ฉบับปรบั ปรงุคร้ังท่ี 5มนี าคม 2553 ยCDวิชุทoidาธuเaทวrcคsธิ teนiีกcาคิ รfoเรrยี Tนeกcาhรnสiอcนalเรียบเรยี งโดย ผศ.ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ภาควชิ าครศุ าสตรเ์ คร่ืองกล คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ยCDวชิทุoidาธuเaทวrcคsธิ teนiกี cาิครfoเรrยี Tนeกcาhรnสiอcนalฉบับปรับปรุงครงั้ ที่ 5 (มนี าคม 2553)เรียบเรยี งโดยผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์___________________ภาควิชาครศุ าสตรเ์ คร่ืองกล คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรมมหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนือ1518 ถนนพิบลู ย์สงคราม เขตบางซือ่ กรงุ เทพมหานคร10800.
หลกั สตู รครุศาสตร์อตุ สาหกรรมมหาบณั ฑิตสาขาวิชาเครอ่ื งกลหลักสตู รปรับปรุง พ.ศ. 2544200411ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ 3(3-0)(Didactic for Technical Course)วชิ าบงั คบั กอ่ น : ไม่มีรูปแบบต่าง ๆ ของการเรยี นการสอนวชิ าชพี การวิเคราะห์ยุทธวิธีการเรียนการสอนจากหลักสูตร โดยเน้นการวิเคราะห์ในด้านเนื้อหาวิชากระบวนการเรียน วิธีการจัดกิจกรรมและการประเมินผลความสาเร็จในการเรียนการสอน ยุทธวิธีการเรียนการสอนในวิชาทฤษฎี ประลอง และปฏิบัติมอบหมายงานให้นักศึกษาประยุกต์รูปแบบการเรียนรู้ในการออกแบบบทเรยี นทฤษฎี ประลอง และปฏบิ ตั ิ ตามสาขาวิชาหลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2552200411ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค 3(3-0)(Didactic for Technical Courses)วิชาบังคับก่อน : ไม่มีPrerequisite : Noneรปู แบบต่าง ๆ ของการเรียนการสอนวิชาชีพ การวิเคราะห์ยุทธวิธีการเรียนการสอนจากหลักสูตร โดยเน้นการวิเคราะห์ในด้านเน้ือหาวิชากระบวนการเรยี นรู้ วธิ ีการจดั กจิ กรรมและการประเมนิ ผลความสาเร็จในการเรียนการสอน ยุทธวิธีการเรียนการสอนในวิชาทฤษฎี ประลอง และปฏิบัติมอ บ ห มา ย ง า นใ ห้ นัก ศึก ษ า ป ร ะ ยุ กต์ รู ป แ บ บ กา ร เ รี ย น รู้ ใน กา ร อ อ กแ บ บบทเรยี นทฤษฎี ประลอง และปฏบิ ัตติ ามสาขาวชิ า
กคานา ตาราวิชายทุ ธวธิ ีการเรียนการสอนวิชาเทคนิคนี้ เรียบเรียงขึ้นจากประสบการณ์ที่เป็นครูผู้สอนและเป็น วิทยากรฝึกอบรมเก่ียวกับการสอนงานให้กับหน่วยงานทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน เช่น ในเรื่องการ จดั ทาเอกสารประกอบการสอน การสอนทักษะงานปฏิบัติ เทคนิคการสอนงาน การจัดทาแผนบทเรียน การสรา้ งเคร่อื งมือวัดและประเมนิ ผลการสอน การนิเทศการเรียนการสอน เป็นต้น ซ่ึงเน้ือหาหลายส่วน ในการฝึกอบรมดังกล่าว มีความเก่ียวข้องที่ต้องใช้หรือประยุกต์ใช้เน้ือหาจากรายวิชายุทธวิธีการเรียน การสอนวชิ าเทคนิคแทบท้ังสิ้น ปกี ารศกึ ษา 2544 เป็นผู้สอน วิชา 200411 ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวิชาเทคนิค แก่นักศึกษา ในโครงการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาครูประจาการ หลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวชิ าเคร่ืองกล เหน็ วา่ น่าจะจัดทาเอกสารสรุปเน้ือหาข้ึนมาสักชุดหน่ึง เพ่ือใช้เป็นส่ือทาความเข้าใจ ในการเรยี นการสอน และใช้ทบทวนเนื้อหาวิชาเม่ือต้องการนาไปใช้จริงในการเตรียมการเรียนการสอน เม่อื สาเร็จการศกึ ษาไปแลว้ ระยะเรม่ิ ตน้ ตาราเลม่ นเี้ รียบเรียงขน้ึ ในรูปแบบของเอกสารประกอบการสอน ใช้ในการสอนนักศึกษา และการฝึกอบรมครูประจาการ สังกัดสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา เกย่ี วกับการสร้างวสั ดุการสอน การปฏิบัติการสอนและการประเมินผลการเรียนการสอน จากนั้นได้นา ข้อสังเกตต่าง ๆ จากการเรียนการสอนและการฝึกอบรม มาปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดเนื้อหาวิชาเพ่ือ ให้เกดิ ความสมบูรณ์มากยิ่งขน้ึ ตาราเลม่ น้ี อ้างองิ รปู แบบวิธีดาเนินการจดั การเรยี นการสอน ของภาควิชาครุศาสตร์เคร่ืองกล คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ ซึ่งรายละเอียดเนื้อหา วชิ าอาจแตกตา่ งจากหนังสอื หรือตาราการศึกษาทั่วไปอยู่บ้าง การเขียนเนื้อหาวิชาและการยกตัวอย่าง ประกอบการอธบิ ายในหัวข้อเร่ืองตา่ ง ๆ จะเน้นทางด้านช่างอุตสาหกรรมเป็นหลัก จึงอาจมีข้อจากัดใน การศึกษาทาความเขา้ ใจ ดังนน้ั หากท่านได้อ่านแล้วมีข้อสงสัยหรือใคร่ท่ีจะแลกเปล่ียนข้อคิดเห็นต่าง ๆ สามารถตดิ ตอ่ ผเู้ รียบเรยี งไดต้ ามท่ีอยู่ในตาราเล่มนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ มนี าคม 2553
ขสารบญับทที่ หน้าที่ 1 พฤตกิ รรมการเรยี นรู้และการสอน 1-7 เน้ือหาสาระในบทนี้ เก่ียวข้องกับกระบวนการในการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ องค์ประกอบในการสอน จุดประสงค์ในการเรียนการสอน ความหมายของคาว่า 8-14 “พฤตกิ รรม” ลกั ษณะพฤติกรรมการเรียนรู้ ทางดา้ นความสามารถทางสติปัญญา ด้านทักษะกล้ามเนื้อ และกิจนิสัยในการทางาน การจาแนกระดับความสามารถ 15-21 ทางสตปิ ญั ญา ความสามารถทางทักษะกลา้ มเนอื้ และกจิ นสิ ยั ในการทางาน 2 กระบวนการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น 22-29 เนือ้ หาสาระในบทนี้ เน้นความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของ “การเรียนรู้” ขั้นตอนการเรียนรู้รูปแบบ MIAP กิจกรรมครูและผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ 30-44 รูปแบบ MIAP ความสัมพันธ์ระหว่างความตั้งใจในการเรียนและระยะเวลาของ บทเรยี น การแบง่ เวลาที่เหมาะสมในแต่ละข้ันตอนของกระบวนการเรียนรู้รูปแบบ MIAP วธิ กี ารตรวจปรบั ผเู้ รียนระหว่างการจดั การเรียนการสอน 3 รปู แบบและกระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร เน้ือหาสาระในบทน้ี เน้นความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและองค์ประกอบ ของหลกั สูตร ความหมาย ข้อแตกตา่ งระหว่างหลักสูตรวิชาชีพ หลักสูตรรายวิชา หลักสูตรวิชาชีพระยะส้ัน และหลักสูตรฝึกอบรม การจาแนกหลักสูตรระดับ Micro กับ Macro ความหมายของคาบางคาท่ีเก่ียวข้องและมักจะได้ยินบ่อย ๆ เช่น ปรชั ญา ปณิธาน วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ และวตั ถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร เป็นต้น 4 หลักสูตรรายวชิ า : หลักการและวธิ กี ารพฒั นา เนอื้ หาสาระในบทน้ี กลา่ วถึงความสาคญั ของวัตถปุ ระสงค์การสอนต่อการกาหนด เนอ้ื หา วิธีสอน ส่อื การสอนและการวัดและประเมนิ ผล กระบวนการในการพัฒนา หลักสูตรรายวชิ า ปจั จยั ท่ีจะต้องคานึงถึงในการพัฒนาหลักสตู รรายวิชา หลักการ ในการวิเคราะห์ส่ิงที่กาหนดให้ในรายวิชา รายวิชาที่สัมพันธ์กัน ความต้องการใน งานอาชพี และคุณสมบัตขิ องผ้ทู ี่จะเรยี นในหลักสูตร 5 การวเิ คราะหง์ านและการวเิ คราะหห์ วั ขอ้ เรื่อง เนื้อหาสาระในบทนี้ กล่าวถึง การจาแนกจุดมุ่งหมายของวิชาทฤษฎี วิชาปฏิบัติ และวชิ าประลอง ความหมายของคาว่า “งาน” แหล่งข้อมูลของงาน ความหมาย ของการวิเคราะห์งาน ความหมายของคาว่า “หัวข้อเรื่อง” ส่วนประกอบของ หวั ข้อเรอ่ื ง หลกั การและวิธีการวิเคราะห์งานและหัวขอ้ เรือ่ ง การเขยี นแผนผังการ วิเคราะห์งานหรอื หัวข้อเรอ่ื ง ด้วยผังปะการังหรือสกาลาไดอะแกรม
คบทที่ หน้าที่ 6 การวเิ คราะห์ความรแู้ ละทักษะ 45-53 เนือ้ หาสาระในบทนี้ กล่าวถึง ความหมายของความรู้และทักษะ ความสาคัญของ 54-58 ความรู้และทกั ษะ ขั้นตอนในการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์ความสามารถในการ 59-67 ทางาน (Task) หลักการวิเคราะห์ Task ตัวอย่างการวิเคราะห์ Task และการ 68-75 วิเคราะห์ส่วนประกอบของหัวข้อเร่ือง (Main Element/Element) ข้อคานึงถึง 76-82 ในการระบุความรู้ (Knowledge) และทกั ษะ (Skills) ใหก้ บั Task ต่าง ๆ 7 การวเิ คราะห์ระดบั ความรู้และทกั ษะ เนื้อหาสาระในบทนี้ กล่าวถึง ความหมายของคาว่า “ความรู้” ที่อยู่ในตัวบุคคล การนาความรู้ที่มีอย่ไู ปแก้ปัญหาในการทางาน ความหมายของคาว่า “ทักษะ” ใน การทางาน การจาแนกระดับทักษะโดยพิจารณาที่ความถูกต้องในการทางานและ เวลาท่ีใช้ การกาหนดระดับความรู้และทักษะลงใน Task Detailing Sheet และ Topic Detailing Sheet ที่ไดว้ ิเคราะห์ 8 การเขียนวตั ถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม เนื้อหาสาระในบทน้ี กลา่ วถงึ ความจาเปน็ ท่ตี ้องมีวตั ถปุ ระสงคใ์ นการจัดการเรียน การสอน องค์ประกอบของวัตถุประสงค์การสอน หลักการเขียนพฤติกรรม เง่อื นไขและมาตรฐานในวตั ถปุ ระสงค์การสอน ความหมายของ “วัตถุประสงค์เชิง พฤติกรรม” ข้อคานึงถึงในการเขียนวัตถุประสงค์การสอน แนวทางในการเขียน วัตถุประสงคก์ ารสอนจากการวิเคราะห์หวั ข้อเร่ืองและงาน 9 การวเิ คราะห์เพอื่ สรา้ งใบเนื้อหา เนื้อหาสาระในบทน้ี กล่าวถึง ความหมายของคาว่า “เน้ือหา” ความสาคัญของ เน้ือหาต่อความรู้ผู้เรียน หลักการที่วัตถุประสงค์การสอนเป็นตัวกาหนดเนื้อหา วิธีการจาแนกความจาเป็นของเน้ือหาท่ีใช้ในการเรียนการสอน วิธีการวิเคราะห์ ความจาเป็นและความสาคัญของเนื้อหา จุดประสงค์ท่ีสาคัญในการใช้ใบเนื้อหา ลกั ษณะสาคญั ของใบเนอื้ หา หลักในการออกแบบใบเนื้อหา ลักษณะการนาเสนอ เนือ้ หา หลกั เกณฑส์ าคญั ในการสร้างใบเน้ือหา 10 รูปแบบและเทคนคิ วธิ ีการเรยี นการสอน เน้ือหาสาระในบทน้ี กล่าวถึง จุดประสงค์ของการเรียนการสอน กระบวนการใน การเรยี นรู้ ปัจจัยสาคญั เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอน เช่น วัตถุประสงค์ การสอน เน้อื หาวชิ า พน้ื ความรู้ของผเู้ รียน จานวนผู้เรียน ระยะเวลาในการเรียน การสอน สิ่งอานวยความสะดวกในการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอน โดยพิจารณาที่กิจกรรมของครูผู้สอนและผู้เรียน การสอนแบบบรรยาย ถามตอบ และการศึกษาด้วยตนเอง
งบทที่ หน้าที่ 11 การสร้างใบงาน-แบบทดสอบท้ายบทเรยี น เน้ือหาสาระสาคัญในบทน้ี กล่าวถึง ลักษณะสาคัญของใบงาน (หรือแบบฝึกหัด) 83-93 จุดประสงค์ในการใช้ใบงานในระหว่างการเรียนการสอน การจัดแบ่งใบงานตาม การแบ่งช่วงการสอน รูปแบบและลักษณะข้อคาถามท่ีใช้ในใบงาน ข้อคานึงถึงใน การสรา้ งและการใชใ้ บงาน ลกั ษณะเฉพาะของแบบทดสอบท้ายบทเรยี น12 การสร้างใบส่งั งาน-ใบประลอง 94-102 เนื้อหาสาระสาคัญในบทนี้ กลา่ วถึง ความหมายของใบส่ังงาน (Job Sheet) และ ใบประลอง (Lab Sheet) ส่วนประกอบสาคัญของใบสั่งงานและใบประลอง ส่วนประกอบของใบตรวจงานของ Job Sheet และ Lab Sheet ที่ใช้งานของ ใบส่ังงานและใบประลอง ขอ้ คานงึ ถึงในการสรา้ งใบสัง่ งานและใบประลอง13 การสรา้ งสอื่ การเรียนการสอน 103-108 เนื้อหาสาระในบทนี้ กล่าวถึง ความหมายของส่ือการสอน สื่อท่ีนิยมใช้ทั่วไปใน การเรียนการสอน ข้อพิจารณาเบือ้ งตน้ ในการใชส้ อ่ื การสอน หลกั การและแนวคิด ในการพิจารณาเลือกใช้ส่ือ การเลือกส่ือที่เหมาะสมกับความต้องการในการเรียน การสอน ขอ้ คานงึ ถงึ เกีย่ วกับการเลือกใชส้ ื่อในการเรยี นการสอน14 การวดั และประเมนิ ผลการเรียน 109-120 เน้ือหาในบทน้ี กล่าวถึง ความหมายของ “การวัดผล” และ “การประเมินผล” การประเมินผลแบบย่อยและแบบรวม การวัดผลวิชาภาคทฤษฎี คุณภาพที่ดีของ ขอ้ สอบวชิ าภาคทฤษฎี วธิ ีการวัดผลในวิชาภาคปฏิบัติและวิชาประลอง การสร้าง การตรวจใหค้ ะแนนและการประเมินผลในวิชาปฏิบตั ิและวชิ าประลอง15 การวางแผนและจดั สร้างแผนบทเรียน 121-137 เนื้อหาสาระในบทน้ี กลา่ วถงึ ความหมายของแผนบทเรยี น ความจาเป็นของแผน บทเรียน วธิ ีการจดั ทาโครงการสอน ส่วนประกอบของแผนบทเรียน การวางแผน เพอ่ื สร้างบทเรยี น การลงรายละเอียดในแผนบทเรยี นในสว่ นวตั ถปุ ระสงค์การสอน การนาเขา้ สบู่ ทเรียน แผนการปฏิบัตกิ าร และส่งิ ทแี่ นบมาด้วย16 การทดลองใช้และการประเมนิ ผลรายวิชา 138-147 เนือ้ หาสาระในบทนี้ กลา่ วถึง ความจาเปน็ ที่ตอ้ งมกี ารทดลองใช้และปรับปรุงแก้ไข บทเรียนหรอื รายวิชาท่พี ฒั นา การทดลองใชแ้ ละปรับปรุงแก้ไขบทเรียน การใช้จริง และประเมินผลบทเรียน ปัจจัยท่ีสาคัญ ๆ ในการเตรียมการก่อนการใช้จริงและ ประเมินผล วิธีการเก็บข้อมูล การแปลผลคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพของบทเรียนบรรณานุกรม 148อภิธานศพั ท์ 149-156ดชั นคี า 157-160
บทที่แพลฤะตกกิ ารรรสมอกนารเรยี นรู้ สาระสาคญั ของเน้อื หาในบทนี้ เกี่ยวข้องกบั กระบวนการในการจัดการเรยี นการสอน ได้แก่ องค์ประกอบ สาคัญในการจดั การเรยี นการสอน จุดประสงค์ในการเรยี นการสอน ความหมายของคาว่า “พฤติกรรม” ซ่ึงเป็นผลอันเน่ืองจากการเรียนรู้ ลักษณะพฤติกรรมการเรียนรู้ ทางด้านความสามารถทางสติปัญญา ความสามารถทางทักษะกล้ามเน้ือ และกิจนิสัยในการทางาน ตลอดจนการจาแนกระดับของการเรียนรู้ ทางดา้ นความสามารถทางสตปิ ญั ญา ความสามารถทางทักษะกล้ามเน้ือ และกิจนสิ ยั ในการทางานองคป์ ระกอบในการเรียนการสอน ครูผูส้ อน กิจกรรม ผเู้ รยี นเกดิ ผ้เู รยี น การเรียน การเรยี นรู้วสั ดุการเรียนการสอน การสอนภาพที่ 1-1 องคป์ ระกอบในการเรียนการสอนการจัดการเรยี นการสอนโดยทั่วไป มีองค์ประกอบท่ีสาคัญอยู่ 3 อย่าง คือ (1) ผู้สอนทาหน้าที่วางแผนและจัดเตรียมกจิ กรรมการเรียนการสอน (2) ตัวผู้เรียนซึ่งต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และ(3) วัสดุการเรียนการสอน รวมถึงสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแม้การจัดการเรียนการสอนยุคใหม่ ผู้เรียนสามารถที่จะเรียนรู้ได้ด้วยตนเองจากสื่อหรือวัสดุการเรียนการสอนรูปแบบต่าง ๆ ได้ แต่ครูผู้สอนก็ยังคงเป็นกลไกที่สาคัญและจาเป็นในการพัฒนาส่ือหรือวัสดุการเรียนการสอนเหลา่ นนั้
► บทที่ 1 พฤตกิ รรมการเรยี นรแู้ ละการสอน 2จดุ ประสงคใ์ นการเรียนการสอนจากผ้เู รยี นท่ี กจิ กรรม เปน็ ผู้เรยี นท่ี การเรยี น„ ทาไม่ได้ „ ทาได้„ คดิ ไม่เปน็ การสอน „ คดิ เป็น ภาพที่ 1-2 การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมในการจดั การเรียนการสอน จุดมุ่งหมายที่สาคัญหรือจุดประสงค์หลักในการจัดการเรียนการสอน ก็คือ ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการ เรยี นรู้ มีการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมไปในทางทพ่ี งึ ปรารถนา หรือตามวัตถุประสงค์การสอนท่ีกาหนดไว้ กอ่ นการจัดการเรยี นการสอน เชน่ ก่อนการเรียนการสอนคิดไมเ่ ป็นทาไม่ได้ หลังจากการเรียนการสอน คิดเป็นทาได้ แสดงวา่ ผูเ้ รยี นไดเ้ กดิ การเรียนรูแ้ ล้ว เปน็ ต้นความหมายของคาวา่ “พฤติกรรม”การกระทา พฤตกิ รรม อากปั กรยิ าการแสดง ลกั ษณะสหี นา้ ทา่ ทาง ภาพท่ี 1-3 ลักษณะของพฤติกรรมในการเรยี นการสอนการเรยี นรู้ เป็นส่ิงท่เี กิดขนึ้ ในตวั ผูเ้ รยี นโดยผู้เรยี นเอง ครูเป็นเพียงผู้ท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้และเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมเท่านัน้ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน ครูสามารถวัดหรือสังเกตได้โดยการใชเ้ คร่อื งมอื ไปวดั หรือตรวจสอบ แลว้ แปลความออกมาอีกทีหนึง่ พฤติกรรม จึงหมายถึง การกระทา การแสดงออก อากัปกริยา รวมถึงลักษณะสีหน้าท่าทางซ่ึงบ่งบอกถึงความรู้สึกภายใน ความชอบหรือไม่ชอบของบุคคล ตัวอย่างของพฤติกรรม เช่น การพูดการอธิบาย การปฏิบัติการเลื่อย การตะไบช้ินงาน การกลึงช้ินงาน การแสดงออกทางสีหน้าท่าทางจงั หวะการพดู ความดังของเสยี ง เปน็ ต้นผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ ีการเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ
► บทที่ 1 พฤติกรรมการเรยี นรแู้ ละการสอน 3พฤตกิ รรมที่ตอ้ งการทีเ่ กดิ จากการเรียนรู้ คิดแกป้ ัญหาได้ ใชก้ ล้ามเน้ือทางานได้ พฤติกรรมทีต่ อ้ งการ มีกิจนิสัยทดี่ ีในการทางาน ภาพที่ 1-4 พฤติกรรมบคุ คลท่ีตอ้ งการอันเกิดจากการเรียนรู้พฤตกิ รรมการเรียนรู้ที่ตอ้ งการจากผู้เรยี นน้ันอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ลักษณะ คือ (1) ต้องการให้ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาได้ มีความเฉลียวฉลาดเพิ่มขึ้น (2) ต้องการให้ผู้เรียนทางานได้โดยให้กล้ามเน้ือหรือประสาทสัมผัส ไม่ว่าจะเป็นการมอง การชิม การดม การฟัง หรือสัมผัสร่วมด้วย และ (3) ต้องการให้ผู้เรียนเป็นผู้มีกิจนิสัยที่ดีในการทางาน มีความตระหนักรับผิดชอบต่อหน้าท่ี เป็นคนตรงต่อเวลาซอื่ สตั ยส์ ุจริต เปน็ พลเมอื งดใี นสังคมลักษณะพฤติกรรมการเรยี นรู้1. ความสามารถทางสติปญั ญา (Intellectual Skill)ขอ้ มลู /เนื้อหาเรื่องราว แกป้ ัญหาโดยใช้ความรู้ (Information) (Knowledge) ทมี่ ีอยู่ความรอู้ ยใู่ นสมองโดย นาความรจู้ ากการจาและ ความสาเรจ็ ผลการจาและความเข้าใจ ความเข้าใจมาใชแ้ กป้ ญั หาภาพท่ี 1-5 พฤติกรรมด้านความสามารถทางสติปญั ญาผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวธิ ีการเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ
► บทท่ี 1 พฤติกรรมการเรยี นรแู้ ละการสอน 4ความสามารถทางสติปัญญา คือ ความสามารถในการใช้ความรู้ (Knowledge) ที่มีอยู่ในสมองไปคิดแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้สาเร็จลุล่วงลงไป เนื่องจากคนเราแต่ละคนมีความรู้ไม่เท่ากัน ทั้งประสบการณ์ในการแก้ปัญหาก็ไม่เท่ากัน จึงเป็นผลให้ความสามารถทางสติปัญญาของแต่ละคนแตกต่างกันไปด้วยอย่างไรก็ดี เป็นหน้าที่ของครูที่จะให้ Information (ข้อมูลข่าวสารท่ัวไปภายนอกตัวผู้เรียน) อย่างเป็นระบบ ตามหลักของการให้เนื้อหา คือ ต้องมีการแยกย่อยและจัดเรียงลาดับเน้ือหาอย่างเหมาะสม โดยคานึงถงึ ปริมาณท่ีรบั ไดใ้ นช่วงเวลาหน่งึ ทผ่ี เู้ รียนสามารถจดจาและ/หรือเข้าใจได้มากทีส่ ดุ2. ความสามารถทางทกั ษะกลา้ มเนือ้ (Physical or Motor Skills) ผลงาน อุปกรณ์ ภาพท่ี 1-6 พฤติกรรมดา้ นความสามารถทางทักษะกลา้ มเน้ือความสามารถทางทักษะกล้ามเน้ือ หมายถึง การใช้กล้ามเนื้อ (หรือส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย) ทางานร่วมกับเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตามขั้นตอน แล้วได้ช้ินงานหรือผลงานท่ีถูกต้อง ภายในเวลาที่เหมาะสมจานวนครั้งในการฝึกและความถ่ีในการใช้ทักษะ ส่งผลต่อความชานาญและความคงอยู่ของทักษะฝีมือน้ันด้วย กล่าวคือ การฝึกบ่อยทาบ่อยส่งผลให้เกิดทักษะความชานาญได้มากและการใช้ทักษะเหล่าน้ันบ่อย ๆ จะเปน็ การเสรมิ ความคงทนและเกิดความชานาญเพิม่ มากขึน้3. ลกั ษณะกิจนสิ ัยในการทางาน (Work Habit) ภาพที่ 1-7 พฤตกิ รรมด้านกิจนิสัยในการทางานผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 1 พฤตกิ รรมการเรยี นรแู้ ละการสอน 5กจิ นสิ ัยของบุคคลในการทางาน (Work Habit) เป็นการสะท้อนออกจากภาวะจิตใจท่ีพร้อมจะแสดงให้เห็นถึงความตระหนัก ความรับผิดชอบ ความเอาใจใส่ ฯลฯ ในภาวะและเหตุการณ์ต่าง ๆ การให้เนื้อหา (Information) ในเร่ืองกิจนิสัยมิได้เป็นการสร้างกิจนิสัยโดยตรง แต่เป็นการสร้างความรู้เพ่ือเป็นข้อมูลในการเปรียบเทียบว่าสิ่งใดควรหรือไม่ควรปฏิบัติ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในด้านนี้จะต้องสร้างสิ่งแวดล้อมหรือสถานการณ์ที่เอื้ออานวยกับส่ิงท่ีต้องการให้เกิดข้ึนในตัวผู้เรียน เช่น ถ้าหากต้องการไม่ให้ผเู้ รยี นเขา้ เรยี นสาย ครูผู้สอนกต็ อ้ งไม่สายด้วย เป็นตน้ระดบั ของพฤติกรรมการเรียนรู้ 1. ระดบั ความสามารถทางสตปิ ญั ญาความรูใ้ น ความรูท้ ่ี ระดบั ความสามารถตวั ผู้เรยี น ใช้แกป้ ญั หา ทางสตปิ ญั ญาAA ขนั้ ฟื้นคืนความรู้ (Recall Knowledge)AB ขั้นประยกุ ต์ความรู้AC (Apply Knowledge) ขัน้ ส่งถา่ ยความรู้ (Transfer Knowledge) ภาพที่ 1-8 ระดบั ความสามารถทางสติปัญญาระดับความสามารถทางสตปิ ัญญา คอื ความสามารถในการนาความรู้ท่ีมีอยู่ในสมองไปแก้ปัญหาต่างๆใหส้ าเร็จลุลว่ งลงไป แบ่งออกไดเ้ ปน็ 3 ระดับ คอื (1) ข้ันฟื้นคืนความรู้ เป็นการใช้ความรู้เก่าท่ีมีอยู่ (หรือความรู้เดิม) โดยการลอกเลียน (Cramming) ไปแก้ปัญหาเหมือนที่เคยได้มีประสบการณ์มาแล้ว หากแก้ปัญหาน้ันได้ถือ วา่ มีความสามารถในระดับฟน้ื คนื ความรู้ (Recall Knowledge) (2) ขั้นประยุกต์ความรู้ เป็นการใช้ความรู้ที่มีอยู่ในสมองไปแก้ปัญหาใหม่ ซึ่งไม่เคยมี ประสบการณ์มาก่อน แต่ลักษณะการแก้ปัญหาดังกล่าวยังใช้เค้าโครงหรือวิธีการเดิมหาก แก้ปัญหาดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า มีความสามารถทางสติปัญญาระดับประยุกต์ความรู้ (Apply Knowledge) (3) ขั้นส่งถ่ายความรู้ เป็นการใช้ความรู้ที่มีอยู่ผสมผสานกันไปแก้ปัญหาใหม่ในลักษณะใหม่ ซึ่งไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน หากแก้ปัญหานั้นๆได้แสดงว่ามีความสามารถทาง สตปิ ญั ญาในระดับสง่ ถา่ ยความรู้ (Transfer Knowledge)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรยี นการสอนวิชาเทคนิค
► บทที่ 1 พฤติกรรมการเรยี นรู้และการสอน 62. ระดับความสามารถทางทักษะกล้ามเนอื้ คุณภาพผลงาน 0 3. ข้ันชานาญ (Automatism) 2. ข้ันทาดว้ ยความถูกต้อง (Control) 1. ขั้นเลียนแบบ (Imitation) เวลา ภาพท่ี 1-9 ระดับความสามารถทางทกั ษะกลา้ มเนื้อความสามารถทางทกั ษะกล้ามเนื้อ หมายถึง การใช้กล้ามเนื้อทางานร่วมกับเครื่องมือหรืออุปกรณ์ตามข้ันตอนทคี่ วรจะเป็น ไดช้ ิ้นงานหรือผลงานทถี่ ูกตอ้ งในเวลาที่เหมาะสม แบง่ ออกได้เป็น 3 ระดับ คือ (1) ข้ันเลียนแบบ เป็นความสามารถระดับต้น ที่สามารถจะสังเกตเห็นได้จากการแสดงออก การเคล่อื นไหวกล้ามเนื้อ ปฏิบัติงานตามรูปแบบซึ่งเคยได้พบได้เห็นมา ผลงานอาจยังไม่ดี เวลาทใ่ี ช้อาจนานกวา่ ทีค่ วรจะเป็น แต่กไ็ ดผ้ ลงานหรือชนิ้ งานออกมา (2) ข้ันทาด้วยความถกู ต้อง เป็นความสามารถซึ่งสูงข้ึนกว่าขั้นเลียนแบบ เกิดจากการฝึกฝน ทกั ษะมากขน้ึ สามารถใช้กลา้ มเนื้ออยา่ งผสมผสาน ไดผ้ ลงานทถ่ี ูกต้องในเวลาที่กาหนด (3) ขั้นชานาญหรอื ขั้นอัตโนมัติ เปน็ ความสามารถทางทกั ษะกล้ามเน้ือข้ันสูงสุด เกิดจากการ ฝกึ ปฏิบัติงานนั้นจนเป็นความเคยชิน รูปแบบการแสดงออกของทักษะจะผสมผสานอย่าง กลมกลืน ไดผ้ ลงานท่ถี กู ต้องในเวลาอนั รวดเรว็3. ระดบั ของกจิ นิสัยในการทางานระดบั พฤตกิ รรม 3 2 1 แรงเสรมิ 0 เวลาเร่ิมต้น ภาพท่ี 1-10 ระดบั ของกิจนสิ ัยในการทางานผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวิธีการเรียนการสอนวิชาเทคนิค
► บทที่ 1 พฤตกิ รรมการเรยี นรูแ้ ละการสอน 7กิจนิสัยในการทางาน (Work Habit) เป็นการแสดงออกของบุคคลถึงความตระหนัก ความรับผิดชอบความเอาใจใส่ ฯลฯ ซ่ึงเป็นผลทางภาวะจิตใจในการยอมรับและการตอบสนองต่อภาวะและเหตุการณ์ต่าง ๆ แบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ระดับ คอื (1) ข้ันการยอมรับ (Receiving) เป็นการแสดงออกภายใต้ภาวะซ่ึงถูกกาหนดด้วยระเบียบ กฎเกณฑ์หรือกติกาท่ีไม่ได้ฝุาฝืน แต่อาจไม่ได้เกิดจากจิตใจที่ยอมรับหรือพร้อมท่ีจะ ตอบสนอง เช่น ไม่เดินลัดสนามเมอื่ เห็นว่ามีผอู้ นื่ หรือเพอื่ น ๆ จ้องมองอยู่ เปน็ ต้น (2) ขั้นตอบสนอง (Response) เป็นการแสดงออกจากภาวะจิตใจท่ีเกิดจากการยอมรับและ พฤติกรรมที่จะปฏบิ ตั ติ ามโดยปราศจากการบงั คบั ข่เู ขญ็ ผู้มีกจิ นิสัยในระดับน้ีจะแสดงออก ซงึ่ พฤตกิ รรมนน้ั ๆ ไม่วา่ จะต่อหน้าหรือลับหลงั (3) ข้ันลักษณะนิสัย (Internalization) เป็นการแสดงออกซึ่งลักษณะพฤติกรรมกิจนิสัยใน การทางานข้ันสูงสุด มีการประพฤติปฏิบัติเป็นประจาเป็นลักษณะนิสัย เห็นได้ว่ามีความ ศรทั ธา มคี วามเชอ่ื มน่ั ในการกระทาหรือการแสดงออกสรปุ บทเรยี น 1. องคป์ ระกอบท่ีสาคัญในการเรียนการสอน ประกอบดว้ ยครผู ้สู อน ผเู้ รียนและวัสดุการเรียนการสอน แม้บางคร้ังผเู้ รียนอาจเรยี นจากวัสดุการเรยี นการสอนต่าง ๆ ได้ แต่ครูผู้สอนก็ยังเป็นบุคคลสาคัญ ในการพฒั นาสือ่ และวสั ดกุ ารเรยี นการสอนเหลา่ น้ัน 2. จุดประสงค์ในการจัดการเรียนการสอนอยู่ที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ เป็นการเปล่ียนแปลง พฤติกรรมจากท่ีไม่เคยทาได้เป็นทาได้ ไม่เคยคิดเป็นเป็นคิดเป็น โดยพฤติกรรมดังกล่าวสามารถท่ี จะสังเกตและวดั ผลได้ 3. คาว่า “พฤติกรรม” หมายถึง การกระทาหรือการแสดงออก จะด้วยคาพูด อากัปกริยาหรือสีหน้า ท่าทางกต็ าม ซึ่งเปน็ ผลจากการเรยี นรู้ของผู้เรียน หลงั จากจบการเรยี นการสอนแล้ว 4. พฤตกิ รรมผู้เรียนซ่ึงเป็นความคาดหวังจากการเรียนรู้ สรปุ ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ (1) ต้องการให้เขา มคี วามสามารถทางสตปิ ญั ญาคดิ แก้ปญั หาได้ (2) มที กั ษะกลา้ มเนือ้ ทางานที่ต้องการได้ และ (3) มี กจิ นิสยั ที่ดีในการทางานอยูร่ ่วมในสังคมอยา่ งปกตสิ ขุ 5. พฤติกรรมจากการเรยี นรูส้ ามารถแบ่งระดับได้ 3 ระดับในทกุ กลมุ่ คือ ความสามารถทางสติปัญญา แบ่งเป็นระดับ Recall, Apply และ Transfer Knowledge ความสามารถทางทักษะกล้ามเนื้อ แบ่งเป็นระดับ Imitation, Control และ Automatism ส่วนทางด้านกิจนิสัยในการทางาน แบ่ง ออกเป็นระดบั Receiving, Response และ Internalization.ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวธิ ีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
บทที่กขรอะงบผวเู้ รนียกนารเรยี นรู้ เนื้อหาสาระในบทนี้ เน้นความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับความหมายของ “การเรียนรู้” ข้ันตอนการเรียนรู้ รูปแบบ MIAP รายละเอียดกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนการเรียนรู้ กิจกรรมของครูผู้สอนและผู้เรียนใน กระบวนการเรียนรู้รูปแบบ MIAP ความหมายของกระบวนการเรียนรู้รูปแบบ MIAP ความสัมพันธ์ ระหว่างความสนใจและระยะเวลาของบทเรียน การแบ่งระยะเวลาที่เหมาะสมในแต่ละขั้นตอนของ กระบวนการเรยี นรู้รูปแบบ MIAP รวมถึงวิธกี ารตรวจปรับผ้เู รยี นระหวา่ งการจัดการเรียนการสอนความหมายของการเรียนรู้ การเรยี นรู้ (Learning) เป็นกระบวนการในการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน จากเดิมท่ีคิดไม่เป็น หรือทาไม่ได้ มาคิดเป็นหรือทาได้โดยตัวผู้เรียนเอง พฤติกรรมดังกล่าวจะต้องเป็นพฤติกรรมท่ีค่อนข้าง จะถาวร หมายถงึ ผเู้ รียนท่ีเกดิ การเรยี นรแู้ ล้วจะสามารถทาสิ่งเหล่าน้ันได้ตลอดไป ไม่ใช่ทาได้เพียงหน่ึง หรือสองคร้ัง หรอื เปล่ียนแปลงอยูใ่ นช่วงเวลาหนึง่ เท่านัน้ก่อนเรยี น หลังเรียนคิดไม่เป็น คิดเป็นทาไม่ได้ ทาได้ภาพท่ี 2-1 พฤตกิ รรมจากการเรียนรขู้ องผู้เรยี น
► บทที่ 2 กระบวนการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน 9ขั้นตอนในการเรยี นรู้ การเรียนรู้ไม่ได้เกิดขึ้นโดยบังเอิญ แต่มีกระบวนการในการพัฒนา ผู้ท่ีจะเรียนรู้ในสิ่งใดน้ัน เบ้ืองต้น จะต้องมีความสนใจใคร่ที่จะรู้ อยากท่ีจะแก้ปัญหาในเร่ืองน้ัน ๆ ซึ่งความสนใจหรือความคิดที่จะ แก้ปัญหาเปน็ สงิ่ กระตุ้นให้เกดิ แรงจูงใจในการศึกษาหาข้อมูล หาแนวทางหรือวธิ กี ารในการแก้ไขปัญหา เช่น จะทาอยา่ งไร ใหแ้ หวนในภาพ ก. สวมอยู่ในตะปูดงั ภาพ ข. ได้ โดยท่ีไมต่ อ้ งใช้มือหยบิ แหวน ? ภาพ ก. ภาพ ข. ภาพที่ 2-2 การใชภ้ าพแหวนและตะปูสรา้ งความสนใจในการแกป้ ญั หาหรือความร้อนจากการอาร์คในงานเชือ่ มไฟฟา้ เกดิ ขึ้นได้อยา่ งไร ? ภาพท่ี 2-3 การใช้ภาพงานเชอ่ื มไฟฟา้ สรา้ งความสนใจในการแกป้ ญั หาสิ่งตา่ ง ๆ ดังกลา่ ว เป็นปัญหาที่ท้าทายความคิดความสามารถในการแก้ปัญหา ทาให้ผู้เรียนสนใจที่จะเอาชนะหรือแก้ปัญหาน้นั ๆ ให้ได้ ซ่งึ กระบวนการเรียนรู้กจ็ ะเร่มิ ต้นเกิดขึน้ ทส่ี ่วนนี้ ในการแก้ปัญหา หากปัญหาดังกล่าวผู้เรียนเคยทามาแล้วหรือมีประสบการณ์มาแล้ว ก็จะไม่กอ่ ใหเ้ กิดการเรียนรใู้ หมเ่ พยี งแต่เป็นการฟน้ื คืนความรู้เกา่ เท่าน้นั หากแต่ปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาใหม่ที่ผู้เรียนยังไม่เคยทาได้หรือไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน เขาก็จะพยายามหาข้อมูลหรือวิธีการเพื่อแกป้ ญั หานน้ั โดยท่ัวไปขอ้ มลู ต่าง ๆ ศกึ ษาไดจ้ ากหนังสือตารา คูม่ ือ จากครผู ู้สอนหรือจากแหล่งข้อมูลอน่ื ๆ ข้อมลู ทเี่ พียงพอเหมาะสมเป็นเคร่ืองมือที่สาคญั ในการใชเ้ พือ่ แกป้ ญั หาดังกล่าวผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ
► บทที่ 2 กระบวนการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น 10 การรับข้อมูลข่าวสารผู้เรียนอาจใช้วิธีการใดวิธีการหนึ่ง เช่น การรับฟังทางหู การดูด้วยตาการสัมผัส ด้วยมือ การดมหรือการชิม ฯลฯ หรืออาจใช้ประสาทสัมผัสหลาย ๆ อย่างพร้อมกัน เช่นทั้งดูและฟังพร้อม ๆ กันไป ซ่ึงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ท่ีผู้เรียนได้รับจะเก็บไว้เป็นความรู้อยู่ในสมองที่พรอ้ มจะใชแ้ กป้ ัญหา ขอ้ มูลข่าวสารหรือเนอื้ หา ภาพท่ี 2-4 ความรอู้ ยู่ในตัวบคุ คลได้โดยการจาและเขา้ ใจความรู้เปรียบเสมือนไฟซ่ึงอยู่ในแบตเตอรี่ หากต้องการจะทราบว่าแบตเตอร่ีมีไฟอยู่มากน้อยเพียงใดก็จะต้องใช้เครื่องมือไปวัดหรือนาอุปกรณ์มาต่อเพื่อดูว่าใช้งานได้หรือไม่ ความรู้ก็เช่นกันหากต้องการจะทราบว่าผเู้ รียนมีความรูเ้ พียงใด ก็ต้องให้ผูเ้ รียนนาเอาความรู้และประสบการณ์ต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ไปทดลองใชแ้ กป้ ญั หา เพือ่ พิจารณาว่าผู้เรียนมคี วามรู้มากน้อยเพยี งใด พอที่จะแก้ปญั หานนั้ ๆ ไดห้ รือไม่ ความสามารถในการแก้ปัญหาของแต่ละคนไม่เท่ากัน บางคนทาได้เร็วเพราะมีทักษะในการคิดแก้ปัญหาโดยอาจเทียบเคียงกับสิ่งท่ีเคยมีประสบการณ์มาแล้ว บางคนคิดแก้ปัญหาได้ช้าเพราะขาดทักษะการแก้ปัญหา หรือบางคนอาจแก้ไขปัญหาไม่ได้เลย เพราะขาดความรู้ท่ีเพียงพอท่ีจะนาไปใช้แก้ปญั หานน้ั ดงั น้นั หลงั จากท่ีไดร้ ับข้อมลู ขา่ วสารและเกิดเปน็ ความรแู้ ล้ว ผ้เู รียนจะต้องมีโอกาสฝึกหัดใช้ข้อมลู ขา่ วสารทไี่ ด้รบั มาทดลองฝกึ หัดแกป้ ัญหาว่าจะสามารถใชไ้ ด้หรอื ไมเ่ พียงใด อย่างไรก็ดี การฝึกหัดแก้ปัญหาดังกล่าวจะไม่ส่งผลต่อการเรียนรู้เลย หากผู้เรียนไม่ทราบว่าการคดิ แกป้ ัญหาของตนถกู หรือผิดอย่างไร ดังนั้น การเฉลยคาตอบ จึงเป็นกิจกรรมในข้ันตอนสุดท้ายของกระบวนการเรยี นรู้ท่จี ะต้องจัดให้มีขึน้ เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รยี นได้ทราบผลการกระทาหรือการแก้ปญั หา จึงอาจสรปุ ได้วา่ การเรยี นรู้ของบุคคลประกอบด้วย 4 ขน้ั ตอนสาคญั คอื (1) เริม่ จากการสนใจปญั หา (M : Motivation) ใครท่ ่ีจะแกป้ ัญหานัน้ ๆ ให้สาเร็จ (2) ตามดว้ ยการศกึ ษาหาข้อมูล (I : Information) ทีเ่ พียงพอเหมาะสม เพอ่ื เปน็ ความรู้ (3) ลงมือฝึกหัดแกป้ ัญหา (A : Application) โดยใชค้ วามรแู้ ละประสบการณท์ ่ีมีอยู่ (4) จะต้องทราบผลการฝกึ หดั (P : Progress) วา่ การฝึกหดั นน้ั ถูกหรอื ผิดอยา่ งไรซงึ่ กระบวนการทั้ง 4 ขั้นตอนนี้ เป็นที่รู้จักกันโดยท่วั ไปว่า “เป็นกระบวนเรยี นรู้รูปแบบ MIAP”ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธีการเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทที่ 2 กระบวนการเรยี นรขู้ องผ้เู รียน 11กิจกรรมของครแู ละผเู้ รยี น การเรียนรู้เกิดขึ้นโดยตัวของผู้เรียนเอง ครูเป็นแต่เพียงผู้ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ง่ายขึ้นเร็วข้ึน เท่าน้ัน ตามกระบวนเรียนรู้รูปแบบ MIAP ที่จะช่วยสนับสนุนให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ ครูผู้สอนและ ผเู้ รยี นจะต้องรว่ มกจิ กรรมการเรยี นการสอน ดงั นี้ : ครผู ูส้ อน (1) เตรียมคาถามเพอื่ นาเขา้ สู่บทเรยี น (Motivation) ได้ด้วยปัญหาทนี่ ่าสนใจ เป็นปัญหาที่ไม่เหลือ บ่ากว่าแรงที่ผเู้ รยี นจะคิดหาคาตอบได้ (2) เตรยี มการใหเ้ น้อื หา/ข้อมูล (Information) จะโดยการบรรยาย ถามตอบ การสาธิต หรือเตรยี ม เอกสารหรือสื่ออน่ื ๆ ให้ผู้เรยี นไดศ้ ึกษา (3) เตรยี มแบบฝกึ หดั ในข้นั พยายาม (Application) ให้ผเู้ รียนได้มีโอกาสนาความรแู้ ละประสบการณ์ ต่าง ๆ ท่ีได้รับมาฝกึ หัดแก้ปญั หา (4) เตรยี มการเฉลยหรือให้คาตอบ (Progress) เพือ่ ให้ผเู้ รียนทราบผลการฝึกหัดว่าถูกหรอื ผิด หรอื มแี นวทางท่ีถกู ต้องในการแกป้ ัญหานั้นอย่างไร : ผเู้ รียน (1) จะต้องสนใจ คิดติดตามหรือแสวงหาแนวทางในการแก้ปัญหาให้สาเร็จลุล่วงลงไป ผู้เรียนที่ไม่ สนใจจะไม่เกิดการเรียนรู้ (2) หาขอ้ มูลขา่ วสาร ซงึ่ จะทาให้ได้ขอ้ มูลทจี่ าเป็นเก็บไวใ้ นสมองเปน็ ความรู้ เพือ่ นาไปใช้แก้ปัญหาให้ สาเร็จลุลว่ งลงไป (3) ฝึกหดั ทา โดยนาเอาความรู้และประสบการณต์ า่ ง ๆ ที่มีอยู่ในสมองออกมาใช้แก้ปัญหา ข้อมูลที่ เพียงพอเหมาะสมจะชว่ ยใหแ้ กป้ ญั หาสาเรจ็ ลลุ ่วงไปได้ (4) ตรวจสอบผล เพือ่ ใหท้ ราบว่าการฝึกหัดโดยใช้ความรู้และประสบการณ์ท่ีมีอยู่จากข้อมูลข่าวสาร ทไี่ ด้รบั นนั้ ได้ผลอยา่ งไร การจัดการเรียนการสอนในช้ันเรียน ข้ันตอนการฝึกหัด (Application) ครูผู้สอนจะต้องเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้ฝึกหัดทาอย่างเต็มที่ โดยไม่รบกวนหรือให้ความช่วยเหลือมากนัก พร้อมท้ังเตรียมการเฉลย คาตอบในข้ันตอนต่อมา ซ่ึงสามารถสรปุ กจิ กรรมของครผู ู้สอนและผู้เรยี น ไดด้ งั นี้ขั้นตอนการเรียนรู้ กจิ กรรมผเู้ รียน กิจกรรมครูผู้สอน1. M : Motivation สนใจและตั้งใจคิดตดิ ตาม สรา้ งความสนใจนาเข้าสู่บทเรยี น ศึกษาหาขอ้ มลู ทเ่ี พยี งพอ ให้เน้ือหา/ข้อมลู ท่คี รบถ้วน2. I : Information ฝึกหัดทาฝึกหดั แกป้ ญั หา ใหฝ้ กึ ปฏบิ ตั ิ/ฝกึ หัดแกป้ ญั หา ตรวจสอบผลการแก้ปญั หา เฉลยหรือให้คาตอบทีถ่ ูกตอ้ ง3. A : Application4. P : Progressผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 2 กระบวนการเรียนรขู้ องผเู้ รียน 12การใชเ้ วลาในการสอนรูปแบบ MIAP ปกติตอนต้นช้ัวโมงหรอื เริม่ การเรียนการสอนแต่ละครงั้ หากผสู้ อนนาเขา้ สู่บทเรียนด้วยคาถามที่ท้าทาย การคดิ แก้ปญั หา กจ็ ะสร้างความสนใจให้แก่ผ้เู รียนในระดับสูง แตเ่ มื่อจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและ เวลาล่วงเลยไป ความสนใจของผู้เรียนก็อาจลดลงและจะเพ่มิ ข้นึ อีกครง้ั หน่ึงเมื่อใกลห้ มดเวลาเรียน ภาพท่ี 2-5 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งระยะเวลากบั ความต้งั ใจในการเรียนดังน้ัน เพื่อที่จะขจัดปัญหาเร่ืองความต้ังใจของผู้เรียนที่ลดลงเนื่องจากระยะเวลา จึงอาจแบ่งบทเรียนออกเปน็ หลาย ๆ ช่วง หรอื หลาย MIAP เพ่ือรกั ษาความตัง้ ใจของผูเ้ รียนใหอ้ ยู่ในระดับสงู ไว้โดยตลอดภาพที่ 2-6 ความตงั้ ใจของผูเ้ รยี นในกระบวนการเรยี นร้รู ปู แบบ MIAPผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธีการเรียนการสอนวิชาเทคนิค
► บทที่ 2 กระบวนการเรียนรขู้ องผ้เู รยี น 13ระยะเวลาในแต่ละ MIAP ข้ึนอย่กู ับความสนใจของผู้เรียนและปริมาณเนื้อหาท่ีสอน ทั่ว ๆ ไปการสอน1 MIAP จะใช้เวลาประมาณ 40-50 นาที โดยแตล่ ะขัน้ ตอนอาจใชเ้ วลาในการจัดกจิ กรรม ดังนี้ข้ันตอนการสอน เวลาทีใ่ ชโ้ ดยประมาณ1. Motivation 3-5 นาที2. Information 20-30 นาที3. Application 8-10 นาที4. Progress 3-5 นาทีซงึ่ อาจเขยี นเป็นแผนภูมิไดด้ ังนี้ ขน้ั เวลา 0 5 30 45 50MotivationInformationApplicationProgressภาพที่ 2-7 การแบง่ เวลาในขนั้ ตอนต่าง ๆ ของกระบวนการเรยี นร้รู ูปแบบ MIAPการตรวจปรบั การเรยี น การตรวจปรับ (Feed back) เป็นกิจกรรมของครูในระหว่างการจัดการเรียนการสอน เพ่ือสารวจหา ขอ้ บกพร่องและปรับแตง่ ใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้ การตรวจปรับอาจทาได้ตลอด เวลาระหวา่ งการสอน โดยสงั เกตจากการตอบคาถามหรือผลการทาแบบฝึกหัด หากผู้เรียนส่วนใหญ่ทา แบบฝึกหัดไม่ได้กแ็ สดงวา่ เนอื้ หาวิชาท่ีให้อาจไม่เพียงพอ จะต้องทาการปรับแต่งโดยทบทวนเน้ือหาใหม่ ในช่วงการ Progress เพมิ่ เติมก็ได้ ขัน้ เวลา 0 5 30 45 50Motivation ตรวจปรบั ในข้ันการใหเ้ นอื้ หาInformationApplicationProgress ตรวจปรับในขัน้ สาเรจ็ ผลภาพท่ี 2-8 การตรวจปรับการเรยี นในกระบวนการเรียนรู้รูปแบบ MIAPผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทท่ี 2 กระบวนการเรียนรขู้ องผ้เู รียน 14สรปุ บทเรยี น 1. การเรียนรู้ (Learning) เป็นการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมโดยตัวผู้เรียนเอง ครูเป็นแต่เพียงผู้ช่วยให้ เกิดการเรียนรู้ไดง้ ่ายขนึ้ และรวดเรว็ ขึ้นเท่าน้นั 2. กระบวนการเรียนรู้รูปแบบ MIAP ประกอบด้วย 4 ข้ันตอนหลัก คือ เริ่มจากข้ันสนใจปัญหา (M : Motivation) ขนั้ ศกึ ษาข้อมูล (I : Information) ขั้นพยายาม (A : Application) และข้ันสาเร็จผล (P : Progress) ตามลาดับ 3. ในระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละขั้นตอน ครูผู้สอนควรมีการตรวจปรับความรู้ ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง ท้ังน้ี เพ่ือให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ครบถ้วน บรรลุผลตาม วัตถุประสงค์การสอนท่ีวางไว้ 4. การแบง่ เวลาในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีเหมาะสม จะช่วยรักษาความตั้งใจของผู้เรียนไว้ ได้โดยตลอด เวลาในการสอนแต่ละ MIAP อาจใช้เวลาประมาณ 40-50 นาที เช่น ในวิชาทฤษฎีใช้ เวลาช่วง M (Motivation) ประมาณ 3-5 นาที ช่วง I (Information) ประมาณ 20 นาที ช่วง A (Application) ประมาณ 8-10 นาที และในช่วง P (Progress) ประมาณ 3-5 นาที เปน็ ต้นผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ
บทที่รูปแบบและกระบวนการพฒั นาหลักสตู รสาระสาคญั ของเน้ือหาบทน้ี เน้นความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั ความหมาย และองค์ประกอบของหลักสูตรความหมายของการพัฒนาหลักสูตร รวมถึงข้อแตกต่างระหว่างหลักสูตรวิชาชีพ หลักสูตรรายวิชาหลักสตู รวิชาชพี ระยะสั้น และหลักสูตรฝึกอบรม ในแง่มุมต่าง ๆ การจาแนกหลักสูตรระดับ Micro กับระดับ Macro ความหมายของคาบางคา ท่ีเก่ียวข้องและมักจะได้ยินบ่อย ๆ เช่น ปรัชญา ปณิธานวสิ ัยทศั น์ พันธกจิ และวัตถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร เป็นต้นความหมายของหลักสูตร พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2540 หลกั สูตร วชิ าชพีเข้าเป็นนักศกึ ษา ศกึ ษาตามหลักสูตร จบการศึกษาเปน็ บณั ฑติภาพท่ี 3-1 เปา้ หมายในการจัดการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาผู้เรียนของหลกั สูตรหลกั สูตร หมายถึง โครงการในการจัดการศึกษา เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์หรอื จดุ มุ่งหมายที่วางไว้ เพ่ือให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ดังกล่าว การจัดการศึกษาจึงต้องอาศัยการสนับสนุนปัจจัยหลายอย่าง เช่น (1) บุคลากรท่ีเกี่ยวข้องในการดาเนินงาน (2) วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษาเพื่อการจัดการเรียนการสอนหรือการฝึกประสบการณ์ต่างๆ (3) งบประมาณท้ังที่เป็นงบลงทุนด้านอาคารสถานท่ีจดั กิจกรรมการเรียนการสอน และ (4) การบริหารจดั การหลกั สตู รทด่ี ีมปี ระสทิ ธภิ าพ
► บทที่ 3 รปู แบบและกระบวนการพฒั นาหลักสูตร 16การพัฒนาหลกั สตู ร คาว่า “การพัฒนาหลักสูตร” มคี วามหมาย 2 นยั กลา่ วคือ หลกั สูตรเดิม หลกั สตู รใหม่ นัยท่ี (1) เปน็ การทาของเดิมท่ีมอี ยู่แลว้ ให้มี ขดี ความสามารถสงู ขึ้นหรือดีขึน้ความตอ้ งการใหม่ นยั ท่ี (2) เปน็ การทาขนึ้ หรอื สร้างขึน้ มาใหม่ ตามความตอ้ งการใหม่ภาพท่ี 3-2 แงม่ ุมต่าง ๆ ของแนวคิดในการพฒั นาหลักสูตรดังน้ัน การพัฒนาหลักสูตร จึงหมายถึง การทาหลักสูตรที่ใช้อยู่เดิมให้มีคุณภาพมากข้ึน หรือมีความเหมาะสมยง่ิ ข้ึน หรอื เปน็ การสรา้ งหลกั สูตรขน้ึ มาใหม่ตามความต้องการของสังคมในขณะนัน้หลกั สตู รรูปแบบตา่ ง ๆ 1. หลักสูตรวิชาชีพ (เช่น หลักสูตรครูช่าง ช่างเขียนแบบ เป็นต้น) เป็นหลักสูตรท่ีมีมาตรฐาน หลกั สตู รแนน่ อน ม่งุ ใหผ้ ้สู าเร็จการศึกษาออกไปประกอบอาชีพตามจดุ มงุ่ หมายท่วี างไว้ 2. หลักสูตรรายวิชา (เช่น วิชาส่ือการสอน วิชา Fluid Mechanics เป็นต้น) เป็นหลักสูตรย่อย ๆ ในหลักสตู รวชิ าชพี มุ่งเนน้ สมรรถนะเฉพาะ มีขอบเขตและมีเวลาสอนทก่ี าหนดไวแ้ นน่ อน 3. หลักสูตรวิชาชีพระยะส้ัน (เช่น ช่างซ่อมจักรยาน ช่างถ่าย VDO เป็นต้น) เป็นหลักสูตรท่ีจัดเป็น การเฉพาะในวิชาชีพอยา่ งเจาะจง ใหผ้ ้สู าเรจ็ การศึกษาประกอบอาชีพเฉพาะนน้ั ๆ โดยตรง 4. หลักสูตรฝกึ อบรม (เช่น Word Processor, SPSS for Windows เป็นต้น) เป็นโครงการฝึกอบรม สมรรถนะเฉพาะอยา่ ง ในช่วงเวลาสัน้ ๆ เพอ่ื สนับสนนุ การทางานอยา่ งใดอย่างหนง่ึระดบั ของหลักสูตร ระดับสถานศกึ ษา ระดบั การเรยี นการสอน หลกั สูตรวิชาชพี รายวิชา ก. รายวิชา ข. รายวิชา ค. รายวชิ า ง.ภาพที่ 3-3 หลกั สตู รวชิ าชีพระดบั สถานศกึ ษาและระดบั การเรียนการสอนผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ ีการเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทท่ี 3 รปู แบบและกระบวนการพฒั นาหลกั สูตร 17 หลักสตู รวชิ าชีพ อาจแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ระดบั คอื (1) ระดับสถานศึกษา (Macro Level) ได้แก่ หลักสูตรวิชาชีพต่าง ๆ เช่น หลักสูตร ปวช. ช่างยนต์ หลักสตู ร ปวส. ช่างเช่ือม ฯลฯ ท่ีม่งุ ให้ผ้สู าเร็จการศึกษามีความรู้ความสามารถ และคณุ ลักษณะที่เหมาะสมในการประกอบวิชาชีพ (2) ระดับห้องเรียนหรือการเรียนการสอน (Micro Level) ได้แก่ หลักสูตรรายวิชาต่าง ๆ เช่น วิชาสื่อการสอน วิชา Fluid Mechanic เป็นต้น ท่ีมุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้และ/หรือ ทกั ษะเฉพาะเรอ่ื งตามมาตรฐานของรายวิชานนั้ ๆขอ้ กาหนดในหลักสูตร 1. ปรัชญา (Philosophy) ปรัชญา เป็นความเช่ือท่ีกาหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษร รอการพิสูจน์หรือการหาข้อมูลสนับสนุนว่าจะ เป็นจรงิ ตามนั้นหรอื ไม่ เชน่ “การศึกษา คอื ความเจรญิ งอกงาม” “การพฒั นาครู คือ การพัฒนาช่าง”2. ปณธิ าน (Determination)ปณิธาน เป็นความปรารถนาท่ีจะไปให้ถึงปรัชญาที่ได้กาหนดเอาไว้ เช่น “ภาควิชาครุศาสตร์เคร่ืองกลม่งุ มน่ั ท่ีจะผลิตและพฒั นาครูช่างอุตสาหกรรม ท่มี คี วามเปน็ เลิศทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมถึงนักการศึกษาชัน้ สูง ทส่ี ามารถชน้ี าวงการอาชวี ะและเทคนิคศึกษาของประเทศ” เป็นต้น3. วสิ ัยทศั น์ (Vision)วิสัยทัศน์ เป็นข้อกาหนดด้านภาพลักษณ์ หรือส่ิงท่ีต้องการจะให้เป็นหรือให้เกิดข้ึนในอนาคตข้างหน้า(ในแนวทางท่สี ร้างสรรค์) เชน่ “ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล จะพัฒนาสู่ภาควิชาช้ันนา เป็นต้นแบบในการผลิต บณั ฑิตครชู ่างอุตสาหกรรม และนักการศึกษาช้นั สงู ทางด้านอาชีวะและเทคนิคศึกษา เปน็ ทยี่ อมรบั ในระดับประเทศ ท้ังในเรอ่ื งวิทยาการและรปู แบบการจัดการด้านครูช่าง ทีส่ มบูรณแ์ บบ”ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทที่ 3 รปู แบบและกระบวนการพฒั นาหลักสูตร 18 4. พนั ธกิจ (Mission) พนั ธกจิ เปน็ สิ่งท่ีต้องกระทาและถือเป็นภาระหน้าที่สาคัญที่จะต้องดาเนินการให้ครบถ้วน เช่น พันธกิจ ของสถานศกึ ษา คอื จัดการศกึ ษา สรา้ งงานวิจยั บรกิ ารวิชาการและทานบุ ารุงศลิ ปวฒั นธรรม เป็นตน้ 5. วัตถุประสงค์ (Objective) วตั ถุประสงค์ เปน็ ขอ้ ความซ่งึ ระบขุ อบเขตของเปา้ หมายและทศิ ทางในการดาเนนิ การ เช่น วัตถุประสงค์ ของหลักสูตรครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคร่ืองกล ท่ีจะผลิตบุคลากรท่ีมีความรู้ ความสามารถด้านการวิจัย นักการศกึ ษาระดบั สงู และผสู้ อนดา้ นเทคโนโลยเี คร่อื งกล เปน็ ต้นรปู แบบการพฒั นาหลักสตู ร 1. UNESCO Model (Macro/Micro Level) ภาพท่ี 3-4 รปู แบบการพัฒนาหลักสตู ร ของ UNESCOการพัฒนาหลักสูตรข้ึนมาใหม่ จะเริ่มจากการศึกษาความต้องการ การวิเคราะห์ประชากรเป้าหมายการวิเคราะห์งานอาชีพ เพ่ือให้ได้ข้อมูลมากาหนดปรัชญาและจุดมุ่งหมาย จากน้ันจึงเป็นการกาหนดวัตถุประสงค์ของหลักสูตร กาหนดเคร่ืองมือในการประเมินผล แล้วจึงทาการประเมินผลวัตถุประสงค์เทียบกับความต้องการว่าสอดคล้องกันหรือไม่ หากประเมินผลแล้ว เห็นว่าวัตถุประสงค์ของหลักสูตรสอดคล้องกบั ความต้องการจริง กจ็ ะออกแบบสร้างวัสดุการเรียนการสอน นาไปทดลองใช้และปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ แล้วจึงนาไปใช้จริงพร้อมกับมีการประเมินผลลัพธ์จากกระบวนการว่าสอดคล้องกับความตอ้ งการที่ศกึ ษาไว้หรอื ไม่อย่างไร เปน็ วงจรโดยต่อเนื่องผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 3 รปู แบบและกระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร 19 2. NÖlker & Schoenfeldt Model ภาพท่ี 3-5 รูปแบบการพฒั นาหลกั สตู ร ของ NÖlker & Schoenfeldtการพัฒนาหลักสูตร เร่ิมจากการศึกษาความต้องการของตลาดแรงงาน จากนั้นจึงพิจารณาเงื่อนไขเบ้ืองต้น เช่น หลักสูตรท่ีใกล้เคียงกัน ควรจัดการศึกษาระดับใด งบประมาณเท่าไร จะใช้บุคลากรจากแหล่งไหน ฯลฯ เม่ือไดข้ อ้ มูลสรุปแลว้ จึงมากาหนดยทุ ธวธิ ีในการจดั การเรยี นการสอน เนื้อหาท่ีจะสอนการใช้เทคโนโลยีการสอน เพ่ือท่ีจะมากาหนดวัตถุประสงค์ในการจัดการเรียนการสอนและการฝึกหัดกระบวนในการบริหารและจัดการเรียนการสอนและการฝึกหัด จะต้องถูกวางแผนและจัดเตรียมเอาไว้ก่อนที่จะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจริง ๆ ซึ่งจะต้องมีการดาเนินการไปตามแผนบทเรียนที่กาหนดไว้ มกี ารประเมินผลท้ังกระบวนการและวิธีการในลักษณะการวน (Loop) ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าการพัฒนาหลกั สตู รมีการดาเนินการอย่างต่อเนอื่ ง3. UNESCO Model (Micro Level)ภาพที่ 3-6 รปู แบบการพัฒนาหลกั สูตร ของ UNESCO ระดับ Micro Levelผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทที่ 3 รูปแบบและกระบวนการพฒั นาหลักสตู ร 20การพัฒนาหลักสูตร ระดับ Micro Level ของ UNESCO จะพูดถึงในระดับรายวิชา ซ่ึงเริ่มจากการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อนาข้อมูลมาออกแบบบทเรียนและผลิตวัสดุการเรียนการสอนก่อนท่ีจะนาไปทดลองใช้และปรับปรุงแก้ไขกับกลุ่มทดลอง หลังปรับปรุงแล้วจึงนาใช้จริงกับประชากรและประเมนิ ผลเปน็ วงจรตอ่ ไปเรอื่ ย ๆ4. TM Model (Micro Level) ภาพท่ี 3-7 รูปแบบการพฒั นาหลกั สตู รของภาควชิ าครศุ าสตรเ์ ครอ่ื งกลการพัฒนาหลักสูตรระดับรายวิชา จะเริ่มจากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง โดยในระดับหลกั สูตรจะพจิ ารณาท่ี ๏ ปรัชญาและวัตถุประสงคข์ องหลกั สตู ร ๏ ลกั ษณะของผู้ท่ีจะเขา้ มาเรยี นในหลกั สูตร ๏ หลกั สูตรอนื่ ทีอ่ ยู่ในสาขาวิชาใกล้เคยี งกัน ๏ ความตอ้ งการและเทคโนโลยีในอนาคตส่วนในหลักสตู รระดับรายวิชาน้ัน จะพจิ ารณาท่ี ๏ สิง่ ทก่ี าหนดใหใ้ นรายวชิ า ๏ ความต้องการในงานอาชพี ๏ รายวชิ าอน่ื ๆ ท่ีสัมพันธ์กัน ๏ คุณสมบัตขิ องผ้เู รียนในรายวิชาหลังจากน้ัน จึงมากาหนดวัตถุประสงค์การสอนและออกแบบวัสดุการเรียนการสอนต่าง ๆ จัดทาแผนการสอน/โครงการสอน นาไปทดลองใช้และปรับปรุงแก้ไขให้สมบูรณ์ ก่อนท่ีจะนาไปใช้จริงและประเมนิ ผล เพือ่ ดูคุณภาพและประสิทธภิ าพของหลกั สตู รรายวชิ าตอ่ ไปผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธีการเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 3 รปู แบบและกระบวนการพฒั นาหลกั สตู ร 21สรปุ บทเรียน 1. หลกั สูตร คอื โครงการในการจดั การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาผูเ้ รียนให้มีสมรรถนะและคุณลักษณะ ตามจุด ประสงค์ที่กาหนดไว้ 2. การพัฒนาหลักสูตร เป็นการปรับปรุงหลักสูตรที่ใช้อยู่เดมิ ให้มคี วามเหมาะสมหรือมีคุณภาพมากขึ้น หรอื อาจเป็นการสร้างหลกั สตู รข้ึนมาใหมต่ ามความตอ้ งการของสังคมในขณะน้ัน 3. หลักสูตรการสอนมีหลายรูปแบบหลายระดบั ทัง้ นี้ข้นึ อย่กู บั จุดมุ่งหมายและวตั ถปุ ระสงค์ของการจัด หลักสตู รวา่ ต้องการท่จี ะพัฒนาใคร หรอื ตอ้ งการผลลัพธ์ (Output) อย่างไร 4. เมื่อใช้หลักสูตรไประยะหน่ึงตามท่ีกาหนดแล้ว จาเป็นต้องมีการประเมินผลเพ่ือพัฒนาหลักสูตรนั้น ให้ทันสมัยและตรงกับความต้องการตลาดแรงงาน โดยจะต้องศึกษาปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ ของหนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบหลกั สูตร พิจารณาว่าวัตถุประสงค์ของหลักสูตรยังเหมาะสมอยู่ หรอื ไม่ ควรที่จะดาเนนิ การตอ่ ไปหรอื ปรับปรงุ อะไรอย่างไร 5. การพัฒนาหลักสูตร แบ่งได้เป็น 2 ระดับ คือ ระดับ Macro และระดับ Micro ซ่ึงมีรายละเอียดท่ี จะตอ้ งศึกษาตา่ งกัน ในระดับ Micro (ซ่ึงจะเนน้ ในตาราเล่มนี้) เร่ิมจาการวิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองต้นที่ เกีย่ วข้อง ก่อนการออกแบบและจัดทาวสั ดกุ ารเรียนการสอน เพ่ือนาไปทดลองใชแ้ ละปรับปรุงแก้ไข ก่อนนาไปใช้จริงและประเมินผลเปน็ วงจรอย่างตอ่ เน่ืองผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ
บทท่ีหหลลกักั สกตูารรแราลยะววิชิธากี า:รพัฒนา เนอ้ื หาสาระในบทนี้ กล่าวถึง ความสาคัญของวัตถุประสงคก์ ารสอน ตอ่ การกาหนดขอบเขตของเนื้อหา วธิ ีการสอน สอ่ื การสอน และการวดั และประเมนิ ผล แนวทางในการพฒั นาหลักสูตรรายวิชาเพื่อกาหนด วัตถุประสงค์การสอน กระบวนการในการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ปัจจัยที่ต้องคานึงถึงในการพัฒนา หลักสูตรรายวชิ า หลกั การและรายละเอียดการวิเคราะห์สงิ่ ทก่ี าหนดใหใ้ นรายวิชา (Existing Syllabus) โปรแกรมท่ีสัมพันธ์กับวิชาท่ีพัฒนา (Related Program) ความต้องการในงานอาชีพ (Requirements of Vocation) และประชากรเป้าหมาย (Target Population)วตั ถปุ ระสงคก์ ับการเรยี นการสอน ครูผ้สู อน กิจกรรม ผู้เรียนเรยี นรู้ การเรียน (เปลยี่ นแปลง ผเู้ รยี น การสอน พฤตกิ รรม) วสั ดุการเรยี น กข การสอน พฤตกิ รรมท่ตี อ้ งการ กขวตั ถปุ ระสงค์การสอนภาพที่ 4-1 วัตถุประสงค์การสอนและพฤตกิ รรมที่ต้องการจากการเรยี นการสอน
► บทท่ี 4 หลักสตู รรายวชิ า : หลักการและวิธีการพัฒนา 23 องค์ประกอบที่สาคัญในการจัดการเรียนการสอน ได้แก่ ครูผู้สอน ผู้เรียน และวัสดุการเรียนการสอน โดยมีจุดมุ่งหมายสาคัญ คือ ให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางท่ีต้องการได้ ดังนนั้ พฤติกรรมอะไรทต่ี ้องการใหเ้ กิดข้นึ แกผ่ ู้เรียนหลังการสอน จะต้องนามากาหนดเป็นวัตถุประสงค์ การสอนเอาไว้กอ่ นลว่ งหน้า เพื่อทจ่ี ะได้จดั เตรยี มวสั ดกุ ารเรียนการสอนต่าง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสมคในวกามารสเารคียัญนกขาอรงสวอตั นถปุ ระสงค์ Job/Topic Objectives ContentMethod Media Assessment ภาพที่ 4-2 วัตถุประสงค์กับการจดั เตรียมการเรยี นการสอนวัตถุประสงคข์ องแตล่ ะงาน (Job) หรือแต่ละหัวข้อเร่ือง (Topic) ใช้เป็นตัวกาหนดขอบเขตและปริมาณของเนื้อหาวิชาที่จะสอน เพราะวัตถุประสงค์การสอนจะระบุขอบเขตเนื้อหาไว้ในเง่ือนไขหรือมาตรฐานกลา่ วคอื วตั ถปุ ระสงค์การสอนที่มีหลายเงือ่ นไขหรือมีมาตรฐานหลายข้อ ก็จะมีปริมาณเน้ือหาปริมาณมากไปดว้ ย เมือ่ ได้กาหนดเน้ือหาแล้ว ถัดไปก็จะเป็นการกาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือวิธีสอนซ่งึ จะพจิ ารณาจากพฤติกรรมท่ีต้องการตามวัตถุประสงค์และลักษณะของเนื้อหา กล่าวคือ เนื้อหาจากวตั ถปุ ระสงค์ท่ีเน้นการจาและฟื้นคืนความรู้มาใช้ วิธีสอนอาจจะเป็นการบรรยายก็ได้ ในขณะที่เน้ือหาท่ียากและตอ้ งการการประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ วิธีสอนกอ็ าจเป็นการถกปญั หา เป็นต้น สื่อการสอนก็เปน็ อีกสว่ นหน่ึง ซ่งึ เป็นผลมาจากลักษณะเนื้อหา กล่าวคือ เน้ือหาท่ีมีความยากต่างกันย่อมต้องการชนิดของสื่อท่ีมีความสามารถในการอธิบายเน้ือหาแตกต่างกัน ท้ังนี้ การเลือกใช้ส่ือยงั จะตอ้ งพิจารณาให้เหมาะสมกบั วิธสี อนควบคู่กนั ไปดว้ ย นอกจากนน้ั การเตรียมเคร่ืองมือและวิธีการวัดและประเมินผลในแต่ละวัตถุประสงค์ จะต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับองค์ประกอบอื่น ๆ ที่ได้กล่าวมาแลว้ ไมว่ ่าจะเปน็ ลักษณะเนอื้ หา วธิ ีสอนและสอื่ การสอนทเ่ี ลือกมาใช้ในการใหเ้ นื้อหาผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธีการเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ
► บทที่ 4 หลักสตู รรายวชิ า : หลกั การและวธิ ีการพฒั นา 24วตั ถปุ ระสงคก์ บั การพฒั นาหลกั สตู รรายวชิ า รายวิชา การพฒั นาแผนบทเรียน Job/Topic Objectives Content Method Media Assessment Feed backภาพท่ี 4-3 วตั ถุประสงค์กับการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาจากภาพที่ 4-3 แสดงใหเ้ ห็นว่าปัจจัยหลักซงึ่ เปน็ ตัวกาหนดขอบเขตของเน้ือหาวชิ า วธิ ีการสอน ส่ือท่ีใช้ในการสอน รวมถงึ การวดั และประเมินผล ก็คือ วัตถุประสงค์การสอน (หรือวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรมนน่ั เอง) ซึ่งในการจัดทาแผนการสอน ครูผู้สอนจะต้องวิเคราะห์องค์ประกอบต่าง ๆ เพ่ือจัดเตรียมวัสดุการเรียนการสอนในแต่ละงาน (Job) หรอื หวั ขอ้ เร่อื ง (Topic) ดงั กลา่ ว อย่างไรกด็ ี โดยปกติเอกสารหลักสูตรจะระบุเอาไว้เฉพาะคาอธิบายรายวิชา อาจมีวัตถุประสงค์และมาตรฐานรายวิชากาหนดเอาไว้บ้างในบางหลักสูตร แต่จะไม่มีการกาหนดถึงพฤติกรรมการเรียนรู้ของผูเ้ รยี นเอาไว้แต่อย่างใด จึงมีความจาเป็นที่ครูผู้สอนจะต้องมีการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพื่อให้ได้วตั ถุประสงคก์ ารสอนที่ชดั เจนเอาไว้ในขัน้ ตน้ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวธิ กี ารเรียนการสอนวิชาเทคนิค
► บทท่ี 4 หลกั สตู รรายวชิ า : หลกั การและวธิ ีการพัฒนา 25กระบวนการในการพัฒนาหลกั สตู รรายวิชาการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา เป็นการทางานท่ีเป็นกระบวนการเช่นเดียวกับการผลิตชิ้นงาน กล่าวคือจะต้องมีข้อมูล (วัตถุดิบ) เพื่อป้อนเขา้ ส่กู ระบวนการเพ่อื ให้ไดผ้ ลผลติ (ช้นิ งานท่ีต้องการ) ออกมา กลงึ วัตถุดิบ ชิน้ งานท่ตี ้องการ ภาพที่ 4-4 กระบวนการในการผลติ ชนิ้ งาน เรมิ่ กระบวนการในการผลิตชนิ้ งานเตรียมวัตถดุ ิบ ในกระบวนการผลิตชิ้นงานช้ินหน่ึงจะพบกลึงลดขนาด ว่าการท่ีจะได้ชิ้นงานที่ต้องการตามแบบ ต้องมกี ารเตรียมวัตถุดิบ มีการกลึงและวัด วดั ขนาด โตไป ขนาดจนไดช้ ิ้นงานทตี่ อ้ งการ (ภาพที่ 4-5) พอดี ก ร ะ บ ว น ก า ร พั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ก็ เช่นเดียวกัน จะต้องมีการเตรียมข้อมูลชิ้นงานตามกาหนด การทาการวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือออกแบบ วัสดุการเรียนการสอน ก่อนท่ีจะนาไปจบ ทดลองใช้เพ่ือการปรับปรุงแก้ไข เมื่อ ดาเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว จึงนาไปใช้ จริงกับกลุ่มตัวอย่างหรือประชากร มีการ ประเมินผลเพ่ือเป็นการตรวจสอบดูว่า ได้ผลเป็นท่ีน่าพอใจหรือไม่ ควรปรับปรุง ส่วนไหนอยา่ งไรบา้ ง (ภาพที่ 4-6)ภาพที่ 4-5 ข้ันตอนในกระบวนการผลิตชิ้นงานผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทที่ 4 หลักสูตรรายวชิ า : หลักการและวิธกี ารพฒั นา 26 กระบวนการในการพัฒนาหลักสูตร (1) (3) (4)วิเคราะห์ ทดลองใชแ้ ละ ใช้จรงิ และ (2) ปรับปรงุ แกไ้ ข ประเมนิ ผลออกแบบ ภาพท่ี 4-6 กระบวนการในการพัฒนาหลักสูตรข้อมลู เบือ้ งตน้ ในการพฒั นาหลกั สตู รรายวิชา ขอ้ มูลเบือ้ งต้นท่ีจะตอ้ งพิจารณาในการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา คือ สิ่งท่ีกาหนดให้ในหลักสูตรรายวิชา (Existing Syllabus) โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ คาอธบิ ายรายวชิ า (Course Description) ซึง่ จะต้องพิจารณา ว่าความรู้ความสามารถหรือประสบการณ์ท่ีได้จากรายวิชานั้น ความต้องการในงานอาชีพแล้วผู้สาเร็จ การศกึ ษาจะนาไปไซท้ าอะไรอยา่ งไร และมสี ิ่งใดบา้ งทจ่ี ะต้องศึกษา Existing Syllabus หลักสตู ร รายวชิ า รายวชิ า ก. ข.PToaprguelattion RPreolagtreadm RofeqVuoicreamtioennts ภาพท่ี 4-7 ขอ้ มูลเบ้ืองต้นในการพฒั นาหลักสูตรรายวชิ าอย่างไรก็ตาม ในหลักสูตรยังมีรายวิชาอ่ืน ๆ ที่อาจมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับรายวิชาท่ีเลือกพัฒนาเช่น เปน็ วิชาทเ่ี รียนก่อนหนา้ รายวิชาทพี่ ัฒนา เป็นวิชาที่เรียนในภาคเรียนเดียวกัน หรือเป็นวิชาท่ีเรียนตอ่ จากรายวชิ าทพี่ ฒั นา เป็นต้น ก็จาเป็นที่จะต้องนามาพิจารณาร่วมด้วย เพ่ือให้เนื้อหาวิชาเกิดความตอ่ เนื่อง ลดการซ้าซอ้ น และประการสุดท้ายทีจ่ ะตอ้ งคานงึ ถงึ ด้วย ก็คอื ผทู้ ี่จะเข้าศึกษาในหลักสูตรว่ามีคุณลกั ษณะหรอื พฤตกิ รรมในการเรยี นอย่างไร มีพื้นความรู้ความสามารถระดับไหน เพ่ือจะได้ออกแบบบทเรียนใหเ้ หมาะสมกับกลุ่มผูเ้ รยี นมากยิง่ ข้ึนผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 4 หลักสตู รรายวชิ า : หลกั การและวิธกี ารพัฒนา 27ส่ิงทก่ี าหนดใหใ้ นรายวิชารหัสวิชา ชอื่ วิชา จานวนหน่วยกิต200351 การพฒั นาหลักสูตรรายวิชา คราาอยธวบิ ชิ าาย 3(3-0) Course Development จานวนคาบ วิชาบังคบั ก่อน : 200311ความจาเป็นของการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา รูปแบบของการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา การวิเคราะห์ปัจจัยที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาหลักสูตร การวิเคราะห์ส่ิงที่กาหนดให้ในหลักสูตรรายวิชา การวิเคราะห์ความต้องการในงานอาชพี การวเิ คราะหง์ านและหวั ขอ้ เร่อื ง การวเิ คราะหร์ ายวิชาท่สี มั พนั ธ์กบั หลักสตู รรายวิชาท่ีพฒั นาการวิเคราะห์คุณสมบัติผู้ที่จะเข้าเรียน การสร้าง Network Diagram หลักการเลือกและจัดกลุ่มหัวข้อเรื่อง การสร้างวตั ถุประสงคก์ ารสอน การจัดทาแผนการสอน การทดลองใช้และประเมนิ ผลหลักสตู รรายวิชา ภาพท่ี 4-8 ส่ิงท่กี าหนดให้ในหลักสูตรรายวิชาโดยทั่วไป สิ่งท่กี าหนดให้ในหลกั สูตรรายวชิ าจะมรี หสั วิชา (Course Number) เป็นตวั แทนรายวชิ าท่ีจะบง่ บอกถึงลักษณะแทนรายวิชาน้ัน ช่ือวิชา (Course Title) บ่งบอกหมวด/กลมุ่ /ธรรมชาติของรายวิชาจานวนหน่วยกิต จานวนชว่ั โมงหรือคาบการบรรยายหรอื ปฏิบตั ิ และท่ีสาคัญ ก็คือ คาอธิบายรายวิชาท่ีจะกาหนดขอบเขตเน้ือหาวชิ าอยา่ งคร่าว ๆ เอาไว้ความตอ้ งการในงานอาชพี เทคโนโลยี หลกั สูตร งานอาชพี รายวชิ า งาน รายวชิ า งาน ศกึ ษางาน ภาพที่ 4-9 หลักสูตรและความตอ้ งการในงานอาชีพแม้ว่าเนื้อหาวิชาท่ีจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา จะไม่สามารถจัดให้ตรงกับการใช้จริงในตลาดแรงงานได้ท้ังหมด แต่การพัฒนาหลักสูตรจะต้องคานึงถึงการใช้ประโยชน์ได้ในการทางานอาชีพซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตรจะต้องมองออกไปว่าหลักสูตรท่ีกาลังพัฒนานั้น มีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกับงานต่าง ๆ ในอาชพี อย่างไร เพอ่ื ที่จะจัดหลกั สตู รให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการในงานอาชีพมากทีส่ ดุผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยุทธวิธีการเรยี นการสอนวิชาเทคนคิ
► บทท่ี 4 หลักสูตรรายวชิ า : หลักการและวธิ ีการพัฒนา 28รายวชิ าอน่ื ๆ ทสี่ มั พันธก์ ัน (Related Program) รายวิชาทเี่ รียนใน ภาคเดยี วกนั รายวิชาท่เี รียน รายวิชาทพี่ ัฒนา รายวชิ าที่เรยี น ก่อน ภาคเรียนน้ี ต่อไปภาคเรยี นก่อน ภาคเรียนถัดไป ภาพท่ี 4-10 รายวชิ าอื่น ๆ ที่สัมพันธก์ ับวิชาทีพ่ ฒั นารายวชิ าทส่ี มั พันธก์ นั หมายถงึ รายวิชาอน่ื ท่ีจัดการสอนมากอ่ นหน้ารายวชิ าทีเ่ ลือกพัฒนา 1 ภาคเรียนและเป็นพืน้ ฐานใหก้ ับรายวิชาที่เลือกพฒั นา หรือเปน็ รายวชิ าอน่ื ที่ตอ้ งอาศัยวชิ าท่ีพัฒนาเป็นพื้นฐานซ่ึงอยู่ในภาคเรยี นถัดไป หรือเป็นรายวชิ าอ่นื ๆ ในภาคเรียนเดียวกันและมีเน้ือหาเก่ียวข้องกัน การพัฒนาหลกั สูตรรายวชิ าจะตอ้ งดลู าดับหัวข้อเรือ่ งและรายละเอียดตา่ ง ๆ ในการสอนให้เอ้อื ประโยชน์ดว้ ยกันผเู้ รียนในหลักสตู ร (Target Population) Entry Behavior Exit Behavior รายวิชาการวัดผล เทยี บกับเกณฑ์ ผา่ น ทพ่ี ฒั นากอ่ นเรยี น ไม่ผ่าน การเรียน ซอ่ มเสรมิ ภาพท่ี 4-11 การตรวจสอบพน้ื ความรขู้ องผเู้ รยี นทจี่ ะเขา้ ศึกษาในรายวชิ าท่ีพฒั นาในการเรียนการสอน ครูผู้สอนจะต้องเขา้ ใจและคุ้นเคยกับกลมุ่ ผู้เรยี นทีจ่ ะสอนเป็นอยา่ งดี อย่างไรก็ตามในบางรายวิชาสมรรถนะพื้นฐานเป็นสิ่งจาเป็นมากต่อการเรียนการสอน การศึกษาลักษณะของผู้เรียนช่วยให้ผสู้ อนหรอื ผูพ้ ฒั นาหลักสตู รได้ทราบถึงพื้นความรู้ เพ่ือการจัดการเรียนซ่อมเสริมหรือการเตรียมแผนบทเรยี นให้เหมาะสมกับการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี นกลมุ่ นั้นผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวธิ ีการเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 4 หลักสตู รรายวชิ า : หลักการและวิธีการพฒั นา 29สรปุ บทเรียน 1. การจดั การเรียนการสอนมีจุดมุ่งหมายที่สาคัญ คือ ต้องการให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้ ดังน้ันก่อน การจัดการเรียนการสอนจึงต้องมีการกาหนดวัตถุประสงค์การสอนไว้ก่อนล่วงหน้า ว่าจะให้ผู้เรียน มกี ารเรยี นรู้อยา่ งไรบ้างหลังจากจบการเรียนการสอนแล้ว 2. วัตถุประสงค์การสอน เป็นปัจจัยหลักในการพิจาณาเพื่อกาหนดขอบเขตของเน้ือหาวิชาท่ีจะสอน นอกจากนั้น ยงั จะเปน็ เครือ่ งมือในการกาหนดวิธีสอน สื่อการเรียนการสอน รายละเอียดในการวัด และประเมนิ ผล ซ่งึ จะต้องบันทกึ รายละเอียดไว้ในแผนการสอน 3. โดยปกติหลักสูตรรายวิชา จะไม่ได้กาหนดวัตถุประสงค์การสอนเอาไว้ ถ้าจะมีก็เป็นแต่เพียง วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานรายวิชา ซ่ึงอธิบายถึงเจตนาหรือเป้าหมายโดยรวมของหลักสูตร รายวิชานน้ั ว่าจะให้ผู้เรียนมีพฤตกิ รรมอย่างไร 4. การพฒั นาหลกั สตู รเป็นงานที่จะต้องดาเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง มีหลายรูปแบบในการ พัฒนาหลกั สตู รรายวชิ า ส่วนใหญ่จะเร่ิมจากการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อออกแบบวัสดุ การเรียนการสอน จากน้นั จงึ นาไปทดลองใช้ เม่อื ปรบั ปรงุ แกไ้ ขเรียบร้อยแล้ว จึงนาไปใช้จริงพร้อม กบั มีการประเมนิ ผลควบคไู่ ปดว้ ย 5. ข้อมูลเบ้ืองต้นในการพัฒนาหลักสูตรระดับรายวิชา จะต้องศึกษา (ก) ส่ิงท่ีกาหนดให้ในหลักสูตร (ข) ความต้องการในงานอาชีพ (ค) รายวิชาอ่ืน ๆ ท่ีสัมพันธ์กัน และ (ง) กลุ่มประชากรเป้าหมาย เพ่ือท่ีจะนาข้อมูลต่าง ๆ มาพิจารณาจัดเนื้อหาวิชา ออกแบบบทเรียนให้มีความเหมาะสมและเกิด ประโยชน์สูงสดุ ในการเรยี นการสอนผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
บทที่การวเิ คราะห์งาน และการวเิ คราะห์หวั ข้อเรือ่ ง เนื้อหาสาระสาคัญในบทน้ี กล่าวถึง ลักษณะของวิชาทฤษฎี วิชาปฏิบัติ และวิชาประลอง ความหมาย ของคาว่า “งาน” ตัวอย่างงานตามความหมายของคาว่า “งาน” แหล่งข้อมูลเพ่ือกาหนดรายการงาน การลงรายการงานในรายวิชาปฏิบัติ ความหมายของการวิเคราะห์งาน การวิเคราะห์งานในรายวิชาท่ี พฒั นา ความหมายของคาวา่ “หวั ข้อเรื่อง” สว่ นประกอบของหัวข้อเร่ือง หลักการและวิธีการวิเคราะห์ หัวเรือ่ ง การเขียนแผนผงั การวเิ คราะหง์ านและหวั ข้อเร่อื ง ดว้ ย Coral Pattern และ Scalar Diagramลักษณะของรายวชิ าในหลักสตู ร ในหลกั สตู รวิชาชีพหน่ึง ๆ จะประกอบด้วยหมวดวิชา กลุ่มวิชาท่ีประกอบด้วยหลักสูตรรายวิชาต่าง ๆ มากมาย ซงึ่ สามารถแบง่ หลักสตู รรายวชิ าตามจุดประสงค์การพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ออกได้เป็น 3 ลกั ษณะ ดังนี้ 1. วิชาทฤษฎี เป็นรายวิชาท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้และนาความรู้ท่ีได้รับนั้นไปใช้ในการแก้ปัญหา เน้นความสามารถทางสติปญั ญา เช่น วชิ าคณิตศาสตร์วิศวกรรม วิชาความแข็งแรงของวัสดุ วิชา Computer Programming เป็นต้น 2. วิชาปฏิบัติ เป็นรายวิชาที่มุ่งเน้นทักษะความชานาญในการปฏิบัติงาน ทางานที่ได้รับมอบหมายให้ สาเร็จลลุ ่วงลงไป เชน่ วิชาปฏิบัติงานเคร่ืองยนต์แก๊สโซลีน วิชาปฏิบัติงานเคร่ืองล่างและส่งกาลัง วชิ าปฏบิ ัตงิ านเชอ่ื มแกส๊ เปน็ ต้น 3. วิชาประลอง ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ซึ่งได้จากการประลอง เช่น วิชาประลองความ แขง็ แรงของวสั ดุ เปน็ ต้น แต่อาจมีบางวชิ ามีการฝึกทักษะอยู่บ้าง เช่น วิชาประลองงานวัดละเอียด ซ่ึงใช้เครอ่ื งมือไปวดั ไปตรวจสอบ เป็นต้น
► บทท่ี 5 การวิเคราะหง์ านและการวเิ คราะห์หวั ขอ้ เรอ่ื ง 31ลกั ษณะของ “งาน” งานถอดล้อรถยนต์ ภาพท่ี 5-1 ลักษณะของงานทางด้านชา่ งอตุ สาหกรรม คาว่า “งาน” (Job) ในแต่ละกรณีมีความหมายและลักษณะขอบข่ายไม่เหมือนกัน เช่น งานสร้างบ้าน งานโครงสร้าง งานห้องน้า งานปูพ้ืนห้องน้า หรืองานติดต้ังอ่างล้างหน้าในห้องน้า ฯลฯ ก็เป็น “งาน” เพราะการทางานจะได้ผลงานหรือช้ินงานออกมา ซ่ึงบ้าน โครงสร้างของบ้าน ห้องน้า พ้ืนห้องน้า หรือ อ่างลา้ งหนา้ ท่ีตดิ ตง้ั แลว้ กล็ ว้ นเป็นผลงานหรอื ชน้ิ งานท้ังส้นิ แตท่ ว่ามขี นาดที่แตกต่างกนั ปรมิ าณเวลา ทใี่ ชท้ าแตกตา่ งกนั เคร่อื งมอื อปุ กรณแ์ ละกระบวนในการทากอ็ าจแตกตา่ งกนั ด้วยความหมายของงาน (Job) แม้ว่างานจะมีขนาดหรือมีปริมาณแตกต่างกัน แต่จะมีผลลัพธ์ออกมาแน่นอน ทั้งน้ี หากเป็นการเรียน การสอนหรือการฝึกหัดที่จากัดด้วยเวลา งานที่จะฝึกหัดก็ควรจะมีขนาดเล็ก เห็นผลลัพธ์ที่ชัดเจน แน่นอน เช่น งานตดิ ตั้งอ่างล้างหน้า งานติดต้ังรางผ้าม่านบังแสง เป็นต้น จึงอาจสรุปความหมายของ คาวา่ งาน (Job) ในทน่ี ีว้ า่ 1. งาน คือ สิ่งท่ีบุคคลกระทาข้ึนโดยใช้เครื่องมืออย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ไปกระทาหรือ ตรวจสอบ มีการเริ่มต้นและปฏิบัติงานหรือดาเนินการไปตามข้ันตอน เมื่อสิ้นสุดแล้วได้ชิ้นงานหรือ ผลงานออกมา หรอื 2. งาน คือ ชุดของกิจกรรม (A set of Activities) ท่ีประกอบกัน เพ่ือเป้าหมายของผลลัพธ์อย่างใด อย่างหน่ึง (ซง่ึ งานหน่งึ ๆ จะประกอบดว้ ยหลายกจิ กรรมย่อย)ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวิธกี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 5 การวเิ คราะหง์ านและการวิเคราะห์หวั ขอ้ เร่อื ง 32ตวั อยา่ งลกั ษณะงาน กิจกรรม 1) อา่ นแบบงานเจาะที่ตอ้ งการ งานเจาะ (ดว้ ยสวา่ นตง้ั โต๊ะ) 2) เตรียมเครือ่ งมือ/อปุ กรณ์ 3) เตรียมช้ินงานที่จะเจาะ 4) จับยึดช้นิ งานกบั เครื่องเจาะ 5) จบั ยึดดอกสว่านกับหัวจบั 6) ต้งั ความเรว็ รอบเครอื่ งเจาะ 7) เจาะชน้ิ งานตามแบบกาหนด 8) ตรวจสอบขนาดชิ้นงานเจาะ 9) ทาความสะอาดเครื่องมอื อุปกรณ์ 10) จดั เก็บเครื่องมอื และอปุ กรณ์ Ø12 Ø10 ช้นิ งานที่ตอ้ งการจะได้ วัสดุเหล็ก (St 37) ขนาด 80×40×20 มม. ภาพท่ี 5-2 งานเจาะทีป่ ระกอบดว้ ยหลาย ๆ กจิ กรรมจากตัวอย่าง จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า “งานเจาะ” เริ่มต้นด้วยกิจกรรมการอ่านแบบ จากน้ันจึงจัดเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่จาเป็นจะต้องใช้ เตรียมช้ินงานท่ีจะเจาะ จับยึดชิ้นงานเข้ากับเครื่องประกอบเคร่ืองมือและอปุ กรณ์ ต้ังความเร็วรอบดอกสว่านท่ีเหมาะสม ดาเนินการเจาะช้ินงานตามแบบทาการตรวจสอบการทางานเปน็ ระยะไปเร่อื ย ๆ จนไดช้ ้ินงานท่ีต้องการ กิจกรรมสุดท้ายจบด้วยการทาความสะอาดเครื่องมืออุปกรณ์และจัดเก็บซ่ึงเป็นการสิ้นสุดงาน ผลลัพธ์ท่ีออกมา ก็คือ ชิ้นงานซ่ึงผ่านกระบวนการเจาะตามท่ีแบบงานกาหนดผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ กี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทที่ 5 การวเิ คราะหง์ านและการวเิ คราะห์หวั ข้อเร่อื ง 33ภาพของงานและผังงาน ผงั การทางานเจาะ กระบวนการทางานเจาะ เร่มิØ12 Ø10 อ่านแบบ St 37 เตรียมช้นิ งาน เตรยี มอุปกรณ์ จับยึดชนิ้ งาน ยดึ ดอกสว่าน ต้ังความเรว็ no ผลตรวจสอบØ12 Ø10 yes เจาะชน้ิ งาน no ผลตรวจสอบ yes ทาความสะอาด จัดเกบ็ อุปกรณ์ St 37 จบ ภาพที่ 5-3 กระบวนการและผังการทางานเจาะผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวิธีการเรยี นการสอนวิชาเทคนิค
► บทที่ 5 การวิเคราะหง์ านและการวิเคราะหห์ วั ขอ้ เร่ือง 34รายการงานในรายวิชา (Job Listing) เพื่อให้การจดั การเรียนการสอนและการฝึกทกั ษะในวิชาภาคปฏิบตั ิ ไดด้ าเนินการไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตั้งแต่ข้นั การเตรยี มการ การดาเนนิ การฝกึ ปฏบิ ัติ และการตรวจสอบผลการเรียนรู้ จึงจาเป็นที่จะต้องมี การกาหนดรายการงานต่าง ๆ ท่ีจะจัดการเรยี นการสอนเอาไว้ เช่นวชิ าปฏบิ ัตงิ านเคร่อื งยนต์ดเี ซลประกอบด้วยงานต่าง ๆ ดังน้ี1) งานตรวจสอบสภาพหวั เผา 10) งานถอดประกอบฝาสูบ2) งานเปลี่ยนไส้กรองน้ามันเครอ่ื ง 11) งานถอดประกอบกลไกกดล้นิ3) งานเปล่ียนไสก้ รองน้ามันเชอ้ื เพลงิ 12) งานถอดประกอบกา้ นสูบ4) งานเปลย่ี นไสก้ รองอากาศ 13) งานถอดประกอบลกู สูบ5) งานปรบั ตง้ั ไทมง่ิ แบบเฟอื ง 14) งานถอดประกอบแหวนลูกสูบ6) งานปรบั ตง้ั ไทมิง่ แบบสายพาน 15) งานถอดประกอบเพลาขอ้ เหวยี่ ง7) งานปรับต้ังไทมิง่ สายโซ่ 16) งานตรวจเสอื้ สบู และกระบอกสูบ8) งานตรวจเช็คปั้มน้ามันเครอ่ื ง 17) งานปรับตัง้ ปั้มแบบ Inline9) งานทาความสะอาดออยคูลเลอร์ 18) งานปรับต้งั ปั้มแบบ VEทม่ี าของงานตา่ ง ๆ อันท่ีจริงงานต่าง ๆ ท่ีกาหนดไว้เพื่อการจัดการเรียนการสอนนั้น ควรจะได้จากการวิเคราะห์รายวิชา หรือระบุไว้ในคาอธิบายรายวิชา แต่ทว่าเพ่ือให้เกิดความยืดหยุ่นในการสอน บางรายวิชาอาจกาหนด กรอบเน้ือหาเอาไว้อย่างกว้าง ๆ เพื่อให้ผู้สอนสามารถปรับเปลี่ยนในรายละเอียดให้ทันต่อเทคโนโลยี หรือเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ได้ ท้งั นี้ ผู้สอนอาจระบุแหลง่ ทีม่ าของงานเพ่อื ยืนยนั ความถกู ต้องได้จาก 1. คาอธบิ ายรายวิชา (Course Description) 2. เอกสารต่าง ๆ ที่เกย่ี วข้อง (Related Literatures) 3. ประสบการณผ์ พู้ ัฒนาเอง (Experience) 4. ผเู้ ชี่ยวชาญในสาขานน้ั (Experts) 5. การสงั เกตและศึกษางาน (Job Observation) ทั้งน้ี หากพิสูจน์ให้เห็นอย่างชัดเจนว่างานท่ีกาหนดไว้ในรายการน้ัน เป็นงานที่มีอยู่ในคาอธิบาย รายวิชา หรอื เป็นงานท่ีได้จากแหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ ที่หลากหลาย ก็จะทาให้รายการงานที่กาหนดถูกต้อง สมบูรณ์และน่าเชือ่ ถือเพิ่มมากข้ึนผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรยี นการสอนวิชาเทคนิค
► บทท่ี 5 การวเิ คราะหง์ านและการวเิ คราะหห์ วั ข้อเรือ่ ง 35ใบรายการงาน (Job Listing Sheet)ใบรายการงาน มีไว้เพอื่ ใชร้ วบรวมขอ้ มลู งานที่เกยี่ วขอ้ งในรายวิชาและแหลง่ ที่มาของงานนนั้ ๆ ข้อมลู จากหลักสูตร Job Listing Sheet หนว่ ยกิต และจากรายวชิ า ชัน้ ปีที่ ชื่องาน (Job)ชอ่ื รายวิชา แหลง่ ทีม่ าของข้อมลูชื่อหลักสตู ร AB CDEลาดบั ท่ีงานซึง่ ผู้พฒั นารวบรวมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆแหลง่ ท่มี าของข้อมลู A: Course Description ระบแุ หล่งทมี่ าของข้อมูล B: Literatures C: Experience D: Experts E: Job Observationภาพท่ี 5-4 สว่ นประกอบของใบรายการงาน (Job Listing Sheet)ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวธิ กี ารเรยี นการสอนวิชาเทคนิค
► บทที่ 5 การวเิ คราะหง์ านและการวเิ คราะหห์ วั ข้อเร่ือง 36การวเิ คราะหง์ าน (Job Analysis)อแา่ บนบศงกึ าษนา เก็บเครอื่ งมอื ทาความสะอาด อปุ กรณ์ ตรวจสอบ ชน้ิ งานเตรียมเคร่อื งมือ งานเล่อื ยมอื เตลาอ่ื มยแงบาบนเตรยี มช้ินงาน จบั ยดึ ชิ้นงาน ภาพท่ี 5-5 กจิ กรรมตา่ ง ๆ ในการทางานเลอื่ ยมือการวเิ คราะห์งาน คอื การระบคุ วามสามารถวา่ หากต้องการใหช้ ่างหรอื บุคคลหนึ่งบุคคลใดทางานนั้น ๆให้สาเร็จลุล่วงแล้ว เขาผู้นั้นจะต้องมีความสามารถ (Task) อย่างไรบ้าง เช่น ผู้ที่จะทางานเล่ือยมือได้จะตอ้ งสามารถอา่ นศึกษาแบบงาน เตรยี มเครอื่ งมอื เตรียมชนิ้ งานเป็น จบั ยดึ ชน้ิ งานได้ ฯลฯการวเิ คราะหง์ านจากการทางานงานเลอ่ื ยมือ ลาดับขนั้ การทางาน 1. อ่านศกึ ษาแบบงาน 2. เตรยี มเครื่องมอื 3. เตรยี มชิ้นงาน (วสั ด)ุ 4. จบั ยึดชนิ้ งาน 5. เล่ือยงานตามแบบ 6. ตรวจสอบชน้ิ งาน 7. ทาความสะอาด 8. เก็บเคร่ืองมือ/อปุ กรณ์ ภาพท่ี 5-6 ลาดบั ข้ันในการทางานเลอ่ื ยด้วยเลอ่ื ยมือจากรูป 5-6 จะเห็นไดว้ า่ ใครก็ได้ท่ีจะทางานเลอ่ื ยมือให้สาเร็จ เขาจะต้องทากิจกรรมต่าง ๆ ตามลาดับได้ทุกข้ันตอนให้สาเร็จลุล่วงลงไป ดังนั้น การวิเคราะห์งานโดยการระบุความสามารถ (Task) ในการทางาน จึงอาจใชข้ ้นั ตอนการทางานเป็น Task ในการทางานน้ัน ๆ กไ็ ด้ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวธิ ีการเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทท่ี 5 การวเิ คราะหง์ านและการวเิ คราะห์หวั ข้อเร่ือง 37แบบร่างลกั ษณะงาน (Job Layout) ตวั อยา่ งงานเดนิ สายไฟตู้ Switch งานกอ่ อิฐกาแพงครึง่ แผ่น งานทาสผี นังอาคาร ภาพท่ี 5-7 แบบรา่ งลกั ษณะงาน (Job Layout) ทเ่ี ป็นชนิ้ งานตัวอยา่ ง งานบรกิ ารหมอ้ กรองอากาศแบบแหง้ ภาพที่ 5-8 แบบร่างลกั ษณะงาน (Job Layout) ท่เี ปน็ ผลงานแบบร่างลักษณะงาน (Job Layout) ประกอบดว้ ยรปู ภาพทีส่ อ่ื สารให้เหน็ ลกั ษณะงานที่ชัดเจน อาจเป็นภาพเพียงภาพเดียวหรือประกอบด้วยหลายภาพ เพื่อช่วยให้การวิเคราะห์งานมีเป้าหมายและทิศทางที่แนน่ อนขน้ึ ดงั น้ัน กอ่ นทจ่ี ะวิเคราะห์งานก็ควรทจ่ี ะสรา้ งแบบร่างลกั ษณะงานไว้ทกุ งานผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวิชาเทคนคิ
► บทที่ 5 การวิเคราะหง์ านและการวเิ คราะหห์ วั ขอ้ เรื่อง 38ใบ Task Listing Sheetใบ Task Listing Sheet มไี วเ้ พ่อื ระบุ Task ที่จะตอ้ งใชป้ ระกอบกันเพื่อการทางานในงานใดงานหนึง่ ขอ้ มูลจากหลกั สูตร Task Listing Sheetช่อื รายวิชา หนว่ ยกติชื่องาน แหลง่ ท่มี าของขอ้ มลูลาดบั ที่ Task (Step) ในการทางาน AB CDETask ซึ่งผู้พฒั นาวเิ คราะห์ จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆแหลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู A: Having ago yourself แหลง่ ข้อมลู ท่ไี ด้มา B: Observation of the Job C: Performer interviews D: Simulation E: Questionnaire Techniques ภาพท่ี 5-9 สว่ นประกอบของใบ Task Listing Sheet. ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวิชาเทคนิคผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์
► บทท่ี 5 การวิเคราะหง์ านและการวิเคราะหห์ วั ข้อเร่อื ง 39หวั ข้อเรอื่ ง (Topic)หวั ข้อเรอ่ื ง เปน็ ชือ่ แทนกลุ่มเนื้อหาทม่ี ี Concept อยา่ งใดอย่างหน่งึ กลา่ วคอื เมอ่ื เห็นหัวขอ้ เร่อื งแล้ว สามารถท่ีจะมองเห็นขอบเขตของเนื้อหา ซึ่งประกอบเป็นหัวข้อเร่ืองน้ันอย่างคร่าว ๆ ได้ แต่ละหัวข้อเร่ือง (Topic) อาจมีหัวข้อหลัก (Main Element) และหัวข้อย่อย (Element) ในจานวนท่มี ากน้อยแตกตา่ งกันเชน่ หัวขอ้ เรื่อง ข้อสอบอตั นัย กลุม่ เนื้อหา ๏ ความหมาย ๏ รปู แบบของขอ้ สอบ ๏ การเขียนขอ้ คาถาม ๏ วิธีการใหค้ ะแนน ๏ ความเหมาะสม/ข้อจากัด ๏ การหาคุณภาพขอ้ สอบ ๏ ฯลฯ หัวขอ้ เรื่อง วตั ถปุ ระสงคก์ ารสอน กลมุ่ เนอื้ หา ๏ ความหมาย ๏ ส่วนประกอบ ๏ ข้อคานงึ ถงึ ในการเรยี น ๏ ข้อมลู ในการเขียนวตั ถปุ ระสงค์ ๏ การปรับปรุงวตั ถุประสงค์ ๏ การกาหนดระดับวตั ถุประสงค์ ๏ ฯลฯใบรายการหัวขอ้ เร่ือง (Topic Listing Sheet) ใบรายการหัวขอ้ เร่ืองสาหรับรายวิชาภาคทฤษฎี จะระบุหัวข้อเรื่องท่ีจะจัดการเรียนการสอนในรายวิชา พร้อมทัง้ แหล่งทม่ี าของหวั ข้อเรอื่ งที่ระบไุ ว้ในใบรายการหวั ขอ้ เรื่องในวชิ าน้ันผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุราษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวิธกี ารเรยี นการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทท่ี 5 การวเิ คราะหง์ านและการวเิ คราะหห์ วั ขอ้ เร่ือง 40 ข้อมูลจากหลักสตู ร Topic Listing Sheet และจากรายวชิ า หนว่ ยกติช่อื รายวชิ า ชนั้ ปที ี่ชือ่ หลกั สูตร แหลง่ ทีม่ าของขอ้ มลูลาดบั ที่ หัวขอ้ เร่อื ง (Topic) AB CDEหัวขอ้ เรอ่ื งซึ่งผพู้ ฒั นารวบรวม จากแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆแหลง่ ทีม่ าของข้อมลู A: Course Description ระบแุ หลง่ ท่มี าของขอ้ มูล B: Literatures C: Experts D: Experience E: อน่ื ๆ (ระบ)ุ ภาพท่ี 5-10 สว่ นประกอบของใบรายการหวั ขอ้ เรื่อง (Topic Listing Sheet)ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธีการเรียนการสอนวิชาเทคนคิ
► บทท่ี 5 การวิเคราะหง์ านและการวิเคราะห์หวั ขอ้ เรอ่ื ง 41หัวข้อเรอ่ื งและหวั ขอ้ ย่อย (Topic and Element) เนื้อหาที่ประกอบกันเป็นหัวข้อเรื่อง (Topic) อาจเรียกให้เข้าใจง่าย ๆ ว่าหัวข้อย่อย (Element) ของ หัวข้อเรื่อง ถ้าหากหัวข้อย่อยสามารถแยกย่อยลงไปได้อีก จะเรียกหัวข้อย่อยระดับรองจากหัวข้อเร่ือง ว่าหัวขอ้ หลกั (Main Element) และหัวข้อทแ่ี ยกย่อยตอ่ ไปว่าหัวขอ้ ยอ่ ย (Element)เช่น หัวข้อเร่อื ง ขอ้ สอบอตั นัย Main Element ๏ ความหมาย ๏ รปู แบบข้อสอบ Element แบบจากัดคาตอบ แบบไมจ่ ากดั คาตอบ ๏ การเขยี นขอ้ คาถาม ๏ วธิ กี ารใหค้ ะแนน Element ให้คะแนนเป็นระดบั ให้คะแนนเปน็ จุด ๏ ความเหมาะสม/ข้อจากัด ๏ ฯลฯ หัวขอ้ เรือ่ ง วตั ถุประสงค์การสอน Main Element ๏ ความหมาย ๏ ส่วนประกอบ พฤตกิ รรม (Task or Behavior) Element เงอ่ื นไข (Condition) มาตรฐาน (Standard or Criteria) ๏ ขอ้ คานึงถึงในการเรยี น ๏ การปรับปรงุ วตั ถุประสงค์ ๏ การกาหนดระดบั วตั ถุประสงค์ ความสามารถทางสตปิ ัญญา (Intellectual Skill) Element ความสามารถทางทักษะกลา้ มเน้อื (Physical Skills) ลกั ษณะกจิ นสิ ัยในการทางาน (Work Habit) ๏ ฯลฯผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนิค
► บทที่ 5 การวเิ คราะหง์ านและการวิเคราะห์หวั ขอ้ เร่ือง 42การวเิ คราะห์หวั ขอ้ เร่อื ง (Topic Analysis) การวเิ คราะห์หวั ขอ้ เรอ่ื ง คอื การแยกย่อยเพ่ือระบุ (หรือกาหนด) รายการหัวข้อหลัก (Main Element) และหวั ขอ้ ยอ่ ย (Element) ของเนอ้ื หาในหวั เรอื่ ง (Topic) นั้นๆ ความหมาย ความเหมาะสม ใหค้ ะแนน และข้อจากัด เปน็ ระดบัแบบจากดั ขอ้ สอบ การใหค้ ะแนน คาตอบ อัตนยั คาตอบ รปู แบบของ การเขียน การหาคุณภาพ ให้คะแนน ข้อสอบ ข้อคาถาม ของขอ้ สอบ เปน็ จุดแบบไม่จากัด คาตอบภาพท่ี 5-11 การใช้ Coral Pattern เป็นเครอ่ื งมอื ในการวิเคราะห์หวั ขอ้ เร่ือง ข้อสอบ อตั นัยความหมาย การเขียน ความเหมาะสม ข้อคาถาม และขอ้ จากดั รปู แบบของ การให้คะแนน ข้อสอบ คาตอบแบบไมจ่ ากัด แบบจากัด ใหค้ ะแนน ให้คะแนน คาตอบ คาตอบ เป็นระดับ เปน็ จุดภาพท่ี 5-12 การใช้ Scalar Diagram เปน็ เคร่อื งมือในการวเิ คราะห์หัวขอ้ เรือ่ งผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจนั ทร์ ยทุ ธวิธกี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
► บทท่ี 5 การวิเคราะหง์ านและการวเิ คราะหห์ วั ขอ้ เรอ่ื ง 43ตารางวิเคราะหส์ ่วนประกอบหวั ขอ้ เรอื่ ง ส่วนประกอบของหัวข้อเรื่อง สามารถค้นหาได้จากเอกสารหรือสารสนเทศต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องมากมาย ดังนน้ั กอ่ นทาการวิเคราะห์หัวขอ้ เร่ืองควรจดั หาเอกสารหรอื สารสนเทศตา่ ง ๆ มาใชเ้ พ่อื การอ้างอิง ข้อมลู หลกั สตู ร M/E Listing Sheetช่ือรายวชิ า หน่วยกติหัวข้อเรือ่ ง แหลง่ ท่ีมาของข้อมลูหัวขอ้ หลกั และหัวข้อย่อย (Main Element/Element) AB CDEข้อมลู ซ่งึ ผพู้ ัฒนาทาการ วิเคราะห์แหลง่ ท่มี าของข้อมลู A: Literatures ระบุแหล่งที่ได้มาของข้อมลู B: Experts C: Experience D: อืน่ ๆ (ระบ)ุ E: อ่ืน ๆ (ระบ)ุภาพท่ี 5-13 ส่วนประกอบของตารางวเิ คราะหส์ ่วนประกอบของหัวข้อเรื่องผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรุ าษฎร์ พรมจันทร์ ยุทธวธิ กี ารเรียนการสอนวชิ าเทคนคิ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167