Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความเชื่อ การเวนตาน

ความเชื่อ การเวนตาน

Published by aun-li, 2019-12-01 23:05:32

Description: หนานอั๋นเวียงป่าขาม
กลางเวียงหริภุญชัยหละปูนแก้วกว้าง

Search

Read the Text Version

140 ยามรถลอ บไ ตไ ปมา เจา ภกิ ขทุ ังหลายกเ็ ทยี วดว ยปาทาตนี ไต มารอดทที่ างไควศาลา บไ ดร บั ภตั ตาขา วบาตร คราวนั้นหากไกลยาว เปน คราวทางรมิ ปา จกั ไปขา งหนาก็หากแควนไกล บา นไหนๆ ก็บม จี ม่ิ ใกล เทา เปน ปาไมอ ยูภูมพิ าํ ผอตาวนั ก็ดาใกลเ ท่ียง เทา หนั แตเดก็ นอ ยเลน สมุ กนั ทใี่ นศาลาย้งั จอด เจา ภกิ ขทุ ังหลาย กไ็ ปยอบย้งั อยูใ นศาลา บจาสันใดดกั อยู เด็กนอยหมทู ารกา เลง็ หันยงั เจา ภิกขุมาย้ังอยู ยังศาลาเปนหมูพ อ ยบอ ฟู ูปราศรยั เขากค็ ดึ ใจบอ อกปาก วาเจาภิกขุฝูงน้ี รอยบไ ดรบั ขา วบิณฑบาตและภตั ตาหาร ตา งคนตางมหี วั ใจบานบเ ศรา จึงเปกษากันเลาวา เราทังหลาย หากควรเอายงั หอ ขาวออกเปนทาน แกเ จา ภิกขฝุ ูงอนั เดนิ ทางยาวยาน ทานจกั ไปสบู า นกห็ ากแควนไกล เขากม็ าไขหอ ขาว แลวคนใดกว็ าจกั ทานเจา ภกิ ขุ ตนเคลาแกห มูท งั มวล เขาก็มาเจยี รจาคาํ ผิดผวนหลายเผา เจา ภกิ ขตุ นเคลาจิง่ บอกเลาไขจา วาสจู งุ เปก ษากนั ห้อื ทดั แมน ห้ือไปหาเอายงั หลาบไมแผน คนอนั แลวจุงเขียนนามังช่ือใส เอากองไวท ีเ่ ดียวกนั หื้อเปน สลากภัตตังสลาก แลวทานทงั หลาย จงุ ตง้ั คาํ ปรารถนาเอาตามใจ เขาก็ลุกไปไวบชา กําพรามีดถะฟน เอาคนอนั บใ หญ เขียนชอ่ื ใสเปน ตรา เรียกวาสลากภัตตาสลากแลว ก็เอากองไวท เ่ี ดียวกนั เขากม็ ายอหตั ถงั นอมไหว ปรารถนาเอาใจๆ วา

141 สุทนิ ฺนํ สลากภตฺตํมหผลํ โหตุ ดังน้ีชุคนๆ คนั วา ชอื่ แหง ตนตกเจา ภกิ ขตุ นใด เขากย็ กเอาปจ จยั ขา วหอ ยกย่นื รอ อวยทาน หมากเหมี้ยงตามนอ ยมาก อนั ติดแตบ านหากพามา ทน่ี ้ันเจาภกิ ขทุ ังหลาย กก็ ระทาํ ภัตตานโุ มทนาเมี้ยนแลว เขากพ็ ากันขคี่ วายคลาดแคลว คืนมา สูร ัฎฐาบานเกา เขาก็มอี ายเุ ลา เรว็ ไว กินทานไปบข าด เตชะอาจลอื ชา ดปู ญ ญาไววอ ง เปน ผูจบปลอ งดวยสปิ ปา อาจแกย งั อกั ขรปญ หานานาตา งๆ มหี ูตาสวา งบานงาม ก็ดวยเตชะอนั ไดห ้ือทาน ยังสลากภัตตะทาน อานิสงสอ นั นน้ั หากปรากฏหนั ทนั ตา คนั วา มา งปญ จขันธาเสีย้ งชพี ก็บห อนวาจกั ไดพลกิ จากเมอื งคน พาเอาตนเมอื เกิด ชั้นฟา เลศิ ตาวติงสา ในเวไชยาชน่ื ชอย มีนางฟาบน อ ยหมนื่ หกพันนาง หากเปนบรวิ ารบข าด ดวยอานสิ งสอ ันไดห อื้ ทานขาวสลากเปนทาน เมื่อพระสตั ถาไดม าตรัสประญา สพั พญั ตู ญั ญาณในโลก เปน พระโปรดโลกา เขากไ็ ดม าเปน อรหันตาตนวิเศษ ตดั กเิ ลสแลว ลวดนิพพานไป ก็เพอื่ อุปนสิ ัยไดห อื้ ทานยงั ขา วสลาก กุศลอันน้นั หากบเ หยหาย (บทเวนทานขา วสลาก,ทวี เขื่อนแกว . 2524 : 55) นอกจากตัวบทวรรณกรรมจะใชอธิบายความเปนมาของพิธีกรรมแลว ตัวบทวรรณกรรม ประกอบพิธีกรรมบางประเภท ยังไดกลาวถึงแนวทางปฏิบัติตนเนื่องในพิธีกรรมตาง ๆ ไวอยาง ละเอียดชัดเจน เชน บทเวนทานเจดียทรายเน่ืองในวนั ปใหมเมือง ไดกลาวถึงแนวทางในการปฏิบัติ

142 ตนเน่ืองในวันตางๆ ชวงเทศกาลปใหมเมืองไว เชน ในวันสังขารลองควรชําระลางรางกายและปด กวาดบานเรือนใหสะอาด ดังตวั อยาง คนั เถงิ ฤดูมนี ประเวศ ไปสูเ มษราษี ในตถิ ีขึ้น 15 คาํ่ เดือนเจด็ พร่ําเปน ตรา ในศาสนาพราหมณไตรเทพ ไดต ้ังเหตฤุ ดูคมิ หันต คันเถงิ วนั มารอด เขาก็กลาวบอกเปนวนั สงกรานต จักไดเปล่ียนนามอายุเลอ่ื นยา ยไป ฝูงคนทงั หลายกใ็ สใ จสระเกษ ในเขตทอ งโปกขรณี มหานทีแมนํ้า คนั เมี้ยนซาํ้ กพ็ อกคืนมา นุง วตั ถาผนื ใหม ทดั ดอกไมประดบั ตน ฝงู หมูค นก็มว นเลน สนุกตนื่ เตน เฮฮา เดินไปมาเทยี วสอด ตักนํ้าถอกหดกนั (บทเวนทานปใ หมเดอื นเมษา,ทวี เขือ่ นแกว . 2524 : 64) สว นในวันเนา ก็ใหช ว ยกันขนทรายเขาวัด ดงั ตวั อยาง ลูนวันสงั ขานตล อ ง ในโบราณแตก อนมมี า เมยี พระญากส็ รวมหอบอุม หัวเนา ผวั ตน ฝูงหมูค นก็เรยี กวา วนั เนา อันนักปราชญเ จากลาวเปนปาเวณี หากยังมวี นั เถลิงศักราช ฝงู คนทังหลายก็ประกาศทาํ บญุ ผาย ชกั ชวนกนั ขนทรายปด กวาด (บทเวนทานปใหมเ ดือนเมษา,ทวี เข่ือนแกว . 2524 : 64)

143 วนั พญาวัน กใ็ หไ ปทําบญุ ทวี่ ัดและดําหวั ผูใหญ ดงั ตัวอยาง เขากท็ าํ เปน รปู สถูปเจดีย พรอ งก็มปี รวิ ารลอมแวด นับ 7 – 8 ตามอายุใผมนั รอบหนา หลังหลายหลาก อันมอี ายมุ ากเจด็ สิบปลาย กย็ ังยายพรอมพรัง่ คนั วา แลว กฟ็ ง แสวงหา ยงั ธชคั คะแลทุงชอ หากเปน ดผี อ ดีคอย พรอ งก็หยิบปก ถักสอย ฉัตรใบลอยปก ยอด ใตเ หนอื ตกออกนอกพระวหิ าร คันวาเมยี้ นการกห็ ามายังดวงดอก ขา วตอกดอกไมลําเทยี น เครือ่ งของเทยี มมีมาก ทังหอ หมากเปนสวย ก็ดสู มเพิงทวยกับปใหม ทังโภชนะใสหลายอัน น้ําคูน้ําจันทสคุ นั โธ อมั พโิ ลทกะนาํ้ สม ปอยอนั บผ อนเสยี ไหน เพอ่ื จกั มาถวายแกพ ระตริ ตั นไตรแกว เจา ในกาละนเ้ี ลาจงุ เปน ปจ จยั ทังชาตนิ ช้ี าตหิ นา คือเมอื งคนแลเมอื งฟา มพี ระนพิ พานเปน ที่แลว ดหี ลี มลู ศรทั ธาทังหลายไดม าทาํ บุญ ปูชาคุณสมู าคารวะเฒา แก พอ แมค รบู าอาจารย เปนมหาปางอนั ใหญ เรียกวา ปใ หม 365 วันมาไคว เรานบั อายไุ ดเ ปนมหาลาภาโชคลาภ อนั เราหากกะทําบุญมาปก อ น ก็บผ อนสญู หาย ดว ยอานสิ งสท งั หลายจิง่ ไดม ารอด ชจุ อดประสุมชมุ นมุ กัน ไดมาฟงพระธรรมเปน หมู หอ้ื อายยุ ืนคูเมด็ หนิ เมด็ ทราย (บทเวนทานปใหมเ ดือนเมษา,ทวี เขื่อนแกว. 2524 : 64)

144 ตัวบทวรรณกรรมบางประเภทก็เปนการบอกใหทราบวาในการประกอบพิธีกรรมน้ัน ตองมี เครื่องประกอบพิธีกรรมใดบาง เชน บทเรียกขวัญ ชวงที่มีการกลาวชมเคร่ืองประกอบพิธีกรรม จะ แสดงใหเ หน็ วาในการประกอบพิธกี รรมเรยี กขวญั ตองมเี ครอ่ื งประกอบพธิ กี รรมใดบาง เชน ในพธิ สี ู ขวัญคูบาวสาว ก็จะมีการกลาวชมบายศรี ทําใหทราบวาในพิธีกรรมสูขวัญคูบาวสาวนั้น จะตอง เตรยี มบายศรีไวเ ปนเครอื่ งประกอบพิธีกรรมดว ย ดังตวั อยา ง พน่ี อ งมิตรแกว สหายคาํ กม็ าตกแตงงามดี เขาก็เยบ็ บายศรขี อบข้นั บดิ เปนมั่นหลายหลบื ช้นั ใสย องพาน สพั พะดวงดอกงามเขาก็เกบ็ มาแตง มีทงั ดอกสะแลงอนู ออมหอมไกล (บทเรียกขวญั คบู า วสาวของทวี เขอื่ นแกว,2541:175) อกี ตวั อยา งหน่ึงคือบทเรยี กขวญั คนหรอื สขู วญั คน ท่มี กี ารบรรยายถงึ เคร่อื งประกอบ พธิ กี รรมไวอ ยางละเอียด ดังตัวอยา ง ขวญั เหยขวญั ของกินมสี ะพาดใสเ หนอื พา มที ั้งสกุ ะรามนั ตะลาด มที ง้ั ไกต ม คงู ามชาตติ วั ป มที ั้งกันตะรีหนวยกลว ย คําหมากสว ยบายปนู พลู มที ัง้ ขาวสะดกู อนสะดยู อ ย น้ําออยออ ยดหู วาน มีท้ังขา วสารและขาวแช ปลาปง แลเปน ตัว ขนมหนวั ใสม ะพรา ว ขา วแคบราวใสม ันหมู ขาวตม กลว ยใสจานแบน ขนมอต่ี ูใสถว ย น้าํ ออ ยใสส นู งา ขนมแตนจนื ใหม เหมี้ยงสมอมแลวหากใจดี ไขมอนหนาสุกหลม พันแลว ถอดตองขาว มที ง้ั บหุ รพี่ ันตองยอด มที ัง้ นํา้ คแู ละนา้ํ จนั ทน ขมิน้ ออ ยเอาผิว ยงิ่ กวา สาวเขาพนั ฝากชู แมนจกั ใสช างก็ยงั เหลอื แด มที ั้งนา้ํ มนั และนา้ํ สม ปอ ย มีทัง้ ผาตาปง มว งแหล มที ง้ั คําปลวิ และเงนิ ลา น สสี ุกออนดแู ลบ แวน หวที าํ สอดกอ ยคําแดง หอมรสเลาหอมทวั่ เทาทอดงั ผอแทหากดวู อน ผา ขาวแขบขอ นไหมคาํ

145 ควนคา แพงบถ อย ขาวแคบออ ยหอมทอดงั ดอกดวงสังกม็ นี พ้ี ร่าํ พรอ ม มีทั้งดอกตะลอ ม คําแฮ ตายเหนิ แกบานตํา่ ยีป่ ุนผํา่ วรแดง ซอมพอแสงกง่ิ กอม บวั กาบคอ มบานงาม มีทัง้ ดอกนางกลายบานแบง สรอย มที งั้ ดอกซอนนอ ยบานตัน มีท้งั ดอกมะลวิ ันหอมแกน มีท้ังดอกบวั แวน งามถมถอง มที ้ังดอกตองและดอกงว้ิ บานแสดสว้ิ เม่อื ยามหนา มีทง้ั ดอกกวาวบานหลามกา น แมงภซู วา นมวั เมา ชมรสหนวั คลงึ เคลา แอว ไปมา สวนดอกไมท ง้ั หลายนัน้ นา ลางพอ งกห็ าได ลางพอ งกห็ าบได ดอกไมม หี ลายประการ ....................... (บทสขู วัญคน, นยิ ม สองสีโย. สมุดบนั ทึก) จากตัวอยางจะพบวามีการกลาวถึงเครื่องประกอบพิธีกรรมหลายชนิด ไดแก หมู (หลาย แหงใชแคบหมูแทน) ไกตมจํานวน 1 คู กลวย หมาก พลู ขาวสุก ปลาปง ไข ขนมตาง ๆ ดอกไมตาง ๆ ซึ่งเคร่ืองประกอบพิธีกรรมท่ีกลาวมาท้ังหมดนี้ลวนแลวแตเปนของท่ีใชประกอบ พิธีกรรมจริง ซ่ึงก็จะตองจัดเตรียมใหพรอม อยางไรก็ตามรายละเอียดปลีกยอยบางประการ เชน ดอกไมชนิดตาง ๆ ขนมชนิดตาง ๆ นั้น ผูแตงอาจแตงข้ึนเพื่อความไพเราะนาฟง ไมจําเปนจะตอง หามาจนครบทุกชนิดกไ็ ด ค. พธิ ีกรรมชวยสบื ทอดวรรณกรรมใหค งอยูในวัฒนธรรมลา นนา ดงั ทไ่ี ดก ลา วไปแลว ขา งตนวา ในการประกอบพธิ กี รรมแตละครัง้ น้ัน องคป ระกอบสําคัญที่จะ ทําใหการประกอบพิธีกรรมคร้ังนั้นสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี นอกจากเคร่ืองประกอบพิธีกรรม และ ผูประกอบพธิ กี รรมแลว ตัวบทท่ีใชในการประกอบพธิ ีกรรมกค็ ือวา มีความสําคัญมาก เพราะเปนสิ่งที่ ชวยใหก ารประกอบพิธีกรรมคร้ังน้ันสมบูรณแ บบ ดังน้ัน ทุกคร้ังท่ีมีการประกอบพิธีกรรม สิ่งหน่ึงที่ ขาดไมไ ด คือ ตวั บท เมื่อเปน เชนนัน้ ผวู ิจัยจึงคิดวา ตราบใดที่คนลานนา ยังมีการประกอบพิธีกรรม อยู กต็ อ งมีการนําเอาตวั บทหรือวรรณกรรมไปใชประกอบพิธีกรรม เมื่อเปนเชนนี้ จึงสามารถกลาว ไดวา การประกอบพิธีกรรมมีสวนชวยรักษาใหตัวบทยังคงอยูได เพราะตราบใดที่คนลานนา ยังมี การประกอบพธิ ีกรรมอยู ตัวบทของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมกจ็ ะยงั คงอยูเพ่อื ทาํ หนาที่ใหกับคน ลา นนาตอไป

146 ภาพรวมของผลการศึกษาในบทน้ี พบวาการประกอบพิธีกรรมและตัวบทวรรณกรรม ได สะทอนใหเห็นถึงภูมิปญญาของคนลานนาดานตาง ๆ ตลอดจนมีลักษณะเดนอีกหลาย ประการ นอกจากนั้นยังพบวา ท้ังการประกอบพิธีกรรม และตัวบทของวรรณกรรม ตางก็มี ความสัมพันธซ่ึงกันและกัน ขาดส่ิงใดส่ิงหน่ึงไปไมได เพราะ วรรณกรรมทําหนาท่ีอธิบายที่มาของ พธิ กี รรม ในขณะเดยี วกัน พธิ ีกรรมกช็ วยสืบทอดวรรณกรรมใหค งอยูเ ชนกัน

บทท่ี 5 คณุ คา การสบื ทอด และการดาํ รงอยูของวรรณกรรมประกอบพิธกี รรม จากท่ีไดกลาวถึงลักษณะเดนของพิธีกรรม และวรรณกรรมที่ใชประกอบพิธีกรรม ประกอบพิธีกรรม ไวในบทที่ 2 และบทที่ 3 จะพบวาลักษณะเดนประการสําคัญคือ ปจจุบันคน ลานนายังมีการประกอบพิธีกรรม และนําวรรณกรรมมาใชประกอบพิธีกรรม อีกท้ังใน การศึกษาวิเคราะหวรรณกรรม หากศึกษาเฉพาะตัวบท โดยไมสนใจถึงบริบทแวดลอมอ่ืน ๆ โดยเฉพาะในสวนที่เก่ียวของกับคนที่นําวรรณกรรมนั้นไปใช ก็อาจทําใหไมสามารถมองเห็น คุณคาและการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับวรรณกรรมไดมากนัก ดังนั้นในบทน้ี ผูวิจัยจึงขอ กลาวถึงวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมในบริบททางสังคม โดยพิจารณาถึง คุณคา การสืบทอด และการดํารงอยูของวรรกรรมประกอบพิธีกรรมในสังคมยุคปจจุบัน โดยใชกรอบคิดทางคติชน วทิ ยาหลาย ๆ ดาน มาชว ยศกึ ษาวเิ คราะห โดยผลการวเิ คราะห มรี ายละเอยี ดดงั น้ี 5.1 คณุ คา ของวรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรม 1) สะทอนใหเ หน็ ความคดิ ความเชอ่ื และลกั ษณะนิสยั ของคนลานนา ส่ิงท่ีเปนความคิด ความเชื่อ และความเปนตัวตนของคนลานนาในหลายๆ ดาน ไดสะทอนออกมาใหเห็นจากการประกอบพิธีกรรมและเนื้อหาของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม โดยเฉพาะความคิดความเชื่อในเรื่องของโลกศักดิ์สิทธิ์ นับตั้งแตความเช่ือเรื่องชีวิตหลังความ ตาย เร่ืองภพชาติ ความเชื่อเรื่องอํานาจศักดิ์สิทธ์ิ เทวดา และผีของคนลานนา ความเช่ือ เร่ืองเคราะห ความเชื่อเรื่องขวัญ ความปรารถนาของคนลานนา ความโอบออมอารี และ ความเอ้ือเฟอ เผอ่ื แผ ซ่งึ มีรายละเอียดดงั นี้ 1.1 ความเชอ่ื เรื่องชวี ติ หลังความตาย และเรอื่ งภพชาติ ในวิทยานิพนธเรือ่ ง “การศึกษาวเิ คราะหค าํ เวนทาน” ของไสว คํามลู (2548) ได กลาวถงึ ความเช่อื เร่อื งชีวิตหลังความตาย และเรอ่ื งภพชาติ ไวว า คนลานนามคี วามเช่ือวาชวี ติ หลงั ความตายมอี ยจู ริง กลาวคือหลังจากทค่ี นเราตายไปแลว กจ็ ะไปอยใู นอกี ภพภมู ิหนง่ึ โดยจะ ไดไ ปเพียงตวั เปลาไมมสี มบตั ิอะไรติดตวั ไปดวย ขา วของเคร่อื งใชต า งๆ ทจ่ี ะไดใ ชนนั้ ตองเปน ของทีต่ นเองไดเคยทาํ บุญถวายทานเอาไวเม่อื ครง้ั ทีย่ งั มีชวี ติ อยู หรือมคี นอ่ืนถวายทานมาให และเม่อื ชดใชเ วรกรรมหมดหรอื ถึงเวลาทเี่ หมาะสมก็จะไดไปเกิดอกี คร้ังในชาติหนา ความเชอื่ น้ี เองจึงเปน มลู เหตุสําคญั ประการหนึง่ ท่ีทําใหคนลานนาชอบทําบุญทาํ ทาน โดยหวงั วาผลบุญที่ ตนไดก ระทาํ นั้นจะสง ผลใหพ บกบั ความสุขในชาตหิ นา และความเช่อื ดังกลาวสะทอนใหเ หน็ วา การทําบุญของคนลา นนาไมไ ดป รารถนาจะพบกบั ความสขุ ในชาตินี้ แตเปนการทําบญุ เผ่อื ไวใ น ชาตหิ นา

148 การทําบุญโดยการอุทิศสวนบุญสวนกุศลไปยังภพหนานี้ ปรากฏชัดเจนในการประกอบ พธิ กี รรมเวนทาน โดยสามารถจําแนกรูปแบบการอุทศิ บญุ กศุ ลได 2 รปู แบบ คือ อุทิศใหตนเอง ในภพหนา ทเ่ี รยี กวา “ทานเสวยไปหนา ” และอุทิศใหผ อู น่ื ท่ลี ว งลับไปแลว การอุทิศใหตนเองในภพหนาหรือการทานเสวยไปหนาน้ัน หมายถึง เจาภาพหรือผูท่ี ถวายทานต้ังใจสงของที่ถวายใหไปรอท่ีชาติหนา เพ่ือที่วา เมื่อผูน้ันตายไปแลวไดไปอยูอีกภพ ภูมิหน่ึง จะไดใชของส่ิงน้ัน ไดผลบุญจากการถวาย หรือตองการไดรับความสุขตางๆ จาก อานสิ งสของการถวายทานนั้นๆ สวนการทําบุญอุทิศใหผูอื่นที่ลวงลับไปแลวนั้น สืบเนื่องมาจากความเชื่อที่วา แมวาผูท่ี เสียชีวิตไปแลวจะกลายเปนดวงวิญญาณซึ่งไมสามารถทําบุญไดเอง แตหากลูกหลานหรือญาติ พี่นองท่ียังมีชีวิตอยูไดทําบุญหรือถวายทาน แลวอุทิศสวนบุญสวนกุศลไปให ผูตายก็จะไดรับ สวนบุญสวนกุศลนั้นดวย ซึ่งลักษณะการถวายทานใหกับผูลวงลับไปแลวนั้นพบอยู 2 ลักษณะ ลักษณะแรกคือ ลูกหลานหรือญาติพ่ีนองเปนผูถวายทานแลวอุทิศสวนกุศลไปใหผูตาย และอีก ลกั ษณะหน่งึ คอื ใชช ื่อของผูตายเปน ผูถวายทานเอง การถวายทานโดยลูกหลานหรือญาติพี่นองเปนผูถวายทานแลวอุทิศสวนกุศลไปให ผตู ายน้นั หมายถึง ลกู หลานรับเปน เจาภาพในการทาํ บุญครัง้ น้ันแลวอุทิศผลบุญดังกลาวใหกับผู ที่ลวงลับไปแลว ลักษณะดังกลาว สามารถพบในการทําบุญหรือการเวนทานหลายโอกาส เชน การเวนทานสลากภัตต เวนทานขาวใหม เปนตน การถวายทานโดยใชชื่อของผูตายเปนผูถวายทานเอง หมายถึง ลูกหลานหรือญาติพี่ นองเปนผูจัดการและออกคาใชจายในการทําบุญในคร้ังน้ัน แตใชชื่อผูตายเปนผูถวายทานเอง ลักษณะดังกลาวสวนใหญจะพบในการสรางถาวรวัตถุท่ีสําคัญทางพระพุทธศาสนา ที่ตองอาศัย เงนิ บริจาคทีเ่ รียกวา “กําลังศรัทธา” ของคนจํานวนมากรวมกันบริจาคสราง โดยแตละคนรวมกัน เปนเจาศรทั ธา เชน การกอ สรา งวิหารวหิ าร บางคนอาจรบั เปน เจาภาพเสา บางคนอาจรับ เปนเจาภาพกระเบ้ืองมุงหลังคา บางคนอาจรับเปนเจาภาพหนาตางหรือประตู เปนตน ซ่ึง การรบั เปนเจาภาพนี้แมผูตายจะไมไดเปนผูรับเอง แตหากเคยสั่งเสียไวตั้งแตยังมีชีวิตอยู หรือ เพราะลูกหลานอยากใหผูตายรับเปนเจาภาพดวย ก็สามารถใชชื่อของผูตายเปนเจาภาพได โดยจะเขียนชื่อของเจาศรัทธาที่รับเปนเจาภาพในแตละสวนไวในสวนท่ีรับเหลาน้ัน แตรายชื่อ ดังกลาวอาจมิไดปรากฏอยูในคําเวนทาน ดังท่ีไดกลาวมาแลววาการทานในลักษณะนี้เปนการ ทานของสวนรวม ดังนั้น ในการเวนทานก็จะใชคําวา “ศรัทธาหมูบาน” นั้นๆ รวมเปน เจา ภาพ เปนตน

149 1.2 ความเชอ่ื เรอ่ื งอาํ นาจศกั ด์ิสิทธิ์ เทวดา และผขี องคนลา นนา การประกอบพธิ ีกรรมและวรรณกรรมประกอบพธิ กี รรมของลา นนา มสี ว นทส่ี ะทอ นให เหน็ วาคนลา นนา นอกจากจะนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาแลว ยังมกี ารนับถืออํานาจสง่ิ ศักดิส์ ิทธ์ิ เทวดา และผี โดยคนลานนาจะเชื่อวาผมี อี ยู 2 ประเภทหลัก (ไสว คํามลู ,2548) คอื ผีดีและผที ี่ ไมด ี ผจี ะมีอยปู ระจาํ ธรรมชาตแิ ละสิง่ กอสรา งทกุ ทีท่ กุ แหง นบั ตง้ั แตตนไม ภูเขา แมนาํ้ บา นเรือน วดั หมูบาน เมือง คนลา นนาจะเรียกผฝี า ยดวี า เทวดา ไดแก “ผีอารักษ” (ออกเสียงวา “ผีอาฮัก” ) เปนผีที่ดูแลรักษาในท่ีตางๆ เชน บานเรือน ที่อยู อาศัย แมนํ้า ถํ้า เปนตน หากรักษาหมูบานก็อาจจะเรียกวา “อาฮักบาน” “พอบาน” หรือ “เสอื้ บาน” สว นเทวดาที่รกั ษาวัด กเ็ รยี กวา “อาฮักวัด” หรือ “เสอ้ื วดั ” เทวดาที่รักษาในระดับเมืองนั้น เรียกวา “เจาเชนเมือง” อยางในกรณีของเมืองเชียงใหม เจาเชนเมืององคสําคัญๆ ไดแก เจาหลวงคําแดง เจาอารักษหลวงเมืองแคน (ออกเสียงวา “เมืองแกน” ปูแสะยาแสะ กุมภัณฑ พระยาชางเผือก พระยาราชสีห เปนตน (ตํานาน เชยี งใหมปางเดิม, 2537 : 40) เทวดาท่ีรักษาทวีปท้ัง 4 ไดแก อุดรขูทวีป (อุตรกุรุทวีป) ปุพพวิเทหะทวีป ชมพูทวีป อปรโคยานทวปี (อมรโคยาน) ทีเ่ รียกวา ทาวจตุโลกบาล ไดแก ทา วกุเวรหรือทา วเวสสวุ ัณณ ปกครองพวกยกั ษ ทา วธตรฐ ปกครองพวกคนธรรพ ทา ววิรุฬหก ปกครองพวกกุมภณั ฑ ทา ววิรูปกข ปกครองพวกนาค (สารานกุ รมวฒั นธรรมไทยภาคเหนอื เลม 15, 2538 : 7809) แมธรณี ตามความเชื่อของคนลานนาจะเช่ือวา เปนผูที่คอยจดจําการกระทําของคน เอาไว ไมว าจะเปนการทาํ บุญหรอื ทาํ บาป ดงั ขอความท่ีวา “แมธ รณตี นจําบญุ จําบาป ตนจาํ นาํ้ หยาดหมายทาน” เปน ตน พระพรหม เปนชื่อของเทพเจาผูสรางโลกตามคติในศาสนาพราหมณ แตใน พระพุทธศาสนานั้น พระพรหมแยกเปนสองพวก คือ พวกที่มีรูปรางและไมมีรูปราง พวกท่ีมี รูปรางเรียกวา รูปพรหม สวนพวกไมมีรูปรางเรียกวา อรูปพรหม (สถาบันราชภัฏเชียงใหม, 2539 : 528) พระอินทร เปนจอมเทพในสวรรคชั้นดาวดึงสและจาตุมหาราชิก มีความสงางามและมี อํานาจมาก วิมานของพระอนิ ทรช อ่ื ไพชยนตมหาปราสาท และมแี ทนบัณฑกุ ัมพลศลิ าอาสนเ ปน บัลลังกและเปนผูมีบทบาทสําคัญในการอุปถัมภพระพุทธศาสนา (อุดม รุงเรืองศรี, 2523 : 74–75)

150 ยักษ เปนเทพช้ันต่ําอยูระดับก่ึงกลางระหวางมนุษยกับคนธรรพ เปนบริวารของทาว กุเวร อาศัยอยูในอุตรกุรุทวีป นอกจากน้ันยังหมายรวมถึงอมนุษยจําพวกท่ีดุรายดวย (อุดม รุงเรืองศร,ี 2523 : 45) ยมบาล หรือ พระยม เปนผูท่ีเก่ียวของโดยตรงกับคนตาย โดยยมบาลจะเปนผูนําเอา บัญชีสวนตัวของบุคคลนั้นที่ระบุกุศลกรรมและอกุศลกรรมมาพิจารณา เพื่อการตัดสินใจลงโทษ ผูท ป่ี ระพฤติชัว่ ตามความเหมาะสม (อดุ ม รุงเรืองศรี, 2523 : 99) สําหรับผีหรือเทวดาท่ีปรากฏในวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมน้ันพบไดในวรรณกรรม หลายประเภท เชน บทข้ึนทาวท้ังส่ี ที่มีการบอกกลาววาจะมีการประกอบพิธีกรรมแก ทาวจตุโลบาลท้ังส่ี ไดแก ทาวเวสสุวัณณ ทาวธตรฐ ทาววิรุฬหก และทาววิรูปกข ตลอดจน พระอินทรและแมธรณี ดังตัวอยา ง สุณนั ตุ โภนโตเทวสังฆาโย ดรู าพระยาเจา ชตุ นชอุ งค คือพระยาธตรัฏฐะ ตนอยรู ักษาหนวนั ออกก็ดี พระยาวิรุฬหกะ ตนอยรู กั ษาหนใตก ด็ ี พระยาวิรปู กขะ ตนอยทู ิศหนวันตกก็ดี พระยากเุ วระ ตนอยหู นเหนือกด็ ี พระยาอินตาเจาฟา ตนเปนเจาเปนใหญ แกเ ทวดาสรวงสวรรคชัน้ ฟา มที าวทงั สีเ่ ปนตนประธาน พายต่ําใตม ีทา ววารณุ ะ และนางธรณเี ปนที่สดุ (ทวี เขอ่ื นแกว ,2541 : 145 – 147) นอกจากน้ี ความเชือ่ เรอื่ งผีและสง่ิ ศักดสิ์ ิทธ์ิยังปรากฏชัดเจนในบทเวนทานทกุ สํานวน ทัง้ ในสวนการอญั เชญิ เทวดา และสว นท่ีมีการอทุ ศิ สวนบุญสว นกุศล ที่ไดม กี ารกลา วถงึ เทพ เทวดา ตลอดจนสิง่ ศักดิส์ ทิ ธ์ติ า งๆ มากมาย นบั ตัง้ แต เทวดาท่รี ักษาอยู ณ ท่แี หงนัน้ เทวดา รกั ษาแมน าํ้ เทวดารกั ษาเหมอื งฝาย เจา เชนเมือง เทวดารักษากาํ แพงเมือง เทวดารกั ษาวดั พระพรหม เมขลา พระอินทร ทา วจตโุ ลกบาล พระยายมราช ยกั ษ แมธรณี ใหมารว มรับรู มารว มรบั อานิสงสอันเกดิ จากการทาํ บุญ และสถาปนาความศักดิ์สทิ ธิ์ ใหแ กพ ิธีกรรมการ เวนทาน ดงั ตวั อยางจากบทอัญเชญิ เทวดา อากาสฎฐ า จ พฺรหมฺ มา จ เทวา นาคา มหิทธฺ ิกา ปุ ญฺ ํ โน อนุโมทนตฺ ุ อญฺตุ โภนโฺ ต ฟงราเทพฺพกรณามวลหมู อันต้ังถอยอยูควู ิมาน สนุ ันตุจุงจักฟง เสียงสารขาจกั ปา ว ประวตั ิกลา วของทาน กับทงั เทวดา อันรักษายงั สณั ฐาน

151 แหงศรทั ธาชผุ ูช ุคน และเทวดาอนั รักษายังแมนาํ้ และฝายเหมอื ง อนั รกั ษาเจาเชนเมอื งชดุ า นดา ว อันรกั ษายังดา นดาวกําแพงเมือง และเทวดาอันรกั ษายงั วัดวาศาสนาชทุ ่ี อันรกั ษายังวดั ท่ีนีเ้ ปน ประธาน ทังพรหมเทวดา ช่ืนเชียงคราญใสสะอาด ทงั ปพพะตารกุ ขชาตสิ ายสนิ ธุ ทังเมขลา เชิญเทวดาทพิ เทพ จุง มานอมนว้ิ เนตรอนโุ มทนาทาน ทงั พญาอินทาปราบสองสวรรคชน้ั ฟา เฟอ ง ทงั ทา วเจ่อื งขนุ พรหม จตโุ ลกทงั สอี่ งคคราญ ตนใจหาญหาดหา ว ทงั ยมราชทาวและกันธปา อสรุ ีอสุรายกั โขยักขา เตชะมอี งคอาจ ทงั นางแมธ รณตี นจําบญุ ตนจาํ บาป ตนจาํ น้ําหยาดหมายทาน จุง มาภัตตาอนุโมทนาทาน แหงมลู ศรัทธาผูข าทังหลาย อันไดม าหื้อทานในทฆี ากาลบดั นี้ ชุผชู ุคนน้นั จุงมเี ท่ยี งแทด ีหลี (บทอญั เชิญเทวดา, พอหนานคํา ยิ่งโยชน. พบั สา) อกี ตวั อยา งหนึง่ คือการอทุ ศิ สวนบญุ สว นกุศล กม็ ีเนื้อหากลา วถงึ การอุทิศไปใหผีสาง เทวดา นับต้ังแตเ ทวดารกั ษาบาน เทวดารักษาเหมอื งฝาย เทวดารักษาเมอื ง เทวดา รักษาวดั พระพรหม พระอนิ ทร ยกั ษ แมธรณี ตวั อยา งเชน บุญราศีอันนนี้ ามมี าก จักอุทศิ ฝากไปหา ยงั เทวดาทังหลายมวลหมู อันรักษาเคหะคเู หยาเรอื น อันรกั ษาแมนํา้ ฝายเหมอื ง อนั รักษาบา นเมืองขงเขตหอ ง ผบั แผนทองชอู าณา รักษาวัดวาศาสนาเส้ยี งชูท่ี อันรักษาท่นี เี้ ปน ประธาน ทังพรหมเทวดาตนช่ืนเชยี งคราญใสสะอาด ปพพตารุกขชาตสิ ายสนิ ธุ ทังพรหมินททิพเทพ จงุ นอมนว้ิ เนตรโมทนา ทงั อนิ ทาตนปราบสองสวรรคฟ าเฟอ ง ทังทา นทาวคนั ธัพพา อสรุ าอสุรยี กั ขายักขี เตชะมีองอาจ ดั่งนางนาฏไธธรณี

152 จงุ มายนิ ดีจาํ น้ําหยาด เม่ือยามทานแทด ีหลี (คาํ เวนทานขา วใหมเ ดอื นสเ่ี พ็ง,ทวี เขอ่ื นแกว . 2524 : 58) จากตัวอยางที่ไดกลาวมาในขางตน ผูวิจัยคิดวา ความเช่ือที่ปรากฏในบทเวนทาน เหลาน้ี เปนส่ิงที่สะทอนใหเห็นวาคนลานนาท่ีแมจะนับถือพระพุทธศาสนา แตเมื่อพิจารณาจาก การประกอบพธิ กี รรมและเนอ้ื หาของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมหลายประเภทแลว ก็จะพบวา ความเช่ือเรื่องผีหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เคยนับถือมากอนการยอมรับนับถือศาสนาพุทธน้ันก็ยังคงมี อิทธิพลอยู และสามารถอยูรวมกันกับพระพุทธศาสนาไดอยางกลมกลืน แสดงใหเห็นอยาง ชัดเจนวา เดิมทีคนลานนามีความเช่ือและนับถือผีกันอยูมาก แมเม่ือรับพระพุทธศาสนาเขามาก็ มิไดหมายความวาความเชื่อที่เกี่ยวกับพุทธศาสนาจะเขามาแทนที่ผี เพียงแตรับมาอยูรวมกับ ความเชื่อเรื่องผี โดยยกใหความเชื่อทางพุทธศาสนาอยูในระดับหรือฐานะที่สูงกวาซ่ึงแสดงให เหน็ วาพุทธศาสนาของชาวบานลานนา เปนพุทธผสมกับผนี ่นั เอง 1.3 ความเชอื่ เร่ืองเคราะห การประกอบพิธีกรรมบางพิธีกรรม เชน พิธีกรรมสงเคราะห ไดสะทอนใหเห็นไดอยาง ชัดเจนวาคนลานนามีความเช่ือเร่ืองเคราะห และเช่ือวาเคราะหมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิต หากบางชวงที่ชีวิตประสบเรื่องที่ไมดีตางๆ ก็เชื่อวาชวงเวลานั้นกําลังมีเคราะห ดังน้ันจึงไดมี การประกอบพธิ ีกรรมสง เคราะหข้นึ เพ่ือชวยปดเปาสิ่งเลวรายหรือเคราะหกรรมตางๆ ใหผานพน ไป 1.4 ความเชื่อเร่อื งขวญั การประกอบพิธีกรรมบางพิธีกรรม เชน พิธีกรรมเรียกขวัญ ซ่ึงจะจัดขึ้นในกรณี เจาของ ขวัญเจ็บปว ย ประสบเหตุรา ยแรงมา หรอื กําลงั จะเปลย่ี นแปลงสถานภาพบางประการ ไดสะทอน ใหเห็นชัดเจนวาคนลานนา มีความเช่ือเร่ืองขวัญ วาเปนสิ่งที่มี สภาวะอยางวิญญาณท่ีสถิตอยู กบั คน หากขวญั ไปจากตวั บุคคลนั้นแลว จะทําใหเจาตัวไมสบายหรือแสดงอาการไมสมประกอบ ดังนัน้ จงึ ตองมกี ารจัดพิธกี รรมเรียกขวัญเพ่อื ใหเจา ของขวัญกลบั มามชี วี ติ เหมือนปกติ 1.5 ความปรารถนาของคนลา นนา คุณคา ประการหนง่ึ ของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม คอื ชวยสะทอนภาพสิง่ ท่ีเปนความ ปรารถนาของคนลานนาหลายประการ ทง้ั ทเ่ี ปน โลกยิ ะ และโลกตุ ระ ตวั อยา งทส่ี ะทอ นใหเ หน็ ความปรารถนาของคนลานนาในดานโลกยิ ะเหน็ ไดช ดั ในบทปน พร พรทีผ่ ูใ หญไ ดกลาวมอบ ใหแ กลูกหลานหรือผูนอ ยท่มี าดาํ หัวนั้น คอื ส่งิ ท่ตี นเห็นวา ดีงาม เปน ส่ิงท่คี ิดวา ผูฟง ปรารถนาที่ จะไดส่งิ เหลา นน้ั ถือไดว า เปนสิ่งทคี่ นในสงั คมปรารถนา ซึ่งก็ไดแก ความสุขความเจรญิ อายุ ยืนยาว ดงั ตวั อยาง

153 จงุ หอ้ื สมประกอบมโนปณธิ า และจุงหอ้ื มอี ายฑุ ฆี ายืนย่ิง โรคภยั สิ่งหนไี กล หื้อมวี รรณะใสสดชนื่ เปน ทีร่ กั และพอใจแกผอู ่นื เขาหนั หอ้ื มีความสขุ สันตทกุ คาํ่ เชา กาผิกาสุข เจตผกิ าสุขพรา่ํ พรอมบริบูรณ หอ้ื มกี ําลงั อดุ หนุนเตือมแถง อยาหื้อเหยี่ วแหงชุประกา หอ้ื สมดงั คําพรวานกลาวไว สมดั่งนกึ ไดชุประการเทยี่ งแทด ีหลี (ประเทอื งวทิ ยา,2549 : 2) สว นตวั อยา งที่สะทอ นใหเหน็ ความปรารถนาของคนลานนาในดานโลกตุ ระ เหน็ ไดช ัดใน บทเวนทาน ท่ใี นสวนทาย จะตอ งกลาวถึงสง่ิ ทป่ี รารถนาจะไดร บั ตอบแทนจากการถวายทาน ซ่ึง ส่งิ นั้นสะทอ นใหเห็นวาส่งิ ทเ่ี ปน ท่สี ดุ แหง ความปรารถนาของคนลา นนา กค็ ือ “นพิ พาน” หรอื ที่ คนลานนา เรียกวา “เมอื งแกว เนรพาน” ซึง่ ในทศั นะของคนลานนาคือเมืองแหงความสขุ หรอื เมอื งในอุดมคติ ไมใชน พิ พานทห่ี มายถึงการหลดุ พน และบางคร้งั ยงั มกี ารต้งั ความปรารถนาเผอ่ื ไววา หากยังไมถ ึงนพิ พานกข็ อใหม ีโอกาสไดเ กิดมาพบพระพุทธศาสนา ดังตัวอยา ง ดงั ตวั อยาง ขอไตเ ตาตามทวยไป บุญล้ําลน เกดิ จากทาน หอ้ื ข้ึนสูเสวยสวรรค พระวิหารหลังน้เี ลา กศุ ละพลิ าสสอ งใสศรี เปนปจจัยบันดาลชวยยู จูงเราเจา ขา แหนนาํ ไป สําเร็จโดยพลันอยาพลาด คอื วาเวียงแกว อมตะเนรพาน จงุ เปนปารมีแกกลา สูทสี่ ุขใจผองแผว ทุกมื้อเมอื่ เกดิ เปน กาย นบนอ มไหวตริ ตั นา เม่ือหวา ยสงสารบพ นเทอื่ ขอหือ้ หยั่งเชอ้ื แกวทังสาม หือ้ เราท้ังหลายไดเขา ใกล ดว ยอานุภาพแหง ทานา แมน จกั เกดิ มาก่เี ทือ่ มดั พันคาดอยูกบั ตวั หือ้ กลัวขามตอ บาป เอาตัวบรรลุรอดจอดเนรพาน หอื้ มปี ญ ญาอันฉลาด จุงมีเทีย่ งแทดหี ลี พนจากความเมามวั มืดบอด ในอนาคตะกาลอันจกั มาพายหนา (สงิ ฆะ วรรณสัย,2523 : 47-48)

154 อีกตัวอยา งหนง่ึ เชน แมน มลู ศรทั ธาผูขา ทงั หลาย ไดทานสลากภัตตคราวน้ีไซร ขอหอื้ ไดคํา้ ชูอุดหนุน โดยผลบุญกุศลบญุ ทาน บุญราศีอนั ไดส รา ง ขอหื้อสมใฝอ า งด่งั คาํ จา เมอ่ื ตายจากโลกาเขตหอ ง ขงเขตทองเมืองคน ขอหือ้ เอาตนผูขา หญงิ ชายใหญน อย หนุมเฒา คชู ายหญงิ ไปเกิดชนั้ ฟาเลิศเมืองสวรรค ถา เม่ือใดสมพารแกก ลา ขออวายหนา ไปรอด เมืองแกว ยอดมหาเนรพาน (คําเวนทานสลากภตั ต, พอหนานมา บูชาเนตร. 19 ตลุ าคม 2546) 1.6 ความโอบออมอารแี ละความเออื้ เฟอเผื่อแผ วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมหลายประเภทไดส ะทอนใหเห็นวา คนลา นนาเปน ผูท ่ีมี ความโอบออ มอารแี ละเอ้อื เฟอ เผอื่ แผแ กผ อู น่ื เสมอ เห็นไดจากการกลา วถงึ เจาภาพในพธิ กี รรมที่ เก่ยี วเน่อื งกับการทําบุญ เชน การเวนทาน การดําหวั การสืบชาตา นอกจากจะระบุชอื่ เจา ภาพทีเ่ ปนเจาภาพหลกั แลว ยังมกี ารกลา วถงึ ผทู ่ีเกยี่ วขอ งคนอน่ื ๆ อกี ดว ย เชน ลกู หลาน ญาติพ่ีนอ ง ดงั ตัวอยางบทปนพรสํานวนหน่ึงที่กลาววา เอวงั โหนตุ ดีแล อัชชาในวนั นค้ี ็เปนวนั ดี สังขารปเ กากล็ วงลนพน ไปแลว สงั ขารปใหมแกวพญาวนั กม็ ารอดมาเถงิ เทงิ ฑฆี ากาลวนั น้แี หละ บัดนก้ี ม็ ีอ่ีแกวเปน เคลา พรอ มดวยลูกเตา หลานเหลนคูผูค คู น ก็ไดสลงขงขวายตกแตง พรอ มนอมมายงั มธุบุปผาลาชาดวงดอก เขา ตอกดอกไมท ําเทยี น (ถอดความจากแถบบนั ทกึ เสยี งบทปน พรแมอยุ นาค เพิง่ เติง, 2551) นอกจากนี้ ในสวนของการรับบุญอานิสงสอันเกิดจากการประกอบพิธีกรรม ก็มีการ เผื่อแผบุญเหลาน้ันใหแกผูอ่ืนดวย ไมวาจะเปนส่ิงศักดิ์สิทธิที่ตนเคารพนับถือ พอแมหรือญาติ พี่นองมิตรสหายทั้งท่ียังมีชีวิตอยูและลวงลับไปแลว ตลอดจนสัตวเดรัจฉานหรือผูที่ตกทุกขได ยาก ซ่ึงการแผสวนบุญสวนกุศลนี้เองสะทอนใหเห็นวาคนลานนาเปนผูที่มีใจโอบออมอารี มี ความรักและเมตตาตอผูอนื่ ไมใชเ ปน คนเห็นแกต ัวที่ตองการรับผลบุญกุศลนั้นไวแตเพียงผูเดียว ตวั อยางท่ีเห็นไดช ัดเจนคือ บทเวนทาน ดังตวั อยา ง

155 เตชะกุศลมมี าก จักอทุ ิศฝากไปหา ปต ามารดา สามีภรยิ าพออยุ แมเฒา ทงั ลูกเตาหลานเหลน สบื สายเปนเชื้อชาติ สงั คญาติวงศา ปลู งุ อานาปา เขาเจา พรากหนา มรณาไป วางจิตใจไปบช า ง ตกคา งขอ งอยูหองอบาย ตายเปนผเี ปน เปรต ทุกขก ะเลสกะลงิ อยูในยา นนํ้าคูหา วัดวาศาสนาคามเขต หมิ เวศน บานเมืองเหมอื งฝาย ขอแผผายบญุ ไปรอด ขอไดพบยอดทางดี แมน กรรมเวรมปี างกอ น ขอลดผอนสูญหาย ขอแผผ ายไปไคว ชุนอยใหญหญงิ ชาย ฝูงอันตายจากโลก ขอพน โศกโศกา ขอเถงิ มัคคาอันย่ิง เถงิ เมืองแกวยง่ิ เนรพาน อยา ไดคลาดไดคลา น้ันจงุ จักมีเท่ยี งแทดีหลี ฯ (คาํ เวนทานกฐิน,ทวี เข่ือนแกว. 2524 : 119) ตัวอยา งการอทุ ศิ สว นบุญสว นกศุ ลใหก บั สัตวเ ดรัจฉาน แลว จกั อุทิศกุศลฝูงนไี้ ปหา ยังสรรพสตั ตามวลหมู อันตงั้ อยูในนาํ้ แลเหนือดิน สตั วบ ินบนหนอากาศ อันมูลศรัทธาไดฆาขาดจิตใจ ขอนาบญุ นไ้ี ซรจ งุ ไปรอด อยาหือ้ เขาเจา ไดข อดกรรมเวรา หื้อไดอ ยูส ุขเสถียรทีฆาผา นแผว ห้ือไดเปน มติ รแกว ตราบตอ เทา เนรพานแทดหี ลี (คําเวนทานปใ หมเ ดอื นเมษา,ทวี เขอ่ื นแกว. 2524 : 64)

156 1.7 เปน ตัวเชอ่ื มโยงความสัมพนั ธระหวา งภพภูมิ วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมหลายประเภท ทําหนาที่เสมือนเปนตัวเช่ือมโยง ความสัมพันธระหวางภพภูมิ เชน บทขึ้นทาวท้ังสี่ ที่มีเนื้อหากลาวถึงการบอกกลาวเชิงขอ อนุญาตแก พระอินทร ทาวทั้งสี่ ตลอดจนแมธรณี ซ่ึงอยูคนละภพภูมิกับมนุษย วาตนจะ ประกอบพิธีกรรมอะไร โดยใชวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมเปนส่ือกลางในการติดตอสื่อสาร ขามภพภูมิ นอกจากน้ียังมีบทเวนทาน ท่ีมีการเชื่อมโยงกับภพภูมิอื่น ๆ เชนกัน เชน การอัญเชิญ เทวดาและส่ิงศักด์ิสิทธ์ิท้ังหลายในภพภูมิตาง ๆ ใหมารวมเปนสักขีพยานในการประกอบ พิธีกรรมครั้งนั้น หรือ ในสวนของการอุทิศสวนบุญสวนกุศลก็มีการเชื่อมโยงความสัมพันธ ระหวางภพภูมิปรากฏอยูดวยเชนกันเพราะความเช่ือเรื่องการทําบุญของคนลานนานั้น เปน ความเชื่อตามพุทธศาสนาแบบชาวบาน การทําบุญทําทานท้ังหลายชาวบานจะเช่ือวาผลบุญจะ ตกมายังตัวผูกระทําในชาติหนาหรือภพหนา หรือไมก็สงผลไปยังญาติพ่ีนองท่ีตนตองการอุทิศ สวนบุญไปหา กลาวคือ มีเรื่องระหวางภพชาติเขามาเกี่ยวของ โดยพิธีกรรมที่ทําการถวายทาน นน้ั กระทาํ อยใู นภพปจจุบัน สวนผลท่ีไดรับน้ันเปนเรื่องของอีกภพหนึ่ง แลวสองภพนี้จะไมมีทาง เช่ือมโยงกันไดเลยหากไมมีการกลาวบทเวนทาน ดังน้ันบทเวนทานจึงทําหนาที่เปน เสมือนสะพานหรือตัวเชือ่ ม (mediator) ความสมั พนั ธร ะหวางสองภพใหโ ยงถึงกนั ได 1.8 เปนตวั เชอื่ มโยงความสมั พนั ธร ะหวางคนกบั คน คนกบั ชมุ ชน และชมุ ชน กับชุมชน คุณคาประการหน่ึงของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมคือเปนตัวเช่ือมโยงความสัมพันธ ระหวางคนกับคน คนกับชุมชน และชุมชนกับชุมชน ตัวอยางของการเช่ือมโยงคนกับคน เชน พิธีกรรมปนพรปใหม ท่ีในแตละรอบปสมาชิกแตละคนในชุมชน อาจแยกยายกันไปประกอบ ภารกิจของตน ไมว า จะเปนเร่อื งเรียน เรอ่ื งทํางาน ฯลฯ จนทําใหไมค อยมีเวลาไดพบปะกับญาติ ผูใหญ หรือพบปะกับสมาชิกของชุมชนคนอ่ืนๆ ดังน้ันชวงท่ีมีการจัดพิธีกรรมปนพรปใหม ซ่ึง ไดแกช วงเทศกาลสงกรานต ผูทเ่ี ดนิ ทางไปอยตู า งถน่ิ กจ็ ะกลบั มาบา น และรวมประกอบพิธีกรรม ดําหัว ทําใหมีโอกาสไดพบกับญาติผูใหญ ไดพูดคุยสอบถามสารทุกขสุขดิบกัน ซึ่งทางญาติ ผูใ หญเองก็มีความสุขมากเชนกนั ท่ีไดมีโอกาสพบกบั ลกู หลานท่ไี มไดพบกันนาน บางคร้ังในรอบ ปหน่ึงอาจมีโอกาสไดพบเพียงชวงสงกรานตท่ีมีการดําหัวน้ีเทาน้ัน อีกทั้งขณะที่ไปประกอบ พิธีกรรมดําหัวท่ีบานของผูเฒาผูแกหรือญาติผูใหญ อาจมีโอกาสไดพบปะกับคนอื่น ๆ ท่ี มารวมดาํ หัวผใู หญคนนั้นเชนกัน ตัวอยางการเชื่อมโยงระหวางคนกับชุมชน เชน พิธีกรรมสงเคราะหบาน และ พิธีกรรมสืบชาตาหมูบาน ซ่ึงเปนพิธีกรรมที่คนในชุมชนรวมกันจัดข้ึน โดยแตละคนจะชวยกัน

157 คนละไมละมือในการจัดเตรียมสถานที่ เครื่องประกอบพิธีกรรม ตลอดจนการนําของที่ตองใช ในพิธีกรรมรวมถึงเงินมาบริจาครวมกันดวย พิธีกรรมนี้ชวยทําใหคนในสังคม รูจักการเสียสละ การรวมไมรวมมือกันดวยความสามัคคี ชวงที่มีการจัดเตรียมงาน ตางฝายตางชวยกันทํางานก็ เกดิ ความเห็นอกเห็นใจกัน และไดมโี อกาสพูดคุยกัน ทําใหความสัมพันธแนนแฟน ชวงที่มีการ ประกอบพิธี ก็มีคนในชุมชนมารวมพิธีมากเชนกัน เสมือนเปนจุดนัดพบคนในชุมชนหลาย ๆ คนที่อาจไมคอยมีโอกาสไดพบกัน ไดพูดคุยไตถามสารทุกขสุขดิบกัน ทําใหความสัมพันธของ คนในสงั คมเปน ไปอยางสนิทสนมแนบแนน นอกจากน้ีพธิ กี รรม ยงั เปน ตัวเชอ่ื มโยงความสัมพันธระหวา งชุมชนกับชุมชน ดังเห็นได จากพิธีกรรมเวนทานเนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองถาวรวัตถุในพระพุทธศาสนา ของแตละชุมชน หรือ ที่เรียกวา ปอยหลวง ชุมชนอื่น ๆ หรือหมูบานอ่ืน ๆ ท่ีมีความสัมพันธท่ีดีตอกัน ก็จะสง ตัวแทนชมุ ชนมารวมในพธิ ีกรรมดว ย เรียกวา “หัววัด” ซ่ึงบางชุมชน จะมีหัววัดท่ีมีความสัมพันธ อันดีตอกันเรียกวา “หัววัดเติงกัน” (เติงกัน แปลวา ถึงกัน) มารวมพิธีกรรมนับรอยหัววัด ส่ิง เหลานี้ แสดงใหเห็นไดอยางชัดเจนวาพิธีกรรมเปนตัวเช่ือมโยงความสัมพันธระหวางชุมชนกับ ชมุ ชนไดเ ปนอยา งดี 2) ใหค วามรแู ละอบรมระเบียบสงั คม การประกอบพิธีกรรมสําคัญ ๆ หลายพิธีกรรม ข้ันตอนท่ีเรียกไดวามีความสําคัญมาก ทสี่ ดุ ขนั้ ตอนหนง่ึ คอื ขนั้ ตอนของการกลาววรรณกรรมประกอบพธิ กี รรม เชน พิธีกรรมเรียกขวัญ ชวงที่ผูคนจะใหความสําคัญมากท่ีสุดก็คือชวงที่ปูจารยหรือหมอขวัญกลาวเรียกขวัญ พิธีกรรม ดาํ หัว คนฟงกจ็ ะสนใจชว งทผ่ี ใู หญก ลา วบทปนพร พิธีกรรมเวนทานชวงท่ีผูมารวมงานจะตั้งใจ ฟง มากที่สุดกค็ ือชวงทีป่ ูจารยก ลา วบทเวนทาน เปน ตน จากตัวอยางที่ไดกลาวมาจะเห็นไดวาชวงที่มีการกลาววรรณกรรมประกอบพิธีกรรม เปนชวงท่ีผูมารวมพิธีใหความสนใจฟงเปนพิเศษ เพราะฉะน้ันเนื้อหาของวรรณกรรมประกอบ พิธีกรรม นอกจากจะถูกตองตามรูปแบบ และมีความไพเราะแลว จึงมักมีการแทรกความรู ตาง ๆ เขาไปดวย เพ่ือใหเกิดประโยชนแกผูฟง ซึ่งวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมในลานนา ก็มี โครงสรางที่เอื้อใหแทรกสิ่งเหลาน้ีลงไปอยูแลว เพราะมีโครงสรางแบบหลวม ๆ ยืดถือเพียง โครงสรางหลัก ๆ สวนรายละเอียดปลีกยอย ผูแตงหรือผูกลาวสามารถปรับไดตามความ เหมาะสม ดังน้ันจึงพบวา วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมในลานนา มีการแทรกความรูดานตาง ๆ ลงไปในตวั วรรณกรรม ไดแก 2.1 การอธิบายถงึ มูลเหตใุ นการประกอบพิธกี รรม การอธิบายถึงมูลเหตุในการประกอบพิธีกรรม ตลอดจนการยกตัวอยางใหเห็นวาใน อดีตมีผูท่เี คยถวายทานเชน น้มี ากอนจะไดรับอานิสงสอยางไร ผูวิจัยคิดวานอกจากจะเปนการให

158 ความรูแกสมาชิกในสังคมแลว ยังเปนการทําใหคนในสังคมไดตระหนักถึงความสําคัญของ พิธกี รรมดังกลาว และเมอ่ื เห็นความสําคญั ของพิธกี รรมแลวกจ็ ะนาํ ไปสูการมีสว นรว มในพธิ ีกรรม ตลอดจนชวยกันสืบสานใหพิธีกรรมเหลานั้นคงอยูตอไป ซ่ึงการอธิบายถึงมูลเหตุในการ ประกอบพิธีกรรมน้ี เหน็ ไดช ัดเจนจากบทเวนทาน โดยเฉพาะบทเวนทานเนอ่ื งในพิธีกรรมสําคัญ ทางพระพุทธศาสนา เชน บทเวนทานในพิธีกรรมถวายทานเจดียทรายวันพญาวันในชวง เทศกาลปใหมเมือง พิธีกรรมเขาพรรษา พิธีกรรมออกพรรษา พิธีกรรมถวายทานขาวใหม วนั เดือนสีเ่ พง็ พธิ ีกรรมถวายทานสลากภตั ต เปน ตน ตวั อยางหนึ่งจากบทเวนทานสลากภัตต ที่ไดยกนิทานเรอ่ื งเด็กเลยี้ งควายทไี่ ดเคยถวาย ทานตน สลากภตั ตในสมัยพทุ ธกาลจนเปน มูลเหตใุ หเ กดิ พธิ กี รรม นอกจากนีย้ งั มีการกลาวถึง การไดรบั อานิสงสจาการถวายทานครงั้ น้ัน ดงั ตวั อยา ง ไดส รางไวแ ตก อนเดิมมา เรียกวา ทานขา วสลาก หากมอี านสิ งสมากนักหนา เปน ดง่ั พระสตั ถาเทศนาปางกอ น ขา มลว งมาผอ นเมินนาน ในเชตวนั อารามแหง หอ ง อันมใี นขงเขตทอ งเมืองสาวตั ถี พระกเ็ ทสนา แกจ ตปุ รสิ ทุ ธะชที ังสี่ มารอดเถิงท่ที ารกา วาอถกาเล ยงั มกี าละเมอ่ื กอน เดก็ นอ ยออ นทารกา เขากอ็ ยคู ามาเขตหอ ง จาถูกตอ งฮาฮือ พากนั เอากระบือเปนหมู แอวเลีย้ งอยูหลังควาย แลว ก็สะพายขาวหอ เปนนิจจะตอทงึ วัน ตามรมิ สนั และหนทางไคว ท่จี มิ่ ใกลศาลา เถงิ เวลาใกลเท่ยี ง ตาวันบิดเบ่ยี งสูเวหา หกนาฬกิ ามารอด ปลอ ยควายสอดลาหากิน ตามริมสันปา กวา ง สว นตวั เขาก็มายอบยงั้ อยใู นศาลา แลวกพ็ ากนั เทกนิ ยังภุญชาหอขาว เบนหนารอสมุ กนั ไปเปน นิรันดรบข าด ทกุ มื้อหากดหี ลี ฯ

159 อะถะกาเล ยังมีในกาละวนั หน่ึงเลา เจาภิกขุเผา วงศา กพ็ ากนั เดินมัคคาหนทางใหญ ยามรถลอบไตไปมา เจาภิกขทุ ังหลายก็เทยี วดวยปาทาตนี ไต มารอดท่ที างไควศาลา บไดร บั ภตั ตาขาวบาตร คราวนั้นหากไกลยาว เปนคราวทางรมิ ปา จักไปขา งหนากห็ ากแควนไกล บานไหนๆ ก็บมจี ม่ิ ใกล เทาเปน ปาไมอ ยภู มู พิ ํา ผอตาวันกด็ าใกลเ ทีย่ ง เทา หนั แตเ ด็กนอยเลน สุมกนั ที่ในศาลาย้งั จอด เจาภกิ ขทุ งั หลาย กไ็ ปยอบยัง้ อยใู นศาลา บจ าสันใดดักอยู เดก็ นอ ยหมูท ารกา เลง็ หันยังเจาภิกขุมายั้งอยู ยงั ศาลาเปน หมูพ อยบอฟู ปู ราศรยั เขาก็คดึ ใจบออกปาก วาเจาภกิ ขฝุ งู นี้ รอยบไดร บั ขาวบิณฑบาตและภัตตาหาร ตา งคนตา งมหี วั ใจบานบเ ศรา จึงเปก ษากันเลา วาเราทงั หลาย หากควรเอายงั หอ ขา วออกเปนทาน แกเ จาภกิ ขุฝงู อันเดนิ ทางยาวยา น ทานจักไปสบู า นก็หากแควนไกล เขากม็ าไขหอ ขาว แลวคนใดก็วา จักทานเจาภิกขุ ตนเคลาแกห มทู งั มวล เขาก็มาเจียรจาคําผิดผวนหลายเผา เจา ภิกขุตนเคลา จิง่ บอกเลา ไขจา วา สจู ุงเปก ษากันห้ือทัดแมน หอ้ื ไปหาเอายงั หลาบไมแผน คนอนั แลว จุง เขยี นนามงั ชอ่ื ใส เอากองไวที่เดยี วกัน หือ้ เปนสลากภตั ตังสลาก แลวทานทงั หลาย จุงตัง้ คําปรารถนาเอาตามใจ เขาก็ลกุ ไปไวบช า กาํ พรามีถะฟน เอาคนอนั บใหญ เขียนชื่อใสเ ปน ตรา เรยี กวา สลากภัตตาสลากแลว กเ็ อากองไวท เ่ี ดยี วกัน เขาก็มายอหัตถงั นอมไหว ปรารถนาเอาใจๆ วา

160 สุทนิ นฺ ํ สลากภตฺตมํ หผลํ โหตุ ดงั น้ชี คุ นๆ คันวา ช่อื แหงตนตกเจา ภกิ ขตุ นใด เขาก็ยกเอาปจ จัยขาวหอ ยกยื่นรออวยทาน หมากเหมย้ี งตามนอ ยมาก อันตดิ แตบ า นหากพามา ที่นั้นเจา ภิกขทุ ังหลาย กก็ ระทําภตั ตานโุ มทนาเมีย้ นแลว เขากพ็ ากันขค่ี วายคลาดแคลวคืนมา สูรฎั ฐาบานเกา เขากม็ อี ายุเลา เรว็ ไว กนิ ทานไปบขาด เตชะอาจลอื ชา ดปู ญญาไววอ ง เปนผูจบปลองดวยสปิ ปา อาจแกยงั อกั ขรปญหานานาตา งๆ มหี ตู าสวางบานงาม ก็ดว ยเตชะอนั ไดห ้ือทาน ยงั สลากภตั ตะทาน อานิสงสอนั นั้น หากปรากฏหันทนั ตา คนั วา มางปญ จขนั ธาเสยี้ งชพี กบ็ ห อ นวา จกั ไดพ ลิกจากเมืองคน พาเอาตนเมือเกิด ชัน้ ฟา เลศิ ตาวตงิ สา ในเวไชยาชน่ื ชอ ย มนี างฟาบน อยหมืน่ หกพนั นาง หากเปนบริวารบขาด ดว ยอานิสงสอนั ไดห ้อื ทานขา วสลากเปนทาน เมอ่ื พระสัตถาไดม าตรสั ประญา สพั พญั ตู ญั ญาณในโลก เปนพระโปรดโลกา เขาก็ไดมาเปน อรหันตาตนวิเศษ ตดั กิเลสแลว ลวดนิพพานไป กเ็ พอื่ อปุ นสิ ยั ไดห้ือทานยงั ขา วสลาก กศุ ลอันน้นั หากบเ หยหาย (คาํ เวนทานขา วสลาก,ทวี เขื่อนแกว . 2524 : 55) 2.2 การใหค วามรูแ ละเสรมิ สรา งปญ ญาแกผูฟง คุณคาสําคัญประการหน่ึงของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมคือการใหความรูและ เสริมสรางปญญาแกผ ฟู ง เชน ความรูเร่ืองขั้นตอนการทํานา จากบทคําเวนทานขาวใหมเดือนส่ี เพ็งท่ีมีการกลาวถึงรายละเอียดการทํานาไวอยางละเอียด นับตั้งแตเร่ิมตนเตรียมขาวกลาและ ท่นี า เรอื่ ยไปจนกระท่งั กลายเปนเมล็ดขา ววา มขี ้นั ตอนอยา งไรบาง ดงั ตวั อยาง

161 บดั นศ้ี รัทธาทงั หลายชคู นๆ คันเถิงเวลาวสั สมาส ยามฝน กไ็ ดต กลงหาหลกั แหลง จดปา นแตงฝายเหมอื ง ห้อื น้าํ นองเนืองไหลหลอ ปา นพิงกอตดึ แปลง ห้ือแผน ดนิ แข็งนว มไน พากันฝน เชือกคราวใหญว าปลาย หายังควายหา งแอก แลว กแ็ รกไถนา ซายๆ ขวาๆ เลี้ยวรอบ เพ่ือหื้อดนิ ยบุ ยอบดีเฝอ เอาใจเจอื เครงหา ว ตีเรี่ยวคาวไปมา เถงิ สุริยาแดดแก เวลาแตยามขวาย ดปี ลดควายลอ นแอก ลอนเชอื กแบกไถหนี เถงิ วนั ดีแชข าว แลว กพ็ าเอาลกู เตา แลเมยี ฝดทาวเสยี ใสห มอ แชน้ําหลอไวเสียเฉย คันสามวนั เลยก็เอาออกไวบนบกห้อื งอก จ่ิงหาไมตอกอนั ดี กลัวงวั ควายควลี อมรัว้ คนั วาแลว ก็ขอพนี่ อ งมาชว ยจาน เพอ่ื หื้อดินดานแข็งหลมเหลียก แปลงเปนเผยี กหลายอัน สานตาแหลวใสคนั ปก หมายเผียก เพ่อื บหอื้ อนั ตรายเสียดสบั สนู เปน แตบ ญุ คํา้ หนนุ อุมหอบ ขา วกลานัน้ กอ็ อกเปนใบ กม็ าใสใจไถนาหอ้ื ไคว เอานํา้ ใสห ลายเหลือ หา งเอาเผือมาคา วเลา เพอ่ื ห้ือหญา เนา ดนิ ถม หือ้ หญา จมอยูพ้ืน ซาํ้ แตงฟนหลวงหลาย คนแลควายกพ็ ออิดหอบ ตราบตอ เทา รอดพอเดือน ใจฟนเฟอนเอาเทือก ใสเ ปยงเกลือกไปมา ดว ยมหงิ สาตวั ชํานาญบช า ซาํ้ หลกกลา ปลกู ยงั ยาย คนหญิงชายผะผาบ พรองหาบกลา ไปปน ไลเ ลยกนั หวั เหดิ โหร อ งเกดิ กลางนา พรอ งก็ดาไปกอนหนา พรองกาํ กลาปลกู ทวยไป

162 ตีนมอื ไวชักแกวง เลยไปแลนเปอะปะ ใครหวั ขะๆ หลอกเหลน เทยี วแวดเวน ไปมา คนยิงชายสาวบาว คนั วา แลว กเ็ อน้ิ ปาวกนั หนี กลา ขาวปก พ็ อ กลา ขา วดอกก็ ุม พ่นี อ งเตื่อมตมุ ยนิ ดี รักษาพาทีหือ้ สงู แลใหญ เอาน้ําใสป ด แปลงหื้อชอบ เอาหญา ออกปด ปว ใสใจมัวมืดกลมุ ตราบตอเทา เถิงเม่อื ขา วมาน ผดออกหนั ลวงลาย ทังขา วกาบซางทองเหลอื งใหญ แลขาวแกว ออกพน แลว เหมอื นดอกแขมดอกเลา ทังขาวนางแกว ขา วผาลน ขาวหลายช่อื พน นานา หันรวงมากม โกง คอมชทู งชนู า เมื่อมาเถิงเดอื นย่เี ดือนสาม ก็สุกเหลอื งงามชแู ง ตัวลูกแมแ กเ สมอกัน จง่ิ หาวนั ไปเกยี่ ว ไวเ ปนเฟาเห่ียวยายกนั ไดส ามสีว่ ันแหงหาว จ่ิงฟง ฟา วออกไปมัด หาบใสต าลางยายอยาด พากนั ฟด ฟาดเอาหบี บบุ ตี คนั วา แลว กห็ ะวเี ลือกหมดใส มีใจยินดตี อ พระแกวเจา (คําเวนทานขา วใหมเดือนสเ่ี พ็ง,ทวี เขื่อนแกว. 2524 : 58) อกี ตวั อยา งหนึ่ง เปนการใหความรูเกย่ี วกบั การเตรยี มควายไถนา วา จะตอ งเริ่มเตรยี ม ตงั้ แตช ว งเดือน 11 – 12 เหนือ โดยการระบายนํา้ เขา ทน่ี าใหเต็ม แลว เตรยี มผูกแอก ผกู เฝอ เขา กับควาย แลว ใชค วายไถนา เชน เม่ือเดอื น 11 สบื 12 ฝนตกนํา้ นองหาใหญ ไปแปงไปเอานํ้าใสเต็มนา เอาไถมากอ แรก เอาแอกมาใสย งั คอ เอาเชอื กปอมาผกู ไว หือ้ หมน้ั ไถเลยี บขอกดน้ั ตามรมิ คันนา ไถไปมาชคุ ํา่ เชา ตลอดตอเทา เสี้ยงเขตขะบวน บเทา แตน น้ั มา กเ็ อาไมม าแปงเฝอ

163 ห้อื มแี ถม 7 ซ่ี เพอื่ ห้อื ข้ีไถหลมแหลกเปนผง (บทสูขวญั ควาย, หนานเตจ า) 2.3 การปลกู ฝง ทัศนคติ และแบบแผนในการปฏิบัตติ นเน่อื งในพธิ ีกรรมตา งๆ คณุ คาของวรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรมอีกประการหนึ่ง คอื การชว ยปลกู ฝง ทัศนคติ อบรมส่งั สอน รกั ษามาตรฐานทางจรยิ ธรรม ตัวอยางทีเ่ หน็ ไดชัดเจน คอื การกลา วถึงแนวทาง ในการปฏิบตั ติ นในวนั ตางๆ ของชวงเทศกาลสงกรานต ทปี่ รากฏในบทเวนทานเจดยี ทรายวันป ใหมเ มอื ง ท่ีกลา ววา วนั สงั ขารลอง ใหอาบนาํ้ ชําระรา งกายใหสะอาดแลว กลบั มานุงผาใหม พรอมกับทดั ดอกไมใ หสวยงาม วันเนา ใหชว ยกันขนทรายเขาวดั สวนวันพญาวนั กใ็ หพากนั ไป รดนา้ํ ดําหวั ผูใหญ เปน ตน ตัวอยางการปฏบิ ัตติ นในวนั สงั ขารลอง คนั เถิงฤดมู ีนประเวศ ในตถิ ขี นึ้ 15 คาํ่ ไปสูเ มษราษี ในศาสนาพราหมณไตรเทเทพ เดอื นเจด็ พรํ่าเปน ตรา ไดต งั้ เหตฤุ ดูคมิ หนั ต คนั เถิงวันมารอด เขากก็ ลา วบอกเปนวันสงกรานต จักไดเ ปลย่ี นนามอายเุ ลอ่ื นยายไป ฝงู คนทังหลายก็ใสใจสระเกษ ในเขตทอ งโปกขรณี มหานทแี มน ้าํ คันเมีย้ นซ้าํ ก็พอกคนื มา นุง วัตถาผนื ใหม ทดั ดอกไมประดบั ตน ฝงู หมคู นกม็ ว นเลน สนกุ ตื่นเตนเฮฮา เดนิ ไปมาเทียวสอด ตักนาํ้ ถอกหดกัน (คําเวนทานปใ หมเดือนเมษา,ทวี เขอ่ื นแกว. 2524 : 64) ตวั อยา งการปฏบิ ัตติ นในวนั เนา ลูนวันสังขานตล อง เมยี พระญากส็ รวมหอบอุมหวั เนาผวั ตน ในโบราณแตก อ นมมี า อนั นกั ปราชญเจากลาวเปนปาเวณี ฝูงหมูคนกเ็ รียกวา วนั เนา ฝูงคนทังหลายก็ประกาศทาํ บญุ ผาย หากยังมีวนั เถลิงศกั ราช

164 ชกั ชวนกันขนทรายปด กวาด (คําเวนทานปใ หมเดอื นเมษา,ทวี เขอื่ นแกว. 2524 : 64) ตัวอยา งการปฏบิ ตั ติ นในวนั พญาวัน เขาก็ทําเปน รปู สถปู เจดยี  พรอ งก็มปี รวิ ารลอมแวด นบั 7-8 ตามอายุใผมนั รอบหนา หลงั หลายหลาก อันมีอายมุ ากเจด็ สิบปลาย กย็ ังยายพรอมพรงั่ คนั วาแลว กฟ็ ง แสวงหา ยังธชคั คะแลทุงชอ หากเปน ดีผอดคี อย พรอ งกห็ ยิบปกถกั สอย ฉตั รใบลอยปก ยอด ใตเ หนือตกออกนอกพระวหิ าร คันวา เมย้ี นการก็หามายงั ดวงดอก ขาวตอกดอกไมลําเทียน เคร่ืองของเทยี มมมี าก ทงั หอหมากเปนสวย ก็ดูสมเพงิ ทวยกับปใ หม ทังโภชนะใสห ลายอนั นา้ํ คนู าํ้ จันทสคุ ันโธ อมั พโิ ลทกะนาํ้ สมปอยอนั บผอนเสยี ไหน เพื่อจกั มาถวายแกพ ระตริ ตั นไตรแกว เจา ในกาละนเ้ี ลาจงุ เปนปจ จยั ทังชาตินชี้ าตหิ นา คอื เมอื งคนแลเมอื งฟา มีพระนพิ พานเปน ท่ีแลว ดหี ลี มูลศรทั ธาทังหลายไดมาทําบุญ ปูชาคุณสูมาคารวะเฒา แก พอแมครูบาอาจารย เปนมหาปางอนั ใหญ เรียกวา ปใ หม 365 วันมาไคว เรานับอายไุ ดเ ปน มหาลาภาโชคลาภ อันเราหากกะทําบุญมาปกอ น ก็บผอนสญู หาย ดว ยอานสิ งสทังหลายจ่งิ ไดมารอด ชจุ อดประสมุ ชมุ นุมกนั ไดม าฟงพระธรรมเปนหมู หื้ออายุยนื คเู มด็ หินเมด็ ทราย (คาํ เวนทานปใ หมเดอื นเมษา,ทวี เข่อื นแกว . 2524 : 64)

165 2.4 ปลกู ฝง ใหคนมีความกตญั ูกตเวทแี ละมีความนอบนอมถอมตน พิธกี รรมหลายประเภท ถือไดวามีคุณคาในการปลูกฝงใหคนมีความกตัญูกตเวทีและมี ความนอบนอมถอมตน เชน พิธีกรรมปนพรปใหม ท่ีในแตละปผูนอยจะนําขาวของตาง ๆ ไป มอบใหแกผูใหญเพื่อแสดงความระลึกถึง และแสดงความกตัญูกตเวที ผูใหญก็จะปนพรให ดวยความเมตตาเอ็นดู อยางเชนกรณีของลูกหลานที่ตองเดินทางไปอยูในตางถิ่น ในหนึ่งปอาจ ไมมีโอกาสไดพบกับผูใหญเลย ดังนั้นอยางนอยในหน่ึงป ก็ควรท่ีจะหาโอกาสมาพบทานบาง และโอกาสทีด่ ีและคนสวนใหญนิยมกลับบานมาแสดงความรัก ความเคารพ ความกตัญูกตเวที ตอผูใหญก็คือชว งเทศกาลสงกรานตซ ่ึงเวลาไปเย่ียมผูใหญก็จะถือโอกาสประกอบพิธีกรรมดําหัว แลวผูใหญก็จะปนพรหรือใหพรกลับมา นับวาเปนพิธีกรรมที่ชวยสงเสริมใหคนในสังคมมี ความสัมพันธท ก่ี ระชับแนนแฟน มคี วามรักและความเออ้ื อาทรตอกนั อีกพิธีกรรมหน่ึง คือ พิธีกรรมสูขวัญควาย ซ่ึงจะพบวาเปนการกลาวขอขมาแกควาย ซง่ึ ถือวาเปน สัตวทมี่ ีพระคณุ ในการชวยทาํ นา เพราะหากไมม คี วาย ก็จะไมไ ดท ํานาและไมมขี า ว คนลานนา ไดกระทําเปนตัวอยางใหลูกหลานไดเห็นถึงการรูจักกตัญูตอผูมีพระคุณแมกระท่ัง สัตวเ ดรรัจฉาน ท่ถี งึ แมจะเปน เพียงแคสตั วแ ตเ มือ่ มพี ระคุณ ก็ตองรูจักกตญั ู นอกจากน้ีอาจพบในพิธีกรรมขึ้นทาวท้ังส่ี ที่จะพบวาในการประกอบพิธีกรรมสําคัญๆ ทุกครั้ง จะตองมีการประกอบพิธีกรรมข้ึนทาวท้ังส่ีเพ่ือบอกกลาวแกส่ิงศักด์ิสิทธ์ิกอน พิธีกรรมน้ี ไดปลูกฝงใหคนลานนา รูจักมีสัมมาคารวะ ออนนอมถอมตน รูจักขออนุญาตและบอกกลาวแก ผใู หญก อ นที่จะทําการใดๆ 2.5 เปนชองทางใหค นในสังคมไดมโี อกาสปรับความเขา ใจกัน พิธีกรรมที่เห็นไดชัดเจนที่สุด วามีคุณคาในการเปนชองทางใหคนในสังคมไดมีโอกาส ปรับความเขาใจกัน คือ พิธีกรรมปนพรปใหม คือเวลาอยูดวยกันในสังคม ก็เปนธรรมดาที่อาจมี การกระทบกระท่ังกันบาง และเม่ือกระทบกระทั่งกันแลว หากไมมีการปรับความเขาใจกัน ความสัมพันธของคนในสังคมก็จะเปนไปในทางท่ีไมดี สงผลทําใหอยูในสังคมอยางไมมีความสุข การมีโอกาสไดปรับความเขาใจกัน โดยฝายหนึ่งยอมขอโทษ อีกฝายหน่ึงก็ยอมใหอภัย จึง นับเปนทางออกท่ีดีที่จะทําใหความสัมพันธกลับมาดีดังเดิม แตบางคร้ัง คูกรณีกันบางคนอาจ อยากขอโทษ บางคนอาจอยากใหอภัย แตไมมีโอกาส ไมมีชองทางใหทํา ดังนั้น พิธีกรรม ปน พรเนื่องในโอกาสท่ีอกี ฝายหน่ึงมาดําหัวและขอขมาน้ันจึงเปนชองทางสําคัญที่ชวยทําใหผูท่ีมี เรอ่ื งผดิ ใจกนั ไดมีโอกาสไกลเกลี่ยกันใหเขาใจกัน ซ่ึงผูวิจัยคิดวา บางคร้ังหากไมมีพิธีกรรมปน พรปใหมนี้ บางคนที่อยากจะปรับความเขาใจกัน อาจไมมีโอกาสไดทําเลยก็ได จึงนับไดวา พิธีกรรมปนพรเปน พธิ กี รรมหนึ่งทมี่ คี ณุ คา ในการชว ยทาํ ใหส ังคมนา อยู

166 3)รกั ษาและเยียวยาจติ ใจแกคนในสงั คม คุณคา สําคัญประการหนงึ่ ของวรรณกรรมประกอบพธิ กี รรมคือ การรักษาเยียวยาจิตใจ ใหแกผูท่ีกําลังตองการกําลังใจเปนอยางยิ่ง ซึ่งอาจจะเปนผูปวย ผูที่กําลังจะเปล่ียนผาน สถานภาพ เชน บวช แตงงาน บุคคลเหลานี้จําเปนจะตองมีการประกอบพิธีกรรมให เพ่ือให เกิดกําลังใจในการตอสูใหผานพนชวงเวลาเหลาน้ันไปได เชน พิธีกรรมสงเคราะห พิธีกรรม เรยี กขวัญ พธิ กี รรมสืบชาตา เปน ตน วรรณกรรมประกอบพิธีกรรม มีสวนชวยเยียวยาจิตทั้งในสวนท่ีเปนพิธีกรรมและสวน ท่ีเปนเน้ือหาของวรรณกรรม สวนท่ีเปนพิธีกรรมมีสวนชวยในการเยียวยาจิตใจคือ ในการ ประกอบพิธีกรรมหลายพิธี เจาภาพไมสามารถจัดเตรียมเครื่องประกอบพิธีกรรม หรือประกอบ พิธกี รรมเพียงคนเดียวได เพราะเครื่องประกอบพิธีกรรมแตละชนิดตองใชในจํานวนท่ีมาก เชน ใชหมากจํานวน 108 คํา พลูจํานวน 108 คํา บุหร่ีจํานวน 108 มวน เปนตน ดังน้ัน จึง ตองมีคนอ่ืน อีกหลายคนมาชวย พิธีกรรมจึงจะสามารถจัดข้ึนได เม่ือมีคนมาชวยกันหลายคน ก็มโี อกาสไดพูดคุยกนั ปลอบใจกัน ทําใหผ ูปวยมีกําลังใจมากข้ึนยกตัวอยางเชน การประกอบ พิธีกรรมสงเคราะหคน กรณีที่มีใครไปประสบอุบัติเหตุมา อาจมีการเจ็บปวยทางกายและ ความตระหนกตกใจหรือเสียขวัญดวย เมื่อมีการประกอบพิธีกรรม สงเคราะหญาติพ่ีนองหรือ เพื่อนบานก็จะตองมาชวยกันจัดเตรียมเครื่องประกอบพิธีกรรม ผูวิจัยคิดวาการท่ีผูประสบ เคราะหไดเห็นญาติพ่ีนองหรือเพื่อนบานมาชวยกันเตรียมงานใหแกตนหลาย ๆ คน ตลอดจน การไดมีโอกาสพบปะพูดคุย ไตถามสารทุกขสุขดิบ พูดปลอบโยนใหกําลังใจกัน สิ่งนี้ชวย เยียวยาจิตใจใหผปู ระสบเคราะหม สี ขุ ภาพจิตที่ดีข้ึน สวนเนื้อหาของวรรณกรรม ก็มีสวนในการชวยเยียวยาจิตใจเชนกัน เพราะมีการใช ภาษาท่ีสละสลวย มีทวงทํานองในการกลาวที่ไพเราะ ตลอดจนมีเน้ือหาท่ีคอยปลอบประโลมใจ ใหเกิดความรสู ึกสบายใจและมีกําลงั ใจ เม่อื ไดฟง กจ็ ะมีสภาพจิตใจที่ดขี นึ้ ดวย ตวั อยา งเนือ้ หาของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมท่ไี ดฟงแลว เกิดความรูส กึ สบายใจและมี กําลังใจมากข้ึน เชน บทเรียกขวัญ ทีไดกลาววา เม่ือเคราะหตาง ๆ ไดหมดไปแลวก็จะกลับ กลายเปน ส่งิ ดๆี ตา งๆ ในชีวติ ดงั ตัวอยา ง หูรู หูรู สวาหาย เม่ือสัพพเคราะหท ังหลายไดค า ยออก ห้ือตกไปยังขอกฟาจักรวาล ไปอยูส ถานทแ่ี ผน ดินสุดไกล และหากตวั ใดไดกลับเปนปาปเคราะหแลว ขอจงุ ไดค ลาดแคลว มาเปน โสมะ และตวั ใดหากเปน โสมะแลว ก็ดี ขอจงุ เปนศรนี าํ มายงั โชคป โชคเดือน โชควนั โชคยาม อายปุ  อายเุ ดือน อายุวัน อายยุ าม ห้อื มีอายุหม้ันยนื ยาว รอ ยซาวขวบเขา วัสสา

167 ไดอยูคํ้าชูศาสนาไปไจๆ หอื้ ไดส วสั ดี แดเ ทอะ แมน จักอยูกห็ ื้อทีฆามชี ยั แมนจักไปก็หอื้ มีโชคลาภ ปราบแพศตั รู หลับตากห็ ือ้ ไดเ งินหมื่น ต่ืนก็หอ้ื ไดค าํ แสน ไดเปนเศรษฐเี จา เงินเจาคํา เจา ชา งเจา มา มขี าหญงิ ชาย ไปทางใดกม็ คี นหมุ คนรัก แมนจกั ปรารถนาสิ่งใด ก็ห้อื ไดสิ่งนั้นชุประการ จุงจักมเี ทยี่ งแทด หี ลี ดงั พระมนุ ีตนประเสริฐ อันลํา้ เลิศยิง่ กวาโลกโลกา (ญานสมปนโน: มปป.76-77) 4) แสดงใหเหน็ ถึงอตั ลักษณข องความเปนคนลา นนา พิธีกรรมเปนสวนสําคัญในวัฒนธรรมที่ใชสรางอัตลักษณของกลุมชนหรือชาติพันธุ เมื่อ เรานึกถึงพิธีกรรม เราจะนึกถึงกลุมชนหรือชาติพันธุท่ีเปน “เจาของ” พิธีกรรมน้ันไปดวย (ศิรา พร ณ ถลาง, 2548 : 340) และผลการศกึ ษาคร้ังนี้ไดพบวา การประกอบพิธีกรรมหลายพิธีกรรม มีเพียงในลานนาเทาน้ัน ไมวาจะเปนพิธีกรรมสืบชาตา พิธีกรรมเวนทาน พิธีกรรมข้ึนทาวท้ังสี่ ฯลฯ ซ่งึ พธิ กี รรมเหลา น้นั ไดแสดงใหเ ห็นถึงอัตลักษณของความเปนคนลานนา เพราะคนกลุมอ่ืน ทีไ่ มใ ชค นลา นนา จะไมม ีการประกอบพิธีกรรมดงั ทไี่ ดก ลา วมา การแสดงใหเห็นถึงอัตลักษณของความเปนคนลานนาจากการประกอบพิธีกรรมนี้ สามารถมองเห็นไดท้ังการสรางอัตลักษณในพื้นที่เดียวกัน คือ ในดินแดนลานนา ไดแก 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน และการสรางอัตลักษณตางพ้ืนที่ ในพื้นที่ลานนาปจจุบันมีคนจาก ถิ่นอื่นมาอาศัยอยูเปนจํานวนมาก ท้ังคนอีสาน คนใต คนภาคกลาง และชนเผาตาง ๆ หลาย คนมาอาศัยอยูนานจนสามารถพูดคําเมืองไดคลองแคลว บางคร้ังหากพิจารณาที่ภาษาพูดอาจ ไมสามารถจําแนกไดวาเปนคนลานนาหรือไม แตส่ิงหน่ึงท่ีสามารถชวยจําแนกไดชัดเจน คือ การประกอบพิธีกรรม ครอบครัวใดท่ีไมมีการประกอบพิธีกรรมท่ีแสดงออกถึงความเปนคน ลานนา เชน แกพิธีกรรมสืบชาตา เวนทาน ข้ึนทาวท้ังสี่ ก็อาจอนุมานไดวา ครอบครัวนี้อาจ ไมใชคนลานนาแตกําเนิด อาจยายมาจากถิ่นอ่ืน หรือในบางคร้ัง อาจมีการประกอบพิธีกรรม คลายกันก็จริง แตรายละเอียดในการประกอบพิธีกรรมท่ีแตกตางกันไปก็สามารถช้ีใหเห็นถึง ความเปน คนลา นนาได เชน การประกอบพธิ ีกรรมปน พรเน่อื งในวันสงกรานต หากเปนคนภาค กลาง ก็จะนํานํ้าไปรดท่ีมือของผูใหญ แตหากเปนคนลานนา ก็จะนํานํ้าขม้ินสมปอยมอบให ผใู หญ แลว ผใู หญทา นจะนาํ มือจุม ลงไปแลวลบู ทีศ่ ีรษะของทา นเอง เปน ตน อยางไรก็ตาม ผูวิจัยคิดวาแมการประกอบพิธีกรรมจะเปนตัวช้ีวัดหน่ึงท่ีแสดงใหเห็น อัตลักษณของความเปนคนลานนา แตอัตลักษณดังกลาว ในบางครั้งอาจเกิดการสรางขึ้นใหม โดยคนตางถิ่น เพ่ือใหสังคมเกิดการยอมรับวาตัวเองก็เปนคนลานนา เชน หลายครอบครัว

168 ท่ียายมากจากถ่ินอื่น แลวมาอยูรวมกับคนในสังคมลานนา หากตองการใหคนในสังคมยอมรับ วาตนกเ็ ปนสว นหนึง่ ในสังคม ก็อาจมีการประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ดังที่ไดกลาวมา เพื่อแสดงให เห็นวาตนกเ็ ปน คนลานนาเหมือนกัน ซึง่ ในสวนนี้ก็ถือวาเปนการพยายามสรางอัตลักษณใหเกิด ข้นึ มาเพอื่ คนเปน ทย่ี อมรับในสังคมนั่นเอง อีกกรณหี น่ึง คือ การสรางอัตลักษณนนอกพ้ืนที่ เชน กลุมคนลานนา หรือ กลุมคนเมือง ท่ีไปทํางานหรือไปอยูอาศัยในถิ่นอ่ืน อาจมีการรวมกลุมกันประกอบพิธีกรรมบางพิธีกรรม ท่ี คนในทองท่ีน้ัน ไมทํากัน เชน ในทุก ๆ ป กลุมคนลานนาในกรุงเทพมหานคร จะรวมตัวกันจัด พิธีกรรมทานกวยสลาก ท่ีวัดเบญจมบพิตร กรุงเทพฯ ซึ่งผูมารวมพิธีกรรมสวนใหญก็เปนคน ลานนาทัง้ นนั้ สิง่ น้กี ส็ ะทอนใหเห็นวาแมจ ะไปอยูต า งถิน่ แตก็ไมเคยลืมรากฐานทางวัฒนธรรม ท่ีแสดงออกมาในรูปของการประกอบพิธีกรรมแบบคนลานนา นอกเหนือจากนั้น ในบาง สถานการณหรือบางโอกาส คนลานนา ก็ตองการแสดงตัวตนของความเปนคนลานนาออกมา ซึ่งการประกอบพธิ กี รรมท่มี ีเฉพาะในลานนา แตไ มมใี นถ่นิ อน่ื เชนพธิ ที านกว ยสลากน้ี กเ็ ปน การ แสดงใหเห็นถึงอัตลักษณความเปนคนลานนา ไดอยางชัดเจน นอกจากน้ียังเปนการแสดงให เห็นไดอยางชัดเจนวา คนลา นนา ยายถ่ินไปอยทู ีใ่ ดบา ง โดยสังเกตจากการประกอบพธิ กี รรม 5.2 การสืบทอด ในวิทยานิพนธเรื่อง “การศึกษาวิเคราะหคําเวนทาน” ของไสว คํามูล (2548) ได กลาวถึงการสืบทอดวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมประเภทบทเวนทานไวอยางละเอียด ซ่ึงผูวิจัย คิดวารายละเอียดหลายประการสอดคลองกับการสืบทอดวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมท่ัวๆ ไป ดังน้ันจึงขออนุญาตนํารายละเอียดจากวิทยานิพนธเร่ืองดังกลาว มาอธิบายถึงการสืบทอด วรรณกรรมประกอบพิธีกรรม ซึ่งในท่ีน้ี จะขอกลาวถึงการสืบทอดเน้ือหาและการสืบทอด ทวงทํานองของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม โดยไดจําแนกการวิเคราะหออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมของผูใหการสืบทอด และกลุมของผูรับการสืบทอด ซึ่งในแตละกลุมมีรายละเอียด ดงั นคี้ ือ 1) ผูใ หก ารสืบทอด วรรณกรรมประกอบพิธกี รรมสวนใหญจ ะถูกบนั ทึกและเกบ็ ไวท ีป่ ูจารยซ ่งึ เปนผปู ระกอบ พิธกี รรม ดังนน้ั ผูท ่จี ะทาํ หนาท่เี ปนผใู หการสืบทอดวรรณกรรมประกอบพิธกี รรม จงึ เปนปจู ารย ซึ่งอาจเปน ปูจ ารยรุน เกา ท่มี ีความเชย่ี วชาญ มคี วามรู และมเี อกสารบันทึกวรรณกรรมประกอบ พิธกี รรมไวมากพอสมควร แตว า พน จากตาํ แหนง ไปแลว ซ่ึงการพนจากตําแหนงนน้ั สามารถ จาํ แนกไดเ ปน 2 กรณี ไดแ ก กรณที ี่เสยี ชวี ติ กับกรณที ย่ี ังมีชีวิตอยู โดยในแตละกรณจี ะมกี าร สบื ทอดทีต่ างกัน

169 กรณที ีป่ จู ารยคนเกาเสียชวี ติ ไป จะสามารถสืบทอดไดเ พยี งดานเนื้อหาเทานัน้ จาก เอกสารที่ใชบนั ทกึ วรรณกรรมไมวาจะเปน พบั สา หนังสอื หรอื สมุดจด โดยจะมกี ารจัดการกับ เอกสารเหลา น้ีหลายวธิ ี ไดแก 1. เผาไปพรอ มกับเจาของ โดยมีความเชื่อวา เปนสมบตั ิทที่ านหวงแหน หรอื ทานอาจจะ ไดนาํ ไปใชในอกี ภพภูมิหนึ่ง และสาเหตสุ าํ คัญอกี ประการหน่งึ คือลกู หลานเห็นวา ไมม ีใครจะเกบ็ รกั ษาหรือสบื ตอเอาไวได 2. ยกใหเ ปนสมบตั ขิ องวดั เพราะลกู หลานไมไดใ ช นอกจากนน้ั หากบนั ทึกดวย อักษรธรรมลา นนาดวยแลว กแ็ ทบจะไมมใี ครสามารถอา นได 3. ยกใหเปนสมบตั ิของปจู ารยค นใหม ซ่ึงอาจจะเปนคนในหมูบา นเดียวกนั หรอื ตา ง หมบู า นกไ็ ด 4. ลกู หลานเก็บรักษาเอาไวเอง และอาจจะอนญุ าตใหป จู ารยท านอืน่ ยมื ไปจดไดเปน บางครัง้ สวนกรณีท่ีปูจารยคนเกายังมีชีวิตอยูก็จะสามารถสืบทอดวรรณกรรมใหปูจารยคนใหม ไดทั้งในดานทํานองและเนื้อหา ซ่ึงในดานทํานองนั้นก็อาจจะมีการอานใหปูจารยคนใหมที่มาขอ คําปรึกษาฟงเปนตัวอยาง หรืออาจแนะนําวา ควรใชทํานองอยางไร ควรขึ้นเสียงตรงไหน ควร ลงเสยี งตรงไหน เปนตน สวนการสืบทอดในดานเน้ือหาหรือเอกสารที่ใชบันทึกวรรณกรรมน้ัน ก็ ยังสามารถจําแนกออกไดเปนอีกสองลักษณะ ลักษณะแรกคือ ยังเก็บเอาไวเปนสมบัติของตน และอาจจะอนุญาตใหปูจารยใหมยืมไปจดไดเปนบางคร้ัง สวนอีกลักษณะหนึ่งคือยกใหปูจารย คนใหมไปซ่ึงอาจจะเปนปูจารยในหมูบานเดียวกันหรือจากหมูบานอื่นที่สนิทสนมคุนเคยกัน โดยอาจจะยกพับสาหรือหนังสือบางเลมใหไป หรือไมก็อาจจะยกหนังสือหรือพับสาที่เปน สมบัตขิ องตนใหไปทง้ั หมดกไ็ ด 2) ผรู ับการสืบทอด ในกรณีที่ตําแหนงของปูจารยซึ่งมีหนาที่เปนผูประกอบพิธีกรรมของหมูบานวางลง ปูจารยคนใหมของหมูบานจะเปนผูมารับหนาที่เปนผูประกอบพิธีกรรมโดยปริยาย ซึ่งปูจารยคน ใหมนี้ตองรับภาระหนักในการศึกษาและฝกฝนการประกอบพิธีกรรม ตลอดจนการกลาว วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมดว ยตนเองเสยี เปน สว นใหญ สาํ หรับการรบั สืบทอดวรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรม น้นั สามารถจาํ แนกออกไดเ ปน 2 ประเภทใหญๆ ไดแ ก รับการสืบทอดดา นเนอ้ื หา และรบั การสบื ทอดดา นทํานอง โดยในแตล ะ ประเภทมีรายละเอยี ดดงั นค้ี ือ การสืบทอดดา นเนื้อหา สามารถทําไดดงั นี้ 1. ไปขอจดบันทึกหรือขอตน ฉบบั จากปจู ารยท านเกาในหมบู า นน้นั 2. ไปขอจดบันทกึ หรอื ขอตน ฉบับจากปูจารยต า งหมูบา นทต่ี นสนทิ สนมคุนเคย

170 3.จดบนั ทึกหรอื จําจากสํานวนที่ไดฟ ง แลว ประทบั ใจ(อาจจะดว ยการขอจดบันทึกหรอื ได ยนิ แลว จําและกลับมาจดบนั ทกึ ทีหลงั ) 4. หาซอ้ื หนังสอื ทีม่ ีการพมิ พบทกลาวประกอบพธิ กี รรมไว เชน หนังสอื ประเพณเี ดมิ ของ ทวี เข่ือนแกว (2524) หนังสือประเพณลี านนาไทยและพธิ ีกรรมตางๆ ของหนานเตจ า (มปป) ฯลฯ เปน ตน สวนการสืบทอดดานทาํ นอง สามารถทําไดดังนี้ 1.จดจาํ จากท่ีเคยไดฟงมาสมัยทีเ่ ปนพระ 2.จดจาํ จากการฟง ปูจารยร ุนกอน 3.ขอคาํ ชแ้ี นะจากปจู ารยท่ีมีประสบการณ อยางไรก็ตาม เปนท่ีนาสังเกตวาการสืบทอดวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมนั้น ผูใหการ สืบทอดไมไดคัดเลือกผูที่จะมารับหนาท่ีแทนไวลวงหนาแลวทําการฝกสอนใหเปนพิเศษ หรือ สอนใหตัวตอตัว เชนเดียวกันกับผูรับสืบทอดก็มิไดรูลวงหนามากอนวาตนจะตองมารับหนาท่ี เปนผูประกอบพิธีกรรม หากแตการสืบทอดดังกลาวเปนไปตามความเอ้ือเฟอเผื่อแผซึ่งกันและ กันท่ีตองอาศัยความเมตตาจากปูจารยรุนกอนที่คอยช้ีแนะใหแกปูจารยรุนใหม และความ ขยันหมั่นเพียรในการแสวงหาความรูและฝกฝน ความชางจดชางจําและชางสังเกตของปูจารย รุนใหม ท่ีจะตองพยายามสืบคนหาตนฉบับหรือตําราจากปูจารยรุนกอน พรอมท้ังขอคําชี้แนะ ดานตางๆ ตลอดจนการสังเกตจากพิธีกรรมที่ตนเคยพบเห็นมากอน ซ่ึงการสืบทอดแบบ หลวม ๆ น้ีเอง ผูวิจัยคิดวา ไมไดเปนจุดดอยแตประการใด แตกลับยังทําใหการกลาวคําเวน ทาน ยังคงมีใชอ ยูไดจนถงึ ปจ จบุ ันอยางนาอศั จรรย 5.3 การดาํ รงอยู ทามกลางกระการเปล่ียนแปลงของโลก สงผลใหสภาพสังคมลานนา เกิดการ เปลี่ยนแปลงไปดวย แตไมวาสภาพสังคมจะเปล่ียนไปอยางไร วรรณกรรมประกอบพิธีกรรม ก็ ยังสามารถดํารงอยูคูกับคนและสังคมลานนามาตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบัน และเปนหนึ่งใน วรรณกรรมไมก่ปี ระเภท ที่สามารถดาํ รงอยไู ดท า มกลางกระแสความเปล่ียนแปลง อยางไรก็ตาม แมวาวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมบางประเภท จะสามารถดํารงอยูได แตก็ตองมีการ เปลย่ี นแปลง หรือ ปรับเปล่ยี นตัวเอง ใหเ ขากับยุคสมัย และอาจมีบางประเภทเชนกัน ที่ไมคอย มีการเปล่ียนแปลงแตก็สามารถดํารงอยูไดเชนกัน ดังนั้น เน้ือหาในสวนนี้ผูวิจัย จึงขอกลาวถึง การดาํ รงอยขู องวรรณกรรมประกอบพิธกี รรมลานนา ทัง้ วรรณกรรมที่มีการเปล่ียนแปลงไมมาก นกั และวรรณกรรมทเ่ี กิดการเปลี่ยนแปลง โดยแตละประเภทมีรายละเอยี ดดังน้ี

171 1) วรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรมทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงไมม ากนกั วรรณกรรมประกอบพธิ กี รรมบางประเภทมีการเปลีย่ นแปลงไมมากนัก ท้ังการประกอบ พิธีกรรมและตัวบท เชน พิธีกรรมขึ้นทาวท้ังส่ี สวนวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมบางประเภท อาจมีการเปล่ียนแปลงรูปแบบการประกอบพิธีบาง แตเนื้อหาไมเปล่ียนแปลง เชน พิธีกรรมสืบ ชาตา จากการเก็บขอมูลภาคสนามของพิธีกรรมขึ้นทาวท้ังส่ี ทั้งที่หมูบานแมหอพระ ต.แมหอพระ อ.แมแตง จ.เชียงใหม หมูบานซิต้ีการเดน ต.เหมืองงา อ. เมือง จ.ลําพูน ข้ึนทาวท้ังส่ีเนื่องในพิธีกรรมสืบชาตาเมืองเชียงใหม อ.เมือง จ.เชียงใหม หรือแมแตการขึ้นทาว ทั้งส่ีเน่ืองในพิธีกรรมใสขันดอก วัดเจดียหลวง อ.เมือง จ.เชียงใหม ตลอดจนการสัมภาษณ ปจู ารยท า นอื่นๆ และชาวบา น ทําใหทราบวา ขณะประกอบพธิ กี รรม ปูจารยจ ะเปน ผปู ระกอบพธิ ี เพียงลําพัง ไมมีผูรวมพิธี เมื่อไมมีผูรวมพิธีกรรมหรือไมมีผูฟงขณะประกอบพิธีกรรม ผูวิจัย จึงคิดวาเม่ือเปนเชนนี้ปูจารยจึงไมตองกังวลวาคนฟงจะมีปฏิกิริยาอยางไร จึงประกอบพิธี ไปตามทเี่ คยปฏิบัติมา ไมคอยมีการเปลย่ี นแปลงอะไร และถาเปน เชนน้ีจริง ก็จะสะทอนใหเห็น ไดอยา งชัดเจนวา ผรู วมพิธี มผี ลตอการเปล่ยี นแปลงรูปแบบการประกอบพธิ กี รรมมาก สวนพิธีกรรมสืบชาตา เหตุท่ีเนื้อหาหรือตัวบทของวรรณกรรมไมมีการเปลี่ยนแปลงเลย แมจ ะมีผูรวมพิธีกรรมหรือผูรวมฟงเปนจํานวนมาก ผูวิจัยคิดวานาจะเปนผลมาจากภาษาที่ใชใน วรรณกรรม ซ่ึงบทสืบชาตา ใชภาษาบาลี โดยมีพระสงฆหลายรูปเปนผูกลาว จึงทําใหไมสะดวก ในการปรับเปล่ียนหรือตัดทอนเน้ือหาของบทสืบชาตาได อาจดวยเหตุผลสําคัญ 3 ประการ คือ ประการแรก คนลานนาเช่ือวาภาษาบาลีเปนภาษาท่ีศักดิ์สิทธิ์เหมือนเปนคาถาบทหน่ึง ดังนั้น หากมีการตัดทอนเนื้อหาบางสวนออกไป อาจทําใหความศักดิ์สิทธ์ิลดลงไป อีกประการหน่ึง นาจะเปนเพราะผูกลาวท่ีเปนพระสงฆหลายรูป ยากตอการปรับ ตัดทอน หรือเพ่ิมเติมเนื้อหา บางสวน และประการสุดทายอาจเน่ืองมาจากการแปลความหมายภาษาบาลี คือผูวิจัยคิดวาแม พระสงฆผูกลาวบทสืบชาตาจะอานเปนภาษาบาลีได แตอาจมีหลายรูปท่ีไมสามารถแปลเนื้อหา ของบทสืบชาตาไดทั้งหมด ดังน้ันการท่ีจะตัดทอนเน้ือหาสวนใดสวนหนึ่งออกไปโดยพลการ อาจจะไมสะดวกนัก จากเหตุผลที่ไดกลาวมาในขางตนน้ีเอง ทําใหบทสืบชาตา ไมเกิดการ เปล่ียนแปลง 2) พธิ ีกรรมและวรรณกรรมประกอบพิธกี รรมทม่ี ีความเปล่ียนแปลง วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมหลายประเภท แมจะสามารถดํารงอยูไดในสังคมยุค ปจจุบัน แตก็เกิดการเปล่ียนแปลงข้ึนหลายประการ และเพ่ือความสะดวกในการศึกษาการ เปลี่ยนแปลงดานตางๆท่ีเกิดข้ึนน้ัน ผูวิจัยจึงขอจําแนกออกเปน 2 ประเภท ประเภทแรก คือ การเปล่ียนแปลงดานการประกอบพิธีกรรม ประเภทที่สอง คือ และการเปล่ียนแปลงดานตัวบท โดยแตล ะประเภท มรี ายละเอียดดังนี้

172 ก. ความเปล่ยี นแปลงดา นการประกอบพิธกี รรม 1. ผปู ระกอบพิธกี รรม 1.1 มกี ารเชิญปูจ ารยทีม่ ีชอ่ื เสยี งจากทอ่ี ื่นมาเปนผปู ระกอบพิธีกรรม ในอดีตผูประกอบพิธีกรรม จะเปนปูจารยในหมูบานน้ันๆที่ปฏิบัติไปตามหนาที่ และไดรับคาตอบแทนบางเล็กนอยตามกําลังศรัทธาของเจาภาพ แตปจจุบันหากมีการจัด พิธีกรรมสําคัญๆหรือพิธีกรรมใหญๆ เชน เรียกขวัญลูกแกว เรียกขวัญคูบาวสาว เวนทาน ฯลฯ ก็จะนิยมเชิญผูกลาวคําเวนทานท่ีมีช่ือเสียงมากลาว ซึ่งในการเชิญมาแตละคร้ังน้ันทาง เจาภาพกม็ ักจะตองจา ยคาตอบแทนใหผ กู ลา วคาํ เวนทานในราคาทคี่ อ นขางสูง ผูวิจัยคิดวาสาเหตุที่ทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงในสวนน้ี อาจเน่ืองมาจากคานิยมของคน ในสังคมท่ีเปลี่ยนไป ทําใหการประกอบพิธีกรรมมีวัตถุประสงคอื่นแฝงเขามาดวย โดยเฉพาะ พิธีกรรมที่มีคนมารวมงานเปนจํานวนมาก ยกตัวอยางเชน การเรียกขวัญลูกแกว หากสามารถ เชิญปูจารยท่ีมีชื่อเสียงจากตางถิ่นมาเปนผูเรียกขวัญ โดยเฉพาะอยางย่ิงเปนปูจารยที่มีช่ือเสียง ระดับจังหวัด ก็จะทําใหแขกเหร่ือท่ีมารวมงานรูสึกวาเจาภาพที่จัดงาน มีศักยภาพบางอยางที่ สามารถเชิญผูมีชื่อเสียงระดับนั้นมาเปนผูประกอบพิธีกรรมใหได ซ่ึงอาจจะเปนในเรื่องของ ทรัพยสินเงินทอง หรือ ความสัมพันธสวนบุคคล ที่ชาวบานเรียกวา เสนใหญ หรือมีบารมี มาก สิ่งเหลานี้ก็จะสงผลใหเจาภาพผูจัดงาน พลอยมีหนามีตาในสังคมขึ้นมาได ผูวิจัยจึงคิดวา การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้น สะทอนใหเห็นวา บทบาทหนาท่ีของปูจารยก็ไดเปล่ียนไปดวย จาก เดิมเปนผูประกอบพิธีกรรม ปจจุบัน ในบางพิธีกรรม นอกจากจะมีบทบาทในการประกอบ พิธีกรรมแลว ยังเปนตัวชี้วัดสําคัญประการหนึ่งใหผูมารวมงานไดเห็นถึงสถานภาพทางสังคม และศักยภาพบางอยาง ของเจาภาพ ท่ีสามารถเชิญปูจารยที่มีชื่อเสียงมาประกอบพิธีกรรมให ได 1.2 เกดิ การเปลี่ยนแปลงดา นคุณสมบตั หิ รอื สถานภาพของผปู ระกอบพิธกี รรม การประกอบพิธีกรรรมบางพิธีกรรม เดิมผูที่จะทําหนาที่เปนผูประกอบพิธีกรรมจะตองมี คุณสมบัติสําคัญบางประการท่ีทําใหสามารถเปนผูประกอบพิธีกรรมได แตปจจุบัน คุณสมบัติ บางอยาง ไดมกี ารปรับไป เชน พิธีกรรมดําหัว เดมิ ท่ีผทู จี่ ะทําหนา ท่ีเปนผกู ลาวบทปน พรได คือ ผูเฒาผูแก แตปจจุบันไมจําเปนตองมีอายุมากก็ได แตอาจเปนผูท่ีมีสถานภาพพิเศษบางอยาง เชน งานดําหัวคณบดีคณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยแมโจ (10 เมษายน 2551) จะเห็นวามี คณาจารยแ ละบุคลากรของคณะหลายทานท่มี อี ายมุ ากกวา คณบดี แตก็มารวมดําหัวคณบดี หรือ งานดําหัวเจาหนอย ผีเจานายที่มีช่ือเสียงของหมูบานทุงหม่ืนนอย อ.สันทราย จ.เชียงใหม (20 เม.ย. 51) ก็พบวามีผูเฒาผูแกหลายทานมาดําหัวเจาหนอยซึ่งรางทรงเปนผูหญิงอายุประมาณสี่ สิบป

173 สาเหตุท่ีทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงในสวนน้ี ผูวิจัยคิดวาอาจเน่ืองมาจาก สภาพสังคม และวัฒนธรรมที่เปล่ียนไป อยางเชนกรณีของ การดําหัวหัวหนาหนวยงาน ในอดีต สังคม ลานนาเปนสังคมเกษตรกรรม อาชีพหลักก็คือการทําเกษตร ซ่ึงแตละคนมีสิทธิและมีอํานาจใน การจัดการทรัพยากรในที่นาของตนเอง เพราะฉะนั้นการจัดสถานภาพทางสังคมในอดีต สวน ใหญไมค อ ยไดพิจารณาจากหนาท่ีการงาน แตพิจารณาจากอายุ หรือความอาวุโส ดังน้ันการดํา หวั ในอดีต ผมู อี ายุนอ ยกวา จงึ เปน ผูไ ปดําหัวผทู อี่ ายมุ ากกวา แตในปจจุบันสภาพสังคมไดเปล่ียนไป คนลานนาประกอบอาชีพเกษตรกรนอยลง และ หนั ไปประกอบอาชพี อ่นื มากขน้ึ ท้งั ในภาครฐั และเอกชน ซ่ึงมีการจัดการโครงสรางแบบผูบริหาร ลดหล่ันลงมาเร่ือยๆ ซึ่งสวนใหญไมไดพิจารณาจากอายุอยางเดียว แตพิจารณาจากความรู ความสามารถและปจจัยประกอบอื่นๆ ดังนั้น ในหลายหนวยงาน ผูที่เปนผูบริหารสูงสุด จึงเปน คนท่ียังมีอายุไมมากนัก ผูที่เปนผูใตบังคับบัญชาหลายคน ยังมีอายุมากกวา และในระยะหลังก็ ไดมีการนําพิธีกรรมดําหัวมาใชในหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ดังน้ัน จึงพบเห็นผูที่อายุนอย กวา กลาวบทปนพรใหแกผูท่ีมีอายุมากวา ซึ่งปรากฏการณนี้ ผูวิจัยคิดวา สามารถอธิบายไดวา แทที่จริงแลววัตถุประสงคหลักของพิธีกรรมดําหัวไมไดเปล่ียนไปมาก กลาวคือ เปนการขอขมา ลาโทษแกผูที่มีสถานภาพสูงกวา ซ่ึงในอดีต พิจารณาจากอายุ แตปจจุบันพิจารณาจากหนาที่ การงาน ดังน้ัน ผูที่มีสถานภาพทางหนาที่การงานสูงกวา ก็มีสิทธิ์ที่จะปนพรใหแกผูที่เปน ผูใตบ ังคับบญั ชาได แมจ ะอายมุ ากกวา ตนกต็ าม สวนการดําหัวรางทรง ก็สอดคลองกับสภาพสังคมลานนาในยุคปจจุบัน ซึ่งความจริง ความเช่ือเรื่องการทรงเจาเขาผีน้ันมีมานานแลว เพียงแตวาในอดีต ผูที่เปนรางทรงสวนใหญจะ เปนผูที่มีอายุมากอยูแลวประมาณ 60 ปข้ึนไป สวนปจจุบัน ผูท่ีเปนรางทรงมีทั้งวัยเด็กวัยหนุม สาว และวัยกลางคน วัยที่เปนผูสูงอายุเริ่มมีนอยลง และในแตละปชวงเทศกาลสงกรานต บรรดาลูกศษิ ยล ูกหาทีเ่ คยมาขอความชว ยเหลอื กจ็ ะพากนั มาดาํ หัว ดังนั้นจงึ เห็นภาพของคนแก หรือผูท่ีมีอายุมากกวารางทรง มาดําหัวรางทรงซึ่งมีอายุนอยกวา แตหากพิจารณาตามความ เชื่อของชาวบาน ชาวบานก็ถือวามาดําหัวองคเทพที่มาประทับทรง ไมไดมาดําหัวคนที่เปนราง ทรง สวนน้ีก็แสดงใหเห็นวาชาวบานมองเห็นภาพของสิ่งศักด์ิสิทธ์ิคือองคเทพที่มาประทับทรง ท่ีดูเหมือนจะเปนนามธรรม มากกวารางกายของรางทรง ที่เปนรูปธรรม จึงทําใหสามารถ ประกอบพธิ ีกรรมไดอ ยางสนทิ ใจ เหมือนกับไดดําหัวผมู ีอายุมากวา นัน่ เอง 2. ผเู ขา รว มพิธีกรรม ผรู วมพิธีกรรม เปน องคป ระกอบสว นหนงึ่ ของพธิ ีกรรม ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงขนึ้ หลาย ประการ การเปล่ียนแปลงทีเ่ กดิ ข้นึ ไดแก 2.1 ลกั ษณะการมสี วนรว มในพิธีกรรม การมารว มหรือชว ยประกอบพธิ กี รรมในอดตี ผูเ ขา รว มพิธจี ะมาชว ยตง้ั แตว ันเตรียม พิธีกรรม หรือ ท่ีเรียกวา วนั ดา โดยเอาแรงงานและขา วของเคร่ืองใชทบี่ านของตนมี มาชว ย

174 เชน ในพธิ กี รรมสบื ชาตา ชาวบานท่ีเจา ภาพไปเชญิ ใหม ารวมพิธีกรรมจะมากนั มาท่บี า นของผู จดั พิธีกรรมต้ังแตช วงสาย และหากทบ่ี านของใครมขี องทต่ี อ งใชเปน เครื่องประกอบพิธกี รรมก็จะ นาํ มาดวย เชน กลว ยสุก หมากพลู ออย ใบตอง เปนตน เพราะฉะนัน้ เจาภาพจึงไมจ ําเปน ที่ จะตอ งใชเ งินซอ้ื ของเหลา นอี้ ีก นอกจากนสี้ ่ิงที่ชาวบานนํามาดวยยังมีจําพวกของทีจ่ ะนาํ มาใช ประกอบอาหารเล้ยี งดูกนั ในวนั ประกอบพธิ กี รรมดว ย เชน บางคนอาจนาํ ฟก เขียว มาใหส าํ หรับ ใชเ จา ภาพใชท ําแกงฟก บางคนมีมะพรา วกจ็ ะนาํ มาพรา วมาใหเจาภาพใชทําแกง หรอื ทาํ ขนม เปน ตน ปจจุบันลักษณะดังกลาวเร่ิมเปลี่ยนแปลงไป กลาวคือ แมเจาภาพจะบอกเชิญใหคน จํานวนมากมารวมงาน แตในวันดา จะมีเพียงกลุมท่ีสนิทกันมากเทานั้นมาชวยงาน คนอื่นจะมา ในวันประกอบพิธีกรรมจริงเทานั้น และจะตองนําเงินใสซองมารวมทําบุญดวย ดังนั้นคนที่มา ชวยงานในวันดาจึงมีจํานวนไมมาก และของท่ีจะนํามาทําเปนเครื่องประกอบพิธีกรรม จากเดิม ผทู ่มี าชวยงานจะนํามาดว ย แตปจ จบุ ันเจาภาพจะตองหาซ้ือเอง อาจเปนเพราะสิ่งของเหลานั้น เปนของท่ีไมนิยมใชแลวในชีวิตประจําวัน เชน หมาก พลู หรือ สิ่งของเหลานั้นมีราคาแพง สามารถนําไปขายได การใหก นั เปลา อาจเปน เร่ืองลาํ บาก หากไมสนิทสนมกันจริง เมื่อเปนเชนน้ี เจาภาพบางคนที่มีคนมาชวยไมมาก จึงตัดสินใจจางใหคนอื่นเปนผูจัดเตรียมพิธีกรรมให ตัวอยางเชน การประกอบพิธีกรรมสืบชาตาที่หมูบานซิตี้การเดน ต. เหมืองงา อ.เมือง จ.ลําพูน (5 พ.ค. 51) ก็พบวาเจาภาพไดวาจางใหกลุมชาวบานในหมูบานถัดไปชวยจัดเตรียมเครื่องสืบ ชาตาให ในราคา 3,500 บาท โดยจะตองเตรียมทุกอยางใหครบพรอมท้ังจัดเปนโขงชาตาให เรียบรอยกอนเริ่มงานดวย ดังนั้นชาวบานที่มารวมงาน จึงไมไดมาชวยเตรียมในวันแตงดา แต จะมารวมวนั ประกอบพิธีเทา น้ันพรอมกบั นําเงนิ มารวมทําบุญ เรอ่ื งของการนําเงินมารว มทําบุญในการประกอบพิธีกรรมน้ี เรมิ่ มอี ทิ ธิพลตอ พิธกี รรม มากขนึ้ กลา วคือ บางคนท่ีไมมเี งินชวยทาํ บญุ อาจถงึ กับไมไ ปรวมพธิ ีกรรม เพราะอายชาวบา น และจํานวนเงนิ ทีช่ วยทําบญุ เดิมอาจชวยตามจติ ศรทั ธา แตปจ จุบนั เร่ิมเปนการชวยเพ่ือหนาตา ของผูใหเงิน คือ ถา ใหน อ ยกเ็ กรงชาวบา นจะตฉิ ินนินทาได จึงมีคาํ พูดท่ีชาวบานนยิ มพูดกันวา “ฮอมนอ ยกอ็ าย ฮอมหลายก็เส้ยี ง” แปลวา ชว ยทาํ บญุ เปน จํานวนเงนิ นอย ๆ กน็ าอาย แตถา ชว ยทําบญุ เปน จํานวนเงนิ มาก ๆ กเ็ สยี เงนิ มากเชนกนั นอกจากนยี้ งั มีลักษณะของการ “ซายม้อื ” หรือ “ตอบมอ้ื ” คอื เวลาคนอ่ืนมอบเงนิ ชวย มาเทา ไร เวลาคนนัน้ เปน ฝา ยจดั พิธีกรรมบาง ก็ตองรว มบริจาคกลับไปเทา กับหรือมากกวา หามตอบกลับไปนอยกวาเดด็ ขาด เชน ชว ยมา 50 บาท กต็ อ งชว ยกลับไป 50 บาท หรือ มากกวา 50 บาทเล็กนอย เชน 55 บาท 60 บาท เปน ตน

175 2.2 เหตผุ ลในการเขารวมพิธีกรรม การประกอบพธิ ีกรรมในปจ จุบนั ผทู ม่ี ารว มพธิ กี รรม สว นหน่ึงกม็ าดว ยเจตนาทอี่ ยากจะ ชว ยเหลอื และใหกําลงั ใจแกผ ูป ระกอบพธิ กี รรม แตก ม็ อี ีกสวนหน่ึงทีม่ ารวมพธิ กี รรมดว ย วัตถปุ ระสงคอ น่ื อาจเพอ่ื ผลประโยชนท างสงั คมบางประการ หรือเพราะเกรงกลัวการลงโทษทาง สังคม การมารว มพธิ กี รรมเพือ่ ผลประโยชนทางสงั คมบางประการสามารถเหน็ ไดช ดั เจนในบาง พิธีกรรม เชน พธิ ีกรรมดําหวั ทีใ่ นอดีตผเู ขา รว มพิธอี าจไปรว มพธิ ีกรรมดว ยความเคารพนับถอื ในบคุ คคลผูนน้ั จริง แตปจจุบนั เม่ือสภาพสังคมเปลีย่ นไป รูปแบบการประกอบพิธีกรรมก็ เปล่ียนไป เจตนาของผเู ขารวมพิธีกรรมบางคนก็เปลยี่ นไปดวย โดยเฉพาะ การเกิดพธิ กี รรมดาํ หวั ผบู รหิ ารหรือ หัวหนางาน ซึ่งหัวหนา งานบางคนอายุนอยกวาลูกนอ ง แตเวลาจัดพิธกี รรม ดาํ หัว ลกู นอ งสวนใหญก ็มาเกอื บทุกคน แมห ลายคนอาจไมไ ดร สู ึกเคารพหรอื ศรัทธาในตวั หวั หนา แตก็ตอ งมาเพราะความจาํ เปน ดา นหนาท่กี ารงาน เพราะหากไมมาอาจถูกต้ังขอ สังเกต จากท้ังหวั หนาเอง และเพอื่ นรว มงาน นอกจากนี้ ผูมารว มพธิ กี รรมบางคน อาจมารวมเพราะเกรงกลวั การลงโทษทางสงั คม โดยเฉพาะสังคมชนบท หากเปนพธิ ีกรรมทีเ่ จา ภาพมาเรียนเชิญใหไ ปรวม เชน สบื ชาตา เรยี ก ขวัญแตงงาน แลวไมไป เจา ภาพก็จะไมพ อใจ และหากผทู ีไ่ มม ารว มเปนฝายจดั พธิ ีกรรมบา ง ก็ จะไมไปรว มดว ยเชน กนั นอกจากน้ชี าวบานคนอน่ื ทท่ี ราบเรือ่ งกอ็ าจนําไปนินทาวา รา ยใหเ สื่อม เสยี วา เจา ภาพเชญิ แลว ไมไปรว ม ย่ิงถา เปน พธิ ีกรรมชมุ ชน เชน สืบชาตาหมบู า น หากบา น ใดไมใหค วามรวมมอื ก็จะถูกชาวบานมองคนอื่นมองในทางที่ไมด แี ละถูกนนิ ทาวา รา ยดว ย เชนกัน อีกพธิ กี รรมหน่ึงทเ่ี หน็ การลงโทษทางสังคมไดอยา งชัดเจนท่สี ุดคือพิธกี รรมงานศพ ซง่ึ เปน พิธีกรรมท่ีเจา ภาพจะไมเ ชิญใหใ ครมารวมพิธีกรรมเปนพิเศษ โดยเฉพาะคนในชมุ ชน เดยี วกนั เพราะถอื วา ทกุ คนจะตองทราบอยูแลว วา ใครในชุมชนเสียชวี ติ ยกเวนญาติพี่นองทอี่ ยู ในตา งถน่ิ อาจจะมีการสงขา วไปบอกใหท ราบ ดงั นนั้ การมารว มพิธกี รรมของคนในชุมชน เดยี วกันจงึ เปน การมารว มดว ยความสมัครใจ ดงั น้นั หากใครไมม ารวมงานก็จะถกู สงั คมลงโทษ โดยคนในชุมชนคนอืน่ ๆ จะลงโทษดว ยการนินทาวา ไมรจู กั เสียสละเวลามาชว ยคนอืน่ หรอื หากเปน กรณีทีฝ่ า ยผไู มม ารวมกบั ฝายผเู สียชีวติ ไมถ ูกกนั จงึ ไมม ารวมงาน ก็ยังจะถูกชาวบา นติ ฉนิ วา ไมรจู กั ใหอ ภัย ไมเห็นแกค นที่ยังมชี ีวติ อยู เปน ตน สว นทางเจา ภาพก็จะลงโทษดวยการ เรียกวา “ไวกรรมไวเวร” กลาวคอื เมือ่ อกี ฝา ยหนึง่ เสยี ชวี ติ ก็จะไมไ ปรวมเชน กนั และมเี หตผุ ล อนั ชอบธรรมท่จี ะอธิบายใหช าวบา นวา เหตทุ ไี่ มไปเพราะอีกฝา ยหน่งึ ไมมากอ น

176 2.3 ผเู ขารว มพิธกี รรมเปน เสมอื นตวั ชว้ี ดั สถานภาพทางสังคมบางประการของผู จดั พธิ กี รรม ในการจดั พธิ ีกรรมแตล ะครง้ั จํานวนผูเ ขารว มพธิ ีกรรมก็อาจเปน เสมือนตวั ชี้วดั สถานภาพทางสงั คมบางประการของผูจดั พิธีกรรมได ซงึ่ ผูวจิ ัยคิดวา การชวี้ ดั ทางสงั คมนี้ สามารถพจิ ารณาได 2 ประเภท คอื พิธกี รรมท่ีตองเชญิ คนเขารว ม และพิธีกรรมท่ผี ูเขา รว มมา ดวยความสมคั รใจ พิธกี รรมทีต่ อ งเชญิ คนเขา รว ม หากเจา ภาพสามารถจัดพิธีข้นึ แลว มคี นมาเขา รว มเปน จาํ นวนมาก กเ็ ปนสิ่งสะทอ นใหเห็นสถานภาพทางสังคมของเจา ภาพ วา อาจเปน ผูท่ีมีฐานะทาง การเงนิ ดี หรือเปนคนกวา งขวาง รูจักผคู นมาก ยกตวั อยางเชน การจดั พธิ กี รรมสืบชาตาเนื่อง ในโอกาสขึ้นบา นใหม บางคนท่ีมีฐานะดี อาจเชิญชาวบานทุกหลงั คาเรือนในทั้งหมบู านให มารวมงาน รวมถงึ เชญิ แขกจากหมูบานอื่นดว ย ซ่ึงหากมีคนมารว มงานมากขนาดน้ี ก็หมายถึง ตองมีคาใชจ ายในการจดั เตรียมอาหารและเครื่องดื่มไวร ับรอง ย่ิงคนมารว มพิธีกรรมมากเทา ใด เจาภาพก็ตอ งมีคาใชจายมากข้นึ เทาน้นั ซึ่งส่ิงนี้กส็ ะทอ นใหเห็นวา เจา ภาพเปนผทู ่ีมีกําลังทรัพย ในการจา ยได ในกรณีตรงขาม หากใครจัดพธิ ีกรรมแลว เชญิ คนมารวมนอย เชน เชญิ เฉพาะ ญาตพิ ่นี องทีใ่ กลช ดิ กันจริง ๆ หรือเฉพาะเพอ่ื นบา นท่อี ยบู า นใกลๆ กนั ไมกี่คน คนในชมุ ชนก็ มักจะมองเหมารวมไปวา มเี งินไมม าก จงึ เชิญแขกเพยี งไมก่ีคน ซงึ่ แทท่จี รงิ แลว บางคนอาจมี เงิน แตอาจจะไมอยากฟมุ เฟอย อยา งไรกต็ าม ชาวบานสว นใหญ ยังมองไปทีเ่ รื่องของเงนิ มากกวา พธิ กี รรมทผ่ี มู ารว มงานมาดวยความสมัครใจ เชน งานศพ ก็เปนพิธกี รรมอีกประเภท หน่ึงทสี่ ะทอนใหเ หน็ ไดว า ผเู สียชวี ติ และครอบครัว มสี ถานภาพอยา งไรในชุมชน เชน หากงาน ศพใครมคี นมารว มงานเปน จํานวนมากกส็ นั นษิ ฐานไดส ามประการ คอื ประการแรก ผเู สยี ชวี ติ เปน คนดี คนในสงั คมใหความรกั และเคารพนับถอื ประการท่ีสอง คือ ผูเ สียชวี ติ มญี าตพิ ่ีนอง มาก อาจจะทง้ั ในหมบู านและตางหมบู า น และประการสุดทาย ผูเ สยี ชวี ติ หรอื ญาติ มีบทบาท สําคญั ในสงั คม เชน เปนผใู หญบา น เปน กาํ นนั เปน ตน อยางไรกต็ าม จะเหน็ ไดวาจาํ นวนผูม ารวมพธิ กี รรมงานศพซ่งึ เปนพิธีกรรมที่ผเู ขา มา รว มงานโดยสมัครใจ ไมสามารถชีว้ ัดฐานะทางการเงินของผูเ สียชวี ติ ได งานศพบางงาน แม ผเู สียชวี ิตจะยากจน แตห ากเปนคนท่ีมีนา้ํ ใจตอคนในชมุ ชน หรือมีญาตพิ ี่นองมาก งานมารวม งานกจ็ ะมากเชนกัน สวนคนทม่ี เี งินมาก ตอใหจัดงานอยางหรหู ราขนาดไหน หากคนไมอยาก ไปรว มงาน ผเู ขา รว มพธิ กี ม็ จี าํ นวนเพยี งไมม ากนัก

177 3. รปู แบบการประกอบพธิ กี รรม การประกอบพธิ ีกรรมหลายพิธกี รรมในปจ จุบนั ไดมีรปู แบบการประกอบพธิ ีกรรมที่ เปล่ียนแปลงไป ทเ่ี หน็ การเปลี่ยนแปลงไดช ดั เจน ไดแ ก พธิ กี รรมสืบชาตา พธิ กี รรมสงเคราะห และพิธีกรรมดําหัว พิธีกรรมสืบชาตา เปนพิธีกรรมที่ถือวา เปนพิธีใหญ นับต้ังแตเครื่องประกอบพิธีกรรมที่ มีหลายอยางและแตละอยางตองเตรียมไวเปนจํานวนมาก ดังน้ันในการจัดเตรียมจึงตองใชวัสดุ อุปกรณ ใชค น และใชเวลาเปนจํานวนมาก อีกทั้งในวันประกอบพิธีกรรม จะตองนิมนตพระสงฆ มาเปนผูประกอบพิธีกรรม สวนใหญจะนิมนตมา 5 รูป ซึ่งทางเจาภาพจะตองเปนฝายจัดเตรียม พาหนะสําหรับรับสง ปจจัย ตลอดจนสงั ฆทานทจ่ี ะตองถวายแดพระสงฆดวย ดังนั้นหากผูท่ีคิด จะจัดพิธีสืบชาตาขึ้น ก็จะตองมีความพรอมมากพอสมควร ท้ังดานกําลังคนในการชวยกัน จัดเตรียมพิธกี รรม และกาํ ลงั ทรัพยใ นการจดั ซ้ือเครอื่ งประกอบพธิ กี รรม สังฆทาน ปจ จัยถวาย ปูจารยและพระสงฆ รวมถึงอาหารท่ีจัดไวเล้ียงดูแขกที่มารวมงานดวย ดังน้ันในปจจุบันหากใคร มเี งนิ ไมถงึ 5,000 บาท กจ็ ัดพิธีกรรมสบื ชาตาไดล ําบาก (สมั ภาษณพอหนานประสิทธ์ิ โตวิเชียร , 15 ก.ย. 51) แตปจจุบันรูปแบบการประกอบพิธีกรรมสืบชาตา ไดเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น กลาวคือ เมือ่ เจาของชาตา ทราบวา ตนเองจะตอ งประกอบพิธีสบื ชาตาแลว แทนท่ีจะจัดเปนพิธีกรรมอยาง เต็มรูป กลับไปบูชาเทียนจากปูจารย พระ รางทรง ฯลฯ มาจุดบูชาที่หนาห้ิงพระบูชาในบาน ของตน หรอื หนา พระประธานในพระวิหาร ซ่ึงที่จริงแลวเทียนที่เปนเทียนสืบชาตาจะมีเพียงเลม เดียว แตสวนใหญเวลาไปเชาบชู า จะไดม าเปนชดุ หน่ึงชดุ มเี ทยี น 3 เลม ไดแ ก 1. เทยี นลดเคราะห หรอื สะเดาะเคราะห 2. เทียนสบื ชาตา 3. เทียนรบั โชค (สมั ภาษณพ อ หนานประสิทธิ์ โตวเิ ชียร,15 ก.ย. 51) สําหรับราคาของเทียนบูชานั้นจะแตกตางกันไปตามแตครูบาอาจารยของแตละทานจะ กําหนด เชน ของพอหนานพอหนานประสิทธิ์ โตวิเชียร ชุดละ 27 บาท บางที่อาจเปน 99 บาท 108 บาท เปนตน นอกจากพิธีกรรมสืบชาตาแลว พิธีกรรมสงเคราะหก็เปนอีกพิธีกรรมหน่ึงที่เกิดการ เปลี่ยนแปลงเหมือนกัน คือ จากเดิมที่เปนพิธีกรรมที่จะตองจัดเตรียมเครื่องประกอบพิธีกรรม มากมาย ปจ จุบนั กลายมาเปนเชาบูชาเทยี นไปจดุ บูชาเชน เดยี วกันกับพิธีกรรมสบื ชาตา ผูวิจัยคิดวาเหตุท่ีการประกอบพิธีกรรมเปลี่ยนแปลงจากพิธีกรรมอยางเต็มรูปแบบมา เปนเพียงการเชา บูชาเทยี นไปจุดน้ัน นาจะมาจากปจ จยั หลายประการ ไดแ ก

178 1. สภาพสังคมทเี่ ปล่ียนแปลงไป การจัดพิธีกรรมแบบเกาตองใชเวลาอยางนอย 2 วัน คือ วันดาหรือวันเตรียมการ ประกอบพิธี 1 วัน และวันประกอบพิธีกรรมอีก 1 วัน และยังจะตองเลือกวันท่ีเปนมงคลกับการ ประกอบพิธีกรรมอีกดวย ถาเปนสังคมยุคกอนท่ีเปนสังคมเกษตร แตละคนมีสิทธิ์ในการจัดการ ตารางชีวติ การทาํ งานของตนเอง อยากหยดุ วนั ใดก็สามารถหยุดได แตในปจจุบัน คนสวนหนึ่ง ไดผันตัวไปอยูในระบบการทํางานแบบนายจางลูกจางท้ังภาครัฐและเอกชน การจะหยุดงานทํา ไดไมสะดวก ดังนั้น การนําเทียนเพียง 1 ชุดไปจุดหนาพระ ใชเวลาไมถึง 10 นาที จึงเปนอีก หนงึ่ ทางเลือกที่สะดวกกวา 2. รูปแบบการประกอบพิธแี บบใหมม คี าใชจ ายนอ ยกวา การประกอบพิธกี รรมหลายพธิ ีกรรมในปจจุบันตองมปี จจยั เร่อื งเงนิ เขา มาเก่ยี วของดว ย เสมอ นับต้งั แตคา วสั ดอุ ปุ กรณสําหรับนาํ มาทําเครอ่ื งประกอบพธิ กี รรม คา ตอบแทนผปู ระกอบ พธิ กี รรม คา อาหารเลย้ี งดูแขกทม่ี ารวมงาน ฯลฯ ดังทไ่ี ดย กตวั อยา งของการประกอบพธิ ีกรรม สบื ชาตาในขางตน วา หากทาํ แบบเต็มรปู แบบตามท่ียดึ ถอื กันมา ตอ งใชเ งินไมนอยกวา 5,000 บาท ดงั น้นั ถา ไมมีเงินมากพอ ก็คงจดั พธิ กี รรมไมไ ด แตการประกอบพิธีรปู แบบใหม เชน การ เชาบชู าเทียนไปจดุ บชู าเอง มคี าใชจา ยถกู กวา มาก อีกพิธีกรรมหน่ึงที่เห็นการเปลี่ยนแปลงในดานรูปแบบการประกอบพิธีกรรมไดอยาง ชดั เจนคือ พธิ ีกรรมปน พรปใหม สงิ่ ที่เปลี่ยนไป ไดแ ก 1. การประกอบพิธีกรรมในอดีต จะจัดกระทําท่ีบานผูสูงอายุแตละคน แตปจจุบันบาง ชุมชนไดเชิญผูสูงอายุมารวมกันที่ใดที่หน่ึง เชน ศาลาวัด องคการบริหารสวนตําบล ฯลฯ เพอื่ ใหชาวบา นไดด ําหวั พรอมกนั ทีเดียว 2. ในอดีต จะดําหัวผูท่ีอาวุโสดวยวัยวุฒิ และผูมีพระคุณ เชน ผูเฒาผูแก บิดามารดา ครบู าอาจารย แตปจ จุบนั เร่มิ มรี ปู แบบของการดําหัวผูบังคับบัญชาหรือหัวหนางาน เพราะฉะน้ัน บางคร้ังอาจจะเห็นผูท่ีอายุมากกวาดําหัวผูท่ีอายุนอยกวา แตมีตําแหนงหรือสถานภาพทาง หนา ท่กี ารงานสงู กวา 3. การประกอบพธิ กี รรมเรม่ิ ทําเลียนแบบภาคกลาง คือ นํานํ้าไปรดที่มือของผูใหญแลว ใหพรแกผูใหญกอน ซึ่งหากเปนการดําหัวแบบคนลานนา จะไมมีการรดนํ้าที่มือของผูใหญ ผูนอยจะนาํ น้ําขม้นิ สม ปอยพรอมกับของตาง ๆ มอบใหผูใหญ แลวผูใหญจะเปนฝายใชนิ้วมือจุม ลงไปในนาํ นาํ้ ขมน้ิ สม ปอยแลวนําไปลูบทศี่ ีรษะของทา นเอง จากน้ันทานกจ็ ะใหพ ร 4. วนั เวลาในการประกอบพิธีกรรม ไมเครงครัดตายตัว สามารถยืดหยุนได อยางการ ดําหัวในอดีตคนลานนาจะปฏิบัติในวันพญาวัน(ประมาณวันที่ 15 เมษายน) หรือวันปากป (ประมาณวันที่ 16 เมษายน) แตปจ จุบนั หากไมส ะดวกในชว งดงั กลา ว อาจเลื่อนไปประกอบพิธี ในชวงอื่น อาจกอนหรือหลังก็ได แตสวนใหญจะไมใหเกินชวงเดือนเมษายน เชน งานดําหัว คณบดีคณะศิลปศาสตร และงานดําหัวอธิการบดีมหาวิทยาลัยแมโจ ป 2552 จัดขึ้นวันท่ี 10

179 เมษายน 2552 กอนเทศกาลสงกรานต หรือ งานดําหัวผูสูงอายุองคการบริหารสวนตําบล แมห อพระ จดั ขนึ้ วันที่ 20 เมษายน 2552 หลงั เทศกาลสงกรานต เปนตน ผูวิจัยคิดวาการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ดังที่ไดกลาวมา เปนเพียงการเปลี่ยนแปลงที่ รูปแบบพิธีกรรม แตวัตถุประสงคในการประกอบพิธีกรรม ยังเหมือนเดิม เชน การสืบชาตา เจตนายังเปนการตอดวงชะตาหรือตออายุใหพบกับสิ่งท่ีเปนสิริมงคลและความเจริญงอกงามอยู แตเปลี่ยนจากการประกอบพิธีท่ีมีความยุงยากหลายข้ันตอน มาเปนการเชนเทียนไปจุดบูชา เชนเดยี วกบั การสง เคราะหท ม่ี ีวตั ถปุ ระสงคเ พื่อปดเปาใหเคราะหรายตาง ๆ ผานพนไป เพียงแต วาการประกอบพิธีแทนท่ีจะจัดเตรียมเคร่ืองสังเวยแลวใหปูจารยมากลาวบทสงเคราะหให กลับ เปนการเชา เทียนไปจุดบชู า ผูว ิจัยคิดวาสงิ่ นี้ไดสะทอนใหเห็นวา แทที่จริง คนลานนายังยังอยาก ประกอบพิธีกรรมเหลานั้นอยู ยังเห็นวาพิธีกรรมจําเปนอยู แตดวยขอจํากัดหลายประการ โดยเฉพาะเร่ืองเงิน เรื่องเวลา เรื่องความสัมพันธระหวางคนในชุมชน สงผลใหเจตนาของการ ประกอบพธิ กี รรมยงั อยแู ตร ูปแบบการประกอบพิธีกรรมเปล่ยี นไป ซึง่ ถา เปนเชนนี้ตอไป รูปแบบ การประกอบพธิ ีกรรมแบบเดมิ อาจคอยๆ เปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ และอาจสงผลตอวรรณกรรมท่ี ใชประกอบพิธีกรรมท่ีอาจจะหายไป เพราะรูปแบบใหมของพิธีกรรมที่เปล่ียนแปลงไปน้ัน ไมได นําวรรณกรรมเขาไปเกย่ี วขอ งเลย สวนพิธีกรรมดําหวั แมวา จะมรี ูปแบบในการประกอบพธิ กี รรมเปลีย่ นไปอยางไร แต คณุ คาของพธิ กี รรมก็ยงั คงอยู คอื ใหผูน อ ยรจู ักกตญั กู ตเวที และออ นนอมถอมตนตอ ผูใหญ ไม วา จะเปน ผทู มี่ ีอายุมากกวา หรือ มตี ําแหนงหนา ที่ทางการงานสงู กวา ทายทสี่ ุดพิธีกรรมนก้ี ส็ รา ง ความสัมพนั ธอ นั ดใี หเ กิดขึ้น ใหคนสามารถอยรู ว มกนั ไดอยางมคี วามสขุ 4. การจดั เตรยี มพธิ กี รรม การประกอบพิธีกรรมในอดีตน้ัน เม่ือทราบวาใครจะประกอบพิธีกรรมอะไร ชาวบานก็ จะไปชวยกันต้งั แตว นั ดา หรือวันเตรยี มงาน โดยพจิ ารณาจากความเหมาะสมของแตละงาน เชน หากเปนงานทต่ี องเตรียมหลายอยางเชน สืบชาตา ท่ีจะตองใชคนชวยเตรียมงานไมนอยกวา 10 คน ชาวบานก็ตองไปชวยกันเตรียมหลายคน แตหากเปนพิธีกรรมที่มีเครื่องประกอบพิธีกรรม ลดนอยลงมาเชน สงเคราะหคน วันดาก็อาจจะมีเพียงญาติสนิทหรือคนบานใกลเรือนเคียง ประมาณ 5 – 6 คน มาชวยเตรียมงาน โดยชาวบานจะชวยกันคนไมละมือ งานที่เปนงาน คอนขา งหนกั เชน ตดั ไม ทําสะทวง จะเปนงานของผูช าย สวนงานท่ตี อ งใชความประณีต เชน ทํากรวยดอกไม ก็จะเปนงานของผูหญิง โดยการเตรียมงานแตละครั้งอาจใชเวลาเตรียมท้ังวัน ดังนั้นคนที่สละเวลามาชวยงาน จึงถือวามาดวยความยินดีและเต็มใจ อีกทั้งเวลามาชวยเตรียม งาน ชาวบานก็จะนําสิ่งของตาง ๆ ที่ตนมี มาชวยในการจัดเตรียมพิธีดวยเชน ใบตอง ใบพลู กลว ย ฯลฯ ทาํ ใหเ จาภาพไมตองเสยี เงนิ ซอื้ ของเหลา นอ้ี กี

180 ปจจุบันการจัดเตรียมพิธีกรรม เริ่มมีการวาจางใหผูใดผูหน่ึงเปนผูจัดเตรียมเคร่ือง ประกอบพิธีกรรมใหทั้งหมด โดยที่เจาภาพมีหนาท่ีเพียงจายเงินใหอยางเดียว พอถึงวัน ประกอบพิธีกรรม ของทกุ อยางก็จะมีครบ เชน พธิ สี ืบชาตา ทบี่ านเลขที่ 99 / 12 หมูบานซิต้ีการ เดน หมู 9 ตาํ บลเหมอื งงา อาํ เภอเมือง จงั หวดั ลําพูน เมอื่ วนั ที่ 5 พฤษภาคม 2551 ทางเจาภาพ ก็ไดวาจางใหกลุมผูสูงอายุในหมูบานขางเคียง เปนผูจัดเตรียมเครื่องประกอบพิธีกรรมให ใน ราคา 3,500 บาท หรือ พิธีสืบชาตาคณะศิลปศาสตร เม่ือวันที่ 20 มีนาคม 2551 ก็ไดวาจางให กลมุ แมบานจากอาํ เภอสันปา ตองเปน ผจู ัดเตรียมเครือ่ งประกอบพิธีกรรมให ในราคา 4,000 บาท เปนตน การท่ีรูปแบบของการจัดเตรียมพิธีกรรมเปล่ียนไปจากเดิมท่ีเคยชวยกันทํา เปนวาจาง ใหคนใดคนหนึ่งเปนผูจัดเตรียมใหท้ังหมดน้ัน ผูวิจัยคิดวา นาจะมาจากเหตุผลหลายประการ ไดแก 1. การประกอบอาชพี ของคนในสงั คมเปลีย่ นไป คือ จากเดมิ ทเี่ คยประกอบอาชีพ เกษตรแบบพออยูพอกิน อยากหยุดทํางานวันไหนก็สามารถทําได แตปจจุบันการทํางานคือการ หารายได ดังน้ันหากหยุดงาน 1 วันก็เทากับวาขาดรายไดไป 1 วันเชนกัน เมื่อเปนเชนน้ันหาก ไมจําเปนจริง ๆ ก็คงไมอยากหยุด หรือแมแตเจาภาพเองก็คงเกรงใจท่ีจะตองขอใหคนอื่นหยุด งานแลว ขาดรายไดเ พอื่ มาชว ยตนดงั นั้น คนทจ่ี ะมาชว ยจัดเตรียมพิธกี รรมจงึ มีนอ ยลง 2. ความสมั พันธของคนในสังคมเรม่ิ เปลีย่ นไป ในอดีต คนในชมุ ชนเดียวกันจะมคี วาม สนิทสนมกลมเกลียวกันมาก ใครมีอะไรก็ชวยเหลือกันดวยความเต็มใจ แตปจจุบัน โดยเฉพาะ สังคมที่เร่ิมเปลี่ยนเปนสังคมเมือง เชน ชุมชนที่เปนบานจัดสรร บางคร้ังเพ่ือนบานท่ีอยูบาน ติดกนั ยังไมรูจักหรือยังไมเคยพูดคุยกันดวยซ้ํา ดังนั้นเม่ือมีการประกอบพีกรรมใด ๆ เกิดขึ้น จึง ไมส ะดวกที่จะขอใหเพอื่ นบา นมาชว ย 3. วสั ดุธรรมชาติหายากข้นึ ทาํ ใหเ กดิ ความยุง ยากในการประกอบพธิ ีกรรม เชน ใบพลู กลวยนํ้าวา ออย ไมงาม ฯลฯ ดังนั้นในการจัดเตรียมพิธีแตละคร้ัง การท่ีเจาภาพจะตอง ตระเวนหาหรือตระเวนซ้ือเครื่องประกอบพิธีเหลาน้ีใหครบ จึงเปนความยากลําบากและยุงยาก มาก แตหากวาจางใหผูอ่ืนจัดการใหจะสะดวกกวาเพราะผูท่ีรับจางจัดทําเคร่ืองประกอบ พธิ ีกรรมสว นใหญจะทําจนชาํ นาญ และรูว าวสั ดุแตละอยางหาไดจ ากแหลงใด สว นผลทเ่ี กิดจากการเปล่ยี นแปลงดังกลาวผูวิจัยคิดวา นาจะสงผลใหคุณคาบางประการ ของพิธีกรรมลดลงไป โดยเฉพาะคุณคาดานการเยียวยาทางจิตใจและการสรางความสัมพันธ ระหวางคนในชมุ ชน เพราะในวนั ดาหรือวันจัดเตรียมพิธี เจา ภาพจะไมไดพบใครเลยนอกจากผูท่ี รับจางทําเครื่องประกอบพิธีจะนําของมาสงให จะมีโอกาสพบญาติพ่ีนองก็ในวันประกอบพิธี เทา นัน้ ซ่ึงโอกาสจะไดพูดคุยกันก็มีนอยลงเพราะเวลาสวนหนึ่งหมดไปกับการประกอบพิธีกรรม แตอยางไรก็ตาม ผูวิจัยคิดวา รูปแบบที่เปลี่ยนไป ก็ยังมีผลดีอยูบางประการ เชน เจาภาพ

181 สะดวกสบายข้ึน และยังสามารถสรางอาชีพสรางรายไดใหแกผูที่รับจางทําเครื่องประกอบ พิธกี รรมดวย 5. เครอื่ งประกอบพิธีกรรม การประกอบพิธีกรรมบางพิธีกรรมในปจจุบัน เครื่องประกอบพิธีกรรมอาจมีการ ปรับเปลี่ยนไปบางตามสภาพสังคมที่เปล่ียนไป เชน ในพิธีกรรมเวนทานกวยสลาก ซ่ึงคําวา กวย หมายถึง ภาชนะสําหรับใสของ สานดวยไมไผ เดิมที่กวยสลากท่ีจะนําไปถวายทานน้ัน สานจากไมไผ และของท่อี ยูในกว ยกจ็ ะเปนของทเ่ี ปน วสั ดุธรรมชาติ เชน ขา ขิง ตะไคร ผลไมตาง ๆ เปนตน โดยหากเปนขนมก็จะเปนขนมพ้ืนบานท่ีหอดวยใบตอง แตปจจุบัน ไดมี การใชภาชนะอยางอ่ืนแทนกวยไมไผ เชน ถังน้ําพลาสติก สวนของขางในก็จะเปนของใช สมัยใหม เชน บะหม่ีก่ึงสําเร็จรูป ปลากระปอง นม ฯลฯ นอกจากนี้ยังพบวา บางคนก็ซื้อ สงั ฆทานแบบเปน ชุดสาํ เรจ็ รูป มาเปนกว ยสลาก ตางจากเดิมที่ตอ งใชเวลาเตรยี มหลายวนั อีกพิธีกรรมหน่ึงที่เห็นการเปลี่ยนแปลงดานเคร่ืองประกอบพิธีกรรมไดชัดคือ พิธีกรรม เวนทานขา วใหมเดอื นสเี่ พง็ ซ่ึงเปนพธิ ีกรรมทคี่ นลา นนาในแตละป เม่ือไดผลผลิตขาวในนาของ ตนแลว จะตองแบงไวสําหรับถวายทานเสียกอน เจาของนาถึงจะนํามาบริโภคได ไมควรนํามา บริโภคกอ นทจ่ี ะไดถ วายทาน ดังน้ันในอดีต คนลานนาจึงแบงขาวใหมในที่นาของตัวเองเก็บไว ตางหากอีกที่หน่ึงเพื่อเตรียมไวนําไปถวายทาน ปจจุบัน หลายคนเลิกทํานาแลวหันไปประกอบ อาชีพอ่ืนแทน จึงไมมีขาวใหมท่ีเปนขาวจากที่นาของตนจริง เมื่อถึงเวลาที่จะตองถวายทานขาว ใหม ก็ไปซอ้ื ขา วทีเ่ ปน ขา วใหมจากรานขายขา วสาร แมว า กอนหนานั้นจะมีใครซ้ือไปกนิ กอ นแลว กต็ าม กอ็ นโุ ลมวาเปน ขา วใหม สามารถนําไปถวายทานได ผูวิจัยคิดวาความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นน้ันก็เปนผลมาจากสภาพสังคมและรูปแบบการ ดาํ เนินชีวิตที่เปล่ียนไป ส่ิงใดที่สามารถทําแลวประหยัดเวลา และสะดวกขึ้น จึงไดรับความนิยม อีกท้ังสภาพสังคมที่เปล่ียนไปวัสดุธรรมชาติหลายอยางหากไดยาก หรือ รูปแบบการประกอบ อาชีพก็เปลี่ยนไป หลายคนไมไดทําไรทํานาแลว ชาวบานหลายคนจึงไมไดยึดติดที่จะตอง เครงครัดตายตัวตามรูปแบบเดมิ แตก ย็ ดึ หยุนเพอ่ื ใหพ ิธกี รรมยงั สามารถดํารงอยูได ข. ความเปล่ียนแปลงดา นตวั บท ความเปลีย่ นแปลงท่เี กิดขน้ึ กบั วรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรม นอกจากจะเปลยี่ นแปลงใน สวนของการประกอบพิธีกรรมแลว ตัวบท หรอื เนอ้ื หาของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมในยุค ปจ จบุ ันกม็ กี ารปรับเปลย่ี นใหเ ขากับยุคสมยั และสภาพสังคมปจจุบนั ดว ยเชนกนั ทง้ั นผี้ ูว จิ ยั พบวา การเปล่ียนแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตวั บท สามารถจําแนกได 3 ประการ ไดแก

182 1) ตัวบทที่ไดรบั การตพี มิ พเ ปน หนังสอื ไดรบั ความนิยมมาก ปจจุบัน ตวั บทที่ไดรับการตีพิมพเปนหนังสือ ไดรับความนิยมมากในกลุมปูจารย เพราะ หนังสือบางเลม ไดรวบรวมตัวบทจะตองใชประกอบพิธีกรรมของปูจารยไวอยางครบถวน เชน หนังสือ “ประเพณีเดิม” ของ ทวี เขื่อนแกว (กรุงเทพฯ: ทวนชัยการพิมพ, 2524) ที่ไดรวบรวม ตัวบทท่ีตองใชในการประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ไวอยางครบถวน เชน บทเวนทาน บทสงเคราะห บทปน พร บทเรียกขวญั บทขึ้นทาวท้ังส่ี ฯลฯ นอกจากนั้นยังมีเลมอ่ืน ๆ ท่ีมีการรวบรวมตัวบท ไวเชนกัน เชน หนังสือประเพณีลานนาไทยและพิธีกรรมตางๆ ของ หนานเตจา (เชียงใหม : ประเทืองวิทยา.มปป.) หนังสือพิธีกรรมลานนาไทย ของ มณี พยอมยงค (เชียงใหม : ส. ทรัพย การพิมพ, 2529 ข ) เปนตน โดยปูจารยใหเหตุผลวาสาเหตุที่นิยมใชหนังสือมากกวาพับสา เน่ืองมาจาก 1.ความสะดวกในการใชงาน เพราะสามารถพกพาหนังสือไปเลมเดียว แลวมีตัวบททุก ประเภทท่จี ะตองใชใ นหนังสอื เลมนน้ั 2. พิมพดวยตัวอกั ษรไทยมาตรฐาน อา นงา ยและชดั เจน 3. ตัวบทหลายประเภท แตง ไวอ ยา งไพเราะนา ฟงแลว ผูวิจยั คิดวา หากพิจารณาในดานของความสะดวกในการใชง าน หนงั สอื ท่ีรวบรวมตัวบท ท่ีจะตองใชประกอบพิธีกรรมท้ังหมดไวในเลมเดียวนั้น อํานวยความสะดวกใหแกปูจารยไดจริง แตหากพิจาณาถึงผลกระทบอีกดานหนึ่ง เม่ือปูจารยสวนใหญหันมาใชตัวบทจากหนังสือ เหมือนกันหมด อาจทําใหตัวบทสํานวนอื่น ๆ คอย ๆ ถูกเลิกใช แลวในท่ีสุดก็อาจเลือนหายไป ทําใหไมมีความหลากหลายในเรื่องของสํานวน ในท่ีสุด ท้ังลานนา อาจเหลือวรรณกรรม ประกอบพิธีกรรมไมก ่ีสาํ นวนกเ็ ปนได อยางไรก็ตาม ผูวิจัยก็คิดวา ตัวบทท่ีตีพิมพเปนหนังสือ คงไมไดมีอิทธิพลกับปูจารยทุก คน อาจจะมีอิทธิพลตอเฉพาะผูท่ีเพิ่งมาเปนปูจารยใหม หรือ ผูท่ีเห็นวาเน้ือหามีความไพเราะ เทานั้น ผูวิจัยคิดวาปูจารยหลายคนท่ีประกอบพิธีกรรมจนชํานาญ หรือมั่นใจวาตัวบทท่ีใช ประกอบพิธีกรรมสํานวนของตนก็มีความไพเราะนานําไปใชงาน ก็อาจจะยังใชสํานวนเดิมของ ตนอยูและเมือ่ มผี ูอ่ืนมาไดยิน ก็อาจจะขอคดั ลอกเพื่อสบื ทอดสาํ นวนน้ันตอไปก็เปนได 2) มีการตัดเนื้อหาบางสว นออกไป เพ่ือใหเ หมาะสมกบั โอกาสและเวลา การประกอบพิธกี รรมในปจ จุบัน ตอ งคาํ นงึ ถงึ ขอ จาํ กัดทางสงั คมหลายประการ ไมว า จะ เปน เร่อื งของเวลาที่จะตอ งรวบรดั ใหก ระชบั เพราะแตล ะคนตองมภี ารกิจท่ตี อ งไปปฏบิ ัตติ อ หรอื แมแ ตเ ร่ืองความสนใจฟงของคนปจ จบุ นั ก็สง ผลใหว รรณกรรมประกอบพธิ กี รรมบางประเภท ตอ งมกี ารตัดทอนเนอ้ื หาใหส้ันลง เพอ่ื ใหสอดคลองกับความตอ งการของผฟู ง

183 วรรณกรรมทเ่ี ห็นการตดั เนือ้ หาบางสว นออกไปไดชัดเจนที่สดุ คือ บทเวนทาน ทใ่ี นการ ประกอบพธิ กี รรมหลายคร้ัง ปูจารยม กั จะตดั เน้อื หาบางสวนออกไปใหสั้นและกระชับลง ดวย เหตุผลหลายประการ เชน 1. เรม่ิ ประกอบพิธีลา ชากวา ปกติ อาจจะเนือ่ งดวย ชาวบา นทยอยมากนั ชา หรือเจา ภาพ ไมพ รอ ม หากกลาวคําเวนทานยดื ยาว กจ็ ะทําใหพธิ เี สรจ็ ชาลงไปอกี กจ็ ําเปน จะตองตัดเนอ้ื หา บางสว นออกไป 2. พระสงฆท ีม่ ารว มงาน อาจมกี จิ นิมนตไปยังทอ่ี นื่ ๆ เปน ทตี่ อ ไป จึงตองมกี ารรบี ประกอบพิธีกรรมใหแ ลวเสร็จอยางรวดเรว็ 3. เปนความตองการของทางเจา ภาพ ทไ่ี มตองการใหเ วนทานนานๆ อาจจะดวยความ เปนคนสมยั ใหมท ่ไี มค อยใหความสนใจกบั กบั รายละเอยี ดหรอื เนื้อหาของคําเวนทานมากนกั เพยี งแตข อใหม ีครบในพธิ กี รรมเทา นั้น หรือ ทางเจา ภาพ อาจจะตอ งการใหเสรจ็ พธิ ที างสงฆ เร็วๆ จะไดไปทาํ ธรุ ะในสว นอืน่ ๆ ตอ ไป เปน ตน 4. ปจู ารยส ังเกตเห็นวา ชาวบานเรมิ่ เบ่อื และไมส นใจทจ่ี ะฟง โดยสงั เกตจากพฤตกิ รรม ตางๆ เชน เริม่ พดู คยุ กนั เปน ตน อยางไรก็ตาม ไมวาจะตัดเน้อื หาออกมากนอยเพยี งใด กจ็ ะตองรกั ษาโครงสรา งเดมิ ทง้ั 5 สวน อันไดแ ก สมมาครวั ทาน เชิญเทวดา ยอคณุ พระรตั นตรยั เจาศรทั ธา และการกลา ว ถวายทานเปน ภาษาบาลี เอาไวใหค รบถวน ไมนยิ มตัดออกมากเสยี จนฟง ไมร ูเ ร่ืองวาเปน การ ถวายทานอะไร หรือเวนทานจบในเวลาเพยี งสั้นๆ แค 1 -2 นาที เพราะอาจจะทาํ ใหเ จาภาพหรือ ผฟู ง รสู ึกไดวา พธิ กี ารเวนทานนน้ั ไมส มบรู ณก ็ได 3) เน้ือหากลา วถงึ สภาพสงั คมแบบวตั ถนุ ยิ มมากยิ่งขึ้น เน้ือหาบางสวนของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม เริ่มมีการกลาวถึงส่ิงของหรือวัตถุ ใหม ๆ ทง้ั แบบกลา วแทรกในวรรณกรรมและแตงเปน วรรณกรรมบทใหม เนื้อหาที่มีการกลา วถงึ วัตถุใหม ๆ แบบกลา วแทรกลงไปในวรรณกรรม เชน ในบทปน พร ชวงท่ีเปนการกลาวใหพร อาจมีการกลาวถึงทรัพยสินเงินทอง ความร่ํารวย ความ เจริญกาวหนาในหนาที่การงาน แตกตางจากเดิม ที่เปนสังคมเกษตร จะพูดถึงการไดผลผลิต ทางการเกษตรสูง การอยูดมี ีสขุ การไดเขาถึงนิพพาน ซ่ึงสิ่งเหลานี้ไดสะทอนใหเห็นวาคานิยม ของคนในสงั คมเรมิ่ เปลี่ยนแปลงไป ความสุขหรือความปรารถนาของคนในสังคมอดีตกับสังคม ปจจุบนั เรมิ่ มคี วามแตกตา งกัน สวนวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมบางประเภทไดมีการแตงเปนตัวบทข้ึนมาใหมเพื่อ รองรับการวัตถุสิ่งของสมัยใหมท่ีเดิมไมเคยมี เห็นชัดเจนท่ีสุดจากวรรณกรรมประเภทบท เวนทาน เชน บทเวนทาน เครื่องพิมพดีดไฟฟา เครื่องซักผา พัดลม ตูเย็น เคร่ืองปรับอากาศ ฯลฯ ท่ปี รากฏในหนงั สอื “พธิ กี รรมลา นนาไทย” ของมณี พยอมยงค (2529) แตอยางไรก็ตาม

184 บทที่แตงข้ึนมาใหมเหลาน้ีก็ไมคอยไดรับความนิยมมากนัก ซ่ึงผูวิจัยคิดวาอาจเปนเพราะ ทัศนคตขิ องชาวบา นทีอ่ าจมองวา พิธีกรรมเปนเรื่องของสง่ิ ทต่ี อ งสบื ทอดมาแตโบราณกาล ดังนั้น การปรับจนเกือบจะเปนสิ่งใหมทั้งหมด อาจยังไมเปนที่คุนเคยมากนัก และอาจมองวาเปนส่ิงที่ แปลกดวยซํา้ ความเปล่ียนแปลงท่เี กดิ ขน้ึ กับตวั บทของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม ไมว า จะเปนการ การเปลี่ยนแปลงดานวรรณกรรมทงั้ การเพ่มิ การตดั หรือการกลาวถงึ สิง่ ของสมยั ใหม ผูวจิ ยั คิด วาเปนการปรบั เพอ่ื ใหสอดคลอ งกับความตอ งการของผฟู ง เพราะตราบใดทถ่ี าผูฟง ยอมรับได วรรณกรรมประกอบพธิ กี รรมก็สามารถรบั ใชสังคมไดต อไปเชน กัน จากทไี่ ดกลา วมาเกย่ี วกบั คณุ คา การสืบทอด และการดาํ รงอยูข องวรรณกรรมประกอบ พธิ ีกรรมลานนา จะพบวา สิ่งทที่ าํ ใหว รรณกรรมประกอบพธิ กี รรมสามารถดาํ รงอยูไดนัน้ ประการแรก เปน เพราะวา วรรณกรรมประกอบพธิ กี รรมลานนายงั มคี ณุ คาตอคนลา นนาในยคุ ปจจุบัน ไมว าจะเปนคณุ คา ดานสะทอ นใหเห็นความคดิ ความเชือ่ ของคนลานนาดา นตา ง ๆ ใหความรูและอบรมระเบียบสังคม ปลูกฝง ใหคนมีความกตัญูกตเวทแี ละมคี วามนอบนอ มถอ ม ตน เปน ชอ งทางใหค นในสงั คมไดมีโอกาสปรับความเขา ใจกนั รกั ษาและเยียวยาจิตใจแกค นใน สงั คม เปน ตวั เชอ่ื มโยงความสัมพันธระหวางภพภมู ิตามความเชอ่ื ของคนลานนา เปน ตวั เชือ่ มโยงความสมั พันธร ะหวางคนกับคน คนกบั ชุมชน และชุมชนกบั ชมุ ชนตลอดจนการแสดง ใหเ ห็นถึงอตั ลกั ษณของความเปนคนลา นนา ประการตอมา คือ คนลา นนา มภี มู ิปญญาอันชาญฉลาดในการถายทอดท้ังรูปแบบการ ประกอบพิธีกรรม และตัวบทของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม จนสามารถรักษาให วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมสามารถสืบทอดจากรุนสูรุนไดเปนอยางดี และประการสุดทายคือ วรรณกรรมประกอบพธิ กี รรมลานนามลี ักษณะเดนในการรูจักปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงตัวเองให เขา กับยคุ สมัยท่ีเปลี่ยนไปได ความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม ไมวา จะเปนความเปลี่ยนแปลงดานพิธีกรรม หรือความเปล่ียนแปลงดานวรรณกรรม แมจะสงผล กระทบตอพิธีกรรม ตอวรรณกรรม ตอคน และสังคมบาง แตอยางไรก็ตามการเปลี่ยนแปลง เหลาน้ีเปนการเปล่ียนแปลงเพื่อใหวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมสามารถดํารงอยูไดในสังคมยุค ปจจุบัน หากพิธีกรรมและวรรณกรรมถูกจํากัดใหยึดติดกับรูปแบบที่เครงครัดตายตัว ท้ัง ๆ ท่ี สังคมเปลี่ยนไป วันหน่ึงอาจถูกเลิกใชไปในที่สุด ดังนั้น การปรับเปลี่ยนของวรรณกรรม ประกอบพิธีกรรมจึงเปนเปนการปรับเปลี่ยนเพ่ือใหสามารถคงอยูไดทามกลางกระแสการ เปลีย่ นแปลงของสังคมยคุ ปจจบุ ันน่นั เอง

บทที่ 6 บทสรุปและขอเสนอแนะ งานวิจัยนี้เปนการศึกษาวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมในลานนา ซึ่งเปนวรรณกรรมที่ ปจจุบันคนลานนายังนําไปใชอยู และบางประเภท มีเฉพาะในลานนาเทาน้ัน โดยมีวัตถุประสงค สําคัญในการศึกษา 3 ประการ คือ ประการที่แรก เพื่อศึกษาลักษณะเดนของวรรณกรรม ประกอบพิธีกรรมลานนา ประการที่สอง เพื่อศึกษาภูมิปญญาของคนลานนาจากวรรณกรรม ประกอบพธิ กี รรมลานนา และประการทีส่ าม เพ่ือศกึ ษาคุณคา ของวรรณกรรมพิธีกรรมลา นนา ขอบเขตการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ ศึกษาจากวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมจํานวน 6 ประเภท ไดแก เวนทาน สืบชาตา เรียกขวัญ สงเคราะห ขึ้นทาวทั้งสี่ และปนพรปใหม วิธีดําเนินการวิจัยประกอบดวยการปริวรรตและรวมรวมขอมูลดานเอกสารจากตนฉบับที่ใช บันทึกตัวบทวรรณกรรม การเก็บขอมูลภาคสนามดวยการสังเกตแบบมีสวนรวม และการ สมั ภาษณวิทยากร แลว นาํ ขอมูลทง้ั หมดมาศกึ ษาวิเคราะห ผลการศึกษาจําแนกไว 4 สวน ตามวัตถุประสงคหลักในการวิจัย สวนแรก คือ องคประกอบของพิธีกรรม สวนที่สอง คือ รูปแบบ และเน้ือหาของตัวบทวรรณกรรมประกอบ พธิ ีกรรม สวนท่ีสาม คอื ภูมิปญญาและลักษณะเดนของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม และสวน สุดทายคือ คุณคา การสืบทอดและการดํารงอยูของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม โดยผูวิจัยขอ กลาวถึงผลการศกึ ษาในแตละสวนโดยสรปุ ดังน้ี 6.1. องคประกอบของพิธีกรรม การประกอบพิธีกรรมทั้ง 6 พิธีกรรมมีรายละเอียดบางประการสอดคลองกัน และมีบาง ประการแตกตางกัน สวนท่ีมีความสอดคลองกันสวนแรกคือผูประกอบพิธีกรรม ท่ีสวนใหญ มักจะเปนปูจารย สวนที่สอง คือ ในการประกอบพิธีกรรมทุกครั้งมักมีผีหรือส่ิงศักดิ์สิทธ์ิเขามา เก่ียวของดวยเสมอแมแตพิธีกรรมท่ีมีพระสงฆเขามาเก่ียวของดวย และสวนสุดทายคือ มีการ นําตัวบทวรรณกรรมไปใชในการประกอบพิธีกรรม สวนสิ่งที่แตกตางกัน เชน เครื่องประกอบ พธิ กี รรมและจาํ นวนผูเขา รวมพิธีกรรม ซึ่งแตละพิธีกรรมอาจมีรายละเอียดและจํานวนท่ีแตกตาง กัน 6.2. รปู แบบ เนือ้ หาของตัวบทวรรณกรรมประกอบพิธกี รรม การศกึ ษาในสวนน้ีเปน การศึกษารูปแบบและเนอ้ื หาของตัวบทวรรณกรรมประกอบ พิธีกรรม โดยมีผลการศึกษาดังน้ี

186 รปู แบบของเอกสารทีใ่ ชบ ันทกึ ตวั บทวรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรม สว นใหญ จะมี 3 ประเภท ไดแก บันทึกดวยอักษรธรรมลานนาในพับสา บันทึกดวยอักษรไทยมาตรฐานใน หนังสือ และบันทึกไวในสมุดบันทึก สวนรูปแบบคําประพันธพบวา ตัวบทสืบชาตากรณีที่ พระสงฆเปนผูประกอบพิธีกรรม จะแตงเปนภาษาบาลีลวน ดวยคําประพันธประเภทฉันท สวนตัวบทของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมอ่ืนๆ ไดแก เวนทาน สงเคราะห เรียกขวัญ ข้ึนทาวทั้งส่ี ปนพร รวมถึงบทสืบชาตาในกรณีที่ปูจารยเปนผูประกอบพิธีกรรม จะแตงดวย คําประพันธประเภทรายแบบลานนา ที่ไมเครงครัดในฉันทลักษณมากนัก แตเนนความหมาย และความไพเราะในการออกเสียงมากกวา อาจมีจํานวนคําในแตละวรรคไมเทากัน เชน บทเวน ทาน อาจมีประมาณ 5 – 8 คํา บทสืบชาตา อาจมีประมาณ 17 – 18 คํา สวนการจบบทมักจบ ดว ยคําวา “เทอะ” “แดเทอะ” “กอ นเทอะ” “เทย่ี งแทด ีหล”ี “แทด ีหลี” เปนตน สวนเนื้อหาและโครงสรางของตัวบทวรรณกรรมแตละประเภท มีดังน้ี คือ บทเวนทาน เร่ิมจาก สมมาครัวทาน ตามดวยอัญเชิญเทวดา ยอคุณพระรัตนตรัย โอกาสในการประกอบ พิธีกรรม เจาภาพ ส่ิงของถวายทาน ระบุถึงความต้ังใจวาตองการถวายใหแกพระรัตนตรัย พรอมกับอาราธนาใหพระรัตนตรัยมารับเอาสิ่งของถวายทาน คําปรารถนา อุทิศสวนบุญสวน กศุ ล และจบดว ยการกลาวถวายเปน ภาษาบาลี บทสบื ชาตา กรณีที่พระสงฆเปนผูกลาว จะเริ่ม จาก กลาวชุมนุมเทวดา ตามดวยสวดเจริญพุทธมนต และจบดวยสวดบทสืบชาตา แตหาก ปูจารยเปนผูกลาวจะเร่ิมจากกลาวนมัสการครู ตามดวยการกลาวปดเคราะห กลาวเรียกขวัญ กลาวบทสบื ชาตา จบดวยกลา วคาถาธรณสี ารหลวง บทเรียกขวัญ หากเปนบทเรียกขวัญลูกแกวจะเริ่มจากการเกริ่นนํา ตามดวย การ กลาวถึงสภาพกอนเปนลูกแกว การกลาวถึงพิธีเรียกขวัญลูกแกว จบดวยการลงทาย แตหาก เปนบทเรียกขวัญผูปวย บทเรียกขวัญชวงเดือนเกาเหนือ และบทเรียกขวัญคูบาวสาว จะเริ่ม จากเกร่ินนําดวยคาถาภาษาบาลี ตามดวยกลาวถึงกาลอันเปนมงคล บอกชื่อเจาภาพ เชิญ ขวัญ กลาวถึงการทองเท่ยี วของขวญั กลาวถึงความงามของบายศรีและเคร่ืองบูชาขวัญ จบ ดวยการเชิญขวัญใหกลับมาอยูกับเจาของขวัญ หากเปนบทเรียกขวัญวัวควาย จะเร่ิมจาก กลาวถึงกาลอันเปนมงคล กลาวถึงบุญคุณของวัวและควาย กลาวขอขมาวัวและควาย กลาวเรยี กขวญั วัว ควาย จบดว ยการใหพ ร บทสง เคราะหเ ริ่มจากกลา วถึงโอกาสในการประกอบพธิ กี รรม ตามดวยกลาวถึงเจาภาพ กลา วปด เคราะห กลา วใหพรเปน ภาษาลานนา จบดวยกลา วใหพรเปนภาษาบาลี บท ข้ึนทา วท้งั ส่ีเรมิ่ จากลาวชมุ นมุ เทวดาเปนภาษาบาลี ตามดว ยการกลา วถงึ งานและช่อื เจา ภาพ กลา วบชู าทาวทัง้ สีเ่ ปนภาษาลา นนา กลาวบชู าทา วทง้ั ส่เี ปน ภาษาบาลี กลา วถงึ เครอ่ื ง บตั รพลี จบดว ยการขอพรจากทาวทงั้ สี่ บทปน พรเรมิ่ จากกลา วถงึ โอกาสที่จะใหพร ตาม ดว ยการกลาวถึงผูรบั พร เครอ่ื งคาราวะและการรบั เอาเครอ่ื งคารวะนนั้ กลา วยกโทษและให พรเปนภาษาลานนา จบดวยการกลาวใหพรเปน ภาษาบาลี

187 6.3 ภมู ปิ ญญาและลักษณะเดน ของวรรณกรรมประกอบพิธกี รรม การประกอบพิธีกรรมตาง ๆ ไดสะทอนใหเห็นถึงภูมิปญญาของคนลานนาดานตาง ๆ ดานแรก คือ ภูมิปญญาในการสรางระบบความสัมพันธระหวางคนกับธรรมชาติ คนกับสิ่งเหนือ ธรรมชาติ และคนกบั คน โดยแสดงออกผานพิธีกรรมในรปู แบบของการแสดงความเคารพ ดาน ที่สอง คือ ภูมิปญญาในการสรางระบบคิดเรื่องวันและฤกษยามที่เหมาะสมกับการประกอบ พิธีกรรมตาง ๆ ท่ีจะตองพิจารณาจากเดือนท่ีเหมาะสม วันที่เหมาะสมท้ังในระบบวันเม็ง วันหน ไท ฟาตีแฉงเศษ ตลอดจนฤกษยามท่ีเหมาะสมในแตละวันดวย ดานที่สาม คือ ภูมิปญญาใน การคัดเลือกผูประกอบพิธีกรรม ท่ีตองคัดเลือกคนมาเปนปูจารยโดยพิจารณาจากการเคยผาน การอุปสมบท อาวุโส ไหวพริบปฏิภาณ ความเสียสละ ความประพฤติดีประพฤติชอบ และ ความรูเรื่อง ศาสนพิธี ดานที่สี่ คือ ภูมิปญญาทางดานศิลปะที่สัมพันธกับพิธีกรรม เชน บายศรี ตุง ชอ ดานท่ีหา คือ ภูมิปญญาในการใชเครื่องประกอบพิธีกรรมที่มีความหมายเชิง สญั ลกั ษณ เชน ใชใบของตนเบยี้ แทนจํานวนหอยเบ้ีย เน่ืองจากมีเสียงพองกัน การเลือกเครื่อง ประกอบพิธีกรรมที่เปนเสมือนสัญลักษณแหงความเจริญงอกงาม เชน หนอกลวย หนอออย หนอ มะพราวเปน ตน และดานที่หก คอื ภมู ปิ ญญาในการนําวัสดุธรรมชาติที่มีอยูรอบตัวมาใชใน พิธีกรรม เชน ใชใ บไมต าง ๆ ทําเปนแกง แทนแกงจรงิ เปน ตน สวนตัวบทของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมไดสะทอนใหเห็นถึงภูมิปญญาดานการใช ภาษา เพราะแตงดวยภาษาที่ไพเราะสละสลวย มีความหมายลึกซ้ึงกินใจ และมีความศักดิ์สิทธ์ิ อีกทั้งยังไดสะทอนภูมิปญญาดานการกําหนดโครงสรางใหยืดหยุน สามารถปรับใหเขากับยุค สมยั ทีเ่ ปล่ยี นแปลงไปได ลักษณะเดนของการประกอบพิธีกรรม คือ บางพิธีกรรมมีแตที่ลานนาเทาน้ัน เชน พิธีกรรมสืบชาตา พิธีกรรมขึ้นทาวทั้งส่ี และพิธีกรรมเวนทาน นอกจากน้ีพิธีกรรมลานนายัง สะทอนจิตใจ นิสัย และความเช่ือของคนลานนา ไดแก ความละเมียดละไมของจิตใจ ความออน นอมถอมตน ความมีสัมมาคารวะ และการเกรงกลัวตอบาปของคนลานนา เชน การสมมาครัว ทาน ในพิธีกรรมเวนทาน การขอขมาควายในพิธีกรรมสูขวัญควาย การบอกกลาวและขอ อนุญาตจัดพิธีกรรมแกสิ่งศักดิ์สิทธ์ิ ในพิธีกรรมขึ้นทาวทั้งส่ี อีกทั้งพิธีกรรมลานนายังมีลักษณะ เปนการผสมผสานพระพุทธศาสนา เขากับความเชือ่ เรื่องผแี ละการนับถือเรื่องส่ิงศักด์ิสิทธิ์ เชน การประกอบพธิ กี รรมข้ึนทาวท้ังสี่กอ นการประกอบพธิ ีกรมทางพระพทุ ธศาสนา หรือ การกลาว อญั เชิญเทวดาและส่งิ ศกั ดิส์ ทิ ธ์ิทง้ั หลายกอนจะกลาวถวายทานใหแกพระพุทธศาสนา เปน ตน สวนลักษณะเดนของตัวบทวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม คือ มีภาษาบาลีปรากฏอยู ดว ยเสมอ และมีโครงสรางหลักเหมือนกันท่ัวลานนา แมมีตัวบทหลายสํานวน อีกทั้งตัวบทของ วรรณกรรมพิธีกรรม ยังสะทอนความคิดสรา งสรรคข องชาวบา นผปู ระกอบพิธกี รรมอกี ดว ย

188 สวนความสัมพันธระหวางพิธีกรรมและวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมน้ัน ผลการศึกษา พบวา ท้ังพิธีกรรมและวรรณกรรม มคี วามสัมพนั ธซ ่ึงกันและกันหลายประการ ประการแรก คือ วรรณกรรมชวยสรางบรรยากาศความศักดิ์สิทธิ์ใหแกพิธีกรรม เนื่องจากมีการใชภาษาท่ี สละสลวย และภาษาบาลี มีลีลาการอานดวยทวงทํานองคลายกับการเทศน เนื้อหากลาวถึงส่ิง ศักด์ิสิทธิ์ทั้งหลาย และคนลานนามีความเชื่อที่ฝงลึกในใจมากอนหนาน้ันแลววาวรรณกรรม ประกอบพิธีกรรม เปนบทที่มีความศักด์ิสิทธ์ิ อีกทั้งยังชวยทําใหการประกอบพิธีกรรมครั้งนั้น สมบูรณแ บบ เพราะคนลานนา เชื่อวา ตราบใดท่ยี ังไมม ีการกลาววรรณณกรรมประกอบพิธกี รรม การประกอบพิธีกรรมในครั้งน้ัน ก็ถือวายังไมเสร็จส้ินอยางสมบูรณแบบ ประการที่สอง คือ วรรณกรรมใชอธิบายความเปนมาของพิธีกรรม แนวทางปฏิบัติในการประกอบพิธีกรรมตางๆ และเคร่ืองประกอบพิธีกรรม ไวอยางชัดเจน และประการสุดทาย คือ พิธีกรรมชวยสืบทอด วรรณกรรมใหคงอยูในวัฒนธรรมลานนา เพราะ ตราบใดท่ีคนลานนา ยังมีการประกอบพิธีกรรม อยู วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมก็จะยังคงอยู ดังนั้น จึงกลาวไดวา ท้ังพิธีกรรม และวรรณกรรม ตา งกม็ คี วามสมั พันธซ่งึ กนั และกนั ขาดสงิ่ ใดส่ิงหนง่ึ ไปไมได เพราะ วรรณกรรมทําหนาที่อธิบาย ที่มาของพธิ กี รรม ในขณะเดียวกนั พิธีกรรมก็ชวยสืบทอดวรรณกรรมใหค งอยูเ ชนกัน 6.4 คุณคา การสืบทอด และการดาํ รงอยูข องวรรณกรรมประกอบพธิ กี รรม วรรณกรรมประกอบพิธีกรรม มีคุณคาตอคนและสังคมลานนาหลายประการ ประการ แรก คือ สะทอนใหเห็นความคิด ความเช่ือ และลักษณะนิสัยของคนลานนา ไดแก ความเชื่อ เรื่องชีวิตหลังความตาย เรื่องภพหนา ชาติหนา ความเช่ือเร่ืองอํานาจศักดิ์สิทธ์ิ เทวดา และผี ของคนลานนา ความเช่ือเร่ืองเคราะห ความเช่ือเรื่องขวัญ ความปรารถนาของคนลานนา ความโอบออมอารีและเอ้ือเฟอเผื่อแผใหแกผูอื่น เปนตัวเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางภพภูมิ ตามความเชือ่ ของคนลานนา และเปน ตัวเช่ือมโยงความสมั พันธร ะหวา งคนกับคน คนกับชุมชน และชุมชนกับชุมชน ประการตอมา คือ ใหความรูและอบรมระเบียบสังคม ท้ังเร่ืองการอธิบายถึง มูลเหตใุ นการประกอบพิธีกรรม การใหความรแู ละเสรมิ สรางปญญาแกผูฟง และการสรางแบบ แผนในการปฏิบัติตนเน่ืองในพิธีกรรมตางๆ ปลูกฝงใหคนมีความกตัญูกตเวทีและมีความ นอบนอมถอมตน ตลอดจนเปนชองทางใหคนในสังคมไดมีโอกาสปรับความเขาใจกัน ประการ ท่ีสาม คือ รักษาและเยียวยาจิตใจคนในสังคม และประการสุดทาย คือ แสดงใหเห็นถึงอัต ลักษณของความเปน คนลา นนา การสืบทอดวรรณกรรมประกอบพธิ กี รรม จะพจิ ารณาจากผูใหการสบื ทอดซ่ึงกค็ อื ปจู ารยค นเกาของหมบู าน และผูร ับการสบื ทอดซงึ่ กค็ อื ปจู ารยค นใหมของหมูบาน ในกรณีท่ี ปจู ารยคนเกาเสยี ชวี ติ ลกู หลานอาจนําตวั บทเผาไปพรอมกบั ปูจารย ยกใหเ ปนสมบตั ิของวดั ยก ใหเ ปน สมบตั ขิ องปูจารยค นใหม หรอื ลกู หลานอาจเก็บรกั ษาเอาไวเ อง สวนกรณีท่ปี ูจ ารยค นเกา

189 ยังมชี วี ิตอยู อาจสบื ทอดดว ยการมอบตวั บทบางตวั บท ใหแกปจู ารยค นใหม บางคร้ังอาจมกี าร สอนวิธอี านหรอื วธิ ขี น้ึ – ลง เสียงใหด วย สว นผูรบั การสบื ทอด สามารถสบื ทอดเนอ้ื หาดว ยการ ไปขอจดบนั ทกึ หรือขอตน ฉบับจากปูจารยค นเกาในหมูบานนน้ั ไปขอจดบันทกึ หรอื ขอตน ฉบบั จากปจู ารยตา งหมบู านทต่ี นสนิทสนมคุน เคย จดบันทกึ หรอื จําจากสํานวนทไ่ี ดฟ งแลว ประทบั ใจ แลว กลบั มาจดบนั ทกึ ภายหลงั หรอื หาซอ้ื หนงั สอื ทมี่ ีการพิมพบทกลา วประกอบพิธกี รรมไว การ สืบทอดดานทาํ นอง สามารถทําไดดว ยการจดจําจากทเ่ี คยไดฟ งมาสมัยทเี่ ปนพระ จดจําจาก การฟงปูจารยรุนกอ น และขอคําชแี้ นะจากปจู ารยท ี่มปี ระสบการณ สวนผลการศึกษาดานการดํารงอยูของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม พบวา บาง พิธีกรรมมีการเปลี่ยนแปลงไมมากนัก โดยเฉพาะวรรณกรรมท่ีเปนภาษาลีลวน เชน ตัวบทของ วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมสืบชาตา สวนวรรณกรรมประเภทอื่น ๆ พบวา เกิดการ เปล่ียนแปลงขน้ึ ในดา นตา ง ๆ คือ ดา นการประกอบพธิ ีกรรม และดา นตัวบท ความเปลี่ยนแปลงดานการประกอบพิธีกรรม พบวา เกิดการเปล่ียนแปลงหลายสวน สวนแรก คือ ผูประกอบพิธีกรรม มีการเชิญปูจารยท่ีมีช่ือเสียงจากที่อ่ืนมาเปนผูประกอบ พิธีกรรม ความเปล่ียนแปลงดานคุณสมบัติหรือสถานภาพของผูประกอบพิธีกรรม เชน พิธีกรรมดําหัวเดิมผูอาวุโสนอยจะดําหัวผูอาวุโสมาก แตปจจุบันผูอาวุโสมากอาจดําหัวผูอาวุโส นอยได หากมีฐานะทางสังคมอยางอื่นสูงกวา เชนเปนหัวหนางาน เปนตน สวนที่สอง คือ ลักษณะการมีสวนรวมในพิธีกรรมซึ่งผูเขารวมพิธีกรรมเร่ิมใชเงินมาชวยเจาภาพประกอบ พิธีกรรม แทนการใชแรงงาน หรือ ทรัพยากรท่ีตนมีอยู อีกทั้งผูเขารวมพิธีกรรมบางคนมารวม พิธีกรรมโดยอาจมีเหตุผลอื่นแอบแฝง ตลอดจนผูเขารวมพิธีกรรมยังเปนเสมือนตัวชี้วัด สถานภาพทางสังคมบางประการของผูจัดพิธีกรรม สวนท่ีสาม คือ รูปแบบการประกอบ พิธีกรรม พบวาบางพิธีกรรม มีรูปแบบที่เปลี่ยนไปอยางส้ินเชิง เชน พิธีกรรมสืบชาตา จากเดิม ทเี่ ปน พธิ กี รรมทีจ่ ะตองจัดเตรียมเครื่องประกอบพิธีกรรมมากมาย ปจจุบันกลายมาเปนเชาบูชา เทียนไปจุดบูชา สวนท่ีสี่ คือ การจัดเตรียมพิธีกรรมจากเดิมท่ีเคยชวยกันทํา ปจจุบันเร่ิมมีการ วาจางใหผูอื่นชวยจัดเตรียมใหท้ังหมด สวนที่หา คือ เครื่องประกอบพิธีกรรม จากเดิมอาจใช วสั ดธุ รรมชาติทไ่ี มต อ งใชเงินซือ้ หา ปจจุบนั ตองใชเ งนิ จัดซ้ือเครอ่ื งประกอบพิธีกรรม ความเปลี่ยนแปลงดานตัวบท พบวามีการเปลี่ยนแปลงหลายสวนเชนกัน สวนแรก คือ ตัวบทที่ไดรับการตีพิมพเปนหนังสือ ไดรับความนิยมมาก สวนท่ีสองคือ มีการตัดเน้ือหา บางสว นออกไป เพอ่ื ใหเ หมาะสมกบั โอกาสและเวลา สวนที่สาม คือ เนื้อหามีการกลาวถึงสภาพ สังคมแบบวัตถุนิยมมากย่ิงขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม เปนการเปล่ียนแปลงเพ่ือใหเขากับยุคสมัยท่ีเปล่ียนไป และเพ่ือใหวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม สามารถดาํ รงอยูไ ดใ นปจ จุบนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook