Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการยกระดับเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต

หนังสือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการยกระดับเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต

Published by mueanglibrary, 2021-11-25 09:04:52

Description: หนังสือการมีส่วนร่วมของประชาชนในการยกระดับเจตจำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต

Search

Read the Text Version

การมสี ว่ นร่วมของประชาชน ในการยกระดบั เจตจ�ำนงทางการเมอื ง ในการต่อตา้ นการทจุ รติ โครงการก�ำกบั ตดิ ตาม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ ยกระดบั เจตจ�ำนงทางการเมอื ง ในการต่อต้านการทุจริต



การมีสว่ นรว่ มของประชาชน ในการยกระดบั เจตจ�ำนงทางการเมือง ในการตอ่ ต้านการทุจรติ โครงการก�ำกับตดิ ตาม ยุทธศาสตร์ท่ี ๒ ยกระดับเจตจ�ำนงทางการเมือง ในการต่อตา้ นการทจุ ริต

เสรีภาพและอิสรภาพเป็นของมนุษย์ รั ฐ บ า ล ที่ ดี ต ้ อ ง ใ ห ้ เ ส รี ภ า พ แ ล ะ อิสรภาพแก่ประชาชน และต้องเป็น ผู้รอบรู้ มีเหตุผล และปกครองด้วย หลักเหตุและผล ประชาชนสามารถ ใชเ้ สรีภาพและอิสรภาพในการแสดง ความคดิ เหน็ วอลแตร์ (Voltaire)

ค�ำกลา่ วนำ� ยทุ ธศาสตรช์ าตวิ า่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พลเอก บณุ ยวจั น์ เครอื หงส์ ระยะท่ี 3 จะสน้ิ สดุ ใน พ.ศ. 2564 ผมในฐานะประธานกรรมการ กรรมการ ป.ป.ช. ผลักดันยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับเจตจ�ำนงทางการเมืองในการ ต่อต้านการทุจริต คิดว่าในช่วงของยุทธศาสตร์ชาติฯ ระหว่าง ประธานกรรมการผลกั ดันยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ พ.ศ. 2560 - 2564 ประเทศไทยมกี ารเปลยี่ นแปลงทางการเมอื ง ยกระดับเจตจ�ำนงทางการเมอื ง มากขน้ึ ท้งั มกี ารเลอื กตง้ั ท่วั ไป การเลือกตัง้ ทอ้ งถน่ิ รวมทัง้ การท่ี ในการต่อต้านการทจุ รติ ภาคประชาสังคมมคี วามต่ืนตวั ทางการเมืองเป็นอยา่ งสูง ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีการส่ือสาร ความตื่นตัว ทางการเมืองของประชาชน และความเป็นประชาธิปไตยของ ประเทศ เปน็ หนทางสำ� คญั ทจี่ ะชว่ ยยกระดบั เจตจำ� นงทางการเมอื ง ในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ของภาคประชาชนสบื ตอ่ ไป แมว้ า่ จะสนิ้ สดุ ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 แลว้ ก็ตาม การพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าตามวิถีทางแห่ง ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น ต้องมี รากฐานท่ีส�ำคัญ คือ เจตจ�ำนงทางการเมืองของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เจตจ�ำนงในการมีส่วนร่วมทางการเมือง ในการรกั ษาผลประโยชนส์ าธารณะ และในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ก



คำ� น�ำ คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันท่ี 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559 เห็นชอบยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกัน และปราบปรามการทุจรติ ระยะท่ี 3 (พ.ศ. 2560 - 2564) ซงึ่ กำ� หนดวิสยั ทศั น์ “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทงั้ ชาตติ า้ นทจุ รติ (Zero Tolerance and Clean Thailand)” กำ� หนดพนั ธกจิ หลกั เพอ่ื สรา้ งวฒั นธรรม การต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วน และปฏิรูปกระบวนการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตท้ังระบบให้มีมาตรฐานเทียบเท่าสากล ผ่านยุทธศาสตร์ ๖ ด้าน ได้แก่ 1. สรา้ งสงั คมทไี่ มท่ นตอ่ การทจุ รติ 2. ยกระดบั เจตจำ� นงทางการเมอื งในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ 3. สกดั กนั้ การทจุ รติ เชงิ นโยบาย4.พฒั นาระบบปอ้ งกนั การทจุ รติ เชงิ รกุ 5.ปฏริ ปู กลไกและกระบวนการการปราบปราม การทุจริตและ 6. ยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perception Index : CPI) ของประเทศไทย ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับเจตจ�ำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต เป็นยุทธศาสตร์ท่ีมุ่งเน้น ให้ประชาชนและรัฐบาลน�ำเจตจ�ำนงทางการเมืองในเร่ืองการต่อต้านการทุจริตไปสู่การปฏิบัติของทุก ภาคสว่ นอยา่ งเปน็ รปู ธรรม คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดข้ บั เคลอ่ื นและผลกั ดนั ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ยกระดบั เจตจำ� นง ทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต ผ่านกลไกการแต่งต้ังคณะกรรมการผลักดันยุทธศาสตร์ชาติท่ี 2 ยกระดับเจตจ�ำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทุจริต โดยมีพลเอก บุณยวัจน์ เครือหงส์ กรรมการ ป.ป.ช. เป็นประธานกรรมการ และแต่งตั้งคณะท�ำงานก�ำกับติดตาม โครงการก�ำกับติดตามยุทธศาสตร์ ท่ี 2 ยกระดบั เจตจ�ำนงทางการเมืองในการตอ่ ต้านการทจุ รติ โดยมีสำ� นักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล สำ� นักงาน ป.ป.ช. เป็นฝ่ายเลขานกุ าร ด�ำเนินโครงการและกจิ กรรมตา่ ง ๆ รว่ มกับหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้อง ทั้งในทางวิชาการและปฏิบัติการ ซ่ึงหนังสือเล่มน้ีเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับเจตจ�ำนง ทางการเมอื งในการตอ่ ต้านการทุจริต ส�ำนักงาน ป.ป.ช. หวังว่า หนังสือเล่มน้ีจะมีส่วนในการกระตุ้นเตือน และเสริมสร้างให้ประชาชน มสี ่วนรว่ มในทางการเมือง และยกระดบั เจตจ�ำนงทางการเมืองในการต่อต้านการทจุ ริตให้เขม้ แข็งมากขึน้ ต่อไป ข

สารบัญ ก ๑ ค�ำกล่าวน�ำ เจตจ�ำนงทางการเมือง ของประชาชนในการ ข ต่อตา้ นการทจุ รติ ค�ำน�ำ ๑๙ นานาทัศนะเก่ียวกับการ มีส่วนร่วมของประชาชน ในการตอ่ ต้านการทจุ รติ ๗๕ น โ ย บ า ย ด ้ า น ป ้ อ ง กั น และปราบปรามการทุจริต ของพรรคการเมอื ง

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. เจตจ�ำนงทางการเมอื งของประชาชน ในการต่อต้านการทุจรติ 1

ใกนา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต เจตจำ�นงทางการเมอื งของประชาชน ในการต่อตา้ นการทุจริต เจตจ�ำนงทางการเมืองของประชาชน ทจ่ี ะมกี ารตดั สนิ ใจดาํ เนนิ การ วธิ กี ารใหข้ อ้ มลู หมายถงึ ฐานความคดิ ของประชาชนทม่ี งุ่ มน่ั ขา่ วสารสามารถใชช้ อ่ งทางตา่ ง ๆ เชน่ เอกสาร ตัง้ ใจ สรา้ งสรรค์ ตดั สนิ ใจแกป้ ัญหาร่วมกบั สิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทาง ภาครัฐ และสนับสนุนติดตามผลการปฏิบัติ ส่ือต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ แอปพลิเคชัน และ งานขององค์กรและเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้อง ตอ้ งมกี ระบวนการทเี่ ปดิ ใหป้ ระชาชนและฝา่ ย อันจะทําให้นโยบายสาธารณะหรือโครงการ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั นโยบาย โครงการ หรอื กจิ กรรม นั้นๆ เกิดประโยชน์สูงสุดและส่งผลกระทบ มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง และ ในดา้ นลบให้น้อยทีส่ ดุ ความคิดเห็นเพื่อประกอบการตัดสินใจของ การแสดงออกซึ่งเจตจ�ำนงทางการเมือง หนว่ ยงานภาครฐั โดยวธิ ตี า่ ง ๆ เชน่ การส�ำรวจ ให้เกิดผลได้ ต้องมีการสื่อสารแบบ 2 ทาง ความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ และการ คือ ต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูล แสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เพื่อสร้าง ข่าวสารและกระบวนการด�ำเนินการได้ ความมนั่ ใจใหป้ ระชาชนวา่ ขอ้ มลู ความคดิ เหน็ ประชาชนและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องจะต้อง และความต้องการของประชาชนจะถูกน�ำไป ได้รับการแจ้งให้ทราบถึงรายละเอียดของ พิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของ นโยบายหรอื โครงการทจี่ ะดําเนนิ การ รวมทั้ง ภาครัฐ ผลกระทบทคี่ าดว่าจะเกดิ ขึน้ ทั้งนี้ การได้รับ แจ้งข่าวสารดังกล่าวจะต้องเป็นการแจ้งก่อน 2

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ในทางการเมือง การแสดงออกซึ่ง จากการรวบรวมข้อมูล ตั้งแต่เดือน เจตจ�ำนงของประชาชนมคี วามส�ำคญั อยา่ งมาก กันยายน 2563 - มีนาคม 2564 มผี ูแ้ สดง ต่อการพัฒนาประเทศ และป้องกันการ ความคิดเหน็ จ�ำนวน 458 ราย เปน็ เพศชาย จดั สรรทรพั ยากรอยา่ งไม่เป็นธรรม ด้วยเหตุน้ี 184 ราย เพศหญงิ 274 ราย อายุ 18 - 25 ปี ส�ำนักงาน ป.ป.ช. จึงได้ส�ำรวจและประมวล จ�ำนวน 16 ราย อายุ 26 - 35 ปี จ�ำนวน ความคิดเห็นเก่ียวกับระดับเจตจ�ำนงทาง 140 ราย อายุ 36 - 49 ปี จ�ำนวน 198 ราย การเมืองในการต่อต้านการทุจริตของภาค และ 50 ปีขึ้นไป จ�ำนวน 104 ราย ประชาชน โดยใช้แบบสอบถามท่ีเผยแพร่ วุฒิการศึกษาต�่ำกว่าปริญญาตรี 28 ราย ผ่านส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัด ปรญิ ญาตรี 245 ราย ปรญิ ญาโท 159 ราย ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ภาค ส�ำนักงาน กกต. และสูงกว่าปริญญาโท 18 ราย อาชีพ ส�ำนักงาน กกต. จังหวดั องคก์ ารบรหิ ารสว่ น นักศึกษา 15 ราย พนักงานบริษทั 20 ราย จงั หวัด กรุงเทพมหานคร และพรรคการเมือง ขา้ ราชการ/เจา้ หนา้ ทรี่ ัฐ 362 ราย ผู้บรหิ าร/ ท่ีมีสมาชิกในสภาผู้แทนราษฎร และในงาน ผู้น�ำองค์กร 17 ราย และอื่น ๆ 44 ราย สัมมนา งานประชุมต่าง ๆ ของส�ำนักงาน มีความเห็นในประเด็นค�ำถาม 5 ค�ำถาม ป.ป.ช. และแบบสอบถามออนไลน์บนเวบ็ ไซต์ ดังนี้ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ยกระดบั เจตจ�ำนงทางการเมอื ง ในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ของส�ำนกั งาน ป.ป.ช. 3

กใ นา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต ค�ำถามที่ ๑ มผี ลงานวจิ ยั ออกมาวา่ การซอื้ เสยี งมผี ลเพยี งรอ้ ยละ ๔.๕๙ เทา่ นนั้ ท�ำไมจงึ ยังต้องรณรงค์ใหค้ นไมข่ ายเสียง ๔.๕๙ร้อยละ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความ งานวิจัยที่ปรากฏ และไม่ว่าผลการวิจัยจะ ออกมาในสัดส่วนร้อยละเท่าไร ก็ยังคงต้อง คดิ เหน็ วา่ งานวจิ ยั เปน็ เพยี งสว่ นหนงึ่ ทสี่ ะทอ้ น รณรงค์ให้คนไม่ขายเสียงอย่างต่อเนื่องต่อไป ให้เห็นผลของการประเมินในช่วงเวลาใด ซ่ึงหากไม่มีการรณรงค์ก็จะเกิดปัญหา ช่วงเวลาหน่ึงเท่าน้ัน ไม่ได้สะท้อนภาพ และผลวิจยั อาจเพมิ่ ขน้ึ มากกวา่ น้ีหลายเท่า ความเป็นจริงที่มีการซื้อเสียงมากกว่าผลจาก 4

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ส�ำหรับการซื้อเสียงน้ัน เป็นการเสนอ ในการแก้ไขปัญหาเหล่าน้ี ต้องกระตุ้น สิ่งตอบแทนในรูปผลประโยชน์หรือทรัพย์สิน ให้ประชาชนต้องค�ำนึงถึงสิทธิของตนเอง ต่างๆ ซ่ึงถือว่าเป็นส่ิงที่ท�ำลายการพัฒนา ตอ้ งแยกแยะผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั สว่ นรวม การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยเปน็ อยา่ งมาก ว่าการซื้อขายเสียงจะส่งผลกระทบร้ายแรง แสดงถงึ ความไมส่ นใจและการไมเ่ คารพในสทิ ธิ แกส่ งั คม การรณรงคใ์ หค้ นไมข่ ายเสยี งจงึ เปน็ ของประชาชนในการเลือกผู้แทนราษฎรของ หลักจิตวิทยาในการสร้างการตระหนักรับรู้ ตนเองเขา้ ไปท�ำหนา้ ทใ่ี นรฐั สภาหากนกั การเมอื ง และจติ ส�ำนึก เป็นการปลกู ฝังค่านยิ มต่อต้าน ลงทุนซ้ือเสียงและสามารถเข้ามามีอ�ำนาจ การทุจริตคอร์รัปชันให้แก่ประชาชนว่าการ ก็จะแสวงหาผลประโยชน์จากต�ำแหน่งหน้าท่ี ซอื้ เสยี งเปน็ สงิ่ ทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง ไมค่ วรกระท�ำ และ จากเงินภาษีของประชาชนในทางการเมือง ตอ้ งท�ำการสรา้ งภาพลกั ษณท์ ดี่ ใี หแ้ กป่ ระเทศ เพ่ือประโยชน์ส่วนตนมากกว่าที่จะค�ำนึงถึง วา่ ประชากรมคี ณุ ภาพ ตอ้ งสรา้ งความเชอื่ มน่ั ผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก การซ้ือเสียง ความศรัทธา จนเป็นวัฒนธรรมของสังคม จึงเป็นจุดเร่ิมต้นของการทุจริตคอร์รัปชัน ในอนาคต ถงึ แมว้ า่ ปญั หาการซอ้ื สทิ ธขิ์ ายเสยี ง เป็นการสร้างระบบท่ีไม่สามารถด�ำเนินงานได้ จะยังคงมีอยู่ แม้ว่าเร่ืองการขายเสียงเป็นสิ่ง โดยความโปรง่ ใสสจุ รติ หากประชาชนเพกิ เฉย ท่ีฝังรากลึกของคนไทยมานานจนท�ำให้คน คิดว่าเป็นเพียงเรื่องเล็กน้อย จะเป็นหนทาง บางกลุ่มรู้สึกว่าเป็นเรื่องเล็กน้อย แต่จะต้อง ท่ีน�ำไปสู่การทุจริตที่มากยิ่งขึ้นของบรรดา มกี ารพัฒนามาตรการป้องกนั อยา่ งตอ่ เน่ือง นักการเมอื ง ประเทศจะสญู เสียโอกาสท่ีจะได้ นักการเมืองท่ีดีเข้าไปบริหารประเทศ ซึ่งมี ผลกระทบในระยะยาวอย่างแน่นอน เปน็ การ บอ่ นท�ำลายประเทศในทส่ี ุด 5

ใกนา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต มีผลงานวจิ ัยออกมาว่าการซือ้ เสียงมีผลเพียง ร้อยละ ลำ�ดับ รอ้ ยละ ๔.๕๙ เท่านน้ั ท�ำ ไมจึงยงั ต้องรณรงค์ ใหค้ นไม่ขายเสยี ง 1 งานวจิ ยั ไม่ไดส้ ะทอ้ นสภาพความเป็นจริง 37.88 2 ไมค่ วรมกี ารซ้อื เสยี งเลย 15.41 3 เพราะการขายเสียงส่งผลใหไ้ ดน้ กั การเมอื งท่เี ขา้ มา 14.97 เพื่อหาประโยชนส์ ่วนตน และมีผลกระทบในระยะยาว 4 อ่ืน ๆ* 31.74 * มีความหลากหลายทไี่ มอ่ าจประมวลเปน็ ประเดน็ หลักได้ 6

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ค�ำถามท่ี ๒ การเมืองเกี่ยวข้องกับกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวันของเราตั้งแต่ต่ืนนอนจนเข้านอน หรอื ไม่ อย่างไร ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญ่มคี วามเห็น ผลประโยชนท์ ่ีพึงได้ ดงั เช่น การใชท้ รัพยากร ธรรมชาติ ซ่ึงทุกอย่างล้วนมีราคาต้องจ่าย ว่าการเมืองเก่ียวข้องกับกิจกรรมในชีวิต จึงต้องมีการเมืองเพื่อควบคุมและกระจาย ประจ�ำวัน เพราะสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐาน การใช้ทรัพยากรทุกชนิดอย่างเป็นธรรม เช่น ทุกกิจกรรมในชีวิตแทบทุกอย่างทั้งทางด้าน ในการบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรน้�ำ การเมอื ง การคมนาคม การใชส้ อย การอปุ โภค โดยเฉพาะน้�ำประปาที่สะอาด สะดวก และ บริโภค เก่ียวข้องกับชีวิตประจ�ำวันในแง่ของ 7

กใ นา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต ไม่แพงเกินไป ล้วนมีการก�ำกับติดตาม ถ้าประชาชนสามารถมีส่วนร่วมทาง จากทางด้านนโยบายทางการเมืองเข้ามา การเมอื งไดโ้ ดยทางตรง ตง้ั แตก่ ารแสดงความ เ กี่ ย ว ข ้ อ ง โ ด ย ต ร ง กั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง คดิ เหน็ การเลอื กผแู้ ทนราษฎรเพอ่ื ไปท�ำหนา้ ที่ ประชาชน หรือแม้แต่ในเร่ืองของการศึกษา ท้ังการบริหารราชการแผ่นดิน ประชาชน หรือการท�ำงานก็ได้รับผลกระทบมาจากแนว สามารถตรวจสอบการใช้อ�ำนาจรัฐได้โดย นโยบายทางดา้ นการเมือง เน่ืองจากการเมือง การแจ้งเบาะแสเพ่ือให้รัฐแก้ไขคุณภาพชีวิต เป็นระบบการใช้อ�ำนาจบริหารจัดการและ และสังคมให้พัฒนาไปในทางที่ดีขึ้น และ จัดสรรผลประโยชน์ของคนในสังคม รัฐบาล ถา้ มผี บู้ รหิ ารประเทศทดี่ ี จะท�ำใหม้ กี ารเมอื งทดี่ ี ใช้งบประมาณในการพัฒนาคุณภาพชีวิต รฐั บาลใชอ้ �ำนาจในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ สาธารณูปโภคและบริหารจัดการสังคม ซง่ึ มหี นา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบและบรหิ ารประเทศเพอ่ื ซ่ึงเป็นเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกับการเมืองท้ังส้ิน ใหม้ คี วามกา้ วหนา้ มน่ั คง อยดู่ กี นิ ดี ประชาชน ดังน้ันแล้วหากการเมืองไม่มีความม่ันคง ไดร้ บั การคมุ้ ครองตามกฎหมายและด�ำรงชวี ติ กจ็ ะสง่ ผลตอ่ ชีวิตประจ�ำวันของประชาชน ภายใต้กฎหมาย ระเบียบ นโยบายต่าง ๆ ท่ีมีผลกระทบต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของ ประชาชน ประชาชนจะต้องมีสิทธิเสรีภาพ และความยตุ ิธรรม 8

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. การเมืองเกย่ี วข้องกับกจิ กรรม รอ้ ยละ ล�ำ ดับ ในชวี ิตประจ�ำ วันของเราตง้ั แตต่ น่ื นอน จนเขา้ นอนหรือไม่ อยา่ งไร 1 เก่ียวขอ้ ง 69.90 เกย่ี วขอ้ งอยา่ งแนน่ อน เพราะสาธารณปู โภคขน้ั พน้ื ฐาน ในชีวิตแทบทุกอย่างล้วนเกี่ยวข้องกับการเมือง ทั้งการคมนาคม การใช้สอย การอุปโภคบริโภค 2 แม้แต่การศึกษาหรือการทำ�งานก็ได้รับผลกระทบ 15.92 มาจากการเมือง การมีนโยบายทางการเมืองทั้งส้ิน ถ้ามีผู้บริหารประเทศที่ดี การเมืองดี ทุกอย่างก็จะดี อาจไมต่ อ้ งดที ส่ี ดุ แตค่ งจะดกี วา่ ทเี่ ปน็ อยอู่ ยา่ งแนน่ อน 3 ไมเ่ กยี่ วขอ้ ง 10.19 4 อื่น ๆ* 3.99 * มีความหลากหลายท่ไี มอ่ าจประมวลเป็นประเดน็ หลกั ได้ 9

ใกนา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต คำ� ถามท่ี ๓ ทำ� ไมไมจ่ ดั สรรงบประมาณแบง่ ไปตามภาษที เ่ี กบ็ ไดใ้ นจงั หวดั นนั้ ๆ จรงิ หรอื ไมท่ ว่ี า่ เอาภาษีคนต่างจังหวัดไปพัฒนากรุงเทพมหานครในสัดส่วนท่ีมากเกินไปจน ไมเ่ ป็นธรรมกบั จงั หวัดอ่นื ๆ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเห็นแตกต่าง เน่ืองจากคนต่างจังหวัดหรือคนชนบทไม่ได้ กันเป็นสองฝ่าย โดยมีผู้แสดงความเห็นด้วย รับบริการสาธารณะในกรุงเทพมหานคร ว่าเป็นความจริงมากกว่าเพียงเล็กน้อย เม่ือประเทศไทยมีความเจริญแบบกระจุกตัว ในเรื่องของความไม่เป็นธรรมที่น�ำเอาภาษี อยู่ที่กรุงเทพมหานคร การคมนาคมดีกว่า คนต่างจังหวัดไปพัฒนากรุงเทพมหานคร ต่างจังหวัด (ในแง่ของความสะดวกและ มากจนเกินไป เน่ืองจากควรจะท�ำให้แต่ละ ทางเลอื กทห่ี ลากหลาย)ตน้ ทนุ การผลติ นอ้ ยกวา่ ท้องท่ีหรือจังหวัดมีการจัดสรรให้เป็นธรรม สินค้าส่วนมากจึงราคาถูกกว่าต่างจังหวัด การน�ำงบประมาณไปบริหารจัดการเพียงแค่ ท้ังการใช้จ่ายใช้สอยท่ีมีห้างสรรพสินค้า กรงุ เทพมหานครท�ำใหเ้ กดิ ความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั มีการจ้างงานที่ดกี วา่ 10

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ส�ำหรบั ผทู้ ตี่ อบแบบสอบถามอกี สว่ นหนง่ึ ก็จะขาดความเป็นธรรมเนื่องจากบางจังหวัด เห็นว่าไม่เป็นความจริง เนื่องจากการ ท่ียากจนท่ีสุดเก็บภาษีได้น้อย เท่ากับขาด บริหารหรือการจัดสรรงบประมาณมีการ งบพัฒนา จะส่งผลให้ไม่เกิดการพัฒนา กระจายให้กรุงเทพมหานครและทุกจังหวัด ที่เหมาะสม จ�ำเป็นต้องน�ำมารวมกันเป็น ในประเทศไทยอย่างเป็นธรรม มีการ งบประมาณของทั้งประเทศก่อนจัดสรร จัดสรรงบประมาณตามความจ�ำเป็นอยู่แล้ว ไปตามจังหวัดหรือกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานครต้องพัฒนาและแก้ไขปัญหา ต่าง ๆ แต่ผู้เสียภาษีที่รายได้สูงในกรุงเทพฯ มากกว่าพ้ืนท่อี ื่น ๆ จงึ จ�ำเป็นตอ้ งจัดสรรใหไ้ ด้ กม็ คี อ่ นขา้ งมาก ซง่ึ ไดจ้ า่ ยภาษแี ละน�ำกลบั คนื ตามความเหมาะสมในแต่ละพื้นท่ีซ่ึงมีความ ในรปู บตั รทองหรอื สวสั ดกิ ารการรกั ษาพยาบาล แตกต่างกัน เพราะการพัฒนาในเมืองหลวง แกค่ นตา่ งจงั หวดั เชน่ กนั คนตา่ งจงั หวดั เขา้ มา และปรมิ ณฑล การขนสง่ การบรกิ ารสาธารณะ ใชส้ งิ่ อ�ำนวยความสะดวกในกรงุ เทพมหานคร จะมผี ใู้ ชบ้ รกิ ารมากกวา่ ในตา่ งจงั หวดั อกี ปญั หา ด้วย แต่ละจังหวัดจัดเก็บภาษีได้ไม่เท่ากัน คือ นักการเมืองมักน�ำงบประมาณไปใช้จ่าย เงนิ ภาษจี งึ ควรใชไ้ ปด�ำเนนิ โครงการทสี่ ามารถ ในจงั หวัดหรือภาคของตนเองเสยี ส่วนใหญ่ สรา้ งผลก�ำไรในกรงุ เทพมหานครกอ่ น แลว้ จงึ ด้วยเหตุท่ีแต่ละจังหวัดจัดเก็บภาษีได้ จดั สรรเงนิ ไปลงตา่ งจงั หวดั ซงึ่ เปน็ การน�ำเงนิ ไม่เท่ากันและความจ�ำเป็นหรือความเร่งด่วน ไปลงเพ่ือให้เกิดก�ำไรและน�ำก�ำไรไปจัดสรร ของแต่ละจังหวัดในการใช้งบประมาณก็ไม่ จึงเป็นส่ิงท่ีถูกต้องกว่า เน่ืองจากภาษีจาก เทา่ กนั ควรจดั สรรงบประมาณตามความจ�ำเปน็ ท้องถ่ินคงไม่มากกว่าภาษีจากเมืองท่ีมีธุรกิจ เร่งด่วนของแต่ละพ้ืนที่ให้สอดคล้องกัน อตุ สาหกรรม ถา้ จดั สรรงบประมาณแบง่ ไปตามภาษที จ่ี ดั เกบ็ ได้ 11

ใกนา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต ทำ�ไมไม่จัดสรรงบประมาณแบ่งไปตามภาษี ที่เก็บได้ในจังหวัดน้ันๆ จริงหรือไม่ท่ีว่าเอาภาษี ลำ�ดบั คนตา่ งจงั หวดั ไปพฒั นากรงุ เทพมหานครในสดั สว่ น รอ้ ยละ ท่ีมากเกนิ ไปจนไม่เปน็ ธรรมกับจังหวดั อนื่ ๆ 1 จริง 32.45 2 ไม่จรงิ 26.49 3 ไมท่ ราบ 18.54 4 อื่น ๆ* 22.52 * มคี วามหลากหลายท่ไี มอ่ าจประมวลเปน็ ประเด็นหลกั ได้ 12

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. คำ� ถามท่ี ๔ การเมืองไมด่ กี ็น่าจะไปแก้ที่นักการเมือง ท�ำไมจงึ ให้ประชาชนแกไ้ ข ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความ ต่อประเทศในอนาคต ท้ังนี้ประชาชน คดิ เหน็ ในเรอ่ื งนวี้ า่ เมอ่ื ประชาชนซง่ึ เปน็ เจา้ ของ ยังมีส่วนส�ำคัญในการก�ำหนดบทบาทของ ประเทศ เป็นผูก้ �ำกับการใช้อ�ำนาจ ประชาชน นกั การเมือง หากประชาชนมสี ว่ นร่วมในการ ท�ำหนา้ ทเี่ ลอื กนกั การเมอื งไปท�ำหนา้ ทบี่ รหิ าร ตรวจสอบความโปรง่ ใส ประชาชนเปน็ หเู ปน็ ตา ประเทศ ขับเคลื่อนนโยบายของรฐั ประชาชน นักการเมืองย่อมไม่กล้าทุจริต เพราะกลัวจะ เปน็ ผรู้ บั ผลการบรหิ ารจากนกั การเมอื ง จงึ เปน็ สญู เสยี ฐานคะแนนของตนเอง หากประชาชน ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี โดยตรง จงึ ตอ้ งแกท้ ป่ี ระชาชน เลือกนักการเมืองที่ไม่ดีเข้าไปในการบริหาร ในการสรา้ งความตระหนกั และตน่ื รวู้ า่ หนง่ึ เสยี ง ราชการแผน่ ดิน ประชาชนตอ้ งแก้ไขดว้ ยการ ของประชาชนมีความส�ำคัญและมีผลกระทบ ไม่ควรเลือกเข้าไปอีก และควรเลือกคนดี 13

ใกนา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต มีความสามารถเข้าไปเป็นนักการเมือง แต่ ปัญหาส�ำคัญของประเทศคือประชาชนมักจะ ขายเสียง จึงเป็นสาเหตุให้ได้นักการเมืองท่ี ไม่ดีเข้าไปบริหารชาติบ้านเมือง ต้องแก้ไข ท่ีจิตส�ำนึกของประชาชนก่อน เลือกคนที่ ไม่ซื้อเสียง และไม่น�ำผลประโยชน์ส่วนรวม มาเปน็ ของตน ดงั นน้ั จะแกท้ นี่ กั การเมอื งไมไ่ ด้ เพราะปัญหาคือนกั การเมอื ง แต่ก็มีผู้ตอบแบบสอบถาม จ�ำนวนไม่น้อยที่มีความคิดเห็นว่า การเมืองเปน็ เรือ่ งของทุกคน จึงตอ้ ง รว่ มมอื กนั แกไ้ ขทงั้ 2 สว่ น โดยตอ้ ง แกท้ น่ี กั การเมอื งกอ่ นเปน็ อนั ดบั แรก เพราะนักการเมืองสามารถสร้าง ความตระหนักรู้ให้กับประชาชน ผมู้ สี ทิ ธใิ นการเลอื กได้ ซงึ่ ประชาชนแก้ นกั การเมอื งไมไ่ ด้ เพราะนกั การเมอื ง (รัฐบาล) เม่ือได้อ�ำนาจเข้าไปแล้ว ก็ร่างกฎหมายเอ้ือประโยชน์ให้กับ ตนเองและพวกพ้อง ไม่ได้สนใจ ความเดือดรอ้ นของประชาชน 14

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ลำ�ดับ การเมืองไมด่ ีก็นา่ จะไปแกท้ ีน่ ักการเมอื ง ร้อยละ ท�ำ ไมจงึ ให้ประชาชนแก้ไข 70.18 1 เพราะประชาชนเปน็ ผเู้ ลือกนกั การเมือง 20.18 2 ต้องร่วมมือกนั แก้ไข 6.92 3 ตอ้ งแกท้ ่ีนกั การเมอื งก่อนเป็นอันดบั แรก 2.72 4 อน่ื ๆ* * มคี วามหลากหลายท่ไี ม่อาจประมวลเปน็ ประเด็นหลักได้ 15

ใกนา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต ค�ำถามที่ ๕ ท่านยอมรับได้หรือไม่หากนักการเมืองจะทุจริตบ้างแต่ขอให้มีผลงาน เพราะไมม่ ที างท่จี ะไดน้ กั การเมอื งทีไ่ ม่ทจุ รติ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญม่ กี ารแสดง ไม่มีสิ่งใดการันตีว่าผลงานในวันน้ีต้องแลก ความคดิ เหน็ วา่ ไมส่ ามารถยอมรบั ไดท้ งั้ ในทาง มาด้วยการเสียงบประมาณมหาศาลเท่าใด ทฤษฎแี ละในทางปฏบิ ตั ิ เนอ่ื งจากนกั การเมอื ง และไม่คุ้มค่าที่จะยอมรับหากเกิดการทุจริต มีรายได้และผลตอบแทนจากรัฐอยู่แล้ว ภาษี เชน่ นตี้ ลอดไป งบประมาณที่ใชใ้ นการพัฒนา ของประชาชนต้องน�ำมาพัฒนาประเทศอย่าง ประเทศกจ็ ะไมเ่ พยี งพอ สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพชวี ติ เต็มเม็ดเต็มหน่วย และการทุจริตเป็นเร่ืองที่ ของประชาชน ดงั นน้ั ไมว่ า่ จะเปน็ นกั การเมอื ง ผิดกฎหมาย ถ้ายอมให้เกิดแม้เพียงเล็กน้อย หรอื ใครในวงการใดกต็ ามกไ็ มค่ วรมกี ารทจุ รติ ก็จะเป็นจุดเริ่มต้นของความเสียหายท่ีขยาย โดยสาเหตเุ กดิ จากนกั การเมอื งตอ้ งการรกั ษา ไปเป็นการทุจริตขนาดใหญ่ในวันข้างหน้า ฐานอ�ำนาจของตนจึงต้องมีผลงานที่เอื้อต่อ 16

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การท่ีอาสาเข้ามาพัฒนา โดยมีประชาชนส่วนน้อยที่สามารถ ประเทศเองจึงไม่ควรน�ำเอาเหตุผลใดมาอ้าง ยอมรับการทุจริตได้หากผลงานน้ันสามารถ นักการเมืองท่ีดีควรมีจิตมุ่งม่ันในการบริหาร ท�ำให้ประเทศ ประชาชน มีการพฒั นา และมี ประเทศจงึ จะสามารถพฒั นาประเทศและสรา้ ง คุณภาพชีวิตทางการเงิน โดยมองตาม ผลงานได้โดยไม่ต้องมกี ารทุจรติ และการท่ีจะ ความเป็นจริงและยอมรับว่าในสังคมปัจจุบัน ไม่ให้เกิดการทุจริตได้ควรมีระบบตรวจสอบ ไม่มนี กั การเมืองทไ่ี มท่ จุ รติ ท่ีดีด้วย ทา่ นยอมรบั ไดห้ รอื ไมห่ ากนกั การเมอื งจะทจุ รติ บา้ ง ล�ำ ดบั แตข่ อใหม้ ผี ลงาน เพราะไมม่ ที างทจ่ี ะไดน้ กั การเมอื ง รอ้ ยละ ท่ไี ม่ทจุ ริต 1 ยอมรบั ไมไ่ ด้ 79.95 2 ยอมรับได้ 10.14 ยอมรบั ได้ ถา้ หากผลงานนน้ั สามารถท�ำ ใหป้ ระเทศ 3 ประชาชน มกี ารพฒั นา และมคี ณุ ภาพชวี ติ ทางการเงนิ 8.25 ดขี น้ึ 4 อืน่ ๆ* 1.66 * มีความหลากหลายทไี่ มอ่ าจประมวลเปน็ ประเด็นหลกั ได้ จากผลการส�ำรวจความคดิ เหน็ ขา้ งตน้ ชใี้ หเ้ หน็ วา่ ประชาชนสว่ นใหญม่ คี วามเขา้ ใจในระบบ การเมอื ง มีเจตจ�ำนงทางการเมืองในการตอ่ ตา้ นการทจุ ริต ซึ่งเปน็ พ้นื ฐานส�ำคัญของการพฒั นา ระบบการเมอื งและระบบราชการทีท่ กุ ฝ่ายตอ้ งร่วมมอื กนั ขับเคล่ือนใหเ้ กิดผลต่อไป 17



นานาทัศนะเกี่ยวกับ กปารรมะีสชว่ นารชว่ นมของ ในการต่อต้านการทจุ รติ

กใ นา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต นานาทัศนะเก่ยี วกบั การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการตอ่ ตา้ นการทุจรติ นอกจากการส�ำรวจความเห็นของ ผา่ นทาง DOPA Channel บนั ทกึ เทปครง้ั ท่ี 1 ประชาชนแล้ว ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ได้จัดการ ในวันท่ี 22 มีนาคม 2564 ผู้ร่วม เสวนา โดยเชิญผมู้ ีประสบการณท์ างการเมือง เสวนาประกอบด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ และนักวิชาการด้านการเมืองการปกครอง ดร.อิสระ เสรีวัฒนวุฒิ และนายประสงค์ มาแสดงทัศนะเรื่องเจตจ�ำนงทางการเมือง เลิศรัตนวิสุทธิ์ บันทึกเทปครั้งที่ 2 ในวันท่ี ในการต่อต้านการทุจริต ในการเสวนา 31 มนี าคม 2564 ผรู้ ว่ มเสวนาประกอบดว้ ย เร่ือง “การมีส่วนร่วมของประชาชนในการ ดร.สติธร ธนานิธิโชติ และรองศาสตราจารย์ ยกระดับเจตจ�ำนงทางการเมืองในการ ดร.ยทุ ธพร อสิ รชยั โดยมี ดร. วฒั นา อคั คพานชิ ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ” โดยรว่ มกบั กองการสอ่ื สาร เปน็ ผู้ด�ำเนินรายการ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เผยแพร่ 20

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. จงึ น�ำทศั นะของผู้รว่ ม เสวนามาเผยแพร่เพ่ือเป็นประโยชน์ต่อการ ขบั เคลอ่ื นนโยบายการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ อน่ึง ผู้ร่วมเสวนาได้แสดงความคิดเห็น โดยอิสระ ดังนัน้ ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ไมจ่ �ำเปน็ ตอ้ งเหน็ ดว้ ย ไม่วา่ ท้ังหมดหรอื บางส่วน 21

ใกนา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อสิ ระ เสรีวัฒนวฒุ *ิ “เจตจ�ำนง” คือ การแสดงเจตนา ประชาชน กลยทุ ธแ์ รกเรม่ิ มาจากการยกระดบั การแสดงความต้ังใจ แต่การเขียนหรือพูด เจตจ�ำนงทางการเมืองโดยนักการเมือง เป็นสิ่งที่ท�ำง่าย แต่ในทางปฏิบัติท�ำได้ยาก พรรคการเมือง ภาครัฐ ประชาชนก็ถือเป็น หากเข้าไปดูในรายละเอียดของยุทธศาสตร์ สว่ นเสรมิ เทา่ นนั้ สว่ นนจ้ี ะตอ้ งมกี ารยกระดบั ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม เจตจ�ำนงทางการเมืองให้แล้วเสร็จก่อน การทจุ รติ ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. จะแบง่ เปน็ ประเด็นที่จะให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม กลยุทธ์ต่าง ๆ ซึ่งในความเป็นจริงไม่ได้กล่าว เพราะว่าประชาชนไม่ได้มีหน้าท่ีโดยตรง ถึงการยกระดับเจตจ�ำนงทางการเมืองโดย ประชาชนมีหน้าที่ปฏิบัติตามกฎหมาย * วศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต, จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลยั รามคำ�แหง วิศวกรรมศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ , Imperial College London สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พรรคประชาธปิ ตั ย์ ทีป่ รกึ ษาคณะกรรมการบริหารโครงการบ้านเมืองสจุ รติ 22

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ในการที่จะท�ำมาหากินประกอบสัมมาชีพ ยอมรบั สงิ่ ตา่ งๆเหลา่ นี้ยอมรบั กบั ผลประโยชน์ ทจ่ี ะดูแลเล้ยี งชพี ตนเอง นอกเหนือจากหนา้ ท่ี เฉพาะหน้า เม่ือมีการเลือกตั้ง จึงต้องรับ หลักของเขาในการท�ำตามกฎหมายในการ ผลกระทบทตี่ ามมาอกี 4ปีหรอื ยาวนานกวา่ นนั้ ประกอบอาชีพที่สุจริตหาเลี้ยงครอบครัว เรอ่ื งนเ้ี ปน็ เรอื่ งทเ่ี ราจะสรา้ งตอ้ งเรม่ิ จากจะท�ำ แล้ว แต่จะท�ำอย่างไรให้ประชาชนเข้ามา อย่างไรให้สังคมไม่ยอมท่ีจะปล่อยไป เราอยู่ มีส่วนร่วม แม้ว่าข้อมูลจะเก่าเน่ืองจากข้อมูล ในสังคมท่ียึดกับผลลัพธ์โดยไม่สนใจวิธีการ มีจ�ำนวนนอ้ ย เชน่ ใน พ.ศ. 2562 ทีผ่ ่านมา ยกยอ่ งแตผ่ ชู้ นะ ทกุ ฝา่ ยพยายามท�ำทกุ วถิ ที าง มีเรื่องเข้ามาในส�ำนักงาน ป.ป.ช. ไม่ต่�ำกว่า ที่จะให้ได้มาซ่ึงชัยชนะ ทุกวันนี้สังคมชอบ 13,000 เร่ือง ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. มเี จา้ หน้าที่ ผลลัพธ์ง่าย ๆ ที่อย่างน้อยเห็นประโยชน์ ไม่ต่�ำกว่า 2,000 คน จึงเป็นไปได้ยากท่ีจะ เฉพาะหน้า ไม่ว่าจะเป็นการทุจริตซ้ือเสียง ใหเ้ ปน็ “แมววง่ิ ไลจ่ บั หน”ู เพราะฉะนน้ั ตอ้ งใช้ ในเบื้องต้นหรือเห็นประโยชน์กับการที่ได้ สายตาที่อยู่ใกล้ชิดท่ีสุดน่ันคือประชาชน พัฒนาท้องถิ่นน้ัน ๆ เร่ืองนี้เป็นปัญหา เข้ามามีส่วนร่วม อย่างไรก็ตามการเข้ามา เชิงโครงสร้างท่ีเก่ียวเนื่อง เป็นจุดเริ่มต้น มีส่วนร่วมของประชาชน ไม่ได้หมายถึงให้รัฐ และเป็นวิธีการแก้ปัญหา ต้องแก้ไขในเรื่อง ไม่ต้องท�ำหน้าที่ของตนเองเพราะว่าคือหน้าที่ การเข้ามาสู่อ�ำนาจก่อน ซึ่งทุกวันนี้สังคม สว่ นประชาชนกค็ วรจะเปน็ ส่วนเสริม ยอมรับกันได้ ไม่มีนักการเมืองคนใดที่ลงทุน จุดหลักส�ำคัญต้องเข้าใจก่อนว่าการ ใชเ้ งิน 20 - 30 ล้านบาท เขา้ มาแล้วจะรับ ปกครองระบอบประชาธิปไตย ปฏิเสธไม่ได้ เงนิ เดือนเพยี งแค่หลักแสนบาท เพราะฉะนัน้ ว่าสิ่งท่ีเป็นปัญหาอยู่ทุกวันน้ี คือ ผลมาจาก จึงเกิดปัญหา นักการเมืองเมื่อเข้ามาด้วย การกระท�ำของคนในสังคมเอง เพราะในวันท่ี วิธีการแบบน้ี ต้องท�ำทุกวิถีทางให้ได้คืนทุน เปดิ โอกาสใหเ้ ลอื กตง้ั ได้ วนั นนั้ คอื วนั ทอี่ �ำนาจ ปัญหาที่เกิดข้ึนคือ การเกิดเป็นสองฝ่าย อยู่ในมือของประชาชนทุกคน ปฏิเสธไม่ได้ เมอื่ มคี นไดป้ ระโยชน์ อกี คนตอ้ งเสยี ประโยชน์ ว่าสังคมเป็นผู้เลือกคนเหล่านี้เข้ามา ทุกคน คนที่ได้รับประโยชน์ก็พยายามท่ีจะท�ำให้อยู่ สามารถบอกได้ว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในต�ำแหนง่ ใหน้ านทสี่ ดุ สว่ นผทู้ เี่ สยี ประโยชน์ คนน้ีสุจริตหรือไม่ แต่สุดท้ายแล้วสังคมได้ ก็จะต้องท�ำให้กลับมามีอ�ำนาจเร็วท่ีสุด 23

กใ นา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต เม่ือแบ่งเป็นสองฝ่ายก็เกิดเป็นความขัดแย้ง เรยี กกนั วา่ “วงจรอบุ าทว”์ วธิ กี ารทจ่ี ะแกต้ รงน้ี ถ้าขัดแย้งกันในสภาไม่จบก็ชุมนุมประท้วง เป็นเร่ืองท่ีค่อนข้างท้าทาย ยุทธศาสตร์ที่ 2 และไปสร้างความชอบธรรมให้กับอ�ำนาจ ยกระดบั เจตจ�ำนงทางการเมอื งในการตอ่ ตา้ น พิเศษเข้ามารัฐประหารเกิดข้ึน เมื่อเข้ามา การทุจริต โดยเฉพาะของภาคประชาชน หากไม่มีการปฏิรูปในเร่ืองของกระบวนการ เปน็ เรอื่ งทจ่ี บั ตอ้ งไดย้ าก ท�ำใหเ้ กดิ ขน้ึ ยาก แตว่ า่ เขา้ สอู่ �ำนาจแบบนี้ กว็ นกลบั ไปใหม่ เลอื กตงั้ ใหม่ กต็ ้องท�ำใหส้ �ำเร็จหากจะแกร้ ะบบความคดิ นี้ กก็ ลบั มาทจุ รติ ซอื้ เสียง อย่างน้ีคือวงจรท่ีเรา 24

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ในเรอื่ งการไปใชส้ ทิ ธเิ์ ลอื กตงั้ ทเ่ี ปน็ ผลพวง เท่านั้น หากพิจารณาที่หลักฐาน ไม่สามารถ มาจากการซ้ือสิทธ์ิขายเสียงซึ่งส่งกระทบ เชอ่ื ถอื ไดแ้ ละโทษประชาชนกไ็ มไ่ ด้ เพราะตอ้ ง เปน็ วงจรในระยะยาวมาถงึ ทกุ วนั น้ี เปน็ ปญั หา ดูท่ีโครงสร้าง ยกตัวอย่างเช่น มีนักการเมือง เชงิ นโยบายของการบรหิ ารประเทศ โดยรอ้ ยละ รายหน่ึงในจังหวัดเพิ่งพ้นโทษจากเรือนจ�ำ 80 - 90 มาจากผลพวงของการตัดสินใจ แตย่ งั ไมส่ ามารถลงการเมอื ง วธิ กี ารคอื ไปสมคั ร ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง เพราะมี เป็นประธานหอการค้า แต่มีปัญหาตรงท่ี ผลประโยชน์จากการใช้สิทธิ์ขายเสียง เร่ืองนี้ พระราชบัญญัติหอการค้า พ.ศ. 2509 เป็นเรื่องท่ีเลยจุดท่ีจะมากล่าวว่าเป็นสิ่งที่ ไม่มีก�ำหนดคุณสมบัติไว้ เม่ือพ้นโทษก็มา ถกู ตอ้ งหรอื ไม่ มกี ารกลา่ วถงึ เรอ่ื งนมี้ า20-30ปี ด�ำรงต�ำแหน่งประธานหอการค้าได้ทันที แล้ว ท�ำอย่างไรให้มองเห็นปัญหา จากเพียง และไม่สามารถให้พ้นออกจากต�ำแหน่งได้ ไม่ก่ีนาทีในการลงคะแนนเสียงแต่สามารถ สงิ่ ทนี่ า่ คน้ หาอยทู่ ท่ี �ำไมนกั ธรุ กจิ ในจงั หวดั นน้ั ไปถงึ ปญั หาอน่ื ๆ ไดม้ ากพอสมควร ยกตวั อยา่ ง จงึ ยอมทจ่ี ะเลอื กนกั การเมอื งรายนเี้ ปน็ ประธาน งานวิจัย ซึ่งจากการสอบถามประชาชนว่า นนั้ เปน็ เพราะวา่ นก่ี ค็ อื โครงสรา้ งของสงั คมไทย ถ้ารับเงินแล้วจะเลือกใช่หรือไม่ ปรากฏว่า ในเร่อื งซ้ือสิทธ์ขิ ายเสยี ง มีประชาชนยอมรบั ว่าจะเลือกมแี ค่ 4 คนคร่ึง 25

ใกนา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต ยกตัวอย่างท่ีสอง เป็นเร่ืองทางคดีความ ไม่ได้รับความช่วยเหลือ เช่น ถูกไล่ท่ีดิน มบี คุ คลไดเ้ ปน็ นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั คดรี กุ ปา่ สงั คมการพงึ่ พงิ มมี ากกวา่ การซอ้ื สทิ ธิ์ ไดย้ กทมี เลย แตค่ ดนี ค้ี า้ งอยทู่ ส่ี �ำนกั งาน ป.ป.ช. ขายเสียงอย่างท่ีเราเข้าใจ ต้องตอบโจทย์ และส�ำนักงานอัยการ ท�ำไมไม่ใหค้ วามชดั เจน ตรงนด้ี ว้ ย ถา้ สามารถแกป้ ญั หาเองโดยไมต่ อ้ ง ของคดี ตรงน้ีสะท้อนให้เห็นว่า โครงสร้าง ไปพ่ึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ปัญหาก็จะ ได้สะท้อนอะไรหลายอย่าง ประเทศไทยมี ลดน้อยลง เม่ือประชาชนรู้สึกว่าไม่มีที่พึ่ง กฎกติกาเร่ืองห้ามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ไม่สามารถพ่ึงระบบได้ ไม่สามารถพึ่งรัฐท่ีมี ไปแทรกแซงงบประมาณ ซึ่งในทางปฏิบัติ หน้าที่โดยตรงในการดูแลความเป็นอยู่ หรือ เปน็ ไปไดย้ าก ปญั หาเรอ่ื งเหลา่ นไ้ี มไ่ ดม้ แี คก่ าร การแก้ปัญหาที่เผชิญอยู่ ได้รับเร่ืองร้องเรียน ซื้อสิทธ์ิขายเสียงเพียงอย่างเดียว มีมิติความ และแก้ไขให้ได้ เมื่อประชาชนรู้สึกไม่มีที่พ่ึง สมั พนั ธ์อนื่ มีมติ ิทอี่ ธบิ ายในทางสังคมศาสตร์ เหล่าน้นั เปน็ ธรรมชาติของคนทุกคนท่ีจะหา ว่ามีสิ่งที่สลับซับซ้อนมากกว่าการไปซ้ือเสียง วธิ ที งี่ า่ ยทสี่ ดุ เรว็ ทสี่ ดุ เพราะฉะนนั้ เมอ่ื มาเจอ นั่นคอื การพง่ึ พิง ตอ้ งหาคนทพ่ี งึ่ พิงไดแ้ ทนรฐั ชอ่ งทางวา่ นกั การเมอื งไมว่ า่ จะเปน็ นกั การเมอื ง อย่างน้อยก็สามารถจับต้องในสิ่งที่ประชาชน ท้องถิ่น หรือนักการเมืองระดับชาติท่ีอยู่ 26

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ในชมุ ชน สามารถทจ่ี ะไปพดู คยุ ปญั หาตา่ ง ๆ ได้ รั ฐ ธ ร ร ม นู ญ แ ห ่ ง ร า ช อ า ณ า จั ก ร ไ ท ย ปัญหาได้ถูกแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว เพราะรัฐ พ.ศ. 2550 ไดบ้ ญั ญัติไว้เรอ่ื งการมสี ว่ นร่วม หรือผู้มีอ�ำนาจหน้าที่ไม่ท�ำหน้าที่ที่ควรจะท�ำ ของภาคประชาชน 30 คร้ัง รัฐธรรมนูญ แ ต ่ ท�ำ เ มื่ อ ไ ด ้ รั บ ก า ร ติ ด ต ่ อ จ า ก ส ม า ชิ ก แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 ไดบ้ ญั ญตั ิ สภาผู้แทนราษฎร หรือนักการเมืองท้องถ่ิน เรื่องการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนไว้ ซง่ึ สามารถแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ระบบนเ้ี ปน็ 22 ครั้ง เพราะฉะน้ันการมีส่วนร่วมได้ถูก ระบบอปุ ถมั ภท์ ฝี่ งั เขา้ ไปในจติ ใจของคน ดงั นนั้ บัญญัติไว้แล้วในรัฐธรรมนูญ ให้ประชาชน เมอื่ ถงึ เวลา ประชาชนสามารถลดปรมิ าณทจี่ ะ มีส่วนร่วมในการริเร่ิมไม่ว่าจะเป็นเข้าชื่อ มองความถูกต้อง ทั้งที่นักการเมืองผู้น้ันอาจ เสนอกฎหมายหรอื วา่ เขา้ ชอ่ื เพอ่ื การด�ำเนนิ การ จะเป็นมาเฟียหรือเป็นนักธุรกิจท่ีผิดกฎหมาย ใด ๆ ตามท่ีรัฐธรรมนูญได้บัญญัติไว้ ล่าสุด ในพ้ืนที่ แต่ได้ท�ำประโยชน์ให้กับประชาชน การประชุมร่วมรัฐสภา ในท่ีประชุม ทไ่ี มส่ ามารถพง่ึ พาใครได้ แตป่ ระชาชนสามารถ คณะกรรมาธิการ มีการพูดคุยกันถึงการ พงึ่ พาได้ ระดบั ของการกรองความถกู ตอ้ งกจ็ ะ ให้ประชาชนมีการเข้าชื่อในประชามติได้ ลดลง ท้ังท่ีเป็นหน้าที่ของรัฐท่ีจะต้องท�ำส่ิงนี้ ใหเ้ กดิ ขน้ึ จะตอ้ งท�ำใหเ้ ปน็ ระบบใหป้ ระชาชน 27 พง่ึ ได้ แน่นอนว่าประชาชนมีหนา้ ท่ีตรวจสอบ ไม่คิดว่าเป็นหน้าที่ของประชาชนท่ีจะต้อง บังคับใหร้ ัฐท�ำหน้าที่ ส�ำหรับประเด็นในเร่ืองการน�ำเทคโนโลยี ทจี่ ะใช้ทุจริตและต่อต้านการทุจริต ซ่ึงก็เป็น เทคโนโลยีเดียวกัน อยากให้เข้าใจว่าปัญหา ทุกวันน้ีไม่ได้เกิดจากภาคทฤษฎี แต่เกิด จากภาคปฏิบัติ เร่ืองการมีส่วนร่วมไม่ใช่ เร่ืองแปลกใหม่แต่อย่างใด ในรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 และ

ใกนา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต เพราะฉะนน้ั ในเรอ่ื งของการใหป้ ระชาชนรเิ รม่ิ จึงยังไม่มีกฎหมายฉบับน้ัน ดังน้ันในการ กม็ อี ยแู่ ลว้ ประชาชนเขา้ รว่ มในการตรวจสอบ มสี ว่ นรว่ มสดุ ทา้ ยอยทู่ ว่ี า่ มกี ารเปดิ โอกาสใหม้ ี มีอยู่แล้ว หรือการมีส่วนร่วมในการถอดถอน สว่ นรว่ มมากนอ้ ยเพยี งใด ไมเ่ ลอื กเพยี งเฉพาะ มีอยู่แล้วในกฎหมาย ต้ังแต่ร่างกฎหมาย เรื่องใดเร่ืองหน่ึงท่ีอยากให้มีส่วนร่วมเท่านั้น ขน้ึ มา มีกฎหมายกีฉ่ บบั ทีเ่ สนอโดยประชาชน เชน่ เรอ่ื งทป่ี ระชาชนตอ้ งมาพง่ึ พาสมาชกิ สภา ไม่มีกฎหมายฉบับใดในประเทศไทยท่ีส�ำเร็จ ผแู้ ทนราษฎร การสอบเข้าราชการมปี ระกาศ ออกมาเป็นกฎหมายจากการเข้าชื่อ ท้ังหมด รับสมัครหลายช่องทางแต่ไม่มีประโยชน์ กลับไปอยู่ในกระบวนการของผู้มีอ�ำนาจ เนื่องจากส่วนราชการมีคนท่ีต้องการรับ คราวนี้กฎหมายท่ีริเริ่มโดยที่ประชาชนเข้า อยู่แล้ว บางเรื่องสังคมไม่ต้องการความ มาโดยลงชื่อจ�ำนวนหนึ่งหมื่นช่ือยังสามารถ มีส่วนร่วมมากนัก แต่เมื่อถึงเวลาบางเรื่อง เสนอเข้ามาได้ แต่จะให้ประชาชนมีส่วนร่วม สงั คมกลบั ต้องการการมสี ว่ นร่วม ไปจนกระทง่ั ถงึ กระบวนการสดุ ทา้ ยของกฎหมาย 28

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ปัจจุบันมีเพจต่าง ๆ ท่ีกล่าวถึงส่ิงที่ควร พัฒนาข้ึนมาจนถงึ ปจั จุบนั ไม่ต้องกลา่ วถงึ AI จะต้องเป็นหน้าท่ีของหน่วยงานของรัฐที่จะ และ Blockchain พัฒนาการของการทุจริต ตรวจสอบมากกว่าจะเป็นภาคประชาชน ซ่ึง ก็เปล่ียนไป ไม่มีแล้วส�ำหรับตัวอย่างในอดีต หลาย ๆ คน หรอื แมก้ ระทงั่ ในหลาย ๆ เพจไมไ่ ด้ ส.ส. ถือปลาทูไปให้ ในปัจจุบันมีการทุจริต มเี งนิ ทนุ สนบั สนนุ การด�ำเนนิ การ ดงั นน้ั ในการ ในรปู แบบใหม่ ยกตวั อยา่ งเชน่ การตง้ั เปน็ ชมรม กลา่ วถึงเรื่องเทคโนโลยีท่ีใชใ้ นการต่อต้านการ เขา้ มาสมคั รแลว้ กร็ บั ซอื้ ดอกไมจ้ นั ทน์ จากปกติ ทจุ รติ มเี ทคโนโลยสี มยั ใหมท่ �ำใหเ้ กดิ การทจุ รติ ดอกไมจ้ ันทนด์ อกละ 5 บาท ถ้าเปน็ สมาชกิ เกิดขึ้นมา ซึ่งเป็นธรรมชาติของเทคโนโลยี ชมรมนรี้ บั ซอื้ ที่ 50 - 100 บาท เปน็ นวตั กรรม ท่ีท�ำให้เกิดความสะดวกและความซับซ้อน การทุจริตคอร์รัปชันอีกแบบหน่ึง เมื่อมี ท�ำใหเ้ กดิ การตรวจสอบไดย้ าก ยกตวั อยา่ งเชน่ Blockchain เข้ามาเป็นเรื่องใหม่ อ�ำนาจ หากย้อนกลับไปเมื่อหลายสิบปีก่อน เรารู้จัก และการใชก้ ฎหมายของรฐั ทจี่ ะตามไปควบคมุ “ส.ส. ปลาทเู คม็ ” มที ม่ี าทไ่ี ปจากการขนปลาทู ยังไม่ทัน จึงเป็นช่องว่างท่ีถูกใช้เป็นโอกาส ข้ึนรถไฟไปแจกประชาชนจังหวัดร้อยเอ็ด ในการทจี่ ะทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั ไมต่ อ้ งไปกลา่ วถงึ ตัวอยา่ งน้เี ป็นแบบทงี่ า่ ยทส่ี ดุ จนกระท่ังมีการ Blockchain ท่ีอยู่ไกล ทุกวันนี้การซื้อขาย 29

กใ นา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต AB ปัญหามานานในการกรอกเอกสารสิทธิ ในการให้ใบอนุญาตต่าง ๆ ซึ่ง Blockchain ออนไลน์ กฎหมายของประเทศไทยทจี่ ะไปแก้ เข้ามาท�ำหน้าท่ีตรงนี้ เชื่อว่าในอนาคต การเก็บภาษีจากบริษัทต่างประเทศยังไม่ทัน เมื่อมีการพัฒนาเทคโนโลยีมากข้ึนก็จะ เมอ่ื Blockchainมาถงึ จงึ มชี อ่ งวา่ งตามกฎหมาย สามารถท�ำไดด้ ี แตไ่ ม่วา่ เทคโนโลยจี ะพัฒนา พอสมควรท่ีจะใช้เป็นช่องทางในการทุจริต ไปไกลเพียงใด สุดท้ายต้องส�ำเร็จที่มนุษย์ คอรร์ ปั ชนั แตใ่ นเวลาเดยี วกนั ในแงข่ องแนวคดิ ขอยกตัวอย่าง “มีประเทศหน่ึงคิดค้น Blockchain เปน็ เทคโนโลยที ต่ี รวจสอบกนั เอง เคร่ืองจกั รกลได้ 5 นาทจี บั โจรได้ 500 คน หมายความว่า หลักการของผู้ที่คิดค้น อีกประเทศหน่ึงเอาไปใช้ 3 นาที จับโจรได้ เทคโนโลยีน้ีข้ึนมาเพื่อท่ีจะไม่ต้องเอาปัจจัย 100 คน แตพ่ อมาเจออีกประเทศ เอาเครือ่ ง ดา้ นมนษุ ยเ์ ขา้ มาเปน็ สว่ นหนง่ึ ในการตรวจสอบ จบั โจรนมี้ าวางไว้ 2 นาที เครอ่ื งหาย” แสดงวา่ เพราะฉะน้ันเมื่อมีการตรวจสอบตัวเอง ไม่เกี่ยวกับเทคโนโลยี สุดท้ายแล้วก็เป็นเรื่อง โดยระบบข้อมูลหลาย ๆ อย่างที่เชื่อมต่อ ของมนษุ ย์ ซง่ึ ตอนนฝ้ี า่ ยนติ บิ ญั ญตั ทิ �ำในเรอ่ื ง กันแล้วให้ตรวจสอบกันเอง เป็นวิธีการท่ี ของการแก้ระบบความคดิ ของมนุษย์ ป ้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร า บ ป ร า ม ก า ร ทุ จ ริ ต ไ ด ้ ดี ซึ่งหลายประเทศใช้ ไม่ว่าจะเป็นบราซิล สวีเดน หรือว่าจอร์เจีย ประเทศต่างๆ เหล่าน้ีเร่ิมใช้กับการป้องกันการทุจริตของ ท่ีดิน เพราะเรื่องของท่ีดินเป็นเร่ืองท่ีเป็น 30

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. มาทเี่ รอื่ งของคา่ คะแนน CPI เปน็ ประเดน็ ให้เกนิ 50 ใหไ้ ด้ หากยอ้ นกลับไปดู 10 ปี ทสี่ �ำคญั เนอ่ื งจากประเดน็ นเ้ี ปน็ เปา้ หมายของ ทผี่ า่ นมาคา่ ดชั นขี องประเทศไทยอยทู่ ่ี36-38 ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ท�ำอยา่ งไรที่ค่าคะแนน CPI แปลว่ามีการกล่าวถึงเร่ืองทุจริตคอร์รัปชัน หรือดัชนีการรับรู้การทุจริตคอร์รัปชันสูง มานานหลายปี ล�ำดับมีทั้งขึ้นและลงบ้าง ให้เกินร้อยละ 50 ปัจจุบันประเทศไทยได้ หากประเทศเข้ามาร่วมมีจ�ำนวนน้อยอันดับ 36 คะแนน จากทงั้ หมด 180 ประเทศ อยู่ใน กข็ ยบั นอ้ ย หากดคู ะแนนแบบไมต่ อ้ งไปอา้ งองิ อันดับ 104 อยู่ในอันดับท่ี 5 ของอาเซียน กับประเทศอื่น ประเทศไทยอยู่อันดับเดิม หากดูคะแนน 36 คะแนน เม่ือย้อนกลับไป มาสบิ ปี หมายความวา่ สบิ ปที แ่ี ลว้ ทม่ี กี ารทจุ รติ 10 ปี หากเราเชื่อตัวเลขนี้ น�ำคา่ คะแนน CPI ผ่านมาสิบปีประเทศไทยมีองค์กรอิสระเป็น มาเป็นเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ และจะเอา จ�ำนวนมาก ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. กเ็ ปน็ หนง่ึ ในนน้ั 31

ใกนา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต ทกุ ฝา่ ยท�ำหมด แตว่ า่ ไมม่ อี ะไรเกดิ ขนึ้ จงึ ท�ำให้ จากมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในกิจกรรมท่ีจัดขึ้น มองว่าสุดท้ายแล้วปัญหาอยู่ท่ีใด ได้มีโอกาส มหาวทิ ยาลยั และโรงเรยี นจ�ำนวนมากไดเ้ ขา้ มา เข้ามาท�ำงานกับประธานรัฐสภา (นายชวน มีส่วนร่วม สร้างวิชาการสุจริตขึ้นมาเพื่อให้ หลีกภัย) เม่ือ 2 ปีท่ีแล้ว ประธานรัฐสภา ค�ำว่าสุจริตสามารถเอาเข้าไปใช้สอนในวิชา ได้กล่าวถึงว่า ท�ำอย่างไรถึงจะไม่ท�ำให้ต้อง ตา่ ง ๆ ปลอ่ ยไปตามธรรมชาติ จะมวี ธิ กี ารแกต้ รงไหน มองว่าวิธีท่ีจะแก้เร่ืองนี้จะต้องสร้างให้เกิด ส่ิงที่เรียกว่าค่านิยมของความสุจริตเข้าไป ในทกุ ภาคส่วน ตอ้ งเรมิ่ จากนกั เรยี น นกั ศึกษา ในสว่ นของรฐั สภาจะท�ำอยา่ งไรใหเ้ กดิ คา่ นยิ ม ที่เรียกว่าความสุจริต ท�ำอย่างไรให้มีส่วนร่วม มากขึ้น ท�ำอย่างไรท่ีไม่ต้องไปสร้างวิชาใหม่ ไม่ต้องไปสร้างองค์กรใหม่ ท�ำอย่างไรให้ อาจารยท์ กุ วชิ า เชน่ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย สงั คม ภาษาองั กฤษ วทิ ยาศาสตร์ สามารถทจ่ี ะ สอดแทรกคา่ นยิ มความสจุ รติ เขา้ ไปในทกุ วชิ า ทสี่ อน ซ่ึงสามารถท�ำได้ยาก แต่ว่าถ้าสามารถ ท�ำได้ จ�ำส่ิงที่ครูสอนได้ จึงเป็นที่มาของ โครงการบ้านเมืองสุจริตของรัฐสภา ที่ใช้ งบประมาณของรัฐจ�ำนวนไม่เยอะ ซ่ึงไม่ได้ ต้องการเอาไปสร้างรายวิชาใหม่หรือสร้าง องคก์ รใหมข่ นึ้ มา เพยี งแตจ่ ะเสรมิ สรา้ งคา่ นยิ มนี้ ใหเ้ กดิ ขน้ึ ซง่ึ ไดร้ บั การสนบั สนนุ ทางดา้ นขอ้ มลู จากส�ำนักงาน ป.ป.ช. รัฐสภาได้เชิญท้ัง ผู้แทนจากกระทรวงศึกษาธิการและผู้แทน 32

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. หลักการบริหารราชการแผ่นดินท่ีดี ในเจตจ�ำนงนี้มากกว่า เพราะว่ามีค�ำถามว่า ส�ำหรับตอนนี้เรียกว่าหลักธรรมาภิบาล ซ่ึงมี จะยกระดบั เจตจ�ำนงท�ำไม ในเมอื่ 30 ปที แ่ี ลว้ อยู่ 6 ขอ้ ไดแ้ ก่ หลกั นติ ธิ รรม หลกั คณุ ธรรม เรากม็ เี จตจ�ำนงอยา่ งนี้ ค�ำตอบคอื การตอ่ ตา้ น หลกั ความโปรง่ ใส หลกั การมสี ว่ นรว่ ม หลกั ความ การทุจริตคอร์รัปชันจะไปยกระดับอะไร รับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า หลักต่าง ๆ การยกระดบั เพยี งค�ำพดู สามารถท�ำไดโ้ ดยงา่ ย เป็นหลักท่ีท�ำได้จริง ซ่ึงปัญหาไม่ว่าจะเป็น แต่ยกระดับความเข้าใจการยอมรับและการ ความไม่เกรงใจผู้มีอ�ำนาจ ไม่เกรงใจคนไม่ดี น�ำไปปฏบิ ัติท�ำไดย้ าก ถ้าใหค้ �ำแนะน�ำวา่ เมอ่ื ไม่เกรงใจคนข้างบ้าน ก็จะไม่เกิดขึ้น ซึ่ง เป็นระยะท่ี 3 ของยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย ไม่จ�ำเป็นต้องไปยกระดับเจตจ�ำนง เพราะ การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตอยแู่ ลว้ เชื่อว่าเจตจ�ำนงมีอยู่แล้ว ไม่เกรงใจในความ ซ่ึงก�ำลังจะสิ้นสุดแผนในปีนี้ ควรจะปรับปรุง ไม่ถูกต้อง คิดว่าเจตจ�ำนงทุกคนมีอยู่แล้ว แผนทจ่ี ะท�ำแผนใหมข่ น้ึ มา กอ่ นอนื่ ตอ้ งเขา้ ใจ ถ้าจะให้ขยายความข้อความน้ี จะต้องท�ำ ใหไ้ ดว้ า่ ไมใ่ ชก่ ารยกระดบั เจตจ�ำนง แตเ่ ปน็ การ อย่างไรให้ยกระดับการเข้าใจ การยอมรับ ยกระดับการเข้าใจ และการน�ำไปปฏบิ ตั ิ 33

กใ นา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต นายประสงค ์ เลิศรัตนวสิ ทุ ธ*ิ์ หากจะกลา่ วถงึ การยอมรบั ทนี่ กั การเมอื ง สักหน่อย ใหม้ ผี ลงานยงั ดกี วา่ ขอยกตัวอย่าง ทจุ ริตแต่มีผลงาน จะขอกลา่ วถึงประโยคที่วา่ เช่น ประเทศสิงคโปร์ เชื่อว่าคนมือสะอาด “พรรคไหนก็กนิ พรรคไหนก็คอร์รัปชนั ” ไม่มี ประเทศสิงคโปร์ก็เจริญมีผลงานชัดเจน ไม่มี ทางใดทรี่ ฐั บาลจะไมค่ อรร์ ปั ชนั ซง่ึ ตอ้ งมอี ยแู่ ลว้ การทุจริตคอร์รัปชันด้วย ถ้าประเทศไทย จะมีมากหรือมีน้อยมีในระดับท่ีพอสมควร มนี ักการเมืองแบบประเทศสงิ คโปร์ ซ่ึงน่าจะ คนมีความรู้สึกว่านักการเมืองไม่ค่อยมี เคยเกิดข้ึนมาแล้ว ค�ำตอบอาจจะเปล่ียนไป ผลงานแมจ้ ะผา่ นมาแลว้ หลายปี เปน็ คำ� ถาม ถ้าเขามที างเลอื ก พรรคการเมืองหรอื รฐั บาล และคำ� ตอบทไี่ มม่ ที างเลอื ก จะคดิ กนั วา่ ทจุ รติ ไม่ว่าจะเป็นพรรคการเมืองหรือรัฐบาลใด * นเิ ทศศาสตรบณั ฑติ , จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั นิตศิ าสตรบัณฑติ , มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ ผอู้ ำ�นวยการสถาบันอิศรา 34

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. กก็ ลวั เพราะไมม่ ที างเลอื ก แลว้ ยคุ นเี้ กดิ จากรนุ่ ป.ป.ช. จะสามารถดูได้จากท่ีใด ภายในกี่วัน ทบี่ รหิ ารงานโดยอดตี นายกรฐั มนตรี อยา่ งนอ้ ย ประชาชนในท้องถิ่นถึงจะทราบข้อมูล และ คนกม็ องวา่ มผี ลงานทเ่ี ปน็ รปู ธรรมทจ่ี บั ตอ้ งได้ จะคน้ หาขอ้ มลู ไดอ้ ย่างไร ควรท�ำความเข้าใจ เชน่ บตั รสามสบิ บาทรกั ษาทกุ โรค หรอื บตั รทอง กบั ประชาชนเรอ่ื งขา่ วลอื การทจุ รติ ดงั นนั้ ตรงน้ี ก็มีผลงานท่ีจับต้องได้เป็นรูปธรรมท่ีสุด มันเป็นส่วนส�ำคัญท�ำอย่างไรจะให้ได้ข้อมูล ท�ำนโยบายโดยไมม่ พี รรคการเมอื งหรอื รฐั บาล ที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. ชี้มูลความผิด ใดที่มีผลงานท่ีเป็นรูปธรรม ท�ำให้ประชาชน หรือคําพิพากษาศาลช้ันต้น บางคนเป็น ไมว่ ติ กในการรกั ษาพยาบาล เปน็ รปู ธรรมทสี่ ดุ นักการเมืองท้องถ่ินระดับใหญ่ ศาลอุทธรณ์ ทอี่ ดตี นายกรฐั มนตรไี ดป้ ระโยชนจ์ ากนโยบายน้ี ไดพ้ พิ ากษาจ�ำคุก 20 ปี ชาวบา้ นยงั ไม่ทราบ ดังนั้นถ้าหากเราสามารถสร้างนักการเมือง ถ้าสื่อมวลชนไม่เสนอข่าว เพราะสื่อท้องถ่ิน ท่ีมีผลงาน ท่ีมีความเช่ือแบบรัฐบาลสิงคโปร์ ก็ไม่กล้าเสนอข่าว นี่คือปัญหาในเรื่องข้อมูล ได้ ค�ำตอบนี้จะไม่มี เพราะน่ีคือค�ำตอบของ ท่ีเช่ือถือได้ในระดับหนึ่ง หรือเป็นข้อเท็จจริง ประชาชนทไี่ มม่ ที างเลอื ก ในบางประเทศมอี ยู่ ทเ่ี ชอื่ ถอื ไดใ้ นระดบั หนง่ึ ซงึ่ ไมม่ ที างทช่ี าวบา้ น ในเปอร์เซ็นต์ท่ีต�่ำ แต่ถ้าปลอดการทุจริตเลย จะได้เข้าถึงข้อมูลเหล่านี้ นั่นคือการตัดสินใจ ไมม่ ี แตจ่ ะท�ำอยา่ งไรให้มกี ารทุจรติ นอ้ ยท่สี ดุ ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ตามโครงสรา้ งผวู้ า่ ราชการจงั หวดั อย่างท่ีสอง คนท่ีคิดแบบไม่ต้องมี อยู่ไม่เกิน 4 ปี แล้วจะไม่ทุจริตจริงหรือไม่ ผลประโยชน์ แต่ว่ามันมีสัดส่วนที่ก�ำลังพอ ผู้ว่าราชการจังหวัดมีสิทธ์ิแก้ปัญหาท้องถ่ิน หรอื ไม่ ตรงนที้ เ่ี ราก�ำลงั พดู ถงึ วา่ การทปี่ ระชาชน เมอ่ื ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั แกป้ ญั หาไมไ่ ด้ กจ็ ะตอ้ ง จะตัดสินใจได้ มันต้องมีข้อมูลข่าวสารท่ีเป็น ไปหาผู้ท่ีรู้สึกว่ามีอ�ำนาจ เมื่อผู้มีอ�ำนาจนั้น ประโยชน์ที่จะตัดสินใจ เราจะมีข้อมูลในการ ไดต้ ดิ ตอ่ ไปยงั ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ผวู้ า่ ราชการ ตดั สินใจหรือไม่ เชน่ ส.ส. หรือรัฐมนตรที จุ ริต จงั หวดั จงึ ท�ำการแกป้ ัญหาให้ คอร์รัปชัน เป็นข้อมูลที่ยังถกเถียงกันไม่จบ หรอื เปน็ ขอ้ มลู ทม่ี รี ะดบั หนงึ่ ทจี่ ะเชอ่ื หรอื มมี ลู ไดว้ า่ จะคอรร์ ปั ชนั จะมขี อ้ มลู เชน่ คาํ พพิ ากษา หรือไม่ เรื่องช้ีมูลความผิดของคณะกรรมการ 35

กใ นา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต เจตจ�ำนงเป็นค�ำที่อยู่ลอย ๆ ซ่ึงมีความ ตนเอง การมีส่วนร่วมของประชาชน ผกู พนั กนั ทงั้ หมด เจตจ�ำนงไมไ่ ดเ้ กดิ ขน้ึ ขณะที่ จะมีได้ก็ต่อเมื่อมีข้อมูลข่าวสาร ถ้าไม่มี ทกุ คนต้องใชช้ วี ิตปกติ แตเ่ กดิ ในขณะท่ที ุกคน ขอ้ มลู ขา่ วสารให้ ประชาชนจะมสี ว่ นรว่ ม ไม่สามารถพึ่งพากลไกส่วนกลางได้ การมี ไดย้ าก จะตอ้ งมชี อ่ งทางทจ่ี ะใหป้ ระชาชน สว่ นรว่ มของประชาชนเปน็ แนวคดิ ทเี่ กดิ ขน้ึ มา เข้าถึงข้อมูล ซึ่งสามารถท�ำความเข้าใจ ยาวนาน พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์ ได้อย่างไม่ยากด้วย ส่วนนี้เป็นสิ่งท่ี และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี ส�ำคัญที่สุด ไม่ใช่เพียงแค่การรณรงค์ พ.ศ. 2540 ก�ำหนดถึงการมีส่วนร่วมของ ให้ประชาชนต่อต้านการทุจริต เช่น ประชาชน ในช่วงเวลาน้ันมีการเปลี่ยน การรณรงค์ให้เลือกสมาชิกสภาผู้แทน หลายอยา่ ง มรี ฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ราษฎรทเี่ ปน็ คนดี หรอื การเลอื กผบู้ รหิ าร พ.ศ. 2540 มกี ารรบั รองพระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ประเทศท่ีเป็นคนดี แต่ไม่เคยมีข้อมูล ขา่ วสารของทางราชการ มาตรา 9 ในสว่ นของ อะไรให้สามารถตัดสินใจได้ว่า ความดีนั้น ประชาชน ซ่ึงแสดงว่ามีการกล่าวถึงเรื่องน้ี หมายความวา่ ดีอย่างไร มานานกวา่ 20 ปี แตป่ ระชาชนไมไ่ ดเ้ รยี กรอ้ ง ขอยกตวั อยา่ งค�ำพพิ ากษาของศาลชนั้ ตน้ ศาลอาญาคดที ุจริต หากเป็นประชาชนทเี่ ปน็ คู่ความสามารถไปขอคัดส�ำเนาค�ำพิพากษา ได้หรือไม่เพราะเป็นคดีทุจริต กรณีเช่นนี้ เข้าถึงได้ยากมาก การคัดส�ำเนาค�ำพิพากษา ไม่สามารถท�ำได้ ประชาชนขาดความเข้าใจ ทถี่ กู ตอ้ ง การชม้ี ลู ความผดิ ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. เกอื บสองพนั เรอื่ ง เปน็ คดที เี่ กดิ ขน้ึ จาก องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ 80% ศาลตดั สนิ ไปแล้วกี่คดี ตัดสินว่าอะไร ท�ำเป็นระบบ ให้ประชาชนเข้าถึงหรือไม่ และท่ีไหนบ้าง 36

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประชาชนจะไม่สามารถทราบได้เลย ล่าสุด โดยให้ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจังหวัด ช้ีมูลความผิดผู้บริหารองค์กรปกครองส่วน เป็นกลไกส�ำคัญในการไปเผยแพร่ในพ้ืนท่ี ทอ้ งถนิ่ 30 แหง่ ประชาชนกย็ งั ไมท่ ราบขอ้ มลู ตามท่ีกระทรวงมหาดไทยมหี นงั สอื เวยี นบอก ในปัจจุบันนี้มีกลุ่มภาคประชาสังคมในการ วา่ ใหเ้ ผยแพรก่ ฎหมายภายใน 30 วนั ถา้ หาก ต่อต้านการทุจริต ได้มีการจัดตั้งเป็นชมรม คณะกรรมการ ป.ป.ช. ช้ีมลู ความผดิ ผูบ้ รหิ าร มเี พจประชาสมั พนั ธ์ ชมรมกอ่ สรา้ งทมี่ าเปดิ เผย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้กระทรวง เรอื่ งกอ่ สรา้ งอาคารบางอาคาร กอ่ สรา้ ง 10 ปี มหาดไทยด�ำเนินการโดยให้ผู้ว่าราชการ ยงั ไมเ่ สรจ็ ใชเ้ งนิ หลกั รอ้ ยลา้ นบาท ถกู ตอ้ งหรอื จังหวัดด�ำเนินการทางวินัยแล้วให้ออกจาก ไม่นั้นเป็นเรื่องทางคดี การสร้างศูนย์บางแห่ง ต�ำแหนง่ ภายใน 30 วัน กระทรวงมหาดไทย ซึ่งเกือบทุกแห่งถูกทิ้งร้าง ข้อมูลเหล่านี้ไม่มี ท�ำหนังสอื แจ้งเวียนแลว้ แต่ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. การรวบรวมใหเ้ ปน็ ระบบ มเี รอื่ งรอ้ งเรยี นเขา้ มา ยงั ไมท่ ราบเรอื่ ง จงึ ไมส่ ามารถท�ำใหเ้ ปน็ ระบบ จ�ำนวนมาก แต่การตอบสนองเร่ืองร้องเรียน ประชาชนก็ไม่ทราบเน่ืองจากไม่ได้ติดตาม ยงั ท�ำไดไ้ มร่ วดเรว็ ถา้ การตอบสนองท�ำไดอ้ ยา่ ง ข่าวสารอย่างใกล้ชิด ดังน้ันจึงต้องช่วยกัน รวดเร็วก็จะท�ำให้มีการร้องเรียนเร็วมากขึ้น เผยแพร่ขอ้ มูล ท�ำให้หลายคนอยากร้องเรียนเข้ามาและเม่ือ ช้ีมูลความผิดให้ท�ำการเผยแพร่อย่างรวดเร็ว 37

กใ นา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต ส�ำหรับในเรื่องเทคโนโลยี ส่วนใหญ่เป็น และความมน่ั คงจรงิ ๆ ซง่ึ นอ้ ยมาก การเปดิ เผย เรอื่ งทที่ จุ รติ งา่ ย แตใ่ นแงเ่ รอื่ งเทคนคิ หรอื การ ข้อมูลในกระบวนการยุติธรรม ยกตัวอย่าง ทจุ รติ ถา้ ในแงท่ จุ รติ ในเรอ่ื งAIหรอื Blockchain ทเี่ ปน็ รปู ธรรมเมอื่ 2 - 3 ปกี อ่ น กรมสอบสวน จะช่วยในการป้องกันการทุจริต จะท�ำให้ คดีพิเศษด�ำเนินคดีบริษัทที่ขาย GT 200 ข้อมูลมียอดต่อข้ึนไปสูง แต่จริง ๆ แล้ว และ ALPHA 6 ทง้ั สารเสพติด ทัง้ 16 บริษทั ส�ำคญั มาก เทคโนโลยถี า้ มาใชด้ ี ๆ จะใชป้ อ้ งกนั ทกุ คดีฟอ้ งศาลแขวงดอนเมอื ง มบี างคดีอยู่ท่ี การทจุ รติ ไดม้ าก โดยเฉพาะเรอื่ งทจุ รติ ภาครฐั ศาลฎีกา แต่คดีอ่ืน ๆ ประชาชนไม่สามารถ เช่น Open Government ท่ีส�ำคัญท่ีสุด ทราบได้ หากสอบถามไปยังกรมสอบสวน เปิดเผยข้อมูลของรัฐทุกอย่าง ให้เปิดเผย คดีพิเศษถึงความคืบหน้าทางคดี อาจจะยัง เกือบร้อยเปอร์เซ็นต์ ที่เป็นความลับจริง ๆ ไม่ได้รับความชัดเจนมากนัก ยกตัวอย่างเช่น อนั นไ้ี ม่เปดิ เผย ถ้าเกดิ Open Government ถ้าบริษัทน้ีคดีฉ้อโกงถึงท่ีสุด บริษัทเหล่านี้ การจัดซ้ือจัดจ้างบอกคู่เทียบ บอกราคา จะตอ้ งถกู ขน้ึ บญั ชผี ทู้ งิ้ งานตามพระราชบญั ญตั ิ การใชจ้ า่ ยงบประมาณแบบRealTimeสามารถ จดั จา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ.2560 เบิกงบประมาณได้ตลอดเวลา การเปิดเผย แต่ทุกวันน้ีปรากฏว่าบริษัทท่ีขาย GT 200 การเสยี ภาษที รพั ยส์ นิ ในสว่ นของภาษโี รงเรอื น บางบรษิ ทั ยงั คา้ ขายปกติ ประชาชนไมส่ ามารถ ถา้ ภาษีโรงเรอื นทีเ่ ปน็ บรษิ ทั บรษิ ัทตอ้ งแสดง ทราบได้ ถ้าไม่มีบุคคลหรือองค์กรเข้าไป งบการเงินอยู่แล้ว ดังนั้นท�ำไมท้องถิ่นไม่ยอม ถกเถยี ง บรษิ ทั นก้ี ย็ งั คงคา้ ขายกบั รฐั อยู่ ท�ำไม เปิดเผยภาษโี รงเรอื น ถา้ เปิดเผยภาษีโรงเรอื น ผู้น�ำของกองทัพไม่เสนอทางกฎหมายไปยัง ที่ดินเท่ากัน เช่น สองอาคารใช้สอยพ้ืนท่ี กรมบัญชกี ลางหรอื กระทรวงการคลงั ถ้าเกิด เท่ากัน ถ้าเปิดเผยจะทุจริตได้หรือไม่ ก็จะใช้ Open Government ทุกอย่างจะสามารถ ดุลพินิจไม่ได้ Open Government ก็จะ ท�ำได้จริงไหม แล้วจะตรวจสอบคดีได้ไหม ชว่ ยอยา่ งมากทจ่ี ะเปดิ เผยจรงิ ๆแตก่ อ่ นจะไปถงึ นี่ก็คือการยกตัวอย่างให้เห็นว่า Open Open Government สิ่งแรกที่ต้องท�ำก่อน Government มีประโยชนเ์ ปน็ อยา่ งมาก คอื เปลย่ี นทศั นคตขิ องเจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั เพราะ ขอ้ มูลท่เี ปิดเผยไม่ได้ ยกเวน้ สง่ิ ที่เป็นความลับ 38

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. การจะใชป้ ระชาชนนน้ั ยาก รฐั ตอ้ งเปลย่ี น บางคร้ังนั้นเบิกงบแล้วถนนยังสร้างไม่เสร็จ วิธีคิด ข้อมูลข่าวสารทุกอย่างต้องเปิดเผยได้ แม้แต่เรื่องงบประมาณของศูนย์คนยากไร้ เข้าถึงได้ง่าย เว้นแต่ข้อมูลท่ีเป็นความลับ ซงึ่ เบิกเงินทงั้ หมดแลว้ แตไ่ มไ่ ดร้ บั เงนิ ในเร่ือง ทเี่ ปน็ ความมน่ั คงอยา่ งแทจ้ รงิ ทงั้ กระบวนการ ของวัดซ่ึงเบิกเงินไปสร้างศาลาการเปรียญ ยตุ ธิ รรมทไี่ มก่ ระทบกระเทอื นการใชก้ ฎหมาย เบกิ แลว้ สรา้ งไมเ่ สรจ็ แตว่ า่ ไมม่ ใี ครทราบ ทกุ คน ค�ำพพิ ากษาของศาลคดอี าญาทจุ รติ ใหค้ คู่ วาม จะตรวจสอบได้หมดวา่ เอาเงินไปท�ำอะไรบ้าง ไปใช้ได้ หรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. ช้ีมูล การบริหารจัดการของรัฐบาลก็ง่ายก็จริง ความผิด หรือกระบวนการจัดซ้ือจัดจ้าง ซึ่งสามารถดบู ญั ชผี ทู้ ้งิ งาน ให้กรมบญั ชกี ลาง ให้เปิดเผยจริง ๆ เพราะปัจจุบันเว็บไซต์ ท�ำหนังสือเวียนไปถึงประชาชนแต่ประชาชน กรมบัญชีกลางเข้าถึงข้อมูลได้ยากมาก ก็ไม่ทราบเรื่อง รัฐออกกฎหมายคร้ังหน่ึง ข้อมูลต้องทันสมัยและสามารถเข้าถึงง่าย คือเจตจ�ำนงของรัฐแล้ว แต่คนที่มาท�ำหน้าที่ ทง้ั งบประมาณ การเบกิ จา่ ยงบประมาณใหเ้ หน็ แทนคือนักการเมืองหรือข้าราชการ ซ่ึงไม่ได้ แบบ Real Time ให้ทราบว่ามีการเบิกจ่าย ท�ำตามเจตจ�ำนงของรัฐ งบประมาณไปแลว้ เช่น การเบิกไปสร้างถนน 39

ใกนา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต ดร.สตธิ ร ธนานิธโิ ชต*ิ จากที่เคยท�ำวิจัยโดยสอบถามว่า “เรา จะมองที่ตัวเองหรือมองคนข้างเคียง ส�ำหรับ จะยอมรับได้ไหมถ้าจะต้องมีการคอร์รัปชัน นักการเมืองถ้าต้ังตัวเลขที่ 30% ถือว่า แตว่ ่าท�ำใหง้ านส�ำเรจ็ ลุลว่ งไปได”้ แต่วา่ ไมไ่ ด้ มากเกินไป เพราะว่ากล่าวถึงนักการเมือง ระบุว่าใครทุจริตคอร์รัปชัน ค�ำตอบที่ออกมา ต้องยอมรับว่าภาพลักษณ์ของนักการเมือง ประมาณ 40 เปอร์เซ็นต์ บอกว่ายอมรับได้ ในประเทศไทยเปน็ ลบ เพราะฉะนน้ั ถ้าจะน�ำ แบบสอบถามนี้เป็นการมองแบบท่ัวไป อาจ ค�ำวา่ คอรร์ ปั ชนั ไปใชก้ บั นกั การเมอื ง แลว้ บอกวา่ * รฐั ศาสตรบณั ฑติ (การปกครอง), จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั รฐั ศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาการปกครอง, มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ รฐั ศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต การเมอื งเปรยี บเทียบและรฐั บาลแห่งสหรัฐอเมริกา, University of Utah ผอู้ ำ�นวยการสำ�นักนวตั กรรมเพื่อประชาธปิ ไตย สถาบนั พระปกเกล้า 40

ส�ำนักพัฒนาและส่งเสริมธรรมาภิบาล ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ถ้านักการเมืองผู้น้ัน จะทุจริตคอร์รัปชัน ท�ำใหภ้ าพลกั ษณด์ ขี น้ึ มา เพราะวา่ สงั คมสนใจ แต่มีผลงาน เหมือนกับรับสภาพว่ายอมรับได้ กับการแค่มีผลงาน เป็นข้อมูลพ้ืนฐานปกติ เมอ่ื กอ่ นสงั คมไทยเคยกลา่ วในเรอ่ื งเปอรเ์ ซน็ ต์ แต่ไมไ่ ด้หมายความว่าไมค่ วรท�ำอะไร แต่ตอ้ ง ของงบประมาณทใ่ี ชจ้ ่าย พวกเราอยูก่ ับสภาพ ท�ำให้จริงจัง เพราะแม้ว่าสังคมจะเร่ิมคิด สังคมที่เรารับสภาพไปกับเรื่องการทุจริต เร่ิมปรับตัว และรับได้กับสิ่งเหล่านี้ แต่จะ แต่ว่าอย่างน้อยถึงทุจริตไปแต่ได้ส่ิงตอบแทน ปล่อยไปไม่ได้ ต้องน�ำเร่ืองน้ีมาพิจารณากัน กลบั มา เชน่ สรา้ งถนนกข็ อใหร้ ถวง่ิ ได้ ถา้ จะตอ้ ง แบบจริงจังแล้วหาวิธีว่า หากมีการกล่าวถึง ซ่อมกใ็ ห้มนั ใชง้ านได้ 1 - 2 ปดี ีกวา่ ใชไ้ ด้เพียง การทจุ รติ สงั คมควรจะมภี มู คิ มุ้ กนั โดยภาพรวม แค่ 3 เดอื น สังคมทนอยู่ในสภาพแบบน้ีมาพอ ว่าไม่ควรจะมีทัศนคติที่บอกว่ามองข้าม สมควร กลายเป็นชอ่ งวา่ ง ซึง่ เมอ่ื ไปถามในเชงิ ทุจริตเล็กน้อยไม่เป็นไร แต่ขอให้งานส�ำเร็จ ทศั นคตวิ า่ ยอมรับไดห้ รือไม่ หากนักการเมือง ใช้งบประมาณให้หมดไป เรื่องแบบนี้ไม่ควร มพี ฤตกิ รรมทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั บา้ งในฐานะคนไทย จะเป็นเร่ืองที่สังคมยอมรับ ร้อยละค�ำตอบ ก็ตอบว่าเร่ืองปกติ แต่เมื่อบอกว่ามีผลงาน ตามแบบสอบถามควรจะไม่มี 41

ใกนา รกมาี สร่ วยน รก่ วรมะขดอั งบปเรจะตช าจช� ำนน ง ท า ง ก า ร เ มื อ ง ใ น ก า ร ต ่ อ ต ้ า น ก า ร ทุ จ ริ ต เร่ืองทัศนคติของผู้คนมีถึง 30% หรือ ของนกั การเมอื งซง่ึ สามารถท�ำได้ 2-3แบบเชน่ 40% ในค�ำถามแบบทั่วไปที่มองว่าการที่ ในเชงิ โครงสรา้ ง การออกกฎหมายเพอื่ ควบคมุ ทุจริตคอร์รัปชันเป็นสิ่งที่ยอมรับได้แต่ขอให้ พฤติกรรมนักการเมืองไม่ให้ทุจริตคอร์รัปชัน มีผลงานหรือขอให้ท�ำงานส�ำเร็จลุล่วง แต่ใน การวางกลไกองค์กรตรวจสอบ กระบวนการ ความเป็นจริงแล้วไม่ถึงกับหมดหวัง เพราะ ตรวจสอบทป่ี ระชาชนเขา้ ถงึ ได้ แลว้ ไดผ้ ลอยา่ ง อย่างน้อย คนท่ีมีจ�ำนวนมากกว่าตอบว่า แท้จริง หรือจะไปในระดับที่หลายคนสนใจ ยอมรับไม่ได้ 70% แต่ว่า 60% ของค�ำถาม ซงึ่ โครงสรา้ งกส็ ามารถวางระบบได้ แตใ่ นฐานะ ทส่ี �ำรวจกบ็ อกวา่ รบั ไมไ่ ดเ้ ชน่ กนั หมายความวา่ บุคคลจ�ำเป็นต้องมี เช่น ประมวลจริยธรรม ต้องไปสอบถามว่าคนที่ยืนยันว่าการทุจริต ของนักการเมือง ซึ่งมีคนพยายามเขียน ไมว่ า่ มากหรอื นอ้ ยเพอ่ื ท�ำใหง้ านส�ำเรจ็ กไ็ มร่ บั ส่ิงเหล่านี้กันอยู่ ก็หวังว่าประมวลจริยธรรม บุคคลเหล่าน้ันคิดอย่างไร ดึงพลังคนเหล่าน้ี จะไปก�ำกับพฤติกรรม วิธีคิด การตัดสินใจ ออกมา เร่ืองของการส�ำรวจความคิดเห็น สามารถท�ำควบค่กู ันไป มีข้อท่ีน่าสนใจเวลาที่พุ่งเป้าไปที่นักการเมือง ในเชิงโครงสร้างในรัฐธรรมนูญมีกลไกท่ี ในระดับโลกท่ีวัดกัน จะมีค�ำถามอีกข้อหนึ่ง เปน็ มาตรการทเ่ี ขยี นในรฐั ธรรมนญู หลายเรอ่ื ง คอื ประชาชนมคี วามเชอื่ ม่ันในเรื่องจรยิ ธรรม ทสี่ ง่ เสริม เช่น หมวดหนา้ ท่ีของรัฐ มเี รอื่ งท่ีรัฐ ของนักการเมืองเพียงใด ส�ำหรับในประเทศ ต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการเข้ามา ท่ีได้คะแนนความโปร่งใสหรือคะแนนทุจริต ตรวจสอบได้ จะเขียนไว้ในรัฐธรรมนูญหรือ คอร์รัปชันสูง หากคะแนนเต็ม 7 ประชาชน การวางกลไก เช่น การมีส�ำนักงาน ป.ป.ช. จะตอบระดับ 6 - 7 บ่งบอกถึงความม่ันใจ ในการเป็นผู้ดูแลเรื่องการทุจริตคอร์รัปชัน จริยธรรมของนักการเมืองของประเทศ แต่ โดยตรงทงั้ ในแงข่ องการปอ้ งกนั และปราบปราม ประเทศไทยจะตอบประมาณ 2 คะแนน และในแง่ของการไปดูแลในเร่ืองประมวล จาก 7 คะแนน หมายความว่าประชาชน จริยธรรมในรัฐธรรมนูญ การเขียนประมวล ไม่ค่อยมั่นใจ ไม่เชื่อถือในจริยธรรมของ จริยธรรมของผู้ด�ำรงต�ำแหน่งในศาลต่าง ๆ นักการเมือง ตรงน้ีก็จะโยงมาถึงประเด็น และผู้ด�ำรงต�ำแหน่งในองค์กรอิสระ จนถึง ท่ีพูดถึงว่าจะท�ำอย่างไรให้เช่ือถือในจริยธรรม ผดู้ �ำรงต�ำแหนง่ ทางการเมอื ง ในประเทศไทย 42