Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน วิชาสังคมศึกษา (ส31101) ชั้นม.4 (ครูยงยุทธ์ อ่อนนวล)

แผนการสอน วิชาสังคมศึกษา (ส31101) ชั้นม.4 (ครูยงยุทธ์ อ่อนนวล)

Published by ครูยงยุทธ์ อ่อนนวล, 2021-09-13 14:20:16

Description: แผนการสอน วิชาสังคมศึกษา (ส31101) ชั้นม.4 (ครูยงยุทธ์ อ่อนนวล)

Search

Read the Text Version

69 แบบประเมนิ กำรนำเสนอผลงำน คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนประเมินผลการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการ แล้วขีด ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดบั คะแนน ลำดบั ท่ี รำยกำรประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 ความถกู ต้องของเนื้อหา 2 การลาดบั ข้ันตอนของเรื่อง 3 วธิ ีการนาเสนอผลงานอย่างสรา้ งสรรค์ 4 การใช้เทคโนโลยใี นการนาเสนอ 5 การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม รวม ลงชือ่ ...................................................ผูป้ ระเมนิ ............/................./................ เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ สมบูรณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑก์ ำรตัดสินคุณภำพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภำพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรับปรงุ

70 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนรำยบุคคล คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รำยกำรประเมนิ ระดับคะแนน 321 1 การแสดงความคิดเหน็ 2 การยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ นื่ 3 การทางานตามหนา้ ที่ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 4 ความมีน้าใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงช่อื ...................................................ผูป้ ระเมนิ ............../.................../............. เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบางครัง้ เกณฑ์กำรตัดสินคุณภำพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภำพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

71 แบบสังเกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนกลมุ่ คำช้แี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกบั ระดับคะแนน กำรมี ลำดับที่ ชอ่ื – สกลุ กำรแสดง กำรยอมรบั กำรทำงำน ควำมมี สว่ นร่วมใน รวม ของนกั เรยี น ควำม ฟังคนอน่ื ตำมท่ีไดร้ บั นำ้ ใจ กำร 15 คดิ เหน็ มอบหมำย คะแนน ปรบั ปรุง ผลงำนกลมุ่ 321321321321321 เกณฑ์กำรให้คะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมนิ ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ............../.................../............... ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้ัง ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน

72 72 บันทึกหลงั กำรจัดกำรเรียนรู้ แผนที่ 2 เรอื่ ง เทคโนโลยภี ูมิสำรสนเทศ ความเหมาะสมของกิจกรรม ดี พอใช้ ปรับปรงุ ………………………. ความเหมาะสมของเน้ือหา ดี พอใช้ ปรับปรุง………………………. ความเหมาะสมของเวลา ดี พอใช้ ปรบั ปรุง………………………. ความเหมาะสมของสื่อ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ………………………. อ่นื ๆ……………………………………………………………………………………….....………..…………………… …........................................................................................…………………...………...................... 1. ผลที่เกิดข้ึนกบั ผูเ้ รียน 1) นกั เรียนอธิบายความสาคญั และประโยชนข์ องเทคโนโลยภี ูมิสารสนเทศได้ 2) ประยุกตค์ วามรู้เกย่ี วกับเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมาใช้ในชีวติ ประจาวันได้ 3) เหน็ คณุ คา่ ของการศึกษาเทคโนโลยภี มู ิสารสนเทศเพ่ือการใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตเพิ่มมากขนึ้ 2. ปัญหำและอปุ สรรค นกั เรียนบางส่วนยงั ขาดความสนใจในการเรียน และยังไมค่ อ่ ยใฝ่เรยี นรู้ 3. แนวทำงแกป้ ญั หำ/ข้อเสนอแนะ ใช้เทคนิคการสอนท่ีตรงกับสภาพของนักเรียน และมีการกระตุ้นความสนใจโดยการมีกิจกรรม ให้นกั เรยี นได้มีส่วนรว่ มมากขึ้น ลงชื่อ……….........………….......….…..……. ผูส้ อน ( นายยงยทุ ธ์ อ่อนนวล ) ตาแหนง่ : ครู 4. ควำมคิดเห็นของผู้อำนวยกำรโรงเรยี น ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….…… ลงชือ่ ………...………….......…...........…..…….…. (นางสาวรพพี รรณ กตี า) ผูอ้ านวยการโรงเรียน

73 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพของโลก เวลา 15 ชัว่ โมง 1. มำตรฐำนกำรเรยี นรู้/ตัวชวี้ ดั ส 5.1 เข้าใจลกั ษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธข์ องสรรพสง่ิ ซง่ึ มีผลต่อกัน ใชแ้ ผนท่แี ละ เครอื่ งมือทางภมู ิศาสตร์ในการค้นหา วเิ คราะห์ และสรปุ ขอ้ มูลตามกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ ตลอดจนใชภ้ ูมสิ ารสนเทศอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ม.4-6/1 วิเคราะหก์ ารเปล่ยี นแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซึ่งไดร้ บั อิทธิพลจากปจั จยั ทางภูมิศาสตร์ 2. สำระกำรเรียนรู้ 2.1 สำระกำรเรียนรู้แกนกลำง 1) การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ (ประกอบดว้ ย 1. ธรณภี าค 2. บรรยากาศภาค 3. อุทกภาค 4. ชวี ภาค) ของพ้ืนทใ่ี นประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ซ่ึงไดร้ บั อิทธิพลจากปจั จยั ทางภูมศิ าสตร์ 2) การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพที่สง่ ผลตอ่ ภมู ิประเทศ ภมู ิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ 2.2 สำระกำรเรยี นรูท้ ้องถิ่น (พิจารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา) 3. มโนทัศนส์ ำคัญ (Key Concept) - ปจั จยั ทางภูมศิ าสตรม์ ีอิทธพิ ลต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก ซ่ึง ส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมอิ ากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ 4. คำถำมหลัก (Big Question) 1. ปจั จัยทางภูมศิ าสตรท์ ี่สง่ ผลต่อการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพมีอะไรบ้าง อยา่ งไร 2. การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพส่งผลต่อภูมิประเทศ ภมู อิ ากาศ และทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทย และภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลกอยา่ งไร

5. กำรรู้เรื่องภูมศิ ำสตร์ (Geo–Literacy) 74 ควำมสำมำรถทำงภมู ศิ ำสตร์ กระบวนกำรทำงภูมิศำสตร์ ทกั ษะทำงภมู ศิ ำสตร์ 1. การใหเ้ หตุผลทางภูมิศาสตร์ 1. การต้ังคาถามเชิงภมู ิศาสตร์ 1. การแปลความข้อมูลทางภมู ศิ าสตร์ 2. การตดั สนิ ใจอย่างเป็นระบบ 2. การรวบรวมข้อมูล 2. การคิดเชงิ พ้นื ท่ี 3. การจดั การขอ้ มูล 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 5. การสรุปเพือ่ ตอบคาถาม 6. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. ความสามารถในการคิด 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการทางาน 1) ทกั ษะการสารวจคน้ หา 2) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู 3) ทักษะการวเิ คราะห์ 2. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ิต 7. ชิน้ งำน/ภำระงำน (รวบยอด) จดั ป้ายนเิ ทศแสดงผลการสบื คน้ ขอ้ มูลเร่ือง การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพของโลก 8. กำรวดั และกำรประเมนิ ผล วธิ ีวัด เครอื่ งมือ เกณฑ์กำร รำยกำรวัด ประเมิน 8.1 การประเมินช้นิ งาน/ - ประเมนิ การจดั ปา้ ยนิเทศ - แบบประเมินการจัดปา้ ย - ระดบั คุณภาพ 2 ภาระงาน (รวบยอด) แสดงผลการสบื คน้ ขอ้ มลู เรื่อง การเปล่ยี นแปลง นิเทศแสดงผลการสบื ค้น ผา่ นเกณฑ์ ทางกายภาพของโลก ข้อมูล เรอื่ ง การ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง กายภาพ ของโลก

75 รำยกำรวัด วธิ วี ดั เครอ่ื งมือ เกณฑก์ ำร - แบบทดสอบก่อนเรียน ประเมนิ 8.2 การวดั และประเมนิ ผล - ตรวจแบบทดสอบ - รอ้ ยละ 60 ผา่ น เกณฑ์ กอ่ นเรยี น ก่อนเรยี น - แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรือ่ ง การเปลี่ยนแปลง ทางกายภาพของโลก 8.3 การวัดและประเมินผล ระหวา่ งการจดั กิจกรรม 1) ธรณภี าค - ตรวจใบงานท่ี 2.1 - ใบงานท่ี 2.1 - ร้อยละ 60 ผ่าน - ใบงานที่ 2.2 เกณฑ์ 2) บรรยากาศภาค - ตรวจใบงานท่ี 2.2 - ใบงานที่ 2.3 - ร้อยละ 60 ผ่าน - ใบงานท่ี 2.4 เกณฑ์ 3) อุทกภาค - ตรวจใบงานที่ 2.3 - ใบงานท่ี 2.5 - รอ้ ยละ 60 ผา่ น เกณฑ์ 4) ชีวภาค - ตรวจใบงานที่ 2.4 - ร้อยละ 60 ผ่าน เกณฑ์ 5) การเปลี่ยนแปลง - ตรวจใบงานท่ี 2.5 - รอ้ ยละ 60 ผ่าน ทาง เกณฑ์ - ประเมินการนาเสนอ กายภาพท่ีสง่ ผลต่อ ผลงาน - แบบประเมิน - ระดบั คุณภาพ 2 ภูมิประเทศ - สังเกตพฤติกรรม ผลการนาเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์ ภมู อิ ากาศ และ การทางานรายบุคคล - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2 ทรัพยากรธรรมชาติ - สังเกตพฤตกิ รรม การทางานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์ 6) การนาเสนอผลงาน การทางานกลุ่ม - แบบสงั เกตพฤติกรรม - ระดบั คุณภาพ 2 7) พฤติกรรม การทางาน การทางานกลุม่ ผ่านเกณฑ์ รายบุคคล 8) พฤตกิ รรม การทางานกล่มุ

76 รำยกำรวัด วธิ วี ดั เครอื่ งมอื เกณฑ์กำร ประเมนิ 9) คุณลกั ษณะ - ประเมินคณุ ลักษณะ - แบบประเมินคุณลกั ษณะ - ระดับคุณภาพ 2 อนั พงึ ประสงค์ อันพงึ ประสงค์ อนั พงึ ประสงค์ ผ่านเกณฑ์ 8.4 การวัดและประเมนิ ผล - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรยี น - รอ้ ยละ 60 ผ่าน เกณฑ์ หลงั เรยี น หลงั เรยี น - แบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เร่ือง การเปล่ียนแปลง ทางกายภาพของโลก 8.5 การรูเ้ ร่อื งทาง - ประเมนิ การจดั ป้ายนเิ ทศ - แบบประเมนิ การจดั ป้าย - ระดับคุณภาพ 2 ภมู ศิ าสตร์ แสดงผลการสืบค้นข้อมูล นิเทศแสดงผลการสบื ค้น ผ่านเกณฑ์ เรื่อง การเปล่ียนแปลง ข้อมูล เร่ือง การ ทางกายภาพของโลก เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง กายภาพ ของโลก 9. กิจกรรมกำรเรียนรู้ นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 เรอื่ ง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก เร่ืองที่ 1 : ธรณภี ำค วธิ สี อนแบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) เวลำ 3 ชว่ั โมง ขนั้ นำ นักเรียนชมภาพหรือคลิปวิดีโอเกีย่ วกบั การเปล่ียนแปลงทางกายภาพของโลก แล้วตอบคาถามกระตุ้นความคิด ข้นั สอน ขั้นท่ี 1 กำรตั้งคำถำมเชิงภูมิศำสตร์ 1. นักเรียนดภู าพและคลปิ วดิ โี อเก่ยี วกบั โครงสร้างของเปลอื กโลก การเลือ่ นของทวปี และการเคลื่อนทีข่ อง แผ่นธรณภี าค แล้วรว่ มกนั อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ 2. นกั เรยี นช่วยกนั ตั้งคาถามเชิงภูมศิ าสตร์

77 ขน้ั ท่ี 2 กำรรวบรวมขอ้ มลู 1. ครใู ห้นักเรียนแบ่งกลุ่ม และให้ร่วมกนั สบื ค้นขอ้ มลู เกยี่ วกับการเปลย่ี นแปลงทางธรณีภาค โดยใช้ เครื่องมือทางภูมศิ าสตรต์ ามประเด็นทีน่ ักเรียนร่วมกนั กาหนด 2. ครูแนะนาแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศเพม่ิ เติม ขน้ั ท่ี 3 กำรจดั กำรขอ้ มลู 1. สมาชิกแตล่ ะคนในกลมุ่ นาขอ้ มูลที่ตนไดจ้ ากการรวบรวมมาอธบิ ายแลกเปล่ยี นความรู้ระหวา่ งกนั 2. จากน้นั สมาชิกในกลุ่มช่วยกันคดั เลือกขอ้ มลู เพื่อให้ไดข้ ้อมลู ที่ถูกต้อง ขั้นที่ 4 กำรวเิ ครำะห์และแปลผลข้อมูล 1. สมาชิกแตล่ ะกลุม่ นาขอ้ มูลท่ีได้จากการศึกษามาทาการวิเคราะห์ และรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งของ ข้อมลู โดยครูช่วยชแี้ นะเพิ่มเติม 2. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มอภิปรายผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล และเชอื่ มโยงความรูเ้ พ่ิมเตมิ ถึงโครงสร้างทาง ธรณีวทิ ยา การกร่อนของหินและดิน รวมไปถงึ การพดั พาและการทับถม 3. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอขอ้ มูลจากการศกึ ษาธรณภี าคและการเปลี่ยนแปลงทางธรณภี าค สมาชกิ กลุ่ม อ่นื เสนอข้อคิดเหน็ หรอื ข้อเสนอแนะเพิม่ เตมิ ข้นั ที่ 5 กำรสรปุ เพ่อื ตอบคำถำม 1. นกั เรียนรว่ มกันสรปุ เกีย่ วกบั การใช้เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์ และเครอ่ื งมือด้านเทคโนโลยีในการสบื ค้น ธรณีภาคและการเปล่ยี นแปลงทางธรณภี าค 2. สมาชิกในแต่ละกลุ่มชว่ ยกันสรปุ สาระสาคัญเพอื่ ตอบคาถามเชิงภูมิศาสตร์ 3. นกั เรียนรว่ มกนั ทาใบงานท่ี 2.1 เรอ่ื ง ปรากฏการณท์ างธรณีภาค และร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้องของ ใบงาน ข้นั สรุป นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ธรณีภาคและการเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาค ตลอดจนความสาคัญท่มี อี ทิ ธิพลต่อการ ดาเนนิ ชีวติ ของประชากร เรื่องที่ 2 : บรรยำกำศภำค เวลำ 3 ชั่วโมง วิธสี อนแบบกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ขั้นนา นกั เรยี นชมภาพหรอื คลปิ วดิ ีโอเกย่ี วกบั การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกด้านบรรยากาศภาค แล้วตอบคาถามกระตุ้นความคิด

78 ข้ันสอน ข้นั ท่ี 1 กำรต้ังคำถำมเชิงภูมศิ ำสตร์ 1. นกั เรียนดูภาพและคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการแบง่ ช้ันบรรยากาศ แล้วร่วมกนั ตอบคาถาม 2. นกั เรียนชว่ ยกันตัง้ คาถามเชงิ ภูมิศาสตร์ ขน้ั ที่ 2 กำรรวบรวมขอ้ มูล 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม และให้ร่วมกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางบรรยากาศภาค โดยใช้ เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตรต์ ามประเด็นทีน่ กั เรยี นร่วมกนั กาหนด 2. ครูแนะนาแหล่งข้อมลู สารสนเทศเพมิ่ เตมิ ขั้นท่ี 3 กำรจดั กำรข้อมูล 1. สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่มนาข้อมูลที่ตนได้จากการรวบรวมมาอธบิ ายแลกเปลีย่ นความร้รู ะหวา่ งกนั 2. จากน้ันสมาชิกในกลุ่มชว่ ยกันคัดเลอื กขอ้ มลู เพ่ือใหไ้ ดข้ ้อมลู ที่ถกู ตอ้ ง ขน้ั ท่ี 4 กำรวิเครำะห์และแปลผลข้อมลู 1. สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ นาข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการศกึ ษามารว่ มกนั วเิ คราะหต์ รวจสอบความถูกตอ้ งของขอ้ มูล และ วเิ คราะหเ์ ชอ่ื มโยงเพ่มิ เติมถึงลักษณะอณุ หภูมเิ ฉล่ียทัง้ ของโลกและของไทย ความกดอากาศ ทิศทางการ เคลอื่ นท่ีของลม ประเภทของลม รวมไปถึงนา้ และการเปลีย่ นแปลงสถานะ โดยครูช่วยช้ีแนะเพิ่มเตมิ 2. สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ อภิปรายผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 3. นกั เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอขอ้ มูลจากการศกึ ษาบรรยากาศภาคและการเปลยี่ นแปลงทางบรรยากาศภาค สมาชกิ กลมุ่ อื่นเสนอข้อคดิ เหน็ หรือข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ขัน้ ที่ 5 กำรสรปุ เพือ่ ตอบคำถำม 1. นกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ เกยี่ วกบั การใช้เครอื่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ และเคร่ืองมอื ดา้ นเทคโนโลยีในการสบื คน้ บรรยากาศภาคและการเปลยี่ นแปลงทางบรรยากาศภาค 2. สมาชกิ ในแตล่ ะกลุม่ ชว่ ยกนั สรุปสาระสาคญั เพ่ือตอบคาถามเชงิ ภมู ศิ าสตร์ 3. นักเรียนรว่ มกันทาใบงานท่ี 2.2 เรือ่ ง บรรยากาศภาคและการเปล่ียนแปลงทางบรรยากาศภาค และ ร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ต้องของใบงาน ขน้ั สรุป นักเรียนร่วมกนั สรปุ บรรยากาศภาคและการเปลี่ยนแปลงทางบรรยากาศภาค ตลอดจนความสาคัญที่มีอิทธิพล ตอ่ การดาเนินชีวติ ของประชากร

เรื่องที่ 3 : อทุ กภำค 79 วธิ ีสอนแบบกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ (Geographic Inquiry Process) เวลำ 3 ชัว่ โมง ขน้ั นา นกั เรียนชมภาพหรอื คลิปวดิ ีโอเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกด้านอุทกภาค แลว้ ตอบคาถาม กระต้นุ ความคิด ขัน้ สอน ข้นั ที่ 1 กำรตั้งคำถำมเชิงภมู ิศำสตร์ 1. นกั เรียนดูแผนผงั แสดงวฏั จกั รทางอุทกวิทยา แลว้ รว่ มกนั อภปิ รายแสดงความคิดเห็น 2. นกั เรียนช่วยกันตง้ั คาถามเชิงภมู ศิ าสตร์ ขนั้ ที่ 2 กำรรวบรวมขอ้ มลู 1. ครูให้นักเรยี นแบ่งกล่มุ และใหร้ ว่ มกันสืบค้นขอ้ มูลเกีย่ วกับการเปล่ยี นแปลงทางอทุ กภาค โดยใช้ เครอ่ื งมอื ทางภูมศิ าสตรต์ ามประเดน็ ที่นกั เรยี นร่วมกนั กาหนด 2. ครแู นะนาแหล่งขอ้ มลู สารสนเทศเพม่ิ เตมิ ข้นั ท่ี 3 กำรจดั กำรข้อมูล 1. สมาชกิ แตล่ ะคนในกล่มุ นาข้อมูลท่ีตนได้จากการรวบรวมมาอธิบายแลกเปลยี่ นความรู้ระหว่างกนั 2. จากนนั้ สมาชกิ ในกลมุ่ ช่วยกนั คดั เลือกข้อมูลเพ่ือให้ไดข้ ้อมลู ที่ถกู ต้อง ข้ันท่ี 4 กำรวเิ ครำะห์และแปลผลขอ้ มูล 1. สมาชิกแตล่ ะกลมุ่ นาข้อมูลท่ีได้จากการศึกษามารว่ มกันวเิ คราะหต์ รวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมลู และ วิเคราะหเ์ ช่ือมโยงถงึ แหล่งนา้ ใต้ดนิ แหลง่ น้าผวิ ดิน พ้นื ทีล่ ุ่มน้าสาคัญ รวมถงึ การไหลเวียนและอิทธพิ ลของ กระแสนา้ ในมหาสมุทร โดยครูช่วยช้แี นะเพ่ิมเตมิ 2. สมาชิกแต่ละกลมุ่ อภิปรายผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 3. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนาเสนอขอ้ มูลจากการศกึ ษาอุทกภาค สมาชกิ กลุ่มอื่นเสนอข้อคิดเห็น หรือ ข้อเสนอแนะเพมิ่ เติม 4. นักเรยี นรว่ มกนั ทาใบงานท่ี 2.3 เร่ือง ปรากฏการณท์ างอุทกภาค และร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งของ ใบงาน ข้ันท่ี 5 กำรสรปุ เพื่อตอบคำถำม 1. นักเรยี นร่วมกนั สรปุ เกย่ี วกบั การใช้เคร่อื งมอื ทางภูมศิ าสตร์ และเคร่ืองมอื ดา้ นเทคโนโลยีในการสืบค้น อทุ กภาค

80 2. สมาชิกในแต่ละกลุม่ ชว่ ยกนั สรปุ สาระสาคัญเพื่อตอบคาถามเชงิ ภมู ิศาสตร์ ขั้นสรปุ นักเรยี นร่วมกนั สรุปอุทกภาค ตลอดจนความสาคัญท่มี ีอทิ ธพิ ลต่อการดาเนินชวี ติ ของประชากร เร่อื งที่ 4 : ชีวภำค เวลำ 3 ชว่ั โมง วิธีสอนแบบกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ (Geographic Inquiry Process) ข้ันนา ครูใหน้ กั เรียนดภู าพระบบนเิ วศแต่ละพน้ื ที่ เช่น ทุนดรา ป่าฝนเขตรอ้ น ทะเลทราย เทอื กเขาสูง ป่าสน ทุ่งหญา้ เขตรอ้ น ฯลฯ จากนัน้ อภปิ รายแสดงความคิดร่วมกนั ขัน้ สอน ขน้ั ที่ 1 กำรตั้งคำถำมเชิงภมู ิศำสตร์ 1. ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาแผนท่ีแสดงเขตชีวนิเวศของโลก แลว้ รว่ มกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ 2. นักเรียนชว่ ยกนั ตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์ ขน้ั ที่ 2 กำรรวบรวมขอ้ มูล 1. ครใู ห้นักเรยี นแบง่ กลุ่ม และใหร้ ่วมกันสืบคน้ ขอ้ มลู เกี่ยวกับการเปลยี่ นแปลงทางชวี ภาค โดยใช้ เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ตามประเดน็ ท่นี กั เรียนรว่ มกนั กาหนด 2. ครแู นะนาแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศเพมิ่ เติม ขั้นท่ี 3 กำรจดั กำรข้อมลู 1. สมาชิกแตล่ ะคนในกลมุ่ นาขอ้ มูลที่ตนได้จากการรวบรวมมาอธิบายแลกเปลยี่ นความร้รู ะหวา่ งกนั 2. จากนนั้ สมาชิกในกลุ่มชว่ ยกันคัดเลือกขอ้ มลู เพื่อให้ไดข้ อ้ มูลที่ถกู ตอ้ ง ขั้นที่ 4 กำรวิเครำะหแ์ ละแปลผลข้อมลู 1. สมาชิกแต่ละกลมุ่ นาข้อมูลทีไ่ ดจ้ ากการศกึ ษามารว่ มกันวิเคราะห์ และตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มูล รวมถึงทาการวิเคราะหเ์ ชื่อมโยงถึงความหลากหลายทางชีวภาค โดยครูช่วยช้ีแนะเพม่ิ เติม 2. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มนาเสนอและรว่ มกนั อภปิ รายผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล สมาชิกกล่มุ อืน่ เสนอขอ้ คิดเหน็ หรอื ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม 3. นักเรียนร่วมกนั ทาใบงานที่ 2.4 เรือ่ ง ระบบชีวนเิ วศ และรว่ มกันตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน

81 ข้ันท่ี 5 กำรสรุปเพือ่ ตอบคำถำม 1. นักเรียนรว่ มกนั สรุปเกย่ี วกบั การใช้เครือ่ งมือทางภมู ิศาสตร์ และเครอื่ งมือด้านเทคโนโลยีในการสืบค้น ชีวภาคและการเปลยี่ นแปลงทางชีวภาค 2. สมาชิกในแต่ละกลมุ่ ช่วยกันสรุปสาระสาคัญเพอ่ื ตอบคาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ ข้นั สรุป นกั เรียนร่วมกนั สรุปชีวภาคและการเปลี่ยนแปลงทางชวี ภาค ตลอดจนความสาคัญทมี่ ีอทิ ธพิ ลต่อการดาเนิน ชวี ติ ของประชากร เรื่องที่ 5 : กำรเปล่ียนแปลงทำงกำยภำพท่ีส่งผลตอ่ ภมู ปิ ระเทศ ภมู ิอำกำศ และทรพั ยำกรธรรมชำติ วิธีสอนแบบกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ (Geographic Inquiry Process) เวลำ 3 ช่ัวโมง ขัน้ นา ครูให้นักเรียนดภู าพตัวอยา่ งการเปล่ียนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลตอ่ ภูมิประเทศ ภมู ิอากาศ และ ทรพั ยากรธรรมชาติ จากนัน้ สมุ่ นักเรียนเพอื่ ตอบคาถามและอภปิ รายแสดงความคิดรว่ มกัน ขนั้ สอน ขั้นท่ี 1 กำรต้ังคำถำมเชิงภมู ศิ ำสตร์ 1. นกั เรยี นดูรปู ถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทยี มที่เก่ยี วขอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพทีส่ ่งผล ตอ่ ภมู ิประเทศ ภูมอิ ากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ แล้วร่วมกันตอบคาถาม 2. นักเรยี นรว่ มกันศกึ ษาโครงสรา้ งภูมปิ ระเทศทเี่ กิดจากนา้ ใตด้ นิ และนา้ ทะเล 3. นกั เรียนรว่ มกนั ตงั้ คาถามเชงิ ภมู ิศาสตร์ ขัน้ ที่ 2 กำรรวบรวมข้อมลู 1. ครูให้นักเรยี นแบ่งกลุ่ม และใหร้ ่วมกนั สืบคน้ ข้อมูลเกย่ี วกับการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพท่ีสง่ ผล ต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ โดยใชเ้ คร่อื งมอื ทางภูมศิ าสตรต์ ามประเด็นท่ี นกั เรียนร่วมกนั กาหนด 2. ครแู นะนาแหล่งข้อมลู สารสนเทศเพ่ิมเตมิ ขั้นที่ 3 กำรจดั กำรข้อมูล 1. สมาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่มนาขอ้ มูลท่ีตนได้จากการรวบรวมมาอธิบายแลกเปล่ียนความรูร้ ะหวา่ งกนั 2. จากนั้นสมาชกิ ในกลมุ่ ช่วยกนั คดั เลือกขอ้ มูลเพ่ือใหไ้ ดข้ ้อมูลที่ถกู ตอ้ ง

82 ขัน้ ท่ี 4 กำรวเิ ครำะหแ์ ละแปลผลข้อมลู 1. สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ นาข้อมูลทไี่ ด้จากการศึกษามาทาการนาเสนอ และร่วมกนั วิเคราะห์ตรวจสอบความ ถกู ตอ้ งของขอ้ มลู โดยครูชว่ ยชแ้ี นะเพิ่มเตมิ 2. สมาชกิ แตล่ ะกลมุ่ นาเสนอและร่วมกันอภปิ รายผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล รวมถงึ ตอบคาถามเพ่ือเป็นการ วเิ คราะหเ์ พมิ่ เตมิ เกี่ยวกับการเปล่ยี นแปลงทางกายภาพทีส่ ่งผลต่อภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ และ ทรัพยากรธรรมชาติ 3. นักเรียนรว่ มกันทาใบงานที่ 2.5 เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อภูมปิ ระเทศ ภูมอิ ากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ แล้วร่วมกันตรวจสอบความถกู ตอ้ งของใบงาน ข้นั ที่ 5 กำรสรุปเพอื่ ตอบคำถำม 1. นกั เรียนรว่ มกนั สรปุ เกีย่ วกบั การใชเ้ ครือ่ งมือทางภมู ศิ าสตร์ และเคร่ืองมือด้านเทคโนโลยีในการสบื ค้น การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพทส่ี ่งผลต่อภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ 2. สมาชกิ ในแต่ละกลุ่มช่วยกันสรปุ สาระสาคญั เพ่ือตอบคาถามเชิงภูมศิ าสตร์ ข้ันสรุป นกั เรียนร่วมกนั สรปุ การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพทสี่ ่งผลตอ่ ภมู ปิ ระเทศ ภมู ิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนความสาคัญทีม่ ีอทิ ธพิ ลตอ่ การดาเนนิ ชวี ิตของประชากร 10. ส่อื /แหลง่ กำรเรยี นรู้ 10.1 สอื่ กำรเรียนรู้ 1) หนงั สือเรยี นภูมิศาสตร์ ม.4-6 2) แบบฝึกสมรรถนะและการคดิ ภูมิศาสตร์ ม.4-6 3) แบบวดั และบันทึกผลการเรียนรู้ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6 4) หนังสอื คน้ ควา้ เพิม่ เติม (1) โครงการตาราวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์มลู นิธิ สอวน. 2557. ภูมิศำสตรก์ ำยภำพ. กรงุ เทพมหานคร : ด่านสุทธาการพิมพ.์ (2) โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตรม์ ูลนธิ ิ สอวน. 2559. ภูมศิ ำสตร์เทคนคิ . กรงุ เทพมหานคร : ดา่ นสุทธาการพิมพ์. (3) โครงการตาราวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์มลู นิธิ สอวน. 2557. ภูมศิ ำสตร์มนษุ ย์. กรุงเทพมหานคร : ดา่ นสทุ ธาการพิมพ.์ (4) ปญั ญา จารุศริ .ิ ธรณวี ทิ ยำแปรสัณฐำน. 2558. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาธรณวี ิทยา คณะวทิ ยาศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . (5) แผนทีท่ หาร, กรม. ม.ป.ป. แผนที่เล่มประเทศไทยมำตรำส่วน 1 : 3,000,000. กรุงเทพมหานคร : กรมแผนทีท่ หาร.

83 5) เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์ ได้แก่ แผนท่ี ลูกโลกจาลอง รูปถา่ ยทางอากาศ และภาพจากดาวเทียม 6) ใบงานที่ 2.1 เรอ่ื ง ปรากฏการณ์ทางธรณีภาค 7) ใบงานที่ 2.2 เรื่อง บรรยากาศภาคและการเปลย่ี นแปลงทางบรรยากาศภาค 8) ใบงานท่ี 2.3 เรอ่ื ง ปรากฏการณ์ทางอทุ กภาค 9) ใบงานที่ 2.4 เร่อื ง ระบบชวี นิเวศ 10) ใบงานที่ 2.5 เร่อื ง การเปล่ียนแปลงทางกายภาพทส่ี ง่ ผลตอ่ ภูมิประเทศ ภูมอิ ากาศ และ ทรพั ยากรธรรมชาติ 10.2 แหลง่ กำรเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ - http://www.learners.in.th/blogs/posts/32187 - http://earth.google.co.th - http://maps.google.co.th - http://thaigoodview.com - https://www.youtube.com/watch?v=fsUnFAQdUSA - https://www.youtube.com/watch?v=fjfXZzx04So - https://www.youtube.com/watch?v=3NAuTj_iCbA - https://etcgeography.wordpress.com

84 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยกำรเรยี นรู้ท่ี 2 คำชี้แจง : ให้นกั เรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ขอ้ ใดเปน็ สว่ นของเปลอื กโลกทีเ่ รียกวา่ ธรณภี าค 7. เพราะเหตใุ ด อณุ หภูมิบนยอดเขาจงึ เยน็ กวา่ อุณหภมู ิของ ก. ชน้ั เปลือกโลกเพยี งอย่างเดียว อากาศบรเิ วณเชงิ เขา ข. ชน้ั เนื้อโลกส่วนกลางกบั ชนั้ แก่นโลก ก. บนยอดเขามีลมพัดแรงกวา่ เชงิ เขา ค. ช้นั เนือ้ โลกสว่ นบนกับชั้นเปลอื กโลก ข. บนยอดเขามตี ้นไม้มากลมจงึ พดั ไดแ้ รง ง. ชนั้ เปลือกโลกท้ังหมดกบั ชนั้ ในเน้อื โลก ค. บนยอดเขามีความกดอากาศนอ้ ยกว่าเชิงเขา 2. การเลอ่ื นของทวปี ท่ีเรียกวา่ แผ่นดินพันเจยี มลี ักษณะอยา่ งไร ง. บนยอดเขามีความกดอากาศมากกว่าเชิงเขา ก. พน้ื ผิวทเ่ี ป็นทะเล 8. การเคลือ่ นท่ขี องลมมีทิศทางเปน็ อย่างไร ข. ทวีปท่แี ยกกันเป็น 2 ทวปี ก. จากหยอ่ มความกดอากาศสูงไปสู่หย่อมความกดอากาศตา่ ค. แผ่นดนิ ท่ีจมอยใู่ ตม้ หาสมุทร ข. จากหยอ่ มความกดอากาศตา่ ไปส่หู ยอ่ มความกดอากาศสูง ง. เปลอื กโลกทเี่ ชอ่ื มตอ่ กันเป็นทวปี เดยี ว ค. จากหย่อมความกดอากาศสงู ไปสู่หยอ่ มความกดอากาศสงู 3. เทอื กเขาหิมาลยั เกิดจากปรากฏการณ์ทางธรณีภาคแบบใด ง. จากหยอ่ มความกดอากาศต่าไปส่หู ยอ่ มความกดอากาศตา่ ก. การชนกนั ของแผน่ เปลอื กโลก 9. ชัน้ โอโซนมีประโยชนต์ ่อโลกอยา่ งไร ข. การแยกกันของแผน่ เปลือกโลก ก. ช่วยให้อากาศสดชืน่ ค. การเฉือนกนั ของแผ่นเปลอื กโลก ข. ช่วยดดู กลนื รังสอี ัลตราไวโอเลต ง. การคดโค้งโกง่ งอของแผ่นเปลือกโลก ค. ช่วยลดปรมิ าณสารพิษในอากาศ 4. ขอ้ ใดสาคญั เปน็ อันดับแรกในการบ่งบอกถงึ การเป็นบริเวณ ง. ชว่ ยเพมิ่ ปรมิ าณออกซิเจนในอากาศ วงแหวนแหง่ ไฟ 10. ข้อใดเป็นลกั ษณะการเกดิ ปรากฏการณ์เอลนีโญ ก. มีแนวรอยตอ่ ของแผ่นธรณภี าคหลายแผน่ ก. นา้ ในมหาสมทุ รแปซฟิ ิกดา้ นตะวนั ตกมอี ุณหภูมิคงที่ ข. มกี ารเคลื่อนทข่ี องแผ่นธรณภี าคตลอดเวลา ข. นา้ ในมหาสมุทรแปซฟิ ิกดา้ นตะวนั ตกมอี ณุ หภูมิสูงข้ึน ค. มภี เู ขาไฟระเบิดมากทีส่ ุดในโลก ทัง้ ในแผน่ ดนิ และ ค. นา้ ในมหาสมุทรแปซฟิ ิกด้านตะวันออกมีอณุ หภูมิสูงขึ้น ใต้มหาสมทุ ร ง. นา้ ในมหาสมทุ รแปซฟิ กิ ด้านตะวนั ออกมีอณุ หภมู ิลดลง ง. มีแผ่นดนิ ไหวรนุ แรงมากทส่ี ดุ ในโลกถึงรอ้ ยละ 80 ของการ 11. ปัจจัยในข้อใดท่ีสาคญั ทสี่ ดุ ในการเกดิ วฏั จักรของน้า เกิดแผ่นดินไหวในโลก ก. ลม ข. ปา่ ไม้ 5. กระแสน้า ลม ธารนา้ แข็ง แรงโน้มถ่วงของโลก เรียก ค. ส่ิงมชี วี ิต ง. ความร้อน กระบวนการน้วี า่ อะไร 12. หากใช้แหลง่ นา้ จืดข้อใดในปรมิ าณมาก จะมีผลต่อการทรดุ ตัว ก. การกร่อน ข. การพัดพา หรือยบุ ตัวของแผ่นดนิ ค. การตกตะกอน ง. การผพุ งั อยู่กบั ที่ ก. นา้ ในดิน 6. บรรยากาศชั้นใดของโลกท่ีเกิดเมฆพายฝุ นฟ้าคะนอง ข. นา้ ผิวดนิ ก. เมโซสเฟียร์ ข. โทรโฟสเฟียร์ ค. นา้ บาดาล ค. เทอร์โมสเฟียร์ ง. สแตรโทสเฟียร์ ง. นา้ ในอ่างเกบ็ น้า

85 13. เพราะเหตใุ ด การสร้างเขือ่ นกนั้ แม่น้าโขงของประเทศจีน 17. ปจั จยั ทางกายภาพขอ้ ใดมอี ทิ ธพิ ลต่อการเปลยี่ นแปลงระบบ จงึ ส่งผลกระทบต่อระบบนเิ วศของแม่น้าโขงตอนล่าง ชวี นิเวศของโลกมากที่สดุ ก. ทาให้นา้ ต้ืนเขิน ก. ดิน ไฟป่า ข. ทาใหม้ สี ารพิษในน้า ข. อุณหภมู ิ ความชืน้ ค. ทาให้ตล่งิ กน้ั น้าพังทลาย ง. แสงสวา่ ง แก๊สในบรรยากาศ ง. ทาใหก้ ารขนึ้ ลงของน้าผิดปกติ ค. กระแสนา้ ความกดอากาศ 14. ขอ้ ใดเป็นสาเหตุท่ที าให้ลักษณะทางกายภาพของท้องทะเล 18. ระบบนิเวศในบรเิ วณใดทม่ี ีความหลากหลายของส่งิ มีชีวติ เมอื งดูไบ มีการเปลย่ี นแปลงไปจากเดิม มากทส่ี ุด ก. การทิ้งของเสยี จากครวั เรอื น ก. ปา่ ฝนเขตร้อนในแถบศนู ย์สูตร ข. การขยายพืน้ ท่ีดว้ ยการถมทะเล ข. ทงุ่ หญ้าสะวนั นาในทวีปแอฟรกิ า ค. การจับสัตวน์ า้ และเก็บปะการังมากเกินไป ค. ป่าเขตอบอ่นุ ในทวีปออสเตรเลีย ง. การรวั่ ไหลของนา้ มันเช้ือเพลงิ จากเรือประมง ง. ป่าสนหรือไทกาในไซบีเรยี ประเทศรัสเซยี 15. “คูรลิ แบงส์” พบไดใ้ นบริเวณใด 19. เมอื่ เกดิ การเปลย่ี นแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิบรเิ วณภูเขาไฟท่ี ก. มหาสมทุ รอินเดยี ข. กลางมหาสมุทรแปซฟิ ิก ปะทใุ หม่ ๆ ส่งิ มชี ีวติ ท่ีจะเข้ามาอยู่ในพนื้ ทไี่ ดเ้ ป็นกล่มุ แรก ค. ทางตะวันตกของประเทศญ่ปี นุ่ ง. ทางตะวันออกของประเทศญี่ปนุ่ คอื ขอ้ ใด 16. ปา่ ท่ีขึ้นได้ดใี นสภาพแวดลอ้ มท่เี ป็นดินเลนและน้ากร่อย ก. ไมล้ ้มลกุ ข. หญ้าและวัชพืช มพี นั ธไุ์ ม้และสตั วน์ ้าเจริญเติบโตได้ดคี ือป่าชนิดใด มีความสาคัญอยา่ งไร ค. มอสสแ์ ละไลเคน ง. เหด็ ราและสาหร่าย ก. ป่าสน : แหล่งประมง ข. ปา่ แดง : แหล่งทอ่ งเทีย่ ว 20. ปัจจยั รา้ ยแรงทส่ี ุดทท่ี าให้เกิดการเปล่ียนแปลงแทนที่ของ ค. ป่าดงดิบ : แหล่งเกบ็ ปะการงั ชายฝงั่ ง. ป่าชายเลน : แหล่งรักษาสมดลุ ของระบบนิเวศชายฝง่ั สิ่งมชี วี ิตในธรรมชาติคอื ข้อใด ก. ปัจจยั ทางเคมี ข. ปจั จยั ทางฟิสิกส์ ค. ปัจจัยทางชีวภาพ ง. ปจั จัยทางกายภาพ เฉลย 1. ค. 2. ง. 3. ก. 4. ง. 5. ก. 6. ข. 7. ค. 8. ก. 9. ข. 10. ค. 11. ง. 12. ค. 13. ง. 14. ข. 15. ง. 16. ง. 17. ข. 18. ก. 19. ค. 20. ค.

86 แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี 3 หน่วยท่ี 2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก เรอื่ ง ธรณภี ำค สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เวลา 3 ชัว่ โมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ผ้สู อน นายยงยุทธ์ อ่อนนวล ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชวี้ ัด 1.1 ตัวชี้วดั ส 5.1 เขา้ ใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพนั ธ์ของสรรพส่งิ ซง่ึ มผี ลตอ่ กัน ใชแ้ ผนที่ และเครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตรใ์ นการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมลู ตามกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใช้ ภมู สิ ารสนเทศอย่างมปี ระสิทธิภาพ ม.4-6/1 วเิ คราะหก์ ารเปล่ียนแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซึ่ง ได้รับอทิ ธพิ ลจากปจั จยั ทางภมู ศิ าสตร์ 2. จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ 1. วิเคราะห์การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพดา้ นธรณีภาคของพ้ืนที่ในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของ โลก ซง่ึ ไดร้ ับอิทธิพลจากปัจจยั ทางภมู ิศาสตร์ได้ (K) 2. วิเคราะห์โครงสรา้ งและกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณภี าคของโลกได้ (K) 3. เลอื กใชเ้ คร่อื งมือทางภูมศิ าสตรใ์ นการศึกษาการเปลย่ี นแปลงทางกายภาพดา้ นธรณีภาคของพ้ืนทีใ่ น ประเทศไทยและภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลก ซึ่งได้รบั อิทธิพลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ได้ (P) 4. สนใจศึกษาการเปล่ียนแปลงทางกายภาพของพน้ื ท่ใี นประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซ่ึง ได้รบั อิทธิพลจากปจั จัยทางภูมศิ าสตร์เพ่มิ มากขน้ึ (A) 3. สำระกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรยี นรทู้ อ้ งถิ่น สำระกำรเรยี นรูจ้ ำกสือ่ (พจิ ารณาตามหลกั สูตร - การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สำระกำรเรยี นรู้แกนกลำง ของ 1) การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ สถานศึกษา) พ้ืนท่ีในประเทศไทยและ (ประกอบด้วย 1. ธรณีภาค ภูมิภาค 2. บรรยากาศภาค 3. อทุ กภาค 4. ชวี ภาค) ของพืน้ ท่ีใน ตา่ ง ๆ ของโลกในดา้ นธรณี ประเทศ ภาค ไทยและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซง่ึ ได้รับอิทธพิ ลจากปัจจยั ทาง ภมู ิศาสตร์

87 2) การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ที่ ส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมอิ ากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ 4. มโนทศั นส์ ำคญั (Key Concept) - ปัจจยั ทางภูมิศาสตร์มอี ิทธพิ ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพดา้ นธรณีภาคในประเทศไทยและ ภูมิภาคต่างๆ ของโลก ซึ่งส่งผลต่อภมู ิประเทศ ภูมิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ 5. คำถำมหลัก (Big Question) 1. ปจั จยั ทางภมู ศิ าสตรท์ ่สี ่งผลต่อการเปล่ยี นแปลงทางกายภาพดา้ นธรณภี าคมีอะไรบ้าง อย่างไร 2. การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพด้านธรณภี าคสง่ ผลต่อภมู ิประเทศ ภูมิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ ในประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลกอยา่ งไร 6. กำรรเู้ ร่อื งภมู ศิ ำสตร์ (Geo–Literacy) ทักษะทำงภมู ิศำสตร์ 1. การแปลความข้อมูลทาง ควำมสำมำรถทำงภูมศิ ำสตร์ กระบวนกำรทำงภูมิศำสตร์ ภูมศิ าสตร์ 1. การให้เหตุผลทางภูมศิ าสตร์ 1. การต้ังคาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ 2. การคิดเชิงพน้ื ท่ี 2. การตัดสนิ ใจอย่างเป็นระบบ 2. การรวบรวมข้อมลู 3. การจดั การข้อมลู 4. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 5. การสรปุ เพ่อื ตอบคาถาม 7. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียนและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการคดิ 1. ใฝ่เรยี นรู้ 1) ทักษะการทาให้กระจา่ ง 2. มุง่ มนั่ ในการทางาน 2) ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ 2. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

88 8. กิจกรรมกำรเรียนรู้  วิธสี อนแบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ชว่ั โมงท่ี 1 ขั้นนา 1. ครูแจง้ ให้นกั เรยี นทราบถึงวิธสี อนแบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ชอื่ เร่อื งที่จะเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ และผลการเรยี นรู้ 2. ครูให้นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอื่ ง การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ของโลก 3. ครูให้นักเรยี นวิเคราะหร์ ว่ มกนั เก่ยี วกับปจั จยั ท่ีกอ่ ให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพของโลกตาม ความคิดโดยเบื้องตน้ ของนักเรียน 4. ครใู หน้ กั เรียนดภู าพ หรือคลปิ วิดโี อเก่ยี วกับการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพของโลก ดา้ นธรณีภาค เชน่ - เปลือกโลกและโครงสรา้ งของเปลือกโลก - ทฤษฎกี ารเล่อื นของทวปี - การเคล่ือนทขี่ องแผน่ ธรณีภาค - การเปลีย่ นแปลงภายในเปลอื กโลก - การเปล่ยี นแปลงบนเปลอื กโลก 5. ครูถามคาถามกระตุ้นความคดิ โดยใหน้ ักเรยี นร่วมกนั ตอบคาถาม เชน่ - การเปล่ยี นแปลงธรณีภาคของโลก กอ่ ใหเ้ กิดผลอย่างไรได้บ้าง (แนวตอบ เช่น การเกดิ แผน่ ดินไหว การปะทุของภูเขาไฟ การเกิดโครงสร้างหนิ หรือดินในรปู แบบต่าง ๆ) ขน้ั สอน ขน้ั ที่ 1 กำรตั้งคำถำมเชิงภูมิศำสตร์ 1. ครใู ห้นกั เรียนดูโครงสรา้ งของเปลือกโลก จากหนงั สอื เรียนภูมศิ าสตร์ ม.4-6 แลว้ ร่วมกันแสดง ความคดิ เห็นตามประเด็น เช่น 1) พนื้ ผวิ ของโลก มีลักษณะเชน่ ไร (แนวตอบ พื้นผิวของโลกมีเนื้อที่ประมาณ 525 ล้านตารางกิโลเมตร โดยส่วนใหญ่เป็นทะเลหรือมหาสมุทร ส่วนทเี่ ป็นแผน่ ดิน มรี ะดับของพ้ืนผิวทีแ่ ตกตา่ งกันออกไปตามลกั ษณะภมู ปิ ระเทศแบบตา่ ง ๆ ท้ังเทอื กเขาสงู ท่ี ราบ หุบเขา โดยจุดสูงที่สุดของพื้นผิวโลกอยู่บริเวณท่ีเป็นแผ่นดิน คือ ยอดเขาเอเวอเรสต์ เทือกเขาหิมาลัย ส่วนจดุ ท่ีต่าท่สี ุดอยูใ่ นมหาสมทุ รแปซฟิ กิ คือ ร่องลกึ ก้นมหาสมทุ รมาเรยี นา)

89 2) นกั เรยี นคิดวา่ ปัจจัยท่ที าให้บริเวณเปลือกโลกมีสัณฐานและคุณสมบตั ิทางเคมีแตกต่างกันคือ อะไร (แนวตอบ เช่น เน่ืองดว้ ยปจั จัยวตั ถุธาตุต้นกาเนิด กระบวนการเกิด สภาพแวดล้อม และระยะเวลา การเกิดท่ีแตกตา่ งกัน) 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษา Geo Tip เกี่ยวกับแมกมา จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 แล้ว ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพ่มิ เตมิ 3. จากน้ันครใู ห้นกั เรียนดคู ลิปวิดโี อท่ีเกี่ยวข้องกับการเลื่อนของทวีป หรอื ทฤษฎปี ระกอบการเลื่อน ไหลของทวปี จากอินเทอร์เนต็ และข้อมลู ประกอบจากหนังสอื เรยี นภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 แลว้ รว่ มกันแสดง ความคิดเห็นตามประเด็น เช่น - เพราะเหตใุ ด แผ่นธรณีภาคของโลกเมื่อ 250 ลา้ นปกี ่อน จึงมีความแตกตา่ งจากในปจั จบุ นั (แนวตอบ เพราะแผ่นธรณีภาคที่เป็นของแข็งของโลก เป็นช้ันหนิ ทล่ี อยอยบู่ นฐานธรณภี าคและ แมกมาร้อนท่ีมีการหลอมเหลวและมีการเคล่ือนตัวอย่างต่อเนื่อง อันมีสาเหตุจากการถ่ายเท พลงั งานความรอ้ น ทาให้แผน่ ธรณภี าคค่อย ๆ เคล่ือนที่อยา่ งชา้ ๆ ตลอดเวลา ดังนั้น จงึ เปน็ สาเหตุท่ี ทาให้แผ่นธรณีภาค หรือแผ่นเปลือกโลกมีการเคล่ือนที่ไปเรื่อย ๆ จนเกิดการชนกัน มุดเกยกัน หรือ แยกตวั ออกจากกัน จงึ ทาใหแ้ ผ่นธรณภี าคของโลกเมือ่ 250 ล้านปกี ่อน มีความแตกตา่ งจากในปัจจุบัน เปน็ อยา่ งมาก) 4. ครใู ห้นกั เรียนรว่ มกันศึกษา Geo Tip เกย่ี วกบั หลักฐานทสี่ นบั สนุนทฤษฎกี ารเลอ่ื นของทวีป จาก หนงั สอื เรียนภมู ิศาสตร์ ม.4-6 แล้วรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เพ่ิมเตมิ 5. ครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอเก่ียวกับธรณีภาคที่มีการเปล่ียนแปลงในบริเวณพ้ืนที่ต่าง ๆ ของโลก จากนน้ั สอบถามความคดิ ของนักเรียนเกยี่ วกบั สาเหตุการเกิด บรเิ วณพ้นื ท่ีทเ่ี กดิ และผลกระทบทีเ่ กดิ ขึน้ 6. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการเคล่ือนที่ของแผ่นธรณีภาค จาก หนงั สือเรยี นภูมิศาสตร์ ม.4-6 แลว้ รว่ มกันอภปิ รายเพมิ่ เตมิ ตามประเดน็ ลักษณะการเคล่ือนทีข่ องแผ่นธรณีภาค โดยครแู นะนาเพิ่มเตมิ อนั ได้แก่ 1) การเคลื่อนทีข่ องแผ่นธรณภี าคลเู่ ข้าหากัน 2) การเคลอื่ นที่ของแผ่นธรณภี าคแยกจากกัน 3) การเคลื่อนทขี่ องแผน่ ธรณภี าคตามแนวระดบั 7. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษาภาพประกอบหรือคลิปวิดีโอเก่ียวกับการเคล่ือนท่ีของแผ่นธรณีภาค ท้ัง 3 ลักษณะ จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 หรือจากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น หนังสือในห้องสมุด เว็บไซตใ์ นอินเทอร์เน็ตเพม่ิ เติม 8. ครูให้นักเรยี นชว่ ยกันตง้ั ประเด็นคาถามเชิงภมู ิศาสตร์เกย่ี วกับธรณภี าคและการเปล่ยี นแปลงทาง ธรณภี าค เพอื่ ค้นหาคาตอบ เชน่ 1) การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกมีกระบวนการอย่างไร 2) การเปล่ียนแปลงภายในเปลอื กโลกส่งผลต่อลักษณะทางกายภาพอยา่ งไร

90 3) การเปล่ียนแปลงบนเปลือกโลกสง่ ผลตอ่ ลักษณะทางกายภาพของโลกอยา่ งไร 4) ประเทศไทยประสบปัญหาการเปล่ียนแปลงทางธรณีภาคในประเดน็ ใดมากที่สุด เพราะเหตุใด ข้ันที่ 2 กำรรวบรวมข้อมลู 1. ครใู หน้ กั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุม่ ละ 6-8 คน สืบค้นข้อมลู เก่ียวกับการเปลยี่ นแปลงทางธรณีภาค ประกอบการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เช่น แผนที่แสดงแผ่นเปลือกโลกสาคัญ จากหนังสือ เรยี นภมู ิศาสตร์ ม.4-6 หรือจากแหลง่ การเรยี นรู้อ่ืน ๆ เชน่ หนังสอื ในหอ้ งสมุด เวบ็ ไซตใ์ นอนิ เทอรเ์ น็ต ในประเดน็ ต่อไปน้ี 1) กระบวนการเปล่ยี นแปลงภายในโลก 2) กระบวนการปรบั ระดบั พน้ื ผิวโลก 2. ครแู นะนาแหล่งข้อมลู สารสนเทศที่น่าเช่อื ถือให้กบั นกั เรยี นเพมิ่ เตมิ ชว่ั โมงท่ี 2 ขัน้ ท่ี 3 กำรจดั กำรขอ้ มลู 1. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มนาข้อมูลที่ตนได้จากการรวบรวม มาอธิบายแลกเปล่ียนความรู้ระหวา่ ง กัน 2. จากน้ันสมาชิกในกลุ่มช่วยกันคัดเลือกข้อมูลที่นาเสนอเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง และร่วม อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ เพมิ่ เตมิ 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มใช้สมาร์ตโฟนค้นหาการกระจายของขนาดของแผ่นดินไหวในบริเวณ พื้นทต่ี ่าง ๆ ของโลกเพ่ิมเติม แลว้ นาข้อมูลมาอภปิ รายรว่ มกันภายในชนั้ เรียน ขัน้ ท่ี 4 กำรวิเครำะห์และแปลผลข้อมูล 1. ครูให้สมาชิกแต่ละกลุ่มวิเคราะห์เพ่ิมเติมถึงลักษณะและผลกระทบของการปะทุของภูเขาไฟแต่ ละรูปแบบ ตลอดจนยกตัวอยา่ งการปะทขุ องภูเขาไฟทพ่ี บในแตล่ ะภูมิภาคของโลกประกอบการวิเคราะห์ เช่ือมโยงกับการเปลีย่ นแปลงทางธรณีภาคเพมิ่ เตมิ 2. สมาชิกแต่ละกลุ่มนาข้อมูลของตนเองมาวิเคราะห์ถึงความเช่ือมโยงกับโครงสร้างทางธรณีวิทยา ว่ามคี วามเก่ียวข้องกนั หรือไม่ อย่างไร ตลอดจนยกตัวอย่างประกอบเพม่ิ เตมิ 3. ครูนาตัวอย่างหินตะกอน หินอัคนี และหินบะซอลต์มาให้นักเรียนดู พร้อมท้ังสอบถามนักเรียน เกี่ยวกบั ท่ีมา โครงสร้าง และความสัมพันธ์ทางธรณวี ทิ ยา จากนัน้ ครูแนะนาเพิ่มเตมิ 4. นักเรียนวิเคราะห์และเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของโครงสร้างทางธรณีวทิ ยาจากการดูตัวอย่างหนิ กบั กระบวนการปรับระดบั พื้นผิวโลก ระหวา่ งนั้นครูอาจให้นกั เรยี นใช้สมารต์ โฟนสบื คน้ เพ่อื ขยายความรู้ เกีย่ วกบั การผพุ ังของหนิ และแร่ จากหนังสอื เรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 เพม่ิ เตมิ จากน้ันร่วมกนั ตรวจสอบ ความถกู ตอ้ งของข้อมลู

91 5. ครูให้นักเรยี นร่วมกันยกตัวอย่างสถานทที่ ่องเท่ียวในโลกหรอื ในประเทศไทยท่ีเกดิ จากการกร่อน ของหนิ และดนิ พรอ้ มทงั้ วเิ คราะหแ์ ละแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั สถานท่ีดงั กลา่ วรว่ มกนั 6. ครใู หน้ ักเรียนรว่ มกันใช้สมารต์ โฟนสืบคน้ เพ่ือขยายความรูเ้ กยี่ วกับการพดั พาและการทับถม จาก หนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 เพิม่ เตมิ 7. ครูให้สมาชิกแต่ละกลุ่มนาข้อมลู ที่รวบรวมมาได้ทาการวเิ คราะห์ร่วมกันเพ่ืออธิบายคาตอบ และ ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล จากนั้นแต่ละกลุ่มนาเสนอข้อมูลจากการศึกษาธรณีภาคและการ เปลีย่ นแปลงทางธรณภี าค สมาชกิ กลุ่มอน่ื ผลดั กนั ใหข้ ้อคิดเหน็ หรอื ข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ ขั้นที่ 5 กำรสรุปเพ่อื ตอบคำถำม 1. นกั เรียนในช้ันเรียนรว่ มกนั สรุปเกย่ี วกบั การใชเ้ ครื่องมอื ทางภูมศิ าสตร์ และเครื่องมอื ดา้ น เทคโนโลยีในการสืบคน้ ธรณภี าค 2. ครูใหส้ มาชกิ ในแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกนั สรุปสาระสาคัญเพื่อตอบคาถามเชงิ ภมู ศิ าสตร์ 3. นกั เรยี นกล่มุ เดิมร่วมกันทาใบงานท่ี 2.1 ปรากฏการณ์ทางธรณภี าค โดยครูแนะนาเพม่ิ เตมิ 4. นักเรยี นทาแบบฝึกสมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6 เก่ียวกบั เรือ่ ง ธรณีภาค เพือ่ เป็นการบ้านส่งครู ในชั่วโมงถัดไป ขน้ั สรปุ ครูและนักเรียนรว่ มกันสรปุ ความรู้เก่ียวกบั ธรณภี าค ตลอดจนความสาคญั ทม่ี ีอทิ ธิพลต่อการดาเนินชวี ติ ของประชากร หรือใช้ PPT สรปุ สาระสาคญั ของเนอื้ หา ขน้ั ประเมิน 1. ครูประเมนิ ผลโดยสังเกตจากการตอบคาถาม การรว่ มกนั ทางาน และการนาเสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรยี น 2. ครตู รวจสอบผลจากการทาใบงาน และแบบฝึกสมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6 9. กำรวดั และประเมินผล วิธวี ดั เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อน - ร้อยละ 60 ผ่าน รายการวัด ก่อนเรยี น เรียน เกณฑ์ 9.1 การวดั และประเมินผล ก่อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เรื่อง การเปลยี่ นแปลง ทางกายภาพของโลก

92 9.2 การวดั และประเมินผล - ตรวจใบงานที่ 2.1 - ใบงานที่ 2.1 - รอ้ ยละ 60 ผ่าน ระหวา่ งการจัดกจิ กรรม เกณฑ์ การเรียนรู้ - ประเมินการนาเสนอ 1) วเิ คราะหก์ าร ผลงาน - แบบประเมนิ การ - ระดับคณุ ภาพ 2 เปลยี่ นแปลงทาง กายภาพด้านธรณภี าค ของพ้ืนทีใ่ น ประเทศไทยและ ภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก ซ่งึ ได้รับอทิ ธิพล จากปัจจัยภูมิศาสตรไ์ ด้ 2) วิเคราะห์โครงสรา้ งและ กระบวนการ เปลยี่ นแปลงทาง ธรณภี าคของโลกของ โลกได้ 3) การนาเสนอผลงาน นาเสนอ ผา่ นเกณฑ์ ผลงาน 4) พฤตกิ รรม - สงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกต - ระดบั คณุ ภาพ 2 การทางานรายบุคคล การทางานรายบุคคล พฤตกิ รรม ผา่ นเกณฑ์ การทางานรายบคุ คล 5) พฤติกรรม - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ระดบั คุณภาพ 2 การทางานกลมุ่ การทางานกลุ่ม พฤติกรรม ผา่ นเกณฑ์ การทางานกลุ่ม 6) คุณลกั ษณะ - สังเกตความมวี ินยั - แบบประเมิน - ระดับคณุ ภาพ 2 อันพึงประสงค์ ใฝเ่ รยี นรู้ และมุง่ มน่ั ใน การทางาน คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์ 9.3 การรู้เร่อื งภูมิศาสตร์ - ประเมนิ การใชเ้ ครื่องมือ ทางภมู ศิ าสตร์ อนั พงึ ประสงค์ - แบบประเมนิ การใช้ - ระดบั คณุ ภาพ 2 เคร่อื งมือทาง ผา่ นเกณฑ์ ภมู ิศาสตร์

93 10. สอื่ /แหลง่ กำรเรียนรู้ 10.1 สือ่ กำรเรียนรู้ 1) หนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 2) แบบฝึกสมรรถนะฯ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 3) หนงั สอื คน้ คว้าเพมิ่ เติม (1) โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์มูลนธิ ิ สอวน. 2557. ภมู ศิ ำสตรก์ ำยภำพ. กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธาการพิมพ์. (2) ปัญญา จารุศิริ. ธรณวี ทิ ยำแปรสณั ฐำน. 2558. กรงุ เทพมหานคร : ภาควิชาธรณวี ทิ ยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . (3) แผนทท่ี หาร, กรม. ม.ป.ป. แผนทเ่ี ลม่ ประเทศไทยมำตรำส่วน 1 : 3,000,000. กรงุ เทพมหานคร : กรมแผนที่ทหาร. 4) เคร่ืองมือทางภมู ศิ าสตร์ ได้แก่ แผนท่ี ลกู โลกจาลอง รูปถ่ายทางอากาศ และภาพจาก ดาวเทยี ม 5) ใบงานที่ 2.1 เร่ือง ปรากฏการณท์ างธรณภี าค 10.2 แหลง่ กำรเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ - http://earth.google.co.th - http://maps.google.co.th - http:// thaigoodview.com - https://www.youtube.com/watch?v=fsUnFAQdUSA - https://www.youtube.com/watch?v=fjfXZzx04So - https://www.youtube.com/watch?v=3NAuTj_iCbA

94 ใบงานที่ 2.1 เรอ่ื ง ปรากฏการณ์ทางธรณีภาค คาช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนสบื คน้ ข้อมูลปรำกฏกำรณ์ทำงธรณีภำคท่ีนกั เรียนสนใจมำ 1 เหตกุ ำรณ์ แล้วนำมำ วิเครำะห์ตำมหัวขอ้ ท่กี ำหนด เร่อื ง.......................................................................... 1. ปรากฏการณ์ดงั กล่าวเปน็ กระบวนการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพทเ่ี กดิ จากปัจจยั อะไรบา้ ง 2. กระบวนการเปลย่ี นแปลงนม้ี ลี กั ษณะอย่างไร 3. ปรากฏการณด์ ังกลา่ วสง่ ผลต่อลกั ษณะทางกายภาพอยา่ งไร 4. ปรากฏการณด์ ังกล่าวสง่ ผลกระทบต่อชีวิตและทรัพยส์ นิ อยา่ งไร สามารถปอ้ งกันไดห้ รอื ไม่ อธิบายเหตผุ ล

เฉลย 95 ใบงานท่ี 2.1 เรอื่ ง ปรากฏการณท์ างธรณีภาค คาช้ีแจง : ให้นักเรียนสบื คน้ ขอ้ มูลปรำกฏกำรณ์ทำงธรณภี ำคที่นักเรยี นสนใจมำ 1 เหตกุ ำรณ์ แลว้ นำมำ วิเครำะหต์ ำมหัวขอ้ ท่ีกำหนด (ตวั อย่าง) เร่ือง (ภูเขาไฟปะทุ) 1. ปรากฏการณด์ ังกล่าวเป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพทีเ่ กดิ จากปจั จยั อะไรบ้าง เกดิ จากกระบวนการเปลีย่ นแปลงภายในเปลอื กโลก 2. กระบวนการเปลย่ี นแปลงน้มี ลี ักษณะอยา่ งไร มลี กั ษณะเปน็ การถา่ ยพลังความร้อนของแมกมา การไหล หรอื ปะทุของแมกมา หรือการเคลื่อนไหล ของแมกมาใตเ้ ปลือกโลก 3. ปรากฏการณด์ ังกลา่ วส่งผลต่อลกั ษณะทางกายภาพอยา่ งไร ทาใหเ้ กิดปากปลอ่ งภเู ขาไฟ ซง่ึ มหี ลากหลายขนาด เมือ่ ภูเขาไฟสงบหรอื ดบั สนทิ แลว้ ปากปล่องจะ เปน็ แหล่งเกบ็ นา้ เมอื่ นา้ เตม็ ปล่อง จะไหลล้นออกมาเกิดการกรอ่ นปากปล่องภูเขาไฟเปน็ ทางนา้ ไหล 4. ปรากฏการณ์ดังกลา่ วสง่ ผลกระทบตอ่ ชีวติ และทรัพย์สนิ อย่างไร สามารถป้องกันไดห้ รือไม่ อธิบายเหตุผล เถา้ ถ่านของภูเขาไฟ ทาให้เกิดมลพิษทางอากาศ ทาใหห้ ายใจติดขดั ลาวาและความร้อนจากภูเขาไฟ ทาใหเ้ กิดความเสยี หายต่อชีวิตและทรัพย์สนิ อย่างมากจนไม่สามารถประมาณค่าได้ สามารถปอ้ งกันได้ โดยการติดตามข่าวสารอยา่ งใกล้ชดิ และเตรียมสิง่ ของจาเปน็ เพ่ือพร้อมอพยพไดท้ นั ที

96 แบบประเมนิ กำรนำเสนอผลงำน คำชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนประเมนิ ผลการนาเสนอผลงานของนกั เรยี นตามรายการ แลว้ ขดี ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รำยกำรประเมิน ระดับคะแนน 1 32 1 ความถกู ต้องของเนอื้ หา 2 การลาดบั ขนั้ ตอนของเรอ่ื ง 3 วิธีการนาเสนอผลงานอย่างสรา้ งสรรค์ 4 การใช้เทคโนโลยีในการนาเสนอ 5 การมสี ว่ นร่วมของสมาชิกในกลุ่ม รวม ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน ............/................./................ เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบูรณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ บางส่วน เกณฑก์ ำรตัดสินคณุ ภำพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภำพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ตา่ กวา่ 8 ปรบั ปรุง

97 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนรำยบุคคล คำชีแ้ จง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดบั คะแนน ลำดับที่ รำยกำรประเมนิ ระดบั คะแนน 321 1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผ้อู ่ืน 3 การทางานตามหนา้ ทีท่ ไี่ ดร้ บั มอบหมาย 4 ความมีนา้ ใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชือ่ ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../............. เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมา่ เสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ เกณฑ์กำรตัดสนิ คณุ ภำพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภำพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรุง

98 แบบสังเกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนกลุ่ม คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องท่ี ตรงกบั ระดบั คะแนน กำรมี ลำดับที่ ชอ่ื – สกลุ กำรแสดง กำรยอมรับ กำรทำงำน ควำมมี ส่วนรว่ มใน รวม ของนกั เรยี น ควำม ฟังคนอื่น ตำมที่ไดร้ ับ น้ำใจ กำร 15 คดิ เห็น มอบหมำย คะแนน ปรบั ปรุง ผลงำนกล่มุ 321321321321321 เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมนิ ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ............../.................../............... ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบอ่ ยครั้ง ปฏบิ ัตหิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางคร้งั ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน

99 99 บนั ทกึ หลงั กำรจัดกำรเรยี นรู้ แผนท่ี 3 เรื่อง ธรณีภำค ความเหมาะสมของกิจกรรม ดี พอใช้ ปรับปรุง………………………. ความเหมาะสมของเนื้อหา ดี พอใช้ ปรับปรงุ ………………………. ความเหมาะสมของเวลา ดี พอใช้ ปรับปรงุ ………………………. ความเหมาะสมของส่ือ ดี พอใช้ ปรับปรงุ ………………………. อื่นๆ……………………………………………………………………………………….....………..…………………… …........................................................................................…………………...………...................... 1. ผลทเี่ กดิ ข้ึนกับผู้เรียน นกั เรยี นวิเคราะห์การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพดา้ นธรณีภาคของพืน้ ท่ใี นประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซึ่งได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางภมู ิศาสตร์ได้ นักเรียนเลือกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการศึกษา การเปล่ียนแปลงทางกายภาพด้านธรณีภาคของพื้นท่ีในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ซ่ึงได้รับ อทิ ธิพลจากปจั จยั ทางภมู ศิ าสตรไ์ ด้ 2. ปัญหำและอุปสรรค นักเรียนยังขาดความกระตอื รือร้นสนใจในการเรยี น 3. แนวทำงแก้ปญั หำ/ขอ้ เสนอแนะ ใช้เทคนิคการสอนท่ีตรงกับสภาพของนักเรียน และมีการกระตุ้นความสนใจโดยการมีกิจกรรม ใหน้ กั เรยี นได้มสี ว่ นร่วมมากขน้ึ ลงชอ่ื ……….........………….......….…..……. ผู้สอน ( นายยงยุทธ์ ออ่ นนวล ) ตาแหนง่ : ครู 4. ควำมคิดเหน็ ของผู้อำนวยกำรโรงเรียน ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….…… ลงช่ือ………...………….......…...........…..…….…. (นางสาวรพีพรรณ กีตา) ผู้อานวยการโรงเรยี น

100 แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี 4 หน่วยที่ 2 การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพของโลก เรอื่ ง บรรยำกำศภำค สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 เวลา 3 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ผสู้ อน นายยงยุทธ์ ออ่ นนวล ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชี้วดั 1.1 ตวั ช้ีวัด ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธข์ องสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้ แผนท่ีและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมสิ ารสนเทศอย่างมีประสิทธภิ าพ ม.4-6/1 วิเคราะหก์ ารเปลีย่ นแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลก ซ่ึงได้รบั อทิ ธพิ ลจากปัจจยั ทางภูมิศาสตร์ 2. จดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้ 1. วเิ คราะห์การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพด้านบรรยากาศภาคของพืน้ ทใี่ นประเทศไทยและภมู ิภาค ต่าง ๆ ของโลก ซึง่ ได้รบั อิทธิพลจากปจั จัยทางภมู ิศาสตร์ได้ (K) 2. อธิบายชน้ั บรรยากาศและบอกองค์ประกอบสาคัญของชัน้ บรรยากาศของโลกได้ (K) 3. เลือกใชเ้ คร่อื งมอื ทางภูมศิ าสตรใ์ นการศกึ ษาการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพดา้ นบรรยากาศภาคของ พนื้ ทใี่ นประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซ่ึงไดร้ บั อิทธพิ ลจากปจั จัยทางภมู ศิ าสตร์ได้ (P) 4. สนใจศึกษาการเปล่ยี นแปลงทางกายภาพของพืน้ ที่ในประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซึ่ง ไดร้ บั อิทธพิ ลจากปจั จยั ทางภูมิศาสตร์เพิ่มมากขนึ้ (A) 3. สำระกำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรทู้ ้องถน่ิ สำระกำรเรียนรู้จำกส่ือ (พจิ ารณาตามหลกั สตู ร - การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพ สำระกำรเรยี นรูแ้ กนกลำง ของพ้ืนทใ่ี นประเทศไทยและ 1) การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สถานศึกษา) ภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลกในด้าน (ประกอบด้วย 1. ธรณีภาค บรรยากาศภาค 2. บรรยากาศภาค 3. อทุ กภาค 4. ชีวภาค) ของพน้ื ท่ใี น ประเทศ ไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ซงึ่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากปัจจยั ทาง ภมู ิศาสตร์

101 2) การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพ ท่ีส่งผลตอ่ ภูมปิ ระเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ 4. มโนทศั น์สำคญั (Key Concept) - ปจั จยั ทางภูมิศาสตรม์ อี ิทธิพลต่อการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพดา้ นบรรยากาศภาคในประเทศไทยและ ภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ซ่ึงส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมอิ ากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ 5. คำถำมหลกั (Big Question) 1. ปัจจัยทางภมู ศิ าสตร์ทีส่ ง่ ผลต่อการเปลีย่ นแปลงทางกายภาพดา้ นบรรยากาศภาคมอี ะไรบ้าง อย่างไร 2. การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพดา้ นบรรยากาศภาคสง่ ผลตอ่ ภมู ิประเทศ ภมู ิอากาศ และ ทรพั ยากรธรรมชาติในประเทศไทยและภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลกอย่างไร 6. กำรรู้เร่อื งภูมิศำสตร์ (Geo–Literacy) ทักษะทำงภูมิศำสตร์ 1. การแปลความขอ้ มลู ทาง ควำมสำมำรถทำงภูมศิ ำสตร์ กระบวนกำรทำงภูมศิ ำสตร์ ภูมิศาสตร์ 1. การให้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ 1. การต้ังคาถามเชงิ ภูมิศาสตร์ 2. การคดิ เชิงพนื้ ท่ี 2. การตดั สนิ ใจอย่างเปน็ ระบบ 2. การรวบรวมขอ้ มลู 3. การจัดการข้อมูล 4. การวิเคราะห์ข้อมลู 5. การสรปุ เพอ่ื ตอบคาถาม 7. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รยี นและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการคิด 1. ใฝเ่ รียนรู้ 1) ทักษะการทาใหก้ ระจา่ ง 2. มุ่งมนั่ ในการทางาน 2) ทักษะการนาความรู้ไปใช้ 2. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต

102 8. กิจกรรมกำรเรียนรู้  วธิ สี อนแบบกระบวนการทางภมู ศิ าสตร์ (Geographic Inquiry Process) ชั่วโมงที่ 1 ขนั้ นา 1. ครูแจง้ ชื่อเรอ่ื งทจ่ี ะเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ 2. ครูให้นักเรยี นดูภาพหรือคลิปวิดีโอเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงทางกายภาพของโลกด้านบรรยากาศภาค เชน่ ภาพการจราจรท่ีตดิ ขดั ภาพการเผาขยะมูลฝอย ภาพพายุหมิ ะ ภาพการละลายของนา้ แข็งขวั้ โลก 3. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากภาพ หรือคลิปวิดีโอเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงทาง กายภาพของโลกด้านบรรยากาศภาค ตลอดจนแสดงความคิดเห็นจากการศึกษา Geo Tip เกี่ยวกับแก๊ส ไนโตรเจนจากหนงั สือเรยี นภูมิศาสตร์ ม.4-6 แลว้ รว่ มกันแสดงความคดิ เห็นเพ่ิมเตมิ 4. ครถู ามคาถามกระตุ้นความคดิ โดยให้นกั เรียนร่วมกนั ตอบคาถาม เช่น 1) บรรยากาศของโลกมีลักษณะอย่างไร

103 (แนวตอบ บรรยากาศของโลกเป็นอากาศที่ห่อหุ้มโลก ซ่ึงประกอบด้วย แก๊สต่าง ๆ ไอน้า และฝุ่น ละออง ทง้ั นี้สามารถแบง่ ออกได้เป็นชนั้ ตา่ ง ๆ ตามระดับความสูงและสภาวะในช้นั น้ัน) 2) ความสาคญั ของบรรยากาศของโลกต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ คอื อะไร (แนวตอบ บรรยากาศมีแกส๊ ออกซิเจนทม่ี นุษยใ์ ชห้ ายใจ มีแก๊สคารบ์ อนไดออกไซดใ์ ห้พชื เพอ่ื ใช้ในการ สังเคราะห์แสง นอกจากนี้ ยังช่วยกรองรังสีต่าง ๆ ท่ีเป็นอันตรายต่อมนุษย์ ช่วยทาหน้าที่คล้ายเรือน กระจกอบความร้อน ทาให้อุณหภูมิในระหว่างกลางวนั กับกลางคืนไม่แตกต่างกันมากนัก ตลอดจนเป็นแหลง่ สะสมไอน้าและทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลงของวฏั จักรน้า) ขนั้ สอน ข้ันที่ 1 กำรต้ังคำถำมเชิงภูมิศำสตร์ 1. ครูให้นักเรียนดูภาพการแบ่งช้ันบรรยากาศ จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 จากน้ันให้ นกั เรียนลองบอกสง่ิ ท่เี ห็นจากสายตา 2. ครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอที่เกี่ยวข้องกับการแบ่งช้ันบรรยากาศของโลก จากน้ันครูถามคาถาม กระตนุ้ ความคิดโดยให้นกั เรยี นร่วมกันตอบคาถาม เชน่ 1) ช้นั บรรยากาศในสภาวะปกติมปี ระโยชน์ตอ่ โลกอย่างไร (แนวตอบ ช้ันบรรยากาศในสภาวะปกติจะช่วยกรองแสง ความร้อน และรังสีต่าง ๆ ของดวง อาทติ ย์ใหล้ งสู่พน้ื ผิวโลกในปริมาณทีเ่ หมาะสม) 2) เมฆ หมอก ฝน หิมะ พายุ หรืออากาศที่แปรปรวน มักเกิดขน้ึ ในช้นั บรรยากาศใด (แนวตอบ ชนั้ บรรยากาศทก่ี ่อใหเ้ กดิ เมฆ หมอก ฝน หิมะ พายุ หรืออากาศท่แี ปรปรวน คอื ชั้น โทรโพสเฟียร์ เป็นช้ันบรรยากาศที่อยู่ติดกับพ้ืนผิวโลก ณ บริเวณเส้นศูนย์สูตรประมาณ 17 กโิ ลเมตร และบริเวณขัว้ โลกประมาณ 9 กโิ ลเมตร) 3) แสงออโรรา หรือแสงที่มีลักษณะเป็นวงโค้ง มองเห็นได้ในเวลากลางคืนบนท้องฟ้าแถบข้ัว โลกจะพบไดใ้ นชัน้ บรรยากาศใด (แนวตอบ แสงออโรราจะพบได้ในชน้ั เทอรโ์ มสเฟยี ร์ ท่มี รี ะดับความสงู จากพื้นโลกประมาณ 80 กิโลเมตรข้นึ ไป) 3. ครกู ระตุ้นใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันตั้งประเดน็ คาถามเชงิ ภูมิศาสตร์ เช่น 1) การเปลีย่ นแปลงด้านบรรยากาศของโลกเกดิ จากปัจจยั ใดบา้ ง 2) ชั้นบรรยากาศท่หี อ่ ห้มุ โลกมอี ะไรบ้าง และใช้สิง่ ใดเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง 3) การเปลี่ยนแปลงบรรยากาศท่ีเกิดข้ึนในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก มีลักษณะที่เหมือนหรือ แตกตา่ งกนั หรือไม่ อยา่ งไร 4) แนวทางการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากการเปล่ียนแปลงของบรรยากาศ สามารถทาได้ อยา่ งไร

104 ขนั้ ที่ 2 กำรรวบรวมข้อมลู 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเกยี่ วกับการเปลี่ยนแปลงทางบรรยากาศภาค จากหนังสอื เรียนภมู ิศาสตร์ ม.4-6 หรือจากแหลง่ การเรียนรู้อืน่ ๆ เช่น หนงั สอื ในห้องสมดุ เวบ็ ไซต์ในอนิ เทอร์เนต็ ประกอบการใชเ้ คร่อื งมือทางภูมิศาสตร์ในประเด็นตอ่ ไปน้ี 1) อณุ หภมู ิ 2) ความกดอากาศ 3) ลมและทศิ ทางลม 4) ความชืน้ และหยดนา้ ฟา้ 2. ครูแนะนาแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศท่ีนา่ เชือ่ ถือให้กับนกั เรยี นเพิ่มเตมิ ชั่วโมงที่ 2 ขั้นที่ 3 กำรจดั กำรขอ้ มลู 1. สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่มนาขอ้ มูลท่ีตนได้จากการรวบรวม มาอธบิ ายแลกเปล่ียนความรรู้ ะหว่าง กนั 2. จากนั้นสมาชิกในกลุ่มช่วยกันคัดเลือกข้อมูลท่ีนาเสนอเพ่ือให้ได้ข้อมูลท่ีถูกต้อง และร่วม อภิปรายแสดงความคดิ เห็นเพิ่มเติม 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มใช้สมาร์ตโฟนค้นหา วันและระยะเวลาท่ีโลกได้รับรังสีดวงอาทิตย์ที่ แตกต่างกันจนมีชื่อเรียกที่แตกต่างกันออกไปเพ่ิมเติม เช่น วันวสันตวิษุวัต วันอุตตรายัน แล้วนาข้อมูลมา อภิปรายรว่ มกนั ภายในช้นั เรยี น ข้นั ท่ี 4 กำรวเิ ครำะห์และแปลผลข้อมูล 1. ครูให้สมาชกิ แต่ละกลมุ่ วเิ คราะห์เพิ่มเตมิ ถงึ ลักษณะอุณหภมู ิเฉล่ยี ของโลกและของไทย รวมถึง ตาแหนง่ ที่ใกลแ้ ละไกลจากดวงอาทิตย์มากท่ีสุด 2. ครใู ห้นกั เรียนวเิ คราะหค์ วามเชอ่ื มโยงถึงการรับและคายความรอ้ นที่แตกต่างกันของพนื้ ดินและ พื้นน้า จากนั้นให้นักเรียนใช้สมาร์ตโฟนส่องดู QR Code เก่ียวกับคล่ืนความร้อน (heat wave) จากหนังสือ เรียนภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 โดยครูแนะนาเพมิ่ เติม 3. นักเรียนวิเคราะห์และเช่ือมโยงความสัมพันธ์ของความกดอากาศ กับอุณหภูมิของพ้ืนผิวโลก โดยระหว่างน้นั ครอู าจใหน้ ักเรยี นใช้สมาร์ตโฟนสืบคน้ เพือ่ ขยายความรูเ้ กีย่ วกบั ความกดอากาศของโลก จากหนังสือเรยี นภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 เพ่ิมเติม และรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมูล 4. ครูให้นักเรียนศึกษาแผนที่แสดงบริเวณความกดอากาศและทิศทางการเคลื่อนที่ของลม เดือน มกราคม จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 จากนน้ั รว่ มกนั อภิปรายและแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั ลมและ ทิศทางลม รวมถึงยกตัวอย่างบริเวณทม่ี ีความกดอากาศทแี่ ตกตา่ งกัน โดยครูแนะนาเพมิ่ เติม

105 5. ครูให้นักเรียนร่วมกนั ใช้สมาร์ตโฟนสืบค้นเพือ่ ขยายความรู้เก่ียวกับทิศทางการเคล่ือนทข่ี องลม จากหนงั สอื เรียนภูมศิ าสตร์ ม.4-6 เพิ่มเติม จากนน้ั รว่ มกันตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มูล 6. ครใู ห้นกั เรยี นร่วมกันวเิ คราะห์ถงึ ประเภทของลม จากนนั้ ครูถามคาถามนักเรียนเพมิ่ เตมิ เชน่ 1) ลมประจาเวลาและลมประจาถน่ิ มคี วามแตกต่างกันอยา่ งไร (แนวตอบ ลมประจาเวลา จะเกิดสลับกันระหว่างกลางวันและกลางคืน เช่น ลมบก ลมทะเล แตห่ ากเป็นลมประจาถิ่น จะพัดประจาถิน่ หรือในพนื้ ทปี่ ระเทศใดประเทศหนงึ่ สลบั ช่วงเวลายาวนานกวา่ ลมประจาเวลา) 2) ลมประจาฤดู สามารถเรยี กอีกชอ่ื หน่งึ ได้วา่ อยา่ งไร และมีลักษณะเฉพาะอย่างไร (แนวตอบ ลมประจาฤดู สามารถเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ลมมรสุม มีลักษณะเฉพาะ คือ พัด เปล่ยี นทิศทางกลับตรงข้ามกนั ในรอบปี) 3) หากอาศัยอย่ใู นแถบคาบสมุทรอินโดจนี ในชว่ งฤดหู นาวจะเผชญิ กับลมประจาฤดูประเภทใด (แนวตอบ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ) 4) เพราะเหตใุ ด ลมประจาปีในซกี โลกเหนอื จึงเคลือ่ นท่ีจากจุดกาเนิดไปทางขวามือ แตใ่ นขณะ ทซ่ี กี โลกใตจ้ ะเคลอ่ื นทไี่ ปทางซ้ายมอื (แนวตอบ เป็นผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก ท่ีมีทิศทางจากทิศตะวันตกไปทางทิศ ตะวันออก) 5) เมฆคิวมูลัสและคิวมโู ลนมิ บสั เกิดจากการเคลื่อนที่ของลมในลกั ษณะใด (แนวตอบ เกิดจากการพัดเข้าหากันของลมค้าตะวันออกเฉียงเหนอื จนเกิดเป็นร่องและความ กดอากาศต่าแถบศนู ยส์ ูตร ทาให้เกิดกระแสอากาศลอยข้ึนสดู่ ้านบน จึงทาใหเ้ กิดเปน็ เมฆควิ มลู ัส และเมฆ คิวมโู ลนมิ บัส) 7. ครูใหน้ ักเรียนศึกษาเมฆชนิดต่าง ๆ จากหนังสือเรยี นภมู ิศาสตร์ ม.4-6 จากนนั้ รว่ มกนั อภิปราย และแสดงความคิดเห็นเช่อื มโยงกบั ความช้ืนและหยาดนา้ ฟ้า รวมถึงสถานะของน้าในกาศ 8. ครูสุ่มนักเรียนให้ใช้สมาร์ตโฟนสืบค้นภาพตัวอย่างของเมฆ เพ่ือขยายความรู้เก่ียวกับชนดิ ของ เมฆและการจดั หมวดหม่ขู องเมฆตามระดับความสงู และรปู รา่ ง จากหนังสือเรยี นภูมิศาสตร์ ม.4-6 เพ่ิมเติม 9. ครูอาจให้นักเรียนศึกษา Geo Activity จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 เพื่อประกอบการ วเิ คราะหแ์ ละแปลผลขอ้ มลู เพมิ่ เติม 10. ครูใหส้ มาชกิ แตล่ ะกลมุ่ นาขอ้ มูลมารวบรวม เชื่อมโยง และวิเคราะหร์ ว่ มกันเพื่ออธิบายคาตอบ 11. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล ส่งตัวแทนนาเสนอผลงานหน้าช้ัน เรยี น สมาชกิ กลุม่ อื่นผลัดกนั ใหข้ อ้ คดิ เหน็ หรือขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเติม ขัน้ ที่ 5 กำรสรุปเพื่อตอบคำถำม 1. นักเรียนในช้ันเรียนรว่ มกนั สรุปเก่ียวกบั การใช้เครอื่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ และเครือ่ งมือดา้ น เทคโนโลยีในการสืบคน้ บรรยากาศภาค 2. ครใู หส้ มาชิกในแต่ละกลุ่มชว่ ยกนั สรปุ สาระสาคัญเพื่อตอบคาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์

106 3. นกั เรียนกล่มุ เดมิ ร่วมกันทาใบงานท่ี 2.2 เรื่อง บรรยากาศภาคและการเปล่ยี นแปลงทาง บรรยากาศภาค 4. ครใู หน้ กั เรียนทาแบบฝึกสมรรถนะฯ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 เกย่ี วกับเร่ือง บรรยากาศภาค เพือ่ เป็น การบา้ นส่งครูในชวั่ โมงถัดไป ขนั้ สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปความรูเ้ ก่ยี วกบั บรรยากาศภาค ตลอดจนความสาคญั ท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ การดาเนิน ชีวติ ของประชากร หรือใช้ PPT สรปุ สาระสาคญั ของเนื้อหา ขน้ั ประเมนิ 1. ครูประเมนิ ผลโดยสงั เกตจากการตอบคาถาม การรว่ มกนั ทางาน และการนาเสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรยี น 2. ครูตรวจสอบผลจากการทาใบงาน และแบบฝึกสมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6 9. กำรวัดและประเมนิ ผล วธิ ีวดั เคร่ืองมือ เกณฑก์ ำรประเมิน - ตรวจใบงานท่ี 2.2 - ใบงานที่ 2.2 - รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ รำยกำรวัด 9.1 การวัดและประเมินผล ระหว่างการจดั กจิ กรรม การเรยี นรู้ 1) วเิ คราะห์การ เปลยี่ นแปลงทาง กายภาพด้าน บรรยากาศภาคของ พ้นื ที่ในประเทศไทย และภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซง่ึ ได้รบั อทิ ธพิ ลจากปัจจยั ภมู ิศาสตรไ์ ด้ 2) อธิบายชั้นบรรยากาศ และบอกองคป์ ระกอบ สาคญั ของชั้น บรรยากาศของโลกได้

107 3) การนาเสนอผลงาน - ประเมนิ การ - แบบประเมินการ - ระดบั คุณภาพ 2 นาเสนอ นาเสนอ ผ่านเกณฑ์ 4) พฤตกิ รรม ผลงาน ผลงาน การทางานรายบุคคล - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ระดบั คุณภาพ 2 การทางาน พฤติกรรม ผ่านเกณฑ์ 5) พฤตกิ รรม รายบุคคล การทางาน การทางานกลุ่ม รายบุคคล - ระดบั คณุ ภาพ 2 - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต ผ่านเกณฑ์ 6) คุณลกั ษณะ การทางานกลุ่ม พฤติกรรม อันพงึ ประสงค์ การทางานกลุม่ - ระดบั คณุ ภาพ 2 - สังเกตความใฝ่ - แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์ 9.2 การรู้เร่อื งภูมศิ าสตร์ เรยี นรู้ คณุ ลกั ษณะ และมงุ่ ม่ันในการ อนั พงึ ประสงค์ ทางาน - ประเมนิ การใช้ - แบบประเมินการใช้ - ระดับคุณภาพ 2 เครื่องมือ ทางภมู ิศาสตร์ เคร่อื งมือทาง ผ่านเกณฑ์ ภมู ิศาสตร์ 10. สื่อ/แหล่งกำรเรยี นรู้ 10.1 สอื่ กำรเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรียนภมู ิศาสตร์ ม.4-6 2) แบบฝึกสมรรถนะฯ ภมู ิศาสตร์ ม.4-6 3) หนังสือคน้ คว้าเพ่ิมเตมิ (1) โครงการตาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตรม์ ูลนิธิ สอวน. 2557. ภมู ศิ ำสตรก์ ำยภำพ. กรงุ เทพมหานคร : ด่านสุทธาการพมิ พ์. (2) โครงการตาราวทิ ยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มลู นิธิ สอวน. 2559. ภูมศิ ำสตร์เทคนคิ . กรุงเทพมหานคร : ดา่ นสทุ ธาการพิมพ์. 4) เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ได้แก่ แผนท่ี ลกู โลกจาลอง รูปถา่ ยทางอากาศ และภาพจาก ดาวเทียม 5) ใบงานท่ี 2.2 เร่อื ง บรรยากาศภาคและการเปล่ียนแปลงทางบรรยากาศภาค 10.2 แหล่งกำรเรียนรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ

108 - http://www.lesa.biz - http://earth.google.co.th - http://maps.google.co.th - http:// thaigoodview.com - https://www.youtube.com/watch?v=G3RZY7-X2H4 - https://www.youtube.com/watch?v=0vyim0kPCkY

109 ใบงำนที่ 2.2 เรือ่ ง บรรยำกำศภำคและกำรเปลี่ยนแปลงทำงบรรยำกำศภำค คำชี้แจง : ใหน้ กั เรยี นพิจำรณำภำพทกี่ ำหนดให้ แล้ววิเครำะหเ์ ชอื่ มโยงเพื่อบรรยำยควำมสัมพนั ธ์ของ บรรยำกำศภำคกับกำรเปลย่ี นแปลงทีเ่ กิดขึ้นทำงบรรยำกำศภำคตำมภำพทก่ี ำหนดให้ จำนวน 6-8 บรรทัด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เฉลย 110 ใบงำนที่ 2.2 เรือ่ ง บรรยำกำศภำคและกำรเปลีย่ นแปลงทำงบรรยำกำศภำค คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนพจิ ำรณำภำพท่ีกำหนดให้ แลว้ วิเครำะหเ์ ชือ่ มโยงเพ่ือบรรยำยควำมสัมพนั ธข์ อง บรรยำกำศภำคกบั กำรเปลี่ยนแปลงทีเ่ กดิ ขึน้ ทำงบรรยำกำศภำคตำมภำพทีก่ ำหนดให้ จำนวน 6-8 บรรทดั ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… (พจิ ารณาคาตอบของนกั เรียน จากดลุ ยพินิจของครผู สู้ อน)

111 แบบประเมินกำรนำเสนอผลงำน คำช้แี จง : ให้ผู้สอนประเมนิ ผลการนาเสนอผลงานของนกั เรยี นตามรายการ แล้วขดี ลงในช่องที่ ตรงกับระดับคะแนน ลำดบั ท่ี รำยกำรประเมนิ ระดบั คะแนน 1 32 1 ความถูกต้องของเนอื้ หา 2 การลาดับขั้นตอนของเร่อื ง 3 วิธกี ารนาเสนอผลงานอย่างสร้างสรรค์ 4 การใช้เทคโนโลยีในการนาเสนอ 5 การมีสว่ นร่วมของสมาชกิ ในกล่มุ รวม ลงช่ือ...................................................ผูป้ ระเมนิ ............/................./................ เกณฑก์ ำรใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบรู ณ์ชัดเจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมนิ เปน็ ส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคลอ้ งกับรายการประเมนิ บางสว่ น เกณฑ์กำรตัดสนิ คุณภำพ ช่วงคะแนน ระดบั คุณภำพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรับปรงุ

112 แบบสงั เกตพฤติกรรมกำรทำงำนรำยบคุ คล คำชแี้ จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดับคะแนน ลำดับท่ี รำยกำรประเมิน ระดับคะแนน 321 1 การแสดงความคิดเห็น 2 การยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นของผ้อู นื่ 3 การทางานตามหนา้ ทีท่ ่ีได้รับมอบหมาย 4 ความมนี ้าใจ 5 การตรงตอ่ เวลา รวม ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../............. เกณฑ์กำรใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบอ่ ยครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบางครง้ั เกณฑ์กำรตัดสนิ คุณภำพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภำพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรับปรงุ

113 แบบสังเกตพฤตกิ รรมกำรทำงำนกลุ่ม คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในช่องที่ ตรงกบั ระดับคะแนน กำรมี ลำดับที่ ชอื่ – สกุล กำรแสดง กำรยอมรับ กำรทำงำน ควำมมี ส่วนรว่ มใน รวม ของนกั เรยี น ควำม ฟงั คนอ่นื ตำมทีไ่ ดร้ ับ นำ้ ใจ กำร 15 คดิ เหน็ มอบหมำย คะแนน ปรบั ปรุง ผลงำนกลุม่ 321321321321321 เกณฑก์ ำรให้คะแนน ลงชือ่ ...................................................ผปู้ ระเมนิ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ............../.................../............... ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้ัง ปฏิบัติหรอื แสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน

114 114 บันทกึ หลังกำรจัดกำรเรียนรู้ แผนท่ี 4 เรือ่ ง บรรยำกำศภำค ความเหมาะสมของกจิ กรรม ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ………………………. ความเหมาะสมของเน้ือหา ดี พอใช้ ปรับปรุง………………………. ความเหมาะสมของเวลา ดี พอใช้ ปรับปรุง………………………. ความเหมาะสมของสอ่ื ดี พอใช้ ปรบั ปรุง………………………. อน่ื ๆ……………………………………………………………………………………….....………..…………………… …........................................................................................…………………...………...................... 1. ผลทเ่ี กิดข้นึ กบั ผเู้ รียน นักเรียนสามารถอธิบายชั้นบรรยากาศและบอกองค์ประกอบสาคัญของช้ันบรรยากาศของโลกได้ วิเคราะห์การเปล่ียนแปลงทางกายภาพด้านบรรยากาศภาคของพ้ืนท่ีในประเทศไทยและภูมิภาค ต่าง ๆ ของโลก ซงึ่ ไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากปจั จยั ทางภมู ิศาสตร์ได้ 2. ปัญหำและอปุ สรรค นกั เรยี นบางสว่ นยงั ขาดความสนใจในการเรยี น และยังไม่ค่อยใฝ่เรยี นรู้ 3. แนวทำงแก้ปัญหำ/ขอ้ เสนอแนะ ใช้เทคนิคการสอนท่ีตรงกับสภาพของนักเรียน และมีการกระตุ้นความสนใจโดยการมีกิจกรรม ใหน้ ักเรยี นได้มสี ่วนรว่ มมากขนึ้ ลงชือ่ ……….........………….......….…..……. ผู้สอน ( นายยงยทุ ธ์ ออ่ นนวล ) ตาแหนง่ : ครู 4. ควำมคิดเหน็ ของผอู้ ำนวยกำรโรงเรยี น ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………….…… ลงชอ่ื ………...………….......…...........…..…….…. (นางสาวรพพี รรณ กตี า) ผู้อานวยการโรงเรยี น

115 แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ 5 หน่วยที่ 2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก เรอ่ื ง อุทกภำค สาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เวลา 3 ช่วั โมง ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 ผ้สู อน นายยงยุทธ์ ออ่ นนวล ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด 1.1 ตัวช้ีวัด ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธข์ องสรรพสิ่งซง่ึ มีผลต่อกัน ใช้ แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใชภ้ ูมสิ ารสนเทศอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ม.4-6/1 วเิ คราะหก์ ารเปลยี่ นแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลก ซ่งึ ไดร้ ับอิทธิพลจากปัจจยั ทางภูมศิ าสตร์ 2. จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ 1. วเิ คราะหก์ ารเปล่ยี นแปลงทางกายภาพด้านอุทกภาคของพืน้ ทีใ่ นประเทศไทยและภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของ โลก ซงึ่ ได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางภมู ิศาสตรไ์ ด้ (K) 2. อธิบายวัฏจักรทางอุทกวิทยา และผลกระทบทเ่ี กดิ จากน้าในมหาสมทุ รได้ (K) 3. เลือกใช้เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร์ในการศึกษาการเปล่ียนแปลงทางกายภาพดา้ นอทุ กภาคของพน้ื ทใ่ี น ประเทศไทยและภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก ซงึ่ ได้รับอทิ ธิพลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์ได้ (P) 4. สนใจศกึ ษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของพ้นื ที่ในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ซ่ึง ได้รบั อิทธพิ ลจากปัจจยั ทางภูมิศาสตร์เพ่มิ มากข้ึน (A) 3. สำระกำรเรยี นรู้ สำระกำรเรียนรู้ท้องถนิ่ สำระกำรเรยี นรู้จำกสอ่ื (พิจารณาตามหลักสูตร - การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ สำระกำรเรียนรูแ้ กนกลำง ของ 1) การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ สถานศึกษา) พน้ื ทใี่ นประเทศไทยและ (ประกอบดว้ ย 1. ธรณีภาค ภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลกในดา้ น 2. บรรยากาศภาค 3. อุทกภาค อทุ กภาค 4. ชวี ภาค) ของพื้นทใ่ี น ประเทศไทยและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลกซึง่ ไดร้ ับอทิ ธพิ ลจากปจั จัย ทางภูมิศาสตร์

116 2) การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ ท่สี ง่ ผลตอ่ ภมู ิประเทศ ภูมอิ ากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ 4. มโนทศั นส์ ำคัญ (Key Concept) - ปัจจัยทางภมู ิศาสตร์มีอิทธพิ ลตอ่ การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพดา้ นอทุ กภาคในประเทศไทยและ ภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซึง่ สง่ ผลต่อภมู ิประเทศ ภูมิอากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ 5. คำถำมหลัก (Big Question) 1. ปัจจัยทางภูมิศาสตรท์ ่ีส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพด้านอุทกภาคมีอะไรบา้ ง อยา่ งไร 2. การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพดา้ นอทุ กภาคสง่ ผลต่อภมู ิประเทศ ภมู อิ ากาศ และทรพั ยากรธรรมชาติ ในประเทศไทยและภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลกอย่างไร 6. กำรรู้เรื่องภมู ศิ ำสตร์ (Geo–Literacy) ทักษะทำงภมู ิศำสตร์ 1. การแปลความขอ้ มูลทาง ควำมสำมำรถทำงภูมิศำสตร์ กระบวนกำรทำงภูมิศำสตร์ ภูมศิ าสตร์ 1. การให้เหตุผลทางภมู ิศาสตร์ 1. การต้ังคาถามเชิงภูมิศาสตร์ 2. การคดิ เชิงพื้นที่ 2. การตดั สินใจอย่างเป็นระบบ 2. การรวบรวมขอ้ มลู 3. การจดั การขอ้ มลู 4. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 5. การสรปุ เพ่อื ตอบคาถาม 7. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. ความสามารถในการคิด 1. ใฝ่เรียนรู้ 1) ทกั ษะการทาใหก้ ระจ่าง 2. ม่งุ มนั่ ในการทางาน 2) ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ 2. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ

117 8. กิจกรรมกำรเรียนรู้  วธิ ีสอนแบบกระบวนการทางภูมิศาสตร์ (Geographic Inquiry Process) ชั่วโมงที่ 1 ข้ันนา 1. ครูให้นักเรยี นดภู าพหรือคลปิ วดิ โี อเกย่ี วกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกด้านอทุ กภาค ในประเทศไทยและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก เชน่ 1) โกรกธาร เขตอทุ ยานแห่งชาตอิ อบหลวง จังหวัดเชียงใหม่ 2) แกรนด์แคนยอน ประเทศสหรฐั อเมรกิ า 3) การระเบดิ แก่งหินและสนั ดอนทรายในประเทศจีน 4) ดนิ ดอนสามเหลีย่ มบริเวณปากแม่น้าไนล์ ประเทศอยี ปิ ต์ 2. ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากภาพ หรือคลิปวิดีโอเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงทาง กายภาพของโลกด้านอทุ กภาค 3. ครูให้นักเรียนดูแผนผังแสดงวัฏจักรทางอุทกวิทยา จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 จากน้ันให้ นกั เรียนลองบอกสง่ิ ทีเ่ ห็นจากสายตา 4. ครถู ามคาถามกระตนุ้ ความคิดโดยใหน้ ักเรยี นร่วมกนั ตอบคาถาม เช่น 1) ปัจจัยทท่ี าใหเ้ กดิ การไหลเวยี นของกระแสนา้ ในมหาสมุทรคอื อะไร (แนวตอบ การไหลเวียนของกระแสน้าในมหาสมุทรเกิดจากปัจจัยหลายประการ เช่น ความแตกต่าง ของระดบั นา้ อณุ หภูมแิ ละความหนาแน่นของนา้ รวมถงึ ลมประจาฤดูและลมประจาถิ่น นอกจากน้ี ยงั เกดิ จาก การลดและเพ่ิมของระดบั นา้ จากปรากฏการณ์นา้ ขึน้ -นา้ ลง แผน่ ดินไหว หรือภเู ขาไฟปะทไุ ดอ้ กี ด้วย ) 2) การไหลเวียนของกระแสน้าในมหาสมุทรมีอิทธิพลต่อทรัพยากรธรรมชาติที่มีประโยชน์ทาง เศรษฐกจิ อยา่ งไร (แนวตอบ อทิ ธพิ ลจากการไหลเวียนของกระแสน้าในมหาสมุทรต่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจของมนุษย์ ท่ีสาคัญ เช่น ก่อใหเ้ กดิ แหลง่ ทาการประมงท่ีสาคัญของโลก เนอ่ื งจากบรเิ วณท่กี ระแสนา้ อุ่นและกระแสน้าเย็น ไหลมาปะทะกันจะมีอุณหภูมิเหมาะสมสาหรับการเจริญเติบโตของแพลงก์ตอนซึ่งเป็นอาหารของปลา ทาให้ บรเิ วณนม้ี ีปลาชุกชุมมาก เรียกว่า แบงส์ เชน่ ครู ิลแบงส์ ของประเทศญี่ปุ่น)

118 ขน้ั สอน ขน้ั ที่ 1 กำรตั้งคำถำมเชิงภูมศิ ำสตร์ 1. ครูให้นักเรียนร่วมกันศึกษา Geo Tip เก่ียวกับเกรตอาร์ทีเชียนเบซิน จากหนังสือเรียน ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 และแสดงความคดิ เหน็ ร่วมกัน 2. ครูกระต้นุ ใหน้ กั เรยี นช่วยกันตง้ั ประเด็นคาถามเชิงภมู ิศาสตร์ เชน่ 1) ปจั จัยทางภมู ิศาสตรม์ อี ิทธิพลตอ่ วฏั จกั รทางอุทกวทิ ยาอย่างไร 2) การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพด้านอทุ กภาค ทาให้น้าจืดและนา้ เคม็ เกดิ ปญั หาอยา่ งไร 3) ผลกระทบจากปัญหาของนา้ จดื และน้าเคม็ คอื อะไรบ้าง 4) การไหลเวยี นของกระแสนา้ ในมหาสมทุ รในภูมิภาคตา่ ง ๆ ของโลก มีลักษณะใดบา้ ง ขนั้ ที่ 2 กำรรวบรวมข้อมูล 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเกยี่ วกับอุทกภาค จากหนังสือเรียนภูมศิ าสตร์ ม.4-6 หรือ จากแหลง่ การเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น หนังสอื ในหอ้ งสมุด เว็บไซต์ในอนิ เทอร์เนต็ ประกอบการใช้เครอ่ื งมอื ทาง ภมู ศิ าสตร์ เช่น แผนท่ีแสดงนา้ ผวิ ดินทส่ี าคญั ของโลก ในประเด็นตอ่ ไปนี้ 1) วัฏจักรทางนา้ 2) ระบบนา้ จดื 3) ระบบน้าเค็ม 2. ครแู นะนาแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศทนี่ ่าเชือ่ ถือให้กับนักเรยี นเพิ่มเตมิ ชั่วโมงที่ 2 ขั้นที่ 3 กำรจัดกำรขอ้ มูล 1. สมาชกิ แต่ละคนในกลุ่มนาข้อมูลที่ตนได้จากการรวบรวม มาอธิบายแลกเปลี่ยนความรรู้ ะหว่าง กัน 2. จากน้ันสมาชิกในกลุ่มช่วยกันคัดเลือกข้อมูลที่นาเสนอเพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง และร่วม อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ เพ่ิมเติม ขั้นที่ 4 กำรวเิ ครำะห์และแปลผลข้อมลู 1. ครูใหน้ ักเรยี นดแู ผนท่ีแสดงกระแสน้าในมหาสมุทร จากหนังสอื เรียนภูมศิ าสตร์ ม.4-6 จากนั้น รว่ มกนั วเิ คราะหแ์ ละเชื่อมโยงการไหลเวียนของกระแสน้าในมหาสมทุ รเพ่มิ เตมิ 2. ครูให้สมาชกิ แต่ละกลมุ่ นาข้อมูลทรี่ วบรวมมาไดท้ าการวเิ คราะหร์ ่วมกันเพอ่ื อธบิ ายคาตอบ 3. สมาชกิ แตล่ ะกลุ่มรว่ มกันตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มูล 4. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน สมาชิกกลุ่มอื่นผลัดกันให้ข้อคิดเห็น หรือ ขอ้ เสนอแนะ