเรือ่ งที่อาน และนําไปใชในการดําเนินชีวิต นําไปเปนแนวปฏิบัติหรือแกปญหารอบๆ ตวั

ห น า | 187 เรอ่ื งท่ี 2 หลกั การพนิ จิ วรรณคดดี า นวรรณศลิ ปแ ละดา นสงั คมความหมายของวรรณคดมี รดก วรรณคดีมรดก หมายถึง วรรณคดีทีบ่ รรพบุรุษสรางไวและเปนทีน่ ิยมตกทอดเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน วรรณคดีมรดกของไทยนัน้ มักจะแสดงภาพชีวิตของสังคมในสมัยทีเ่ กิดวรรณคดี ขณะเดียวกันก็จะแทรกแนวคิด ปรัชญาชีวิตดวยวิธีอันแยบยลจนทําใหผูอานเกิดอารมณสะเทอื นใจ มคี วามรูสึกรว มไปกับกวดี ว ย คุณคาของวรรณคดีมรดก วรรณคดีมรดกนัน้ มีคุณคามาก ทัง้ ทางดานประวัติศาสตร สังคม อารมณ คติสอนใจและคุณคาทางวรรณศิลปหรือจะพูดวา วรรณคดีมรดกเปนทรัพยสินทางปญญาทีต่ กทอดเปนสมบัติทางวัฒนธรรมของชาติซึง่ บรรพบุรุษไดอุตสาหะสรางสรรคขึน้ ดวยอัจฉริยภาพ เพราะการอานวรรณคดีมรดกทําใหทราบเหตุการณตางๆ ทีป่ ระทับใจบรรพบุรุษ สังคม สภาพชีวิตความเปนอยูข องคนไทยในชุมชนนั้นๆ วามีลักษณะอยางไรเหมือนหรือแตกตางจากสังคมปจจุบันอยางไร มีกลวิธีในการใชถอยคําโวหารอยา งไรจึงทําใหเ รารวมรบั รอู ารมณนั้นๆ ของกวี นอกจากนี้วรรณคดีมรดกมีคุณคาเปนเครือ่ งเชิดชูความเปนอัจฉริยะของชาติ ชวยสะทอนถึงบุคลิกลักษณะประจําชาติ และชวยทําใหคนในชาติรูเ รื่องราวในอดีตและคุณคาที่สําคัญก็คือคุณคาทางดานอารมณและดานความงาม ความไพเราะ เพราะเกิดการอานวรรณคดีมรดกจะทําใหเราไดรับความเพลดิ เพลนิ ในเนอ้ื หาและรสศลิ ปะแหงความงาม ความไพเราะดานอักษรศิลปไปพรอมกัน ชวยสง เสรมิ จติ ใจผอู านใหรักสวยรกั งาม เขาใจหลักความจรงิ ในโลกมนุษยย ง่ิ ขึน้ วรรณคดีมคี ณุ คา แกผ อู านหลายประการ คอื 1. ทําใหผูอ านเกิดอารมณคลอยตามกวี เชน สนุก เพลิดเพลิน ดีใจ เศราใจ ขบขัน เปนตน 2. ทําใหผูอ านเกิดสติปญญา เราจะไดขอคิด คติ หลักการดําเนินชีวิตในวรรณคดีชวยยกระดบั จติ ใจใหสูงข้นึ การอานวรรณคดีทําใหเกิดความเฉลียวฉลาดและเกิดปญญา 3. ทําใหไดรับความรูในดานตางๆ เชน ประวตั ศิ าสตร ตํานาน ภูมิศาสตร ภาษา ประเพณีความเช่ือในสมัยที่แตง วรรณคดีน้นั ๆ 4. ทําใหเขาใจสภาพสังคมวัฒนธรรมของบรรพบุรุษ ทีก่ วีไดนํามาเขียนสอดแทรกไวทําใหเราเขาใจและสามารถเปรียบเทียบสังคมในวรรณคดีกับปจจุบันได ลักษณะเดน ของวรรณคดไี ทย จาํ แนกเปน ขอ ๆ ดงั น้ี

188 | ห น า1. นิยมแตง หนงั สือหรือการแตง วรรณคดดี วยคาํ ประพันธรอ ยกรองมากกวารอยแกว เปนบทกลอนลักษณะภาษากาพยกลอนทีม่ ีสัมผัสคลองจองสอดคลองกับลักษณะนิสัยของคนไทย แมภาษาพูดกม็ ีลลี าเปนรอ ยกรองแบบงายๆ เชน หมอขาวหมอแกง ขาวยากหมากแพง ขนมนมเนย ในน้าํ มีปลาในนามีขาว ชักนาํ้ เขาลกึ ชักศึกเขาบาน เปนตน2. เนนความประณีตของคําและสํานวนโวหาร ภาษาที่ใชวรรณคดีไมเหมือนภาษาพูดทั่วไปคือ เปนภาษาที่มีการเลือกใชถอยคําตกแตงถอยคําใหหรูหรา มีการสรางคําทีม่ ีความหมายอยางเดียวกนั ทเี่ รียกวา คาํ ไวพจน โดยใชรูปศัพทตางๆ กนั เพ่ือมใิ หเกดิ ความเบอ่ื หนา ยจําเจ เชนใชคาํ วา ปกษา ปกษี สกุณา สกณุ ี ทวชิ แทนคาํ วา “นก”ใชคาํ วา กญุ ชร คช ไอยรา หตั ถี กรี แทนคาํ วา “ชาง”นอกจากนั้นยังมีการใชภ าษาสญั ลักษณ เชน ใชคํา ดวงจันทร บุปผา มาลี เยาวมาลย แทนคําวา “ผูห ญงิ ”3. เนนการแสดงความรูส ึกสะเทือนอารมณจากการรําพันความรูส ึก ตัวละครในเรื่องจะราํ พันความรสู กึ ตา งๆ เชน รกั เศรา โกรธ ฯลฯ เปนคํากลอนยาวหลายคํากลอนตัวอยางอิเหนาคร่ําครวญถึงนางบุษบาที่ถูกลมหอบไป ดงั น้ี เมอ่ื นัน้ พระสรุ ยิ วงศอสัญแดหวาฟนองคแลวทรงโศกา โอแ กว แววตาของเรยี มเอยปา นฉะนี้จะอยแู หงใด ทําไฉนจงึ จะรนู ะอกเอยฤาเทวาพานองไปชมเชย ใครเลยจะบอกเหตุรายดีสองกรพระคอ นอรุ าราํ่ ชะรอยเวรกรรมของพ่ีไดสมนองแตสองราตรี ฤามิ่งมารศรีมาจากไปพระยิง่ เศราสรอยละหอ ยหา จะทรงเสวยโภชนาก็หาไมแตครวญคร่ํากําสรดระทดใจ สะอ้นื ไหโ ศกาจาบัลย (อิเหนา สาํ นวนรชั กาลท่ี 2)4. มีขนบการแตง คือ มีวิธีแตงทีน่ ิยมปฏิบัติแนวเดียวกันมาแตโบราณไดแก ขึน้ ตนเรื่องดวยการกลาวคําไหวครู คือ ไหวเทวดา ไหวพระรัตนตรัย ไหวครูบาอาจารย สรรเสริญพระเกียรติคุณของพระมหากษัตริย หรือกลาวชมบานชมเมือง5. วรรณคดีไทยมีเนือ้ หาเกีย่ วกับชนชัน้ สูงมากกวาคนสามัญ ตัวละครเอกมักเปนกษัตริยและชนชน้ั สงู6. แนวคิดสําคัญที่พบในวรรณคดีไทยโดยทั่วไปเปนแนวคิดแบบพุทธปรัชญางายๆ เชนแนวคิดเรือ่ งทําดีไดดี ทําชัว่ ไดชัว่ ความไมเทีย่ งตรงของสรรพสิ่ง อนิจจัง ความกตัญู ความจงรกั ภักดี ความรักและการพลัดพราก เปน ตน

ห น า | 189 7. เนื้อเรื่องที่รับมาจากวรรณกรรมตางชาติจะไดรับการดัดแปลงใหเขากับวัฒนธรรมไทย 8. ในวรรณคดีไทยมีลักษณะเปน วรรณคดีสาํ หรับอา น เนอ่ื งจากมีการพรรณนาความยืดยาวใหรายละเอียดตางๆ เพือ่ ใหผูอ านไดภาพชัดเจน เนนความไพเราะของคําดังนัน้ เมือ่ จะนําไปใชเปนบทแสดงจะตองปรบั เปลย่ี นเสียใหมเ พ่ือใหก ระชับข้นึ 9. ในวรรณคดีไทยมีบทอัศจรรยแทรกอยูด วย เรือ่ งของความรักและเพศสัมพันธเปนธรรมชาติอยางหนึง่ ของมนุษย กวีไทยไมนิยมกลาวตรงไปตรงมา แตจะกลาวถึงโดยใชกลวิธีการเปรียบเทยี บหรอื ใชสญั ลกั ษณแ ทน เพื่อใหเปนงานทางศิลปะมิใชอนาจาร 10. วรรณคดีไทยมักแทรกความเชื่อคานิยมของไทยไวเสมอ ลักษณะตางๆ ดังกลาวมาขางตน นับเปนลักษณะเดนของวรรณคดีไทย ซึง่ นักศึกษาควรเรยี นรแู ละเขา ใจเพอื่ จะอานวรรณคดีไทยไดอ ยา งซาบซ้งึ ตอ ไปการอา นวรรณคดเี พือ่ พิจารณาคุณคา ดานวรรณศิลป วรรณศิลป มีความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 วา ศิลปะในการแตงหนังสือ ศิลปะทางวรรณกรรม วรรณกรรมที่ถึงขั้นวรรณคดี หนังสือที่ไดรับการยกยองวาแตง ดี จากความหมายนี้ การพิจารณาคุณคาดานวรรณศิลปตองศึกษาตัง้ แตการเลือกชนิดคําประพันธใหเหมาะสมกับประเภทงานเขียน ถูกตองตรงความหมาย เหมาะกับบุคคลหรือตัวละครในเรื่องและรสวรรณคดีการรูจ ักตกแตงถอยคําใหไพเราะสละสลวยอันเปนลักษณะเฉพาะภาษากวี และทาํ ใหผอู านเกิดความสะเทอื นอารมณ ภาษากวีเพือ่ สรางความงดงามไพเราะแกบทรอยแกวรอยกรองนั้น มีหลักสําคัญทีเ่ กีย่ วของกัน 3 ดา น ดงั น้ี 1. การสรรคาํ 2. การเรียบเรียงคํา 3. การใชโวหาร การสรรคํา คือการเลือกใชคําใหสือ่ ความคิด ความเขาใจ ความรูส ึกและอารมณไดอยางงดงามโดยคํานึงถึงความงามดานเสียง โวหาร และรูปแบบคําประพันธ กรสรรคําทาํ ไดดงั น้ี การเลือกคําใหเหมาะแกเนื้อเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง การใชคําใหถูกตองตรงตามความหมาย การเลือกใชคําพอ งเสยี ง คําซาํ้ การเลอื กใชค าํ โดยคํานึงถงึ เสียงสัมผสั

190 | ห น า การเลือกใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ การเลือกใชคําไวพจนไดถูกตองตรงตามความหมาย การเรยี บเรยี งคํา คือการจัดวางคําทีเ่ ลือกสรรแลวใหมาเรียบรอยกันอยางตอเนือ่ งตามจังหวะตามโครงสรางภาษาหรือตามฉันทลักษณ ซึ่งมหี ลายวธิ ี เชน จดั ลาํ ดับความคิดหรือถอยคําจากสิ่งสําคัญจากนอยไปหามาก จนถงึ สิง่ สาํ คญั สูงสดุ จัดลําดับความคิดหรือถอยคําจากสิง่ สําคัญนอยไปหามาก แตกลับหักมุมความคิดผูอ านเมือ่ ถึงจุดสุด จัดลําดับคําใหเปนคําถามแตไมตองการคําตอบหรือมีคําตอบอยูในตัวคําถามแลว เรยี งถอยคาํ เพือ่ ใหผูอ านแปลความหมายไปในทางตรงขามเพื่อเจตนาเยาะเยย ถากถาง เรียงคําวลี ประโยคที่มีความสําคัญเทาๆ กนั เคียงขนานกันไป การใชโ วหาร คือการใชถอยคําเพือ่ ใหผูอ านเกิดจินตภาพเรียกวา “ภาพพจน” ซึง่ มีหลายวิธีที่ควรรูจกั ไดแ ก อุปมา คือการเปรียบเทียบสิง่ หนึ่งวาเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยมีคําเปรียบปรากฏอยูด วยคําเปรยี บเทียบเหลา นี้ไดแก เหมอื น ดจุ เลห  เฉก ดงั กล เพยี ง ราว ปูน อุปลักษณ คือการเนนความหมายวา สิง่ หนึง่ เหมือนกับสิง่ หนึง่ มากจนเหมือนกับเปนสิ่งเดยี วกนั โดยใชค าํ วา เปน กับ คือ เชน “แมเปนโสมสอ งหลา ” “สุจรติ คอื เกราะบังศาสตรพ อ ง”การพิจารณาวรรณคดดี า นสงั คม สังคม คือ ชนชาติและชุมชนทีอ่ ยูร วมกันภายใตการปกครองในกรอบวัฒนธรรมเดียวกันวรรณคดีเปนเหมือนกระจกเงาทีส่ ะทอนใหผูอ านสามารถมองเห็นชีวิตความเปนอยู คานิยมและจริยธรรมของคนในสังคมทีว่ รรณคดีไดสะทอนภาพไวทําใหเขาใจชีวิต เห็นใจความทุกขยากของเพ่อื นมนษุ ยดวยกนั ชัดเจนขึน้ ดังนัน้ การพิจารณาวรรณคดีดานสังคมจะตองมีเนือ้ หา ภูมิปญญาที่เกีย่ วกับวัฒนธรรมหรือจรยิ ธรรมของสังคมใหม สี ว นกระตุนจติ ใจของผอู านใหเ ขามามีสวนชวยเหลือในการจรรโลงโลกหรือพัฒนาสังคมไทยรวมกัน โดยพิจารณาตามหัวขอ ดงั น้ี 1. การแสดงออกถึงภูมิปญญาและวัฒนธรรมของชาติ 2. สะทอนภาพความเปนอยู ความเชื่อ คานิยมในสังคม 3. ไดความรู ความบันเทิง เพลิดเพลนิ อารมณไ ปพรอมกนั 4. เน้อื เรอ่ื งและสาระใหแงคดิ ทัง้ คุณธรรมและจริยธรรมในดานการจรรโลงสังคม ยกระดับจิตใจเห็นแบบอยางการกระทําของตัวละครทั้งขอดีและขอควรแกไข

ห น า | 191 จากการพิจารณาตามหัวขอขางตนนีแ้ ลว การพิจารณาคุณคาวรรณคดีดานสังคมใหพิจารณาโดยแบง ออกได 2 ลกั ษณะใหญๆ ดงั น้ี ดา นนามธรรมไดแ ก ความดี ความชั่ว คานยิ ม จริยธรรมของคนในสังคม ฯลฯ ดา นรปู ธรรม ไดแก สภาพความเปนอยู วิถีชีวิต การแตงกายและการกอสรางทางวัตถุฯลฯ

192 | ห น ากจิ กรรม บทที่ 6 วรรณคดแี ละวรรณกรรม 1. ใหผเู รียนตอบคําถามตอ ไปนี้ 1.1 บอกความหมายของการพินิจได............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 1.2 บอกหลักเกณฑในการพินิจวรรณคดีได............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. ใหผูเ รียนอา นหนังสือวรรณคดที ี่กาํ หนดใหศ กึ ษาแลวพจิ ารณาวรรณคดีแตละเรื่องในดานวรรณกรรมศลิ ป และดา นสงั คม แตละเรื่องใหสาระขอคิดในการดําเนนิ ชีวติ อยางไรบาง ไดแ กเ รอื่ ง 1.1 สามกก 1.2 ราชาธิราช 1.3 กลอนเสภาขุนชางขุนแผน 1.4 กลอนบทละครเรื่องรามเกียรติ์ คุณคา ทไ่ี ดรับจากเรือ่ ง.............................................. ดา นวรรณศลิ ป 1. การสรรคาํ.......................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. การเลนซา้ํ คาํ.......................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. การหลากคํา หรอื คาํ ไวพจน..........................................................................................................................................................................................................................................................................

ห น า | 193 ดา นสงั คม 1. วฒั นธรรมและประเพณี.......................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. การแสดงสภาพชีวิตความเปนอยูและคานิยมของบรรพบุรุษ.......................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. การเขาใจธรรมชาติของมนุษย.......................................................................................................................................................................................................................................................................... 4. เปนหลักฐานทางประวัติศาสตร.......................................................................................................................................................................................................................................................................... 5. การสอดแทรกมุมมองของกวี..........................................................................................................................................................................................................................................................................

194 | ห น า เร่ืองท่ี 3 เพลงพ้นื บาน เพลงกลอ มเดก็ความหมายของเพลงพื้นบาน คือ บทเพลงทีเ่ กิดจากคนในทองถิน่ ตางๆ คิดรูปแบบการรอง การเลนขึน้ เปนบทเพลงทีมีทวงทํานอง ภาษาเรียบงายไมซับซอน มุงความสนุกสนานรืน่ เริง ใชเลนกันในโอกาสตางๆ เชนสงกรานต ตรุษจีน ลอยกระทง ไหวพระประจําป หรือแมกระทั่งในโอกาสทีไ่ ดมาชวยกันทํางานรวมมือรวมใจเพื่อทํางานอยางหนึ่งอยางใด เชน เกี่ยวขาว นวดขา ว เปน ตนประวัติความเปน มาของเพลงพน้ื บา น เพลงพื้นบานในประเทศไทยมีมาแตโบราณไมปรากฏหลักฐานแนชัดวา มีขึ้นในสมัยใด เปนสิ่งท่เี กิดข้นึ เปนปกติวสิ ัยของคนในสังคมจงึ มผี เู รยี กวา เพลงพน้ื บาน เปนเพลงนอกศตวรรษเปนเพลงนอกทําเนียบบาง เพราะหลักฐานทางประวัติศาสตร วรรณคดี และความรูท ุกแขนงในประเทศไทยไมไดอางถึง หลักฐานเกีย่ วกับการเลนเพลงพืน้ บานมีปรากฏในสมัยอยุธยา ซึง่ ทีพ่ บคือเพลงเรือเพลงเทพทอง สวนในสมัยรัตนโกสินทร มีชื่อเพลงพืน้ บานปรากฏอยูใ นจารึกวัดโพธิแ์ ละในวรรณคดีตางๆ สมัยตนรัตนโกสินทรทีป่ รากฏชื่อคือ เพลงปรบไก เพลงเรือ เพลงสักวา แอวลาวไกปา เกีย่ วขาว ตัง้ แตสมัยรัชกาลที่ 5 เปนตนมา ปรากฏหลักฐานแนชัดวามีการเลนเพลงเรือสักวาเพลงพืน้ บานของไทยเรานัน้ มีมาแตชานานแลว ถายทอดกันโดยทางมุขปาฐะ จําตอๆ กันมาหลายชัว่อายุคน เชื่อกันวามีกําเนิดกอนศิลาจารึกพอขุนรามคําแหงมหาราชเสียอีก ตอมาคอยมีชือ่ เสียง มีแบบสัมผัสคลองจองทวงทํานองไปตามภาษาถิน่ นั้นๆ ในการขับรองเพือ่ ความบันเทิงตางๆ จะมีจังหวะดนตรีทองถิ่นเขามาและมีการรองรําทําเพลงไปดวย จึงเกิดเปนระบําชาวบาน เพลงพืน้ บานใชรองรําในงานบันเทิงตางๆ มีงานลงแขก เกยี่ วขา ว ตรษุ สงกรานต ตอมาในสมัยรัตนโกสินทร เปนสมัยทีม่ ีหลักฐานเกีย่ วกับเพลงพืน้ บานชนิดตางๆ มากทีส่ ุดตง้ั แตส มัยรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 5 เปน ยุคทอง ของเพลงพืน้ บานทีเ่ ปนเพลงปฏิพากย รองโตตอบกัน เชน เพลงฉอย เพลงอีแซว เพลงสงเครือ่ ง หรือเพลงทรงเครือ่ ง หลังรัชกาลที่ 5 อิทธิพลวัฒนธรรมตะวันตกทําใหเกิดเพลงไทยสากลขึน้ เพลงพืน้ บานจึงเริม่ หมดความนิยมลงทีละนอยๆปจจุบันเพลงพื้นบานไดรับการฟนฟูบางจากหนวยงานที่เห็นคุณคา แตก็เปนในรูปของการอนุรักษไวเทาน้นั ปญหาเนื่องจากมาขาดผูสนใจสืบทอดเพลงพื้นบานจึงเสื่อมสูญไปพรอมๆ กบั ผูเลน

ห น า | 195ลกั ษณะของเพลงพน้ื บา น โดยทั่วไปแลว เพลงพนื้ บานจะมลี ักษณะเดนๆ เปนทสี่ งั เกตไดคือ 1. สํานวนภาษาใชคําธรรมดาพื้นๆ ไมมีบาลีสันสกฤตปน ฟงเขาใจงาย แตถอยคําคมคายอยูในตวั ทาํ ใหเ กดิ ความสนกุ สนาน บางครง้ั แฝงไวด วยการใชส ญั ลักษณแทนคาํ หยาบตางๆ เปนตนวา ยาเสน ใบพลูทีน่ า หัวหมู อุปกรณไถนา เปนตน และเรียบงายทางดานโอกาสและสถานทีเ่ ลนไมตองยกพน้ื เวที 2. มีความสนุกสนานเพลิดเพลิน มีความคมคายในการใชภาษา กระทบกระเทียบเปรียบเปรยชวนใหค ิดจากประสบการณท พ่ี บเหน็ อยใู นวถิ ีชีวิตทอ งถิน่ 3. มีภาษาถิ่นปะปนอยูทําใหสะทอนใหเห็นถึงวิถีการดําเนินชีวิต ประเพณีความเชื่อตลอดจนคานิยมตางๆ ที่แฝงอยู 4. มีลักษณะภาษาตองคลองจองกัน ทีเ่ ปนกลอนหัวเดียว คือ กลอนทีล่ งทายดวยสระชนิดเดียวกัน เชน กลอนใส ลงเสียงขางทายดวยสระไอตลอด กลอนลี ลงเสียงขางทายดวยสระอีตลอดเปนตน ตัวอยางเชน ในเพลงไซเอยไซ ลามะลิลา ซึง่ งายตอการเลนมุง ใหทุกคนมีสวนรองไดสนกุ สนานรว มกนั 5. มักจะมีการรองซ้ํา บางทีซ้าํ ทีต่ นเพลง หรือบางทีซ้าํ ทีท่ อนทายของเพลง เชน เพลงพิษฐาน เพลงพวงมาลัย เพลงฉอย เปนตน ผลดีของการรองซ้าํ ๆ กัน ก็คือเพิม่ ความสนุกสนานใหผูอยรู อบขางไดม ีสว นรว มในเพลง ทาํ ใหบ รรยากาศครึกคร้ืน และเนือ่ งจากเปนการปะทะคารมกันสดๆซ่งึ ชว งการรอ งซ้าํ นจ้ี ะชวยใหไดม ีโอกาสคดิ คําและพอเพลง แมเพลงจะไดพักเหนื่อย และสามารถใชปฏิภาณพลิกแพลง ยั่วลอกนั อีกดว ย นอกจากน้เี พลงพื้นบานยังมีลักษณะพิเศษอีก คือ เปนวรรณกรรมมุขปาฐะทีเ่ ลาสืบตอกันมาปากตอปากไมสามารถจะสืบคนหาตัวผูแตงที่แนนอนไดและมีลักษณะของความเปน พ้นื บา นพืน้ เมืองประเภทของเพลงพืน้ บา น เพลงพน้ื บานโดยทั่วไปนน้ั มอี ยดู ว ยกนั หลายชนิด พอจะแยกประเภทโดยแบงตามผูเ ลนได 2ประเภทใหญ ๆ คอื 1. เพลงเดก็ จําแนกยอยๆ ได 4 ประเภทดังน้ี 1.1 เพลงรอ งเลน เชน โยกเยกเอย ฝนตกแดดออก นกกระจอกเขารัง 1.2 เพลงหยอกลอ เชน ผมจกุ ผมมา ผมเปย ผมแกละ 1.3 เพลงขู ปลอบ เชน แมใครมา น้ําตาใครไหล จันทรเจาขา แตชาแต เขาแหยายมา

196 | ห น า 1.4 เพลงประกอบการเลน เชน จา้ํ จ้มี ะเขือเปราะ รี รี ขา วสาร มอญซอ นผา 2. เพลงผใู หญ แบง 6 ประเภท คอื 2.1 เพลงกลอ มเดก็ เชน กาเหวา เอย พอ เนอ้ื เยน็ 2.2 เพลงปฏิพากย เชน เพลงฉอ ย เพลงรําวง ซึ่งเพลงปฏิพากยนีต้ อมาวิวัฒนาการมาเปน เพลงลกู ทุง น่นั เอง 2.3 เพลงประกอบการเลน เชน ราํ โทน ตอมาคือรําวง ลูกชวง เขา ผี มอญซอ นผา 2.4 เพลงประกอบพิธี เชน ทําขวัญนาค ทาํ ขวญั จกุ แหน างแมว 2.5 เพลงเก่ยี วกบั อาชพี เตน กาํ รําเคยี ว 2.6 เพลงแขงขัน สวนใหญค ือปฏิพากย เพลงเดก็ การเลน เปนการแสดงออกอยางหนึง่ ในกลุม ชน จะแตกตางกันไปตามวัฒนธรรมและเมือ่ มกี ารเลนเกิดขนึ้ ก็มกั มีบทเพลงประกอบการเลนดวย เพลงทีร่ องงายๆ ส้ันๆ สนุกสนาน เชนรรี ี ขาวสาร มอญซอ นผา จ้ําจมี้ ะเขอื เปราะ แมงมุมขยุมหลังคา เพลงผูใหญ เพลงผูใหญมีหลายประเภท นอกจากจะใหความสนุกสนานบันเทิงใจแลว ยังสะทอนใหเห็นถึงความสามัคคีรวมใจกันทําสิง่ ตางๆ ของสังคมไทย สภาพวิถีชีวิตวัฒนธรรมประเพณีตางๆ ไวอยางนาศึกษาอีกดวย ดานเพลงกลอมเด็กจะเห็นความรักความผูกผันในครอบครัวธรรมชาติ สิง่ แวดลอม ตํานาน นิทาน ประวัติศาสตร ตลอดจนจินตนาการความรูส ึกนึกคิดของมนุษย เนื่องจากความหลากหลายในเพลงกลอมเด็ก จึงเปน เพลงทม่ี คี ุณคา แกก ารรกั ษาไวเปนอยา งยงิ่คณุ คาของเพลงพื้นบาน เพลงพืน้ บานมีคุณคาอยางมากมายทีส่ ําคัญคือใหความบันเทิงสนุกสนาน มีน้าํ ใจ สามัคคีในการทํางานชวยเหลือกัน สะทอนวัฒนธรรมประเพณี วิถีชีวิต การแตงกาย ฯลฯ และเปนการปลูกฝง เด็กใหครบองค 4 คอื 1. สง เสรมิ ใหเด็กมกี าํ ลงั กายแข็งแรง 2. สง เสรมิ ใหเ ด็กมสี ตปิ ญ ญาเฉลียวฉลาด มไี หวพรบิ ปฏิภาณดใี นการแกปญ หา 3. สงเสริมใหเด็กมีจิตใจงาม มีคุณธรรมประจําใจ 4. รจู ักปฏบิ ตั ิตนตอสวนรวมในสังคม การปลูกฝงใหประชนพลเมืองของประเทศ เปนผูถ ึงพรอมดวยคุณสมบัติทัง้ 4 ประการนี้ตองปูพืน้ รากฐานกันตั้งแตเยาววัย และคอยเปนคอยไปทีละนอย จึงจะซึมซาบจนกลายเปนนิสัยสมัยนี้วิทยาศาสตรมีมากเพียงไร วัตถุนิยมก็ตามมา วัตถุนิยมเจริญขึ้น ความเจริญทางจิตใจก็นอยลงเปนผลใหความมั่นคงของประเทศไดรับความกระทบกระเทือนไปดวยอยางแนนอน ดังนัน้ เราจึงควรชวยกันปลูกฝง อนุรกั ษสบื สานใหดํารงอยูอยา งยงั่ ยืนสืบสานไป

ห น า | 197 เพลงพื้นบานเกิดจากชาวบานเปนผูส รางบทเพลงและสืบทอดกันมาแบบปากตอปากโดยการจดจําบทเพลงเปนคํารองงายๆ ที่เปนเรือ่ งราวใกลตัวในทองถิน่ นัน้ ๆ จึงทําใหเพลงพืน้ บานของไทยในภาคตางๆ มีความแตกตางกันออกไป ดงั น้ี เพลงพืน้ บานภาคกลาง มีอิทธิพลมาจากสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ การประกอบอาชีพวถิ ีการดาํ เนินชวี ิต พิธีกรรมและเทศกาลตางๆ โดยสามารถแยกประเภทไดด ังน้ี - เพลงทีร่ องเลนในฤดูน้าํ มาก ไดแกเพลงเรือ เพลงรอยพรรษา เพลงรําภาขาวสาร เพลงหนา ใย เพลงครึ่งทอน เปน ตน - เพลงทีร่ องเลนในฤดูเกีย่ วขาวและนวดขาว ไดแกเพลงเกีย่ วขาว เพลงเตนกํารําเคียวเพลงซึง่ ใชรองเลนระหวางเกี่ยวขาว สําหรับเพลงสงฟาง เพลงพานฟาง เพลงโอก เพลงสงคอลาํ พวนเพลงเตะขาว และเพลงชักกระดาน ใชร อ งเลน ระหวา งนวดขา ว เพลงที่ใชรองเลนในชวงตรุษสงกรานต ไดแกเพลงสงกรานต เพลงหยอย เพลงระบําบานไรเพลงชา เจา หงส เพลงพวงมาลยั เพลงสนั นษิ ฐาน เพลงคลอ งชา ง และเพลงใจหวงั เพลงที่รองเลนไดทุกโอกาส เพือ่ ความเพลิดเพลินสนุกสนาน เกิดความสามัคคีในหมูคณะมักจะรองเลนกันในโอกาสทํางานรวมกัน หรือมีงานบุญและงานรื่นเริงตางๆ โดยเปนเพลงในลักษณะพอเพลงแมเพลงอาชีพ ที่ใชโตตอบกันไดแกเพลงเทพทอง เพลงปรบไก เพลงอีแวว เพลงฉอ ย เพลงลําตดั เพลงทรงเครื่อง เปน ตน เพลงพน้ื บา นภาคเหนอื สามารถใชรองเลนไดทุกโอกาสโดยไมจํากัดเทศกาลหรือฤดูใดๆ ซ่ึงใชรองเพลงเพือ่ ผอนคลายอารมณและการพักผอนหยอนใจ โดยลักษณะการขับรองและทวงทํานองจะออนโยน ฟงดูเนิบนาบนุม นวล สอดคลองกับเครือ่ งดนตรีหลัก ไดแก ป ซ่ึง สะลอ เปนตนนอกจากนี้ยังสามารถจัดประเภทของเพลงพื้นบานของภาคเหนือได 3 ประเภทคือ 1. เพลงซอ ใชรอ งโตต อบกนั โดยมีการบรรเลงป สะลอและซึงคลอไปดวย 2. เพลงจอ ย เปนการนําบทประพันธของภาคเหนือมาขับรองเปนทํานองสัน้ ๆ โดยเนื้อหาของคํารองจะเปนการระบายความในใจ แสดงอารมณความรัก ความเงียบเหงา มีนักรองเพียงคนเดยี วและจะใชด นตรบี รรเลงในโอกาสตา งๆ หรอื จอ ยอาํ ลา 3. เพลงเดก็ มีลักษณะคลา ยกบั เพลงเดก็ ของภาคอื่นๆ คอื เพลงกลอ มเดก็ และเพลงที่เด็กใชรอ งแลนกนั เพลงออ่ื ลกู และเพลงสิกจุงจา เพลงพืน้ บานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพลงพืน้ บานของภาคอีสาน ใชรองเพือ่ ความสนุกสนานในงานรืน่ เริงตางๆ สามารถแตงไดตามวัฒนธรรม 3 กลุม ใหญๆ คือกลุมวัฒนธรรมหมอลาํ กลุม วฒั นธรรมเพลงโคราช และกลมุ วฒั นธรรมเจรยี งกันตรมึ ดงั น้ี 1. เพลงพ้ืนบานกลุม วัฒนธรรมหมอลํา ประกอบดวยหมอลําและเซิง้ โดยหมอลําแบงการลํานําและการรองออกเปน 5 ประเภทคือ ลําเรือ่ ง ลํากลอน ลําหมู ลําเพลิน และลําผีฟา สวนเซิ้ง

198 | ห น าหรือคํารองจะใชคํารองรืน่ เริง เชนการแหบัง้ ไฟ การแหนางแมว การแหนางดัง โดยเนื้อเรื่องในการซงึ่ อาจเปนการขอบริจาคเงินในงานบุญ การเซิ้งอวยชยั ใหพ ร หรือเซิ้งเลานิทานชาดกตามโอกาส 2. เพลงพื้นบานกลุม วัฒนธรรมเพลงโคราช เปนเพลงพื้นบานที่เลนกันมานานในจังหวัดนครราชสีมา หรอื โคราช ซงึ่ เนอื้ เพลงมีลักษณะเดน มีการเลนสัมผสั อักษรและสัมผัสสระทําใหเสียงนาฟงยิ่งขึ้นและยังมีเสียง ไช ชะ ชะ ชิ ชาย พรอมมีทั้งการรําประกอบแบบเหยาะตัวตามจังหวะขึ้นลง ซึ่งเพลงโคราชนี้ นิยมเลนทุกโอกาสตามความเหมาะสม 3. เพลงพื้นบานกลุม วัฒนธรรมเจรียงกันตรึม ทีน่ ิยมรองเลนกันในแถบจังหวัดที่มีเขตติดตอกับเขมร ไดแก จังหวัดบุรีรัมย สุรินทร และศรีสะเกษ โดยคําวากันตรึม นั้นหมายถึงกลองกันตรึม ซึง่ เปนเครื่องดนตรีหลักเวลาตีจะใชจังหวะเสียงดัง โจะกันตรึมๆ และเจรียงหมายถึง การขับหรือการรองเพลงมี 2 แบบคือเจรียงใชประกอบการบรรเลงดนตรีกันตรึม ซึ่งเมือ่ ขับรองไปทอนหน่ึง ดนตรีกันตรึมก็จะรับและบรรเลงยาวอีกแบบคือเจรียงดนตรี ใชรองในงานโดยจะขับรองไปเรื่อยๆ และมีดนตรีบรรเลงคลอไปเบาๆ ซึง่ ในการรองเพลงเจรียงนัน้ สามารถรองเลนไดทุกโอกาสโดยไมจํากดั ฤดูหรอื เทศกาล เพลงพื้นบานภาคใต มีอยูประมาณ 8 ชนิด มีทัง้ การรองเดี่ยวและการรองเปนหมูโ ดยสามารถแบงเปน 2 กลมุ ใหญๆ คอื 1. เพลงทีร่ องเฉพาะโอกาสหรือฤดู ไดแกเพลงเรือ เพลงบอก เพลงนาคําตัด เพลงกลอมนาคหรอื เพลงแหน าคเปน ตน 2. เพลงทีร่ องไมจํากัดโอกาส ไดแกเพลงตันหยง ซึง่ นิยมรองในงานบวช งานขึ้นปใหมและงานมงคลตางๆ เพลงเด็กทีร่ องกลอมใหเด็กหลับ และเพลงฮูลูหรือลิเกฮูลู ทีเ่ ปนการรองคลายๆลําตัด โดยมีรํามะนาเปนเครือ่ งดนตรีประกอบจังหวะกับบทขับรองภาษาทองถิน่ คือภาษามลายูเปนกลอนโตต อบกนักิจกรรมเพลงพื้นบาน 1. ผเู รยี นคดิ วา คาํ วา “เพลงพืน้ บา น” ความหมายวาอยางไร.....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ห น า | 199....................................................................................................................................................................................................................... 2. ผูเรียนคิดวา “เพลงพื้นบาน” มีอะไรบาง และในทองถิ่นของผูเรียนมีการละเลนพ้ืนบานอะไรบาง................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ 3. ผูเ รียนคิดวา “ เพลงพื้นบาน” ในชุมชนหรือทองถิน่ แตละภาคมีความเหมือนกันหรือแตกตางอยางไรบางยกตัวอยางประกอบ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................4. คาํ ชแี้ จง ใหน กั ศกึ ษาตอบคาํ ถามตอไปนีใ้ หถูกตอง 1. ความหมายของเพลงพื้นบาน ขอใดกลา วถูกตองทส่ี ดุ ก. เพลงที่ชาวบานรอง ข. เพลงที่ชาวบานประพันธ ค. เพลงท่ชี าวบา นรว มกนั รื่นเรงิ ง. เพลงที่ชาวบานรวมกันแสดง 2. ขอใดเปนคุณสมบัติของเพลงพื้นบา นเดน ชดั ทส่ี ุด ก. แสดงเอกลักษณของคนในหมูบาน

200 | ห น า ข. ทุกคนรองได ค. มีสัมผสั คลองจอง ง. ใหความบันเทิง 3. โดยทว่ั ไปแลวเพลงพ้นื บานจะมลี กั ษณะเดน คอื ก. มีความสนุกสนาน ใชภาษาคมคาย มีภาษาบาลีสันสกฤต ข. มีความเรียบงายทั้งดานแตงกายและการเลน ค. เปนวรรณกรรมอมุขปาฐะ มคี วามเปนพ้ืนบานพ้ืนเมือง ง. มีภาษาถน่ิ ปะปนอยู จงั หวะเรา ใจ ใชศัพทสูงชวนฟง 4. เพลงพื้นบานที่ประกอบการทํางาน คอื เพลงอะไร ก. เพลงเตนกําราํ เคยี ว ข. หมอลาํ ค. เพลงเรอื ง. เพลงฉอ ย 5. เพลงแหน างแมวจดั เปน เพลงชนิดใด ก. เพลงปฏิพากย ข. เพลงประกอบการเลน ค. เพลงประกอบพิธี ง. เพลงเขาผเี ชิญผี 6. เพลงที่ใชร อ งเกี้ยวพาราสี หลังจากทําบุญตักบาตรแลวมานั่งรอบโบสถ เรยี กวา เพลงอะไร ก. เพลงพวงมาลัย ข. เพลงลําตัด ค. เพลงรําวง ง. เพลงพิษฐาน 7. จะนัง่ แตหอทอแตหูก นั่งเลีย้ งแตกันแตไร จากบทเพลงนี้ทําใหเราไดรับความรู เก่ียวกับสิ่งใดบาง ก. การทํางาน การเลี้ยงดบู ุตร ข. การเลี้ยงลูกในสมัยโบราณ การใชเวลาวางใหเปนประโยชน ค. การทอผา การแตงกาย ง. การปลกู เรอื น การเลี้ยงดบู ตุ ร