Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความเชื่อ การเวนตาน

ความเชื่อ การเวนตาน

Published by aun-li, 2019-12-01 23:05:32

Description: หนานอั๋นเวียงป่าขาม
กลางเวียงหริภุญชัยหละปูนแก้วกว้าง

Search

Read the Text Version

90 ตวั อยา ง พทุ โฺ ธ มงคฺ ละ สมฺพโู ต สมพฺ ทุ โฺ ธ ทปิ ฺทตุ ฺตโม พทุ ธฺ มํคล มา คมมฺ ะ สพพฺ ทกุ ขฺ า ปมุฺจเร ธมโฺ ม มงฺคละ สมพฺ โู ต คมฺภีโร ทุทสั โส อนุง ธมมฺ มํคล มา คมั ฺม สพั พฺ ทกุ ฺขา ปมุ จฺ เร สงโฺ ฆ มงคฺ ละ สมฺพูโต ทกขฺ ไิ นโย อนตุ ตโร สฆํ มคํ ล มา คมมฺ สพฺพทกุ ฺขา ปมุจฺ เร (บทสขู วญั คน, นิยม สองสโี ย. สมดุ บันทกึ ) (2) กลาวถึงกาลอนั เปน มงคล ผูเรยี กขวญั จะกลา วถึงเวลาอนั เปนมงคลทีจ่ ะทําการเรยี กขวญั โดยอา งถงึ เหตกุ ารณที่ พอ งกับความเปน มงคลน้นั เพอ่ื แสดงใหเจา ของขวัญและผรู ว มพธิ ีเหน็ วา วันและเวลาดังกลาว เปน เวลาทเี่ หมาะสมทส่ี ดุ ทจ่ี ะประกอบพธิ กี รรมอนั เปนมงคล ตัวอยา ง ศรี ศรี สวสั สดี อช ในวันน้ีก็เปนวันดี เปนวันศรวี ันไส วันเปก เส็ดกาบไกเลศิ เจยี งคาน เปน วนั มังคะละการอนั ประเสรฐิ ใหบงั เกดิ ธมั วฒุ ิ 4 ประการ เปน โอฬารอันแผก วา งย่งิ กวา ชางโสกแสนคําเตชะนําเขมกลา เปนวันปองฟา เลิศลือเซง็ วนั เม็งก็หมดใสวนั ไต ก็หมดปลอด วนั นกี้ ็หากเปน ยอดพญาวนั ชางสะตันไดบ ริวารพอลา น ออกนอกบา นปะใสไ หเงิน กแ็ มน ในวันนี้ เมืองเถนิ จักปอ งเมอื งหอ ยา ชา งหมอจะไดเปน เศรษฐี ก็แมน ในวนั นี้ ราชสีหจ ะกอ เรยี กรอง ก็แมนในวนั น้ี ย่ิงอวดจอ งหมายหาตวั เวร ก็แมนในวันนี้ มหาเถรจกั บณิ ฑบาตขาว ก็แมน ในวันน้ี ปูเถาจะสอนหลาน อาจารยจ กั นําโชคมาหอื้ กแ็ มนในวนั นแ้ี ทด หี ลี (บทสขู วญั คน, นยิ ม สองสีโย. สมุดบันทึก) (3) บอกชอื่ เจา ภาพ สิง่ ท่ขี าดไมไ ดอ กี ประการหนงึ่ คอื การบอกชอื่ เจาภาพ หรอื เจาของขวัญ เพือ่ ให ผูเขารว มพธิ ีกรรมรบั ทราบ โดยอาจระบุชือ่ เจาภาพเปน รายบุคคล หรือ เปนกลุมบคุ คลกไ็ ด ดัง ตวั อยาง

91 ตัวอยา ง บดั นีห้ มายมี พอ แมพน่ี อ งญาตวิ งศา เขาก็มาจกุ ถา เล้ียง 32 ขวญั มเี กษาพอเปน เคลา ตราบตอเทามดั ถลงุ คัง ก็เดิมเพ่ือวา เปนปรโิ ยสานอันตนื่ เตน แมนวา 32 ขวัญแหง เจา หากไปลา เลนอยหู นใด ผขู านกั เลา โลมใจแหง เจา ขวญั เกา ขวญั เคลาจุง เรยี กเลา คืนมากอนเทอะ (บทสขู วญั คน, นิยม สองสโี ย. สมุดบันทกึ ) อยางไรก็ตาม บางสาํ นวนอาจไมม ีการกลา วถึงเนอื้ หาในสวนนี้กไ็ ด เชน บทเรยี กขวัญ ผูป ว ย และบทเรียกขวัญคบู า วสาว ของทวี เขือ่ นแกว (2541: 169 – 176) (4) เชิญขวัญ ขวญั เปนสิง่ ท่ีมอี ยูประจาํ ตัวคน และสตั ว ตลอดจนสงิ่ ตางๆ คนลานนาเชื่อวาคนเราวามี 32 ขวัญ ซึ่งประกอบไปดวยอาการ 32 ประการของมนุษย และอาจหนีออกไปจากรางกายของ คนดวยเหตุตาง ๆ ดังนั้นจึงตองเรียกขวัญใหกลับมาอยูกับเจาของขวัญโดยอางถึงคุณของ เทพเจา เพือ่ ใหนําขวัญกลบั มาสเู จา ของขวัญ ตวั อยา ง สาธุ สาธุพอ หมอเฒา หมอชา งเลาเอาขวญั มีท้ังพระกมุ พระกณั ฑ พระมารดา ยาหมอ นึ่ง จงุ ไปลากทืน้ รบี เร็วพลันเดยี วน้ี แมน วาขวัญเจา จักไปหลกี ลี้อยหู นใด จักเปนการอันเมินนานพายหนา ขอยา จงุ ไปเซาะหามาหอ้ื ได หกั ไมแทก็ รอยหาเครอื่ งบูชา เทียนสถี าดอกสรอ ย เหลาหัวเดด็ หา รอ ย ใสแ พง นอยมาฟาย ผาแดงลายทบแหนบ ผาขาวแหนบยองบน หมากพลสู นแตงพรอ ม ตกแตง นอ มนํามา ถวายบชู าบไ ว ถึงแกนไทคือกุมภัณฑ กาเรเย่ืองใดเดจิงจกั ได ขอยาไปเซาะไซ รบี เอามากอ นเทอะ (บทสูข วญั คน, นยิ ม สองสีโย. สมุดบันทึก)

92 (5) กลา วถงึ การทอ งเท่ยี วของขวญั ผูเ รียกขวัญจะกลาวถงึ การทอ งเท่ยี วของขวัญทตี่ อ งระหกระเหินไปยังทีต่ า ง ๆ ที่ไม สมควร เชนไปตกอยทู ปี่ าไม หรือกําลงั เทีย่ วเลนจนลมื ท่ีจะกลบั มาสูรา งกายของเจาของขวัญ ตวั อยาง ขวันเจา อยา ไพหลงเสียดงดําสรอกหว ย ทรี่ งุ ฅาวกินกลวยที่ปา ไมบ มีฅน ขวันเจา อยาไพอยูกลางเดือนดาวยังฟา ขวนั เจา จงุ หื้ออวา ยหนาฅนื มา เนิอขวนั เจาเนิอ ขวนั เจาอยาไพอยทู สี่ าลาหลงั สูงเกา หอ ง ขวันเจา อยา ไพอยูท ฟ่ี า รองแผนดินสดุ ขวันเจาอยา ไพอยทู ี่สมุททหลวงแลคงุ คาใหยกวา ง ขวนั เจาอยา ไพอยูในทอ งชางเอราวณั เนอิ เจา ขวันทวารทงั เกาขวันเจาอยาไพอยยู ังเมอื งยาเถา ดอกซอนมาร ขวันเจา อยา ไพอยจู มิ่ ร้ินแลยุงยังปา ขวันเจาอยา ไพอยูยังทา นา้ํ แลทางหลวง ขวนั เจาอยาไพชมดวงดอกไม …………………….. (บทสขู วญั คน, นยิ ม สองสีโย. สมุดบันทึก) (6) กลาวถงึ ความงามของบายศรแี ละเคร่อื งบชู าขวญั บายศรีเปน เครือ่ งประกอบพิธกี รรมท่สี าํ คัญ ผูเรยี กขวญั จะกลา วถึงความงามของบายศรที ่ี ประดบั ดว ยดอกไมนานาพันธอุ ยา งสวยงามเพ่อื เชญิ ขวัญใหม าชม นอกจากนีย้ ังกลาวถึงอาหาร คาวหวานทีเ่ ตรยี มไวเพอ่ื ใหข วญั มารับเคร่ืองสงั เวยดงั กลาว การพรรณนาจะละเอยี ดมากหรอื นอยเพียงใดขึ้นอยูกบั ความสามารถและชนั้ เชงิ ของผูเรยี กขวญั ตัวอยา ง ของกนิ มสี ะพาดใสเหนือพา มีทงั้ ไกตม คงู ามชาตติ วั ป ขวัญเหยขวญั คาํ หมากสว ยบา ยปนู พลู มที งั้ สุกะรามันตะลาด นํา้ ออ ยออ ยดูหวาน มที ง้ั กนั ตะรีหนวยกลว ย ปลาปง แลเปน ตัว มีทงั้ ขา วสะดกู อ นสะดยู อย ขา วแคบรา วใสม นั หมู มีท้ังขา วสารและขา วแช ขาวตมกลว ยใสจ านแบน ขนมหนวั ใสม ะพรา ว นํ้าออยใสส ูนงา ขนมอี่ตูใสถว ย เหมย้ี งสมอมแลวหากใจดี ขนมแตนจืนใหม พนั แลว ถอดตองขาว ไขม อนหนาสุกหลม มที ้งั น้ําคูและนํา้ จนั ทน มีทง้ั บหุ ร่พี ันตองยอด ยง่ิ กวาสาวเขาพนั ฝากชู

93 มีทัง้ นา้ํ มันและนํา้ สมปอย ขมนิ้ ออ ยเอาผิว มีท้ังคาํ ปลิว และเงินลาน แมน จักใสชางกย็ ังเหลอื แด หอมรสเลาหอมทวั่ เทาทอดัง มที ั้งผา ตาปง มวงแหล ผอแทห ากดวู อน สสี กุ ออนดูแลบ ผา ขาวแขบขอ นไหมคํา แวน หวที าํ สอดกอยคาํ แดง ควนคาแพงบถ อย ขา วแคบออยหอมทอดัง ดอกดวงสงั ก็มนี ี้พรา่ํ พรอ ม มีท้งั ดอกตะลอ ม คําแฮ ตายเหนิ แกบานตา่ํ ยีป่ ุน ผ่ําวรแดง ซอมพอแสงกิ่งกอ ม บัวกาบคอมบานงาม มีท้งั ดอกนางกลายบานแบง สรอ ย มที ้งั ดอกซอ นนอ ยบานตัน มที ง้ั ดอกมะลวิ นั หอมแกน มีท้ังดอกบัวแวนงามถมถอง มีทัง้ ดอกตองและดอกงว้ิ บานแสดส้ิวเม่ือยามหนา มที ้งั ดอกกวาวบานหลามกา น แมงภูซวานมัวเมา ชมรสหนัวคลงึ เคลาแอว ไปมา สว นดอกไมท งั้ หลายนัน้ นา ลางพอ งกห็ าได ลางพอ งก็หาบได ดอกไมมหี ลายประการ ....................... (บทสูข วญั คน, นิยม สองสีโย. สมุดบนั ทึก) (7) เชญิ ขวญั ใหมาอยูก บั เจา ของขวญั การเรียกขวญั จะจบดว ยการเชิญขวัญใหม าอยูก ับเจาของขวัญ เพ่ือความเปนมงคลแก เจา ของขวญั และจะจบดวยการผูกขอมอื ใหแกเ จา ของขวัญ ตัวอยาง ขวัญเจา ไปอยจู ม่ิ นกเคา อนั ชา งคกุ เมอ่ื ยามหนาวกห็ อ้ื มา แมนวาขวัญเจา ไปอยจู ่มิ เหน็ หางยาว และเหน็ โอมก็หื้อมา ขวญั เจา อยาไดเ คยี ดสมขมใจ ขวญั เจาอยากอนั ใดผูขาหากจะหยัก ขวัญเจา มักอันใดผขู าหากจกั ปอ น จงุ มาถา ยถกถอนจงุ มาทมุ ผา สีออนและเหนบ็ ดอกไม ขอ อัญเชิญ 32 ขวัญแหง แกวแกนไทจงุ ห้อื มากอนเทอะ (บทสูข วญั คน, นิยม สองสีโย. สมุดบนั ทึก)

94 ข. บทเรียกขวญั ควาย วิทยานิพนธเรื่อง “การศึกษาบทสูขวัญและพิธีสูขวัญของชาว ไทลื้อ อําเภอปว จงั หวัดนาน” ของ สมพงษ จิตอารยี  (2545) ไดก ลาวถงึ เนือ้ หาของบทสูขวัญควาย วาจําแนกได 2 สวน คือ การพรรณนาบุญคุณของควายท่ีชวยมนุษยทํานา และการกลาวขอโทษขอขมา ที่ได ดาวาเฆ่ียนตีระหวางการทํางาน สวนผลการศึกษาของผูวิจัย ที่พิจารณาเน้ือหาและโครงสราง ประกอบกัน สามารถจําแนกบทเรียกขวญั ควาย ไดดังน้ี (1)กลาวถงึ กาลอันเปน มงคล การสูขวัญควายจะเริ่มดว ยการกลาวถึงวาระอันเปน มงคล ท่เี หมาะสมเพื่อจะประกอบ พธิ ีกรรมโดยเหตุการณทีม่ าพอ งกับวนั ที่เปนมงคลท่เี กยี่ วขอ งกบั การเกษตร และเกยี่ วขอ งกบั พทุ ธประวตั ิ ตวั อยาง อชั ชในวันนกี้ เ็ ปนวนั ดี เปน ศรีมงคลอันประเสริฐ เปน การอันเกดิ กับโลกหากสืบกนั มา ในโลกาแหลงหลา เชน เมอ่ื ปางเจาฟาพระยาศรีสทุ โธมา การทําไรท าํ นาปลูกขาว อนั สบื เคา เหงา เมอ่ื สทิ ธตั ถะออกไปไถนา เปน ธรรมดาแตงไว หือ้ สืบใชเปน ประเพณี ปไหนมีละเทอ่ื เมอื่ เดือน 11 สืบ 12 ฝนตกน้ํานองหา ใหญ ไปแปงไปเอานํา้ ใสเ ตม็ นา (ทวี เชื่อนแกว ,2541: 182) (2) กลาวถึงบญุ คุณของควาย เนือ้ หาในสว นนีจ้ ะกลา วถึงการขมาควายทเ่ี จา ของไดใ ชแรงงานอยา งหนกั เพื่อไถนา บางครัง้ ตอ งเฆย่ี นตเี ม่อื ไมไ ดด ั่งใจเจา ของ อกี ท้ังตอ งแบกแอกเพอื่ คราดไถหนาดนิ ท่ีเปน งาน หนัก การกระทําดงั กลาวถอื วา มีบุญคุณตอมนุษยมาก ตัวอยา ง ผูขา ก็มาร่าํ เพิงดู ยังบญุ คณุ เจาทง้ั สอง ทไ่ี ดกระทําการไถนา เปลง วาจาเฆย่ี นดา คา ท่ีไดใ ชกินแรง ผูขา ก็ขอขมายกโทษ

95 สองเจาตวั ประเสริฐ คอื ววั และควาย ขอทานมีความเมตตา กรณุ าตขู า คา ไดใ ขกนิ แรง ผขู า ก็รกั แพง เพียงหวั ใจแหง ผูขา ตั้งแตน ้ีไปหนา ผูขาก็บห อ้ื เจา ไดทุกขโ ศกเศรา ทกุ ขย ากในทางกิน ผูข าจักห้ือเจา ไดพ นจากไถแผนดนิ อันอดิ หวิ ลํา้ บาก อดทกุ ขย ากมานาน (ทวี เชือ่ นแกว,2541: 182 - 183) (3) ขอขมาววั ควาย เนือ่ งจากเจาของควายตอ งใชแรงงานของควายอยางหนักเปน เวลานาน ตองบังคับเฆี่ยน ตีควาย ดังนั้นจึงตองมีการปลอบประโลม ตลอดจนขอขมาในส่ิงที่ชาวนาไดทําไมดีกับควาย ตลอดระยะเวลาสามเดอื นท่ผี านมา ตัวอยาง บัดนผ้ี ขู า จกั โถมนาคณุ เปน ใหญ ก็ไดต กแตง พรอมนอ มนาํ มา ยงั สคุ นั ธาทกะหอมออมใหญ ไวห ื้อเจาไดร ดเกลา และดาํ หวั เน้อื ตนตวั เปน มลู มลทิน ตดิ แปดดนิ ยามเม่ือสายแดดตอง ยามเมือ่ ฟารองและฝนฮาํ ผขู ากน็ าํ มายงั บุปผาราชาดวงดอกไม เขาตอกใตเ ทยี นงาม ขอขมาตามแตโทษ ยามเม่ือไดใ ชก ารโกรธราวี ไดดา และบุบตี เชอื กฟาดยีดาหยอ ห้อื เจาโคนามหึงษา ขอละลดปลดเสียยังโทษโทษา (ทวี เชอ่ื นแกว,2541: 183) (4) เรยี กขวญั ควาย ผเู รียกขวัญจะกลาวเชญิ ขวัญใหม าอยกู ับตัวของควาย โดยมคี วามเช่อื วา ควายมีขวัญ 32 ขวัญเชนเดียวกับคน ขวัญของควายอาจหนีไปเน่ืองจากการทํางานอยางหนักและอาจตกใจ เนอื่ งจากการเฆี่ยนตี ดังนน้ั ผเู รยี กขวญั จะเชญิ ขวัญใหมารบั เครอ่ื งบตั รพลที ่เี จา ภาพไดเตรียมไว

96 ตวั อยาง จกั เรยี กรอ ง 32 ขวัญเจา โคนะมหึงษา ห้ือเจามาอยสู ืบสรา งกอ สมภาร 32 ขวญั เจา หอ้ื ไดมาอยูสรา งเจยบาน กับดว ยผูข า อนั เปนมนษุ ยโ ลกเมอื งคน 32 ขวัญเจา อยา ไดโศกเศรา หมอง 32 ขวญั เจา หอื้ ไดมากินนา้ํ ใส ใบหญาออนเขยี วงาม 32 ขวัญเจา จงุ มาเสวยจํายามเลยคูน อ ย มีทั้งกลวยออ ยมากหวานใจ 32 ขวญั เจา อยา ไปเทย่ี วลา ไกล กลางดงไพรเขตนอก เหตวุ าเจา บอรปู ากเหมอื นคน 32 ขวญั เจาอยาไปลา เววนอยกู ลางปา 32 ขวัญเจา อยาไปลาดงไพร 32 ขวัญเจา อยา ไปกวงไกลทางอื่น (ทวี เช่อื นแกว ,2541: 183) (5) ใหพ ร การเรียกขวญั ควายจะจบลงทก่ี ารใหพร เพ่ือใหควายไดสุขสบายไมม ีโรคภัยเบยี ดเบยี น นอกจากนี้ยังขอใหค วาย อยใู นพระธรรมของพระพุทธเจา ไดพบกับพระศรีอริยเมตไตย ใหพน ทุกขท ้ังปวง และเขาถึงนพิ พาน ตัวอยาง ขอหื้อเจา จงุ มีอายุเลายืนนาน สพั พจัญไรอยา ไดการเทพา สพั พะผีหา และผเี หงา อยามากลายมาใกล สัพพหมูอันตราย กห็ อ้ื หายดบั วอด หอื้ เจา ไดถือเอายอดทานปารมี เนกขัมบัญญาปารมี วิริยะขันตี สจั จอธษิ ฐานปาระมี เมตตาอเุ บกขาปารมีไปคชู าติ ห้อื เจาไดพนจากเดยี รจั ฉาน ห้ือเจา ไดพบสมภารเจา นักปราชญ เจา ปริสมงิ่ มงคล อนั จกั ไดลงมาเกดิ เปน พระในโลกา ยามนน้ั นาคนท้งั หลาย บไ ดหวานกลาไถนา เปน ดง่ั ขา และเจา กจ็ ักไดสขุ เทยี่ งเทา อายขุ า และเจาจักยืนแสนป สมบตั ิเรามีบไร ก็จกั ไดพนจากโอฆสงสารไปหนา กับเจาฟา ตนชอื่ วา อริยเมตไตรย บอ คลาดบอ คลา จตั ตาโรธรรมมา อันวาธรรมทง้ั สี่ ขอเปน ดงั่ รม และเงา เอาเปน ฉัตรแกว คูม งุ หวั ภวาสัพพตี โี ย

97 จงุ หื้อเปนขัวราวงามผิวผอง วินาสสนั ตุ จงุ หอื้ เปน ทห่ี นองเกาะผนั สพั พโรโค เปย ธิมีหลายส่งิ วนิ าสสันตุ จหุ อื้ มวยมงิ่ คลาไป มะโน หอ้ื เจา ไดอ ยูสุขจาํ เริญใจ ชุวนั คนื คํา่ เชา วินาสสนั ตุ ตราโย อายุวรรณัง จงุ หือ้ เจา มีอายเุ ลา ยืนยาว ตพห นสิ นิจจงั เท่ียงหม้ัน วฑุ ฒาปจายโิ น อยา ไดชาํ้ เหงย่ี งกนั หาย จตั ตาโรธรรมมาผาดโปรด หือ้ เจามียงิ่ โยดแทด หี ลี (ทวี เชือ่ นแกว,2541: 184) 3.3.4 บทสงเคราะห บทสงเคราะหในลา นนา มีเน้อื หาและโครงสรา ง ดงั น้ี (1) กลา วถึงโอกาสในการประกอบพธิ กี รรม เนือ้ หาสว นแรกของบทสงเคราะหคอื การกลาวถึงโอกาสในการประกอบพิธกี รรม ดังตวั อยาง สรีสทิ ธิสวัสดี อัชชโย อชั ชโย อชั ในวันนี้กเ็ ปนวันดี ศรศี ุภมงั คละอันประเสรฐิ ลาํ้ เลศิ ย่ิงกวา วนั และยาทงั หลาย วนั เม็งกห็ มดใส วันไทก็หมดปลอด เปน วันยอดแหงพญาวนั ………………………. (ญานสมฺปนฺโน,มปป : 76) (2) เจาภาพ เนื้อหาสวนตอ ไปจะกลา วถงึ เจาภาพ หรือ ผทู ่ีประสบเคราะหม า ดว ยการระบชุ ือ่ อยา ง ชดั เจน ดงั ตวั อยาง บัดนี้หมายมี นาย นาง...(ระบุชื่อ).... ก็ไดต อ งทรงยงั เคราะหถอ ยชา (ญานสมฺปนฺโน,มปป : 76)

98 (3) กลา วปดเคราะห เนื้อหาสวนนี้ เปนการกลา วปดเปาเคราะหร า ยทีอ่ าจมาในลักษณะตา ง ๆ ใหผ านพน ไป ดังตัวอยา ง ................................. ผขู า ก็จักปดไปแ ตกอนปางหลัง เคราะหเ มื่อยังแรกเกิด เคราะหอ นั บประเสรฐิ มวลมี เคราะหส ิบสองราศเี กย้ี วกอด ลกั ขณาสอดเกาะกมุ อาทิตยซ้ํามาสมุ แกน กลา พระจนั ทรส ง หลาสวักสวาด ถว นสามอังคารรงั หยาดเลิศแลว ถว นสพ่ี ุทธผองแผวใสงาม พัสถวนหาตามแถมเลา สโุ ขถว นหกบเ สาดวงใสโสรี ถวนเจด็ รศั มไี วหลายส่าํ สพั พเคราะหพ รอมพรํา่ นานา อันมใี นกายาแหง เจา นวฆาตทงั เคลา มวล มีทงั นักขัตฤกษศรี 27 ตวั นบั หมาย แมนวา เคราะหท งั หลายมาพรอ มอยูแ ลว จงุ หอื้ ไดคลาดแคลวหนีเสยี ไกล ถอื เคราะหจ งั ไรถอยชา เคราะห 13 นาม 15 กห็ อ้ื หนี ท้ังเคราะหป เคราะหเดอื น เคราะหวัน เคราะหยาม เคราะหบ ดบี ง ามจี้ใส เคราะหนอยเคราะหใ หญมวลมี เคราะหกาลเี มอื่ หลบั เมื่อตื่น เคราะหเ มอื่ ยืนเม่ือเทียว เคราะเมอ่ื เคย้ี วเม่ือกิน เคราะหเ มื่อคนื บห ัน เคราะหเ ม่ือวนั บรู เคราะหเมอ่ื อูเมื่อจา เคราะหนานาตัวกลา เคราะหต่าํ ชา จดเจอื เคราะหเหนอื เคราะหใ ต เคราะหเมือ่ เจบ็ เม่ือไข เคราะหว ันตกวันออก อยดู าวขอกแดนใดก็ดี กห็ ื้อคา ยหนีไปวันนยี้ ามนี้ เคราะหด ํากาํ่ กตี้ วั กลา เคราะหชนหนา ชนหลงั แมน วา เคราะหต วั ใดยัง 108 อยาง ค็อยาไดขอ งคา ง อยูใ นตนตวั แหง นาย – นาง........สกั เยอื่ งสกั ประการ แมน เคราะหตวั หาญเกี้ยวหนอ ง ก็จุง หอื้ ไดด ับลองไปดวยไฟ ห้อื ไดไหลไปดว ยนํา้ อยาหอื้ ไดคนื มาแถมซํา้ พอสอง หื้อไดป องดับหายไป บดั น้แี ดเ ทอะ หรู ู หูรู สวาหาย …………………………. (ญานสมฺปนฺโน,มปป : 76 - 77)

99 (4) กลาวใหพรดว ยภาษาลานนา เน้ือหาสวนน้จี ะกลาววา หลงั จากที่เคราะหรายตาง ๆ ไดถูกปดเปาออกไปจนหมดแลว ก็ จะขอพรใหเ จาภาพพบความสุข ความสมหวังดานตางๆ ดังตัวอยาง ....................................... เมือ่ สพั พเคราะหท ังหลายไดคายออก หือ้ ตกไปยังขอกฟา จักรวาล ไปอยูสถานทแ่ี ผน ดนิ สุดไกล และหากตวั ใดไดก ลบั เปน ปาปเคราะหแ ลว ขอจุงไดคลาดแคลวมาเปน โสมะ และตวั ใดหากเปนโสมะแลว ก็ดี ขอจุงเปนศรีนาํ มายังโชคป โชคเดือน โชควัน โชคยาม อายุป อายเุ ดือน อายุวัน อายุยาม หือ้ มีอายหุ มั้นยืนยาว รอ ยซาวขวบเขา วัสสา ไดอยูค าํ้ ชูศาสนาไปไจๆ ห้ือไดสวสั ดี แดเทอะ แมน จกั อยูก ็หื้อทีฆามีชัย แมนจักไปกห็ ื้อมีโชคลาภ ปราบแพศตั รู หลับตาก็ห้ือไดเ งนิ หมื่น ต่นื ก็หือ้ ไดคาํ แสน ไดเปน เศรษฐเี จาเงินเจาคาํ เจาชางเจา มา มขี าหญิงชาย ไปทางใดก็มคี นหุมคนรัก แมนจกั ปรารถนาสิ่งใด กห็ ื้อไดสิ่งนัน้ ชุประการ จงุ จกั มเี ท่ียงแทด หี ลี ดังพระมนุ ตี นประเสริฐ อนั ล้ําเลิศยิง่ กวา โลกโลกา กลาวเปนคาถาไวว า …………………………. (ญานสมฺปนโฺ น,มปป : 77) (5) กลาวใหพ รดวยภาษาบาลี เนื้อหาสวนทา ยสุดของบทสงเคราะห คอื การกลา วใหพ รเปน ภาษาบาลี ซงึ่ มีเนอ้ื หา คลายคลงึ กบั การใหพรเปน ภาษาลา นนา ดงั ตัวอยา ง สัพพะพตั ถะ สัพพะตา สัพพะเคราะห สพั พะภยั ยา สพั พะทุกขา สพั พะโรคา วินาสนั ตุ เตฯ ชะยะสทิ ธิ ธนัง ลาภัง โสตถิ ภาคะยัง สุขัง พะลงั สิริ อายุ จะวณั โณ จะ โภคัง วุฑฒีจ ยะ สะวา สะตะวสั สา จะ อายุ จะ ชีวะ สิทธี ภะวันตเุ ตฯ (ญานสมปฺ นโฺ น,มปป : 77)

100 3.3.5 บทขนึ้ ทาวทงั้ สี่ เน้ือหาและโครงสรางของบทขน้ึ ทา วทั้งสมี่ ดี งั ตอไปนี้ (1) ชมุ นมุ เทวดาเปน ภาษาบาลี สว นแรกของบทขนึ้ ทาวท้ังสีค่ อื การกลา วชมุ นุมเทวดา ใหเทวดารบั รถู งึ การจดั งานใน คร้งั นัน้ เพือ่ มาปอ งกันและดแู ลงานนัน้ ใหส าํ เร็จลุลว ง โดยบทชุมนุมเทวดานจี้ ะแตง ดว ยภาษา บาลีทัง้ หมด ดังตัวอยาง สัคเค กาเม จะ รูเป คริ ิสิขะระตะเฏ จันตะลกิ เข วิมาเน ทเี ปรฏั เฐ จะ คาเม ตะรวุ ะนะคะหะเน เคหะวตั ถมุ หิ เขตเต ภุมมัฎฐาทะโย จะตโุ ลกะปาละราชา ยะมะราชา อินโท เวสสุวณั ณะราชา อะรยิ ะเมตเตยโย โพธิสตั ตา วะกาทะโย อะริยะสาวะกา จะ ปุถุชะนา กลั ยาณาจะ สมั มาทิฏฐิ เย วะ พุทเธ ปะสันนา ธมั เม ปะสนั นา สังเฆ ปะสันนา พุทเธ สะคาระวา ธมั เม สะคาระวา สงั เฆ สะ คาระวา อโิ ต ฐานะโตยาวะ ปะรมั ปะรา อมิ ัสะมิงสุ จกั กะวาเฬสุ เทวะตา ยงั มนุ วิ ะระวะจะนัง สาธะโว โน สณุ นั ตุฯ (ทวี เขอ่ื นแกว ,2541 : 145 ) (2) บอกถึงงาน และช่อื เจา ภาพ หลงั จากกลาวบทชมุ นมุ เทวดาเสรจ็ เรยี บรอ ยแลว เนอื้ หาในสว นตอไปจะกลา วถึง งานทีจ่ ดั ขนึ้ และช่อื ของเจาภาพ ดงั ตัวอยา ง โภนโต เทวะตา ดูราทาวเจา เทพา บดั นหี้ มายมี (บอกช่อื เจาภาพวาจะทําอะไร) ………………….. (ทวี เข่อื นแกว ,2541 : 145 – 147) (3) กลาวบชู าทา วท้งั สีเ่ ปน ภาษาลา นนา เน้อื หาสว นน้ีเปนการกลา วบูชาเทาทั้งสีต่ ลอดจนพระอินทรและนางธรณี โดยกลา ว อัญเชญิ จากทสี่ ถิต ใหมารบั เครื่องเซนบตั รพลีทเี่ จา ภาพไดจดั เตรยี มไวเ พื่อถวาย และออนวอน ใหชวยดูแลใหพ ธิ ีกรรมนน้ั สําเรจ็ ลุลว งไดดว ยดี ตัวอยา งการกลาวบชู าทา วทั้งสี่ บัดนีผ้ ขู าท้งั หลาย กข็ ออญั เชญิ เจา จุงเสด็จออกจากผังคะปราสาท แลว มารับเอาเครอื่ งสกั การบูชา โภชนาหารทง้ั หลายเหลาน้ี แลวขอเชิญทา นทงั้ หลาย

101 มาคุม ครองรกั ษายังผขู าทง้ั หลาย ห้ือพน เสยี ยังอบุ าทวพ ยาธิรา ย อุปทวกังวล อนทรายทั้งหลาย ชใุ หญน อยชาย-ญงิ สรรพสตั วข องเลี้ยงของดู ก็ขอหือ้ พนจากอนทราย นานาตางๆ เทย่ี งแตด หี ลี (ทวี เขือ่ นแกว ,2541 : 147 – 148) (4) กลาวบชู าทาวทง้ั สีเ่ ปน ภาษาบาลี หลังจากกลาวบูชาทาวทั้งสตี่ ลอดจนพระอนิ ทรและนางธรณเี ปนภาษาลานนาเรยี บรอย แลว กจ็ ะกลาวบชู าเปนภาษาบาลอี ีกครงั้ หนึ่ง ตัวอยางบทกลา วบชู า ปรุ มิ ัญจะ ทิสัง ราชา ธะตะรัฏโฐ ปะสาสะติ คันธัพพานงั อาธิปะติ มะหาราชา ยะสสั สิ โส ปุตตาป ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหพั พะลา อิทธมิ นั โต ชตุ มิ นั โต วณั ณะวนั โต ยะสสั สโิ น โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมติ งิ วะนงั ทักขณิ ญั จะ ทสิ งั ราชา วิรฬุ โห ตัปปะสาสะติ กุมภณั ฑานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส ปตุ ตาป ตสั สะ พะหะโว อินทะนามา มะหพั พะลา อทิ ธิมันโต ชตุ มิ ันโต วัณณะวนั โต ยะสัสสโิ น โมทะมานา อะภกิ กามุง ภิกขูนงั สะมิติง วะนงั (ทวี เขอ่ื นแกว ,2541 : 148) (5) กลาวถึงเครอ่ื งบตั รพลี เน้ือหาสวนน้ีจะกลาวถึงเคร่ืองสังเวยที่เตรียมไว ท้ังเครื่องคาวหวานและเครื่องบูชา ตา ง ๆ ดงั ตัวอยา ง จ่งิ จกั พากนั สลงขงขวาย ตกแตงแปลงพรอ ม นอมนํามายังมธบุ ปุ ผา ราชา ดวงดอก เขาตอกดอกไมลาํ เทยี น และโภชนอาหาร ขา วตมขา วหนมใหมดูงามพอตา .......................... (หนานเตจ า, มปป: 90)

102 (6) ขอพรจากทา วทงั้ สี่ เนือ้ หาในสวนนีเ้ ปนการกลา วขอพรจากทา วท้ังสี่ เพอื่ ขอย้ําอีกครง้ั ใหชวยคุมครองให การจัดพธิ ีกรรมครัง้ น้นั ประสบผลสําเร็จ อยาไดมเี หตรุ ายมากล้าํ กราย และขอใหค มุ ครอง เจาภาพที่จะจดั งานในครง้ั นี้ดว ย ตวั อยาง ขอหอ้ื ยงั ผูข าทัง้ หลาย ไดพ น เสยี จากยงั อนาคตภัยใหญ และโจรภยั มนษุ ย และกรรมเคราะหทัง้ หลาย และโจรมารทัง้ หลายในวันนี้ และตนตัวผขู า ทง้ั หลาย ขออยาหือ้ มีกงั วลสนสอ แลคาํ รา ยตอใบหู อนั จักไดม าเปน ศัตรู กข็ อห้ือหลบหลีก ปลกี เวน ไปไกลๆ แสนโยชนแล ท้งั ทาวท้ังส่แี ละแมน างธรณี อันเปน สกั ขี หมายหนา จือ่ จาํ ทาน และสพั พประการใหญนอย อันผขู าทั้งหลาย หากใฝน ํามา ผขู า ทั้งหลาย ขอหื้อพน จากทุกขพายหนา ขอแลว แตคํามักปรารถนา แหง ผูขาทง้ั หลาย อนั มาชมชนื่ หนายนิ ดี ในคาํ ทั้งหลายฝูงนแี้ ทดีหลี แลวขอเจาท้งั หลาย ชตุ นชอุ งค จงุ จกั มาระวงั รักษา ตนตวั แหงผขู า ทง้ั หลาย ชุผูชุคน นอยใหญชายหญิง เท่ียงแทด หี ลีเทอะ (หนานเตจ า, มปป: 90 - 91) 3.3.6 บทปนพร จากการศกึ ษา บทใหพ รแบบลา นนา โดยศึกษาจากพรปใหม พบวาบทปนพรมเี นอ้ื หา และโครงสรางดงั ตอไปนี้ (1) เกริ่นนําดว ยการกลา วถึงโอกาสทจี่ ะใหพร เมือ่ เริม่ ใหพ รผใู หพ รจะกลาวถึงโอกาสท่ีจะใหพร เชน เนือ่ งในวนั สงกรานต จะกลาวถงึ การลว งไปของปเกา และการเร่มิ ปใ หม ดังตัวอยาง

103 เอวัง โหตุ สมั ปฏจิ ฉาม.ิ ..ดีและ อชั ชะ ในวนั นก้ี ็เปน วนั ดี ตถิ ีอนั วเิ ศษ เหตวุ า ระวสิ งั ขารปเกา อติกคนั นโท กข็ ามลว งพน ไปพลนั นบั ถนื หลงั เสีย้ งเขต เหตุวาปใหมแกวพญาวันก็มาทัน พญาวันกม็ าไคว เปนเวลาอนั สนุกใหญ มว นเลน เนอื งนัน คนหนุม กาํ และชายแถว (ทวี เขอ่ื นแกว ,2541 : 14 ) (2) กลา วถงึ ผูร บั พร เนือ้ หาสว นนี้จะกลา วถึงชื่อของผรู บั พร โดยนยิ มกลา วช่อื แลวตามดวยญาติพ่ีนองและ มิตรสหาย ไมว า ผรู บั พรจะมาเปนมากันหลายคน หรอื มาคนเดยี วก็ตาม เชน จากกรณีศกึ ษาที่ หมบู า นแมห อพระ(15 เมษายน 2550) ผรู บั พรคือ มีเพยี งคนเดียว แตผ ูป นพรกก็ ลาวถึงญาตพิ ี่ นอ งของผรู ับพรดว ย ดงั ตวั อยาง พรอ มดวยลูกเตา หลานเหลนคูผคู คู น บัดนี้ก็มอี ่แี กวเปน เคลา มธบุ ุปผาลาชาดวงดอก ก็ไดสลงขงขวายตกแตงพรอ มนอ มมายงั เขา ตอกดอกไมท ําเทียน (ถอดความจากแถบบันทึกเสยี งบทปนพรแมอ ุยนาค เพ่งิ เตงิ , 15 เมษายน 2551) บางกรณที ผ่ี รู ับพรมหี ลายคน กอ็ าจเลือกกลาวถงึ เพยี งคนเดียว ซง่ึ อาจเปนผูอาวโุ ส ท่สี ดุ ในกลุมของผูรบั พร สวนคนอ่ืนที่เหลอื ก็กลาวรวมๆวาเปนญาตพิ น่ี อ งของผรู ับพรทีก่ ลาว เปนช่ือหลกั ดังตวั อยาง บัดน้หี มายมนี างสมเปน เคลา พรอมดวยลูกหลาน กม็ าสลงขงขวายแปลงพรอม ตกแตง มายงั นาํ้ สคุ ันโทธกะ เจาตอกดอกไมล าํ เทยี น มาถวายเปน ทานยังตนตวั แหงขา (ถอดความจากแถบบันทกึ เสยี งบทปนพรพอสม สายชมพู, 17 เมษายน 2551) (3) กลาวถึงเครื่องคารวะ และการรับเอาเครอื่ งคารวะน้นั เน้ือหาในสวนน้ี จะกลาวพรรณนาถงึ สิง่ ของทนี่ าํ มาเปน เครือ่ งดําหัว สว นใหญจ ะ กลาวถึงขาวตอก ดอกไม ธูปเทยี น โภชนอาหารตา งๆ และท่ีขาดไมไ ดค ือ นํ้าขมิ้นสม ปอย ดังตวั อยา ง

104 บดั นเ้ี จา ขา ตังหลาย ก็นํามายังเทียนงามและโภชนาหาร นํ้าสุคนั โธทกะจวนจันทน เอามาตงั้ ไวเ หนอื ขัน เพื่อจกั ขอสมมาและถวายทาน เถงิ แกตนตวั แหงเราแทดีหลี (ทวี เขอ่ื นแกว ,2541 : 15 ) ตัวอยางอีกสํานวนหนง่ึ ก็ไดต กแตง แปงพรํา่ พรอ ม นอมนาํ มายังมธบุ ปุ ผา ราชาขาวตอกดอกไมล ําเตยี น นํา้ อบนา้ํ หอม และโภชนอาหาร เพ่อื จักมาห้อื เปน ตาน แกตนตวั แหงขา ต้ังสอ งหนาหากงามดี บัดนี้ตขู าก็มธี รรมเมตตา (อดุ ม อมรจักร, 2521: 150) (4) กลาวยกโทษและใหพรเปน ภาษาลา นนา วัตถุประสงคท ีส่ ําคัญอีกประการหนึง่ ของประเพณดี ําหวั คือ การขอขมาลาโทษ และผูให พรก็มีหนาท่ีตองกลาวยกโทษใหแกผูที่มาคาราวะน้ัน ตลอดจนใหพรเปนภาษาลานนา โดยมี เนื้อหากลาวถึงการอวยพรใหผูรับพรมีอายุยืนยาว มีโชคลาภ เปนท่ีรักใครแกคนท่ัวไป นอกจากนีย้ ัง อวยพรใหเกดิ ความอดุ มสมบรู ณแกผ ูรับพรในดา นตาง ๆ ตวั อยาง จุงห้อื เจา ทังหลายมโี ชคลาภ ลาภสการมีอายุยาวยนื ยิ่ง สพั พส่งิ เงินคาํ สพั พทานจะไปพรอยบาง เปน ท่ีอวดอา งเอ็นดู เปนทีม่ ตุ ใู จใคว หอ้ื เกดิ เปนเจา ผใู หญราชธานี ห้ือมีปญ ญาดีเลิกแลบ หอ้ื มศี ลี 5 ศีล 8 ไวกบั ตนตัว เล้ียงวัวกห็ ื้อมีลกู หลาย เล้ียงควายกห็ อ้ื พลันแพรพ ลนั งอก มีลูกเตา บอกสอนกห็ อื้ ฟงคาํ กระทํากสกิ รรมมนี าและไร จุงไดข าวใหมเต็มฉาง พานชิ กรรมคา ขาย รายรอ งทอ งบานเทยี วเมือง ก็ห้อื สมคําเคืองชุเย่ือง ตราบตอ เทารอดเนรปาน นัน้ จงุ จักมีเทีย่ งแทด หี ลี (ทวี เข่ือนแกว ,2541 : 15 )

105 (5) กลา วใหพ รเปนภาษาบาลี การกลาวใหพรเปนภาษาบาลีเปนเน้ือหาสวนสุดทายของบทปนพรปใหม แสดงวาการ ใหพรน้ันกําลังจะสิ้นสุดลง เนื้อหาของการในพรในข้ันตอนน้ีคลายกับการใหพรเปนภาษาลานนา โดยเนนใหเ กดิ ความเปน มงคลแกผรู บั พร อายยุ นื ยาว ใหม ีแตความสุข การใชภ าษาบาลีเพ่ือเพิ่ม ความเขม ขลงั ศักดิ์สทิ ธ์ิแกการใหพรในครั้งน้ัน โดยถือวาภาษาบาลีเปนภาษาแหงพระธรรม และ บททใ่ี ชกลาวเปรียบเสมือนพระพุทธพจนของพระพุทธเจา ตวั อยา งการใหพ รเปน ภาษาบาลี สพั พตี ีโยววิ ชั สนั ตุ สพั พะโลโกวนิ สั สันตุ มาเต ภะวะตะวันตราโย สขุ ี ตีฆายโุ ก ภะวะอภิ วาทะนะ สลี สิ สะนิจจัง วุฑฒา ปะจายีโน จตั ตาโร ธรรมมา วิช ทนั ติ อายุ วณั โณ สขุ ขงั พลงั (ทวี เขือ่ นแกว ,2541 : 17 ) ภาพรวมของผลการศกึ ษาในบทน้ี พบวา ตวั บทของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม ไดรับ การบันทึกไวในเอกสาร 3 ประเภทไดแก พับสา หนังสือ และสมุดบันทึก สวนรูปแบบคํา ประพันธพบวา สวนใหญจะแตงดวยคําประพันธประเภทราย ยกเวนบทสืบชาตาท่ีเปนภาษา บาลีและแตงดวยคําประพันธประเภทฉันท ทั้งน้ีวรรณกรรมแตละประเภทก็จะมีรูปแบบ โครงสรา งแตกตา งกันออกไปโดยสอดคลอ งกับขน้ั ตอนการทําพิธกี รรม

บทท่ี 4 ภมู ิปญญา และลกั ษณะเดน ของวรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรม การศึกษาในบทนี้ จะกลาวถึงภูมิปญญา และลักษณะเดนที่ปรากฏในวรรณกรรมประกอบ พิธีกรรม ท้ังสวนของการประกอบพิธีกรรมและตัวบทวรรณกรรม ซึ่งภูมิปญญาในที่น้ี หมายถึงสิ่งที่ สะทอนใหเห็นถึงความชาญฉลาดในการคิดและจัดการของคนลานนา สวนลักษณะเดน หมายถึง ลักษณะเฉพาะท่ีแตกตางจากวรรณกรรมประเภทเดียวกันในทองถ่ินอ่ืน และแตกตางจาก วรรณกรรมประเภทอ่ืนๆ ในทอ งถน่ิ เดียวกนั ผลการศึกษาวิเคราะห มีรายละเอียดดงั นี้ 4.1 ภูมปิ ญ ญา ก. วเิ คราะหภ มู ิปญ ญาลา นนาจากพิธกี รรม พิธีกรรมที่นําเอาตัวบทวรรณกรรมเขามาใชประกอบพิธีกรรม ไมวาจะเปนเวนทาน สืบชาตา สงเคราะห เรียกขวัญ ข้ึนทาวท้ังสี่ และปนพรปใหม ลวนแลวไดสะทอนใหเห็นภูมิปญญา ของคนลานนาหลายประการ ไมวาจะเปน ภูมิปญญาในการสรา งระบบความสัมพันธระหวางคนกับ ธรรมชาติ คนกับส่ิงเหนือธรรมชาติ และคนกับคน ภูมิปญญาในการสรางระบบคิดเร่ืองวันและฤกษ ยามที่เหมาะสมกับการประกอบพิธีกรรมตางๆ ภูมิปญญาในการคัดเลือกผูประกอบพิธีกรรม ภูมิ ปญญาทางดานศิลปะท่ีสัมพันธกับพิธีกรรม ภูมิปญญาในการใชเครื่องประกอบพิธีกรรมท่ีมี ความหมายเชิงสัญลักษณ และภูมิปญญาในการนําวัสดุธรรมชาติท่ีมีอยูรอบตัวมาใชในพิธีกรรม รายละเอยี ดของการสะทอนภมู ปิ ญญาจากพิธีกรรมในแตละดา น มรี ายละเอียดดงั นี้ 1) ภูมิปญญาในการสรางระบบความสัมพันธระหวางคนกับธรรมชาติ คนกับส่ิง เหนอื ธรรมชาติ และคนกบั คน เอกวิทย ณ ถลาง(2544 : 45) ไดกลาวไววา คนลานนามีความคิด ความเชื่อและระบบ คุณคาที่มีพัฒนาการมายาวนานกวาพันป เรียกวา ภูมิปญญาสะสม ซ่ึงแสดงใหเห็นระบบความคิด ความเช่ือ คุณคา ความหมาย ทาทีและความรูสึกที่คนมีตอการปรับตัวและการเปลี่ยนแปลงตางๆ ซึ่งภูมิปญญาสะสมดังกลาว อานันท กาญจนพันธ (2535 : 50 – 67 อางใน เอกวิทย ณ ถลาง, 2544 : 46) ไดจําแนกได 5 ประการ คอื 1. ความเชื่อเกี่ยวกบั ตนกาํ เนิดของมนษุ ยและชนชาติ 2. ความเชอื่ เกย่ี วกบั อาํ นาจของความอุดมสมบูรณ 3. ความเชอ่ื เก่ยี วกบั การนับถือผี 4. ความเช่อื เกี่ยวกบั ยุคอุดมคตแิ ละการปลดปลอ ย 5. ความเชือ่ เกี่ยวกบั ขวัญ

107 ผวู ิจัยคิดวาคนลานนานาจะมีความคิดวา ระบบความเช่ือเหลานี้จะสงผลใหพวกตนมีชีวิตท่ี มีความสุข จึงไดมีการแสดงออกมาในรูปแบบของการประกอบพิธีกรรม เพ่ือแสดงใหเห็นวา พวกตน มีความเชื่อเรื่องเหลานี้ และในการประกอบพิธีกรรมตางๆ ก็ไดสะทอนใหเห็นภูมิปญญาของคน ลานนา ในการกําหนดความสัมพันธเชิงอํานาจ ระหวางคนกับธรรมชาติ คนกับส่ิงเหนือธรรมชาติ และคนกับคน โดยกําหนดใหคนลานนาอยูรวมกับส่ิงเหลาน้ันดวยความเคารพ อันจะนํามาซึ่ง ความสขุ ในการดาํ เนินชวี ิต เหตทุ ีค่ นลา นนาตอ งแสดงออกถึงความเคารพตอ สงิ่ ตางๆ เหลา นัน้ ผูวิจยั คิดวา นา จะเพ่ือ ความผาสุกในการดําเนินชีวิต กลาวคือ ความปรารถนาของคนในสังคมลานนารวมถึงคนในสังคม อ่นื ๆ ก็คอื ความความสุข ท้ังสขุ ทางกายและสุขทางใจ และสิ่งที่คนลานนาเช่ือวาสิง่ ที่จะบันดาลให เกิดความสุขเหลาน้ันได ก็คือ ธรรมชาติ ส่ิงเหนือธรรมชาติ และคน โดยความสุขที่จะไดรับจาก ธรรมชาตินั้น คือ ความอุดมสมบูรณ ท้ังในรูปแบบของขาวปลาอาหารท่ีเพาะปลูกหรือหาไดจาก ธรรมชาติ ฯลฯ สว นความสุขที่ไดจากสิ่งเหนอื ธรรมชาติ จะสะทอนใหเห็นชัดเจนในความเช่ือเรื่องผี และขวัญ โดยคนลานนาเช่ือวา ทั้งผีและขวัญสามารถปกปองคุมครองและดลบันดาลใหเกิดความ ผาสุก หรอื ทุกขยากได สวนความสุขทไี่ ดจากคนคือ อยูรวมกนั ในสังคมไดอยางมีความสุข ตัวอยางการประกอบพิธีกรรมท่ีสะทอนใหเห็นวาคนลานนามีการกําหนดใหคนอยูรวมกับ ธรรมชาติ ส่ิงเหนือธรรมชาติ และคน ดวยความเคารพ เชน พิธีกรรมข้ึนทาวทั้งสี่ ซึ่งจะพบวา แทบทุกครั้งที่จะมกี ารประกอบพธิ ีกรรมสาํ คญั ๆ ตางๆ จะตองขึ้นทาวท้ังส่ีเพื่อเปนการบอกกลาว แกส่ิงเหนือธรรมชาติ เพ่ือขอใหปกปองคุมครองใหการประกอบพิธีกรรมครั้งน้ันลุลวงไปไดดวยดี ไมมีเหตุรายใดๆ เกิดข้ึน สงผลใหคนอยูรวมกับส่ิงเหนือธรรมชาติไดอยางมีความสุข อีกพิธีกรรม หน่งึ คอื พิธกี รรมดําหัว ซึง่ เปนพิธกี รรมท่ีผูนอ ยไดม โี อกาสไปขอขมาและแสดงความรักความเคารพ ตอผูใหญ และผูใหญก็ไดมีโอกาสใหอภัยแกผูนอยและแสดงความรักความเมตตาตอผูนอยใน รูปแบบของการปนพร สงผลใหคนในสังคมอยูรวมกันไดอยางมีความสุข นอกจากนี้ยังมีพิธีกรรม ทานขาวใหม ซ่ึงแสดงใหเห็นถึงความเคารพตอขาว ความเคารพตอบรรพบุรุษซึ่งอาจจะเปนบิดา มารดา ญาติพ่ีนองท่ีลวงลับไปแลว หรือ เจาของท่ีนาคนเกา ดังปรากฏออกมาใหเห็นในรูปของการ ถวายทานและอุทิศสวนบุญสวนกุศลไปยังบุคคลเหลานั้นผานบทเวนทานขาวใหม ซึ่งนอกจากจะ เปนการขอบคุณธรรมชาติ สิ่งเหนือธรรมชาติ และคนอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของจนทําใหไดผลผลิตขาว ยัง เปนการเฉลิมฉลองความอุดมสมบูรณจากการไดผลผลิตขาวแลวอีกดวย นอกจากนี้ยังเปนการ แสดงออกโดยเช่ือวาความกตัญูและความเคารพตอส่ิงเหลาน้ัน จะบันดาลใหเกิดความอุดม สมบูรณใ นการปลูกขา วปต อ ๆ ไปดว ย

108 2) ภูมิปญญาในการสรางระบบคิดเรื่องวันและฤกษยามที่เหมาะสมกับการประกอบ พธิ ีกรรมตาง ๆ ในการประกอบพิธกี รรมตาง ๆ คนลานนา จะมีความพิถีพิถันในการเลือกวันและฤกษยามท่ี เหมาะสมกับการประกอบพธิ ีกรรมเหลาน้ัน หากเปน พิธีกรรมเกยี่ วกับงานอวมงคล เชน งานศพ การประกอบพิธีกรรม จะเลี่ยงไมใหตรง กับวันพุธ ดวยคนลานนาจะพูดตอ ๆ กันมาวา “วันพุธบดีเสียผี” หมายถึง วันพุธ ไมควรนําศพไป เผา (สัมภาษณ พอหนานสวน ยาวิชัย,10 พฤศจิกายน 2550 นอกจากจะเล่ียงไมใหตรงกับวันพุธ แลว ตองดูตามปฏิทินไมใหตรงกับวันเกากองตามระบบการนับวันแบบคนไทลื้อดวย ซ่ึงสาเหตุท่ี ไมใหตรงกับวันเกากอง เพราะมีเรื่องเลาวาในอดีต เคยมีคนนําศพไปเผาวันน้ี จากนั้นภายในวัน เดียวกันก็มีคนตายเพิ่มอีกเรื่อย ๆ จนนับจํานวนกองไฟที่ใชเผาศพไดถึงเกากอง หรือเกาศพ (สัมภาษณเกริก อัครชโิ นเรศ, 25 กรกฎาคม 2551) หากเปนพิธีกรรมที่เก่ียวกับงานมงคล ก็พิจารณาแยกยอยไดตามประเภทของการประกอบ พิธีกรรม หากเปนพิธีกรรมใหญ เชน พิธีกรรมสืบชาตา บวช แตงงาน ก็จะตองหาวันดี และตอง พิจารณาจากระบบปฏิทินหลายระบบประกอบกัน โดยมีหลักในการพจิ ารณาตามลําดับดังนี้ 2.1 พิจารณาเลอื กเดอื น คนลานนาในอดีต จะนับวันเวลาตามปฏิทินจันทรคติ ซึ่งเดือนทางลานนา จะนับเร็วกวา เดือนทางจันทรคติของภาคกลางไป 2 เดือน เชน ชวงเทศกาลลอยกระทง ทางลานนา จะเปน เดือนย่เี พ็ง หรอื เพ็ญเดอื นสอง แตภาคกลางจะเปน เพญ็ เดือนสิบสอง เดือนตาง ๆ ทางจันทรคติ ของลานนา มดี ังน้ี (สมั ภาษณพระครสู ริ ิ สตุ าภิมณฑ,17 พฤศจกิ ายน 2550) เดือนเกย๋ี ง(อาย)ประมาณเดอื นตุลาคม เดือนย่ี ประมาณเดอื นพฤศจกิ ายน เดอื นสาม ประมาณเดือนธันวาคม เดอื นสี่ ประมาณเดือนมกราคม เดือนหา ประมาณเดือนกุมภาพันธ เดอื นหก ประมาณเดอื นมีนาคม เดอื นเจด็ ประมาณเดือนเมษายน เดอื นแปด ประมาณเดือนพฤษภาคม เดอื นเกา ประมาณเดอื นมถิ นุ ายน เดือนสบิ ประมาณเดือนกรกฎาคม เดือนสิบเอด็ ประมาณเดอื นสงิ หาคม

109 เดอื นสบิ สอง ประมาณเดอื นกนั ยายน การพจิ ารณาเลอื กเดอื นทเี่ หมาะสมในการประกอบพิธกี รรมมงคล ขน้ึ อยกู บั วา จะประกอบ พธิ ีกรรมใด หากเปนพธิ ีกรรมแตง งาน ปลูกบานใหม หรือ ข้นึ บานใหมจะเลอื กเดอื นทเ่ี ปนเลขคู เชน เดอื นยี่ เดือนสี่ หากเปนงานเฉลมิ ฉลองถาวรวตั ถทุ างพระพทุ ธศาสนา จะนยิ มเลอื กจัดในเดือน ที่อยใู นชว งฤดหู นาว เพราะเปน ชว งทเี่ สร็จสน้ิ จากการปลกู ขาว และชวงน้ันไมค อ ยมฝี นตก เชน เดอื นส่ี เดือนหา เดือนหก เปน ตน (สัมภาษณพอ หนานภูมรนิ ทร ชมุ , 22 ธันวาคม 2550) อน่ึง ชวงเขา พรรษา คนลานนาจะไมน ยิ มประกอบพธิ กี รรมมงคลใด ๆ ไมว าจะเปน แตงงาน ปลกู บา นใหม หรอื ขึ้นบานใหม 2.2 พิจารณาเลอื กวัน การพิจารณาวันที่เหมาะสมแกการประกอบพิธีกรรม พิจารณาหลายระบบประกอบกัน การ นบั วนั แตล ะระบบมีดงั น้ี 2.2.1 ระบบวนั เม็ง ระบบวันเม็ง คอื การเรยี กวนั ตามปฏทิ นิ สรุ ยิ คติ คือ วันอาทิตย วนั จนั ทร วนั องั คาร วันพุธ วันพฤหสั บดี วนั ศกุ ร วนั เสาร การพิจารณาวันตามระบบวันเม็งนี้ ตองเลือกวันที่ไมตรงกับวันเสียของแตละเดือน ซึ่งวัน เสยี ของแตละเดอื น มดี งั นี้ เดอื นเกยี๋ ง(อา ย)วนั เสียประจาํ เดอื นคือ วันอาทติ ย และ วันจันทร เดือนยี่ วนั เสยี ประจําเดือนคอื วันองั คาร เดือนสาม วนั เสยี ประจําเดอื นคือ วันเสาร และ วันพฤหสั บดี เดอื นส่ี วันเสียประจําเดือนคอื วันศุกร และ วันพุธ เดอื นหา วนั เสยี ประจําเดอื นคอื วนั อาทติ ย และ วันจนั ทร เดอื นหก วันเสียประจําเดือนคือ วนั อังคาร เดือนเจ็ด วันเสียประจาํ เดอื นคอื วันเสาร และ วนั พฤหสั บดี เดือนแปด วนั เสียประจําเดือนคือ วนั ศุกร และ วนั พธุ

110 เดอื นเกา วนั เสยี ประจําเดอื นคอื วนั อาทติ ย และ วันจันทร เดอื นสบิ วนั เสยี ประจําเดือนคอื วันองั คาร เดือนสบิ เอด็ วนั เสียประจําเดือนคือ วนั เสาร และ วันพฤหสั บดี เดือนสบิ สอง วนั เสียประจาํ เดอื นคอื วันศกุ ร และ วนั พธุ (ปกขทนื ลานนา, 2552) 2.2.2 ระบบวนั ขางขนึ้ ขา งแรม ในการนบั วนั ทางจนั ทรคติ จะเร่ิมนับจากขึ้น 1 คํ่า เร่ือยไป จนถึงขึ้น 15 ค่ํา จากน้ันจะนับ ตอเปน วันแรม1 คาํ่ เรื่อยไปจนถึงวนั แรม 14 ค่ํา หรือวันแรม 15 ค่ํา ข้ึนอยกู ับวาเดือนน้ันเปนเดือน อะไร หากเปน เดอื นท่เี ปนเลขคู เชน เดอื นย่ี เดอื นส่ี เดอื นหา วันสุดทา ยของเดอื น หรอื ทคี่ นลา นนา เรียกวา วนั เดือนดบั จะเปน วนั เลขคี่ คือ วนั แรม 15 คา่ํ แตห ากเปนเดือนท่ีเปน เลขค่ี เชน เดือนสาม เดอื นหา เดอื นเจด็ วันสดุ ทา ยของเดอื นจะเปนวันแรม 14 ค่ํา คนลานนานิยมเรียกใหทองจํางายๆ วา “เดือนค่ดี บั คู เดอื นคดู ับค”่ี (พอหนานดุสติ ชวชาต,ิ 14 กันยายน 2551) โดยในแตละวัน จะมีทง้ั วันดีและไมดี และแตละตํารา ก็จะมีวิธีนับท่ีตางกัน ตําราหน่ึงซึ่งถือวาไดรับความนิยมมาก คือ ตาํ ราจากหนังสอื ประเพณเี ดิม ของทวี เขื่อนแกว ท่มี กี ารบอกวาแตละวันดีหรือไมดีดังนี้ (ทั้งขางขึ้น ขางแรมใชเหมอื นกัน) 1 คาํ่ ชา งแกวขน้ึ สูโ รงธรรม ดี 2 คํ่า ฟง ธรรมกลางปาชา ไมดี 3 คา่ํ ลา งมือถาคอยกนิ ดี 4 ค่ํา นอนปลายตีนตากแดด ไมดี 5 คํ่า ผีลอ มแวดปองเอา ไมด ี 6 คํ่า ลงสาํ เภาไปคา ดี 7 คาํ่ เคราะหอ ยถู า คอยชน ไมดี 8 คาํ่ สาละวนบเ ม้ียน ไมด ี 9 ค่าํ ถูกเสี้ยนพระราม ไมด ี 10 คาํ่ หาความงามบไ ด ไมดี 11 คํ่า ขไี้ รเกดิ เปน ดี ดี 12 คาํ่ บมีดีสกั หยาด ไมด ี 13 ค่าํ ไชยปราบชมพู ดี 14 ค่ํา ศัตรูปองราย ไมดี 15 ค่าํ ถูกแมผหี วั หลวงปองเอา ไมด ี

111 (ทวี เขอ่ื นแกว ,2524: 147) 2.2.3 ระบบวนั หนไท ในระบบวนั หนไท จะมกี ารบอกไววาในแตละวัน ควรหรือไมควรทํากิจกรรมใดบาง ซ่ึงวันใน ระบบหนไท มอี ยจู าํ นวนท้ังสิ้น 60 วัน ดังนี้ วันกาบใจ ไมควรแตงงาน การข้ึนบา นใหม บรรพชาอปุ สมบทและพิธีมงคลอน่ื ๆ ดี วันดบั เปา ไมควรออกจากบา นไปคาขายตา งถ่ิน จะถกู โจรฆาตาย วนั รวายยี อยาเลี้ยงสุราแกเ จานาย ขุนนางใหญ จะทาํ ใหเกดิ เรอื่ งราวและหน้สี ิน วันเมอื งเหมา ไมค วรทาํ สวน ถางหญา ตัดตนไม ไมค วรยกทัพไปรบ จะถูกศัตรูฆาตาย วนั เปก สี อยา เรม่ิ ทอผา ผา ผนื นั้นหากใครนุงแลวจะเปนอนั ตราย เหมาะแกการ หมัน้ หมาย วนั กดั ใส อยาซื้อมีด หอก ดาบ จะฆาตนเอง อยา หวานกลา วดั กดสะงา อยาไปคาขายตา งถ่นิ จะไดรบั อันตราย วนั รว งเมด็ อยาไปลาสัตว ทําหนา ไม ธนู อยา เดินทางเขาปาจะหลงทาง วันเตา สนั ทาํ คอกสัตวเ ลยี้ งจะแพรพันธุดี ผูกมติ รวันน้ีจะใหค ณุ แกตนในวันขา งหนา วันกา เรา ทาํ พิธสี ขู วญั เรยี กขวญั จะหายจากพยาธโิ รคภัย ทําตาขา ยจบั ปลาดี วนั กาบเส็ด อยา เอาไหมมาคาดฝก ดาบ จะฉิบหาย สรา งหกู ทอผา เจาของจะอายสุ ้ัน วนั ดบั ใค อยาตดั ผม โกนหนวดจะเกดิ ความเจ็บไข อยา ตดั เสอ้ื ผา จะเส่อื มศกั ด์ิศรี วันรวายใจ อยาขม่ี า เดินเมือง ผจี ะทําใหปวยหนัก วันเมอื งเปา อยาหุม กลอง อยาทําผาปูทน่ี อน ฟกู หมอน จะเปน อนั ตราย วนั เปกยี อยาทาํ เสือ่ สาด เครอื่ งลาดปูนงั่ จะทาํ ใหต ายโหง วันกดั เหมา หาไมมาทําเรือนดี อยแู ลว เจริญรงุ เรือง ไปคา ขายจะราํ่ รวย วันกดสี หาไมมาทาํ เรอื ทาํ เรอื น จะอยูดมี สี ขุ ตลอดชวี ิต วันรวงใส อยา ทาํ เชือกลา มสัตว สตั วจ ะตาย วันเตาสะงา ไมควรข่ีมา เทีย่ วไปตางเมอื ง วันกาเมด็ อยา ซ้อื หรือทาํ มดี หอก ดาบ จะฆา ตวั เองตาย วนั กาบสัน อยาตัดเสอ้ื ผา แตท ําคอกสัตวดี วนั ดบั เรา ควรตดั ผม ผหู ญงิ จะรักชอบ วนั รวายเส็ด ปลกู หมาก มะพรา ว ตาล จะไมไ ดผล วนั เมืองใค ยกทัพไปรบศึกจะชนะ ไปสูข อสาวดี วนั เปก ใจ เรยี นคาถาอาคม สกั หมกึ ดี

112 วันกดั เปา อยาหุมกลอง อยา แขงขัน พนัน ทาประลอง หรือทะเลาะววิ าท จะฉิบหาย วนั กดยี ไปคาขาย จะไดสัตว 4 เทา วันรวงเหมา ไมค วรตดั ไมมาทาํ เรือน อยาสรา งวิหาร หอโรง ทอี่ ยูอาศัย วนั เตา สี ไมค วรแตง งาน จะหยาราง ปลกู พืชผกั ดี วันกา ใส แตง งานดี จะมที รพั ยมาก หากไปงานเลย้ี งจะทะเลาะววิ าท ขัดแยง กนั วันกาบสะงา ไมค วรแตง งาน ชีวิตจะไมย ั่งยนื สรางยุงฉางดี วนั ดับเมด็ ไมควรแตง งาน ชวี ติ คูจ ะไมยงั่ ยืน ไปคา ขายจะถกู ฆา ตาย วนั รวายสนั อยาตัดเสือ้ ผา ตัดตนไมมาทาํ รัว้ หรอื กอ กาํ แพงดี วนั เมอื งเรา ไปงานเล้ยี งจะถูกคนอนื่ สบปรามาทใหไดขายหนา วนั เปก เส็ด อยา ไปรบ จะถูกฆา ตาย วนั กัดใค ทาํ ธนหู นา ไม จะพบกบั ความอับโชค ยิงสัตวไ มถ ูก วดั กดใจ ไปคา ขายจะไดเ ส้ือผา เงนิ ทอง วันรว งเปา อยา ปลกู พืช ววั ควายจะรบกวน วนั เตา ยี ปลูกมะพรา ว หมาก ตนตาล ดีมาก วันกาเหมา อยา ใหของแกผ ูอ่นื จะเสียมากกวาได วันกาบสี ผสมหาง(ชาด) สที ไ่ี ดจ ะแดงดี วนั ดับใส เกดิ ลกู วันน้ี จะเล้ียงไมโ ต ตายตั้งแตเด็ก วนั รวายสะงา ตดั ไมท ําครก สาก ทําโรงเรอื นเก็บของดี วันเมอื งเม็ด ทําแห จะจบั ปลาไดมาก วันเปกสัน อยา ตัดเส้ือผา สวมใสแ ลวจะเกิดความเดอื ดรอ น อยา เล้ยี งสุราแกเ จา นาย จะเดือดรอ น วันกัดเรา ขงึ ตาขา ยดักนก ทําถงุ ใสเงนิ ดี วนั กดเส็ด ไมควรแตงงาน จะเสยี ทรัพย สมบัติจะฉบิ หาย อยา ทําเชอื กลา มวัวควาย จะทําใหสัตวตอ งตาย วนั รว งใค ไมค วรแตงงาน มกั จะเกดิ การหยา ราง เลย้ี งแขกจะเกดิ การทะเลาะววิ าท วนั เตาใจ ทําคอกสตั วเ ลย้ี งจะแพรพันธดุ มี าก วนั กา เปา แตง งานดี มีหลักฐานม่นั คง และจะรกั กนั ม่ันคง ไมค วรนาํ เรือลงนาํ้ เรือมักจะลม วันกาบยี แตงงานดจี ะรักกันมน่ั คง ไมค วรลงน้ํา เขาปา จะมภี ัย วนั ดบั เหมา แตง งานดี จะรักกนั ม่นั คงมีทรัพยมาก ตัดเย็บเส้อื ผา จะมีคนรักมาก

113 วันรวายสี ไมค วรแตง งาน พอ แมจะอายุส้ัน ทาํ ฟูก ท่นี อนดี วนั เมอื งใส ไมค วรแตง งาน พอแมจ ะอายุสนั้ อยา ออกรบทัพจับศกึ จะไดร ับบาดเจบ็ วันเปก สะงา ไมค วรแตง งาน มักเกิดการหยา รา ง อยา ขม่ี า เดินเมอื ง จะเกดิ อนั ตราย วนั กดั เม็ด ไมควรแตงงาน จะหยารา ง ซือ้ สัตวม าเลยี้ งดมี าก วนั กดสัน แตง งานดี จะมที รัพยมาก อยา ตดั เสื้อผา สูขอสาวดี พอแมฝ ายหญงิ จะเมตตา วันรว งเรา แตง งานดี จะรักกันมน่ั คง ทําผา หม ผา นวม คนในเรอื นจะตาย วันเตาเสด็ ไมควรแตง งาน จะอยูด ว ยกันไมนาน อยาทาํ เตาไฟ ผเี รือนไมพ อใจ จะใหโทษ วันกาใค ไมค วรแตง งาน ซื้อสตั วมาเลย้ี ง สตั วจะอายสุ ้ัน (ปกขทืนลา นนา, 2552) 2.2.4 ระบบวนั เกากอง วันในระบบวันเกากอง จะบอกวาวันใดควรหรือไมค วรทํากิจกรรมใด มีอยูจํานวนท้ังสิ้น 12 วัน ไดแก วันเกากอง ประกอบพิธีกรรม กระทาํ กิจกรรมไดทุกอยา งแตไมค วรเผาศพ วันรองพนื เหมาะสาํ หรบั ทําสวนไรน า ทําร้ัวบานดี วันพืนดอก อยา เพงิ่ นาํ ภรรยามาอาศัยในบาน วนั พนื ดาย ทําการใดกด็ ีทกุ ประการ วันสพู กั ไมควรขดุ ดิน ทาํ สวนไรน า วนั รับได ไมค วรออกบา นไปคาขาย ไมควรสรา งบา นใหม วันรับตาย เหมาะสําหรบั ปรงุ ยารักษาโรค วนั ขวํ้าได ไมค วรไปคาขาย เมยี มักจะมชี ู ควรทาํ ความสะอาดบา นเรือน วนั ไสเจา ไมค วรทําอะไรเก่ยี วกับเจา นาย จะเกดิ โทษ วนั ไสเสีย ไมควรปรุงยา แตเ หมาะสาํ หรบั สง ภยั ถอนบา นเรอื น วนั ทายพา ว ไมควรตีเหลก็ ทําดาบ จะเปนภัยแกต วั เอง วนั ยีเพยี ง ไมควรทําการศึก แตเ หมาะสําหรบั ทํานาทําไร เลีย้ งววั ควาย ซ้อื ของ มาใหม ดี (ปกขทืนลานนา, 2552)

114 2.2.5 ฟาตีแฉง เศษ การพิจารณาวันในระบบวันฟาตีแฉงเศษ จะมีการคํานวณไววา ในแตละวันฟาตีแฉงเศษ อะไร แลว ดหี รอื ไม ซึ่งจํานวนแตล ะตัวเลข มคี วามหมายดงั น้ี เศษ 0 , 1 , 8 ไมดี เศษ 3 , 7 ไมด ี เศษ 2 , 4 , 5 , 6 ดี (ปก ขทืนลานนา, 2552) 2.3 พจิ ารณาเลอื กฤกษ หรอื เวลา นอกจากจะพิจารณาเดอื นและวันใหเหมาะสมแลว ฤกษก็เปนส่ิงสําคัญมากเชนกัน ดังน้ันใน แตล ะวนั จึงควรหาฤกษท ่เี ปนมงคล ซ่ึงแตล ะวนั มรี ายละเอยี ดดงั น้ี วันอาทติ ย 09.00 – 10.30 น. 16.00 – 18.00 น. วันจนั ทร 07.30 – 09.00 น. 13.30 – 15.00 น. 16.00 – 18.00 น. วันองั คาร 12.00 – 13.30 น. วนั พุธ 09.00 – 10.30 น. วนั พฤหัสบดี 09.00 – 10.30 น. วนั ศกุ ร 10.30 – 12.00 น. วนั เสาร 12.00 – 13.30 น. (ปกขทนื ลานนา, 2552) การพิจารณาเลือกวันที่เหมาะสมกับการประกอบพิธีดังที่ไดกลาวมาขางตน เปนเกณฑใน การเลือกวันอยางละเอียด สําหรับใชประกอบพิธีกรรมท่ีมีความสําคัญมาก เชน บวช แตงงาน ขึ้น บานใหม สืบชาตา เปนตน ซ่ึงพิธีกรรมเหลานี้ จําเปนอยางยิ่งที่จะตองพิจารณาวันในหลายๆ ระบบ ใหรอบคอบ เพ่ือหาวันที่ไมมีสวนเสียเลย หรือ หากเลี่ยงไมไดจริงๆ ก็ใหไดวันท่ีมีสวนดีมากกวา สวนเสีย อยางไรก็ตาม บางพิธีกรรม เชน พิธีกรรมสงเคราะห ก็อาจไมจําเปนตองหาวันอยาง ละเอยี ดเชนน้ี อาจพจิ ารณาแควา ไมใหตรงกับวันเสยี ประจาํ เดอื นนั้น ก็ถือวาใชไดแลว(สัมภาษณพอ หนานประสทิ ธิ์ โตวเิ ชียร, 15 กันยายน 2551)

115 นอกจากน้ี คนลานนายังมีความเช่ือวาในรอบ 1 ป วันท่ีถือวาเปนวันดีท่ีสุด เปนมงคลที่สุด คือ วันพญาวัน ซึ่งสวนใหญจะตรงกับวันท่ี 15 เมษายนของทุกป ไมวาระบบการนับวันแบบอื่นๆ เปน อยางไรก็ตาม ก็ถือวาไมม ีผล ยกตัวอยางเชน ในเดือน 7 วันเสียประจําเดือนคือ วันเสารและวัน พฤหัสบดี สมมุติวาวันพญาวันปนั้น ตรงกับวันพฤหัสบดี แมจะเปนวันเสีย แตเน่ืองจากเปนวัน พญาวัน จึงถือวาเปนวันดี และเปนวันท่ีดีมากดวย ดังน้ันจึงมีการประกอบพิธีกรรมสําคัญ ๆ หลาย พิธีกรรมในวันพญาวันน้ี (สัมภาษณพ อหนานประสทิ ธิ์ โตวเิ ชยี ร, 15 กันยายน 2551) อยางไรก็ตาม บางพิธีกรรมมีการกําหนดวันไวตายตัววาจะตองประกอบพิธีกรรมวันใด เชน สงเคราะหบานจะตองประกอบพิธีกรรมในวันที่ ปากป (ประมาณวันที่16 เมษายน) ทานขาวใหม (เวนทานขา วใหม) จะตองประกอบพธิ ีกรรมในวนั เพ็ญเดือนส่ี เปน ตน 3) ภมู ิปญญาในการคัดเลอื กผูป ระกอบพธิ กี รรม ผูประกอบพธิ กี รรมนบั วาเปน องคป ระกอบหนึ่งท่ีมคี วามสาํ คัญในการประกอบพธิ กี รรมตางๆ ดว ยในหลายพธิ กี รรม คนลานนาเชอ่ื วา เปน พธิ ีกรรมทีม่ คี วามศกั ด์ิสทิ ธ์แิ ละมคี วามขลัง เพราะฉะนัน้ ผทู ่ี จะทําหนา ทีใ่ นการทาํ ใหพธิ กี รรมนนั้ เกดิ ความศกั ดิ์สิทธ์ิ ก็ตอ งเปน คนท่ีมีความพิเศษแตกตางจากคน ธรรมดาทว่ั ไป ไมใ ชว า ใครจะมาประกอบพิธกี รรมกไ็ ด ซ่งึ ผูที่รับหนา ท่ใี นการประกอบพิธีกรรมตา ง ๆ สว นใหญช าวจะคดั เลือกไวห มูบา นละ 1 คน เรยี กวา “ปจู ารย” บางแหงเรียก “ปูอาจารย” หรือ “พอ จารย” มคี วามหมายเทียบเทาไดก ับคําวา “มคั นายก” ของทางภาคกลาง สําหรบั ความหมายของคําวา “ปูจารย” สารานกุ รมวฒั นธรรมไทยภาคเหนือ เลม 8 ( 2538 : 3542)ไดกลาวอธบิ ายไวว า ปูจ ารยหรอื ปูอาจารยหมายถงึ บคุ คลที่มีความรดู า นพทุ ธศาสนา และพทุ ธ ศาสนพธิ ี เปนผนู ําในการไหวพระ รับศีล เวนทาน หรือการประกอบพิธตี างๆ ท้งั การประกอบพธิ ีในวัด และในบา น คุณสมบตั ขิ องผทู ี่จะมารับตําแหนง ปจู ารยของแตล ะหมูบ านน้ัน จะตองประกอบไปดว ย คณุ ลกั ษณะดงั นี้ คือ 1. ตอ งเคยผานการอุปสมบทมากอน หรือทีช่ าวบา นเรยี กวา “หนาน” คนลา นนาจะเรยี กผูท เ่ี คยผานการอปุ สมบทมาแลว วา “หนาน” และเรยี กผูทเี่ คยผานการ บรรพชามาแลว วา “นอ ย” ผูท ีจ่ ะมารบั หนา ทีเ่ ปน ปจู ารยได จะตองเปน หนานเทา นน้ั หากหนานคนใด เคยเปน อดตี เจา อาวาสที่มีใบประกาศแตงตง้ั จากทางราชการ เวลาสึกออกมาจะเรยี กวา “หนานหลวง” แตหากเปนเพยี งพระลูกวดั ธรรมดาเวลาสกึ ออกมาเปนเปน เพยี ง “หนาน” เทา นัน้ ระหวา ง “หนาน หลวง” และ “หนาน” หากหมูบานใดมหี นานหลวง ก็จะพจิ ารณาเลือกไวเ ปน ปจู ารย กอ นหนานธรรมดา

116 เพราะเชื่อวา เวลาหนานหลวงประกอบพธิ กี รรมใดๆก็ตาม จะมคี วามขลงั และปราบชนะขดึ หรือขอ อบุ าทวตางๆได อยา งไรกต็ าม ในกรณีที่หมูบา นนนั้ ไมมีผูท่ีเคยอุปสมบทมากอนแมแตคนเดียว ก็จะมีการแกไ ข ขอกําหนดโดยพิจารณาคัดเลือกเอาผูทเี่ คยผานการบรรพชามากอน หรือ ที่เรียกวา “นอย” แลวทําการ อุปสมบท หรือ เปก (มาจากภาษาบาลีวา อุปสัมปทา เปกฺข) เพ่ือใหเปนพระ ในชวงระยะเวลาส้ันๆ ประมาณ 1-3 วัน แลวก็ใหสึกออกมาเพื่อใหบุคคลผูนั้น มีสถานภาพเปน “หนาน” ถึงจะสามารถปฏิบัติ หนาท่ีเปนปูจารยได ดังภาษิตลานนาบทหน่ึง กลาววา “บดีเอานอยเปนอาจารย บดีเอาหนานเปน ชางซอ” หมายถึง ไมควรเอา “นอย” มาทําหนาที่เปนปูจารย และไมควรเอาหนานไปเปนชางซอ ซึ่ง สะทอนใหเห็นถงึ คานิยมดงั กลา ว 2. มอี าวุโส ในการคัดเลือกปจู ารยใ นแตล ะหมูบานนน้ั หากหมูบ า นใดมี หนานหลายคน ชาวบา นก็จะใช เกณฑอ าวโุ ส ซง่ึ อาจจะอาวุโสดวยอายวุ ยั หรอื อาวโุ สดวยอายกุ ารบวช แลว แตช าวบานจะเหน็ สมควร 3. มีไหวพริบปฏภิ าณ ผูที่จะมาทําหนาท่ีเปนปูจารยไดน้ัน ลักษณะสําคัญประการหนึ่งก็คือ ตองมีไหวพริบ ปฏิภาณดี เพราะอาจกลาวไดวา ปูจารยคือผูดําเนินงานและผูนําในการประกอบพิธีกรรมตางๆแทบจะ ทุกพิธี ซ่ึงบางคร้ังการจัดงานหรอื พิธีกรรมตางๆ อาจมีปญหาเฉพาะหนาใหแกไข ปูจารยก็ตองรูจักใช ไหวพริบปรับและแกไขใหมีความเหมาะสม ยกตัวอยางเชน การประกอบพิธีกรรมบางอยางเริ่มตน ประกอบพธิ ีชากวากําหนดการ และทางเจาภาพหรือศรัทธาญาติโยมทั้งหลาย ตองการใหพิธีกรรมน้ันๆ จบสิ้นลงอยา งรวดเร็ว ปูจ ารยก็จะตอ งตดั หรือลดั บางข้นั ตอนที่ไมส าํ คญั ออกเพื่อใหท ันเวลา เปนตน 4. มคี วามเสียสละ ผูที่จะเปนปูจารยไดน้ันจะตองเปนผูที่มีความเสียสละสูง เพราะมีภาระหนาท่ีหลายประการให รับผิดชอบ นับต้ังแตงานสวนรวม เชน ทุกครั้งท่ีมีงานบุญที่วัด ปูจารยจะตองไปดวย เพราะหากขาด ปูจ ารยก ็ไมส ามารถประกอบพธิ ีกรรมน้ันๆได นอกจากนนั้ กย็ งั มงี านสว นตัวของชาวบา นแตละคน เชน งานแตงงาน การเรียกขวัญ งานขึ้นบานใหม งานศพ การสงเคราะห ฯลฯ เรียกไดวา พิธีกรรมเกือบทุก อยางในชุมชน ปูจารย ตองเปนผูท่ีมีสวนรวมสําคัญเสมอ และทุกคร้ังเม่ือมีชาวบานมาเชิญไปรวม ประกอบพธิ ีกรรม ถึงแมจะมีภารกิจสวนตัวท่ีตองกระทํา ก็ตองเสียสละไปปฏิบัติภารกิจของผูอ่ืนกอน เสมอ

117 5. เปน ผูป ระพฤติดปี ระพฤติชอบ คุณสมบัติประการน้ี นับวามีความสําคัญอยางมาก เพราะกิจกรรมตางๆ ท่ีปูจารย มีสวนรวม สําคัญในการประกอบพิธีน้ัน จะเปนกิจกรรมหรือพิธีกรรมท่ีเกี่ยวเน่ืองกับความศักดิ์สิทธ์ิที่ตองอาศัย ความศรัทธา ท้ังศรทั ธาตอพิธีกรรมและตอตัวผูประกอบพิธีกรรม หากปูจารย มีความประพฤติท่ีไม เหมาะสม ชาวบานกจ็ ะเชือ่ กันวา จะสงผลทําใหพ ิธกี รรมนนั้ ๆ คลายความศักดสิ์ ิทธลิ์ งไป 6. มีความรเู รื่องศาสนพิธี คณุ ลักษณะสําคญั อีกประการหนึ่งของผูที่จะมาทําหนาท่ีเปนปูจารยนั้นก็คือ จะตองมีความรูใน เรอ่ื งศาสนพธิ มี ากพอสมควร เพราะในการประกอบพิธกี รรมตางๆน้ัน ปจู ารย ถือไดว า จะตองเปนผูท่รี บั หนา ทเ่ี กอื บทุกอยาง นบั ต้ังแตแ นะนาํ การจดั เตรียมสถานท่ี ลําดับขน้ั ตอนในการประกอบพิธี เปนพิธีกร ฯลฯ และทีส่ ําคัญคือ เปนผูประกอบพธิ ี เชน ในการเวนทานเปน ตน สวนสาเหตุที่ทําใหปูจ ารยพน จากตําแหนง อาจมีดว ยกันหลายประการ เชน 1) เสยี ชวี ิต 2) ลาออกดว ยความชราภาพ 3) ลาออกดวยภารกจิ สว นตัว 4) มีปจู ารยคนใหมท ่ีมคี ณุ สมบัติดกี วา สว นหนา ท่ขี องปูจารย มีดงั น้ี 1. ชวยหาฤกษยามใหกับชาวบาน ทั้งในงานที่เปนมงคลเชน ปลูกบานใหม ข้ึนบานใหม แตง งาน เปนตน หรือในงานอวมงคล เชน หาวันท่จี ะนําศพไปฌาปนกจิ เปน ตน 2. ชวยตรวจดูดวงชะตาของชาวบานในกรณีท่ีชาวบานเจ็บปวยหรืออาจจะประสบกับ เคราะหภัย ตางๆ เชน อุบัติเหตุ โดยจะมีการแนะนําใหชาวบานประกอบพิธีกรรมตามความ เหมาะสม เชน รดนํ้ามนต สงสะทวง (อาน “สะตวง” )หรือกระทงสะเดาะเคราะห บูชาธาตุ สบื ชาตา เปน ตน 3. เปนผูนําในการประกอบพิธีกรรมทุกอยาง ท้ังพิธีกรรมในงานบุญ งานมงคล และ อวมงคล

118 4) ภูมิปญ ญาทางดา นศลิ ปะทีส่ มั พนั ธก บั พิธกี รรม พธิ ีกรรมหลายพิธกี รรม จาํ เปน จะตอ งจดั เตรียมเครอื่ งประกอบพิธกี รรมใหพรอมและถูกตอง เพื่อใหการประกอบพิธีกรรมในครั้งน้ันดําเนินเสร็จลุลวงไปไดอยางสมบูรณ ในการจัดเตรียมเครื่อง ประกอบพิธีกรรมแตละคร้ัง นอกจากจะทําใหถูกตองแลว อาจมีการประดิษฐใหมีความวิจิตรบรรจง งดงามจับตาผูพบเห็น เชน ในพิธีกรรมเรียกขวัญ ทั้งเรียกขวัญลูกแกวและเรียกขวัญคูบาวสาว เคร่ืองประกอบพิธีกรรมหน่ึง ที่สําคัญมากและจะตองจัดเตรียมไว คือ บายศรี ซึ่งคนลานนา ไดมี การประดิษฐใหมีความงดงาม สืบทอดกันมารุนตอรุน และไดพัฒนารูปแบบใหสวยงามย่ิงๆ ข้ึนจน ปจจุบันจัดไดวาบายศรีลานนา ก็เปนงานศิลปะแขนงหนึ่งท่ีคนลานนาภาคภูมิใจ และยังเปน เอกลักษณของลา นนาเองดวย ซ่งึ ก็มีทมี่ าจากการใชเปน เคร่อื งประกอบพิธีกรรมเรียกขวัญนนั่ เอง นอกจากน้ีงานศิลปะแขนงอื่น ๆ เชน การตัดตุง การตัดชอ การตัดกระดาษ ก็นับไดวามี ที่มาจากการใชเปนเคร่ืองประกอบพิธีกรรมท้ังนั้น อยางเชน การตัดตุง ก็มีท่ีมากจากการเวนทาน เจดียทราย คือ ตัดตุงเพ่ือนาํ ไปใชป ก กองเจดยี ทราย ในวนั พญาวันของชว งเทศกาลสงกรานตหรือป ใหมเมือง หรือ การตัดชอ ก็มีท่ีมาจากการใชเปนเครื่องประกอบพิธีกรรมสืบชาตาและสงเคราะห เปน ตน 5) ภูมปิ ญ ญาในการใชเ ครื่องประกอบพธิ ีกรรมทมี่ ีความหมายเชงิ สญั ลกั ษณ ในการจัดเตรียมเคร่ืองประกอบพิธีกรรมตางๆ เครื่องประกอบพิธีกรรมหลายชนิดอาจหา ยาก หรือ อาจจะตองใชในจํานวนท่ีมากเกินกวาท่ีชาวบานธรรมดาจะสามารถหามาได ดังน้ันคน ลานนา จึงมีวิธีเล่ียงไปใชสิ่งอื่นท่ีสามารถนํามาใชแทนกันได เชน เบี้ย หรือหอยเบี้ยที่ในอดีตใช แทนเงินตราในการซ้ือขายแลกเปล่ียนปจจุบันหายากมาก ในบางพิธีกรรมตองใชเบ้ียเปนจํานวน มาก เชน ในพิธีกรรมสืบชาตา เครื่องประกอบพิธีกรรมในสวนของขันต้ัง ตองใชเบี้ย จํานวน 108 ดังนั้นหากจะใหหาหอยเบี้ยจํานวน 108 ตัว ก็คงหายากมาก ดังนั้นคนลานนาจึงเล้ียงไปใชส่ิงอ่ืน แทน เชน ลูกเดือยหิน ซ่ึงมีลักษณะคลายกับรูปรางของหอยเบี้ย หรือ ใชใบของพืชชนิดหนึ่งซึ่ง คนลานนาเรียกวาเบี้ย ซึ่งมีชื่อพองกับคําวาหอยเบี้ย เปนตน (สัมภาษณพอหนานสุทัศ หนักต้ือ, 18 พฤศจกิ ายน 2550) อกี ตวั อยางหนึ่ง เชน ขาวสารพัน ตามความหมาย คือ ขาวสารจํานวน 1,000 ลิตร ซึ่งหาก ใชข าวสารมากเทา นี้จริงมาเปน เครื่องประกอบพิธีกรรม คงเปนเรื่องลําบากมาก ดังน้ันคนลานนาจึง นําขวดแกวใสสําหรับใชใสเหลา ซึ่งคนลานนา ออกเรียกขวดใสชนิดนี้วา “ขวดพัน” (ออกเสียง ปน) ซึ่งมีเสียงพองกับคําวา พัน ที่หมายถึงตัวเลขจํานวน 1,000 พอดี มาใสขาวสารเพ่ือเปนเครื่อง ประกอบพธิ ีกรรมแทน เปน ตน (สัมภาษณพ อ หนานสทุ ศั หนักตอ้ื , 18 พฤศจกิ ายน 2550)

119 จากตัวอยางที่ไดกลาวมาในขางตน สะทอนใหเห็นภูมิปญญาในการแกปญหาเพื่อใหการ ประกอบพิธีกรรมสามารถดําเนินตอไดอยางครบถวน สวนการเลือกส่ิงท่ีจะมาแทนนั้นก็จะตองมี หลกั เกณฑใ นการเลือก ไมใชเลอื กอะไรมาก็ได อนงึ่ เคร่อื งประกอบพิธกี รรมหลาย ๆ ชนดิ โดยเฉพาะเครื่องประกอบพิธที เี่ ก่ียวเน่ืองกบั สงิ่ ท่ี เปนมงคลและความเจริญกาวหนา เชน พิธีกรรมสืบชาตา เคร่ืองประกอบพิธีกรรมก็จะเปนเสมือน สญั ลกั ษณแ หงความเจรญิ งอกงาม เชน หนอ กลว ย หนอออย หนอ มะพราว หรอื หากเปน ผลไม ก็เปนผลไมท่ีมีลูกมากเชน มะพราว 1 แขนง(ทะลาย) กลวย 1 เครือ ส่ิงเหลาน้ีลวนเปนสัญลักษณ ของการเจริญงอกงามทั้งส้ิน ซึง่ ผูวิจัยคิดวา สงผลตอความรูสึกของผูจัดพิธีกรรมและผูรวมพิธีกรรม มาก 6) ภูมปิ ญญาในการนําวัสดุธรรมชาตทิ มี่ อี ยรู อบตวั มาใชใ นพิธีกรรม ในการจัดเตรยี มเคร่ืองประกอบพิธีกรรมโดยเฉพาะในอดีต สวนใหญจะนําวัสดุธรรมชาติท่ีมี อยูรวบตัวมาจัดทํา ไมคอยมีส่ิงของท่ีตองใชเงินซื้อมา ยกตัวอยางเชน ในการประกอบพิธีกรรมสง เคราะหคนปวย ท่ีหมูบานรองบอน หมู 1 ต.ปากกาง อ.ลอง จ.แพร เครื่องประกอบพิธีกรรมของ สะทวงเคร่ืองสี่จะประกอบไปดวยหมาก เมี่ยง บุหร่ี กลวย ออย แกงสมแกงหวาน ขนม ขาวสุก อาหารแหง เชน แคบหมู ดอกไม เทียน และชอ คนลานนาในอดีตแทบ ไมตองใชเงินในการ จัดเตรียมเลย เพราะสะทวง ก็ทําจากกาบกลวย กลวย ออย ดอกไม หมาก พลู ก็หาเอาจาก บา นของตนเองมหี รือขอจากบานใกลเรือนเคียงกัน รูปปนก็ใชดินเหนียวท่ีไปขุดมาจากฝงนํ้า ขนม ก็ทําเอง ซึ่งสวนใหญก็ทําเปนขาวตมท่ีทํามาจากขาวเหนียวหอดวยใบตอง อาหารก็ใชวิธีทําแกงสม แกงหวาน คือ เอาใบไมตาง ๆ เชน ใบมะขาม ใบฟกทอง ฯลฯ มาแกงผสมกัน แลวสมมุติใหเปน ตวั แทนของอาหาร ซ่งึ จะพบวาแทบไมไดใ ชเงนิ ซ้ืออะไรเลย เคร่ืองประกอบพิธีกรรมของอีกพิธีกรรมหน่ึงท่ีเห็นไดชัด คือ กวยสลาก ที่ใชในพิธีกรรม ทานกวยสลากภัตต ซึ่งคําวา กวยสลากคือ คือ ตะกราหรือภาชนะท่ีบรรจุเคร่ืองไทยทานในงาน ทาํ บุญสลากภัตต (พจนานุกรมลานนาไทยฉบับแมฟ าหลวง,2547: 25) จากการเก็บขอมลู ที่วัดบา น หลวง ต.โหลงขอด อ.พราว จ.เชียงใหม พบวา ชาวบาน บางคนยังสานกวยสลากดวยไมไผ ซ่ึงหา ไดงายในทองถ่ิน เครื่องไทยทานภายในกวยก็จะประกอบไปดวยขาวของเครื่องใชตาง ๆ ท่ีหาไดใน ทองถนิ่ เชน กัน ไมวา จะเปนหมาก เมย่ี ง บหุ ร่ี ผลไม ผกั พรกิ แหง ขา ตะไคร ขนมจําพวก ขาวตม ขนมเทยี น ฯลฯ ซึ่งก็แทบจะไมต อ งใชเงนิ ในการจัดเตรยี มเลยเชน กนั

120 ข. วิเคราะหภมู ปิ ญญาลา นนาจากวรรณกรรม 1) ภมู ิปญญาในการใชภาษา วรรณกรรมประกอบพิธีกรรม เปนส่ิงท่ีสะทอนใหเห็นภูมิปญญาของคนลานนาหลายดาน หน่งึ ในนนั้ คอื ภูมิปญ ญาในการใชภาษา เพราะในการแตง วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมแตละคร้ังนั้น ผแู ตง ตอ งแตง ใหไพเราะ เน้อื หาดี และมคี วามศักด์ิสทิ ธ์ิ การแตง ใหไ พเราะน้นั รปู แบบมผี ลอยางยง่ิ ดังท่ไี ดกลา วไวใ นสวนตนของบท วาวรรณกรรม ประกอบพิธีกรรม แตงดวยรูปแบบคําประพันธประเภทราย ซ่ึงตองมีการสงสัมผัสระหวางวรรคให คลองจองกันเพื่อความไพเราะ ดังนั้นการท่ีผูแตงสามารถเรียบเรียงเน้ือหาใหตอเน่ืองเปนเร่ือง เดียวกันและเปนไปตามลําดับโครงสรางหลักที่ยึดถือกันมาแตโบราณ พรอมกับการแตงใหแตละ วรรคตองสัมผัสคลองจองกันดวย จึงนับไดวาเปนการใชความสามารถอยางสูง สะทอนใหเห็นภูมิ ปญญาในดา นการประพันธว รรณกรรมของคนลานนาไดเปนอยา งดี นอกจากน้ีแลว ผูแตงยังจะตองคํานึงถึงเนื้อหาของวรรณกรรมดวย เพราะวรรณกรรม ประกอบพิธีกรรมหลายๆ สํานวน มีเน้ือหาที่มีประโยชนตอผูฟงมาก บทวรรณกรรมบางประเภท เชน บทเรียกขวัญคนปวย ผูแตงสามารถใชคําท่ีทําใหผูฟงเกิดจินตนาการตามจนเกิดความรูสึก เคลิบเคลิ้มตามไปดวย เชน ตอนท่ีเลาวาขวัญไปอยูท่ีใดบาง ถาฟงแลวคิดตาม จะเห็นภาพสถานที่ เหลาน้ันปรากฏออกมาในจินตนาการของแตละคน ซ่ึงแตละท่ีดูมีความวังเวง โดดเดี่ยว ไมนาท่ีจะ ไปอยู ฟงแลวเกิดความรสู กึ อยากออกมาจากที่น่นั เชน ขวันเจาอยา ไพหลงเสียดงดาํ สรอกหว ย ทีร่ งุ ฅาวกินกลวยทีป่ า ไมบ ม ีฅน ขวนั เจา อยาไพอยกู ลางเดอื นดาวยังฟา ขวนั เจาจงุ หอื้ อวา ยหนาฅนื มา เนิอขวันเจา เนอิ ขวันเจา อยา ไพอยูท่ีสาลาหลังสูงเกา หอง ขวนั เจา อยา ไพอยทู ฟี่ า รองแผน ดนิ สดุ ขวนั เจาอยาไพอยูท ี่สมุททห ลวงแลคงุ คาใหยกวา ง ขวันเจา อยา ไพอยใู นทอ งชา งเอราวัณเนิอเจา ขวนั ทวารทังเกา ขวันเจา อยาไพอยูยงั เมอื งยาเถาดอกซอนมาร ขวนั เจาอยาไพอยูจ ่มิ ริ้นแลยงุ ยงั ปา ขวันเจา อยาไพอยยู ังทาน้ําแลทางหลวง ขวันเจาอยา ไพชมดวงดอกไม (บทเรยี กขวญั , ทวี เขอื่ นแกว . 2541 : 170 – 171)

121 ตัวบทบางประเภท เชน บทเรียกขวัญลูกแกว ผูแตงมีความสามารถในการเลือกใชคําและ ความ ทําใหเม่ือผูฟงไดยินแลวเกิดความรูสึกตื้นตันใจ เชน ชวงท่ีเลาถึงตอนที่แมตองเลี้ยงดูดวย ความยากลาํ บาก ดงั ตัวอยาง คันวา ไดสามสบิ วนั พอพน ไพแลว แมคอยรกั ษาลูกแกว แมโ ดยดี แมคเ็ อาไพขดั สีอาบน้ํา วา ลกู รกั สองรานี้นานอ จักเกิดมาคํา้ สองเรา ราจกั เลี้ยงไวห ้อื ใหย จกั ไดห ื้อการศกึ ษา เล้ียงไวห ื้อใหยก ินแรง คอยปฏบิ ตั ิปด แปลง บห อ้ื มดแมงมาตอมไต ยามเมอ่ื เจา ไปทันใหยเ ทื่อ แมค ็คอ ยอมุ คอ ยวาง แมค อ ยอมุ ขวางแขนสอก อมุ ออกนอกและในเรือน อดทาํ เพยี รเล้ียงลกู เลย้ี งไวห ื้อลูกอยสู วัสดี คันเถงิ เวลานีม้ าแมค อ็ ุมนายไพนอนอู แมค็กาํ ไกวยกุ ยูว าอื่อชา นอนค็จงุ นอนเทอะสายตา หลบั ค็จงุ หลับเทอะชาคว้ิ สายอะลง่ิ ตงิ่ ตวิ้ แมอื่อชา ๆ หลบั คจ็ งุ หลบั เทอะสายตา แมอ ยา ไพออ นไห แมแวแกนไธจ ักไกว คันวา ไดสามสีเ่ ดือนไพแลว ค็มีเพียรอันขวํา้ และดืบ คอยสะหลดื อยดื ไพยงั บพ อไพไกล ยังคอยไปคอ ยดบื ไดเท่ือคบื ผัดมน พรองเกดิ มาเปนฅนนน้ี านอคส็ งั วา มาดยู าก ใหยดวยอนั พอ แมหากรักษา แตนนั้ มาซ้าํ วา คลานและนั่ง กลัวไพที่บชา งหลอนตก แมคไ็ พยกเอาเจาไวท เี่ กาอยูเ ลงิ ๆ (อดุ ม รุงเรอื งศรี, 2544: 119) นอกจากนี้ เน้ือหาของตัวบทบางประเภท เชน บทปนพร ในสวนที่เปนการกลาวใหพร ลวนแตกลาวถึงส่ิงท่ีดี สิ่งที่เปนความปรารถนาของทุกคน เมื่อผูฟงไดยินแลวเกิดความจรรโลงใจ ดงั ตวั อยา ง เอวงั โหนตุ ดีแล อชั ช ในวันนี้คห็ ากเปน วันดี ดถิ ีวันวิเศษ เหตุวาสงั ขารปเกา กข็ า มพนไปแลว ปใหมแกวพญาวันคม็ ารอดมาเถงิ เทิงเจาทังหลาย ค็บละเสียยังรีต อดีตปาเวณี อัน เปน มาลว งมาแลวปางกอน เจาทงั หลายค็บผ อนเสยี ยังศรทั ธา

122 จงึ ไดน อ มนํามายงั สคุ ันธาโทตกะ ทานวัตถทุ งั หลายฝูงน้มี าถวายเปน ทาน เพือ่ จกั มาขอขมาโทษณโทษ ผูขาค็โปรดอโหสกิ รรม แมน วา เจาทังหลาย ไดกระทาํ เปน ทางดที างชอบ จงุ ห้อื สมประกอบมโนปณธิ า และจุง หอ้ื มีอายุ ฑีฆายนื ยง่ิ โรคภยั สิง่ หนไี กล หือ้ มวี รรณะในสดชืน่ เปนทร่ี กั และพอใจแกผูอืน่ เขาหัน หือ้ มคี วามสขุ สนั ตทกุ คํา่ เชา กาผกิ าสขุ เจตผิกาสุขพรํา่ พรอ มบริบรู ณ หือ้ มีกาํ ลงั อดุ หนนุ เตือมแถง อยา ห้ือเห่ยี วแหงชปุ ระกา หอื้ สมดังคาํ พรวานกลา วไว สมดั่งนึกไดชุประการเที่ยงแทดหี ลี สพั พตี โี ย ววิ ชั สนั ตุ สัพพโรโค วินัสสันตุ มาเต ภวตวันตราโย สขุ ี ทฑี ายุโก ภว อภิวาทน สลี ิส นิจจัง วฑุ ฒาปจายิโน จตั ตาโร ธมั มา วัชทันติ อายุ วัณโณ สขุ ขงั พลงั (ประเทอื งวิทยา,2549 : 2) จากตัวอยางที่ไดกลาวมาขางตน ผูวิจัยคิดวาเปนส่ิงท่ีแสดงใหเห็นไดเปนอยางดี ถึงภูมิ ปญญาในการสรรคําและความ ที่มีความหมายดี เหมาะกับวรรณกรรมแตละประเภท ซึ่งนอกจากจะ ไพเราะแลว ยงั มเี นอื้ หาทม่ี คี วามหมายตอ ผฟู ง อีกดวย นอกจากนี้ จะพบวาวรณกรรมประกอบพิธีกรรมหลายๆ ประเภท นิยมแตงดวยภาษา ลานนาเปนหลัก ผลดีคือ คนฟงแลวเขาใจความหมายไดทันที เชน ไดยินวาเคราะหไดถูกปด ออกไปแลวก็โลงอก สบายใจไดยินวาการทําบุญคร้ังน้ีไดอานิสงสมากมายอยางไรบาง ก็มีความสุข แลว เปน ตน อยางไรก็ตาม แมสวนใหญจะแตงดวยภาษาลานนา ยิ่งบางสํานวนแตงเปนภาษาลานนา เกือบหมด เชน บทปนพร ก็ตองมีการแทรกภาษาบาลีเขาไปดวยเสมอ บางสํานวนก็มาก บาง สํานวนกน็ อ ย และในการแทรกลงไปนั้น กแ็ ทรกอยางลงตวั ไมไ ดทาํ ใหผ ฟู งรสู กึ วา ขาดตอน เปน คน ละบทกลาวกัน เชน เอวัง โหนตุ ดแี ล อชั ช ในวนั นีก้ ห็ ากเปนวนั ดี ดิถี วันวิเศษ เหตวุ าสังขารปเ กา ก็ขา มพน ไปแลว ปใ หมแกวพญาวันก็มารอดมาเถงิ เทิงเจา ทังหลาย กบ็ ล ะเสยี ยังรตี อดตี ปาเวณี (ประเทืองวทิ ยา,2549 : 2)

123 หรือ จากตัวอยางของบทเวนทาน บางสํานวนกอนจะมีการกลาวถวายทานเปนภาษาบาลี อาจจะมีการใชความเช่ือมภาษาลานนา ใหเขากับภาษาบาลีไดอยางไมรูสึกติดขดั เชนบอกวา ดั่งผู ขา จักไดโอกาส ตามบทบาทบาลวี า สาธุ โอกาส...... หรืออกี ตวั อยา งหนง่ึ เชน ขอพระตไิ ตรมนุ ี จงุ มีมหากรณุ าธคิ ณุ อันยง่ิ รบั เอายงั สพั พะวตั ถุสิ่งสลากภัตตา ของสมณะศรทั ธา และมูลศรัทธาผขู าทงั หลายนน้ั แทดหี ลี ดว ยด่ังผูขาจกั ไดโ อกาส ตามบทบาทบาลวี า สาธุ โอกาส มยํ ภนฺเต อิมานิ สหธปู ปุปผา ลาชทานํ สลากภตตฺ ทานํ มหาสลากภตตฺ ทานํ สมมฺ าสมพฺ ุทธฺ สสฺ ธมฺมสฺส สงฆฺ สสฺ สกกฺ จจฺ ํ ปูเชม ฯ ทตุ ยิ มปฺ … …….. ตตยิ มปฺ … …..พุทโฺ ธ โน ธมโฺ ม โน สงโฺ ฆ โน สลากภตตฺ ทานํ มหาสลากภตตฺ ทานํ อมหฺ ากํ ฑีฆรตตฺ ํ หติ าย สุขาย ยาว นพิ พฺ านปจจฺ โย โหฺตุ โน นิจจฺ ํ (บทเวนทานขาวสลาก, ทวี เขอื่ นแกว . 2524 : 55) การท่ีคนลานนา สามารถแทรกภาษาบาลีลงไปในเน้ือหาของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม ไดอ ยางลงตัว โดยทค่ี นฟงไมร สู กึ ขาดตอนเปน กระทอนกระแทน นอกจากจะฟงดูไพเราะแลว ยัง ชวยทําใหบทกลาวดูมีความศักด์ิสิทธิ์อีกดวย สิ่งน้ีก็นับเปนภูมิปญญาอันชาญฉลาดของคนลานนา อีกประการหนง่ึ ไดเ ชน กนั 2) ภูมิปญญาในการกําหนดโครงสรางใหยืดหยุน สามารถปรับใหเขากับยุคสมัยที่ เปลีย่ นแปลงไปได โครงสรางของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม จะเปนโครงสรางแบบหลวม ๆ กลาวคือ กําหนดเพียงคราว ๆ วา เร่ิมตนดวยสวนใด ตามดวยสวนใด และลงทายดวยสวนใด สวน รายละเอียดปลกี ยอ ยนอกเหนอื จากน้ัน ผูป ระกอบพธิ ี หรือผแู ตง วรรณกรรม สามารถเพิม่ เติม สิง่ ใด ลงไปก็ได ที่คิดวาเพมิ่ เตมิ ลงไปแลว จะเปนประโยชนต อ ผูฟง ส่ิงทน่ี ิยมเพมิ่ เขา ไป เชน มลู เหตุในการ ประกอบพิธีกรรม การสั่งสอน ฯลฯ นอกจากโครงสรางแบบหลวม ๆ จะเปดโอกาสใหเพ่ิมเติม

124 เน้ือหาสวนอื่นๆ เขาไปไดแลว ยังเปดโอกาสใหผูประกอบพิธีเลือกตัดเนื้อหาบางสวนออกไปก็ได หากเหน็ วา จําเปนตอ งตดั (รายละเอยี ด ดเู พิ่มเตมิ ในบทท่ี 5) ผูวิจัยคิดวา การที่วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมมีโครงสรางหลวม ๆ เพ่ือใหผูประกอบพิธี สามารถเพิ่มในสิ่งที่ผูฟงอยากฟง และสามารถตัดหรือลด ในส่ิงท่ีผูฟงไมอยากฟง นอกจากจะ เปนไปตามหลักในการส่ือสาร คือ ผูสงสารตองคํานึงถึงความตองการและความพรอมในการรับสาร ของผูรับสารดวยแลว ยังเปนไปตามหลักทางเศรษฐศาสตร เร่ือง อุปสงค อุปทาน คือ ให ความสําคญั กับความตองการของผฟู ง สวนใดท่ีคิดวาผูฟง อยากฟง ฟงแลวไดประโยชน ฟงแลว ชอบใจกจ็ ะเพ่มิ เตมิ ลงไป เชน กลา วบอกวาเจาภาพ เปนใคร กลาวถึงอานิสงสท่ีจะไดรับจากการ ประกอบพิธกี รรมน้นั เปน ตน แตสว นใดทีค่ ดิ วาขดั กับความตองการของผฟู ง เชน ผูฟง มเี วลานอย จะกลาวอยางละเอียดจนครบบท ก็จะทําใหผูฟงเบ่ือและไมอยากฟง ผูวิจัยคิดวาสิ่งเหลานี้คือ ภูมิปญญาอันชาญฉลาดของคนลานนาท่ีไดเปดชองทางใหวรรณกรรมสามารถปรับตัวใหเขากับยุค สมัยและความตองการของผูฟง ลักษณะเชนนี้เอง ท่ีสงผลใหวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม สามารถปรับตัวเปลี่ยนเน้ือหาของตัวเองไดงาย ทําให ยังสามารถดํารงอยูไดในสังคมยุคปจจุบัน และมีบทบาทหนาท่ใี นการนําไปใชป ระกอบพธิ กี รรมอยู จากท่ีไดกลาวถึงภูมิปญญาลานนาจากวรรณกรรม จะพบวาเปาหมายสูงสุดของการ ประกอบพิธีกรรม คือ เพื่อใหผูรวมพิธีกรรมเกิดความสบายใจ ซ่ึงตัวบทวรรณกรรมที่ไดรับการ สรางสรรคจ ากภูมิปญ ญาของคนลานนาไมวาจะดวยภาษาและทวงทํานองที่ไพเราะ เนื้อหาท่ีกินใจ หรือแมกระท่ังการยืดหยุนหรือปรับเปล่ียนโครงสราง เพื่อใหเหมาะสมกับการประกอบพิธีแตละครั้ง ก็มีสวนทําใหผูท่ีไดฟงเกิดความสบายใจ และความสบายใจนี้เองจะนํามาซ่ึงความสุข และเมื่อ ประกอบพิธีกรรมแลวมีความสุข พธิ ีกรรมก็จะสามารถดํารงสืบไปได 4.2 ลักษณะเดน ก. ลกั ษณะเดนของพธิ กี รรมลา นนา พิธีกรรมตาง ๆ ในลานนา หลายพิธีกรรมมีความโดดเดน บางพิธีกรรมมีแตในลานนา เทานั้น บางพิธีกรรมสะทอนจิตใจ นิสัย และความเช่ือของคนลานนา บางพิธีกรรมมีลักษณะการ ผสมผสานพระพุทธศาสนาเขา กับความเช่ือเร่ืองผีและการนบั ถือสิง่ ศกั ดิ์สิทธ์ิ ดงั มรี ายละเอียด ดังนี้ 1) พิธกี รรมบางอยางมแี ตในลานนาเทานน้ั คนลา นนา เปน คนกลมุ หนึ่งท่นี ับถอื พระพทุ ธศาสนาเชนเดยี วกับคนไทยในภมู ภิ าคอืน่ ๆ ไม วาจะเปนภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน หรือภาคใต ซึ่งแตละภาคก็จะมีการประกอบพิธีกรรมทั้ง พิธีกรรมท่ีเก่ียวเนื่องกับพระพุทธศาสนา และพิธีกรรมอ่ืน ๆ ดังน้ัน ในแตละรอบป คนไทยใน

125 ภูมิภาคตาง ๆ ก็จะมีการประกอบพิธีกรรมอยางสม่ําเสมอ บางพิธีกรรมก็มีลักษณะคลายกันทุก ภมู ภิ าค แตบ างพิธกี รรมกม็ ีปรากฏเพียงภูมิภาคใดภมู ภิ าคหนงึ่ เทานัน้ และพิธกี รรมทพ่ี บเฉพาะใน ลานนา ก็มีอยูหลายพิธีกรรม เชน พิธีกรรมสืบชาตา พิธีกรรมขึ้นทาวท้ังสี่ และพิธีกรรมเวนทาน เปนตน พิธีกรรมสืบชาตาคือพิธีกรรมตอดวงชาตา เพื่อใหเจาของชาตามีชีวิตที่ดีข้ึน และใหประสบ แตสิ่งดีๆ แมคนไทยท่ัวทุกภูมิภาคจะมีความเช่ือเร่ืองโชคชะตาเหมือนกันแตรูปแบบการประกอบ พิธีกรรมจะตางกัน หากพิจารณาในดานของการจัดพิธีกรรม จะพบวา พิธีกรรมที่จัดขึ้นแบบเปน พิธีใหญที่จะตองใชเคร่ืองประกอบพิธีกรรมเปนจํานวนมาก ตองใชคนชวยกันจัดเตรียมหลายคน และทสี่ ําคัญ คือ มีตัวบทสาํ หรบั ประกอบพิธีกรรมอยางชัดเจน ผูวิจัยคิดวา มีแตใ นลานนา พิธีกรรมขึ้นทาวท้ังส่ีก็เปนอีกพิธีกรรมหนึ่งท่ีผูวิจัยพบวามีแตในลานนาเทานั้น แมใน ภูมิภาคอื่นๆ จะมีความเช่ือเก่ียวกับระบบจักรวาล ดังปรากฏในหนังสือไตรภูมิพระรวง วาโลก ประกอบไปดว ยหลายทวีป และแตละทวีปมีเทพผูคอยปกปกรักษาอยู ซึ่งความเช่ือเหลาน้ีเปนความ เช่ือที่คลายคลึงกันกับความเชื่อของคนลานนา แตการแสดงออกมาในรูปของการประกอบพิธีกรรม ทมี่ เี ครอื่ งประกอบพิธีกรรมอยางชดั เจน และมตี ัวบทสาํ หรบั ใชประกอบพธิ ีกรรมโดยเฉพาะ ผวู จิ ยั คดิ วา มีแตในลา นนาเทาน้ัน นอกจากนี้ พิธีกรรมขึ้นทาวท้ังสี่ยังเปนแบบแผนใหคนลานนายึดถือมาโดย ตลอดวาหากจะประกอบพิธกี รรมสําคัญใด ๆ จะตองประกอบพธิ ีกรรมขน้ึ ทา วทั้งสกี่ อ นเสมอ อีกพิธีกรรมหนึ่ง คือ พิธีกรรมเวนทาน ซ่ึงเปนพิธีกรรมท่ีพบเฉพาะในลานนาเชนกัน แมวา คนไทยท่นี บั ถอื พระพทุ ธศาสนา จะมีอยูทว่ั ทุกภูมภิ าค และจะตองมีการประกอบพิธีเกี่ยวกับการบุญ ถวายทานอยูเสมอ แตรูปแบบของการประกอบพิธีกรรมที่มีลําดับขั้นตอนชัดเจน มีตัวบทสําหรับใช กลาวถวายทานโดยเฉพาะและแตงขนึ้ มาอยางวิจติ รอลงั การ ผวู จิ ยั พบวามีแตใ นลานนาเทานั้น 2) พิธีกรรมลานนาสะทอ นจิตใจ นสิ ยั และความเช่อื ของคนลานนา การประกอบพิธีกรรมหลายพิธีกรรมของคนลานนา ไดสะทอนจิตใจ นิสัย และความเช่ือ ของคนลานนาในหลายๆ ดาน ไมวาจะเปนการสะทอนถึงความละเมียดละไม ความละเอียดออน ความออนนอ มถอ มตน และความมีสัมมาคารวะ ดงั เหน็ ไดจ ากพิธกี รรมตาง ๆ ดังน้ี พิธีกรรมที่สะทอนถึงความละเมียดละไม ความละเอียดออน โดยเฉพาะเร่ืองการทําบุญของ คนลานนา ไดแก การสมมาครัวทานในพิธีกรรมเวนกรรมทาน โดยกอนที่จะประเคนของถวายทาน แดพระสงฆแ ละกลาวคําเวนทานนนั้ ปูจารยซ่งึ เปน ผูป ระกอบพธิ ีจะนํานาํ้ ขม้ินสมปอยประพรมที่ของ ถวายทานเพื่อใหของทานเปนของที่บริสุทธิ์จากนั้นจึงกลาวสมมาครัวเพื่อขอขมาในสิ่งที่ไดละเมิด

126 หรือกระทําการใด ๆ ที่ไมเหมาะสมตอเคร่ืองไทยทานซึ่งถือวาเปนของสูงทั้งต้ังใจและไมตั้งใจท้ังน้ี เพอื่ ไมใ หเปนบาปแกต นเอง นอกจากน้ี ยังมีพิธีกรรมสูขวัญควาย ที่มีข้ันตอนการประกอบพิธีตลอดจนเนื้อหาของบท วรรณกรรมท่ีกลาวถึงการขอขมาควาย ซึ่งถือวาเปนสัตวที่มีบุญคุณตอคนมาก โดยเฉพาะสังคม เกษตรกรรมท่ีตองใชควายไถนา และชวงที่ใชควายไถนาน้ันอาจไดลวงเกินดวยกาย วาจา หรือใจ เกรงวาจะเปนบาปกรรมติดตัวไป ผูวิจัยคิดวาการขอขมาไดแมประท่ังสัตวเลี้ยง เปนสิ่งสะทอนให เหน็ ถงึ ความละเมียดละไมของจิตใจ ความสาํ นกึ ในบุญคณุ ของสรรพสงิ่ ท้ังมีชีวิตและไมมชี วี ิตของคน ลา นนาไดอยางชัดเจน พิธีกรรมท่ีสะทอนถึงความออนนอมถอมตนและความเปนคนมีสัมมาคารวะของคนลานนา อีกพิธีกรรมหนึ่ง คือ พิธีกรรมข้ึนทาวท้ังสี่ เพราะกอนที่คนลานนาจะประกอบพิธีกรรม สําคัญ ๆ จะตอ งประกอบพิธีกรรมข้ึนทา วทงั้ สก่ี อนเสมอ เพ่ือบอกกลาวใหส ่งิ ศักดิ์สทิ ธิท์ ่ีคนลา นนาเชอ่ื วา เปนผู เปนใหญที่ดูแลรักษาทวีปตาง ๆ ไดทราบกอน เปรียบเสมือนการบอกกลาวและขออนุญาตจากผู หลกั ผูใหญ หรือ เจาถ่นิ ใหท ราบวาจะประกอบพธิ กี รรมอะไร พิธีกรรมปนพรปใหม หรือพิธีกรรมดําหัว ก็เปนอีกพิธีกรรมหน่ึงที่สะทอนใหเห็นความ กตัญู ความเคารพผูอาวุโสของผูนอย และความเมตตา การรูจักใหอภัยของผูใหญ ท่ีใน ระยะเวลา 1 ป อยา งนอ ยที่สุด ตอ งหากโอกาสสักคร้ังหน่ึงไปแสดงความรักและเคารพตอผใู หญทตี่ น นับถือ เพ่ือขอพรจากทาน นอกจากนี้ หากมีการทะเลาะเบาะแวงหรือทําอะไรลงไปใหเกิดความ ไมพอใจซ่ึงกันและกนั พิธีกรรมปนพรปใ หมห รือการดําหัว ก็นับไดวาเปนพิธีกรรมหนึ่งที่เปดโอกาส ใหผูนอยไดขอขมาในสิ่งท่ีไดกระทําใหผูใหญไมสบายใจ และผูใหญเองก็จะถือโอกาสนี้ใหอภัยแก ผูนอย นอกจากน้ียังจะพบวา กอนที่ผูประกอบพิธี จะเร่ิมประกอบพิธี สวนใหญจะตองยกพานขึ้น บชู าครกู อน เพอื่ รําลึกถึงคุณของครูบาอาจารยท่ีไดประสทิ ธ์ิประสาทสรรพวิชาความรู ตาง ๆ นับได วาเปนอีกส่ิงหนึ่งที่สะทอนใหเห็นถึงความกตัญู และการรูจักระลึกถึงผูมีพระคุณของคนลานนาได เปน อยางดี 3) พิธีกรรมลานนามีลักษณะเปนการผสมผสานพระพุทธศาสนา เขากับความเชื่อ เรื่องผีและการนบั ถอื เรอ่ื งสิง่ ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ การประกอบพิธีกรรมหลายพิธีกรรมในลานนา แมรูปแบบทั่วไปจะเปนพิธีกรรมทาง พระพุทธศาสนา แตก็ยังพบวามีความเช่ือเร่ืองผีและการนับถือส่ิงศักด์ิสิทธิ์ปรากฏอยูรวมดวย เชน พิธีกรรมขึ้นทาวทั้งสี่ จะเห็นชัดเจนวาเปนพิธีกรรมท่จี ัดขึ้นเพ่ือบวงสรวงแดทาว ผูเปนใหญในสี่

127 ทวีป ไดแก ทา วกุเวร ทาวธตรฐ ทาววริ ุฬหก และทาววิรปู ก ข รวมถึงพระอนิ ทรและแมน างธรณี โดยมีการจัดเตรียมเคร่ืองประกอบพิธีกรรมสําหรับใชบวงสรวงไวอยางชัดเจน และมีรูปแบบการ ประกอบพิธีกรรมท่ียืดถือกันมาชานาน และที่สําคัญ ผูวิจัยพบวา เปนพิธีกรรมสําคัญที่ประกอบ รวมกับพิธีพุทธได และท่ีนาสนใจคือ ตองประกอบพิธีข้ึนทาวทั้งส่ีกอนประกอบพิธีทาง พระพทุ ธศาสนา เชน ในการประกอบพิธีกรรมถวายทานถาวรวัตถุทางพระพุทธศาสนา หรือท่ีคน ลา นนาเรียกวาปอยหลวงซ่ึงเปนพิธีกรรมทําบุญในพระพุทธศาสนา แตกอนประกอบพิธีกรรมก็ตอง มกี ารขน้ึ ทา วท้งั สี่ ตลอดจนบวงสรวงเส้อื วัดกอ น เปน ตน พิธีกรรมเวนทานก็เปนอีกพิธีกรรมหนึ่งที่เห็นไดชัดเจนวามีการผสมผสานพระพุทธศาสนา เขากับความเช่ือเร่ืองผีและส่ิงศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งหลายโอกาส เปนพิธีกรรมท่ีจัดข้ึนเพ่ือการทําบุญถวาย ทานในพระพุทธศาสนาอยางชัดเจน เชน เวนทานเขาพรรษา เวนทานออกพรรษา เวนทานธรรม มหาชาติ ฯลฯ แตจะเห็นไดชัดเจนวา กอนที่จะกลาวโครงสรางในสวนอื่น ๆ หลังจากท่ีกลาวบท สมมาครัวทานแลวจะมีบทที่เรียกวาบทอัญเชิญเทวดา ซึ่งเนื้อหาจะมีการกลาวถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ทงั้ หลายใหม ารว มในการประกอบพธิ กี รรมทางพระพุทธศาสนาในคร้งั นัน้ ดว ย นอกจากน้ีบางพิธีกรรมแมดูเหมือนเปนพิธีกรรมท่ีไมเก่ียวของกับพุทธศาสนา และไมมี พระสงฆเขามาเกี่ยวของ เชน พิธีกรรมสงเคราะห และพิธีกรรมเรียกขวัญ แตผูประกอบพิธีกรรม ก็คือ ปูจารย ซ่ึงก็เปนผูท่ีเคยเปนพระมากอน อีกทั้งเน้ือหาของวรรณกรรมท่ีปูจารยใชกลาว หลาย สว นก็เปนภาษาบาลี ซ่งึ เปนภาษาท่ีคนธรรมดา ไมไดใช มีพระสงฆเทาน้ันที่ใชภาษาบาลี ดังนั้นจึง เปนไปไดวาแมบางพิธีกรรมจะไมเห็นชัดเจนวามีพระพุทธศาสนาเขามาเกี่ยวของดวยแบบเต็ม รูปแบบ แตก็มีเกีย่ วของแบบแฝง หรือแบบออม อน่ึง ผูวิจัยยังไดสังเกตอีกวาในวิถีชีวิตของคนลานนาท่ีมีการนับถือท้ังพระพุทธศาสนาและ นับถอื ผี การจัดลาํ ดับความสําคัญมกั จะจัดใหพ ระอยเู หนอื กวา ผี เชน แตละบาน จะตั้งหิ้งพระใหสูง กวาห้ิงผี แตหากเปนการประกอบพิธีกรรม ผูวิจัยกลับพบวา มีการประกอบพิธีกรรมใหผีกอนพุทธ โดยเฉพาะอยางยิ่งถาเปนพิธีกรรมท่ีตองมีการบวงสรวง หรือ เซนสังเวย เชน การถวายทานขาว ใหมเดือนส่ีเพ็ง แมคนลานนาจะบอกวาไดแบงขาวใหมในนาสวนหน่ึงไวสําหรับถวายทานให พระพุทธศาสนา แตกอ นจะถึงวันถวายทาน 1 วนั ชวงเย็นชาวบานจะนําขาวใหมท่ีนึ่งสุกแลวพรอม กับอาหาร ไปถวายใหเจาท่ี ปูยา พอบาน (เส้ือบาน ) หรือผีเจานายอื่น ๆ ท่ีตนเคารพนับถือกอน นอกจากนี้ในตอนรุงเชาของวันถวายทาน กอนจะนําขาวใหมไปกองแลวเวนทานถวายให พระพุทธศาสนานน้ั จะนําขา วใหมพ รอมสํารับอาหาร ไปทําบญุ ถวายทานใหแกญาติพี่นองที่ลวงลับ ไปแลวกอน สวนนี้ผูวิจัยคิดวา อาจมาจากระบบความเช่ือเร่ืองผีกับพุทธท่ีแมคนลานนาจะนับถือให พุทธเหนือกวาผี แตหากมองในเร่ืองของการเขามากอนจะพบวาผีมากอนพุทธ เพราะคนลานนา

128 นับถือผีมาชานาน กอนจะหันมานับถือพระพุทธศาสนา เมื่อเปนเชนนี้ การจัดลําดับความสําคัญ เชน หิ้งบูชาตาง ๆ จึงจัดใหพุทธอยูสูงกวาผี แตลําดับกอนหลังในการประกอบพิธีกรรม สวนใหญ จะพบวา จะจัดพธิ ีกรรมใหผ กี อน อยางไรก็ตามลักษณะท่ีไดกลาวมาในขางตน ก็เกิดการผสมผสานกันอยางลงตัว และเปนที่ นาสังเกตวาไมมีใครทักทวงวาตองถวายพระกอนเซนผี ทั้งน้ีเพราะความเช่ือเรื่องผีและพุทธได ผสมผสานและหลอมรวมกันจนเหมือนจะเปนส่ิงเดียวกันไปแลว ดังน้ันในการประกอบพิธีกรรม คน ลานนาจึงมองวา เปน พิธกี รรมทตี่ อ งปฏบิ ตั ิ โดยไมไ ดจาํ แนกวา เปนพุทธหรือเปน ผี ข. ลักษณะเดน ของตัวบทวรรณกรรมลา นนา 1) มภี าษาบาลปี รากฏอยดู ว ยเสมอ ลักษณะเดนประการหน่ึงของตัวบทวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม คือ ทุกสํานวน จะตองมี ภาษาบาลีปรากฏอยูดวยเสมอ บางสํานวนหรือบางตัวบท อาจแตงดวยเปนภาษาบาลีลวน เชน บท สืบชาตา ดังตวั อยาง เภสัชชัง เทวะมะนุสสานัง กะฏกัง ติตติกัง ระสัง อิมพิลัง ละวะนญั เจวะ สัพพะพะยาธิ วินัส สันตุ เอกะทะวิติจะตุปญจะ ฉะสัตตาทินัง ตะถา ยาวะ ทุกขา วินัสสันตุ ชีวิทานัง ทะทันตุ เต ชีวิ ทานัง ทะทันตัสสะ อายุ วณั ณงั สุขงั พะลัง ชีวิทานานุภาเวนะ โหตุ เทโว สุขี สะทา ชีวิทานัง จะ โย ทตั ะวา โอสะถงั อตุ ตะมงั วะรัง สะรีรงั ทุกขงั นาเสติ เภสัชชัง ทานะมุตตะมงั ตัสะมา กะเรยยะ กัละ ยาณัง นิจจะยัง สัมปะรายะนัง ปุญญานิ ปะระโลกัสะมิง ปะติฏฐา โหนติ ปาณินัง อิมินา ชีวิทาเนนะ ตุมหากัง กงิ ภะวิสสะติ ทีฆายุกา สะทา โหนตุ สุขิตา โหนตุ สัพพะทา โย โส ทะทาติ สักกัจจัง สีละ วันเตสุ ตาทิสุ นานา ทานัง วะรัง ทัตะวา ชีวิทานัง มะหัปผะลัง เอวัง มะหิทธิกา เอสา ยะทิทัง ปญุ ญะสมั ปะทา ตสั ะมา ธรี า ปะสงั สนั ติ ปณ ฑติ า กะตะปุญญะตันติ ฯ (สนัน่ ธรรมธ,ิ 2547 : 32) บางสํานวนหรือบางตัวบทอาจมีภาษาบาลีปรากฏอยูสวนใดสวนหน่ึง เชน ปรากฏใน ตอนตน ของตวั บท ดงั ตวั อยา ง สุณันตุ โภนโตเทวสงั ฆาโย ดูราพระยาเจา ชตุ นชอุ งค คือพระยาธตรฏั ฐะ ตนอยูรักษาหนวันออกกด็ ี พระยาวริ ฬุ หกะ ตนอยูรักษาหนใตกด็ ี พระยาวริ ปู กขะ ตนอยทู ศิ หนวนั ตกก็ดี พระยากเุ วระ ตนอยหู นเหนอื กด็ ี

129 พระยาอนิ ตาเจา ฟา ตนเปน เจาเปน ใหญ แกเทวดาสรวงสวรรคชน้ั ฟา มที า วทงั ส่เี ปน ตนประธาน พายตา่ํ ใตมที า ววารุณะ และนางธรณเี ปน ทสี่ ดุ (บทขนึ้ ทาวทัง้ ส,่ี ทวี เขอ่ื นแกว. 2541 : 145 – 147) พทุ โธ มงั คละ สัมพโู ต สมั พทุ โธ ทปิ ทตุ ตโม พุทธมังคละ มา คมั มะ สพั พทุกขา ปมญุ จเรธมั โม มงั คละ สมั พูโต คมั ภีโร ททุ สั โส อนงุ ธมั ม มงั คละ มา คมั มะ สพั พทกุ ขา ปมุญจเรสงั โฆ มงั คละ สมั พโู ต ทกั ขิไนโย อนตุ ตโร สังฆ มงั คละ มา คมั มะ สพั พทุกขา ปมญุ จเร ศรี ศรี สวัสสดี อช ในวนั นก้ี เ็ ปน วันดี เปน วนั ศรีวนั ไส วนั เปกเสด็ กาบไกเ ลศิ เจียงคาน เปน วนั มังคะละการอนั ประเสริฐ ใหบงั เกดิ ธมั วฒุ ิ 4 ประการ เปนโอฬารอนั แผก วาง ยง่ิ กวาชา งโสกแสนคําเตชะนําเขมกลา เปน วนั ปอ งฟา เลศิ ลอื เซ็ง วันเม็งกห็ มดใสวนั ไต ก็หมดปลอด วนั นก้ี ็หากเปน ยอดพญาวนั ชา งสะตนั ไดบ ริวารพอลา น ออกนอกบา นปะใสไ หเงิน ก็แมนในวนั น้ี เมอื งเถินจกั ปอ งเมอื งหอ ยาชา งหมอ จะไดเ ปน เศรษฐี (บทสขู วัญคน, นยิ ม สองสีโย. สมดุ บนั ทึก) บางตัวบทอาจมีภาษาบาลีปรากฏตอนทาย เชน ขอพระไตรรตั นผ านแผว จุงห้อื แลว มโนรถคาํ ปรารถนา แหงศรัทธาผขู าทังหลาย ชผุ ชู คุ นชใุ หญน อ ยชายหญิง ขอสมด่งั คาํ คนิงใฝอา ง ขออยา ไดหลงของคา ง อยูเหงิ เมนิ นาน นั้นจุงมีเทีย่ งแทด ีหลี กายกมมฺ ํ วจกี มมฺ ํ มโนกมมฺ ํ สญจิจจฺ โทสํ อสญจิจฺจโทสํ สพพฺ ํ โทสํ ขมนตฺ ุ โน (บทเวนทานขา วบาตร, พอ หนานคํา ย่งิ โยชน. พับสา)

130 จากตวั อยางท่ีไดก ลาวมาขางตน จะพบวาตัวบทปนพรปใหมทุกสํานวน มีภาษาบาลีปรากฏ อยูดวยเสมอ แมแตบทปนพร ที่ชาวบานธรรมดาสามารถแตงเองได ภาษาที่ใชเกือบท้ังหมดจะเปน ภาษาลา นนา แตก็ยังมีบาลแี ทรกอยู เชน เอวงั โหตุ สว นอัชชะ ในวันน้ี กเ็ ปน วันดี เปน วันสรีศุภมงั คละอนั ประเสริฐ ลํา้ เลศิ ยง่ิ กวาวัน และยามทงั้ หลาย บัดนีป้ เกาก็ขา มลวงลน พน ไปแลว ปใหมแกว พญาวนั ก็มาชจุ อด รอดถึงแกเ ราเจาขาทง้ั หลาย ทั้งพอ แมญ าตกิ าวงศาพน่ี อ งชุผูชุคน กไ็ ดต กแตงแปลงพร่ําพรอ มนอ มนาํ มา ยังมธบุ ุปผาราชาขา วตอกดอกไมล าํ เทยี น (อุดม อมรจกั ร, 2521: 150) เอวงั โหนตุ ดแี ล อชั ชาในวันนคี้ เ็ ปนวนั ดี สงั ขารปเ กา กล็ วงลน พน ไปแลว สังขารปใหมแ กวพญาวนั กม็ ารอดมาเถงิ เทิงฑีฆากาลวันนีแ้ หละ บัดนี้กม็ อี ่แี กว เปน เคลา พรอ มดว ยลกู เตา หลานเหลนคผู คู ูคน กไ็ ดสลงขงขวายตกแตงพรอ มนอมมายงั มธุบุปผาลาชาดวงดอก เขาตอกดอกไมท าํ เทยี น (ถอดความจากแถบบันทึกเสยี งบทปน พรแมอ ยุ นาค เพง่ิ เติง, 2551) นอกจากนี้ยังพบวา บางสํานวน อาจกลาวเปนบทปนพรปใหมส้ันๆ วา “อายุวัณโณสุขัง พลังเนอ” กย็ งั พบวา มภี าษาบาลอี ยดู วยอีกเชน กัน ผูวิจัยคิดวา เหตุที่ตัวบทวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมทุกสํานวนจะตองมีภาษาบาลีรวมอยู ดวย จนเกิดเปนลักษณะเดนน้ัน นาจะเปนผลมาจากวรรณกรรม ไดถูกนําไปใชในการประกอบ พิธีกรรม ซ่ึงเปนเร่ืองของความเชื่อ ความศักด์ิสิทธิ์ และความศักดิ์สิทธ์ิจะเกิดข้ึนไดหรือไมน้ัน ตัว บทวรรณกรรมก็มีสวนสําคัญมาก หากตัวบทดูมีความศักดิ์สิทธิ์ และดูมีความขลัง ก็จะชวยให พิธีกรรมดูมีความศักดิ์สิทธ์ิมากขึ้นตามดวย และการท่ีจะทําใหตัวบทวรรณกรรมดูมีความศักดิ์สิทธ์ิ น้ัน ผูวิจัยคิดวา การมีภาษาบาลีเขาไปอยูดวย จะทําใหตัวบทดูมีความศักดิ์สิทธิ์ขึ้นมาทันที เพราะ โดยปกติ ภาษาบาลีถือวาเปนภาษาสูง เปนภาษาท่ีใชกับศาสนา และใชประกอบพิธีกรรม ไมไดใช พูดคุยสนทนาในชีวิตประจําวันท่ัวไป ถือเปนภาษาท่ีพิเศษ ดังน้ัน หากวรรณกรรม มีภาษาบาลีอยู ดวย ก็จะชว ยใหพิธกี รรมดมู คี วามศกั ด์สิ ิทธิข์ ึน้ ตามมาดว ย

131 2) วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมประเภทเดียวกัน แมจะมีหลายสํานวนแตก็มี โครงสรา งหลักเหมือนกัน เปนที่นาแปลกวาวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมในลานนา แตละประเภทมหี ลายสํานวนมาก เชน บทเวนทานขาวบาตร เฉพาะในตําบลแมหอพระ อําเภอแมแตง จังหวัดเชียงใหมพบสํานวนที่ แตกตางกนั ถึง 4 สํานวน หรอื บทปนพรปใ หม แคใ นหมบู า นแมห อพระหมูบา นเดยี ว เทา ท่ีสํารวจได พบวามีความแตกตางกันถึง 15 สํานวน ซ่ึงหากไดทําการสํารวจอยางละเอียดท่ัวทั้ง 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบนที่เรียกวาเดินแดนลานนา ผูวิจัยคิดวาอาจมีหลายสํานวนจนนับไมถวน แตก็ สังเกตไดวาแตละสํานวน จะมีรายละเอียดปลีกยอยแตกตางกันไปบาง เปนตนวาคําศัพทที่แตละ ทองถ่ินเรียกแตกตางกัน การกลาวถึงส่ิงศักด์ิสิทธ์ิในแตละทองถิ่น เชน เชียงใหม ก็นิยมกลาวถึง พระธาตุดอยสเุ ทพ ลาํ พนู ก็กลาวถงึ พระธาตหุ ริภุญไชย จงั หวัดนาน ก็กลาวถงึ พระธาตุแชแหง เปน ตน หรือ บางสํานวนอาจเพิ่มเติมเน้ือหาบางสวนเขาไปในวรรณกรรมตางกัน เชน บางสํานวนอาจ เพิม่ มลู เหตุในการประกอบพธิ กี รรม บางสํานวนกลาวชมเคร่ืองประกอบพิธีกรรม เปนตน แตไมวา จะมีรายละเอียดปลีกยอยดังกลาวขางตนจะแตกตางกันอยางไร โครงสรางหลักจะเหมือนกันหมด เชน บทปนพรมักเร่ิมจากการเกร่ินนําดวยการกลาวถึงโอกาสท่ีจะใหพร ตามดวยการกลาวถึง ผูรับพร เคร่ืองคาราวะและการรับเอาเคร่ืองคารวะน้ัน กลาวยกโทษและใหพรเปนภาษาลานนา จบดวยการกลา วใหพ รเปน ภาษาบาลี หรือ บทสูขวญั ลูกแกว ไมวา จะเปน สาํ นวนใด กม็ กั จะเร่ิมจาก เกร่ินนําถึงวาระอันเปนมงคล บรรยายความเกี่ยวกับสภาพกอนเปนลูกแกว กลาวถึงเครื่อง ประกอบพิธีและขั้นตอนในการประกอบพิธีกรรมเรียกขวัญลูกแกว กลาวปดเคราะห จบดวยการ กลา วบทผกู ขอ มือลูกแกว เปน ตน ตวั อยา งบทปน พรหลายสาํ นวน ท่มี โี ครงสรางหลกั เหมอื นกนั คอื จะเร่มิ จากเกร่นิ นําดวย การกลา วถงึ โอกาสทจี่ ะใหพ ร กลาวถึงผรู บั พร กลาวถึงเครอ่ื งคารวะ และการรบั เอาเครอ่ื งคารวะ น้นั กลาวยกโทษและใหพ รเปน ภาษาลานนา จบดว ยกลาวใหพ รเปน ภาษาบาลี บทปน พรสาํ นวนของทวี เขอ่ื นแกว (เกรนิ่ นาํ ดวยการกลาวถึงโอกาสทจ่ี ะใหพ ร) เอวงั โหนตุ ดีแล อชั ช ในวันน้กี ็หากเปน วันดี ดถิ ี วันวิเศษ เหตวุ าสังขารปเ กา ก็ขา มพน ไปแลว ปใ หมแกวพญาวนั กม็ ารอดมาเถงิ

132 (กลาวถึงผูรบั พร) อันเปนมาลวงมาแลว ปางกอน เทงิ เจาทงั หลาย กบ็ ล ะเสยี ยังรตี อดตี ปาเวณี เจา ทังหลายกบ็ ผ อนเสียยังศรัทธา (กลาวถงึ เครอื่ งคารวะ และการรับเอาเครอ่ื งคารวะนัน้ ) จงึ ไดน อ มนํามายงั สคุ นั ธาโทตกะ ทานวตั ถุทังหลายฝงู นี้มาถวายเปน ทาน เพ่ือจักมาขอขมาโทษณโทษ (กลาวยกโทษและใหพ รเปนภาษาลา นนา) ผขู า กโ็ ปรดอโหสิกรรม แมนวาเจาทังหลาย ไดก ระทําเปนทางดีทางชอบ จงุ ห้ือสมประกอบมโนปณิธา และจุง หื้อมอี ายุ ฑฆี ายืนยงิ่ โรคภยั สงิ่ หนไี กล หื้อมวี รรณะในสดชืน่ เปนที่รักและพอใจแกผ อู น่ื เขาหนั หอื้ มคี วามสขุ สันตทุกคา่ํ เชา กาผกิ าสขุ เจตผิกาสุขพราํ่ พรอ มบริบูรณ ห้ือมีกาํ ลงั อุดหนุนเตอื มแถง อยาหอื้ เห่ียวแหง ชปุ ระกา หือ้ สมดงั คําพรวานกลา วไว สมดง่ั นึกไดชุประการเทย่ี งแทดหี ลี (กลาวใหพ รเปนภาษาบาล)ี สพั พโลโค วินัสสันตุ สขุ ี ทฑี ายุโก ภว สพั พตี โี ย ววิ ชั สนั ตุ นจิ จัง วฑุ ฒาปจายิโน มาเต ภวตวนั ตราโย อายุ วัณโณ สขุ ขัง พลัง อภวิ าทน สีลิส จัตตาโร ธัมมา วชั ทนั ติ (ประเทอื งวิทยา,๒๕๔๙ : ๒)

133 บทปน พรสาํ นวนของแมอ ุยนาค เพง่ิ เติง (เกริน่ นาํ ดวยการกลา วถึงโอกาสทจ่ี ะใหพ ร) เอวังโหนตุ ดแี ล อัชชาในวนั นค้ี เ็ ปน วนั ดี สังขารปเกา กล็ วงลนพน ไปแลว สังขารปใหมแกว พญาวนั กม็ ารอดมาเถงิ เทิงฑีฆากาลวันน้แี หละ (กลาวถึงผรู ับพร) บดั นกี้ ็มอี ีแ่ กวเปน เคลา พรอ มดวยลูกเตาหลานเหลนคูผคู ูค น (กลา วถึงเครอื่ งคารวะ และการรับเอาเครอื่ งคารวะนัน้ ) ก็ไดสลงขงขวายตกแตง พรอ มนอมมายงั มธบุ ุปผาลาชาดวงดอก เขา ตอกดอกไมทําเทียน มาถวายเปน ตาน (กลา วยกโทษและใหพ รเปนภาษาลานนา) อายุมน่ั ยนื ยาว ตง้ั แตน ีไ้ ปหนา ก็ขอหอื้ อยดู ีมสี ุข ฮิมาคา ขึ้นเนอ (กลา วใหพ รเปน ภาษาบาล)ี สพั พตี ีโย วินาสนั ตุ สัพพโลโค วิสาสนั ตุ มาเต ภวตวันตราโย สขุ ี ทีฑายุโก ภว อภินสิ ส นิจจงั นจิ จัง จตั ตาโร ธัมมา วินาสันตุ อายุ วัณโณ สขุ ขงั พลัง

134 (ถอดความจากแถบบันทกึ เสยี งบทปน พรแมอยุ นาค เพง่ิ เตงิ , 15 เมษายน 2551) บทปน พรสํานวนของอดุ ม อมรจกั ร (เกรน่ิ นาํ ดว ยการกลา วถึงโอกาสทจ่ี ะใหพ ร) เอวงั โหตุ สว นอัชชะ ในวนั น้ี กเ็ ปนวนั ดี เปนวันสรีศภุ มังคละอันประเสริฐ ลํ้าเลิศยิ่งกวา วนั และยามท้งั หลาย บัดนี้ปเ กา ก็ขามลวงลน พน ไปแลว ปใหมแ กว พญาวนั ก็มาชจุ อด (กลาวถึงผูร ับพร) ทงั้ พอ แมญ าตกิ าวงศาพน่ี องชุผชู คุ น รอดถงึ แกเราเจา ขาทงั้ หลาย (กลาวถึงเครอื่ งคารวะ และการรับเอาเครอ่ื งคารวะน้ัน) กไ็ ดต กแตงแปลงพร่ําพรอมนอมนาํ มา ยงั มธบุ ปุ ผาราชาขา วตอกดอกไมลําเทยี น น้าํ อบน้าํ หอม และโภชนะอาหาร เพอื่ จักมาหอื้ เปน ตานแกตนตวั แหง ขา ต้งั สองหนา หากงามดี บดั น้ีตูขากม็ ธี รรมเมตตา ปฏคิ คหะรบั เอายงั มธบุ ุบผา ราจา เขาตอกดอกไมล ําเตียน น้ําอบ น้ําหอม และโภชนะอาหาร ของทา นทั้งหลาย (กลา วยกโทษและใหพ รเปนภาษาลา นนา) ตั้งแตวนั นไี้ ปภายหนา ขอหื้อทานทัง้ หลาย ถึงจักอยกู ็ห้ือมไี ชย แมนจกั ไปกข็ อหอื้ มีโชคลาภ

135 ปราบแพ ขา ศกึ ศัตรู ขออยา ไดมาใกล ทกุ ขยากไรก ข็ อหอื้ หนเี สีย จงุ ห้ือเจา ทง้ั หลาย มีอายเุ ทยี่ งมนั่ รอยพนั วัสสา แมนจกั ฮิก็ห้ือปน มา คนั นวา จกั หาก็หอื้ ปน ได ทั้งเงนิ คําเครื่องใช จงุ ไหลหลง่ั เทมา ขอห้ือเจา ทงั้ หลายจงอยดู ว ยสขุ 3 ประการ มนี ิพพานเปน ทแี่ ลว อยาไดค ลาดไดคลา เที่ยงแทด หี ลี ตามบทบาทบาลีวา (กลา วใหพ รเปน ภาษาบาล)ี สพั พตี ีโย วิวชั สันตุ สัพพโลโค วินสั สันตุ มาเต ภวตวันตราโย สขุ ี ทฑี ายโุ ก ภว อภวิ าทน สลี สิ นจิ จงั วฑุ ฒาปจายิโน จัตตาโร ธมั มา วัชทนั ติ อายุ วัณโณ สขุ ขัง พลงั (อุดม อมรจกั ร, 2521: 150) ผูวิจัยคิดวาสาเหตุที่ทําใหโครงสรางหลักของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมประเภทเดียวกัน ในลานนามโี ครงสรา งหลกั เหมือนกนั อาจเปนผลมาจากการท่ไี ดบนั ทึกไวเ ปน ลายลักษณอักษรอยาง ชัดเจน ดงั นั้นทกุ คร้งั ที่มีการคดั ลอกก็จะตองคัดลอกจากตนฉบับ และเวลาคัดลอก จะตองคัดลอกให หมด สวนเวลาใชจ ริง จะใชห มดหรือไมก็แลว แต ดังนนั้ เมือ่ คัดลอกหมด ไมวาจะสืบตอกันไปกี่รุน โครงสรางและเน้ือหาจึงไมแตกตางจากตนฉบับเดิมมากนัก อาจมีแตกตางไปบาง เชน ปรับให เหมาะกับผูฟงในทองถ่ินของตน เชนคําศัพทบางคํา สถานท่ีบางแหง ฯลฯ แตส่ิงเหลาน้ีก็ไมได กระทบกระเทือนตอโครงสรางหลักของวรรณกรรมเลย สวนการเพิ่มหรือตัดเนื้อหาบางสวนของ วรรณกรรม จะกระทําขณะประกอบพิธีกรรม มักไมบันทึกเปนลายลักษณอักษรไว (สัมภาษณ ดุสิต ชวชาติ,14 กันยายน 2551) ดังนั้นไมวาวรรณกรรมจะแพรกระจายไปอยางไร โครงสรางหลักก็ยัง เหมือนเดมิ

136 3)ตัวบทของวรรณกรรมพิธีกรรม สะทอนความคดิ สรา งสรรคข องชาวบา นผู ประกอบพธิ กี รรม วรรณกรรมหลายประเภท ผูสรางสรรคและผูเสพจะเปนคนละคนกัน กลาวคือ มักจะมี นักปราชญหรือกวีแตงไว แลวแพรกระจายไปยังท่ีตางๆ ผูที่รับวรรณกรรมเหลาน้ันไปใช จะทํา หนาท่ีเปนเพียงผูรับไปอานเทานั้น ไมวาจะเปนวรรณกรรมสะเทือนอารมณ วรรณกรรมคําสอน วรรณกรรมพระพุทธศาสนา ฯลฯ แตวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม จะมีลักษณะเดนกวาวรรณกรรม ประเภทอืน่ ๆ คอื ผทู ่ีรับวรรณกรรมเหลา นัน้ ไปใช หากนําไปใชห ลายครั้งจนสามารถจดจําโครงสราง และเน้ือหาของวรรณกรรมได ก็จะสามารถเรียบเรยี งและสรางสรรคตัวบทขน้ึ เองได ดังจะเห็นไดจ าก ปูจารยหลายทาน สามารถแตงตัวบทวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมใชเอง เชน มณี พยอมยงค สามารถแตงบทเวนทานใหม ลี ักษณะเฉพาะและเหมาะสมกับการประกอบพธิ ีกรรมแตละครง้ั ได และ บางครั้งยังสามารถแตงขึ้นจากปฏิภาณขณะประกอบพิธีกรรม โดยไมตองเตรียมตัวบทลวงหนา (สัมภาษณดุสิต ชวชาติ,14 กันยายน 2551) ตัวบทของวรรณกรรมประกอบพธิ กี รรมอกี ประเภทหน่ึงท่แี สดงใหเห็นลกั ษณะเดนประการน้ี ไดช ัดเจน คอื บทปนพร ซึง่ ชาวบานแตล ะคนอาจเรียบเรียงข้ึนมาเปนสํานวนของตนเองได โดยอาจ แตง เปนสาํ นวนสั้นๆ หรือแตงเปน สํานวนทไี่ พเราะ มีความสละสลวยของภาษา ก็แลวแตภูมิปญญา ในการสรางสรรคของผูแตง จากการสัมภาษณชาวบานหลายๆ ทาน ไดกลาววาอาศัยจดจํามาจาก การเคยไดยินผูใหญก ลา วปน พร แลว ลองกลาวเปน สํานวนของตัวเอง ตัวอยางบทปนพรส้ันๆ ท่ีชาวบานจดจําโครงสรางและเน้ือหาบางสวนแลวนํามาเรียบเรียบ ใหมเ ปน สํานวนของตวั เอง เชน “เออ วันนี้ก็เปนวันดีวันปใหมเ นอ ลูกหลานมาดาํ หวั ก็ขอหือ้ อยูด ีมสี ุขอายมุ ัน่ ยนื ยาว ฮมิ าคาขึน้ เนอ” (ถอดความจากแถบบันทกึ เสยี งบทปน พรแมไหล ทองคาํ , 15 เมษายน 2551) นอกจากน้ียังมีสํานวนอ่ืนๆ เชน สํานวนของพอสม สายชมพู ซึ่งแมจะเปนสํานวนท่ีมี เน้ือหาไมยาวมากเหมือนสํานวนของทวี เข่ือนแกว และอุดม อมรจักร แตก็มีโครงสรางครบทุก สวน นับตั้งแต เกริ่นนําดวยการกลาวถึงโอกาสที่จะใหพร กลาวถึงผูรับพร กลาวถึงเครื่องคารวะ และการรับเอาเครือ่ งคารวะนั้น กลา วยกโทษและใหพรเปนภาษาลา นนา กลาวใหพ รเปนภาษาบาลี ดังตัวอยาง

137 เอวังโหนตอุ ัชชะ ในวันนก้ี เ็ ปน วันดี สรีวนั ปลอดเปน ยอดพญาวัน สงั ขารปเ กา กล็ วงลนพนไปแลว สงั ขารปใ หมแกวพญาวนั กม็ ารอดมาเถงิ เทงิ ฑฆี ากาลวนั นแ้ี หละ บัดนี้ก็มีนางสมเปน เคลา พรอ มดว ยลูกหลาน ก็บอ ละเสยี ยงั รตี อดตี ปาเวณี กม็ ามาสลงขงขวาย ตกแตงมายงั นาํ้ ขมนิ้ สมปอ ย เขาตอกดอกไมลําเทยี น มาถวายเปน ทานยงั ตนตวั แหงขา ต้ังนี้ไปหนากข็ อหอื้ อยดู ีมสี ขุ อายมุ น่ั ยนื ยาวรอ ยซาวผสา ฮิมาคา ขึน้ เนอ สพั พตี ีโยวิวาสันตุ อายวุ ณั โณ สขุ ขงั พลัง เนอ อยูดมี สี ขุ (ถอดความจากแถบบนั ทึกเสยี งบทปนพรพอ สม สายชมพู, 17 เมษายน 2551) อยา งไรกต็ ามเปน ทีน่ าสังเกตวา ภาษาบาลีที่ปรากฏในสวนทา ยของบทปน พรท้งั สองสาํ นวน ทไ่ี ดก ลาวมาขางตน อาจไมถ ูกตอ งตามหลกั ไวยากรณม ากนัก แตท ง้ั น้ี ผวู จิ ัยคดิ วาไมไดเ ปน ปญ หา กบั การประกอบพธิ ีกรรม เพราะทั้งผปู นพรและผูรบั พร ยอมรับความศกั ด์ิสิทธข์ิ องภาษาบาลดี ว ย ความเชอ่ื และความศรทั ธา มากกวายอมรบั จากความหมาย ดงั นั้นเมอื่ ทั้งสองฝายไดร บั รูวาไดม ีการ ใหพ รเปน ภาษาบาลีแลว ตา งฝา ยกพ็ งึ พอใจ 4.3 ความสัมพันธระหวางพิธีกรรมและวรรณกรรมประกอบพธิ ีรรม ก. วรรณกรรมชว ยสรา งบรรยากาศความศักดิ์สทิ ธิ์ใหแกพ ิธกี รรม ชาวลา นนาเชอ่ื วาในการประกอบพธิ กี รรมแตละครัง้ นอกจากจะมเี ครื่องประกอบพธิ ที ต่ี อง เตรียมใหถ กู ตอ งและครบถว นแลว ยังจะตอ งมกี ารอา นวรรณกรรมประกอบพธิ กี รรมดว ย เพอ่ื ใหก าร ประกอบพธิ ีกรรมครั้งนน้ั เกดิ ความศักดิส์ ทิ ธ์ิ ซึง่ ผูวจิ ัยคดิ วา เหตทุ ี่คนลานนามีความเชอื่ เชน นั้น นาจะมาจากเหตุผลประการตาง ๆ ดงั นี้ 1) วรรณกรรมประกอบพิธกี รรม มีการใชภาษาท่ีสละสลวยในการพรรณนาความและใช ภาษาบาลที ชี่ ว ยเสริมสรา งใหต วั บทวรรณกรรมดูเปน ถอ ยคําที่มศี กั ดสิ์ งู ไมใ ชภ าษาพูดธรรมดา 2) มลี ลี าการอานดวยทว งทํานองคลา ยกับการเทศน ซง่ึ นอกจากจะไพเราะแลว ยังทําใหท าํ ใหดมู คี วามขลงั อกี ดว ย

138 3) เน้ือหามกี ารกลา วถึงส่งิ ศกั ด์สิ ทิ ธทิ์ ั้งหลาย ไมวาจะเปน เทพเทวดา อินทร พรหม ครฑุ นาค ซึง่ กเ็ ปนส่ิงชวยสรางเสริมใหพ ธิ ีกรรมเกดิ ความขลังและศกั ด์ิสทิ ธ์ิ 4) ความเชอื่ ทฝ่ี ง ลกึ ในใจของชาวลา นนามากอ นหนานั้นแลว วา วรรณกรรมประกอบ พธิ กี รรม เปนบททม่ี คี วามศกั ดิส์ ิทธิ์ นอกจากนคี้ นลา นนายงั มคี วามเชอ่ื วา ตราบใดทีย่ ังไมมกี ารกลา วบทวรรณกรรม กย็ ังถือวา พธิ กี รรมคร้ังน้นั ยงั ไมสมบูรณแบบ เชน พิธกี รรมสง เคราะห แมจ ะจดั เตรยี มเครอ่ื งประกอบ พธิ กี รรมไวจ นครบ แตหากยงั ไมม กี ารกลาวบทสง เคราะห กย็ งั ถอื วาเคราะหยังไมไดรบั การสง ยัง ไมพนจากเคราะห หรือ พธิ กี รรมเรียกขวญั หากเพยี งแคน าํ บายศรหี รือครวั ขาวขวัญไปวางไว ตรงหนา ผูทต่ี อ งการใหเ รยี กขวญั กย็ ังถอื วา ขวญั ยงั ไมกลบั เขามา เพราะยงั ไมไ ดก ลาวบทเรยี กขวญั อีกตัวอยางหนึ่งที่เห็นไดชัดเจนคือพิธีกรรมเวนทาน ท่ีชาวบานจะเชื่อวา ข้ันตอนที่สําคัญ ที่สุดในการถวายทานก็คือ “ข้ันตอนการเวนทาน” พอหนานประสิทธ์ิ โตวิเชียร (สัมภาษณ15 กันยายน 2551)ไดยกตัวอยางใหฟงวา “สมมติวาหมูบานหนึ่ง มีการรวมกับบริจาคเงินกันเพ่ือสราง วิหารข้ึนมา เมอ่ื วิหารสรา งเสร็จ กจ็ ะมีการเตรียมที่จะจัดงาน “ปอยหลวง” หมายถึงจัดงานถวาย ทาน ซ่ึงจะตองมีการเวนทาน พรอมกับงานเฉลิมฉลอง ไวลวงหนา แตในชวงระยะเวลาที่ยังไมได เวนทานวิหารหลังดังกลาวนั้น แมวาชาวบานท้ังหมดที่รวมกันสราง จะมีโอกาสไดเห็นวิหารที่ สรางใหมเสร็จแลว และเคยไดเขาไปใชงานวิหารดังกลาวแลวก็ตาม แต ตราบใดที่ยังไมไดเวนทาน หากใครคนใดคนหนงึ่ เสยี ชวี ติ ไปเสียกอ น กจ็ ะเปน สิ่งท่ีนาเสียใจและนา เสียดายเปนอยา งมาก เพราะ ชาวบา นเช่อื กันวา ครัวทานหรือสงิ่ ของถวายทานทยี่ ังไมไดเวนทานกเ็ ปรียบเสมือนของสิง่ นน้ั ยังเปน ของเราอยู ยังมิไดมีการสงมอบใหกับพุทธศาสนา ถือไดวา ผูตายที่ไมมีโอกาสไดถวายทานวิหาร เสยี กอ น ยงั ไมไดร ับบุญหรอื อานสิ งสจากวิหารท่ตี นสรา ง เปนตน” จากตัวอยางขางตน แสดงใหเห็นไดวา การประกอบพิธีกรรมทุกคร้ัง แมจะเตรียมเครื่อง ประกอบพิธีกรรมไวจนครบ แตตราบใดที่ยังไมมีการอานวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม การ ประกอบพธิ ีกรรมในคร้งั นั้น ก็ถอื วา ยังไมเสร็จสิ้นอยางสมบูรณแบบ ข. วรรณกรรมใชอ ธบิ ายความเปนมาของพธิ กี รรม ตัวบทของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมบางประเภท นับไดวามีสวนชวยในการบอกความ เปนมาของพิธีกรรม แนวทางปฏิบัติในการประกอบพิธีกรรมตางๆ ตลอดจนเคร่ืองประกอบ พิธกี รรม ไวอยา งชดั เจน ตัวอยางของตัวบทวรรณกรรมท่ีชวยรักษาใหพิธีกรรมสามารถดํารงอยูได ดวยการบอก ความเปนมาของพิธีกรรม เชน บทเวนทานสลากภัตต ท่ีอธิบายถึงความเปนมาของพิธีกรรม

139 ทานกวยสลากภัตต ไววา มีท่ีมาจากเด็กเลี้ยงควายกลุมหนึ่งที่บริจาคหอขาวของตัวเองแดพระสงฆ แตเน่ืองดวยตกลงกันไมไดวาใครจะถวายใหพระภิกษุรูปใด จึงตองมีการทําสลากข้ึนมาแลวให พระสงฆเปนผูเลือกจับ หากจับไดของเด็กคนใดก็ใหเด็กคนน้ันนําหอขาวไปถวายทานให ซ่ึงการ ถวายทานในครั้งนี้ไดสงผลใหเด็กเลี้ยงควายประสบความสุขความเจริญทั้งในชาติน้ีและชาติหนา ดังตวั อยาง ไดสรางไวแ ตก อนเดมิ มา เรียกวา ทานขา วสลาก หากมอี านิสงสมากนักหนา เปนด่งั พระสัตถาเทศนาปางกอ น ขามลว งมาผอ นเมนิ นาน ในเชตวนั อารามแหง หอ ง อันมีในขงเขตทองเมอื งสาวตั ถี พระกเ็ ทสนา แกจ ตปุ รสิ ทุ ธะชที ังส่ี มารอดเถงิ ทีท่ ารกา วาอถกาเล ยังมีกาละเมอ่ื กอ น เดก็ นอยออ นทารกา เขาก็อยูคามาเขตหอ ง จาถูกตอ งฮาฮือ พากนั เอากระบอื เปนหมู แอวเลี้ยงอยูห ลงั ควาย แลวก็สะพายขาวหอ เปนนิจจะตอ ทึงวนั ตามรมิ สันและหนทางไคว ทจี่ ิม่ ใกลศ าลา เถงิ เวลาใกลเ ทีย่ ง ตาวันบดิ เบย่ี งสเู วหา หกนาฬิกามารอด ปลอยควายสอดลา หากิน ตามริมสันปากวาง สว นตัวเขาก็มายอบยง้ั อยใู นศาลา แลว กพ็ ากันเทกินยังภุญชาหอ ขา ว เบนหนารอสมุ กัน ไปเปน นิรันดรบ ขาด ทุกมอื้ หากดีหลี ฯ ยงั มีในกาละวนั หน่ึงเลา อะถะกาเล ก็พากนั เดนิ มคั คาหนทางใหญ เจา ภิกขเุ ผา วงศา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook