Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความเชื่อ การเวนตาน

ความเชื่อ การเวนตาน

Published by aun-li, 2019-12-01 23:05:32

Description: หนานอั๋นเวียงป่าขาม
กลางเวียงหริภุญชัยหละปูนแก้วกว้าง

Search

Read the Text Version

40 -โภชนอาหาร 7 อยาง (6) ผูเกี่ยวขอ งกับการประกอบพธิ ีกรรม 6.1 ผจู ดั เตรียมพิธีกรรม การสืบชาตาเมืองในอดีต ผูครองเมืองจะมอบหมายใหเสนาอามาตยแตละคนรับผิดชอบจุด ทีจ่ ะตองประกอบพิธีกรรมตาง ๆ เชน แสนตองแตง (ตองแตง) เปนหัวหนาบูชากลางเมืองเชียงใหม หมื่นจิตร เปนหัวหนาบูชาประตูสวนดอก เปนตน (สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ เลม 13, 2538 : 6956) แตป จจุบนั หนว ยงานตาง ๆ ท้ังภาครัฐและภาคเอกชน ในจังหวัดเชียงใหม จะรับหนาท่ีดูแล ในแตละจุด อยางไรก็ตาม ผูรับผิดชอบแตละจุดก็ตองปรึกษาหารือ หรือ เชิญใหผูท่ีมีความรูเร่ืองน้ี หรือ เคยจัดเปนประจําทุกป เชน ปูจารย มาเปนหลักในการจัดเตรียมท้ังสถานท่ี เครื่องประกอบ พธิ ี ตลอดจนนิมนตพระสงฆม ารว มพิธี 6.2ผปู ระกอบพธิ กี รรม แตละจดุ ทมี่ กี ารประกอบพธิ ี จะมปี จู ารย จุดละ 1 คน และพระสงฆ จุดละประมาณ 9 รปู ยกเวนจุดศนู ยก ลางการประกอบพธิ ีทอ่ี นสุ าวรียสามกษัตรยิ ใ ชพ ระสงฆ 25 รปู 6.3ผูเขา รว มพธิ ีกรรม แตละจดุ จะมเี จาภาพหลักอยู ซงึ่ เจาภาพหลกั แตล ะจุดกจ็ ะมีบคุ ลากรใน หนว ยงานมารว มพธิ ี นอกจากนัน้ กม็ ีประชาชนทอี่ าศยั อยใู นบรเิ วณน้ัน ตลอดจนประชาชนทว่ั ไป ที่ สนใจมารว มงาน (7) ขน้ั ตอนการประกอบพธิ กี รรม 7.1 กอ นเรมิ่ งาน ผจู ัดเตรียมพิธจี ะกอเจดยี ทราย1,000 กอง และขึน้ ทา วทัง้ ส่ที กุ จดุ ที่จะมี การประกอบพธิ ีกอน อาจกระทาํ ตอนเยน็ หรือตอนเชา มดื ก็ได 7.2 ชว งเชา จะตกั บาตรพระสงฆเ ทาอายเุ มอื ง ที่บรเิ วณกลางเมอื งเชยี งใหม 7.3 ชว งสายจะเริ่มประกอบพธิ กี รรมสืบชาตา โดยการจุดพลสุ ง สัญญาณใหเรม่ิ พธิ ีทุกจดุ พรอ มกัน 7.4 เร่มิ พธิ ใี นแตล ะจดุ โดยมีลําดบั ข้ันตอนในการประกอบพธิ ีกรรมเชน เดยี วกบั การสืบชาตา คนและชาตาบาน

41 (8) ตวั บทท่ีใชป ระกอบพธิ กี รรม บทสบื ชาตา อน่ึง เปนที่นาสังเกตวา ตัวบทท่ีใชประกอบพิธีกรรมสืบชาตาคน มีมากกวาการสืบชาตา บานและเมอื ง ผวู จิ ัยคดิ วาอาจมเี หตุผลมาจากความถี่ในการประกอบพิธีกรรมคนท่ีในรอบหน่ึงปจะมี การประกอบพธิ ีกรรมหลายคร้งั ผดิ กบั การสบื ชาตาหมบู าน ที่หลายปอ าจประกอบพิธีหน่ึงครั้ง หรือ สืบชาตาเมือง กม็ ีการประกอบพธิ ปี ล ะครั้งเทา นัน้ 2.3 พิธกี รรมเรยี กขวญั พธิ ีกรรมเรยี กขวญั เปน พิธกี รรมหนงึ่ ทคี่ นลา นนานิยมปฏิบตั กิ ันอยา งแพรหลาย ซงึ่ ในแตล ะ ทองถ่ินอาจเรียกพธิ กี รรมนแ้ี ตกตา งกนั ไป เชน เรยี กขวญั รอ งขวญั (อา น ฮอ งขวญั ) สูข วญั ทูลพระ ขวญั (ใชก บั พระมหากษัตรยิ และพระบรมวงศานวุ งศ) ซึง่ การเรียกขวัญสามารถประกอบพิธใี หไดทั้ง คน และสตั ว ดงั มรี ายละเอยี ดดงั นี้ ก. เรยี กขวัญคน (1) ความหมาย การเรียกขวัญ คือ การกลาวเชิญใหขวัญกลับเขามาสูตัวของเจาของขวัญ ซึ่งคําวาขวัญ ใน ภาษาลานนา มีหลายความหมาย แตในที่นี้ หมายถึง สภาวะอยางวิญญาณที่สถิตอยูกับคน หาก ขวัญไปจากตัวบุคคลน้ันแลว จะทําใหเจาตัวไมสบายหรือแสดงอาการไมสมประกอบ ขวัญใน รางกายของมนษุ ยจ ะประกอบไปดวย 32 ขวัญ ประจําอยูกับอวัยวะทั้ง 32 ไดแก ผม ขน เล็บ ฟน หนัง เนอื้ เอน็ กระดกู เยือ่ ในกระดูก ตบั ปอด หวั ใจ มาม ไต ไสใหญ ไสเล็ก อาหารเกา อาหาร ใหม กะโหลกศีรษะ มันสมอง นํ้าดี เสลด เลือด หนอง เหง่ือไคล มันขน เปลวมัน น้ําตา น้ําลาย นํ้ามูก น้ําไขขอ และ ปสสาวะ แตในการพรรณนาความในการเรียกขวัญ มักจะไมครบทุกสวน เชน กลาวถึงเพียงขวัญจมูก ขวัญตา ขวัญไหล ขวัญแขน เปนตน (สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ ,2542 : 553) (2) จดุ มงุ หมายของการประกอบพธิ ี เพอื่ เปน การเชญิ ใหขวัญกลบั เขา มาสตู ัวเจา ของขวัญ อนั จะสงผลใหมสี ขุ ภาพกายและ สขุ ภาพจติ ทด่ี ี มีความสขุ

42 (3) โอกาสในการประกอบพิธีกรรม การประกอบพธิ กี รรมเรยี กขวัญใหแ กคนนนั้ จัดไดวา เปนการประกอบพธิ กี รรมในชว งเวลา แหงการเปลยี่ นผานของชวี ติ สว นใหญพ บได 4 กรณี ไดแก 3.1 เรยี กขวัญผปู ว ย การเจบ็ ปว ย เปนการเปลย่ี นผานสถานภาพจากบคุ คลปกติสูสภาพท่ีตองเผชิญกับโรคภัยไข เจบ็ ทก่ี อ ใหเกดิ ทัง้ ความไมส บายกายไมสบายใจ จึงตองมีการเรียกขวัญเพื่อใหขวญั กลับมาอยูกับตัว ดงั เดิม อาการเจบ็ ปวยอาจทุเลา หรือหายไป 3.2 เรยี กขวัญตามประเพณีชว งเดือน 8-9 เหนอื ชว งประมาณเดือน 8-9เหนอื หรือประมาณชวงเดอื นพฤษภาคมถงึ มิถุนายน คนลานนาสวน หนึ่งนิยมนําครัวขาวขวัญหรืออาหารสําหรับขวัญ ซ่ึงสวนใหญจะเปนขาวเหนียวนึ่งจํานวน 1 ถวย และไกตม จํานวน 1 คู พรอมนํ้าด่ืม ไปขอใหปูจารยชวยเรียกขวัญให การเรียกขวัญในกรณีน้ี ไม จําเปนจะตองเจ็บปวยก็สามารถประกอบพิธีกรรมได ดวยมีความเช่ือวา ในรอบปหนึ่งกอนท่ีอายุจะ เปล่ียนแปลงไปอีก 1 ป ควรจะมีการเรียกขวญั อยางนอย 1 คร้ัง เพราะชว งปท ีผา นมาอาจไปทําอะไร ใหขวัญอยูกับตัวไมครบท้ัง 32 ขวัญ และเพ่ือเปนการเตรียมความพรอมในการดําเนินชีวิตปตอไป ดวย (สัมภาษณพอ หนานประสทิ ธ์ิ โตวิเชยี ร,15 ก.ย. 51) 3.3 เรียกขวัญลกู แกว – นาค ชวงเวลาที่บุคคลผูหน่ึงจะบรรพชาเปนสามเณร หรืออุปสมบทเปนพระภิกษุ นับไดวาเปน ชวงหัวเล้ียวหัวตอท่ีสําคัญชวงหนึ่งของชีวิต เพราะเปนชวงเวลาท่ีบุคคลผูน้ันตองเปลี่ยนผาน สถานภาพจากฆราวาสเปนสมณเพศ ซ่ึงความแตกตางระหวางสถานภาพเดิมกับสถานภาพใหม อาจกอใหเกิดความกังวล ความไมสบายใจตาง ๆ เปรียบเสมือนกับขวัญบางสวนอาจไมอยูกับเน้ือ กบั ตวั จงึ ตองมีการเรียกขวัญ เพ่ือใหขวัญกลับมาสูรางดังเดิม เพื่อใหเกิดความพรอมท้ังกายและใจ ท่ีจะพบกบั ความเปลย่ี นแปลงในสถานภาพใหม 3.4 เรียกขวญั คูบาวสาว การแตงงานก็เปนอีกชวงเวลาหนึ่ง ที่ทั้งฝายเจาบาวและเจาสาว กําลังจะเปลี่ยนสถานภาพ จากชวี ติ โสดท่ีมีความอิสระหรือเคยชินกับพฤติกรรมหลายอยาง สูสถานภาพสมรสท่ีจะตองปรับตัว และเปล่ียนแปลงหลายอยางในชีวิต ชวงเวลานี้จึงเปนชวงเวลาสําคัญอีกชวงหนึ่ง ที่อาจสงผลใหคู บาวสาวเกิดความกังวล จนเปรียบไดกับขวัญไมอยูกับเน้ือกับตัว จึงตองมีการเรียกขวัญ เพ่ือใหเกิด ความเชือ่ มัน่ วาขวัญไดกลับมาอยูกบั เนือ้ กับตวั แลว ทาํ ใหเกดิ ความพรอมท่จี ะเริม่ ตน ชีวิตคู

43 อยางไรก็ตาม นอกจากที่กลาวมา ในระยะหลัง จะเริ่มพบการเรียกขวัญมาข่ี-ผีเจานาย ในชวงที่ประกอบพิธีกรรมฟอนรําบูชาครู แตบทที่ใชเรียกขวัญเปนวรรณกรรมแบบมุขปาฐะ ผูวิจัย ยงั ไมพ บตัวบทที่เปน ลายลกั ษณอกั ษร จงึ อยนู อกขอบเขตการศึกษา (4) สถานทป่ี ระกอบพิธีกรรม การประกอบพธิ ีกรรมเรยี กขวญั สว นใหญจ ะประกอบพธิ ีกรรมทีบ่ านของผจู ัดพิธี ยกเวนการ เรียกขวัญลกู แกว จะประกอบพธิ ที วี่ ัด (5) เครอ่ื งประกอบพธิ กี รรม 5.1 ขนั หรอื พานครูสาํ หรับปจู ารย ซึ่งแตล ะทอ่ี าจมีรายละเอียดท่ีแตกตางกนั ไป แตสวนใหญ นยิ มใสด อกไมธ ปู เทียน น้าํ ขมนิ้ สม ปอย และเงิน จาํ นวน 108 บาท หรอื ตามจาํ นวนทีค่ รขู องปจู ารย แตละทานจะกาํ หนด 5.2 ครัวขาวขวัญ หรือ “ควักขาวขวัญ” ซึ่งก็คือ อาหารสําหรับขวัญ ที่ทําเปนกระทงใบตอง ขนาดเล็ก 1 ชุด ภายในประกอบดวยดอกไมธูปเทียน ขาว กลวย และอาหาร เชนแคบหมูหรือไขตม สิ่งสําคัญที่ขาดไมไดคือ ดายสีขาว สําหรับใหปูจารยผูกขอมือใหแกผูปวย หากเปนการเรียกขวัญ ผูป วยและเรียกขวญั ชว งเดือน 9 จะตอ งใชไกต มจํานวน 2 ตวั เปน อาหารสาํ หรับขวัญ 5.3 บายศรี มีเฉพาะพธิ ีกรรมเรยี กขวัญทมี่ ีคนมารว มงานเปนจาํ นวนมาก และตอ งเอาปจ จยั มารวมทาํ บญุ ดว ย บายศรจี ะมหี นาทีส่ องอยา ง คอื ใชป ระกอบการเรยี กขวญั ดว ยการใสครวั ขาวขวัญ ลงไปในบายศรี อกี หนา ทห่ี นึ่ง คอื ใชใ สป จจัยทผ่ี ูร ว มพธิ กี รรมนาํ มารว มทาํ บุญ จึงพบในการเรียก ขวญั ลูกแกว เรยี กขวัญคบู า วสาว สว นการเรียกขวัญผปู วย ไมจ าํ เปนตอ งมี (6) ผูเกีย่ วขอ งกบั การประกอบพธิ ีกรรม 6.1ผูจดั เตรียมพธิ ี ในการประกอบพิธีกรรมเรียกขวัญ สิ่งท่ีจะตองจัดเตรียมคือเครื่องประกอบพิธี ซึ่งทางฝาย เจาภาพจะตองเปนฝายจัดเตรียม โดยมีสมาชิกในบานคนใดคนหนึ่ง หรือญาติพี่นองชวยจัดเตรียม ให ซึ่งการจัดเตรียมไมไดใชเวลามากเหมือนกับการประกอบพิธีกรรมสืบชาตา หรือสงเคราะห ยกเวนการเรียกขวัญลกู แกวและเรียกขวญั คูบา วสาว ที่จะตอ งใชบ ายศรเี ปน เคร่ืองประกอบพธิ กี รรม ก็จะตอ งหาคนมาชวยเตรียมบายศรเี พิม่ ดวย

44 6.2ผูประกอบพธิ ี ผูทําหนาที่ประกอบพิธีกรรมเรียกขวัญไดแกปูจารย โดยจะทําหนาที่เปนผูกลาวบท เรียกขวญั หากเปน การเรยี กขวญั ผูป วยหรอื เรียกขวัญชวงเดือน 8-9 เหนือ ก็จะใหปูจารยในหมูบาน น้นั เปน ผูประกอบพธิ ีกรรม แตห ากเปนการเรยี กขวญั ลูกแกว หรือคูบา วสาว อาจมกี ารเชิญปูจารยที่มี ชื่อเสียงจากท่อี ่นื มาทําหนาท่ีเรียกขวญั ให 6.3 ผูเขารว มพธิ ี การเรยี กขวัญชวงเดอื น 8-9 เหนือ สว นใหญจ ะมีเพยี งปจู ารยและผูรับการเรียกขวัญเทานั้น เขารวมพิธี สวนการเรียกขวัญผูปวย นอกจากปูจารยและผูปวยแลวอาจมีสมาชิกในบานหรือญาติ ผูปวยเขารวมพิธีดวย แตหากเปนการเรียกขวัญลูกแกวหรือคูบาวสาว จํานวนผูเขารวมพิธีก็จะมี จาํ นวนมากข้ึนตามลําดับ เพราะเปนงานบุญและงานมงคล ดังน้ันทางฝายเจาภาพก็จะมีการเชิญคน มารว มพธิ ีเปน จํานวนมาก และคนทมี่ ารว มพธิ เี หลา นัน้ กม็ โี อกาสไดเ ขา รวมพิธกี รรมเรยี กขวญั ดว ย (7) ขน้ั ตอนการประกอบพธิ กี รรม เมอื่ จัดเตรยี มเครื่องประกอบพธิ กี รรมทกุ อยางไวพ รอ มแลว และไดฤ กษท ีเ่ หมาะสม ปจู ารย กจ็ ะเริม่ ประกอบพธิ กี รรมเรยี กขวัญตามลาํ ดับขั้นตอนดงั น้ี 7.1 ยกขนั ตง้ั หรือขันครูขน้ึ เหนือศีรษะเพอื่ ไหวค รบู าอาจารย 7.2 กลาวปดเคราะห 7.3 กลาวบทเรยี กขวญั เรอ่ื ยไปจนจบบท 7.4 กลาวบทผกู ขอมอื พรอ มกบั ผูกขอมอื ใหเจา ของขวญั สว นใหญน ยิ มผูกขางซา ยกอ น ตามดว ยขา งขวา (8) ตวั บทท่ใี ชป ระกอบพธิ กี รรม ตัวบทที่ใชประกอบพธิ กี รรมเรียกขวญั คอื บทเรยี กขวญั (ดเู พมิ่ ในบทที่ 3)

45 ข. เรยี กขวญั สัตว คนลานนานอกจากจะมีการประกอบพิธีเรียกขวัญใหคนแลว บางทองท่ียังพบวามีการเรียก ขวัญใหสัตวอีกดวย เชน เรียกขวัญชาง เรียกขวัญควาย แตอยางไรก็ตาม การเรียกขวัญสัตวใน ปจจุบันไมคอยพบการประกอบพิธีกรรม เนื่องจากสภาพสังคมท่ีเปล่ียนแปลงไป สงผลใหรูปแบบ การดําเนินชีวิตของคนลานนาเปล่ียนแปลงตามไปดวย สัตวหลายชนิดที่ในอดีตอาจเคยมีบทบาท ตอ คน อาจถูกลดบทบาทลงจนคอย ๆ เลือนหายไป ดังนั้นการประกอบพิธีกรรมเก่ียวกับการเรียก ขวัญสัตวจึงไมคอยปรากฏ และหาขอมูลในการนํามาศึกษาไดยาก อยางไรก็ตาม ก็ไดมีผูเคยศึกษา กับพิธีกรรมดงั กลาว คือ “การศึกษาบทสูขวัญและพิธีสูขวัญของชาว ไทลื้อ อําเภอปว จังหวัดนาน” ของ สมพงษ จิตอารีย (2545) ซึ่งจากการไดสัมภาษณวิทยากรและเก็บขอมูลภาคสนาม พบวา รายละเอียดการประกอบพิธีกรรมหลายอยาง มีความคลายคลึงกับการประกอบพิธีกรรมเรียกขวัญ ควายที่เชียงใหมแ ละลําพูน ดังน้ันผูวิจัยจึงขออนุญาตกลาวถึงรายละเอียดของการประกอบพิธีกรรม เรียกขวัญควาย โดยอาศัยขอมูลจากผลงานของสมพงษ จิตอารีย ซ่ึงมีรายละเอียดในการประกอบ พิธกี รรมดงั น้ี (1) ความหมาย พธิ ีกรรมเรยี กขวญั ควาย หรือ พิธีกรรมสูขวัญควาย เปนพิธีกรรมที่ชาวนาจัดขึ้นใหแกควาย ซ่ึงเปนสตั วท ีม่ บี ญุ คณุ ตอคนลา นนาในอดตี มาก เพราะในอดีต สภาพสังคม เปน สังคมเกษตรกรรมที่ มีพ้ืนฐานในใชแรงงานทั้งคนและสัตว โดยเฉพาะการทํานา เกษตรกรสวนใหญ ใชแรงงานควายไถ นา ดังน้ัน ชาวลานนามีความรูสึกผูกพัน และระลึกถึงบุญคุณของควาย จึงไดจัดพิธีกรรมสูขวัญ ควายข้ึน (2) จดุ มุงหมายของการประกอบพธิ ี เพ่ือเปนการขอบคุณ และขอขมาตอควาย ท่ีในขั้นตอนการไถนา พลิกดิน ไถคราด หรือชัก ลาก อาจมีการใชวาจาทไ่ี มส ภุ าพ หรอื เฆ่ียนตีบาง (3) โอกาสในการประกอบพธิ กี รรม การประกอบพธิ ีกรรมสูข วญั ควายจะทําเม่ือเสรจ็ ส้นิ ขน้ั ตอนของการไถนา (4) สถานทปี่ ระกอบพิธีกรรม การประกอบพธิ กี รรมสูขวญั ควาย จะนยิ มจัดทบ่ี รเิ วณบานของเจา ของสตั ว

46 (5) เครือ่ งประกอบพิธกี รรม การประกอบพธิ ีกรรมสูขวญั ควายตอ งมกี ารจดั เตรยี มเครอ่ื งประกอบพธิ ีกรรม ดงั นี้ คอื 5.1 ขนั ตงั้ ปจู ารย ซงึ่ สวนใหญจ ะใสข าวตอก ดอกไม ธูป เทียน และปจ จัย ตามแตปจู ารย แตล ะทา นจะกําหนด 5.2 เครอ่ื งประกอบพธิ กี รรมอ่ืน ๆ ไดแ ก - ไกต ม - หญา - ฟางขา ว - ดายสายสิญจน - ขาวตอกดอกไม (บางแหง ทาํ เปน กรวยดอกไม) - น้ําขมนิ้ สม ปอ ย - บายศรี (มหี รือไมม ีกไ็ ด) (6) ผูเ กย่ี วขอ งกับการประกอบพธิ ีกรรม 6.1 ผจู ดั เตรยี มพธิ กี รรม เน่ืองจากการประกอบพธิ ีกรรมสูขวญั ควายเปนพธิ ีกรรมทีจ่ ดั ขึ้นในระดบั ครวั เรอื น ดังนน้ั เจาของควาย จึงตอ งทําหนา ท่เี ปนผจู ัดเตรยี มพธิ ีกรรม ดวยการเตรยี มเคร่ืองประกอบพธิ ีกรรมให พรอ ม และชําระลางควายใหสะอาด 6.2 ผูประกอบพธิ ีกรรม ผูประกอบพธิ กี รรมสขู วัญควาย คอื ปจู ารย หรอื ผูร พู ธิ กี รรมในชมุ ชน 6.3 ผูเขารว มพธิ ีกรรม การประกอบพธิ ีสูขวญั ควายผูรวมพิธกี รรมคือ ปจู ารย เจา ของควาย และสมาชกิ ใน ครอบครวั เทา นั้น (7) ขั้นตอนการประกอบพธิ ีกรรม 7.1 ปจู ารยย กขนั ครเู พอ่ื ราํ ลกึ ถึงคณุ ครบู าอาจารย 7.2 ปูจารยกลา วบทสูข วญั ควาย 7.3 นาํ ดายสขี าวผูกท่ีเขาของควาย บางแหงอาจนาํ กรวยดอกไมผูกติดไปดวย จากนน้ั จงึ พรมนาํ้ ขมิน้ สมปอ ยใหแ กค วาย และปอ นหญา ใหแ กควาย เปนอันเสรจ็ พธิ ี

47 (8) ตัวบททใ่ี ชในการประกอบพธิ กี รรม ตัวบททใี่ ชใ นการประกอบพธิ กี รรมสูขวญั ควาย คอื บทสขู วัญควาย อน่ึง จากการศึกษาพบวาในบางพื้นที่ อาจมีการเรียกขวัญอีกประเภทหนึ่ง คือ การเรียก ขวัญขาว ซึ่งคนในอดีตนิยมประกอบพิธีกรรมนี้ แตในปจจุบันจากการรวบรวมขอมูลไมพบการ ประกอบพิธีกรรมดังกลา ว ผวู ิจัยจึงไมก ลา วถงึ พิธกี รรมดังกลา ว 2.4 พิธีกรรมสง เคราะห ในภาษาลานนา สง มีหลายความหมาย แตความหมายที่เกี่ยวของกับการประกอบ พิธีกรรม จะหมายถึง บวงสรวง (พจนานุกรมลานนาไทยฉบับแมฟาหลวง,2547: 713) ซ่ึงใน ลานนา มีพิธีกรรมเกี่ยวกับการสงมากมาย ไมวาจะเปนสงเคราะห สงชนหลงั ชนหนา สงขดึ สงแถน สงพอเกิดแมเกิด ฯลฯ แตในที่น้ี ผูวิจัยขอเลือกกลาวถึงเฉพาะพิธีกรรมสงเคราะห เนื่องจากเปน พิธีกรรมท่ีคนลานนานิยมจัดข้ึน และยังสามารถเปรียบเทียบใหเห็นความแตกตางระหวาง การสง เคราะหใ หค น และสง เคราะหใหหมบู า น โดยรายละเอียดของพธิ กี รรมสง เคราะห มดี ังน้ี ก.สงเคราะหคน (1) ความหมาย พิธีกรรมสงเคราะห คือ พิธีกรรมทางไสยศาสตร จัดทําเพื่อใหคนพนจากเคราะหราย (พจนานุกรมลานนาไทยฉบับแมฟาหลวง,2547: 713) การประกอบพิธีกรรม ทําไดดวยการนํา เครื่องสังเวยมาบูชาใหแกเคราะห ดวยคนลานนามีความเช่ือวา การเจ็บไขไดปวย หรือการประสบ กับเร่ืองเลวรายในชีวิต สวนหน่ึงไดรับอิทธิพลมาจากเคราะห ดังนั้นจึงตองมีการประกอบพิธี สง เคราะห เพือ่ ขจดั ปด เปา เคราะหภัยใหพนผา นไป (2) จดุ มุง หมายของการประกอบพิธี พธิ ีกรรมสงเคราะห มจี ดุ มงุ หมายเพอ่ื ใหค นพนจากเคราะหรายตาง ๆ เชน การเจบ็ ไขไ ดป วย การประสบอบุ ตั เิ หตุ ความไมส บายใจ ฯลฯ (3) โอกาสในการประกอบพิธกี รรม คนลานนาจะสงเคราะหเม่ือประสบกับเร่ืองท่ีไมดีตาง ๆ เชน ไดรับอุบัติเหตุ เจ็บปวย ดว ยเช่อื วาเรื่องไมดีเหลานี้ เกิดจากเคราะห จึงตองมีการสงเคราะหเพ่ือใหเร่ืองไมดีเหลานั้นผานพน ไป การประกอบพธิ ีกรรม นิยมกระทําชวงเยน็ หรอื ค่ํา หลงั เวลาประมาณ 17.00 น. เปน ตนไป

48 (4) สถานท่ีประกอบพธิ กี รรม การประกอบพิธีกรรมสงเคราะหจะประกอบพิธีที่บานของผูประสบเคราะห โดยใชบริเวณ หองโถง หรือเต๋ิน ของบาน เปนท่ีประกอบพิธีกรรม ขณะประกอบพิธีกรรม ปูจารยซ่ึงมีหนาท่ีเปน ผูประกอบพิธีกรรมจะนิยมน่ังอยูในทิศตะวันออกแลวหันหนาไปยังทิศตะวันตก สวนผูรวมพิธี คนอ่ืน ๆ จะน่ังฝง ตรงขาม (5) เครอ่ื งประกอบพธิ กี รรม เครอ่ื งประกอบพธิ ีกรรมสงเคราะห มี 2 สวน ไดแก 5.1 ขนั ครูหรอื พานครขู องปูจารย ที่ใสด อกไมธ ปู เทยี นนํ้าขม้ินสมปอยและเงิน 38 บาท หรือ ตามท่คี รขู องปูจ ารยแตละคนกาํ หนดไว 5.2 สะทวงเคร่ือง 9 (ออกเสียง สะตวง) หรือกระบะเครื่องสังเวยท่ีทําจากกาบกลวย ภายใน สะทวง ประกอบไปดวยเครอื่ งสงั เวย ไดแก - หมาก - เมย่ี ง - บหุ ร่ี - กลว ย - ออ ย - แกงสม แกงหวาน - ขาวตม - ขนม - ขา วสกุ - อาหารแหง เชนแคบหมู - ดอกไม - เทียน - ชอ ขาว - ชอ แดง - ชอ ดาํ เครอ่ื งประกอบพธิ ที ่ีไดก ลาวมาขา งตน ทุกชนิดจํามีจํานวน 9 ชิ้น นอกจากนั้นจะตองเตรียม เครอ่ื งประกอบพิธีเพม่ิ เตมิ คือ

49 - ตุงคาคิง 1 ตวั - รปู ปนสตั วตวั เพิง่ (อา น ตวั๋ เปง) คือนักษัตรประจําปท่ีเกิด เชน คนเกิดปสี(มะโรง) ตองปน รปู ปนพญานาค คนเกดิ ปเม็ด(มะแม) ตอ งปน รูปแพะ เปน ตน (6) ผเู ก่ยี วขอ งกบั การประกอบพธิ ีกรรม 6.1 ผูจัดเตรยี มพธิ ี การจดั เตรียมพิธีกรรมสงเคราะห ทางเจาภาพจะเปนฝายจัดเตรียมพิธี โดยตองเริ่มจากการ ไปปรึกษาปูจารยวา สิ่งไมดีตาง ๆ เปนตนวา เจ็บปวย ประสบอุบัติเหตุ ฯลฯ เกิดจากเคราะห หรือไม เม่ือปูจารยต รวจสอบและพิจารณาดูแลววามีผลมาจากเคราะหก็จะตองประกอบพิธีกรรมสง เคราะห โดยปูจารยจะชวยหาวันเวลาท่ีเหมาะสมในการประกอบพิธี พรอมกับแจงใหทราบวาตอง เตรียมเครื่องประกอบพิธีอะไรบาง การเตรียมพิธี ตองเตรียมสองสวนคือ สถานที่และเครื่องประกอบพิธีกรรม ในสวนของ สถานท่ีเตรียมดวยการปดกวาดเช็ดถูพ้ืนใหสะอาด พรอมกับปูเสื่อไวสําหรับปูจารยและผูประสบ เคราะหน่งั ทาํ พิธี การสงเคราะหไมจําเปนจะตองต้ังโตะหมูบูชาก็ได สามารถใชห้ิงพระแทน ซึ่งสวน ใหญจ ะมีอยทู กุ บาน สวนการเตรียมเครอ่ื งประกอบพธิ กี รรมนนั้ จะไมนิยมเตรียมไวขามวัน เนอ่ื งจากของทน่ี ํามา ใสส ะทวงมไี มม ากนัก และหากเตรียมไวห ลาย ๆ วัน ของหลายอยางจะเหยี่ วแหงไปได(สัมภาษณ พอ หนานประสิทธิ์ โตวเิ ชยี ร,15 กันยายน 2551) ดงั นน้ั จึงเตรยี มกนั ในชว งสาย ของวนั ประกอบ พธิ ี โดยมีญาตพิ น่ี อ งและเพือ่ นบานทสี่ นทิ คนุ เคยกนั มาชว ยเตรียม ซ่ึงผูมาชว ยเตรียมสว นใหญจ ะ เปนวัยกลางคนถงึ วยั สูงอายุ ผชู ายจะเปน ผทู าํ สะทวง และปนรูปตา ง ๆ ตามทป่ี จู ารยร ะบมุ า เชน เทวดา สตั วประจําแตล ะนักษัตร หรอื ทค่ี นเมอื งเรยี กวา “ตั๋วเพง่ิ ” (อาน ตวั๋ เปง ) สวนผหู ญงิ ก็จะ เตรยี มมวนบหุ ร่ี หอ เหมีย้ ง แกงสมแกงหวาน ฯลฯ โดยในการจดั เตรยี มเครอื่ งประกอบพธิ กี รรม หากมคี นชวยกนั 3-4 คน จะใชเ วลาประมาณ 2 – 3 ชวั่ โมง 6.2 ผปู ระกอบพิธี ในการประกอบพิธีกรรมสงเคราะห ปูจารยจะทําหนาที่เปนผูประกอบพิธีกรรม ดวยการ ดําเนินการตามขั้นตอนตาง ๆของพิธีกรรม เชน การประพรมน้ําขมิ้นสมปอย ผูกขอมือ และท่ี สาํ คัญทส่ี ุดคือ เปน ผูกลาวบทสง เคราะห 6.3 ผเู ขา รว มพธิ ี ผูเขารวมพิธีกรรมสงเคราะห สวนใหญ จะมีเพียง 2 คน คือ ปูจารย และผูประสบเคราะห เทาน้ัน นอกจากวาบางบานท่ีผูประสบเคราะหอาจเจ็บปวยมากถึงข้ันที่ไมสามารถน่ังดวยตนเองได

50 ก็อาจมีสมาชิกในบานบางคนมาน่ังคอยดูแลดวย สวนสมาชิกคนอ่ืน ๆ ก็แยกยายกันไปประกอบ กิจวัตรประจําวันของตนตามปกติ รอเพียงชวงใกลเสร็จพิธี ท่ีจะตองขอใหผูชายคนใดก็ได ซ่ึงอาจ เปนคนบานใกลเรือนเคียง ยกสะทวงออกไปใหพนบริเวณบาน แลววางไวตามทิศที่ปูจารยกําหนด ซ่งึ สวนใหญจ ะนยิ มวางไวทิศตะวันตกเฉียงใต(สัมภาษณพอหนานประสิทธ์ิ โตวิเชียร,15 กันยายน 2551) (7) ขนั้ ตอนการประกอบพิธกี รรม การประกอบพธิ ีกรรมสง เคราะหมีขน้ั ตอนดังน้ี 1.ปูจารยย กขนั ครูข้ึนไหวค รู เพ่ือรําลึกถึงคุณครูบาอาจารยและเพ่ือความเปนสิริมงคลแกท้ัง ผูประกอบพธิ ีและผปู ระสบเคราะห 2. ปูจ ารยจุดเทียน 2 เลมบนสะทวง พรอมกับโยงฝายจากขันครู ไปยังสะทวง และไปยังผู ประสบเคราะห 3.ปูจารยกลา วบทสงเคราะห 4.ปูจารยก ลา วบทปนพร(ใหพร) เปนภาษาบาลี พรอ มกับผกู ขอมอื ใหผูประสบเคราะห 5.ผูประสบเคราะหก มศีรษะลงเหนอื สะทวง 6.ปูจารยป ระพรมนา้ํ ขมิ้นสม ปอ ยบนศรี ษะผูป ระสบเคราะหใหน ํ้าขมน้ิ สม ปอ ยไหลยอยลง ในสะทวง 7.ผูประสบเคราะหเงยหนา ขน้ึ นาํ น้าํ ขมิ้นสม ปอยลางหนาลงบนสะทวง 8.ใหคนนําสะทวงไปวางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต (8) ตัวบทท่ีใชป ระกอบพธิ กี รรม ตวั บทท่ใี ชป ระกอบพธิ ีกรรมเรียกวาบทสงเคราะห( ดูเพ่มิ ในบทที่ 3)

51 ข.สง เคราะหบ า น (1) ความหมาย ในภาษาลานนา จะเรียกท่อี ยอู าศยั วา “เรือน” ไมไดเ รยี กวา “บา น” สวนคาํ วาบาน หมายถึง หมูบ า น ดังน้นั พธิ ีกรรมสงเคราะหบา น จงึ หมายถงึ พิธีกรรมปดเปาส่ิงเลวราย สิ่งไมดีตาง ๆ ใหพน ไปจากหมูบ า น (2) จดุ มงุ หมายของการประกอบพธิ ี เพอ่ื ปด เปา เคราะหห รือส่ิงทไี่ มด ีตา ง ๆ ใหผา นพนไปจากหมบู าน (3) โอกาสในการประกอบพิธกี รรม การสงเคราะหบ าน จะกระทาํ กนั เปนประจําทุกป ชวงเทศกาลสงกรานต ในตอน สายของวันปากป ซง่ึ สว นใหญตรงกับวนั ท่ี 16 เมษายน (4) สถานทป่ี ระกอบพธิ ีกรรม สถานที่ประกอบพธิ กี รรมสง เคราะหบ าน สว นใหญนิยมประกอบพธิ กี รรมกันนอก วัด เชน ใตร ม ไมใ หญน อกวดั หอเสอ้ื บา น(บางแหง เรยี ก พอ บา น) หรอื หอผีประจําหมบู าน เปน ตน (5) เครือ่ งประกอบพธิ กี รรม เคร่อื งประกอบพธิ ีกรรมสงเคราะหบา น แบงไดเ ปน 4 สวน ไดแก 5.1 สะทวงทาวทัง้ ส่ี สาํ หรับประกอบพธิ กี รรมขึน้ ทาวทง้ั ส่ี (รายละเอยี ดดเู พมิ่ ใน เครอ่ื ง ประกอบพธิ ีกรรมขึน้ ทา วทง้ั ส่ี) 5.2 สะทวงสง เคราะห ซ่งึ ทาํ จากไมไผสานเปนแผงทึบ กวา งประมาณ 1เมตร ยาวประมาณ 1 เมตร บางแหงใชเพยี งแผงเดยี ว แตบางแหงใช 5 แผง ภายในสะทวงหรอื แผงไมประกอบไปดว ย เครอ่ื งสงั เวยตา ง ๆ ไดแก - หมาก - เม่ยี ง - บหุ รี่ - กลว ย - ออ ย

52 - แกงสม แกงหวาน - ขา วตม - ขนม - ขา วสกุ - อาหารแหงเชนแคบหมู - ดอกไม - เทยี น เครอ่ื งประกอบพธิ กี รรมท่ไี ดกลา วมาขางตน ไมจ ํากดั จาํ นวนท่แี นนอน เพราะชาวบานอาจ นาํ มาคนละเลก็ ละนอ ยรวมกันแลวไดจ ํานวนหลายช้ิน นอกจากนั้นจะตองเตรยี มเครอื่ งประกอบ พธิ กี รรมเพิม่ เติม คือ ดาบไม หนา ไม และธนู ซ่งึ อาจทาํ จากไมไ ผเ ปน ชนิ้ เล็ก ๆ นอกจากน้ี ยงั ตอ ง มีรูปปน ววั ควายใสไปในสะทวงดวย 5.3 ทราย ท่แี ตล ะบา นนาํ มารวมพธิ ี ครอบครวั ละประมาณ 1 ถงั น้ําใบเล็ก ๆ 5.4 นํ้าขมน้ิ สมปอย ทแ่ี ตล ะบานนํามารวมพธิ ี ครอบครวั ละประมาณ 1 แกว 5.5 นํ้าขมิ้นสม ปอ ย สําหรบั ทาํ เปน น้าํ มนตใหพ ระสงฆใชป ระพรม (6) ผเู ก่ยี วขอ งกบั การประกอบพธิ กี รรม 6.1ผูจัดเตรยี มพธิ ี การสงเคราะหบาน ชาวบานทั้งหมดจะเปนผูรวมกันจัดเตรียมพิธีกรรม โดยผูชายจะเปน ฝายเตรียมสานสะทวงสงเคราะหบาน เตรียมสะทวงขึ้นทาวทั้งสี่พรอมเสาสําหรับวางสะทวง ตลอดจนเตรียมสถานท่ีในการประกอบพิธีกรรม ไดแก การจัดเตรียมท่ีนั่งสําหรับพระสงฆที่จะมา เปนผูประกอบพธิ ี สว นฝา ยหญงิ กจ็ ะเปนฝายเตรียมเคร่อื งสังเวยท่จี ะนําไปใสใ นสะทวง 6.2ผปู ระกอบพธิ ี ผูป ระกอบพธิ กี รรมสงเคราะหบาน ไดแ กปจู ารยและพระสงฆ สว นใหญน ิยมใชพ ระสงฆ เพยี งรปู เดยี ว โดยปจู ารยทาํ หนาทข่ี ้นึ ทาวท้ังสี่ นาํ สวดมนตไหวพ ระ สว นพระสงฆท าํ หนาท่แี สดง พระธรรมเทศนา “สงั คหโลก” 6.3ผเู ขารว มพธิ ี ผูเขา รว มพธิ ีกรรมนอกจากจะมผี ูป ระกอบพธิ กี รรมอนั ไดแกป จู ารยแ ละพระสงฆแ ลว ชาวบานในหมบู า นก็จะมารวมพิธีกรรมกนั อยางพรอ มเพรยี ง อยางนอ ยหลังคาเรอื นละ 1 คน หรอื มากกวา นนั้ กไ็ ด

53 (7) ขัน้ ตอนการประกอบพธิ กี รรม การประกอบพธิ กี รรมสงเคราะหบาน มขี น้ั ตอนดงั น้ี 1.ปูจ ารยป ระกอบพธิ กี รรมขึน้ ทาวทัง้ ส่ี 2. ปจู ารยนาํ ชาวบา นไหวพ ระรบั ศลี 3. พระสงฆแ สดงพระธรรมเทศนา “สงั คหโลก” 4. ตัวแทนชาวบานถวายปจ จยั แดพ ระสงฆ 5. พระสงฆใ หพร 6. พระสงฆประพรมนํ้าขมนิ้ สม ปอ ยทส่ี ะทวงสง เคราะห ทราย และชาวบานผูรวมพิธี เม่ือเสร็จสิ้นพิธีกรรม กอนแยกยายกันกลับ ตัวแทนชาวบานจะชวยกันนําสะทวงสงเคราะห ไปวางไวตามจุดตาง ๆ ที่แตละหมูบานเคยปฏิบัติยึดถือสืบตอกันมา เชน หมูบาน แมหอพระ ต.แมหอพระ อ.แมแตง จ.เชียงใหม นําสะทวงไปวางไว 5 จุด ไดแก 1. ฝายเก็บน้ําของหมูบาน 2. หอพอบานหรือเส้ือบานทางทิศเหนือของหมูบาน 3. ทางเขาหมูบานทางทิศตะวันออก 4. ทางเขา หมูบานทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 5. ทางเขาหมูบานทิศตะวันตก หมูบานหลวง ต.โหลงขอด อ. พราว จ.เชียงใหม นํามาวางไวทจี่ ุดเดียวคอื ใตตนตะเคียนใหญใ นหมูบ า น ซง่ึ เชื่อกันวาบริเวณนั้นมี ส่ิงศักด์ิสทิ ธ์ิปกปกรักษาอยู เปนตน จากนั้นชาวบานแตละคนแยกยายกันกลับบาน โดยนําทรายท่ีตนนํามารวมพิธีกรรมกลับไป หวา นใหท ั่วบริเวณบานของตน เพอื่ ขับไลส ่งิ เลวรา ยตา ง ๆ ใหออกไปจากบา น (8) ตัวบทท่ีใชป ระกอบพธิ ีกรรม ตัวบทท่ใี ชป ระกอบพธิ กี รรมสง เคราะหบาน คือ คมั ภีรส งั คหโลก 2.5 พธิ ีกรรมขนึ้ ทา วทง้ั สี่ (1) ความหมาย พิธีกรรมข้ึนทาวท้ังสี่ เปนพิธีกรรมที่จัดข้ึนกอ นการประกอบพิธีกรรมสําคัญตางๆ เชน ปลูก บานใหม ขึ้นบา นใหม สบื ชาตา ฉลองถาวรวตั ถใุ นพุทธศาสนา ฯลฯ ตอ งประกอบพธิ ีกรรมท่ีเรียกวา “ขึ้นทาวท้ังสี่” กอนเสมอ เพื่อเปนการบอกกลาวแกสิ่งศักด์ิสิทธ์ิท่ีเปนใหญในทวีปท้ังส่ี ตลอดจนพระ อินทรและพระแมธรณี ใหรับรู เพื่อใหการประกอบพิธีกรรมน้ันดําเนินไปไดอยางราบรื่น และเพ่ือ ขอใหสิง่ ศักดส์ิ ิทธเ์ิ หลา นั้นชวยปองกนั ไมใ หเ กดิ สิ่งอัปมงคลข้นึ

54 คาํ วา “ข้นึ ” ในทีน่ ี้ หมายถงึ ทําพธิ บี วงสรวง สว นทาวทัง้ สี่ในท่ีน้ี หมายถงึ ทาวจตโุ ลกบาล ผูเปนใหญใ นทวปี ทง้ั 4 ทศิ ไดแก 1.ทา วกุเวร หรือ ทาวเวสสวุ รรณ ดแู ลโลกทางทศิ เหนอื มีพวกยกั ษเปน บรวิ าร 2.ทา วธตรฐ ดแู ลโลกทางทิศตะวันออก มพี วกคนธรรพเ ปน บรวิ าร 3.ทา ววริ ฬุ หก ดูแลโลกทาสทิศใต มพี วกกุมภัณฑเปนบรวิ าร 4.ทาววิรูปก ข ดูแลโลกทางทศิ ตะวนั ตก มพี วกนาคเปน บริวาร (สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนอื เลม 15, 2538 : 7809) (2) จุดมงุ หมายของการประกอบพิธี เพอื่ เปนการบอกกลาว หรือ ขออนุญาต สง่ิ ศกั ด์สิ ทิ ธิ์ วา ใคร จะประกอบพธิ ีกรรมสาํ คัญ อะไรบาง ตลอดจนขอพรใหก ารประกอบพธิ กี รรมน้นั ลุลว งไปไดด วยดี (3) โอกาสในการประกอบพธิ ีกรรม พธิ ีกรรมข้ึนทาวท้ังสี่ ถือวาเปนสวนหนึ่งของพิธีกรรมหลัก ซึ่งจะตองดําเนินการใหแลวเสร็จ กอนจะเร่ิมพิธีกรรมหลัก เชน หากจะทําบุญขึ้นบานใหมในชวงสาย ก็ตองขึ้นทาวทั้งสี่ใหเสร็จ ตั้งแตชวงเชา หรือ หากจะประกอบพิธีกรรมปลูกบานในชวงเชา ก็ตองข้ึนทาวท้ังส่ีใหเสร็จ ตง้ั แตชวงเยน็ กอ นวันปลกู บา น เปนตน (4) สถานทปี่ ระกอบพธิ ีกรรม การประกอบพธิ ีกรรมขน้ึ ทา วทัง้ ส่ี จะจดั ข้นึ บริเวณทจ่ี ดั พธิ กี รรมหลกั โดยนยิ มตงั้ เสา สําหรบั วางสะทวงเครอ่ื งสงั เวย ไวใ กลกบั ศาลพระภมู ิ หรือ หอเจาท่ี หากไมสะดวกในจดุ ดังกลา ว อาจเล่ยี งไปบริเวณอื่น โดยจะตองตั้งอยูในทิศเหนอื หรอื ทศิ ตะวันออกของบริเวณที่จดั งานเทานน้ั (5) เครื่องประกอบพธิ กี รรม 5.1พานครขู องปูจ ารย พานครขู องปจู ารยประกอบไปดวยดอกไมธูปเทยี น พรอมเบย้ี หรอื เงนิ 38 บาท หรือตามแต ครบู าอาจารยของปจู ารยแตล ะทานจะกาํ หนด 5.2สะทวงเครอื่ งส่ี จํานวน 6 ชุด แตละชดุ ประกอบไปดว ย -หมาก -เม่ยี ง

55 -บหุ รี่ -กลวย -ออ ย -แกงสม แกงหวาน -ขา วตม ขาวหนม (ขนม) -ขาวสุก -อาหารแหง เชน แคบหมู -ดอกไม -เทียน -ชอ เครอ่ื งประกอบพธิ ีท่ไี ดก ลาวมาขางตน ทกุ ชนิดมจี ํานวน 4 ชิน้ ยกเวนสะทวงอยู 1 ชดุ ที่จะ นาํ ไปวางไวต าํ แหนง บนสดุ ถอื วาเปนสะทวงของพระอนิ ทร จะตอ งเพิ่มฉตั รขนาดเลก็ ทาํ ดว ย กระดาษ อกี 1 คนั 5.3 ปราสาท หรือ คางทาวทั้งสี่ (อาน กาง) คือ เสาท่ีอาจทําจากไมหรือตนกลวย ดาน บนสุดของเสามีพ้ืนท่ีสําหรับวางสะทวงของพระอินทร ถัดลงมากอนถึงกลางเสาจะมีไมยื่นออกไป สที่ ิศ สําหรับวางสะทวงของทาวจตโุ ลกบาลท้งั ส่ี และตรงพื้นดนิ ตดิ กบั โคนเสาจะวางสะทวงของพระ แมธ รณี (6) ผเู ก่ียวขอ งกับการประกอบพธิ ีกรรม 6.1ผจู ัดเตรียมพิธี หากเปน พธิ ีปจ เจก เจา ภาพท่ีจัดงานจะเปน ฝายจดั เตรียม หากเปน พธิ ชี ุมชน ชาวบานก็จะ ชวยกัน เตรยี มเครอ่ื งประกอบพธิ ี ผูหญิงจะเปน ฝายจัดเตรยี ม สะทวง 6 ชดุ ใหพ รอ ม ผชู ายจะเปน ฝา ยเตรยี มสถานที่ คอื เสาสาํ หรับวางสะทวงใหพ รอ ม 6.2ผูประกอบพธิ ี ผปู ระกอบพิธกี รรมขึ้นทา วทงั้ สี่ คอื ปจู ารย 6.3ผเู ขารว มพธิ ี การประกอบพธิ ีกรรมข้ึนทา วทง้ั สี่ สวนใหญปจู ารยจ ะเปน ผูประกอบพธิ กี รรมโดยลาํ พัง ใช เวลาประกอบพธิ กี รรมประมาณ 5-10 นาที มักไมม ผี อู นื่ มารวมพธิ ดี ว ย แตก็ไมใ ชขอ หามตายตวั เพราะบางครงั้ เจา ภาพหรอื คนอน่ื ทอ่ี ยากเขา รว มขณะปูจารยกลาวคาํ โอกาสขนึ้ ทาวทง้ั สก่ี ส็ ามารถ รวมได

56 (7) ขัน้ ตอนการประกอบพธิ ีกรรม 1.ปจู ารยซ งึ่ เปน ผปู ระกอบพธิ กี รรม จะนาํ สะทวง ท้งั 6 ชุด ไปวางไวทค่ี า งทา วทง้ั สี่ รวมถงึ ยอดเสาวางสะทวงของพระอินทร และตรงพนื้ ดนิ ตดิ กบั โคนเสาวางสะทวงของพระแมธรณี 2.ปจู ารยน่งั ลงพรอ มกบั ยกขนั ครหู รอื พานครทู ี่ภายในประกอบดวยดอกไมธปู เทยี นและนาํ้ ขมน้ิ สมปอย ขึ้นเหนอื ศรี ษะเพื่อบวงสรวงทา วทัง้ สี่ รวมถงึ พระอนิ ทรและพระแมธ รณี 3.ปูจ ารยน ํานา้ํ ขม้นิ สมปอยประพรมทศี่ รี ษะของตนและท่ีสะทวงทา วท้ังสเี่ พ่ือความเปน สิริ มงคล 4.เริม่ กลาวบทขึ้นทาวท้ังสี่ หรือทคี่ นลา นนานยิ มเรยี กวาคําโอกาสข้ึนทาวท้งั สี่ (8) ตวั บทที่ใชประกอบพธิ ีกรรม บทกลา วขนึ้ ทา วท้ังสี่ หรือคนลานนาเรยี กวา บทโอกาสข้นึ ทาวทง้ั สี่ 2.6 พธิ กี รรมปน พรปใหมเมือง (1) ความหมาย ในภาษาลานนา คําวา ปน (ออกเสียง ปน) หมายถึง การให ดังนั้น ปนพร จึงหมายถึง การกลาวใหพร ซ่ึงในลานนา การใหพรสามารถทําไดในหลายสถานการณ เชน เวลาพบกัน หากผู อาวุโสนอยกวา เขามาไหวทักทายผูอาวุโสมากกวา ผูอาวุโสมากกวาก็จะปนพรวา “อยูดีมีสุขเนอ” หรือ เวลาจะตองจากกัน ผูอาวุโสมากกวา ก็จะปนพรวา “ไปดีมาดีเนอ” “ไปรอดปลอดภัยเนอ” เปน ตน แตในที่นี้ จะขอกลาวถึงเฉพาะการปนพรในสถานการณหน่ึง คือ การปนพรเนื่องในวันป ใหมเมืองหรือวันสงกรานต เนื่องจากมีรูปแบบการประกอบพิธีกรรมอยางชัดเจน และวรรณกรรมท่ี นํามาใชประกอบ สวนใหญเปนวรรณกรรมประเภทลายลักษณ ซึ่งเอื้อตอการศึกษาวิเคราะห รูปแบบและเน้ือหาของวรรณกรรม มากกวาการปนพรในสถานการณอื่น ที่สวนใหญจะเปน วรรณกรรมมุขปาฐะ ดังนั้นการปนพรปใหม จึงถือเปนสวนหนึ่งของพิธีกรรมดําหัว ซึ่งหลังจากท่ี กลา ว ปน พรเสร็จ ก็มักจะมกี ารผูกขอ มือดวย อนึ่ง ในท่ีนี้จะขอเรียกผูอาวุโสมากวา หรือผูรับการดําหัววา “ผูใหพร” และเรียกผูอาวุโส นอยกวา หรือ ผูท่ีมาประกอบพิธีกรรมดําหัววา “ผูรับพร” นอกจากนี้ ขอเรียกพิธีกรรมน้ีวา พิธีดํา หัว ตามที่คนลานนานิยมเรียกและตามวิธีการประกอบพิธีกรรม ที่ไมมีการนํานํ้ามารดที่มือของ ผูใหญแตอ ยางใด

57 (2) จดุ มุงหมายของการประกอบพิธี จุดมุง หมายของการประกอบพธิ ีกรรมปน พรปใ หมเ มอื ง คอื เพ่อื กลาวใหพ รแกผทู ่มี าดําหวั (3) โอกาสในการประกอบพิธีกรรม การปนพรปใหมเมือง จะกระทําพรอมกับการดําหัว ซ่ึงจะกระทํากันในชวงเทศกาล สงกรานต หรือประมาณวันท่ี 13 14 และ 15 เมษายน ของทุกป โดยคนลานนาถือวา ประมาณ วันที่ 13 เมษายน เปนวันสังขารลอง วันน้ีแตละบานก็จะทําความสะอาดบาน เส้ือผา ตลอดจน ชําระลางรางกายใหสะอาด ดวยเช่ือวาใหส่ิงท่ีไมดีตาง ๆ ผานพนไปกับสังขาร ประมาณวันท่ี 14 เมษายน เปนวันเนาว หรือ วันเนา วันนี้แตละบานจะเตรียมของจําพวกขนม และอาหาร (สวนใหญ นิยมทําขนมเทียนและหอน่ึงหรือหอหมก)สําหรับไปทําบุญท่ีวัดในวันรุงข้ึน ชวงเย็นก็จะมีการขน ทรายเขาวัด และในวันน้ีจะหามพูดจาวารายใคร เพราะเช่ือวาจะทําใหปากเนา ประมาณวันที่ 15 เมษายน จะเปนวันพญาวัน วันนี้ถือวาเปนวันท่ีดีท่ีสุดและเปนมงคลท่ีสุดของปนั้น ๆ ชาวบานก็จะ ไปทําบุญทานขันขาวใหแกญาติพ่ีนองที่ลวงลับในชวงเชา ชวงสายก็จะนําตุงไปปกท่ีเจดียทราย พรอมกับประกอบพิธีกรรมในวิหาร เสร็จแลวสรงน้ําพระพุทธรูปสําคัญของแตละวัด ชวงบายจะไป ดําหวั ผูเฒา ผแู กห รือผูใหญท่ีตนเคารพนับถือ ประมาณวันที่ 16 เมษายน จะเปนวันปากป วันน้ีถือ วาเปนวันแรกของป ในชวงเชาชาวบานจะไปประกอบพิธีกรรมสงเคราะห(สงเคราะหคน) หรือบูชา ขาวลดเคราะห ในวิหารของวัด ตอนสายจะไปท่ีวัดอีกครั้งหนึ่งเพื่อประกอบพิธีกรรมสงเคราะหบาน หลังจากนั้นผูท่ียังไมไดไปดําหัวผูใหญในวันที่ 15 หรือเร่ิมไปมาแลวแตยังไมครบตามจํานวนท่ี กําหนดไว กส็ ามารถไปตอในวนั น้ีได ดังน้ัน การประกอบพิธีกรรมปนพร จึงจัดขึ้นในชวง ประมาณวันที่ 15 เมษายน (วันพญาวัน) และประมาณวันที่ 16 เมษายน (วันปากป) หรือวันอื่น ๆ ท่ียังถือวาอยูในชวงเทศกาล สงกรานต (4) สถานทปี่ ระกอบพธิ ีกรรม สถานท่ีประกอบพธิ ีกรรมปนพร เปน สถานทีเ่ ดียวกันกับการประกอบพิธีกรรมดําหัว น่ันก็ คือ บานของผูเฒาผูแกหรือผูใหญ ท่ีลูกหลานไปดําหัวนั่นเอง ซ่ึงสวนใหญจะนิยมใชบริเวณหองโถง ของบาน อยางไรก็ตาม เนื่องจากชวงเวลาดังกลาวเปนชวงฤดูรอน บางบานโดยเฉพาะบานท่ีมีสอง ชนั้ และชนั้ ลางเปนใตถนุ กอ็ าจจะหลบความรอน แลว ยายมาประกอบพิธกี รรมตรงใตถนุ บานก็ได

58 (5) เคร่อื งประกอบพธิ ีกรรม ดงั ที่ไดกลาวไวใ นขางตน วา การประกอบพิธีกรรมปนพรปใ หม จะกระทาํ รว มกับพธิ ีกรรม ดําหัว ดังน้ันเครื่องประกอบพิธีกรรมจึงประกอบไปดวยส่ิงของดําหัวและนํ้าขมิ้นสมปอย ส่ิงของดํา หัวน้ัน ไมไดกําหนดชัดเจนวาจะตองประกอบไปดวยอะไรบาง ขึ้นอยูกับความพึงพอใจและความ พรอมของทางผูจัดเตรียม อาจเปนจําพวกขนม เชน ขาวเกรียบ ขาวแตน อาหารแหง เชน ปลา กระปอง ของใช เชน ผงซักฟอก แชมพูสระผม หรือ อาจเปนจําพวกผาเช็ดหนา ผาเช็ดตัว เสอ้ื ผา นอกจากน้ีอาจเปนเงินจํานวนมากนอยตามแตเห็นสมควร นํามาใสซองเปนของดําหัวดวยก็ ได การดําหัวทุกครั้ง สิ่งจําเปนที่สุดและขาดไมได คือ น้ําขม้ินสมปอย เพราะถือเปนสัญลักษณ แทนการการขอขมา หรือ ขออภัยตอผูอาวุโส ในสิ่งท่ีไดลวงเกินไป ซ่ึงผูวิจัยคิดวา เน่ีองจากคน ลานนามีความเชื่อวา นํ้าสมปอยเปนน้ําศักดิ์สิทธ์ิ ชําระมลทินตาง ๆ ได ดังนั้น การที่ผูใหญนําน้ํา ขมิ้นสมปอยไปลูบศีรษะของตัวเอง นอกจากจะแสดงใหเห็นวารับคําขอขมา หรือใหอภัยแลว ยัง เปรียบเสมือนไดนําน้ําขมิ้นสมปอย ไปชําระลางมลทินหรือความขุนของหมองใจตาง ๆ ที่เคยมีตอ กัน ออกไปหมดแลว นนั่ เอง นอกจากน้ี ยังตองมีกรวยดอกไม และหากมีการผูกขอมือหลังจากที่ปนพรเสร็จ ก็จะตอง เตรยี มดา ยสีขาว ไวดวย ซง่ึ สวนใหญ จะเปนดายที่ทํามาจากเสนฝายธรรมชาติเสนเล็ก ๆ หลาย ๆ เสน มารวมกนั เปนเสน เดียว นยิ มใหเ ปนจาํ นวนค่ี เชน 3 เสน 5 เสน 7 เสน 9 เสน เปนตน (6) ผเู กย่ี วของกบั การประกอบพิธีกรรม 6.1ผจู ัดเตรยี มพธิ ี การจัดเตรียมพธิ ีกรรมปน พรนน้ั ทง้ั ผใู หพ รและผรู ับพร จะตองมีการจดั เตรยี มดังน้ี -ผรู ับพร จะตองเตรียมสิง่ ของทจี่ ะนํามามอบใหแกผ ใู หพ รพรอ มกรวยดอกไม และสิง่ ท่ีขาดไมได คือ นาํ้ ขมน้ิ สมปอ ย -ผูใหพร จะตองเตรียม สถานที่สําหรับตอนรับผูท่ีจะมาดําหัว ใหพรอมดวยการปดกวาด เช็ดถใู หส ะอาด บางคนอาจเตรยี มดา ยสําหรบั ผูกขอ มอื ไวดวย นอกจากนีย้ งั พบวา บางคน จะตอ งมีการเตรียมทบทวน หรือ ทอ งบทปนพรปใ หมไวลวงหนา เปนเวลาหลายวัน เน่ืองจากบางสํานวนเปนบทที่คอนขางยาว และในแตละป ไดมีโอกาสใชงานแค ชวงเวลาเดยี ว อาจทําใหลืมเนอ้ื หาบางสว นของบทปน พรบาง 6.2ผูประกอบพธิ ี

59 ผูประกอบพิธกี รรมปนพร คือผเู ฒาผูแก หรือผูใ หญ โดยจะมหี นา ท่ีเปนผูกลา วบทปนพร 6.3ผเู ขา รว มพธิ ี ผูเขารวมพิธีกรรม มี 2 ฝาย คือ ฝายผูใหพรและฝายผูรับพร ขณะประกอบพิธีกรรมน้ัน ท้ัง ฝายผูใหพรและฝายผูรับพร จะน่ังพนมมือหันหนาเขาหากัน โดยใหผูใหพร จะนั่งในตําแหนงทิศ ตะวันออก หรือทิศเหนือ ผูรับพรน่ังตรงขาม บางครั้งผูใหพรอาจนั่งในตําแหนงท่ีสูงกวา เชน บน เกาอี้ เปนตน (7) ขนั้ ตอนการประกอบพธิ ีกรรม 1.ผูรับพรมอบส่ิงของท่ีนํามาดําหัว และนํ้าขมิ้นสมปอยแกผูใหพร(ลานนาใชคําวา เคน ออก เสยี ง “เกน”หมายถงึ ประเคน เชน เดียวกันกบั การประเคนของใหพระ) 2.ผใู หพรรับของ 3.ผใู หพ รเรม่ิ กลา วบทปนพร 4.ผูใหพ รใชมือแตะหรอื จมุ ไปที่น้ําขมิน้ สม ปอยแลว นําไปลูบผมหรือศีรษะตนเบา ๆ 5.ผูใหพ รบางทา นอาจผกู ขอมอื ใหแ กผ รู บั พรดวย (8) ตัวบททีใ่ ชป ระกอบพธิ กี รรม บทปนพร ซ่ึงมีทัง้ ลายลกั ษณ และมขุ ปาฐะ

บทที่ 3 รูปแบบและเน้ือหาของตวั บทวรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรม เนอื้ หาของบทนจี้ ะเปนผลการศึกษาวิเคราะหใ นสวนของตัวบทท่ใี ชประกอบพธิ ีกรรม ซึ่ง ผูวิจัย ไดรวมรวมตัวบทจากแหลงตางๆ ไดแก สําเนาไมโครฟลมจากสถาบันวิจัยสังคม พับสา สมุดบันทึกของปูจารย ตัวบทที่รวบรวมตีพิมพไวเปนหนังสือ ตัวบทที่อางอิงไวในวิทยานิพนธท่ี ศึกษาเกี่ยวกับวรรณกรรมประกอบพิธกี รรม และการถอดแถบบนั ทกึ เสียงจากขอมูลภาคสนาม ตัวบทท่ีรวบรวมจากสําเนาไมโครฟลมของสถาบันวิจัยสังคม มี 5 ประเภทของตัวบท วรรณกรรม ไดแก 1. คําเวนทานขา ว 49 กอ น วดั ทาขาม ต. แมเหียะ อ. เมอื ง จ. เชยี งใหม 2. คาํ บูชาขา วธนู 5 กอน วัดศรีเกิด ต. พระสงิ ห อ. เมอื ง จ. เชยี งใหม 3. คาํ บูชาทาวทง้ั 4 วดั ผาบอง ต. ศรีภูมิ อ. เมือง จ. เชยี งใหม 4. คําไหวแ ละคาถาตา ง ๆ วัดทรายมูล อําเภอสนั กาํ แพง อ.สนั กําแพง จ. เชียงใหม 5. คําอธษิ ฐานและพรทใุ หม วัดขวงสงิ ห ต. ขว งสงิ ห อ. เมอื ง จ. เชียงใหม ตวั บททีเ่ ปน พบั สา ผวู ิจัยไดจาํ แนกตามประเภทของพิธีกรรมไวด ังนค้ี อื 1. เวนทาน รวบรวมได 5 สํานวน คือ สาํ นวนของพอ หนานคาํ ยิง่ โยชน พอหนานมา บูชาเนตร พอหนานประสิทธ์ิ โตวิเชียร พอหนานภูมรินทร ชุมสิทธิ์ และพอหนานเทียน ปดุ ถา 2. บทสืบชาตา รวบรวมได 2 สาํ นวน คือ สํานวนของพอ หนานนยิ ม สองสโี ย และ พอ หนานประสิทธิ์ โตวิเชยี ร 3. เรียกขวัญ รวบรวมได 3 สํานวน คือ สํานวนของพอหนานภูมรินทร ชุมสิทธิ์ พอ หนานเทยี น ปุดถา และพอหนานสวน ยาวชิ ยั 4. สงเคราะห รวบรวมได 3 สาํ นวน คือ สาํ นวนของพอหนานสทุ ัศ หนักตื้อ พอ หนานอาย พิมพาเนตร และพอ หนานสวน ยาวิชยั 5. ขน้ึ ทาวทัง้ ส่ี รวบรวมได 2 สาํ นวน คอื สาํ นวนของพอหนานประสิทธ์ิ โตวเิ ชียร และพอหนานดาํ รงศกั ดิ์ ชยั ประภา 6. ปนพร รวบรวมได 2 สํานวน คือ สํานวนของพอหนานประสิทธ์ิ โตวิเชียร และพอ หนานดํารงศกั ดิ์ ชัยประภา

61 ตัวบทท่เี ปน สมุด ผูว จิ ยั ไดรวบรวมจากปูจารยหลายทา น เชน บทสูขวัญ (เกษม ศิริรัตน พิริยะ) คําพรปใหมเมือง (พอหนานประสิทธิ์ โตวิเชียร) บทข้ึนทาวท้ังสี่ (พอหนานดํารงศักดิ์ ชัยประภา) บทสขู วัญคน (พอหนานนยิ ม สองศรีโย) บทเวนทานธรรมมหาชาติ 13 กัณฑ (พอ หนานนิยม สองศรีโย) นอกจากนี้ ยังมีตัวบทที่ใชประกอบพิธีกรรมสืบชาตาอีกหลายตัวบท ไดแกธรรมสาลากวิริชาสูตร ธรรมมหาจิตตะ ธรรมโลกวุฒิ ธรรมทิพมนตหลวง ธรรมอาธารณ สงั คหะ ธรรมอณุ หสั วิไชย และธรรมไชยสงั คหะ ซงึ่ รวบรวมไวโดยพอหนานนิยม สองศรโี ย สวนตวั บทท่รี วบรวมตีพมิ พไ วเ ปนหนงั สือ ผูวจิ ยั ก็รวบรวมไวไ ดหลายเลม ซ่ึงแตละเลม จะมีตวั บทประกอบพิธกี รรมหลายๆ ประเภทและหลายสํานวน เชน ประเพณีเดมิ (ทวี เขื่อนแกว, 2524) พธิ กี รรมลานนาไทย(มณี พะยอมยงค, 2529) ประเพณีลานนาไทย และพิธีกรรมตาง ๆ(หนานเตจ า, มปป.) ตําราพธิ โี บราณพืน้ เมอื ง(หนานเตจา, มปป.) แนว พระพุทธศาสนา(อุดม อมรจกั ร, มปป.) เปน ตน นอกจากน้ี ยังไดรวบรวมจากตัวบทที่อางอิงไวในวิทยานิพนธ ท่ีศึกษาเกี่ยวกับ วรรณกรรมประกอบพิธีกรรมหลายเลม เชน คําเรียกขวัญลูกแกว การศึกษาดานรูปแบบและ เน้ือหา(นฤมล เรืองรังสี, 2532) การศึกษาบทสูขวัญและพิธีสูขวัญของชาวไทลื้อ อําเภอปว จังหวัดนาน(สมพงษ จิตอารีย, 2545) การศึกษาวิเคราะหคําเวนทาน(ไสว คํามูล, 2548) บทสูขวัญจากอําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ (คึกฤทธ์ิ พันธุวิไล, 2527) และสืบชาตา : การศกึ ษาเชิงวจิ ารณ(นิตยา จนั โทภาสกร, 2526) เปนตน ตัวบทอีกประเภทหนึ่ง คือ ตัวบทที่ไดจากการถอดแถบบันทึกเสียงขณะประกอบ พิธกี รรม ซึง่ ผูวจิ ยั รวบรวมไวไ ด 12 ตัวบท ไดแ ก 1. บทปน พรพอหนานดํารงศกั ด์ิ ชยั ประภา 2. บทปน พรพอหนานประสิทธิ์ โตวเิ ชยี ร 3. บทปนพรพอ หนานสม สายชมพู 4. บทปนพรแมอ ุยนาค เพง่ิ เตงิ 5. บทมาครวั ทานพอหนานประสทิ ธ์ิ โตวเิ ชยี ร 6. บทสมมาครวั ทานพอ หนานดาํ รงศกั ดิ์ ชัยประภา 7. บทอัญเชญิ เทวดาพอหนานดํารงศักด์ิ ชัยประภา 8. บทข้ึนทา วทงั้ สี่พอหนานดํารงศักดิ์ ชัยประภา 9. บทขนึ้ ทา วทง้ั สพ่ี อ หนานประสิทธิ์ โตวเิ ชียร 10. บทเวนทานเจดียทรายพอ หนานประสทิ ธ์ิ โตวเิ ชยี ร 11. บทเวนทานขา วใหม พอหนานประสิทธิ์ โตวเิ ชยี ร 12. บทเรียกขวญั ลกู แกว พอ หนานประสทิ ธิ์ โตวเิ ชียร

62 ผูวิจัยไดนําตัวบทที่รวบรวมไดทั้งหมดมาทําการศึกษาวิเคราะหเก่ียวกับรูปแบบของ ตนฉบับที่ใชบันทึก รูปแบบคําประพันธ เน้ือหาและโครงสรางของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม โดยแตละสวนมรี ายละเอยี ดดงั น้ี 3.1 รปู แบบของตน ฉบับทีใ่ ชบนั ทกึ ตนฉบับที่ใชบันทึกวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมนั้นนับวามีความสําคัญอยางมากตอผู ประกอบพิธีกรรมเพราะจะตองใชเปนตนราง หรือบทอานขณะประกอบพิธี ซ่ึงจากการเก็บรวม รวมขอมูลภาคสนามพบวา ผูประกอบพิธีกรรมเกือบทุกพิธี ตองอานจากตัวบทวรรณกรรม ยกเวนการปนพรปใหม ดังน้ัน ในการประกอบพิธีกรรมก็จะตองนําเอาตนฉบับที่ใชบันทึกตัวบท มาใชดวย นอกจากน้ี ตน ฉบบั ทีใ่ ชบนั ทึกตวั บทของวรรณกรรมประกอบพธิ กี รรม ยังมคี วามสําคัญ ตอการสืบทอดวรรณกรรม จากรุนหน่ึงสูรุนหน่ึงอีกดวย เพราะมีการสืบดวยวิธีคัดลอกจาก ตน ฉบบั เดมิ หรอื รบั มอบตนฉบบั มาจากผอู ่นื สําหรับตน ฉบับทีใ่ ชบนั ทกึ วรรณกรรมประกอบพิธกี รรม ทัง้ 6 ประเภท ผูวิจัยพบวา มี 3 ลักษณะ ไดแก ตนฉบับที่บันทึกดวยอักษรธรรมลานนาในพับสา ตนฉบับที่บันทึกดวย อักษรไทยมาตรฐานในหนงั สือ และตนฉบบั ทบ่ี ันทกึ ไวใ นสมุดบันทกึ รายละเอียดดงั ตาราง พิธีกรรม รูปแบบตน ฉบบั พบั สา หนังสือ สมุด เวนทาน // / - สบื ชาตา // / / สง เคระห // / / เรยี กขวญั -/ ข้ึนทา วทงั้ ส่ี - / พรปใหม -/ ตาราง 1 แสดงลักษณะตน ฉบบั ทใ่ี ชบ ันทกึ วรรณกรรมประกอบพธิ กี รรม

63 3.1.1 ตนฉบบั ท่ีบันทึกดว ยอกั ษรธรรมลา นนาในพบั สา ตนฉบับในกลุมนี้ มีการบันทึกไวในพับสาแบบที่เรียกวา “พับหล่ัน” คือ รูปแบบที่ สามารถพลิกอา นตอกันไปไดเ รือ่ ยๆ และบันทึกดว ยตัวอักษรธรรม และสวนใหญมีอายุเกาแก แตก็ ไมสามารถระบอุ ายุที่ชัดเจนได อกี ทงั้ ยังไมอาจระบแุ หลง ทม่ี าไดแ นนอน เน่ืองจากมีการเคลื่อนยาย งาย รวมถึงมีการสืบทอดสงตอใหกัน หรือคัดลอกสืบตอกันมา จึงไมสามารถยืนยันไดแนชัดวา พ้ืนทที่ ี่พบเอกสารนั้นเปนทเ่ี ดยี วกับแหลง กาํ เนดิ เอกสารหรือไม สําหรับการบันทึกน้ันไมนิยมแยกบันทึกไวเฉพาะพิธีกรรมใดพิธีกรรมหนึ่ง แตนิยม บันทึกหลายพิธีกรรมไวในน้ัน เชน พับสา 1 ฉบับอาจมีการบันทึกบทเวนทาน บทสงเคราะห ตําราเขยี นยนั ต ตําราคาถา ตํารายา เปน ตน เพราะพบั สา เปรียบไดกับสมุดจดบันทึกในยุคน้ัน และสมุดหรือกระดาษก็ไมไดหาไดงายๆเหมือนยุคปจจุบัน ดังน้ันขอมูลสําคัญ ๆ หลายๆ อยาง จึงถูกบันทึกไวรวมกันในเลมเดียว โดยเขียนหัวขอกํากับไวในสวนขอบดานซายของพับสาทุก คร้ังที่มีการข้ึนเร่ืองใหม วา สวนนี้เขียนถึงอะไร เชน “คําเวนทานพระวิหารอยูน้ีเนอ” “สงเคราะห” เปนตน 3.1.2 ตน ฉบับทบ่ี นั ทกึ ดว ยอกั ษรไทยมาตรฐานในหนงั สอื เอกสารประเภทนเ้ี รม่ิ มขี ึน้ ในระยะหลงั คอื มีผูร วบรวมวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมตางๆ เชน บทเวนทาน บทสงเคราะห บทขึ้นทาวทั้งสี่ บทปนพร ฯลฯ ตลอดจนขอมูลอื่น ๆ ที่ ปู จารยจําเปนตองใช เชน การหาวันดีวันเสีย บทคําไหวตาง ๆ ฯลฯ รวบรวมแลวจัดพิมพเปน รูปเลมหนังสือ และไดผลตอบรับเปนที่นาพอใจ มีปูจารยหลายทานหาซ้ือไปเพื่อนําไปใชเปน ตนฉบับในการประกอบพิธีกรรม จากการสํารวจพบวา หนังสือท่ีไดรับความนิยมมีจํานวน 3 เลม ไดแก 1. ประเพณเี ดิม ของ ทวี เขอ่ื นแกว (กรุงเทพ ฯ : ทวนชยั การพิมพ, 2524) 2. ประเพณลี านนาไทยและพธิ ีกรรมตา งๆ ของ หนานเตจา (เชียงใหม : ประเทอื ง วิทยา.มปป.) 3. พิธีกรรมลา นนาไทย ของ มณี พยอมยงค (เชียงใหม : ส. ทรัพยการพิมพ, 2529ข )

64 3.1.3 ตนฉบับท่ีบันทึกไวใ นสมดุ บันทกึ ในยคุ ปจ จุบนั มีปจู ารยห ลายทา นทน่ี ยิ มคดั ลอกหรือบันทึกวรรณกรรมประกอบพิธกี รรม ลงไวใ นสมุดบนั ทึกสมัยใหม หรือทชี่ าวบา นนิยมเรยี กวา “สมดุ ฝรง่ั ” โดยจะคัดเลือกเอาเฉพาะบท ท่ตี นคิดวา มคี วามไพเราะ หรอื เปน สํานวนทต่ี นจะตอ งไดใ ชบอยๆจากทีต่ า งๆ ไมวาจะเปน จาก พบั สา หรอื หนังสอื ท้ังทเี่ ปนสมบัตสิ วนตนและขอยืมจดจากผูอน่ื บนั ทึกไวรวมกันในสมดุ สาํ หรบั นาํ ไปใชใ นโอกาสตา ง ๆ โดยไดใหเหตุผลวา 1. อายหุ รือความเกาของพบั สาทําใหลักษณะของกระดาษชํารุดไดงา ย ดงั นนั้ หาก จําเปนที่จะตองใชตัวบทจากพับสา ก็ควรจะคัดลอกลงในสมุดบันทึกเสียกอน สวนจะบันทึกเปน อกั ษรธรรมลา นนาหรือเปนอกั ษรไทยมาตรฐาน ก็ขน้ึ อยกู บั ความถนดั ของปจู ารยแ ตละทา น 2. ตัวบทท่ีตนมีอยูไมวาจะในพับสาหรือในหนังสือ มีมากมายหลายประเภทและหลาย สํานวน ซ่ึงในการใชงานจริง ไมไดนําทั้งหมดมาใช ดังน้ันจึงตองคัดเลือกสํานวนที่ตนจะไดใช จริงๆ และใชบอย ๆ มาบนั ทกึ ลงในสมุด เพื่อความสะดวกในการนาํ ไปใชง าน 3. ตัวบทบางประเภทหรือบางสํานวนท่ีตนช่ืนชอบหรือจําเปนตองใชบอย อาจไมมีใน พบั สา หรอื ในหนังสอื ของตน จึงจําเปน ตอ งขอจดจากทานอนื่ 4. ปูจารยบ างทานถนดั อานภาษาไทยมาตรฐาน แตต นฉบับท่ีมเี ปนภาษาลา นนา กต็ อง มีการปริวรรตใหเปนภาษาไทยมาตรฐานลงในสมุดเสียกอน ในทางตรงกันขาม ปูจารยบางทาน อาจจะถนัดภาษาลานนา แตตนฉบับที่มีอยูเปนภาษาไทย ก็ตองบันทึกในสมุดใหเปนภาษา ลานนา เพื่อทีเ่ วลาใชงานจรงิ ๆ จะทําใหอานไดอ ยา งคลอ งแคลว สําหรับตัวอักษรท่ีใชในการจดบันทึกน้ันจะข้ึนอยูกับความถนัดของปูจารยแตละทาน ปูจารยท่ีถนัดอักษรธรรมลานนาก็จะบันทึกดวยอักษรธรรมลานนา ปูจารยท่ีถนัดอักษรไทย มาตรฐานหรอื ไทยภาคกลางก็จะบนั ทกึ ดวยอักษรไทย 3.2 รปู แบบคําประพันธ จากการศกึ ษาตวั บทของวรรณกรรมประกอบพิธกี รรมจํานวนท้งั สน้ิ 6 พธิ ีกรรม พบวา ตัว บทสืบชาตา (กรณีที่พระสงฆเปนผูประกอบพิธีกรรม) จะแตงเปนภาษาบาลีลวน ดวยคํา ประพันธประเภทฉันท ซ่ึงตัวบทดังกลาว ไมไดนิยมแตงขึ้นใหม เพราะผูท่ีจะแตงไดน้ันจะตองมี ความเชี่ยวชาญท้ังเร่ืองภาษาบาลีและฉันทลักษณของฉันท ซึ่งจากการศึกษาขอมูล พบวา สวน ใหญจ ะสบื ทอดกนั มา ยงั ไมพบผูท ่สี ามารถแตงบทสืบชาตาขึน้ มาใหมไ ด ตวั อยา งบทภาษาบาลี ปรุ ิสะชาตา มะหาปุริสะชาตา จกั กะวัตติชาตา มะหาจกั กะวตั ตชิ าตา พุทธะชาตา ปจ เจ กะพทุ ธชาตา อะระหนั ตาชาตา สพั พะสทิ ธิ วชิ ชาธะรานังชาตา สัพพะโลกา จะรยิ านงั

65 ชาตา สัพพะโลกา ธิปะตญิ านังชาตา เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ ตุมหัง สวุ ตั ถิ โหนตุ ตมุ หัง สะวาหายะ นะโม พุทธสั สะ นะโม ธมั มัสสะ นะโม สงั ฆัสสะ เสยยะถีนัง หุรหู ุรู สะวาหา ยะ ฯ (สน่นั ธรรมธ,ิ 2547 : 30) สวนตัวบทของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมอื่นๆ ไดแก เวนทาน สงเคราะห เรียก ขวญั ข้ึนทา วทัง้ สี่ ปน พร รวมถึงบทสืบชาตาในกรณีท่ีปูจารยเปนผูอาน จะแตงดวยคําประพันธ ประเภทราย หรือหรือที่คนลานนา ออกเสียงวา “กําฮาย” ซึ่งกวีลานนาสมัยโบราณ นิยมใชใน การเรียบเรียงชาดก (อุดม รุงเรืองศรี, 2544 : 30) และใชแตงวรรณกรรมหลายประเภท รวมถึง วรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรมดว ย สําหรับรายละเอียดของรายน้ันผูวิจัยจะขอกลาวถึงลักษณะโดยท่ัวไปของราย และราย ในวรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรม โดยแตล ะสว นมีรายละเอียดังนี้ 3.2.1 ลักษณะโดยทว่ั ไปของราย รา ยเปน คาํ ประพันธท ่ียอมรบั กนั วา เกดิ ข้นึ มานานแลว อยา งนอยทีส่ ดุ หลกั ฐาน ทางดา นวรรณคดีลายลกั ษณทเี่ กา แกท ส่ี ุดทีพ่ อจะประมาณเวลาแตง ไดค ือ “โองการแชง นํ้า” ซึง่ ปรากฏแลวอยา งนอยในป พ.ศ. 1894 ก็แตงดว ยคําประพนั ธป ระเภทรา ยและโคลงหา (จติ ร ภูมิ ศกั ด์ิ, 2524 : 7 - 22) พระยาอุปกิตศิลปสาร (2514 : 419 - 422) ไดจําแนกประเภทของรายออกเปน 4 ประเภท ไดแก รายโบราณ รายสุภาพ รายดั้น และรายยาว สําหรับแบบแผนโดยทั่วไปของ รายน้ัน รายบทหน่ึงจะมีกี่วรรคก็ได แลวแตเน้ือความ มักจะมีตั้งแต 5 วรรคข้ึนไป วรรคหน่ึง มักจะมี 5 คาํ แตไ มบงั คับตายตัว อาจจะมากหรือนอยกวา 5 คําก็ได แลวแตความเหมาะสมของ เนื้อความ การสัมผัสใหเช่ือมวรรคตอวรรค คือ คําสุดทายของวรรคหนาสงสัมผัสไปยังคําที่ 1 หรือ 2 หรอื 3 ของวรรคตอไป จนกวา จะจบ โดยมากมักสงไปยงั คําท่ี 3 เพราะเปนคําทไ่ี ดจังหวะ ไพเราะกวาคําอื่น ถาในวรรคใดมีมากกวา 5 คํา ก็อาจจะรับสัมผัสหางออกไปไดแลวแตความ เหมาะสม โดยรายแตละประเภทมลี ักษณะสาํ คัญทแ่ี ตกตา งกนั ออกไปดังน้ี รายโบราณ วรรคหนึง่ มักมี 5 คํา คําจบบทหา มใชคาํ ทีม่ รี ูปวรรณยกุ ตเอก โท ตรี กํากบั และไมน ิยมใชค ําตาย รายสภุ าพ วรรคหน่ึงมักมี 5 คํา จบบทดว ยโคลงสองสุภาพ รายด้ัน วรรคหนงึ่ อาจมีจํานวนระหวาง 3 - 8 คํา แตม ักมวี รรคละ 5 คาํ จบบท ดวยบาทท่ี 3 และ 4 ของโคลงสด่ี ั้น รายยาว วรรคหนึ่งมกั มจี าํ นวนคาํ มาก ไมจ ํากัดจํานวน ไมบังคบั แบบแผนการ จบบท และไมเ ครง ครดั เรือ่ งรูปวรรณยกุ ตใ นการจบ (พระยาอปุ กิต- ศิลปสาร, 2514 : 419 - 422)

66 แผนผงั คําราย °°°°°° °°°°° ° °°°° °°°°° ตัวอยา ง ศรี ศรี สวสั สดี อช ในวันนี้ก็เปนวันดี เปน วนั ศรวี ันไส วันเปก เสด็ กาบไกเ ลศิ เจียงคาน เปน วนั มงั คะละการอนั ประเสรฐิ ใหบ งั เกิดธมั วฒุ ิ 4 ประการ เปน โอฬารอนั แผกวา ง ย่ิงกวา ชางโสกแสนคํา เตชะนําเขมกลา เปน วันปองฟา เลิศลือเซง็ วนั เมง็ กห็ มดใส วันไต ก็หมดปลอด วนั นีก้ ห็ ากเปน ยอดพญาวัน ชางสะตนั ไดบ รวิ ารพอลาน ออกนอกบา นปะใสไหเงิน กแ็ มนในวันนี้ (บทสูขวัญคน, นยิ ม สองสโี ย สมดุ บนั ทกึ ) 3.2.2 รา ยในวรรณกรรมประกอบพธิ กี รรม รายในวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมลานนา ไดแก บทเวนทาน บทเรียกขวัญ บทสง เคราะห บทขึน้ ทา วทง้ั สี่ และบทปน พร เปน รายแบบลา นนาทม่ี ีรายละเอียดเกย่ี วกับจํานวน คาํ ในแตละวรรค การสง สมั ผสั และการลงทา ย ดังน้ี

67 1.จํานวนคําในแตละวรรค จํานวนคําในแตละวรรคของตัวบทวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมจะไมมีจํานวนคําที่ แนนอน ขึ้นอยูก ับความไพเราะเหมาะสมหรอื ตอ งแตงใหจบเนื้อความ และขึ้นอยูกับประเภทของ วรรรณกรรมประกอบพิธีกรรมดวย เชน บทเวนทาน สวนใหญแตละวรรคจะมีจํานวนคํา ประมาณ 5 – 8 คําคําเปนหลัก บทเรียกขวัญลูกแกวสวนใหญมีประมาณ 6-10 คํา หรือบาง สาํ นวนอาจมจี าํ นวนคาํ มากถึงประมาณ 17 – 18 คาํ กไ็ ด ดังตัวอยาง อถกาเล (4) ยงั มีในกาลวนั หน่ึงเลา (8) เจา ภิกขเุ ผาวงศา (6) ก็พากนั เดนิ มคั คาหนทางใหญ (9) ยามรถลอบไ ตไปมา (7) เจา ภิกขุทงั หลายกเ็ ทยี วดว ยปาทาตนี ไต (12) มารอดทที่ างไควศาลา (7) บไดรบั ภตั ตาขา วบาตร (7) คราวนน้ั หากไกลยาว (5) เปน คราวทางรมิ ปา (5) จักไปขางหนากห็ ากแควนไกล (8) บา นไหนๆ ก็บม ีจ่ิมใกล (8) เทาเปน ปา ไมอ ยูภูมพิ ํา (7) ผอตาวันก็ดาใกลเทยี่ ง (7) เทาหันแตเ ดก็ นอ ยเลน สุมกัน (8) ที่ในศาลายั้งจอด (6) เจาภิกขุทงั หลาย (5) ก็ไปยอบยั้งอยูใ นศาลา (8) (บทเวนทานขา วสลาก, ทวี เขอ่ื นแกว . 2524 : 55) ขอสามสบิ สองขวญั พระนาคแกวจงุ รบี มาพลัน(12)สามสบิ สองขวญั พระนาคเจา อยา ไพ(9) ผายผนั เดินเทยี วเท่ยี วเลน (6) สนกุ ต่ืนเตน แอวเหาะเหนิ (7) คอนเจา ไปอยทู ่เี งื้อมเขาเขนิ หลืบหว ย(10) ที่ผาหลิง่ ซวยดงรี(6) มีแตเสือหมีผโี พงดงชา งเถื่อน(9) คอนเจา บอมเี พ่อื นกจ็ ักตกใจ(9) มแี ตเสียงสัตวไ พรร่ํารอ ง (7) เสยี งสนั่นกองดงรี(6) (นฤมล เรืองรงั ส,ี 2532: 54) 2.การสง สมั ผสั การสงสัมผัสในรายของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม คําสุดทายของวรรคหนา จะสง สัมผัสไปยังคําท่ี 1 หรือ 2 หรือ 3 หรือ 4 ของวรรคตอไป จนกวาจะจบ แตในกรณีที่วรรคใดมี มากกวา 5 คํา ก็อาจจะสงสัมผัสไปยังคําอ่ืนๆ ท่ีหางออกไปแลวแตความเหมาะสม โดยอนุโลม ใหคําท่ีสะกดดวยตัวสะกดเสียงส้ันไดแก แมกก แมกด แมกบ สัมผัสกันได แตอยางไรก็

68 ตาม การสงสัมผัสระหวางวรรคนั้นก็ไมไดเครงครัดตายตัวเพราะบางวรรคก็ไมไดมีสวนใดสัมผัส กันเลย แตจ ะเนน ไปท่ีความหมายมากกวา ตัวอยาง เหตุวา สงั ขารปเกาก็ขา มพนไปแลว วันนี้ก็หากเปน วนั ดี ดถิ ี วนั วเิ ศษ ปใ หมแกวพญาวนั กม็ ารอดมาเถิง เทงิ เจา ทังหลาย กบ็ ละเสยี ยังรตี อดตี ปาเวณี อันเปน มาลวงมาแลว ปางกอ น เจาทังหลายก็บผอ นเสยี ยงั ศรทั ธา จงึ ไดน อมนาํ มายังสคุ นั ธาโทตกะ ทาน(ะ)วตั ถุทงั หลายฝูงนม้ี าถวายเปน ทาน เพื่อจกั มาขอขมาโทษณโทษ ผขู าก็โปรดอโหสิกรรม (บทปน พรปใ หมเ มอื ง,ประเทืองวิทยา. 2549 : 2) 3.การจบบท การจบบทของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมนั้น สวนใหญจะจบดวยคําวา “เทอะ” “แดเทอะ” “กอนเทอะ” “เที่ยงแทดีหลี” “แทดีหลี” “เที่ยงแทดีหลีเทอะ” เปนตน เพื่อเปนการ แสดงวาจบความในรา ยนัน้ ๆ บางสาํ นวน อาจกลา วตอเปน ภาษาบาลี ดังตวั อยา ง ผูขา ทังหลายขอห้อื พน จากทุกขพายหนา ขอแลวแตค าํ มกั ปรารถนาแหงผูขา ทังหลาย อนั มาชมชน่ื หนา ยินดี ในคาํ ทงั หลายฝูงนแ้ี ทด หี ลี แลว ขอเจา ทังหลายชตุ นชุองค จงุ จกั มาระวงั รกั ษาตนตวั แหงผูขาทงั หลาย ชผุ ชู ุคนนอยใหญชายญิงเทยี่ งแทด ีหลเี ทอะ สวัสสดี หิ สทิ ธิกิจจัง สทิ ธกิ มั มงั สทิ ธิลาภงั ภวนั ตุ เมฯ (หนานเตจา, มปป: 91)

69 บางสํานวนอาจจบโดยไมตอ งมภี าษาบาลีตอทาย ดังตัวอยาง ขวัญเจาไปอยจู มิ่ นกเคา อนั ชางคกุ เม่ือยามหนาวกห็ อื้ มา แมนวาขวัญเจาไปอยจู มิ่ เห็นหางยาว และเห็นโอมกห็ ้อื มา ขวญั เจาอยา ไดเคียดสม ขมใจ ขวญั เจาอยากอนั ใดผขู าหากจะหยัก ขวัญเจามกั อนั ใดผูขาหากจกั ปอน จงุ มาถายถกถอน จุงมาทมุ ผาสอี อนและเหนบ็ ดอกไม ขออญั เชญิ 32 ขวญั แหง แกวแกน ไท จุง ห้ือมามากอนเทอะ (บทสขู วญั คน, นิยม สองสีโย. สมดุ บนั ทกึ ) 3.3 เนอ้ื หาและโครงสราง การศึกษาวเิ คราะหใ นสว นนี้ คอื การพจิ ารณาวา ตวั บทของวรรณกรรมประกอบพิธกี รรม แตล ะประเภท มเี นอื้ หากลา วถึงอะไร แลว นาํ เนอื้ หามาพจิ ารณาวา เร่ิมตน ดว ยการกลา วถงึ อะไร ตามดว ยการกลา วถงึ อะไร ซงึ่ ในทีน่ ี้ ผวู จิ ยั ขอเรียกเนอ้ื หาแตล ะสว นท่ปี ระกอบขนึ้ มาเปน ตวั บท วา โครงสรา ง โดยเน้ือหาและโครงสรา งของวรรณกรรมแตล ะประเภท มดี งั น้ี 3.3.1 บทเวนทาน วทิ ยานพิ นธเรื่อง “การศกึ ษาวิเคราะหคาํ เวนทาน” ของไสว คํามูล(2548) ไดก ลา วถึง เนือ้ หาของบทเวนทานไวต ามลําดับดงั นี้ (1) สมมาครัวทาน การกลาวสมมาครัวทาน คอื การกลา วขอขมาแกข องทจี่ ะถวายทาน ซ่งึ กอ นจะเวนทาน จะตอ งมีการกลา วสมมาครวั ทานกอนทกุ ครง้ั เน้ือหาสวนน้นี ยิ มขึน้ ตน และลงทา ยดวยภาษาบาลี สวนเนอื้ หาตรงกลางเปนภาษาลานนา มใี จความกลา วถึงการขออภยั ในสง่ิ ท่ไี ดล ว งละเมดิ แก สิง่ ของถวายทานในขั้นตอนของการจัดเตรียมสง่ิ ของถวายทาน ไมว า จะละเมดิ ดวยกาย วาจา หรอื ใจ และในตอนทายไดข อใหส ิ่งของถวายทานเหลา นน้ั อโหสิกรรมใหแกพวกตน มใิ หเ ปน บาป เปน กรรมแกพวกตนตอ ไป อนั เปน สง่ิ สะทอนใหเหน็ ถึงการใหค ณุ คา กับสง่ิ ของถวายทานวา เปน ส่ิงที่สงู สง มาก ตลอดจนสะทอนใหเ ห็นถงึ ศรัทธาท่ีแรงกลา ตอความเชื่อทางพระพุทธศาสนาและ ความออนนอ มถอมตนของคนลา นนาท่ไี มก ลา ละเมิดแมแ ตของทีจ่ ะนํามาถวายทานใหแ ก พระพทุ ธศาสนา ดังตวั อยาง โย สนนฺ สิ นิ ฺโนฺ สาธุ วนฺทามิ สพฺพวตถฺ ุทานํ สพพฺ ํ โทสํ ขมนตฺ ุ เม ภนฺเต สาธุขา แดสพั พะเย่อื ง เคร่ืองครัวทานทงั หลาย

70 มวลหลายหลาก สัพเพมูลละศรัทธาผขู า ทังหลาย ทังหญงิ ชายใหญหนอ ย กจ็ ่งิ ไดขงขวายตกแตง ดาทาน บทนั ไดแ ทบเน้ือและแยงดี เทา มวั เมาลกุ มาหนง้ึ ขา วหงุ แกง บไดย าํ แยงดสี กั หยาด เทาไดย กยา งยายขา มย่าํ และเทยี วกราย ของกนิ อันใดกบ็ ไดแ ปลงวายหยดุ หยอ น หลอนไดกนิ กอ นทานลูน ก็บไ ดป องปนู เปนสว น สองมือดวนหยบุ เอา ยามเมื่อแตงดาทาน กบ็ ไ ดซ วยลา งขัดสี วจีกรรมคําปาก ไดต ิเตยี นของทานวาอันนน้ั บด ีบง ามบล าํ กก็ ลัวเปนหนามติดขอ ง กลวั เปน โทษทอ งสนั ดาน กลัวเปน โทษรา ยมาพานหลายสิ่ง เหตุนศ้ี รทั ธาผขู าทังหลาย ไดไ หวแ ลว จกั ขอสมู า ขอสพั พะวตั ถทุ านทังหลาย ทีไ่ ดห้ือทานแลว ขอหอ้ื เปน ปจจยั ค้ําชใู นชาตนิ ้แี ละชาตหิ นา ในเมอื งฟาและเนรพาน เปนยอดเท่ยี งแทดีหลี กายกมฺมํ วจกี มฺมํ มโนกมมฺ ํ สญจจิ ฺจโทสํ อสญจ จิ จฺ โทสํ สพฺพํ โทสํ ขมนฺตุ โน (บทสมมาครวั ทาน, พอหนานคาํ ยิง่ โยชน. พับสา) (2) อญั เชญิ เทวดา เน้ือหาในสว นนีน้ ิยมขนึ้ ตนดว ยภาษาบาลี จากน้นั จึงแปลเปนภาษาทองถ่ินลานนาโดยมี ความหมายกลาวถึงการอัญเชิญเทวดาและส่ิงศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ไมวาจะเปนเทวดาอารักษที่ สิงสถิตอยูตามสถานที่ตางๆ ยักษ นาค เปนตน ใหมาเปนสักขีพยานและมารวมอนุโมทนาใน การทําบุญทําทานครั้งนั้น ดวยคนลานนาเช่ือวา ทุกคร้ังท่ีมีการทําบุญหรือประกอบกิจกรรมที่ เปนการสรางบุญกุศลท้ังหลาย จําเปนที่จะตองมีเทวดามารับรู มาเปนสักขีพยาน และมารวม อนุโมทนาในการทําทานครั้งน้ันดวย ในบางคร้ังถึงกับมีการระบุวาขอใหเทวดาท้ังหลายได “จดเอาลายหมายเอาช่ือ” หมายถึง บันทึกชื่อของคนท่ีประกอบกิจกรรมงานบุญงานกุศลครั้งนั้น ไว และเทวดาท่ีอัญเชิญมานั้นก็มีดวยกันหลากหลายนับต้ังแตเทวดาท่ีมีความสําคัญในระดับ ทองถิ่น เชน เทวดาที่รักษาวัด รักษาแมนํ้า รักษาเหมืองฝาย เร่ือยไปถึงเทวดาท่ีอยูในระดับ สูงสง เชน พระอินทร พระพรหม ทาวจตุโลกบาล ฯลฯ เปนตน อันเปนสิ่งสะทอนใหเห็นระบบ

71 ความเชื่อของคนลานนาท่ียังคงมีความเชื่อเร่ืองผีควบคูกับความเชื่อเรื่องพระพุทธศาสนาอยาง เหนียวแนน ตัวอยา งบทอญั เชิญเทวดา เชน อากา สฏฐ า จ ภุมมฺฏฐา เทวา นาคา มหทิ ฺธกิ า ปุ ฺญํ โน อนุโมทนตฺ ุ อายนตุ โภนโต เทวา วรราชา นาคา อนิ ฺโท จพรหมา ยมโฺ ลกปาลา ธรณี จ คุตฺตา สริ มิ าภิธานา อาวาสรกขฺ า ปพุ ฺพการเทวา โมทนตฺ ุ ปุฺญํ วรทานเสฏเฐ ตสมฺ า ตุมฺเหหิ อนโุ มทมานาฯ สุณนตฺ ุ โภนโฺ ต เทวสงฆฺ าโย ฟงราหมูเ ทพทา ว อนั อยูดา วเขตขงไข ธรณแี ผน ผืนไตรอากาศกวา ง โกฎิจกั รวาลไพรพนม แผน พฤกษก ลมขงเขตดา วดานดงรี อันอยใู นนทยี านน้าํ ทกุ เถอื่ นถํ้าสระสรี ทกุ เสนหญาและวลั ลี ทังครี ีปพ พเต นาเคคุรุทเธ อสุเรมากมวลมี ทังกมุ ภัณฑค ันธัพพะยักษ ทั้งอารักขม เหสี ใตหลามีอเวจธี ริ าชทา วยมภบิ าล ทา วจตโุ ลกองคคราญจอมเจ่ืองเหงา ธริ าชอาจองคอนิ ทร มนุสสะโลกเมอื งอินทรชัน้ ฟา ฉะกามา ขา ไดเ ชิญมาแลว ทวั่ ทัง้ กลม โสฬสะแผเ ถงิ พรหม ตราบตอเทาเนวสญั ญา ขา ก็ยกมอื สาสิบนว้ิ ต้ังหวางควิ้ กายเกสา ขอทิพทวาราเหยาะหยอ งเหยี้ยมกราบวนั ที ประหนมอัญชุลีอภวิ าทไหวโ มทนา เซิง่ วรทกั ขเิ ณยยาทานแหง ผูข าทั้งหลาย ทีไ่ ดมาห้อื ทานในกาละวนั นี้ยามนแ้ี ลว ขอจุงใสใจจาํ จดี เขยี นขีดใสไว ในสวุ รรณปต ตาหลาบลานคาํ เมอื นาํ ถวายแดพ ระอินทา เอาเมอื เทสสนาไขอา น ห้ือนาบญุ อนั นี้ซวานเซง็ ซา ในโรงธรรมะสภาคศาลาเปน เคา ตราบตอเทา ปริโยสาน จรงิ ธุวัง (บทอัญเชญิ เทวดา, สิงฆะ วรรณสัย. 2523 : 31) อนึ่ง เน้ือหาของการสมมาครัวทาน และอัญเชิญเทวดา สวนใหญปูจารยจะนิยมแยก บันทึกไวตางหาก เน่ืองจากเน้ือหาท้ังสองสวนน้ีสามารถนําไปใชไดกับบทเวนทานทุก สถานการณ ดังนั้น ในการอานบทเวนทานในแตละคร้ัง ปูจารยอาจจะใชบทสมมาครัวทาน หรือ บทอัญเชิญเทวดาบทเดียวกัน และเพ่ือความสะดวกปูจารยท้ังหลายก็มักจะคัดเลือกไวเพียง สํานวนใดสํานวนหนึง่ เพือ่ เอาไวใ ชท ุกครั้งที่มีการเวนทาน

72 (3) ยอคณุ พระรตั นตรยั การยอคุณพระรัตนตรัย คือ การกลาวนมัสการพระรัตนตรัย จะนิยมกลาวส้ันๆ จนถึง ระดับกลางๆ ไมยาวมาก และนิยมกลาวเปนภาษาบาลีลวน แตก็มีบางสํานวนที่กลาวเปนภาษา บาลียาวๆกอนแลวกลาวเพ่ิมเติมเปนภาษาลานนา และบางสํานวนข้ึนตนดวยภาษาบาลีสั้นๆ แลวกลา วตอ เปนภาษาลานนาสั้นๆ เน้ือหาของบทเวนทาน หากไมนับรวมบทสมมาครัวทานและบทอัญเชิญเทวดาท่ีมีการ แยกบันทึกไวตางหาก เน้ือหาในสวนยอคุณพระรัตนตรัยนี้อาจถือไดวาเปนสวนเริ่มตนของบท เวนทานแตละสํานวนอยางแทจริง เนื้อหาในสวนน้ี จะกลาวนมัสการพระรัตนตรัย ไดแก พระ พุทธ พระธรรม และพระสงฆ หรือท่ีคนลานนา เรียกวา “แกว 3 ประการ” หรือ “แกวท้ัง 3 ประการ” ลักษณะเชน นคี้ อื บทประณามพจนต ามขนบในการแตงวรรณกรรมทั่ว ๆ ไป อนั สะทอน ใหเ หน็ ถึงความเคารพศรัทธาตอ พระรัตนตรยั ความออนนอ มถอ มตนของผแู ตง และแสดงใหเห็น ถึงความเปนชาวพทุ ธ การกลาวนมัสการพระรัตนตรัยนี้ สวนใหญจะนิยมกลาวส้ันๆ บางสํานวน อาจกลา วยาวพอสมควร แตก ็ไมถ ึงกบั ยาวมาก และนยิ มกลา วเปน ภาษาบาลลี วน ดงั ตัวอยาง โย สนนฺ ิสินฺโน วรโพธมิ ูเล มารํ สเสนํ มหนฺตึ วชิ โย สมฺโพธิ มาคฺฉิ อนนฺตญฺ าโน โลกตุ ตฺ โม ตํ ปณมามิ พุทธํ อฏฐงฺคโิ ก อริยปโถ ชนานํ โมกฺขปเวสาย อชุ กุ มคฺโค อยํ สนฺติกโร ปนยิ านิโก ตํ ปณมามิ ธมฺมํ สํโฆ วสิ ทุ โฺ ธ วรทกฺขิเณยฺโย สนฺตินทฺ ฺรโิ ย สพฺพมลปปฺ หโี น คุเณหิ เนเกหิ สมทิ ฺธิปตโฺ ต ตํ ปณมามิ สงฆฺ ฯํ สาธุ โอกาส ขา แดพ ระแกว เจาสามประการ (บทเวนทานธรรมมหาชาต,ิ ทวี เขือ่ นแกว . 2524 : 80) (4) โอกาสในการประกอบพิธกี รรม เน้อื หาในสว นนี้ เปนการแจงใหผูฟงไดทราบวา พิธีกรรมนี้จัดข้ึนเนื่องใดโอกาสใด หรือ จัดข้ึนวันใด โดยสามารถแยกพิจารณาได 2 กรณี กรณีแรก คือ การประกอบพิธีกรรมแบบ ปจเจกจะกลาวถึงโอกาสในการประกอบพิธีกรรมตามวันเวลาที่จัดงานน้ันข้ึน ซึ่งอาจจะเปน ชวงเวลาใดของรอบปก ไ็ ด สวนการประกอบพิธีกรรมชุมชน ซ่ึงสวนใหญจะเปนพิธีกรรมที่ตองจัดขึ้นตามปฏิทิน หรือวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาการกลาวถึงโอกาสในการประกอบพิธีกรรมก็จะเปนแบบแผน ลงตัว ตามโอกาสสําคัญในรอบปนั้น ๆ เชน เดือนย่ีเพ็ง เดือนส่ีเพ็ง หรือ(วันเพ็ญเดือนส่ีเหนือ) โดยสวนใหญจะนิยมกลาวเปนระบบจันทรคติ เชน ขึ้นก่ีคํ่า แรมก่ีค่ํา เดือนอะไร(ทาง จันทรคติ) ผูวิจัยคดิ วา เหตทุ ่ีนยิ มกลาวเปนแบบจันทรคติเนื่องจากรูปแบบการประกอบพิธีกรรม

73 ชุมชนหลายพิธีกรรม ถูกกําหนดวันดวยระบบจันทรคติ เชน ทานขาวใหม ตองจัดชวงเดือนส่ี เพ็ง เปน ตน ตัวอยา งการกลา วถึงโอกาสในการประกอบพธิ ีกรรมแบบจนั ทรติ วนั นีก้ ห็ ากเปน วันดี ติถอี ันวิเศษ เหตุเปนวนั ศลี เดือนยี่เพง็ (บทเวนทานผางประทีป,พอหนานมา บชู าเนตร. 8 พฤศจกิ ายน 2546) บดั นี้ ศรัทธาผขู าทงั หลาย ทังหญงิ ชายนอ ยใหญ มีใจใฝช มทาน เถงิ เวลากาลเขา วสา ตดิ ตามมาบข าด เปนโอกาสไดท ําบุญ ภกิ ขสุ งฆชมุ นมุ ในอาวาส บนริ าศไปไกล มใี จใสหอื้ ทาน พ่ีนองลกู หลานพรัง่ พรอม ใจหลิ่งนอมยินดี ในติถีขึ้น 15 คาํ่ เดอื น 10 พรา่ํ วา เขาวสา (บทเวนทานเขา พรรษา,ทวี เขื่อนแกว. 2524 : 110) อยางไรก็ตาม ในระยะหลัง ผูวิจัยพบวา มีบางสํานวนโดยเฉพาะสํานวนท่ีแตงขึ้นใหม อาจกลาวถึงโอกาสในการถวายทานเปนวันเดือนปทางสุริยคติหรือตามปฏิทินสากลดวย ซึ่ง ผูวิจัยคิดวาเหตุท่ีมีการเร่ิมกลาวเปนวันเดือนปทางสุริยคตินั้นเน่ืองจากผูฟงในยุคปจจุบันนาจะ ฟงเขา ใจไดงา ยกวาแบบจนั ทรคติ ดังตัวอยาง การท่ีมีความเลื่อมใส กเ็ พราะไดทาํ ไขกลา วช้ี ถงึ เดอื นเกี๋ยงข้ึน 8 คา่ํ พรํ่าวาเปนวนั ศีล กม็ าตกแตง ดาวันที่ 18 ตลุ าคม วนั ทานเปน วนั ที่ 19 ตุลาคม (บทเวนทานสลากภัตต, พอหนานมา บูชาเนตร. 19 ตลุ าคม. 46)

74 (5) เจาภาพ เนือ้ หาในสวนนี้ เปนการกลา วใหผ ูอ น่ื ไดท ราบวาใครไดก ระทาํ บุญหรือไดถวายทานอะไร หากเปน บทเวนทานกลมุ พธิ กี รรมปจเจก จะนยิ มระบุชอื่ เจา ภาพเพยี งคนเดยี วหรือสองคนลงไป อยางชดั เจน ดังตัวอยา ง บัดนี้ ศรัทธาผขู า ทังหลาย อนั มานนั นิบาต ในอาวาสมณฑล หมายม…ี (นาย / นาง……….) เปน ปฐมะมลู ศรทั ธาเคา พรอ มดวยลูกเตาเผา พันธุว งศา ญาติกาพนี่ อง ทังเพอื่ นพองมิตรสหาย ผูใ จบญุ หญงิ ชายทัว่ หนา ไดมพี รอ มผา หนา บุญ …. (บทเวนทานเปก บวช,ทวี เขื่อนแกว . 2524 : 50) สวนบทเวนทานในกลุมพิธีกรรมชุมชน การระบุช่ือเจาภาพจะเปนการกลาวถึงใน ลักษณะขององคกรหรือหมูคณะ ไมเจาะจงไปท่ีบุคคลใดบุคคลหน่ึง โดยนิยมใชคําวา “ผูขาทัง หลาย” “ศรัทธาบาน…………” เปนตน ดงั ตวั อยาง รอดเนรพานเปน เขต เหตุนั้นหมายมีคณะศรทั ธาบานแมห อพระทังหลาย กม็ ารํา่ เพิงเถิงคุณศรีสัพพญั ู พระพุทธเจา อนั มคี ณุ อนนั ตา (บทเวนทานขา วใหม, พอหนานประสทิ ธิ์ โตวิเชยี ร. 6 มกราคม 2547) อยางไรกต็ าม ผูวิจัยสังเกตเห็นวา แมจะมีการระบุช่ือเจาภาพท่ีแทจริงลงไปไมวาจะเปน ปจเจกหรือชุมชน ก็ตองมีการหมายรวมไปถึงญาติพี่นองและมิตรสหายกลาวรวมไปกับชื่อของ เจาภาพดวยเสมอ ซ่ึงสิ่งน้ีผูวิจัยคิดวาไดสะทอนใหเห็นถึงความเอื้อเฟอเผื่อแผของคนลานนา ท่ี มีการนึกถึงผูอ่ืนอยูเสมอ ที่แมแตการทําบุญ ก็อยากใหญาติพ่ีนองไดรวมรับอานิสงสจากการ ทาํ บญุ ในครัง้ นั้นดว ย (6) ส่ิงของถวายทาน การกลาวถึงสง่ิ ของถวายทาน คอื การพรรณนาวา ส่ิงของทนี่ าํ มาถวายทานนน้ั ประกอบ ไปดวยอะไรบา ง สว นใหญจ ะนยิ มกลาวถงึ เพยี งครา วๆ เชนกลา วถึง ขาวตอก ดอกไม เทยี น รวมถงึ สง่ิ ของถวายทานท่เี ปนของหลกั ในแตละโอกาสเทานนั้ แตก ็มบี างสาํ นวนทอี่ าจจะบรรยาย อยา งละเอยี ดข้นึ อยูกบั ผแู ตง แตละทาน

75 ตัวอยางการกลาวถงึ สิ่งของถวายทาน ไดสลงขงขวายตกแตงนอม พรอมนํามายังบุปผาลาชาดวง ดอกไมลาํ เทยี น (บทเวนทานผตี าย. พอ หนานคาํ ยิ่งโยชน. 27 พฤศจกิ ายน 2546) แลว จิงไดส ลงขงขวาย หาไดย งั เครื่องสกั การบูชา ดว ยเทยี นธปู บุปผาลาชา ประทีตสีสายนาํ้ มนั (เวนทานผางประทปี ,พอ หนานมา บชู าเนตร. 8 พฤศจกิ ายน 2546) (7) ระบุถงึ ความต้งั ใจวา ตอ งการถวายใหแ กพ ระรัตนตรัยพรอ มกับอาราธนาให พระรตั นตรัยมารับเอาส่ิงของถวายทาน เนื้อหาสวนน้ี จะมีการระบวุ า ตอ งการมอบหรือถวายส่ิงของถวายทานเหลา นน้ั ใหแ กพระ รตั นตรัยซง่ึ ไดแ กพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ยกเวน การถวายทานเนื่องในงานกฐนิ ที่จะระบุ อยางชัดเจนวา ตองการถวายใหแกพระสงฆทจี่ ําพรรษาอยใู นวดั นน้ั จากน้นั กก็ ลาวอาราธนาพระ รตั นตรัยใหมารับเอาส่ิงของถวายทานเหลานั้น ดังตัวอยา ง เพ่อื นอมถวายแกพ ระแกวเจาทัง 3 ประการ กับเจา ภิกขุสามเณรชุองค อันเปน ลกู ศษิ ยพระภูบาลตนผา นเผา ขอพระตรยั รตั นะแกว เจา มพี ระภกิ ษุ สามเณรน้ันเลา นิมนตม ธี รรมเมตตา อวา ยหนา ปฏิคหะรับเอาสลากภตั ตงั คือไทยทานของผขู าทังหลาย (บทเวนทานสลากภัตต, พอ หนานมา บชู าเนตร, 19 ตลุ าคม 2546) ตัวอยา งจากบทเวนทานกฐินทจ่ี ะระบชุ ดั เจนวาตอ งการถวายใหพ ระสงฆท่จี ําพรรษาอยใู นวดั น้ัน บดั นค้ี ณะศรทั ธา กไ็ ดนาํ มา ยังจตุปจ จัย ไทยวตั ถแุ ละองคกฐิน มาตง้ั ไว ในขวงแกว ทังสาม

76 หอ้ื ทานเถิงทา นสมภาร อนั จาํ วสาอยใู นอาวาส ครบถว นไตรมาส บไดขาดเสียสญู นบั วา เปนบญุ อนั ประเสรฐิ ลาํ้ เลศิ ในโลกา ขอราธนาทานเจา อันเขามาเมตตา จงุ ปฏคิ คหะรบั เอา วตั ถุทานหลายเยอื่ ง อนั เนื่องดว ยกฐนิ งั ……………………… (บทเวนทานกฐิน, ทวี เข่อื นแกว. 2524 : 119) (8) คําปรารถนา เนอ้ื หาในสว นน้ี จะกลา วถงึ สง่ิ ท่เี ปนความปรารถนาในขั้นปรมตั ถห รอื ขนั้ สูงสุดในลัทธิ ความเชอ่ื ทางศาสนา ซง่ึ ไดแ ก นิพพาน โดยคนลา นนาจะใชคําวา “เมืองแกว ” หรอื “เมืองแกว ยอดเนรพาน” เปนตน และเปนทนี่ าสังเกตวา นพิ พานในทศั นะของคนลา นนาทปี่ รากฏใหเ หน็ ใน คําเวนทานนน้ั เปนรูปธรรม ไดแก เมืองแกว หรือ เมืองแกว ยอดเนรพาน หมายถึง เมืองแหง ความสขุ ในอดุ มคติ มใิ ชน พิ พานทห่ี มายถงึ การหลุดพนจากการเวยี นวายตายเกดิ ตามปรัชญา ทางพระพทุ ธศาสนา ซงึ่ คตคิ วามเช่ือดังกลา วกส็ อดคลอ งกบั การนบั ถอื พระพทุ ธศาสนาของคน ลา นนา ทนี่ บั ถือพุทธแบบชาวบา น มิไดนับถือแบบปรชั ญา ดงั ตวั อยา ง ขอองั คราส ราธนา ยงั พระไตรรตั นะแกว เจา 3 ประการ ขอจงุ มธี ัมมะเมตตา มหากรุณาอวายหนา รับเอา ยงั เคร่อื งปรมะมิสสปูชา ทานวัตถุปจจยั ไทยทาน แหงมลู ศรทั ธาผขู าทังหลาย แลว จงุ ห้ือกลบั กลาย เปน หติ ะสขุ ะประโยชนอ ันยงิ่ โยชน ขอจงุ ห้อื เปนประโยชนแ ละปจ จัย คา้ํ ชไู ปทุกชาติ ตงั้ แตปจ จุบนั ปนนะ ภาวะชาติน้เี ปน เคลา ตราบตอ เทารอดเวียงแกว ยอดมหาเนรพาน เจาอยา ไดคลาดอยาไดคลา ขอหอื้ สมดัง่ คํามกั ปรารถนาใจใฝ ชผุ นู อยใหญชายหญงิ ขอหอ้ื สมดั่งคําคนิงใฝอา ง อยาไดห ลงของคางอยเู มนิ นาน นนั้ จงุ มเี ทยี่ งแทดหี ลี จ่ิมแดเทอะ (บทเวนทานขา วบาตร,พอ หนานอินทร นยิ มกาญจน. 24 ตุลาคม 2546)

77 นอกจากน้ันยังมีการปรารถนาเผ่ือไววาหากไมสามารถไปสูนิพพานได และยังไดมา เกิดในวัฎสงสารอยูก็ขอใหไปเกิดในท่ีที่มีความสุขสําราญ มีทรัพยสินเงินทองมากมาย อันเปน การสะทอ นใหเหน็ ถึงความปรารถนาในระดับสามัญ ท่คี นสวนใหญใ นยุคนตี้ อ งการ ดงั ตวั อยา ง แมนมูลศรทั ธาผขู าทังหลาย ไดท านสลากภัตตค ราวนไี้ ซร ขอหื้อไดค าํ้ ชูอุดหนุน โดยผลบญุ กศุ ลบญุ ทาน บุญราศอี ันไดส ราง ขอห้ือสมใฝอา งดง่ั คําจา เม่อื ตายจากโลกาเขตหอง ขงเขตทองเมอื งคน ขอหื้อเอาตนผขู า หญิงชายใหญน อย หนมุ เฒาคชู ายหญิง ไปเกดิ ช้ันฟาเลศิ เมอื งสวรรค ถา เมอ่ื ใดสมพารแกกลา ขออวายหนา ไปรอด เมืองแกว ยอดมหาเนรพาน เม่ือบมากถ็ ึงมัคคญาณพระนพิ พานเจา ไดม าเกดิ เลา ในโลกสงสาร ขอนาํ เอาวญิ ญาณไปเกดิ ทป่ี ระเสรฐิ สาํ ราญ ขอประกอบไปดว ยวตั ถแุ ลขา วของเงนิ คํา ขา วนาํ้ ปจ จัย ขอหือ้ รุงเรอื งใสใสบเศรา มูลศรทั ธาทงั หลายนัน้ เลา ไดทาํ บญุ สนุ ทาน ขอสมดั่งคําปณธิ าน ชุประการนั้นอยาไดคลาดไดค ลา น้ันจุงจักมเี ทย่ี งแทดหี ลี (บทเวนทานสลากภัตต, พอ หนานมา บูชาเนตร. 19 ตุลาคม 2546) (9) อทุ ิศสว นบุญสว นกุศล เนื้อหาในสวนน้ีหากเปนบทเวนทานพิธีกรรมปจเจกในกลุมพิธีกรรมที่เกี่ยวเน่ืองกับ ความตาย จะมีการระบถุ งึ ชือ่ ผูท ี่ตองการอุทศิ ไปใหอยา งชัดเจน ซ่ึงก็คือช่ือของผูตายแตหากเปน บทเวนทานพิธีกรรมปจเจกท่ีนอกเหนือจากกลุมดังกลาว รวมถึงบทเวนทานพิธีกรรมชุมชนจะมี การอทุ ิศสวนบญุ สว นกุศลไปใหอ ยา งหลากหลาย นับตง้ั แตสงิ่ ศักด์ิสิทธิทต่ี นเคารพนบั ถือ พอแม หรือญาติพ่ีนองมิตรสหายทั้งที่ลวงลับไปแลว ตลอดจนสัตวเดรัจฉานที่ตนไดเคยฆา ผูวิจัยคิดวา การกลาวถึงเนื้อหาในสวนนี้ของคําเวนทานสะทอนใหเห็นวาคนลานนามิใชผูท่ีเห็นแกตัว

78 ตองการรบั ผลบุญทงั้ หมดไวทีต่ นผเู ดียว แตม ีการระลึกถึงผูอ่ืน และมีความปรารถนาดีท่ีอยากจะ ใหผูอ น่ื ไดร บั ความสขุ หรือผลบญุ ที่ตนไดก ระทาํ ขึน้ ในครง้ั นนั้ ดว ย ดงั ตัวอยา ง บดั น้ีกุศลกองใหญ ที่เราไดเ อาใจใสชว ยจัดการ เปนบญุ มหาศาลอนั ย่ิงโยชน มากกวาแสนโกฏิแหง เงนิ ทอง จกั อทุ ศิ บุยทั้งผองที่ไดส รา ง ผายแผกวา งไปหา สัพพเทวตาตนนอ ยใหญ ทกุ เคา ไมวมิ านแมน ผับท่ัวแดนดา นดา ว สิบหกหอ งโสฬสาครบไคว ทกุ เทพทา วฉกามา เซ่ิงบุญทานทเี่ ราไดสราง จงุ ยอมอื ไหวสาธุการ ทกุ ภผู าเหวหนิ หาด ทกุ ทา ทางเทวตา ทกุ แขวงขงเขาขอบเขต ทุกทาทางตาดดอยดง เทวดารักษามหาธาตุ ทกุ ประเวศทวั่ อาณา ตนทวยตามหลังและกอ นหนา แมธ รณีนุชนาฏ รักษาพทุ ธศาสนแ ละอาราม เทวดารักษาสถานบานชอ ง อนิ ทาเจาฟา ฟากยนิ ดี ปติยนิ ดียิง่ โยด ชืน่ เชยบานผา นแผว ตนจําน้ําหยาดหมายทาน จุงรับเอาบญุ กศุ ลบญุ แผ ทงั สวาธุหลวงเจาอาวาสเกา จุงสาธสุ รองอัญชลุ ี สุโสดสง เสยี งสาร อยหู นใดจุง รับทราบ เทวดารกั ษาขว งแกว อารามเรา เซ่งิ บุญทานเราเจาขา ชมชื่นแทท ังปวง อนั ววากศุ ลใสสะอาด ทีม่ รณะเนาตายไป ขอแผบุญบานอนั นี้หนอ สามีภรยิ าและลูกเตา ยอมอื กราบสาธุการ ที่ไดอนิจกรรมตายลาพราก จงเจตหนาแผผ ายไป ที่เราไดโ อกาสยกยอทาน ปางเมอ่ื ดับจติ ไปตายจาก ไปหาแมพ อและญาตกิ า เกดิ เปนเปตวสิ ยั ของคา ง พอ อุยแมเฒา ท้งั หลาย ไดส ลาํ ขําคาบพ น พระวิหารหลงั นี้เลา แมนทรงลําบากอยหู นใด เปน ปจ จัยบนั ดาลชวยยู จิตบพ รากของอาลัย อยใู นทีต่ างๆนานา บุญลํา้ ลน เกดิ จากทาน ขอไตเ ตาตามทวยไป หอ้ื ขนึ้ สูเสวยสวรรค

79 สาํ เร็จโดยพลนั อยา พลาด กุศละพลิ าสสอ งใสศรี จงุ เปน ปารมีแกก ลา จูงเราเจาขา แหนนาํ ไป สทู ่สี ขุ ใจผอ งแผว คือวาเวียงแกว อมตะเนรพาน เม่อื หวา ยสงสารบพ นเทื่อ ทกุ มือ้ เมอ่ื เกดิ เปนกาย หอ้ื เราทง้ั หลายไดเขา ใกล นบนอมไหวต ริ ตั นา แมน จักเกิดมากีเ่ ทอ่ื ขอหื้อหยง่ั เชอื้ แกวทังสาม หอื้ กลวั ขามตอ บาป ดวยอานุภาพแหงทานา ห้ือมีปญ ญาอันฉลาด มดั พนั คาดอยูกับตวั พน จากความเมามัวมดื บอด เอาตัวบรรลุรอดจอดเนรพาน ในอนาคตะกาลอันจักมาพายหนา จุงมเี ท่ียงแทดีหลี (สงิ ฆะ วรรณสยั ,2523 : 47-48) บุญญะราศีอนั นน้ี ามีมาก จกั อทุ สิ สะฝากไปหา ยังเทวดาทงั หลายมวลหมู อันรักษาเคหะคูเหยาเรอื น อันรักษาแมนํา้ ฝายเหมอื ง อันรักษาบานเมอื งขงเขตหอง ผับแผนทองชูอ าณา รักษาวัดวาศาสนาเส้ยี งชทู ี่ อนั รักษาทนี่ ้ีเปน ประธาน ทงั พรหมเทวดาตนชืน่ เชยี งคราญใสสะอาด ปพพตารกุ ขชาติสายสินธุ ทังพรหมินทท ิพเทพ จุงนอ มนิ้วเนตรโมทนา ทังอนิ ทาตนปราบสองสวรรคฟ าเฟอ ง ทังทานทา วคนั ธัพพา อสุราอสุรยี กั ขายักขี เตชะมอี งอาจ ดั่งนางนาฏไธธ รณี จุงมายินดจี าํ นาํ้ หยาด เมอื่ ยามทานแทด ีหลี (บทเวนทานขา วใหมเ ดอื นสีเ่ พง็ , ทวี เขอื่ นแกว . 2524 : 58) เตชะกศุ ลมมี าก จกั อุทศิ ฝากไปหา ปตามารดา สามีภรยิ าพออุยแมเฒา ทังลูกเตาหลานเหลน สืบสายเปน เช้ือชาติ สังคะญาตวิ งศา ปูล งุ อานาปา เขาเจา พรากหนามรณาไป วางจิตใจไปบช าง

80 ตกคางของอยูหอ งอบาย ตายเปน ผีเปน เปรต ทกุ ขกะเลสกะลิง อยใู นยา นนํา้ คหู า วัดวาศาสนาคามเขต หมิ เวศน บา นเมอื งเหมืองฝาย ขอแผผายบุญไปรอด ขอไดพ บยอดทางดี แมนกรรมเวรมปี างกอน ขอลดผอนสญู หาย ขอแผผายไปไคว ชนุ อยใหญห ญงิ ชาย ฝูงอนั ตายจากโลก ขอพนโศกโศกา ขอเถงิ มคั คาอันยิง่ เถงิ เมืองแกวยิ่งเนรพาน อยาไดค ลาดไดค ลา นั้นจงุ จักมเี ทย่ี งแทดีหลี ฯ (บทเวนทานกฐนิ , ทวี เขื่อนแกว . 2524 : 119) (10) กลาวถวายเปนภาษาบาลี เนอ้ื หาในสว นนจ้ี ะเปนเนอ้ื หาสว นทายสุดของบทเวนทาน โดยมีการกลา วถึงการสง มอบ ส่ิงของถวายทานใหแ กพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆและขอใหเกิดความสุขสวัสดแี กผ ูทีถ่ วาย และนิยมแตงดว ยภาษาบาลี ดงั ตวั อยาง มูลศรทั ธาทงั หลายน้นั เลา ไดท าํ บุญสุนทาน ขอสมดง่ั คําปณิธาน ชปุ ระการนน้ั อยา ไดคลาดไดคลา นน้ั จงุ จกั มเี ทีย่ งแทด หี ลี สาธุ โอกาส มยํ ภนเฺ ต ธูป ปปุ ฺผา ลาชทานํ สลากภตฺตทานํ สปรวิ ารํ ธปู ปปุ ผฺ า ลาชทานอํ เภทอสาธารณสพฺพโลกโลกิยโลกตุ ตฺ ร สพพฺ สมปฺ ตตฺ นี ํ นพิ พฺ านปจจฺ โย โหนตฺ ุ โน (เวนทานสลากภัตต, พอหนานมา บชู าเนตร. 19 ตุลาคม 2546) 3.3.2 บทสืบชาตา การจําแนกเน้ือหาและโครงสรางของบทสืบชาตา จะแตกตางจากการจําแนกเนื้อหาและ โครงสรางของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมประเภทอื่นๆ ที่จําแนกตามความหมายของเน้ือหา วา ขณะน้ัน เนื้อหากําลังกลาวถึงอะไร ก็สามารถจําแนกออกไดอยางชัดเจน เชนบทเวนทาน เร่ิมจากสมมาครัวทาน ตามดวยอัญเชิญเทวดา ยอคุณพระรัตนตรัย โอกาสในการประกอบ

81 พิธีกรรม เจาภาพ สิ่งของถวายทาน ระบุถึงความตั้งใจวาตองการถวายใหแกพระรัตนตรัย พรอมกับอาราธนาใหพ ระรัตนตรัยมารับเอาส่ิงของถวายทาน คําปรารถนา อุทิศสวนบุญสวน กุศล และจบดว ยการกลาวถวายเปนภาษาบาลี สว นบทเรยี กขวัญ เรม่ิ จากเกร่ินนําถึงวาระอนั เปนมงคล บรรยายความเกี่ยวกับสภาพกอนเปนลูกแกว กลาวถึงเครื่องประกอบพิธีและ ขั้นตอนในการประกอบพิธีกรรมเรียกขวัญลูกแกว กลาวปดเคราะห จบดวยการกลาวบทผูก ขอมือลูกแกว แตบทสืบชาตา จะจัดตามช่ือบทหรือ คําขึ้นตนของคาถาบาลีแตละบท เนื่องจาก ภาษาที่ใชในตัวบท เปนภาษาบาลีลวน ทําใหทั้งพระสงฆและผูรวมพิธีสวนใหญ อาจไมสามารถ แปลความหมายของภาษาบาลีเหลาน้ันไดท้ังหมด ดังนั้น ในการจําแนกโครงสราง คนลานนา จะจําเพียงวา เร่ิมจากบทใด ตามดวยบทใด ไมมีการแปลความหมายของตัวบท ดังน้ัน ใน การจําแนกรูปแบบและเนื้อหาของบทสืบชาตาในครั้งน้ี ผูวิจัยก็จะขอจําแนกตามที่คนลานนา จําแนกจรงิ ไดแ ก จําแนกตามช่อื บทคาถา หรอื คําข้ึนตนบทคาถา จะไมมีการแปลความหมาย จากบาลีเปนภาษาลา นนา เพราะในการใชงานจริง คนลานนา ไมไ ดสนใจความหมายของตัวบท สบื ชาตา ผลการศึกษา พบวาเนื้อหาของบททีใ่ ชป ระกอบพิธีกรรมสืบชาตา สามารถจาํ แนกออก ไดเปน 3 สว นคอื กลาวชมุ นมุ เทวดา สวดเจรญิ พุทธมนต และสวดบทสบื ชาตา โดยเนอื้ หา ในแตละสวน มีรายละเอยี ดดังน้ี (1) กลา วชุมนมุ เทวดา การกลา วชมุ นมุ เทวดา คือ การกลา วอัญเชิญใหสง่ิ ศักด์ิสทิ ธทิ์ ่ีเคารพนบั ถือมารว มในการ ประกอบพธิ กี รรม บททน่ี ยิ มใชในการกลา วอญั เชญิ เทวดา คอื บททข่ี ึน้ ตน ดวยคําวา สักเคกา เม โดยพระรปู ที่ 3 นับมาจากดานขวา จะเปน ผสู วด ตัวอยางบทสคั เค ฯ สัคฺเค กาเม จ รูเป คิริสิขรตฺเฎ จนฺตลิกฺเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จ คาเม ตรุวนคหเน เคหวตฺถุมฺหิ เขตฺเต ภุมฺมฎฐาทโย จตุโลกปาลราชา ยมราชา อินฺโท เวสสุวณฺณะราชา อริยเมตฺ เตยฺโย โพธิสตฺตา วกาทโย อริยสาวกา จ ปุถุชฺชนกลฺยาณา จ สมฺมาทิฺฐี เยว พุทฺเธ ปสันนา ธมฺ เม ปสนฺนา สํเฆ ปสนฺนา พุทฺเธ สะคารวา ธมฺเม สคารวา สํเฆ สคารวา อิโต ฐานโต ยาว ปรมฺ ปรา อมิ สฺมงิ สฺ ุ จกกฺ วาเฬสุ เทวตา ยงฺมุนิวรวจนํ สาธโว โน สณุ นฺตุ ฯ (ญานสมฺปนโฺ น,มปป : 55 – 56) (2) สวดเจรญิ พุทธมนต เนอ้ื หาสวนตอไปหลงั จากกลาวอัญเชญิ เทวดาแลว คือ การสวดเจริญพทุ ธมนต ผูที่รับ หนาที่เปนผูนําสวดคือ พระสงฆผูเปนประธาน โดยจะตองสวดตามลําดับดังนี้ (ญานสมฺปนฺโน ,มปป : 45 – 47)

82 1) ข้ึนนะโม – พทุ ธงั ตอ นะโม เม 2) ข้ึนบทขัดตํานาน สาสนัสสะ ลง สะหะสัพเพหิ ญาติภิ 3) ขึน้ ราชโต วา ลง อารักขงั คณั หนั ตุ 4) ขน้ึ บทขัดรัตนสูตร ปณธิ านโต ปฏ ฐายะ ลง ปรติ รตันตัมภะ ณามะ เห 5) ขน้ึ บท มังคลสตู ร อเสวนา ลง ตันเตสัง มังคลมตุ ตมันติ 6) ขน้ึ บทรตั นสตู ร ยังกญิ จิ วิตตัง ลง เยสปุ ปะยตุ ตา สวุ ตั ถิ โหติ ตอ ขีณัง ปุราณัง ลง สงั ฆงั นมสั สามะ สุวตั ถิ โหตุ 7) ขน้ึ กรณียเมตตสตู ร เมตตัญจ ลง นะ หิ ชาตุ คัพภุ เสยยัง ปนุ เรตตี ิ 8) ขึ้นขนั ธปริตตคาถา อปั ปมาโณ ลง สะตะตนั นัง สมั มา สมั พุทธานัง แลวตอ อติ ิปโส สวากขาโต สปุ ฏปิ น โน 9) ข้ึนธชัคคสตู ร เอวัมพุทธงั สรนั ตนัง ลง น เหสสะตตี ิ 10) ขึ้น อาฎานาฏิยสูตร สะทา สุเขนะ ลง มตุ โต สัพพะภะ เยนะ จะ สพั พะ โรควนิ มิ ุต โต ลง อายุวณั โณ สุขงั พลังฯ 11) ข้ึน เทวตาอยุ โยชนะคาภา สัพเพพุทธา ลง รกั ขัง พันธามิ สพั พโส 12) ข้ัน ยนั ทนุ นิมัตตงั ลง สงั ฆานุภาเวนะ วนิ าสเมนตุ ขึน้ อังคลุ มิ าละปริตต โพชณังโค ลง ปะหนี า เต จะ อาพาธา ลง โสตถิ เต โหตุ สัพพะ ตา (ถา เปนงานแตง งานใหเพมิ่ ยโตหัง) 13) ข้ึนพาหงุ สหัสสมะ ลง นะโร สะปญโญ 14) ขน้ึ มหาการณุ โิ ก นาโถ ลง สะภัณตตั เถ ปทักขเิ ณ 15) ข้ึน เต อตั ถะลทั ธา ลง เตอตั ถลุ ทั ธา ตอ สะหะ สัพเพหิ ญาตภิ ิ 16) ข้นึ สกั กตั วา ลง โรคาวปู ะสะเมนต เต 17) ขน้ึ ภวตุสพั พะมงั คง สงั ฆานุภาเวน สะทา โสตถี ภวนั ตุ เตฃ 18) ขน้ึ นัตถเิ ม สะระณงั อัญญงั พุทโธ เม ลง โหตุ เตชย มงั คลัง 19) ข้ึนพทุ โธ มังคลสัมภโู ต ลง สงั ฆมงั คละ มาคมั มะ สพั พโรคา ปมญุ จเร 20) ข้ึน หิรโิ อตปั ปะ ลง ชะตะเวทงั ปตกิ กะมะ ตัดขึ้นบท สุโข พุทธานงั ลง นิพพานงั ปรมังสขุ ัง (3) สวดบทสืบชาตา เนอื้ หาสว นทกี่ ลาวตอ จากการสวดเจริญพุทธมนต คอื การเรมิ่ กลาวสืบชาตา โดย จะตอ งกลาวตามลาํ ดบั ดังน้ี 3.1 กลา ว นะโม ตัสสะ 3 จบ 3.2 ขึ้นบท อินทชาตา 3 จบ หรอื เทาอายผุ ูสบื ชาตา

83 ตัวอยา งบท อนิ ทชาตา ปุริสฺชาตา มหาปุริสฺชาตา จกฺกวตฺติชาตา มหาจกฺกวัตฺติชาตา พุทฺธชาตา ปจฺเจกพุทฺธ ชาตา อรหนตฺ าชาตา สพพฺ ะสิทฺธิ วิชฺชาธรานชํ าตา สพฺพโลกา จรยิ านํชาตา สพพฺ โลกา ธิปติญานํ ชาตา เอเตน สัจฺจะวชฺเชน ตุยฺหํ สุวตฺถิ โหนฺตุ ตุยฺหํ สวาหาย นโม พุทฺธสฺส นโม ธมฺมสฺส นโม สฆํ สสฺ เสยยฺ ถีนํ หรุ ูหรุ ู สวาหาย ฯ (สน่นั ธรรมธ,ิ 2547 : 30) 3.3 กลาวบทอ่ืน ๆ ทเี่ หลือตามลําดับเรอ่ื ยไปจนจบ ไดแ ก หรโิ อตปั ปะ ชัยเบ็งชร อุณหิสวิชยั เภสชั ชงั สโุ ข พทุ ธา พทุ โธ มังคะละ ตวั อยา งบทหริโอตปั ปะ หริ ิโอตปั ปฺ สมฺปนฺนา สกุ ฺกธมฺมสมาหติ า สนโฺ ต สปฺปุรสิ า โลเก เทวธมฺมาติ วุจจฺ เร สนฺติ ปกฺขา อปตฺตนา สนฺติปาทา อวัจฺ นา มาตาปต า จนิกขฺ นั ตา ชาตะ เวทะ ปฏิกฺกมฯ (สน่ัน ธรรมธ,ิ 2547 : 30) ตวั อยา งบทชยั เบง็ ชร ชยาสนากตา พุทธฺ า เชตวฺ า มารํ สวาหนํ จะตสุ จฺจาสะภํ รสํ เย ปว งิ ฺสุ น ราสภา ตณฺหกํ ราทโย พทุ ฺธา อัฎฐวสี ติ นายกา สพั เฺ พ ปติฎฐติ า มยฺหํ มตฺถเก เต มุนิสสฺ รา สเี ส ปตฎิ ฐ โิ ต มยหฺ ํ พุทฺโธ ธมฺโม ทวโิ รจเน สํโฆ ปติฎฐ โิ ต มยหฺ ํ อเุ ร สพฺพคุณากโร หทเย เม อนุรุทฺ โธ สารีปตุ ฺโต จ ทกขฺ เิ ณ โกณฑฺ ฺโญ ปฎฐิภาคสฺมงิ ฺ โมคฺคลฺลาโน จ วามเก ทกั ฺขิเณ สวเน มยฺ หัง อาสงุ อานนฺทราหุโล กสสฺ โป จ มหานาโม อภุ าสุง วามโสตเก เกสโต ปฎฐิภาคัสมฺ งิ สุริโย วปภกํ โร นสิ ินโฺ น สิรสมฺปนโฺ น โสภโิ ต มุนิปงุ คฺ โว กมุ ารกัสสฺโป เถโร มเหสี จติ ฺตวาทโก โส มยหฺ ํ วทเน นิจจฺ ํ ปติฎฐ าสิ คณุ ากโร ปุณฺโณ อํคุลิมาโล จ อุปาลี นนฺทสีวลี เถรา ปฺจ อิเม ชาตา นลาเต ตีลกา มม เสสาสีติ มหา เถรา วิชิตา ชินสาวกา เอเตสีติ มหาเถรา ชิตฺวนฺโต ชิโนรสา ชลนฺตา สีลเตเชน อังคมํเคสุ สัณฺฐิ ตา รตนํ ปุรโต อาสิ ทักฺขิเณ เมตฺตสุตฺตกํ ธชคฺคํ ปจฺฉโต อาสิ วาเม องฺคุลิมาลกํ ขนฺธโมร ปริตตฺจ อาฎานาฎิยสุตฺตกํ อากาเส ฉทนํ อาสิ เสสา ปาการสณฺฐิตา ชินา นานาวรสํยุตฺตา สตั ตฺ ปปฺ าการลกํ ตา วาตปตฺตาทสิ ั ชฺ าตา พาหิรชฌฺ ตตฺ ุปทฺทวาอเสสา วินยํ ยนฺตุ อนตตฺ ชนิ เตชสา วสโต เม สิกิจฺเจน สทา สมฺพุทฺธปฺชเร ชินปฺชรมชฺฌมฺหิ วิหรนฺตํ มหีตเล สทฺธา ปาเลนฺตุ มัง

84 สพฺเพ เต มหาปุริสาสภา อิจฺเจวมนฺโต สุคุตฺโต สุรกฺโข ชินานุภาเวน ชิตุปทฺทโว ธมฺมานุภา เวน ชิตารสิ โํ ค สํฆานภุ าเวน ชติ นตฺ ราโย สทธฺ มฺมานภุ าวปาลิโตตฯิ (สนนั่ ธรรมธ,ิ 2547 : 30 - 31) ตวั อยา งบทอุณหสั วิชยั อัตถิ อุณหิสสะ วิชะโย ธัมโม โลเก อะนุตตะโร สัพพะสัตตะหิตัตถายะ ตังตวังคัณหาหิ เทวะเตปะริวัชเช ระชะทัณเฑ อะมะนุสเสหิ ปาวะเก พะยัคเฆ นาเค วิเส ภูเต อะกาละมะระเณ นะ วาสัพพัสมา มะระณา มุตโต ฐะเปตวา กะละมาริตัง ตัสเสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สุขี สะ ทาสุทธะ สีลัง สะมาทายะ ธัมมัง สุจะริตัง จะเร ตัสเสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สุข สะทา ลิกขิตงั จินติตงั ปูชงั ธาระนัง วาจะนัง คะรงุ ปะเรสงั เทสะนังสุตวา ตสั สะ อายุ ปะวัฑฒะตตี ิฯ สักกตั ตะวา พุทธะระตะนัง โอสะถัง อตุ ตะมัง วะรังหติ งั เทวะมะนุสสานัง พุทธะเตเช นะ โสตถินา นัสสันตปุ ท ทะวา สพั เพ ทกุ ขา วูปะสะเมนตุ เต สักกัตตะวา ธัมมะระตะนงั โ อ สะถัง อุตตะมัง วะรัง ปะริฬาหูปะสะมะนัง ธัมมะเตเชนะ โสตถินา นัสสันตุปททะวา สัพเพ ทกุ ขา วปู ะสะเมนตุ เต สักกัตตะวา ธัมมะระตะนงั โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง ปะริฬาหูปะ สะมะนังธัมมะเตเชนะ โสตถินา นัสสันตุปททะวา สัพเพ ภะยา วูปะสะเมนตุ เต สักกัตตะวา สังฆะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง สังฆะเตเชนะ โสตถินา นัส สนั ตุปททะวา สัพเพ โรคา วปู ะสะเมนตุ เตฯ (สน่ัน ธรรมธ,ิ 2547 : 3 - 32) ตวั อยางบทเภสชั ชงั เภสชชฺ ํ เทวมนุสฺสานํ กะฏกํ ตติ ติกํ รสํ อมิ พฺ ิลํ ลวนฺเจว สัพฺพพยาธิ วินสฺสนฺตุ เอกทวิติ จตุปฺจ ฉสตฺตาทินํ ตถา ยาว ทุกฺขา วินสฺสนฺตุ ชีวิทานํ ททนฺตุ เต ชีวิทานํ ททนฺตสฺ อายุ วณฺณํ สุขัง พลํ ชีวิทานานุภาเวน โหตุ เทโว สุขี สทา ชีวิทานํ จ โย ทตฺตวา โอสถํ อุตฺตมํ วรํ สรีรํ ทุกฺขํ นาเสติ เภสชฺชํ ทานมุตฺตมํ ตัสฺสมา กเรยฺย กลฺยาณํ นจฺจยํ สมฺปรายนํ ปุฺญานิ ปรโลกัสฺมึ ปติฏฐา โหนฺติ ปาณินํ อิมินา ชีวิทาเนน ตุมฺหากํ กึ ภวิสฺสติ ทีฆายุกา สทา โหนฺตุ สุขิตา โหนฺตุ สพฺพทา โย โส ททาติ สกฺกจฺจํ สีลวนฺเตสุ ตาทิสุ นานา ทานํ วรํ ทตฺตวา ชีวิทานํ มหปฺผลํ เอวํ มหิทฺธิกา เอสา ยททิ ํ ปุ ญฺ สมปฺ ทา ตสมฺ า ธีรา ปสสํ นตฺ ิ ปณฑฺ ิตา กตปุญฺ ตนตฺ ิ ฯ (สนน่ั ธรรมธ,ิ 2547 : 32)

85 ตัวอยา งบทสโุ ข พทุ ธา สุโข พทุ ฺธานํ อุปปฺ าโท สขุ า สทฺธมฺมเทสนา สุขา สฆํ สสฺ สามคฺคี สะมคคฺ านํ ตโป สโุ ข ขตฺ ติโย เสฏโฐ ชเนตสฺมึ เย โคตปติฌายิโน วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน โส เสฏโฐ เทวมนุสฺเส ทิวา ตปติ อาทิจฺโจ รัตฺติมาภาติ จนฺทิมา สนฺนทฺโท ขตฺติโย ตปติ ฌายี ตปติ พราหฺมโณ อถ สพฺพมโหรตฺตํ พุทฺโธ ตปติ เตชสา ฯ (สนัน่ ธรรมธ,ิ 2547 : 33) ตัวอยางบทพทุ โธ มงั คะละ พุทฺโธ มํคลสมฺภูโต สมฺพุทฺโธ ทีปทุตฺตโม พุทฺธ มงฺคลมาคมฺม สพฺพทุกฺขา ปมุฺจเร ธมฺ โม มงฺคลสมฺภูโต คมฺภีโร ทุทสฺโส อณุง ธมฺมะ มํคลมาคมฺม สพฺพภยา ปมุฺจเร สํโฆ มํคลสมฺภู โต วรทกขฺ เิ ณยฺโย อนุตตฺ โร สงฆฺ มคํ ลมาคมฺม สัพพฺ โรคา ปมุ ฺจเรฯ (สนั่น ธรรมธ,ิ 2547 : 33) อยางไรก็ตาม จากคําสัมภาษณปูจารยหลายทาน เชน พอหนานดุสิต ชวชาติ พอหนานประสิทธ์ิ วิเชียร ประกอบกับเอกสารท่ีไดเขียนอธิบายถึงพิธีกรรมสืบชาตา เชน สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ เลม 13 หนา6945 – 6950 หนังสือสานศิลปแผนดินลานนา สืบชาตา คาดนตรี สีสันผา ลีลาฟอน (สน่ัน ธรรมธิ,2547 : 21) ไดกลาวไววา ในอดีต การ สืบชาตา ปูจารยสามารถเปนผูประกอบพิธีกรรมไดเองโดยไมตองนิมนตพระสงฆมารวม พิธีกรรม และปูจารยสามารถเปนผูอานบทสืบชาตาได แตปจจุบัน การประกอบพิธีกรรมสืบ ชาตา ไดเปลีย่ นไปโดยพระสงฆทาํ หนาทเ่ี ปนผปู ระกอบพธิ กี รรม การประกอบพิธีกรรมในอดีตที่ปูจารยเปนผูประกอบพิธีกรรม จะมีเน้ือหาบางสวนของ บทสืบชาตา แตกตางจากบทท่ีพระสงฆใชสวด โดยจะมีเน้ือหาตามลําดับดังนี้ (สน่ัน ธรรมธิ ,2547 : 21) (1) กลา วนมัสการครู ปจู ารยจ ะเริม่ กลา วนมัสการครู ซ่ึงไดแ ก พระพุทธเจา เทพตา งๆ ทเี่ คารพนับถอื ฯลฯ เพอื่ ความเปน สิริมงคลในการประกอบพธิ กี รรม ตวั อยางบทนมสั การครู ตรนี ิสิงเห สตะนาเค ปญจะพิสสนกู ญั เจวะ จตเุ ทวา ฉอ วชั ชระาชา ปญ จะอนิ ตา นเมวะ จะ เอกะยกั ขา ปญ จพรหมาสหมั ปติ เทวราชา อัฎฐะอรหนั ตา ปญ จะพุทธานมามหิ งั (สนัน่ ธรรมธ,ิ 2547 : 21)

86 (2) ปด เคราะห หลงั จากปูจารยก ลาวบทนมสั การครูเสรจ็ เรยี บรอย กจ็ ะกลาวบทปด เคราะห เพื่อขับไล เสนยี ดจัญไรใหอ อกจากตวั เจา ชาตา ตวั อยา งบทปด เคราะห “อชั ชะโส อชั ชะไชยโย ขา จักปด เคราะหเ จา เคราะหทังหลายนนั้ เลา จงุ ไดคลาไคล เคราะหจงั ไรติดแปด เคราะหยาแฝดติดตน เคราะหก งั วลหลายส่ํา เคราะหรา ยพราํ่ หิงสา เคราะหนานาหลายหลาก เคราะหผิดปากเปนคาํ เคราะหเ ปน ลาํ มาใกล เคราะหเจบ็ เคราะหไหม เคราะหไ ขเคราะหห นาว หือ้ ตกไปในวนั นยี้ ามน้ี น้ันจุง จกั ม.ี ........” (สน่ัน ธรรมธ,ิ 2547 : 29) (3) เรยี กขวญั หลังจากปูจารยก ลา วปดเคราะหเ รียบรอ ยแลว ก็จะกลาวเรียกขวัญใหก ลับมาอยกู บั เจา ชาตา ตัวอยางบทเรยี กขวญั “อัชชะในวนั นกี้ ็เปนวนั ดี มหาโภคเี ที่ยงเทา ผูขา ขอเชิญชวัญเจา เอหจิ ุงมามา มาทังขวัญแขง ขวัญขา ขวญั คว้ิ ขวญั ตา ขวญั เกสาโลมาคขู าง มาเสพสางเชยชม มที ังเขา ตมเขา หนม หอมลําออ นออย โภชนาชื่นชอยระเมามาลย. ...” (สนั่น ธรรมธ,ิ 2547 : 29) (4) กลา วบทสบื ชาตา ปูจ ารยจะเริ่มกลาวบทสืบชาตา โดยเริ่มจากบทอินทชาตา เร่ือยไปตามลําดับ เชนเดยี วกบั บททพี่ ระสงฆส วด จนจบท่บี ทพุทโธ มงั คะละ

87 (5) กลาวคาถาธรณีสารหลวง หลังจากทีก่ ลา วบทสบื ชาตาเสรจ็ เรียบรอ ยปจู ารยจะทาํ นํา้ มนตเพอื่ ประพรมใหแก เจาภาพและผเู ขา รวมพธิ ี โดยคาถาทน่ี ิยมใช คอื “คาถาธรณสี ารหลวง” ตัวอยางบทคาถาธรณีสารหลวง นโม นมสั การ ขาจะไหวพระพุทธบาทพระมาตุลี พระอิศวรผูเปนเจาเสดจ็ ลงมาตั้งพระ โองการ พระธรณสี ารอยา ไดมาพานตอง จึงจะใหก แู ยกเชือกบาศและบว งคลองตปี ลอกขอชะนกั ประโคนนานา จตึ งั้ ใหก ูเบญจาแลจอหนังตราสังตายโหง ตอ โลงโกศฝา ตัง้ ศาลามณฑปครบทกุ ส่งิ อนั สารพัดอยาไดมีอนั ตราย ไมผา กลับปลายไปขางตะวนั ตกแมงมุมตอี ก หนกู ุกในเรอื น เพือ่ นตามกนั เสาเรอื นตกมนั ไมรงั นางเรยี ง ท่ลี ุมทเี่ อยี ง ทต่ี ระพังนาํ้ ขงั ผง้ึ ตอ จับเรือนทาํ รงั รวง ไมไผห กั พักท่ที บั แดน จงั กวดเห้ียแลนขึน้ ไปบนเรือน สัตวเ ถื่อนเขา บาน งเู หลอื มขน้ึ รา น แรงจบั หลังคา ขา วสารแตกตางอกขึ้นเปน ใบ เห็ดขนึ้ เตาไฟ สิงหส ตั วข ้ึนไขบ นฟูกหมอน วัว ควายสีจักร เขาหักเขาคลอน เขายอยสลกั คอกสขี า งพอกฟน หัก ปก ประตผู ี ฝน รายมดิ ี เงา หวั พกิ ล หญิงชายผคู น นอนกรนรองคราง หมอรอ งเปน เสยี งฆอ ง เสอื รองเปน เสยี งชา ง กลว ยออกปลขี า ง กลายเปน ดอกบัว ผีไหผ หี วั ตวั สัน่ ระเทา สาํ ริดทองขาวแตกราวกระจาย หัว แหวนสลายเขย้ี วงาพิการ ปลูกเรอื นหวา งคลอง พน่ี อ งตา งกัน รุกที่รุกแดนแวนแควน ขอบขณั ฑ ไกตวั เมยี ขัน แมเ ปดฟกไข ผหี ลอกผีหลอน ตีเกราะเคาะไม หมาจิง้ จอกหมาไน วงิ่ เหาวง่ิ ไล ขบแรง คาบอสภตกลงหลงั คา งูทับสมงิ คลาเขา ไขในบา น ฟก ทองข้ึนรา น กลายเปน นาคา รว มอาสนพระยาสมณะชพี ราหมณ เบกิ เนตรพระเตยี งตง้ั กอ รปู พระสลกั หนัง ฝงเสาเกียดเสาตะลงุ ผีพงุ ไตก ันเสนียดจัญไร ปลกู เรอื นไมไผ ชักชา งประสมโขลง ตดิ เสากระโดง ตดิ โขนโขมดยา ตดิ โขนเรอื พายมา หมาเย่ียวรดตนี หลกั ตอใตด ิน หินหกั สอง ทอ น ที่ลมุ ทด่ี อน สาครตล่ิงพัง เรือนเดิมแรกตัง้ ทฝ่ี งน้าํ หัก เสาเรอื นยอดหกั หันแตกแยก ทาง เสาเรือนเปน แลง หัวบนั ไดเพล เสาเรือนเปน เลห  เสาเรือนไสกบ ปด นํา้ ทาํ นบ คบคน ทัง้ หลายประสมชางมาวัวควาย ใหมีครรภ ปด ปลอ งชอ งน้ํา ทําไรท ํานาตดิ ขากงเกวยี น บาตร แตกสาแหรกขาด ตะลุมทาชาด กินชอ นหอยมกุ รว มอาสนพ ระยา ตัดไมในปา แรงกาขร้ี ด ประสมหนิ บด คนคดตดั ไม ทงิ้ ปนทิ้งไฟ ทิง้ เหยา ทิง้ เรือน ถอดงาชา งเถอ่ื น ถอดออก คลาดเคลอื่ น ข้มี ักตายโหง ไมส กั ตอ โลง โยงเขา ปาชา ชายกระเบนเชด็ หนา กา งปลาจิม้ ฟน หายใจรดกนั ฟน รอ งชอ งตัด ปลุกเรอื นใกลว ดั ไมป ดหลงั คา เสาเรอื นฟา ผา เสาเรอื นไฟไหม แมไ กไ ขใ นบานประตู เลี้ยงนกผสมคู นกนั้นมอิ ยู ปลกู เรือนพาไล ตดั ไมเ จาะเสา หนกู ดั ตีน แมลงสาบเลียหัว ผา นุงกบั ตวั ไฟไหมไ ตลน ววั ชนควายชน โอนตนกจู ักตอตน โอนปลายกู จกั ตอปลาย ตน มันกูจกั ฝากไวก ับพาย ปลายมันกูจักฝากไวกับธรณี กูจะสรา งพระกฎุ กี อ พระ วิหาร ทาํ ตามบุราณ เขยี นพระบฏ ประนมศพประนมเมรุ ครูกูชื่ออนรุ ทุ ธเถร จึงเอาคาถาน้ี

88 เสกนํา้ รดววั รดควายรดชา ง รดมา รดคนเปนบา เทียวอยูกลางเมอื ง คนไขผ อมเหลือง คน เหงา คนขีเ้ ซาหาวนอน ตองอธิกรณ โซต รวนข่ือคา รดฟกรดแฟงรดน้าํ เตา รดขา วในนา รด ถว่ั รดงา สารพดั เคราะหสิ่งอันใดๆ รดใหป ระสิทธ์ิ เอจะไป นพิ านงั ประสทิ ธสิ ขุ ัง ภะวันตเุ ตฯ (สนั่น ธรรมธิ,2547 : 33 - 35) เปน ท่ีนา สังเกตวา หากปูจารยเปน ผปู ระกอบพิธี รปู แบบและเนื้อหาของตวั บทจะมีความ แตกตางกับตัวบทท่ีพระสงฆใชสวดในสวนตน และสวนทาย กลาวคือ พระสงฆจะกลาวชุมนุม เทวดาและสวดเจริญพุทธมนต ดวยภาษาบาลีลวน แตปูจารยจะกลาวนมัสการครู ปดเคราะห และเรียกขวัญ อีกท้ังตอนจบปูจารยจะตองกลาวคาถาธรณีสารเพ่ือทํานํ้ามนตดวย จะพบวาใน สวนของการปดเคราะห เรียกขวัญ และกลาวคาถาธรณีสารเพ่ือทํานํ้ามนต เน้ือหาสวนใหญจะ เรียบเรียงดวยภาษาลานนา อยางไรก็ตาม รูปแบบการประกอบพิธีกรรมโดยมีปูจารยเปนผู ประกอบพิธีกรรมไมคอยพบเห็นปจจุบัน ไดยินเพียงคําบอกเลาและการกลาวถึงในเอกสาร เทาน้ัน (ดตู าราง 2) บทสบื ชาตา พระสงฆเ ปน ผอู านบทสืบชาตา ปจู ารยเ ปน ผูอานบทสืบชาตา 1. กลาวชมุ นุมเทวดา 1. กลา วนมสั การครู 2. สวดเจริญพุทธมนต 2. ปด เคราะห 3. สวดบทสบื ชาตา 3. เรียกขวญั 4. กลา วบทสบื ชาตา 5. กลาวคาถาธรณสี าร ตาราง 2 เปรียบเทยี บตวั บทสบื ชาตา ท่พี ระสงฆเ ปน ผูอ า นและปจู ารยเ ปน ผอู าน 3.3.3 บทเรียกขวญั พิธีกรรมเรียกขวัญในลานนา สามารถจัดข้ึนไดหลายโอกาส มีท้ังการเรียกขวัญคน ไดแกเรียกขวัญผูปวย เรียกขวัญในชวงเดือนเกาเหนือ เรียกขวัญคูบาวสาว และเรียกขวัญ ลูกแกว สวนการเรียกขวัญสัตวน้ันพบวาชาวลานนาใหความสําคัญกับควาย ซ่ึงเปนสัตวสําคัญ ในสังคมเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทํานาจึงมีพิธีเรียกขวัญควาย ดังจะไดกลาวถึงโครงสราง เนื้อหาของบทเรยี กขวัญ 2 ประเภท คอื บทเรียกขวญั คนและบทเรยี กขวัญควาย

89 ก. บทเรียกขวญั คน บทเรียกขวัญคน สามารถแยกเปนประเภทยอยได คือ บทเรียกขวัญลูกแกว บทเรียก ขวัญผูป ว ย บทเรียกขวัญชวงเดอื นเกาเหนอื และบทเรียกขวญั คูบาวสาว สําหรับเนื้อหาและโครงสรางของบทเรียกขวัญลูกแกวน้ัน วิทยานิพนธเร่ือง “คําเรียก ขวัญลูกแกว การศึกษาดานรูปแบบและเน้ือหา” ของ นฤมล เรืองรังษี(2532) ไดกลาวไวแลว อยางละเอยี ด ดังนัน้ ผวู จิ ัยจึงขออางถึงผลการศึกษาโดยภาพรวมของวิทยานิพนธเร่ืองดังกลาว วามเี นื้อหาและโครงสรา งตามลําดับดังน้ี (1) การเกร่นิ นาํ 1.1 การกลาวถึงวาระอนั เปน มงคล (2) การกลา วถึงสภาพกอ นเปนลกู แกว 2.1 การต้งั ครรภ 2.2 สภาพชวี ติ ระยะตง้ั ครรภ 2.3 การคลอด 2.4 การเล้ียงดูเดก็ 2.5 การบวช (3) การกลาวถึงพธิ เี รยี กขวัญลูกแกว 3.1 เครือ่ งประกอบพธิ เี รียกขวัญ 3.2 ข้ันตอนตา ง ๆ ของพธิ เี รยี กขวัญลูกแกว 3.2.1 การเรียกขวัญลกู แกว 3.2.2 การใหโอวาท 3.2.3 การปดเคราะห 3.2.4 การผูกขอมอื (4) การลงทา ย (นฤมล เรอื งรงั สี, 2532 : 71) สวนบทเรียกขวัญประเภทอื่นๆ ไดแก บทเรียกขวัญผูปวย บทเรียกขวัญชวงเดือนเกา เหนอื และบทเรียกขวัญคบู าวสาว มีเนือ้ หาและโครงสรางตามลําดับดังนี้ (1) เกรนิ่ นําดวยคาถาภาษาบาลี บทเรียกขวัญเริ่มตนดวยการกลาวคาถาเปนภาษาบาลีโดยอางถึงคุณแหงพระรัตนตรัย เพ่อื มาขจดั สิง่ ช่ัวรายอนั จะเกดิ ขน้ึ กับเจาของขวัญ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook