Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความเชื่อ การเวนตาน

ความเชื่อ การเวนตาน

Published by aun-li, 2019-12-01 23:05:32

Description: หนานอั๋นเวียงป่าขาม
กลางเวียงหริภุญชัยหละปูนแก้วกว้าง

Search

Read the Text Version

190 สิ่งที่ทําใหวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมสามารถดํารงอยูไดนั้น ประการแรก เปน เพราะวาวรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรมลานนายังมีคุณคาตอคนลานนาในยุคปจจุบัน ไมวาจะเปน คุณคาดานสะทอนใหเห็นความคิด ความเชื่อ ของคนลานนาดานตาง ๆ ใหความรูและอบรม ระเบียบสังคม ปลูกฝงใหคนมีความกตัญูกตเวทีและมีความนอบนอมถอมตน เปนชองทางให คนในสังคมไดมีโอกาสปรับความเขาใจกัน รักษาและเยียวยาจิตใจแกคนในสังคม เปนตัว เช่ือมโยงความสัมพันธระหวางภพภูมิตามความเช่ือของคนลานนา เปนตัวเชื่อมโยง ความสัมพันธระหวางคนกับคน คนกับชุมชน และชุมชนกับชุมชนตลอดจนการแสดงใหเห็น ถงึ อัตลักษณของความเปน คนลานนา ประการตอ มา คอื คนลานนา มีภมู ิปญญาอันชาญฉลาดในการถายทอดท้ังรูปแบบการ ประกอบพิธีกรรมและตัวบทของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม จนสามารถรักษาใหวรรณกรรม ประกอบพิธีกรรมสามารถสืบทอดจากรุนสูรุนไดเปนอยางดี และประการสุดทายคือ วรรณกรรม ประกอบพิธีกรรมลานนามีลักษณะเดนในการรูจักปรับปรุงหรือเปล่ียนแปลงตัวเองใหเขากับยุค สมัยท่ีเปล่ียนไปได ความเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนกับวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม ไมวาจะเปน ความเปล่ียนแปลงดานพิธีกรรม หรือความเปลี่ยนแปลงดานวรรณกรรม แมจะสงผลกระทบตอ พิธีกรรม ตอวรรณกรรม ตอคน และสังคมบาง แตอยางไรก็ตามการเปล่ียนแปลงเหลาน้ีเปน การเปล่ียนแปลงเพื่อใหวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมสามารถดํารงอยูไดในสังคมยุคปจจุบัน หากพิธีกรรมและวรรณกรรมถูกจํากัดใหยึดติดกับรูปแบบที่เครงครัดตายตัว ทั้ง ๆ ท่ีสังคม เปลี่ยนไป วันหนึ่งอาจถูกเลิกใชไปในที่สุด ดังน้ัน การปรับเปลี่ยนจึงเปนเปนการปรับเปล่ียน เพื่อใหสามารถคงอยไู ด การศึกษาวิจัยเร่ืองน้ี ไดแสดงใหเห็นถึงลักษณะและองคประกอบท่ัวไปของวรรณกรรม ประกอบพิธีกรรม ลักษณะเดน ภูมิปญญา และคุณคาของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม ตลอดจน แสดงใหเห็นสถานภาพของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรม ขอสรุปท่ีไดจากการวิจัย ครั้งนี้ ในมุมมองของผูวิจัยพบวา ภูมิปญญาของคนลานนา สงผลใหวรรณกรรมประกอบ พิธีกรรมมีลักษณะที่โดดเดน และมีคุณคาตอคนและสังคมลานนา และตราบใดท่ีวรรณกรรม ประกอบพิธีกรรมยังมีคุณคาตอคน คนก็จะยังใชวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมอยู วรรณกรรม ประกอบพิธีกรรมก็จะสามารถดํารงอยูคูกับลานนาสืบไป สวนขอสรุปในมุมมองของคนลานนา ท่ัวไป จะข้ึนอยูกับวา หลังจากที่ไดรูจัก ตระหนักถึงคุณคา ตลอดจนมองเห็นสถานภาพปจจุบัน ของวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมแลว คนลานนาจะจัดการอยางไรกับวรรณกรรมประกอบ พิธีกรรม เพ่ือใหวรรณกรรมประกอบพิธีกรรมสามารถอยูรับใชคนและสังคมลานนาสืบไปชั่วลูก ชัว่ หลาน

บรรณานุกรม หนงั สอื และบทความ กิง่ แกว อตั ถากร. 2519. คตชิ นวิทยา. กรงุ เทพ ฯ : หนว ยศึกษานเิ ทศก กรมการฝกหดั ครู. กหุ ลาบ มัลลกิ ะมาส. 2518. คตชิ าวบา น. กรุงเทพ ฯ : อนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพ คุณหญงิ วาส ประสาทธาตกุ ารย. คณะวชิ ามนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร วทิ ยาลัยครเู ชยี งใหม. 2531. รวมบทความสมั มนา ทางวชิ าการประเพณแี ละวัฒนธรรมลานนา. เชยี งใหม : วทิ ยาลัยครเู ชยี งใหม. คณะอนกุ รรมการตรวจสอบและชาํ ระตาํ นานพื้นเมอื งเชยี งใหม. 2538. ตํานานพนื้ เมอื ง เชยี งใหม ฉบับสมโภชเชยี งใหม 700 ป. เชยี งใหม : ศูนยว ัฒนธรรมจงั หวดั เชียงใหม สถาบนั ราชภฎั เชยี งใหม. เจริญ ตันมหาพราน. 2541. ผอ ปาเวณีบานเฮา. กรงุ เทพ ฯ : ธารบวั แกว. ชมรมปกขทืนลา นนา. 2552. ปก ขทนื ลา นนา ป 2552. เชียงใหม : พงษส วัสดิ์การพมิ พ. ชมรมอนุรกั ษวัฒนธรรมประเพณเี ชยี งใหม. 2539. ประเพณเี กา เชยี งใหม 700 ป. เชยี งใหม : ชมรมอนุรกั ษว ัฒนธรรมประเพณีเชียงใหม. ญานสมปฺ นโฺ น. มปป. ของดีจากพบั สา. ลาํ พนู : รานภญิ โญ. ทรงศกั ดิ์ ปรางควฒั นากุล. บรรณาธิการ. 2527. รายงานการสัมมนาทางวชิ าการ เรอื่ ง วรรณกรรมลานนา ณ คณะมนษุ ยศาสตร มหาวิทยาลยั เชียงใหม. เชียงใหม : ศูนยห นังสือเชียงใหม (เลม 1-2 ). -------- 2544. วรรณกรรมทอ งถนิ่ . เชยี งใหม : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม. ทวี เข่อื นแกว . 2524. ประเพณเี ดมิ . พิมพค รงั้ ที่ 7. กรงุ เทพ ฯ : ทวนชัยการพมิ พ. -------- 2541. ประเพณีเดมิ . พิมพค ร้งั ที่ 17. กรุงเทพ ฯ : ทวนชยั การพมิ พ. ธเนศวร เจริญเมอื ง. 2538. มาจากลา นนา. กรงุ เทพ ฯ : ผูจ ดั การ. -------- 2544. คนเมือง. เชียงใหม : โครงการศึกษาการปกครองทอ งถิ่น คณะสงั คมศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม. ธวชั ปณุ โณฑก. 2525. วรรณกรรมทอ งถิน่ . กรุงเทพ ฯ : โอเดียนสโตร. นันทา เบญจศลิ ารกั ษ. บรรณาธิการ. 2541. วถิ ลี า นนา วถิ ภี มู ปิ ญ ญา. กรงุ เทพ ฯ : มลู นธิ ิพัฒนาภาคเหนือ คณะกรรมการประสานงานองคก รพัฒนาเอกชนภาคเหนือ. ประคอง นิมมานเหมินท. 2517. ลักษณะวรรณกรรมภาคเหนอื . กรุงเทพ ฯ : สมาคม สังคมศาสตรแ หง ประเทศไทย.

192 -------- 2526. มหาชาติลานนา : การศึกษาในฐานะท่ีเปน วรรณคดีทองถิน่ . กรงุ เทพ ฯ : ไทยวฒั นาพานิช. ประดษิ ฐ สรรพชา ง. มปป. วถิ คี นเมอื ง. ลําปาง : ลาํ ปางการพิมพ. พระครปู ระจักษพัฒนคณุ . 2537. ประวตั วิ ัดแสนฝาง. มปท. ไพรถ เลศิ พริ ยิ กมล. 2526. คตชิ าวบา นลานนาไทย. เชียงใหม : สรุ วิ งศบคุ เซน็ เตอร. มณี พยอมยงค. 2513. ประวตั แิ ละวรรณคดีลานนาไทย. กรงุ เทพ ฯ : องคก ารคาของ ครุ ุสภา. -------- 2527. “ความเชือ่ และประเพณขี องลา นนาไทย” ใน ลา นนาไทย. เชยี งใหม : ทิพย เนตรการพิมพ. -------- 2529. ประเพณีสบิ สองเดอื นลา นนาไทย. เชียงใหม : ส. ทรัพยก ารพิมพ. มาลี ไพรสน. 2531. พธิ กี รรมเกย่ี วกบั การเกษตรและความอดุ มสมบูรณข องภาคเหนือ การศกึ ษาในแงค วามสมั พนั ธก ับชวี ติ เศรษฐกิจและสงั คม. เชยี งใหม : รายงาน การวจิ ัยมหาวทิ ยาลยั พายพั . มลู นิธิสารานกุ รมวัฒนธรรมไทย. 2542. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคเหนอื . กรงุ เทพ ฯ : มลู นิธสิ ารานกุ รมวฒั นธรรมไทย ธนาคารไทยพาณชิ ย. ยุทธ เดชคาํ รน และคณะ. 2520. คติชาวบา นของไทย. เชียงใหม : คณะศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม. เรณู อรรฐาเมศร. 2535. คตชิ นวทิ ยา. เชียงใหม : คณะวชิ ามนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร สถาบันราชภฎั เชยี งใหม. ลมูล จนั ทนห อม. 2538. วรรณกรรมทอ งถ่ินลานนา. พมิ พค รั้งท่ี 4. เชียงใหม : สุรวิ งศ บคุ สเ ซ็นเตอร. วรรณี วบิ ลู ยส วสั ดิ์ แอนเดอรส นั บรรณาธิการ. 2531. พืน้ ถนิ่ พนื้ ฐาน. กรุงเทพ ฯ : เรอื นแกว. วัฒนาวดี ศรวี ัฒนพงศ. 2537. ทัศนคตขิ องประชาชนในเขตภาคเหนือตอนบนทมี่ ตี อ สภาพเศรษฐกจิ สงั คม และ ขนบธรรมเนยี มประเพณวี ัฒนธรรมภาคเหนอื . เชียงใหม : มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม. วันเพญ็ ศรสี งา. 2512. ประเพณแี ละวฒั นธรรมของเชยี งใหมแ ละลานนาไทย. กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพส วนทองถ่นิ กรมการปกครอง. ศรเี ลา เกษพรหม. 2538. ประเพณชี ีวติ คนเมอื ง. เชียงใหม : โรงพิมพม ง่ิ เมือง. ศริ าพร ณ ถลาง และสกุ ัญญา ภัทราชยั (บรรณาธกิ าร). 2542. คตชิ นกบั คนไทย-ไท : รวม บทความทางดา นคติชนวทิ ยาในบรบิ ททางสงั คม. พมิ พคร้งั ที่ 2. กรงุ เทพ ฯ : จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั . สงวน โชตสิ ขุ รัตน. 2503. ตาํ นานเมอื งเหนอื . เชยี งใหม : สงวนการพมิ พ.

193 --------. 2511. ประเพณไี ทยภาคเหนือ. เชียงใหม : สงวนการพมิ พ. --------2514. ประเพณลี านนาไทยและพิธีกรรมตา งๆ. เชียงใหม : ประเทืองวทิ ยา. สนัน่ ธรรมธ.ิ 2544. ฮตี เกา ฮอยหลงั . เชียงใหม : นพบรุ กี ารพมิ พ. -------- 2547. “พิธสี ืบชาตา” ใน สานศลิ ปแผนดินลานนา. เชยี งใหม: โชตนาพรน้ิ ท. สนทิ สมคั รการ. บรรณาธกิ าร. 2531. สงั คมและวฒั นธรรมของภาคเหนอื ประเทศไทย. กรุงเทพ ฯ : สมาคมสงั คมศาสตรแ หงประเทศไทย. สมทบ พาจรทิศ. 2546. สง่ิ นารูเกยี่ วกบั ศาสนาและประเพณ.ี เชยี งใหม : คณะเทคนคิ การแพทย มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม. สมพงษ เกรยี งไกรเพชร. 2539. บันทกึ ประเพณไี ทยภาคเหนือ. กรุงเทพ ฯ : ดอกหญา . สมพงศ วิทยศกั ดิพ์ นั ธ.ุ 2542. ภาษาและวรรณกรรมไทยในกระแสการเปล่ียนแปลงของ สังคม : รวมบทความวา ดว ยทศั นะเกยี่ วกบั ภาษา-วรรณกรรมและสงั คม. เชียงใหม : ภาควิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม. สรสั วดี อองสกุล. 2544. ประวัตศิ าสตรล านนา. พมิ พค ร้ังที่ 3 ; กรงุ เทพฯ : อมรินทรพริน้ ตง้ิ กรุฟจํากดั . สังคีต จันทนะโพธ.ิ 2541. เร่ืองเลาจากลานนา. กรุงเทพ ฯ : วนั ชนะ. สงิ ฆะ วรรณสัย. 2523. ระเบยี บประเพณีการเวนทาน. ม.ป.ท. สทิ ธิ์ บตุ รอนิ ทร. 2523. โลกทัศนชาวไทยลานนา. เชยี งใหม : ศนู ยห นงั สอื เชยี งใหม. สกุ ัญญา ภัทราชัย.บรรณาธิการ. 2538. วรรณคดที อ งถ่นิ พินิจ. กรงุ เทพ ฯ : จฬุ าลงกรณ มหาวิทยาลัย. สุรสงิ หส ํารวม ฉิมพะเนาว. 2527. “ความสัมพันธร ะหวา งวรรณกรรมลานนากบั สังคม” ใน รายงานการสมั มนาทางวชิ าการ วรรณกรรมลานนา เลม 1. เชียงใหม : ศนู ยห นงั สือเชยี งใหม หนา 140-165. สุเทพ สนุ ทรเภสัช. 2540. ทฤษฎีสงั คมวทิ ยารว มสมยั : พน้ื ฐานแนวความคิดทฤษฎี ทางสงั คมและวัฒนธรรม. เชียงใหม : มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม. สาํ นกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง ชาต.ิ 2531. วฒั นธรรมพน้ื บานดานขนบธรรม- เนยี มประเพณภี าคเหนอื ตอนบน. มปท. สํานักงานคณะกรรมการสหวิทยาลัยลานนา. 2538. ประเพณที องถ่นิ ภาคเหนือ. เชียงใหม : สาํ นักงานคณะกรรมการสหวิทยาลยั ลา นนา. หทยั วรรณ ไชยะกุล. 2543. วรรณกรรมศกึ ษา. ภาควิชาภาษาไทย คณะมนษุ ยศาสตร มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม. หนานเตจา (นามแฝง). มปป. ประเพณลี านนาไทยและพธิ ีกรรมตา งๆ. เชียงใหม : ประเทืองวทิ ยา.

194 อานันท กาญจนพันธ.ุ 2527. พัฒนาการของชีวติ และวัฒนธรรมลานนา. กรุงเทพ ฯ : มิตรนราการพมิ พ. -------- 2535. “ความเชือ่ ดั้งเดิมของชาวลานนา : การศกึ ษาจากตํานานและพิธกี รรม” ใน ลา นนาในมิติทางวฒั นธรรม. เชยี งใหม : คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัย เชียงใหม. อนิ ทร อทิ นปญโญ. มปป. ประเพณภี าคเหนือ ฉบบั ดง้ั เดิม. ลําปาง : ลําปางสังฆภัณฑ. เอกวิทย ณ ถลาง. 2544. ภมู ปิ ญ ญาลา นนา. กรงุ เทพ ฯ : อมรนิ ทร. --------- 2546. วรรณกรรมลา นนา. กรงุ เทพ ฯ :สํานกั งานกองทนุ สนับสนนุ การวิจยั . อุดม รงุ เรืองศรี. 2544. วรรณกรรมลานนา. เชียงใหม: ภาควชิ าภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม. --------. 2547. พจนานุกรมลานนา – ไทย ฉบบั แมฟา หลวง. เชียงใหม: มง่ิ เมอื ง. อุดม อมรจักร. 2521. หนังสอื แนวพระพุทธศาสนา. มปท. อําพนั ไชยวรศิลป. 2522. เลาเรอื่ งเมอื งเหนอื วา ดว ยประเพณที อ งถิน่ . กรุงเทพ ฯ : องค การคา คุรสุ ภา. วิทยานิพนธแ ละงานวจิ ยั ตรีศลิ ป บุญขจร. 2530. วรรณกรรมประเภทกลอนสวดภาคกลาง : การศกึ ษาเชิง วเิ คราะห. วทิ ยานพิ นธอกั ษรศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั . นฤมล เรืองรงั ษ.ี 2532. คาํ เรยี กขวัญลกู แกว : การศกึ ษาดา นรปู แบบและเน้อื หา. วทิ ยานิพนธศ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม. นติ ยา จนั โทภาสกร. 2526. สืบชาตา : การศกึ ษาเชิงวิจารณ. วทิ ยานิพนธศ ลิ ปศาสตร- มหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. ปรียานุช อนสุ ุเรนทร. 2540. การศกึ ษาวเิ คราะหค มั ภีรทใ่ี ชเ ทศนในเทศกาลเขา พรรษา ของลา นนา : กรณีศึกษาจาก 4 วดั ในจังหวดั เชียงใหม และลําพูน. วทิ ยานพิ นธ ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม. พระครสู ิรสิ ุตาภิมณฑ( ศภุ ชยั คําปน). 2545. การศกึ ษาวเิ คราะหว รรณกรรมทใ่ี ชใ นพิธี พทุ ธาภเิ ษกแบบลานนา. วิทยานพิ นธศ ิลปศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม. พระมหาสงิ หค ํา รกั ปา. 2543. การศึกษาวิเคราะหค มั ภรี อ านสิ งสล า นนา. วทิ ยานพิ นธ ศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.

195 ระววิ รรณ ภาคพรต. 2525. การกลั ปนาในลานนาไทย ตง้ั แตกลางพทุ ธศตวรรษท่ี 20 ถึง ตน พุทธศตวรรษที่ 22. วทิ ยานพิ นธอกั ษรศาสตรมหาบณั ฑิต จฬุ าลงกรณ มหาวทิ ยาลัย. เรณู อรรฐาเมศร. 2528. โลกทัศนช าวลานนาไทยจากวรรณกรรม. ปริญญานพิ นธการ ศึกษามหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒประสานมิตร. วิลกั ษณ ศรปี าซาง. 2541. วรรณกรรมตํานานลา นนา : การศกึ ษาวธิ กี ารสรา ง. วทิ ยานพิ นธศ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม. วีรยทุ ธ นาคเจรญิ . 2545. การศกึ ษาวิเคราะหวรรณกรรมท่ีใชเทศนในพธิ ศี พแบบ ลา นนา. วทิ ยานพิ นธศ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม. สมพงษ จิตอารีย. 2545. การศกึ ษาบทสูข วัญและพิธสี ูขวญั ของชาวไทล้อื อําเภอปว จังหวัดนาน. วิทยานพิ นธศ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม. สุพนิ ฤทธิ์เพญ็ . 2539. สุชวณั ณะวัวหลวง : การศกึ ษาเชิงวิเคราะหบทบาทท่มี ตี อสงั คม. วิทยานพิ นธศ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั เชียงใหม. ไสว คํามูล. 2548. การศึกษาวิเคราะหคาํ เวนทาน. วทิ ยานิพนธศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม. อรณุ รัตน วิเชียรเขียว. 2520. การวเิ คราะหส งั คมเชยี งใหมส มยั รัตนโกสนิ ทรต อนตนตาม ตน ฉบบั ใบลานภาคเหนือ. วิทยานพิ นธอกั ษรศาสตรมหาบัณฑติ จฬุ าลงกรณ มหาวทิ ยาลยั . สัมภาษณ เกริก อคั รชิโนเรศ นกั วิจัยประจําโครงการสารานกุ รมวัฒนธรรมไทยภาคเหนือ คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลยั เชยี งใหม, 25 กรกฎาคม 2551 พระครูสริ ิสตุ าภมิ ณฑ วัดสุพรรณรังสี ต.ในเมอื ง อ. เมอื ง จ. ลาํ พูน,17 พฤศจิกายน 2550 พอ หนานดุสิต ชวชาติ ขา ราชการบํานาญโรงเรยี นก่ิวแลหลวง ตําบลยุหวา อําเภอสนั ปา ตอง จงั หวัดเชียงใหม สัมภาษณ ณ บา นเลขท่ี 96 ถนนทา ยวัง ตาํ บลชา งมอ ย อําเภอเมอื ง จังหวดั เชยี งใหม, 14 กนั ยายน 2551. พอหนานดาํ รงศกั ดิ์ ชยั ประภา สมั ภาษณ ณ บานเลขท่ี 99/12 หมูบ านซิตกี้ ารเ ดน ต.เหมืองงา อ. เมือง จ.ลาํ พูน, 5 พ.ค. 51 พอ หนานเทียน ปดุ ถา สมั ภาษณ ณ บา นเลขท6ี่ 7 หมู 2 ตาํ บลปากกาง อาํ เภอลอง จงั หวดั แพร 54150, 9 ธนั วาคม 2550 พอ หนานนยิ ม สองสโี ย สัมภาษณ ณ บา นเลขท่ี 21/1 หนอ คาํ ตาํ บลในเวยี ง อาํ เภอเมอื ง จงั หวัดนา น 55000 , 19 พฤษภาคม 2551

196 พอหนานประสทิ ธ์ิ โตวเิ ชยี ร สัมภาษณ ณ บานเลขท3ี่ 8/2 หมู 5 บา นแมห อพระ ตาํ บลแมหอพระ อาํ เภอแมแตง จงั หวัดเชยี งใหม, 15 กนั ยายน 2551. พอ หนานภูมรินทร ชุมสทิ ธ์ิ สมั ภาษณ ณ บา นเลขท๔ี่ ๗๙ หมู ๒ บา นวังหมอ ตําบล ตน ธงชยั อําเภอเมอื ง จังหวัดลาํ ปาง ๕๒๐๐๐, 22 ธันวาคม 2550 พอ หนานสวน ยาวชิ ัย สัมภาษณ ณ บานเลขท3่ี หมู 8 ตาํ บลทุงกอ อาํ เภอเชยี งรุง จงั หวดั เชียงราย 57210, 10 พฤศจิกายน 2550 พอ หนานสุทัศ หนักต้ือ สมั ภาษณ ณ บานเลขท9่ี 8 หมู 2 ตําบลดอนศรีชมุ อําเภอดอกคาํ ใต จังหวัดพะเยา 56120, 18 พฤศจกิ ายน 2550 ยุทธพร นาคสขุ สถาบนั วิจยั ภาษาและวัฒนธรรมเพอ่ื พฒั นาชนบท มหาวิทยาลยั มหิดล วิทยาเขตศาลายา จ.นครปฐม, 27 กรกฎาคม 2551 อุดม รุง เรืองศรี ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม, 25 กรกฎาคม 2551

ภาคผนวก ก ตัวบทวรรณกรรมประกอบพธิ ีกรรม

198 บทเวนทาน บทสมมาครวั ทาน แยกบนั ทึกไวต า งหาก โย สนนฺ ิสนิ ฺโน สาธุ วนฺทามิ สพฺพวตถฺ ทุ านํ สพฺพํ โทสํ ขมนตฺ ุ เม ภนเฺ ต สาธขุ า แดสัพพเยื่อง เคร่ืองครัวทานทงั หลาย มวลหลายหลาก สัพเพมลู ละศรทั ธาผขู าทังหลาย ทงั หญิงชายใหญหนอ ย กจ็ ง่ิ ไดข งขวายตกแตงดาทาน บทนั ไดแ ทบเน้อื และแยงดนตรี เทามัวเมาลุกมาหนงึ้ ขา วหุงแกง บไดยาํ แยงดนตรีสกั อยาด เทาไดยกยางยา ยขามย่าํ และเทยี วกาย ของกินอันใดกบ็ ไดแปงอวายหยดุ หยอน หลอนไดก ินกอ นทานลนู ก็บไ ดปองปนู เปน สวน สองมอื ดวนหยุบเอา ยามเมอ่ื แตง ดาทาน ก็บไดซ ว ยลา งขัดสี วจีกรรมคาํ ปาก ไดติเตียนของทานวา อนั น้นั บดบี งามบลํา กก็ ลวั เปน หนามตดิ ของ กลวั เปนโทษทอ งสันดาน กลวั เปนโทษรายมาปานหลายสง่ิ เหตุนี้ศรทั ธาผูขาทังหลาย ไดไหวแลว จกั ขอสมู า ขอสพั พวัตถทุ านทังหลาย ท่ไี ดหือ้ ทานแลว ขอหอื้ เปน ปจ จยั คา้ํ ชูในชาตนิ แ้ี ละชาตหิ นา ในเมืองฟาและเนรพาน เปน ยอดเท่ียงแทดีหลี กายกมมฺ ํ วจีกมมฺ ํ มโนกมฺมํ สญจจิ ฺจโทสํ อสญจิจฺจโทสํ สพฺพํ โทสํ ขมนตฺ ุ โน (บทสมมาครวั ทาน ฉบบั พอหนานคาํ ย่ิงโยชน, พับสา)

199 บทอัญเชิญเทวดาแยกบนั ทึกไวตางหาก สณุ นตฺ ุ โภนโต เทวา นาคา ราชา อินฺโท ยมราชา กปปฺ าลราชา ธรณี สริ ิคุตฺตาภธิ านา อาวาสรกฺขา ปตามาตา ปพุ พฺ การา เทวา โมทนฺตุ ตสมฺ า ตุมฺเหหิ อนุโมทมานา ฟงราฝูงเทพทา ว อันอยดู า นดาวเขตขงขยั แผนดินไกลอากาศ กวางโลกจักรวาลไพรประนม แผนดนิ กลมทั่วทกุ ดา ว ขงเขตดา วดานดงรี อนั อยใู นนทนี านนํ้า ทุกเถื่อนถา้ํ สระศรี ทังเสนหญา และวลั ลยี  ทังคีรปี พ พเต อสุเรมากมวลมี ทงั กมุ ภณั ฑคนั ธัพพะยักษม เหษี ใตหลา อเวจี ธริ าชยมบาล จตุโลกสีอ่ งคคราญจอมเจือ่ ง ทา วธริ าชองคอนิ ทร อมั รินทรช น้ั ฟา ฉกามาวจร อญั เชญิ มาท่วั ทงั ขง โสฬสแผถ ึงพรหมมวลมาก ตราบตอ เทาเนวสญั ญา อญั เชิญมาปตตานโุ มทนา ลวดเปน สกั ขพี ยาน แหง มลู ศรัทธาเปนจิง ขอนาํ เอาชื่อแหงหญิงชาย เมือถวายแกพ ระอินทรเจาฟา วาวันนศี้ รทั ธาผูขา ทงั หลาย ไดนอมหนาพ่ําเพง็ ทาน นั้นจงุ จักมีเที่ยงแทด หี ลี (บทเชญิ เทวดา, ทวี เขื่อนแกว:๒๕๒๔ : ๔๔)

200 บทเวนทานขาวสลากสาํ นวนของทวี เขอื่ นแกว โย สันนิสินโน วรโพธมิ เู ล มารัง สเสนัง มหตงิ วชิ โย สมั โพธิมาคจั ฉิ อนันตัญญาโณ โลกตุ ตโม ตงั ปณมามิ พุทธงั ตัง ปณมามิ ธมั มัง ตัง ปณมามิ สงั ฆัง ฯ สาธุโอกาสะ ขาแตพระติไตรรตั น โคตมโลกาจารยอ ันวิเศษ กําจัดกิเลศปาปธรรม พันปลายหารอ ยชาตเิ สย้ี งแลว หากควรรับเอาเคร่ืองปูชา ทานวตั ถปุ จจยั แหง คนและเทวดาทงั หลาย ตนมมี หากรุณาอนั ย่งิ โยชน อาจเพ่อื จักโปรดเอายังสรรพสัตวโลก อนั ยงั ของคา งอยูในวัฏสงสาร ในครากาลวนั น้ี ก็หากเปน วันสโมทานมารอด ชจุ อดลว นวนั ดี ตถิ อี ันวิเศษ เหตวุ าเปน วนั เดอื น…..คํ่า ปติพรํ่าเลง็ หา เทวคณาสมณศรัทธา และมลู ศรัทธาผขู า ทงั หลาย ทงั พายในและพายนอก พายในหมายมีสวาธเุ จา …เปนเคลา และพายนอกหมายมศี รทั ธาผขู า ทงั หลาย ก็ไดเล็งหันกองบุญทันอันใหญก วา ง อนั โยคาวจรอรยิ เจาทงั หลาย ไดส รา งไวแ ตก อ นเดมิ มา เรียกวา ทานขา วสลาก หากมีอานิสงสม ากนักหนา เปน ด่งั พระสตั ถาเทศนาปางกอ น ขา มลว งมาผอ นเมินนาน ในเชตวนั อารามแหง หอง อันมใี นขงเขตทองเมืองสาวตั ถี พระกเ็ ทสนา แกจตปุ ริสทุ ธะชที งั สี่ มารอดเถงิ ท่ีทารกา วาอถกาเล ยังมกี าละเมอื่ กอน เดก็ นอยออนทารกา เขากอ็ ยูคามาเขตหอ ง จาถูกตอ งฮาฮอื พากนั เอากระบอื เปน หมู แอว เลยี้ งอยหู ลงั ควาย แลวก็สะพายขาวหอ เปนนจิ จะตอ ทึงวนั ตามรมิ สันและหนทางไคว

201 ท่จี ิม่ ใกลศาลา เถิงเวลาใกลเ ทีย่ ง ตาวันบิดเบี่ยงสเู วหา หกนาฬกิ ามารอด ปลอ ยควายสอดลา หากิน ตามรมิ สันปากวาง สวนตวั เขาก็มายอบย้งั อยใู นศาลา แลว ก็พากนั เทกนิ ยงั ภุญชาหอ ขาว เบน หนา รอสมุ กนั ไปเปน นริ นั ดรบ ขาด ทุกมอ้ื หากดีหลี ฯ ยงั มีในกาละวนั หนงึ่ เลา อะถะกาเล กพ็ ากันเดนิ มคั คาหนทางใหญ เจา ภกิ ขเุ ผาวงศา เจา ภิกขทุ ังหลายก็เทียวดวยปาทาตนี ไต ยามรถลอบไตไ ปมา บไดร บั ภัตตาขาวบาตร มารอดที่ทางไควศาลา เปน คราวทางริมปา คราวนั้นหากไกลยาว บานไหนๆ กบ็ มีจ่มิ ใกล จักไปขา งหนา กห็ ากแควนไกล ผอตาวันกด็ าใกลเ ทยี่ ง เทา เปน ปา ไมอ ยภู ูมิพาํ ทใี่ นศาลายั้งจอด เทา หันแตเด็กนอ ยเลนสมุ กนั กไ็ ปยอบย้ังอยูในศาลา เจา ภกิ ขุทังหลาย เดก็ นอยหมทู ารกา บจาสันใดดกั อยู ยงั ศาลาเปน หมพู อ ยบอูฟปู ราศรยั เลง็ หนั ยงั เจาภกิ ขมุ ายั้งอยู วาเจาภิกขฝุ ูงนี้ เขากค็ ดึ ใจบอ กปาก ตา งคนตางมหี วั ใจบานบเ ศรา รอยบไ ดร บั ขาวบิณฑบาตและภตั ตาหาร หากควรเอายงั หอขา วออกเปนทาน จึงเปก ษากันเลา วาเราทงั หลาย ทานจกั ไปสูบ า นก็หากแควนไกล แกเ จาภกิ ขุฝงู อันเดินทางยาวยา น แลว คนใดก็วาจกั ทานเจา ภกิ ขุ เขาก็มาไขหอ ขาว เขาก็มาเจียรจาคาํ ผดิ ผวนหลายเผา ตนเคลาแกหมทู ังมวล วา สูจุงเปก ษากนั หอ้ื ทดั แมน เจาภิกขุตนเคลาจง่ิ บอกเลาไขจา แลวจุงเขยี นนามังชือ่ ใส หือ้ ไปหาเอายังหลาบไมแ ผน คนอัน

เอากองไวท ่เี ดยี วกนั 202 แลว ทานทังหลาย เขากล็ กุ ไปไวบชา หอ้ื เปน สลากภตั ตงั สลาก เอาคนอันบใหญ จงุ ต้ังคําปรารถนาเอาตามใจ เรยี กวาสลากภัตตาสลากแลว กําพรามถี ะฟน เขากม็ ายอหตั ถังนอมไหว เขียนช่ือใสเ ปน ตรา สทุ ินนฺ ํ สลากภตฺตมํ หผลํ โหตุ ก็เอากองไวท ่เี ดียวกนั คันวา ชอ่ื แหงตนตกเจาภิกขตุ นใด ปรารถนาเอาใจๆ วา ยกยืน่ รอ อวยทาน ดงั น้ชี คุ นๆ อันติดแตบา นหากพามา เขากย็ กเอาปจ จยั ขา วหอ ก็กระทาํ ภัตตานโุ มทนาเม้ยี นแลว หมากเหมย้ี งตามนอ ยมาก สรู ฎั ฐาบานเกา ทน่ี น้ั เจาภิกขทุ ังหลาย กินทานไปบขาด เขาก็พากนั ขคี่ วายคลาดแคลวคืนมา ดูปญ ญาไววอ ง เขาก็มีอายเุ ลา เรว็ ไว อาจแกยงั อักขรปญ หานานาตา งๆ เตชะอาจลือชา ก็ดว ยเตชะอนั ไดห ้อื ทาน เปนผจู บปลอ งดวยสิปปา อานิสงสอ นั น้ัน มหี ูตาสวางบานงาม คันวามา งปญจขนั ธาเสยี้ งชพี ยังสลากภตั ตะทาน พาเอาตนเมอื เกดิ หากปรากฏหนั ทันตา ในเวไชยาชนื่ ชอย ก็บห อนวาจกั ไดพ ลิกจากเมอื งคน หากเปน บริวารบข าด ชัน้ ฟาเลศิ ตาวตงิ สา เมอ่ื พระสัตถาไดมาตรสั ประญา มีนางฟา บน อยหม่นื หกพนั นาง เปนพระโปรดโลกา ดวยอานสิ งสอนั ไดห อ้ื ทานขาวสลากเปนทาน ตดั กิเลสแลว ลวดนิพพานไป สพั พญั ูตัญญาณในโลก เขาก็ไดมาเปน อรหันตาตนวิเศษ กเ็ พอ่ื อปุ นิสยั ไดห ื้อทานยงั ขาวสลาก

203 กศุ ลอนั นั้นหากบเหยหาย บดั น้ผี ขู าทงั หลาย กม็ าเล็งหนั ยงั อานสิ งสอ ันนี้ จง่ิ บงั เกดิ กามาวจรกศุ ลช่นื ชมบาน ก็รวู าพระนพิ พานเปนอันม่ันแกน เปน ที่ดับทุกขแ หง สงสาร กจ็ ิ่งขงขวายหาไดยงั สลากภัตตทานทงั หลายมวลมาก พรอมดว ยสปู พยัญชนะมากนานา อาหริตวากน็ ํามาต้งั ไว ทดั ทใ่ี กลกองตาํ แหง พระแกวเจา ทงั สามประการ มีประมาณวา ได…..เทานี้บเศษ ผูขาทงั หลายกข็ อเปน อุตมเทศเชยี งคาน ในอนาคตกาลเบ้อื งหนา ขอห้อื มีผลอนั แกกลา อยา สังกา ขอหอื้ เสมอดั่งนางจันทปทุมมา และทารกาเดก็ ออน ไดห อื้ ทานปางกอน หือ้ ผลบผ อนทันตา ดง่ั พระสตั ถาเทศนาลว งแลว ในกลางขว งแกวเชตวัน ขอจงุ หื้อผขู า ทังหลายไดพ ลันเขารอด เวียงแกว ยอดเนรพาน ในอนาคตกาลอันจักมาพายหนา น้นั แทด ีหลี ฯ ขอพระตไิ ตรมุนี จงุ มีมหากรุณาธคิ ุณอันยงิ่ รบั เอายงั สรรพวตั ถสุ ่งิ สลากภตั ตา ของสมณศรัทธาและมูลศรทั ธาผูขาทังหลาย น้ันแทดหี ลี ดวยดงั่ ผูขา จกั ไดโ อกาส ตามบทบาทบาลีวา สาธุ โอกาส มยํ ภนเต อิมานิ สห ธุปปบุปผาลาชทานํ สลากภตตทานํ มหาสลากภต ตาทานํ สมมาสมพ ุทธสั ส ธมั มัสส สังฆสั ส สกั กัจจํ เทมะ ปเู ชมะ ทิตยิ ัมป… .ตติยมั ป….พทุ โธ โน ธัมโม โน สงั โฆ โน สลากภตั ตาทานํ มหาสลากภตั ตทานํ อัมหากํ ฑีฆรตั ตํ หติ ายะ สุขาย ยาว นิพพาน ปจ จโย โหนตุ โน นจิ จํ (บทเวนทานขา วสลาก,ทวี เขื่อนแกว. 2524 : 55)

204 บทสบื ชาตา บทอนิ ทชาตา ปุริสฺชาตา มหาปุริสฺชาตา จกฺกวตฺติชาตา มหาจกฺกวัตฺติชาตา พุทฺธชาตา ปจฺเจกพุทฺธ ชาตา อรหนฺตาชาตา สพพฺ ะสิทฺธิ วชิ ชฺ าธรานชํ าตา สพฺพโลกา จริยานชํ าตา สพพฺ โลกา ธิปตญิ านํ ชาตา เอเตน สัจฺจะวชฺเชน ตุยฺหํ สุวตฺถิ โหนฺตุ ตุยฺหํ สวาหาย นโม พุทฺธสฺส นโม ธมฺมสฺส นโม สฆํ สฺส เสยฺยถีนํ หรุ หู รุ ู สวาหาย ฯ (สนน่ั ธรรมธ,ิ 2547 : 30) บทหริโอตปั ปะ หิริโอตัปปฺ สมปฺ นนฺ า สุกฺกธมมฺ สมาหติ า สนฺโต สปฺปุริสา โลเก เทวธมฺมาติ วจุ ฺจเร สนฺติ ปกฺขา อปตตฺ นา สนฺตปิ าทา อวัฺจนา มาตาปต า จนกิ ฺขันตา ชาตะ เวทะ ปฏิกกฺ มฯ (สนัน่ ธรรมธ,ิ 2547 : 30) บทชยั เบง็ ชร ชยาสนากตา พทุ ฺธา เชตวฺ า มารํ สวาหนํ จะตสุ จจฺ าสะภํ รสํ เย ปวิงสฺ ุ น ราสภา ตณฺหํกราทโย พทุ ฺธา อฎั ฐ วสี ติ นายกา สัพฺเพ ปติฎฐ ติ า มยฺหํ มตฺถเก เต มุนิสสฺ รา สเี ส ปติฎฐ ิโต มยฺหํ พุทโฺ ธ ธมฺโม ทวิโรจเน สโํ ฆ ปตฎิ ฐ ิโต มยหฺ ํ อุเร สพฺพคณุ ากโร หทเย เม อนรุ ุทฺ โธ สารปี ุตโฺ ต จ ทกขฺ ิเณ โกณฑฺ ฺโญ ปฎ ฐ ิภาคสมฺ งิ ฺ โมคคฺ ลลฺ าโน จ วามเก ทักขฺ เิ ณ สวเน มยฺ หงั อาสงุ อานนฺทราหุโล กสสฺ โป จ มหานาโม อภุ าสุง วามโสตเก เกสโต ปฎ ฐ ภิ าคัสมฺ งิ สรุ โิ ย วปภกํ โร นิสินโฺ น สริ สมฺปนโฺ น โสภิโต มนุ ิปุงคฺ โว กมุ ารกัสสฺโป เถโร มเหสี จิตตฺ วาทโก โส มยหฺ ํ วทเน นิจฺจํ ปตฎิ ฐ าสิ คุณากโร ปุณฺโณ อํคุลิมาโล จ อุปาลี นนฺทสีวลี เถรา ปฺจ อิเม ชาตา นลาเต ตีลกา มม เสสาสีติ มหา เถรา วิชิตา ชินสาวกา เอเตสีติ มหาเถรา ชิตฺวนฺโต ชิโนรสา ชลนฺตา สีลเตเชน อังคมํเคสุ สัณฺฐิ ตา รตนํ ปุรโต อาสิ ทักฺขิเณ เมตฺตสุตฺตกํ ธชคฺคํ ปจฺฉโต อาสิ วาเม องฺคุลิมาลกํ ขนฺธโมร ปริตตฺจ อาฎานาฎิยสุตฺตกํ อากาเส ฉทนํ อาสิ เสสา ปาการสณฺฐิตา ชินา นานาวรสํยุตฺตา สตั ตฺ ปปฺ าการลกํ ตา วาตปต ฺตาทสิ ัฺชาตา พาหิรชฌฺ ตฺตุปททฺ วาอเสสา วินยํ ยนฺตุ อนตฺตชินเตชสา วสโต เม สิกิจฺเจน สทา สมฺพุทฺธปฺชเร ชินปฺชรมชฺฌมฺหิ วิหรนฺตํ มหีตเล สทฺธา ปาเลนฺตุ มัง

205 สพฺเพ เต มหาปุริสาสภา อิจฺเจวมนฺโต สุคุตฺโต สุรกฺโข ชินานุภาเวน ชิตุปทฺทโว ธมฺมานุภา เวน ชติ าริสโํ ค สฆํ านุภาเวน ชิตนฺตราโย สทธฺ มมฺ านภุ าวปาลโิ ตติฯ (สน่ัน ธรรมธ,ิ 2547 : 30 - 31) บทอณุ หัสวิชยั อตฺถิ อุณหิสฺส วิชโย ธมฺโม โลเก อนุตฺตโร สัพฺพสัตฺตหิตัตฺถาย ตํตวํคณฺหาหิ เทวเต ปริวชฺเช รชทณฺเฑ อมนุสฺเสหิ ปาวเก พยัคฺเฆ นาเค วิเส ภูเต อกาลมรเณน วาสพฺพสฺมา มรณา มุตฺโต ฐเปตฺวา กลมาริตํ ตสฺเสว อานุภาเวน โหตุ เทโว สุขี สทาสุทฺธ สีลํ สมาทาย ธมฺมํ สุจริตํ จเร ตสเฺ สว อานุภาเวน โหตุ เทโว สุข สทา ลิกขฺ ิตํ จนฺติตํ ปูชํ ธารนํ วาจนํ ครงุ ฺ ปเรสํ เทสนํ สุตฺ วา ตสั สฺ อายุ ปวฑั ฒฺ ตีตฯิ สกฺกตฺตวา พุทธฺ ะรตนํ โอสถํ อตุ ฺตมํ วรหํ ติ ํ เทวมนสุ ํสานํ พุทฺธเตเชน โสตฺถินา นสฺสนฺ ตุปทฺทวา สพฺเพ ทุกขฺ า วูปสเมนฺตุ เต สกฺกตตฺ วา ธมมฺ รตนํ โอสถํ อุตฺตมํ วรํ ปริฬาหูป สมนํ ธมฺมเตเชน โสตฺถินา นสฺสนฺตุปทฺทวา สพฺเพ ทุกฺขา วูปสเมนฺตุ เต สกฺกตฺตวา ธมฺมรตนํ โอสถํ อุตฺตมํ วรํ ปรฬิ าหปู สมนธํ มฺมเตเชน โสตฺถนิ า นสสฺ นตฺ ุปททฺ วา สพฺเพ ภยา วปู สเมนตฺ ุ เต สกกฺ ตฺตวา สฆํ รตนํ โอสถํ อุตฺตมํ วรํ อาหุเนยฺยํ ปาหุเนยฺยํ สํฆเตเชน โสตฺถินา นสฺสนฺ ตุปททฺ วา สพเฺ พ โรคา วปู สเมนฺตุ เตฯ (สนน่ั ธรรมธ,ิ 2547 : 3 - 32) บทเภสชั ชัง เภสชฺชํ เทวมนสุ สฺ านํ กะฏกํ ติตตกิ ํ รสํ อิมพฺ ิลํ ลวนฺเจว สัพฺพพยาธิ วินสฺสนฺตุ เอกทวิติ จตุปฺจ ฉสตฺตาทินํ ตถา ยาว ทุกฺขา วินสฺสนฺตุ ชีวิทานํ ททนฺตุ เต ชีวิทานํ ททนฺตสฺ อายุ วณฺณํ สุขงั พลํ ชีวิทานานุภาเวน โหตุ เทโว สุขี สทา ชีวิทานํ จ โย ทตฺตวา โอสถํ อุตฺตมํ วรํ สรีรํ ทุกฺขํ นาเสติ เภสชฺชํ ทานมุตฺตมํ ตัสฺสมา กเรยฺย กลฺยาณํ นจฺจยํ สมฺปรายนํ ปุฺญานิ ปรโลกัสฺมึ ปติฏฐา โหนฺติ ปาณินํ อิมินา ชีวิทาเนน ตุมฺหากํ กึ ภวิสฺสติ ทีฆายุกา สทา โหนฺตุ สุขิตา โหนฺตุ สพฺพทา โย โส ททาติ สกฺกจฺจํ สีลวนฺเตสุ ตาทิสุ นานา ทานํ วรํ ทตฺตวา ชีวิทานํ มหปฺผลํ เอวํ มหทิ ฺธกิ า เอสา ยทิทํ ปุญฺ สมฺปทา ตสมฺ า ธรี า ปสสํ นฺติ ปณฺฑติ า กตปุญฺ ตนฺติ ฯ (สนน่ั ธรรมธ,ิ 2547 : 32) บทสโุ ข พทุ ธา สุโข พทุ ธฺ านํ อุปปฺ าโท สขุ า สทฺธมมฺ เทสนา สขุ า สฆํ สสฺ สามคฺคี สะมคฺคานํ ตโป สโุ ข ขตฺ ติโย เสฏโฐ ชเนตสฺมึ เย โคตปติฌายิโน วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน โส เสฏโฐ เทวมนุสฺเส ทิวา ตปติ

206 อาทิจฺโจ รัตฺติมาภาติ จนฺทิมา สนฺนทฺโท ขตฺติโย ตปติ ฌายี ตปติ พราหฺมโณ อถ สพฺพมโหรตฺตํ พทุ โฺ ธ ตปติ เตชสา ฯ (สนนั่ ธรรมธ,ิ 2547 : 33) บทพุทโธ มังคะละ พุทฺโธ มํคลสมฺภูโต สมฺพุทฺโธ ทีปทุตฺตโม พุทฺธ มงฺคลมาคมฺม สพฺพทุกฺขา ปมุฺจเร ธมฺ โม มงฺคลสมฺภูโต คมฺภีโร ทุทสฺโส อณุง ธมฺมะ มํคลมาคมฺม สพฺพภยา ปมุฺจเร สํโฆ มํคลสมฺภู โต วรทกขฺ ิเณยโฺ ย อนตุ ฺตโร สงฺฆมํคลมาคมฺม สพั พฺ โรคา ปมุ ฺจเรฯ (สนัน่ ธรรมธ,ิ 2547 : 33) บทสขู วญั คน สาํ นวนของนิยม สสี องโย พุทฺโธ มงคฺ ละ สมฺพูโต สมฺพทุ โฺ ธ ทปิ ฺทตุ ตฺ โม พทุ ธฺ มํคล มา คมมฺ ะ สพฺพทกุ ขฺ า ปมุ ฺจเร ธมฺโม มงฺคละ สมพฺ ูโต คมฺภโี ร ททุ ัสโส อนุง ธมมฺ มํคล มา คมั ฺม สัพฺพทุกฺขา ปมุ ฺจเร สงฺโฆ มงฺคละ สมพฺ ูโต ทกฺขไิ นโย อนุตตโร สฆํ มคํ ล มา คมมฺ สพฺพทกุ ฺขา ปมุจฺ เร ศรี ศรี สวสั สดี อช ในวนั นี้ก็เปน วนั ดี เปนวนั ศรวี นั ไส วันเปก เส็ดกาบไกเลศิ เชยี งคาน เปน วันมงั คลการอนั ประเสรฐิ ใหบ ังเกิดธมั วฒุ ิ 4 ประการ เปน โอฬารอนั แผกวาง ยง่ิ กวา ชางโสกแสนคํา เตชะนาํ เขมกลา เปน วันปองฟา เลศิ ลือเซ็ง วนั เม็งกห็ มดใส วันไตกห็ มดปลอด วันน้ีก็หากเปน ยอดพญาวนั ชางสะตันไดบ ริวารพอลา น ออกนอกบานปะใสไหเงิน ก็แมนในวนั นี้ เมืองเถินจักปอ งเมืองหอ ยา ชางหมอ จะไดเ ปนเศรษฐี ก็แมนในวันน้ี ราชสหี จ ะกอเรียกรอง กแ็ มน ในวนั น้ี ยง่ิ อวดจอ งหมายหาตัวเวร กแ็ มน ในวนั น้ี มหาเถรจกั บณิ ฑบาตขาว กแ็ มน ในวันน้ี ปูเถา จะสอนหลาน อาจารยจ กั นําโชคมาห้ือ กแ็ มน ในวนั นแี้ ทดหี ลี บดั นหี้ มายมี พอแมพ นี่ องญาตวิ งศา เขากม็ าจกุ ถาเลย้ี ง 32 ขวญั มเี กศาพอ เปน เคลา

ตราบตอเทามดั ถะลงุ กงั 207 เปน ปริโยสานอนั ต่ืนเตน หากไปลาเลนอยูห นใด ก็เดมิ เพ่ือวา ขวญั เกาขวญั เคลา แมน วา 32 ขวญั แหง เจา สาธุ สาธพุ อ หมอเฒา ผูขา จักเลา โลมใจแหง เจา มที งั้ พระกมุ พระกณั ฑ จุงเรียกเลาคนื มากอนเทอะ จุงไปลากทน้ื รบี เรว็ พลันเดยี วนี้ หมอชางเลาเอาขวญั จักเปนการอันเมนิ นานพายหนา พระมารดา ยาหมอหนงึ้ หักไมแ ท็กรอยหาเครอื่ งบูชา แมนวาขวัญเจาจักไปหลกี ลี้อยหู นใด เหลาหัวเด็ดหา รอย ขอยาจุงไปเซาะหามาหอื้ ได ผา แดงลายทบแหนบ เทยี นสีถาดอกสรอย หมากพลูสนแตงพรอม ใสแพงนอ ยมาฟาย ถวายบชู าบไ ว ผา ขาวแหนบยองบน กาเรเยือ่ งใดเดจงิ จกั ได ตกแตง นอ มนาํ มา รีบเอามากอนเทอะ ถึงแกวแกนไทค อื กุมภัณฑ ศตั รวู นิ าสันตุ ขอยาไปเซาะไซ พระสัพพัญขู น้ึ นงั่ แทน แกว ศรศี รีสวัสดไี ชยะ กแ็ มน ในวนั น้ี วันน้กี ็เปน วัน ห้อื พน จากโทษโทษา ปราบแพแ ลว ฝูงหมูริพลมาร เปนวันไชยมหาโชค จักห้ือเจา ไดอยูสขุ สาํ ราญหายโศก แตเมือ่ หวั ทกี แ็ มน ในวันนี้ กแ็ มนในวันนี้ ยิ่งกวาวันและยามทง้ั หลาย มหาพรหมจกั กอ แรกสรา งโลก จงิ จกั แตง ออกไวว า ได 60 คัมภรี  กเ็ ปน วันดลี ้ําเลศิ จองออกห้อื เปน โยค จะนับกดหมายก็ยงั มหี ลายแหง เอาเกณฑว นั มาบวก โหรามถี ดั ถอง สอ สับเปง จะทานตง้ั ส่ี เอาฤกษม าตง้ั เปนถา วนั นีก้ ค็ วรสูขา วกระทาํ ขวญั แลว เอาเจ็ดหาร รายสชี ือ่ มหาไชย เอกโตก็มีหลายมวลหมู โสรียายไปสูราศี พระทิตยพระจนั ทรยา ยไปอยู พระหัตถโยกมหาไชย องั คารไปสูเมฆสขุ เศษตวั ดี หากเปน คุณและมติ ร เปนอุตมโชค กณิ นโรงชางไดตาเศษ ราหูไปสูพธุ เขา สเู มถุน ก็แมนในวนั นี้ อาทติ ยได อจุ จาลกั ขณมหาโชค โหราเมฆแมพ รหมา ก็เปนวันตถิ ี อันสะอาด

208 เปนวันพระยาเวสสันตรเจา เสด็จออกจากปาไมม าเมอื ง อนิ ทาเนอื งแถวถ่งั จงิ จักห้ือหา ฝนแกว หลงั่ ลงมา ตกในโขงเขตหอ ง ประเทศทองเจตรุ นคร ก็เปนวันปวอนเรืองเร่อื ก็เพื่อวา หื้อ 32 ขวัญแหง เจา หนอไท ไดชืน่ เชยบานวนั นี้ กเ็ ปนวันบปุ ผาบานแบง สรอ ยจอมจี กแ็ มนในวนั น้ี ก็เปนวนั ตถิ อี นั บเ สา นกั ปราชญเ จา จงิ จกั เอา วันเม็งวันไตมากดแรกตงั้ แลวเอาหกคณู เขา ใสใ ชคณู ลง กถ็ กู ทีป่ ระสงค เจ็ดหารขาดเศษไดแลว อตุ มฤกษแกว ยามดี หมดใสศรบี เศรา ธัมพระพุทธา เรยี กเอาขวญั เจาเขาไว ในพุทธพิมพาสารปู ยวสานงั ตราบตอเทา หาพนั พระวสาเทย่ี งหมั้น ก็แมนในวนั น้ี กเ็ ปนวนั ดสี ะอาด เปนวนั เจาตุปตยิ าตกุมมาร ไดข นึ้ ข่เี หนือหงษา ซานไปบนอากาศ ไปพบใสม ารดาชาตทิ สี่ วนอุณญาณ ลวดมีใจบานชมชื่น ปุณอศั จรรย ยอ นอนิ ทาทนั ชชุ ว ย ก็บห้อื ไดถ อ ยเสยี ศรี ก็แมนในวันน้ี ก็เปน วันดเี ทยี่ งเทา ขาจักเรยี ก 32 ขวญั แหงเจา เสื้อเจาผา จุงห้อื อยฆู ฑี ากอนเทอะ ขวัญเหยขวญั เจา จงุ เดินมัคคา ทพิ เทศแควดี เจา อยา ไปอยดู งรเี ถื่อนถา้ํ ท่ียา นนํา้ ไอศวร สนุกงวนมว นเลน นาํ้ ที่เถ่ือนคหู า จักขโุ สตาทง้ั คู หือ้ มาอยกู ับตน ห้อื มาท้งั ขวญั ดังดมดอกไม ห้อื มาต้งั ขวัญหูไวฟงธรรม หอื้ มาทงั้ ขวัญงามปองเกว ห้อื มาตั้งขวญั แอวและอกกลม หอ้ื มาทง้ั ขวญั ถานานมทั้งคู ต้ังเตา อยูดงู าม หื้อมาทั้งขวัญคางและขวัญค้วิ ขวัญสบิ น้ิวอยปู ลายตนี ขวญั เจา อยาไปวนิ อยูในปา ขวัญเจาอยา ไปเพื่อนชา งลากินคิว่ ขวญั เจา อยา ไปอยแู กมนางนแี ละวอกคาง ขวญั เจาอยา ไปอยทู ่ีแมบ า งโอรา ท่เี คลาไมหลวงกลวงไมใ หญ ขวญั เจาอยาไปอยูท แ่ี มไกสองหอน ขวญั เจาอยา ไปออนตํ่าคลอ ย ขวัญเจา อยา ไปเลนหมากนอ ยและหมากสกา กับหมเู ทวดาขาวแกว ขวัญเจา อยาไปใสแรวกบั ดวยทานนายพราน ขวญั เจาอยา ไปอยูดงดานสรอกหว ย

209 ทห่ี ลง่ิ จวยทปี่ า กลว ยบมีคน ขวญั เจา อยา ไปบินบนสอดฟา ขวญั เจาจุง อวา ยหนาคืนมา 32 ขวญั แหงเจา อยาไปอยคู อกไรร ิมนาทอ งกวา ง ขวญั เจาอยา ไปสรางสวนอณุ ญาณ ขวัญเจา อยาไปอยทู ป่ี า ไมแ ตกดังเสยี งตมุ ขวญั เจาอยา ไปอยูทป่ี า ไมย างแกมแฝก ขวญั เจา อยาไปอยูเมอื งผีเข็นยักษสรา ง ขวญั เจา อยาไปอยปู า ดงเยน็ ท่ีนน้ั หากเปน ทีอ่ ยผู โี พง ท่นี น้ั เปนทแ่ี รดชางและเสือสงิ หสง บใ จก ลางขว งบา นแหง คนเรา ดงตาตอหมากสาน เอาขวญั เจา ขวัญเคลา เหตนุ ั้นจงิ ไดพะพิงพาว ขวญั เหยขวญั จิงจกั คนื มากอนเทอะ มีตัง้ สุกรามันตลาด ของกินมีสะพาดใสเ หนือพา มที งั้ กนั ตะรหี นว ยกลว ย มที ง้ั ไกตม คงู ามชาติตวั ป มที งั้ ขา วสะดกู อนสะดูยอ ย กาํ หมากสวยบายปนู พลู มีทั้งขา วสารและขาวแช นาํ้ ออ ยออยดูหวาน ขางหนมหนวั ใสม ะพราว ปลาปงแลเ ปน ตัว ขา วหนมอีต่ ูใสถ วย ขา วแคบรา วใสม ันหมู ขา หนมแตนจืนใหม ขาวตมกลวยใสจ านแบน ไขม อนหนาสกุ หลม น้ําออ ยใสสูนงา มีทง้ั บรุ ีพนั ตองยอด เม้ียงสมอมแลวหากใจดี ย่งิ กวา สาวเขาปน ฝากชู ปนแลว ถอดตองขาว มีท้ังนํา้ มันและนํ้าสมปอย มีท้งั นํา้ คแู ละน้ําจนั ทร มที ้ังคําปลิว และเงนิ ลาน ขาวหม้ินออ ยเอาผวิ หอมรสเลาหอมทว่ั เทาทอดัง แมนจกั ใสชา งกย็ งั เหลือแด ผอ แทหากดวู อน มีท้งั ผา ตาปลงั มวงแหล ผาขาวแขบขอ นไหมคํา สสี ุกออนดแู ลบ ควรคาแพงบถ อย แวนหวตี าํ สอดกอยคําแดง ดอกดวงสังก็มนี พี้ รํา่ พรอม ขาวแคบออยหอมทอดัง ตายเหินแกบานตํ่า มที ้งั ดอกตะลอ ม คาํ แร ซอมพอแสงก่ิงกอม ยปี่ ุน ผ่ําวรแดง มที ง้ั ดอกนางกลายบานแบง สรอย บัวกาบคอ มบานงาม มีท้ังดอกมะลวิ นั หอมแกน มีทั้งดอกซอ นนอยบานตัน มีท้งั ดอกตองและดอกงิว้ มีทัง้ ดอกบวั แวน งามถมถอง มที ้ังดอกกวาวบานหลามกา น บานแสดสิว้ เม่อื ยามหนาว จมรสหนัวกลนื เคลา แอวไปมา แมงภูซวา นมัวเมา สว นดอกไมทง้ั หลายนั้นนา

210 ลางพรองก็หาได ลางพรอ งกห็ าบไ ด ดอกไมมหี ลายประการ ลางพรองกบ็ านสะภู ลางพรองก็จุมจอี ยูระเห็จเดิมมา จกั ลมื เสยี ยังคารวาหมเู ขา จกั เรยี กรอ งขวัญเจา ขวัญเคลา จงุ เรียกรอ งคืนมากอนเทอะ ขวญั เหยขวญั ขวัญเจามาแลว อยา กระทาํ รา ยแกต นตวั ขวญั เจา อยาไปมัวสะดุง ขวัญเจาอยา ไปแตกฟุง ไปมา แมนวา ขวญั เจา ไปอยู อกนษิ ฐาฟากฟากห็ ้อื มา แมน วาขวญั เจา ไปอยูแหลง หลาเมืองสวรรคก ็ห้อื มา แมน วา ขวญั เจาไปติดผันอยยู งั คมุ ก็หอื้ มา แมนวา ขวัญเจา ไปตกจมจาํ ทีน่ ้ําบแ หง อันทา นแวง ไวย งั รเู หลากห็ ้ือมา แมนวาขวัญเจาไปอยูเ มืองทา นกห็ ้ือมา แมน วา ขวญั เจาอยูยานนาํ้ วงั เขียวกห็ อ้ื มา แมนวาขวญั เจาไปอยทู ี่น้ําหว งกห็ อ้ื มา ขวญั เจา ไปหลงหองเมอื งผีก็ห้ือมา ขวญั เจาไปผกกินปลีแลนทวยแมเ มนกห็ ื้อมา แมน วาขวญั เจา ไปอยูท ่ีน้าํ เตน ตาดตกเหวก็ห้อื มา ขวัญเจา ไปอยคู นเดียวเหวโหร อ งกห็ อ้ื มา ขวัญเจา ไปอยทู ีน่ กขอดของยูงดงกห็ อื้ มา แมนวา ขวัญเจาไปอยจู ิม่ นกเสยี งขงกนพูด กับแมน กสที ดู รองเสียงหนัว รองปนู กลวั คะคนื้ ขนตนื่ คิงอยรู อ งกินปคู ํ่าเชาก็หือ้ มา ขวญั เจาไปอยจู ิม่ นกเคา อนั ชางคุกเมื่อยามหนาวก็หื้อมา แมน วาขวัญเจา ไปอยจู ่ิมเห็นหางยาว และเห็นโอมกห็ อ้ื มา ขวัญเจาอยาไดเคยี ดสมขมใจ ขวญั เจา อยากอันใดผูขาหากจะหยัก ขวัญเจา มกั อนั ใดผขู า หากจักปอ น จงุ มาถายถกถอน จุงมาทมุ ผา สีออนและเหน็บดอกไม ขออญั เชิญ 32 ขวญั แหงแกวแกนไท จงุ หื้อมามากอนเทอะ (นิยม สองสีโย. สมุดบนั ทกึ ) บทเรียกขวญั ววั ควายสาํ นวนของหนานเตจ า อชั ชะในวันนกี้ ็เปน วนั ดี เปนศรมี งคลอนั ประเสรฐิ เปน การอันเกิดกับโลก หากสบื กันมาในโลกาแหลง หลา เชนเมื่อปางเจา ฟา พระยาศรีสุทโธมา การทําไรทํานาปลูกเขา อนั สบื เคา เหงา เมือ่ สทิ ธัตถะออกไปไถนา เปน ธรรมดาแตง ไว หอ้ื สบื ใชเ ปนประเพณี ปไหนมลี ะเทอื่ เมือ่ เดือน 11 สบื 12 ฝนตกนํา้ นองหา ใหญ ไปแปงไปเอานา้ํ ใสเต็มนา เอาไถมากอแรก เอาแอกมาใสย งั คอ เอาเชือกปอมาผูกไว

211 ห้ือหม้นั ไถเลียบขอกดัน้ ตามริมคนั นา ไถไปมาชคุ ํา่ เชา ตลอดตอเทา เส้ยี งเขตขะบวน บเ ทาแตน้ันมา กเ็ อาไมมาแปงเฝอ หื้อมแี ถม 7 ซี่ เพ่อื หอ้ื ขไี้ ถหลม แหลกเปน ผง บเ ทาแตน้นั ซาํ้ ไปเอาไมบงและไมซ าง ไมส สี กุ งามเลม ใหญ ลางพอ งไปตดั เอาไมไผอนั งามดี มาตดั แลวจซี ีเ่ ผอื่ มีใสห้ือเส้ียง แปงเพียงหอ้ื เลีย่ นเกลย้ี ง ผบั ไควเ สยี้ งงามดี นาปนาดอ หอื้ งามเหมือนตน เขา ตลอดตอ เทาเขา เปนกอ งามมหี นอ บวั ระมวลแลวเลยี้ ง ผขู า ก็มาล่าํ เปง ดู ยังบญุ คณุ เจา ท้งั สอง ท่ีไดก ระทําการไถนา เปลง วาจาเฆย่ี นดา คาที่ไดใ ชกนิ แรง ผูข า ก็ขอขมายกโทษ สองเจาตวั ประเสรฐิ คือวัวและควาย ขอทานมีความเมตตา กรณุ าตูขาคา ไดใชก นิ แรง ผขู าก็รักแปงเพยี งหวั ใจแหงผูข า ต้งั แตน ไี้ ปหนา ผขู า กบ็ ฮ ้อื เจาไดทุกขโ ศรกเศรา ทกุ ขยากในทางกิน ผูขา จักหอื้ เจา ไดพน จากไถแผนดนิ อันอิดหวิ ล้ําบาก อดทกุ ขย ากมานาน ผูข าก็จกั แกเ สยี ยงั การมัด และผกู แอกวางคอ ผขู าจกั แกเสียยังปอเสน ใหญ ไวกบั แอกนอ งเชอื กพดั ลองสขี า ง รองดาวาขวา ขวา ซา ย ซา ย ไปเวยๆ ขา ขอโคนาและมหิงษา จงุ เมตตายกโทษ อยาไดโกรธและโกรธา ผูข าขอสมาละโทษ จกั แกเชอื ก ละเหลือสายออมกบั สายดงั บห อ้ื ขวัญเจา แกว แกนไท แอว ลา แลน นอนแรม กลัวทา นจักยบั เอาไปฆาและแกง กลัวสเู จาตายเสียบดายปางเปลา ผูข า จักมดั ขวญั เจา หือ้ เปน แกว ม่ิงมงคล ธรรมวฒุ ิจุงเกดิ กับตัวคชู าติ หือ้ พลนั พน จากสัตวด ิรัจฉาน ดาวสมภารอันเจาไดช กั ลาก ผืนแผน ดินอนั ใหญปลาเขา ไว ห้ือผูข าไดกนิ และทาน บัดนผี้ ขู าจกั โถมนาคณุ เปน ใหญ กไ็ ดต กแตงพรอ มนอมนาํ มา ยังสุคนั ธาทกะหอมออมใหญ ไวหอื้ เจาไดรดเกลา และดําหวั เนอ้ื ตนตวั เปนมลู ะมลทนิ ติดแปดดนิ ยามเม่อื สายแดดตอ ง ยามเมอื่ ฟารอ งและฝนฮํา ผขู ากน็ ํามายังบปุ ผา

212 ราชาดวงดอกไม เขา ตอกใตเทยี นงาน ขอขะมาตามแตโทษ ยามเมือ่ ไดใ ชการโขดราวี ไดด า และบบุ ตี เชือกฟาดยดี า หยอ หือ้ เจา โกนนามะหงึ ษา ขอละลดปลดเสยี ยังโทษโทษา ขออยา งอาฆาต เปน กรรมเวรกนั ไปมา ในชาติน้ีและชาตหิ นา ผูขากลวั เปนกรรมบาปชาไปตา งๆนาๆ ขอเจา จงุ อดสาอยสู รางสืบฑฆี า บดั นี้นาผขู า จกั เรยี กรอ ง 32 ขวัญเจา โกนะมะหึงษา หอื้ เจา มาอยสู ืบสราง กอ สมภาร 32 ขวญั เจา หื้อไดมาอยูสรา งเจยบาน กับดวยผูข า อันเปนมนุษยโ ลกเมอื งคน 32 ขวญั เจาอยา ไดโ ศรกเศราหมอง 32 ขวญั เจาหอ้ื ไดม ากนิ น้ําใส ใบหญาออนเขียวงาม 32 ขวญั เจาจงุ มาเสวย จํายามเลยคนู อ ย มที ั้งกลวยออยมากหวานใจ 32 ขวญั เจาอยา ไปเที่ยวลาไกล กลางดงภยั เขตนอก เหตุวาเจา บร ปู ากเหมือนคน 32 ขวญั เจา อยาไปลา เววนอยูกลางปา 32 ขวัญเจาอยาไปลา ดงภัญ 32 ขวญั เจาอยาไปกวงไกลทางอน่ื ห้อื ผขู า ไดต ืน่ แลเสาะหา กอนตะวนั ข้ึนออกมา ขากจ็ ักปลอยหื้อเจา ไปเสาะวา หากนิ ตามแผนดนิ หญา ออน กอนตะวันตกรอไปใกลค่ํา กห็ ้อื เจา ล่ําเปงมาหาแหลง ผขู าแตงเตาไฟไวถ า บหอ้ื เจาลาํ บากผาญใจ ขาก็กลวั ริน้ ยงุ มาตอมไตเจา เพราะผขู า ไดใ ช กนิ นาํ้ บาคา แรงมาก็ไดหลายขวบเขา ขอหือ้ เจา จุง มีอายเุ ลา ยืนนาน สัพพะจญั ไรอยาไดการเตพา สัพพะผีหา และผเี หงา อยา มากลายมาใกล สัพพะหมอู นั ตราย กห็ อื้ หายดับวอด หอื้ เจา ไดถือเอายอดทานะปาระ มเี นกขะมะบญั ญาปาระมี วิริยะขนั ตี สะจะอะตถิ านะปาระ มีเมตตาอเุ ปกขาปาระมีไปคชู าติ ห้ือเจา ไดพ น จากเดียระฉาน หื้อเจา ไดพบสมภารเจา นักปราชญเ จา ปริสมง่ิ มงคล อันจักไดลงมาเกิด เปนพระในโลกา ยามนน้ั นาคนทัง้ หลาย บไดห วา นกลา ไถนา เปนดง่ั ขา และเจา กจ็ ักไดสุขเท่ยี งเทา อายขุ า และเจา ยนื แสนป สมบัตเิ รามีบไ ร

213 ก็จักไดพ น จากโอฆธสงสารไปหนา กับเจาฟา ตนชือ่ วา อริยเมตไตรย บค ลาดบค ลา จัตตาโรธรรมา อนั วาธรรมทั้งส่ี ห้อื เปนดัง่ รม และเงา เอาเปน ฉัตรแกวคมู งุ หวั ภะวาสัพพตี ีโย จงุ หอื้ เปน ขัวราวงานผิวผอง วินาสสันตุ จุงหื้อเปน ทีห่ นอ งเกาะผัน สพั พะโรโค เปยธมิ หี ลายสิ่ง วินาสสันตุ จงุ หอ้ื มวยมิง่ คลาไป มะโน หื้อเจา ไดอ ยูสุขจําเริญใจ ชวุ นั คืนค่ําเชา วินาสสันตุ ตะราโย อายุวรรณัง จงุ หอื้ เจา มอี ายเุ ลา ยืนยาว ตะพะหะนสิ ะนจิ จังเท่ียงหมั้น วุฑฒาปจายิโน อยาไดช ้าํ เหงยี่ งกันหาย จตั ตาโรธรรมมาผาดโผด ห้ือเจามยี ิง่ โยดแทด ีหลีฯ” (หนานเตจา,มปป : 146 – 150) บทสงเคราะหส ํานวนหนังสือของดจี ากพับสา สรสี ทิ ธสิ วสั ดี อัชชโย อัชชโย อัช ในวนั น้กี ็เปน วันดี ศรีศุภมงั คละอนั ประเสรฐิ ล้ําเลศิ ยงิ่ กวา วันและยามทงั หลาย วันเมง็ ก็หมดใส วันไทก็หมดปลอด เปนวันยอดแหงพญาวัน บดั น้ีหมายมี นาย นาง....... ก็ไดตอ งทรงยงั เคราะหถ อ ยชา ผขู า กจ็ ักปด ไปแตก อนปางหลัง เคราะหเม่อื ยังแรกเกิด เคราะหอ ันบประเสรฐิ มวลมี เคราะหส บิ สองราศเี ก้ยี วกอด ลกั ขณาสอดเกาะกุม อาทติ ยซ ้ํามาสุมแกนกลา พระจันทรสงหลาสวักสวาด ถว นสามอังคารรงั หยาดเลศิ แลว ถว นสี่พธุ ผอ งแผวใสงาม พฤหสั ถว นหา ตามแถมเลา ศุกรโขถว นหกบเ สา ดวงใสโสรี ถว นเจ็ดรศั มไี วหลายสา่ํ สัพพเคราะหพ รอมพรํา่ นานา อันมีในกายาแหง เจา นวฆาตทังเคลามวลมี ทงั นกั ขัตฤกษศ รี 27 ตวั นับหมาย แมน วา เคราะหทังหลายมาพรอ มอยูแ ลว จุงห้ือไดค ลาดแคลวหนเี สยี ไกล ถือเคราะหจังไรถอยชา เคราะห 13 นาม 15 กห็ ้ือหนี ท้ังเคราะหป  เคราะหเ ดอื น เคราะหว นั เคราะหยาม เคราะหบด ีบง ามชใี้ ส

214 เคราะหนอ ยเคราะหใหญม วลมี เคราะหกาลีเม่ือหลบั เมื่อตน่ื เคราะหเมื่อยืนเม่อื เทยี ว เคราะเม่อื เคีย้ วเม่อื กิน เคราะหเมอื่ คนื บห นั เคราะหเมอ่ื วนั บรู เคราะหเม่ืออูเม่ือจา เคราะหนานาตัวกลา เคราะหตํ่าชา จดเจอื เคราะหเหนือเคราะหใ ต เคราะหเ มอื่ เจบ็ เม่ือไข เคราะหว ันตกวันออก อยูด าวขอกแดนใดกด็ ี กห็ อ้ื คายหนไี ปวนั นีย้ ามนี้ เคราะหดํากาํ่ ก้ีตัวกลา เคราะหช นหนา ชนหลัง แมน วา เคราะหต ัวใดยงั 108 อยาง ก็อยา ไดข อ งคา ง อยใู นตนตวั แหง นาย – นาง........ สกั เยอื่ งสักประการ แมน เคราะหตวั หาญเกี้ยวหนอง กจ็ ุงหือ้ ไดดับลอ งไปดว ยไฟ หื้อไดไ หลไปดว ยนํา้ อยา หอ้ื ไดค ืนมาแถมซํา้ พอสอง ห้ือไดปองดับหายไป บดั นแ้ี ดเ ทอะ หูรู หรู ู สวาหาย เม่อื สพั พเคราะหท ังหลายไดคายออก หือ้ ตกไปยังขอกฟาจกั รวาล ไปอยสู ถานทแ่ี ผน ดนิ สดุ ไกล และหากตวั ใดไดกลบั เปนปาปเคราะหแลว ขอจงุ ไดค ลาดแคลว มาเปน โสมะ และตวั ใดหากเปน โสมะแลวก็ดี ขอจุงเปนศรีนาํ มายงั โชคป โชคเดอื น โชควัน โชคยาม อายปุ  อายุเดือน อายุวนั อายยุ าม หือ้ มีอายุหมั้นยืนยาว รอยซาวขวบเขา วสั สา ไดอ ยูค้ําชศู าสนาไปไจๆ ห้อื ไดส วัสดี แดเทอะ แมนจักอยูก ห็ ้ือทฆี ามีชยั แมนจกั ไปกห็ ือ้ มีโชคลาภ ปราบแพศ ตั รู หลบั ตาก็หอื้ ไดเงินหมืน่ ตื่นก็หือ้ ไดค ําแสน ไดเ ปนเศรษฐเี จา เงินเจา คาํ เจาชางเจามา มีขา หญงิ ชาย ไปทางใดก็มคี นหุมคนรัก แมนจักปรารถนาสิง่ ใด ก็หื้อไดสิ่งนัน้ ชปุ ระการ จงุ จกั มีเทย่ี งแทดหี ลี ดงั พระมุนีตนประเสริฐ อันล้าํ เลิศยิ่งกวา โลกโลกา กลาวเปนคาถาไวว า สพฺพพตถฺ สพพฺ ตา สพพฺ เคราะห สพพฺ ภยยฺ า สพพฺ ทุกฺขา สพฺพโรคา วินาสนฺตุ เตฯ ชย สทิ ฺธิ ธนํ ลาภํ โสตฺถิ ภาคยํ สุขํ พลํ สริ ิ อายุ จวณฺโณ จ โภคํ วุฑฒีจ ยสวา สตวสสฺ า จช อายุ จ ชวี สทิ ธฺ ี ภวนตฺ ุ เตฯ (ญานสมฺปนฺโน,มปป : 76 - 77)

215 บทขน้ึ ทา วทงั้ สี่สํานวนหนงั สือประเพณีลานนาไทย ภณั เต เทวสงั ฆโย ดรู าพระยาอินทาธริ าช ตนเปน เจาเปน ใหญ แหง เทวบตุ รและเทวดาทัง้ หลาย ในช้ันฟา ตาวติงสา และสวรรคเทวโลก อนั มีมหาราชิกาเปนตน พระยาธตรัฐ ตนอันรักษายงั หนวันออกกด็ ี และพระยาวริ ฬุ ห ตนอันรักษายงั หนใตกด็ ี พระยาวิรูปกขะ ตนอนั รกั ษายงั ทศิ กา้ํ หนวันตกกด็ ี พระยากเุ วระ ตนอนั รกั ษาหนเหนือก็ดี แลเจา ทงั หลายจุตนจอุ งค และพระยาอินทาเจา ฟา ตนเปนเจา และเปนใหญ แกเ ทวบตุ รและเทวดาท้งั หลาย ในสรวงสวรรคช ้นั ฟา นน้ั มที าวท้ังสี่เปน ตน เปน ประธาน พายตํ่าใตม ีพระยาวรุณหะ และนางธรณเี ปนท่ีสดุ และอัชชในวนั น้ีกเ็ ปนวนั ดี เปนวนั ดถิ อี นั วิเศษ และในวนั น้ีกห็ ากเปนวันดี เปนวันศรไี ชยโชคลาภ เปนวันปราบแพยังขา ศึกศตั รูทัง้ มวล กเ็ ปน อนั พนั ภยั ท้งั หา บดั น้ีอันวา ผูขา ทั้งหลาย ชุใหญนอ ยชายหญงิ ก็บละเสียยังรตี รอย โบราณจารตี แตก อ นๆ เกดิ มา และในวนั นก้ี เ็ ปนวันเดอื น.....ขึ้น,แรม.....คํา่ ก็มาจุจอดรอดเถิงในวันนี้ บดั นี้ ศรัทธาทั้งหลายชุผูค นๆ กเ็ ปนอนั สามคั คีกับดวยกัน จิง่ จักพากนั สลงขงขวาย ตกแตง แปลงพรอมนอ มนํามายัง มธุบปุ ผาราจา ดวงดอก เขา ตอกดอกไมล าํ เทียน และโภชนอาหาร ขาวตม ขา วหนมใหมดูงามพอตา บดั นผี้ ูขา ทงั้ หลาย กม็ าขออาราธนายงั เจา ทัง้ หลาย พอมคี วามอนิ ดผู ายโผด โปรดเสดจ็ ลงมาเสวยสขุ ชตุ นชอุ งคๆ ยงั เครื่องปูจาอนั นี้ แหงศรัทธาทงั้ หลายแทดีหลี หมายมอี ินทาธริ าชเปนเคลา และทา วจตุโลกาลทง้ั สี่ และขอจงุ จักมารับเอายงั เครอื่ งขยี า และปจู าทั้งหลายมวลฝงู น้ี ในวนั น้ี กเ็ ปน วนั ....เดือน.....ออก/แรม......คํา่ อนั ผูข า ทัง้ หลาย กไ็ ดม ีจิตเลอ่ื มใส และหล่งิ นอ มเขามาในศาสนา และไดหือ้ ตวยตามจาํ ศีลภาวนาเมตตา และขอห้อื เปน กศุ ล สวนบุญอนั กวา งขวาง ผายแผกศุ ลสว นบุญ อันไปเถงิ ยังเจา ท้ังหลาย

216 จุตนจุองคๆ แลวจงุ เอากนั คลาดแคลว ขึน้ เมือสูปราสาทเมืองบน อนั เปน ท่ีอยแู หงตน แลวขอจกั เลง็ หนั ผขู าท้ังหลาย อันไดมาหอื้ ทาน และจําศลี ฟงธรรมเมตตาภาวนา และไดม าปูจาเจา ในวนั นี้ เทีย่ งแทดีหลแี ลว ขอหอื้ ยังผูข า ทัง้ หลาย ไดพนเสียจากยังอนาคตภัยใหญ และโจรภัยมนุษย และกรรมเคราะหท ้งั หลาย และโจรมารท้งั หลายในวนั น้ี และตนตวั ผูขา ท้ังหลาย ขออยาห้อื มีกังวลสนสอ แลคาํ รายตอใบหู อนั จกั ไดม าเปนศัตรู ก็ขอห้อื หลบหลีกปลกี เวน ไปไกลๆ แสนโยชนแล ทัง้ ทา วท้งั สีแ่ ละแมน างธรณี อันเปนสกั ขีหมายหนา จ่ือจําทาน และสัพประการใหญนอย อันผูขาทงั้ หลาย หากใฝนํามา ผขู าทั้งหลายขอหื้อพนจากทุกขพายหนา ขอแลวแตคํามักปรารถนา แหงผขู า ทง้ั หลาย อันมาชมชืน่ หนายินดี ในกําทงั้ หลายฝงู นแี้ ทด หี ลี แลว ขอเจาทงั้ หลายจุตนจุองค จุงจกั มาระวงั รักษา ตนตวั แหงผขู า ทั้งหลาย ชผุ ชู ุคน นอ ยใหญชายญิง เท่ียงแทดหี ลีเทอะ สวสฺสคี หิ สิทธฺ ิกจจฺ ํ สิทฺธิกมมฺ ํ สทิ ฺธลิ ากํ ภวนตฺ ุ เมฯ (หนานเตจา, มปป. 89 - 91) บทปน พรปใหมเ มอื ง สํานวนของรานประเทืองวทิ ยา เอวัง โหนตุ ดีแล อชั ช ในวันนี้กห็ ากเปน วนั ดี ดถิ ี วนั วเิ ศษ เหตวุ าสงั ขารปเกา กข็ า มพนไปแลว ปใหมแ กว พญาวนั ก็มารอดมาเถิง เทิงเจาทงั หลาย ก็บล ะเสียยงั รีต อดตี ปาเวณี อนั เปน มาลว งมาแลว ปางกอ น เจาทังหลายกบ็ ผอ นเสยี ยังศรัทธา จงึ ไดน อมนํามายงั สุคนั ธาโทตกะ ทานวัตถุทงั หลายฝงู นม้ี าถวายเปน ทาน เพอื่ จักมาขอขมาโทษณโทษ ผูขา ก็โปรดอโหสิกรรม แมนวาเจา ทังหลาย ไดก ระทําเปนทางดที างชอบ จงุ หอ้ื สมประกอบมโนปณธิ า และจงุ ห้อื มอี ายุ ฑฆี ายนื ยงิ่ โรคภัยสง่ิ หนีไกล ห้ือมวี รรณะในสดชน่ื เปน ทรี่ ักและพอใจแกผูอนื่ เขาหัน

217 หื้อมีความสขุ สันตท กุ คา่ํ เชา กาผกิ าสขุ เจตผกิ าสุขพรํ่าพรอ มบรบิ รู ณ หอ้ื มกี าํ ลงั อดุ หนุนเตือมแถง อยาหอ้ื เหีย่ วแหง ชปุ ระกา ห้อื สมดังคาํ พรวานกลาวไว สมดงั่ นกึ ไดชุประการเทีย่ งแทดีหลี สัพพีตีโย วิวชั สันตุ สพั พโลโค วินัสสนั ตุ มาเต ภวตวันตราโย สุขี ทีฑายุโก ภว อภวิ าทน สลี ิส นจิ จัง วุฑฒาปจายโิ น จัตตาโร ธัมมา วัชทนั ติ อายุ วัณโณ สขุ ขัง พลงั (ประเทืองวิทยา,๒๕๔๙ : ๒)

ภาคผนวก ข ภาพประกอบ

219 พธิ กี รรมเวนทาน ภาพประกอบ 1 การเวนทานขันดอกบูชาเสาอินทขลิ อ.เมือง จ.เชยี งใหม ภาพประกอบ 2 พิธีกรรมตงั้ ธรรมหลวง สาํ นักเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลยั เชยี งใหม

220 ภาพประกอบ 3 ชาวบา นชว ยกันขนทรายเขา วดั ภาพประกอบ 4 ชาวบา นนาํ ตุงไปปก ท่เี จดียท ราย

221 ภาพประกอบ 5 ชาวบา นนาํ ขา งเปลอื กและขาวสารมาถวายทาน ในพธิ กี รรมทานขาวใหม ภาพประกอบ 6 ตน สลากภตั ต

222 ภาพประกอบ 7 ตนสลากภตั ต ภาพประกอบ 8 พระสงฆรบั ตนสลาภตั ตแ ละใหพ รแกชาวบา น

223 ภาพประกอบ 9 ปจู ารยก ลาวเวนทานเนือ่ งในงานศพ ครูบาผดั วัดศรีดอนมูล อ.สารภี จ.เชยี งใหม ภาพประกอบ 10 ปราสาทนกหัสดลิ งิ ค ของครบู าผัด

224 พิธีกรรมสืบชาตา ภาพประกอบ 11 ชาวบา นชว ยกนั จดั เตรยี มเครอื่ งประกอบพธิ ีกรรมสืบชาตา ภาพประกอบ 12 ชาวบา นชวยกันจัดเตรยี มเครือ่ งประกอบพธิ ีกรรมสบื ชาตา

225 ภาพประกอบ 13 ชาวบานชวยกนั จดั เตรยี มเคร่อื งประกอบพธิ ีกรรมสืบชาตา ภาพประกอบ 14 ชาวบา นทรี่ ับจดั เตรยี มเคร่ืองประกอบพธิ ีกรรมสบื ชาตา

226 ภาพประกอบ 15 กลุม ชาวบา นทรี่ บั จดั เตรยี ม เคร่ืองประกอบพิธีกรรมสืบชาตา ภาพประกอบ 16 สะทวงเกา หอง (ขณะท่ียงั ไมไดบ รรจเุ ครื่องประกอบพธิ กี รรมอ่นื ๆ ลงไป) ใชเ ปน เครอ่ื งประกอบพิธีกรรมสบื ชาตา

227 ภาพประกอบ 17 สะทวงเกา หอ ง ใชเปนเคร่อื งประกอบพิธกี รรมสืบชาตา ภาพประกอบ 18 สะทวงเกา หอ งอกี รูปแบบหน่ึง

228 ภาพประกอบ 19 เทยี นรอ ยแปดเลม ภาพประกอบ 20 โขงชาตา

229 ภาพประกอบ 21 โขงชาตาในพิธกี รรมสบื ชาตาเมืองเชียงใหม ภาพประกอบ 22 เจดยี ท รายและปราสาททา วท้ังส่ี ในพธิ ีกรรมสบื ชาตาเมืองเชยี งใหม

230 ภาพประกอบ 23 เจาภาพนง่ั ใตโขงชาตา ภาพประกอบ 24 ผรู ว มพิธกี รรมสืบชาตานาํ ดายมาผกู ทีศ่ ีรษะ

231 ภาพประกอบ 25 ผรู วมพิธีกรรมสืบชาตาจบั ดา ยโยงตอกัน ภาพประกอบ 26 พระสงฆใ นพิธีสืบชาตาเมืองเชยี งใหม

232 ภาพประกอบ 27 ชาวบา นเดินทางมารวมพธิ ีกรรมสืบชาตาเมืองเชียงใหม ภาพประกอบ 28 ชาวบา นรวมพธิ ีกรรมสืบชาตาเมืองเชียงใหม

233 ภาพประกอบ 29 อนสุ าวรียสามกษตั ริย จดุ ศูนยก ลางการประกอบพิธกี รรม สืบชาตาเมืองเชยี งใหม พธิ กี รรมเรียกขวญั ภาพประกอบ 30 ปูจารยเรยี กขวญั ใหน าคทก่ี าํ ลงั จะอุปสมบท

234 ภาพประกอบ 31 ปูจารยเ รียกขวญั ใหล กู แกว ทกี่ ําลังจะอปุ สมบท ภาพประกอบ 32 ญาตผิ ใู หญผ ูกขอ มือใหคูบ า วสาวหลังจากปจู ารยเ รยี กขวญั เสรจ็

235 พธิ กี รรมสงเคราะห ภาพประกอบ 33 เครือ่ งบชู าครูของปูจ ารยในการประกอบพธิ ีกรรมสง เคราะห ภาพประกอบ 34 สะทวงเครอื่ งประกอบพธิ ีกรรมสงเคราะห

236 ภาพประกอบ 35 ปูจ ารยไหวค รกู อ นประกอบพิธกี รรม ภาพประกอบ 36 ปจู ารยกลา วบทสง เคราะห

237 ภาพประกอบ 37 สะทวงเคร่อื งประกอบพิธีกรรมบูชาขาวลดเคราะห ภาพประกอบ 38 สะทวงวางอยบู นเสอ้ื ผาของสมาชกิ ในบานสําหรบั นําไป ประกอบพิธกี รรมบูชาขา วลดเคราะห

238 ภาพประกอบ 39 สะทวงบชู าขาวลดเคราะหถ ูกนาํ ไปวางรวมกนั ไวหนา พระประธาน ภาพประกอบ 40 ชาวบา นจดุ ไฟเผาดา ยในพิธกี รรมบูชาขา วลดเคราะห

239 ภาพประกอบ 41 หลังประกอบพธิ กี รรมบูชาขาวลดเคราะหเสร็จ ชาวบา นจะนาํ สะทวงไปทง้ิ ที่นอกวดั ภาพประกอบ 42 ชาวบา นชว ยกนั จดั เตรียมสะทวงประกอบพธิ ีกรรมสงเคราะหบ า น