Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore finalbook-09-11-2017

finalbook-09-11-2017

Published by Rastafah_x, 2017-11-09 06:12:21

Description: finalbook-09-11-2017

Search

Read the Text Version

ตะโกลา นคร.โ ค ร ง ก า ร ป รั บ ป รุ ง แ ล ะ ฟ้ื น ฟู พื้ น ที่เ มื อ ง เ ก่ า ต ะ ก่ั ว ป่ า แ ล ะ ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ ชิ ง วั ฒ น ธ ร ร ม

TAKUAPA CULTURE FACILITIES AND LOCAL ATTRACTION PLACE TANACHIT BUMPENPOLA THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULLFILLMENT OF THE REQUIREMENT FOR THE BACHELOR DEGREE ARCHITECTURE DIVISION OF ARCHITECTURAL TECHNOLOGGY FACULTY OF ARCHITECTUTRE RAMAJANANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI

โครงการปรับปรุงฟ้ืนฟู พ้ืนท่ีสาธารณะเมอื งเก่าตะก่วั ป่ าและการทอ่ งเท่ียวเชิงวฒั นธรรม ธนชิต บาเพ็ญผล วิทยานพิ นธ์นเ้ี ป็นส่วนหน่งึ ของการศกึ ษาตามหลกั สตู รสถาปัตยกรรมศาสตรบ์ ัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2560

ABSTRACT บทคัดย่อก

ACKNOWLEDGMENTกิตติกรรมประกาศ การจดั ทาวทิ ยานพิ นธฉ์ บบั นสี้ ามารถสาเรจ็ ไดด้ ว้ ยดเีน่อื งจากการช่วยเหลอื และคาแนะนาจากบุคคลหลากหลายทา่ น ทางผูจ้ ดั ทาโครงการขอขอบคณุ ไว้ ณ ทน่ี ่ี โดยมดี งั นี้ขอขอบคณุ พอ่ – แม่ และบุคคลอน่ื ๆในครอบครวั ทส่ี นบั สนนุ ในดา้ นทนุ ทรพั ยแ์ ละใหก้ าลงั ใจตลอดมาขอบคณุ อาจารยค์ ณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ทกุ ทานทไ่ี ดส้ อนและความรู้ และประสบการณผ์ า่ นการทางานและใหค้ าปรกึ ษาตลอดมา ตงั้ แต่ ปี1 – ปี5ขอขอบคณุ อาจารย์ กนั ย์ ลบี ารุง อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา ทใ่ี หค้ าแนะนา ดแู ลตลอดทกุ ขนั้ ตอนในทาวทิ ยานพิ นธใ์ หล้ ลุ ว่ งดว้ ยดี และอาจารย์ ลขิ ติ ศริ โิ ชติ ผูค้ วบคมุ วชิ าวทิ ยานพิ นธ์ สาหรบั ทกุ คาแนะนาในการทาวทิ ยานพิ นธ์ ข

สารบญั . ก 02 หลกั การออกแบบและทฤษฎที ่เี ก่ียวขอ้ ง ขบทคดั ย่อ ค 2.1 ความหมายและคาจากัดความ 2-01กิตติกรรมประกาศ จ 2.2 ความเป็นมาของเร่ืองท่ีศึกษา 2-05สารบัญ ฉ 2.3 นโยบายและแผนพฒั นาท่ีเก่ียวข้อง 2-17สารบัญภาพ 2.4 ทฤษฎหี รอื แนวคดิ ท่ีเก่ยี วข้องกบั การออกแบบ 2-18สารบญั ตาราง 2.5 กฎหมายท่ีเก่ียวขอ้ งกับโครงการ 2-26 2-2801 บทนา 2.6 การศกึ ษาและเปรยี บเทยี บอาคาร 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของการศกึ ษา 1-03 03 การศึกษาและวเิ คราะห์ท่ีตงั้ โครงการ 1.2 ขอบเขตของการศกึ ษาโครงการ 1-05 3.1 การศึกษาและวเิ คราะห์องคป์ ะกอบของเมอื ง 3-03 3.2 การศึกษาและวเิ คราะหท์ าเลท่ตี ัง้ โครงการ 3-13 1.3 วัตถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษาโครงการ 1-06 3.3 กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง 3-21 3.4 ศึกษาและวิเคราะห์ท่ีตัง้ โครงการ 3-23 1.4 ขัน้ ตอนและวธิ ีการศึกษา 1-07 1.5 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับจากการศึกษาโครงการ 1-08ค

04 การกาหนดรายละเอียดโครงการ 06 บทสรุป และขอ้ เสนอแนะ4.1 ความเป็นมาของโครงการ 4-03 6.1 บทสรุปโครงการ 6-4.2 วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ 4-03 6.2 เสนอแนะ 6-4.3 การกาหนดโครงสร้างการบรหิ ารโครงการ 4-044.4 โครงสร้างการบริหารงาน 4-05 บรรณานกุ รม ช4.5 รายละเอียดผูใ้ ช้โครงการ 4-09 ภาคผนวก ผ4.6 การกาหนดรายละเอยี ดและกจิ กรรมของโครงการ 4-12 ผ-014.7 สรุปพื้นท่ีใช้สอยโครงการ 4-18 1 Statement ผ-034.8 การประมาณราคาคา่ ก่อสร้าง 4-19 2. ประวัติผูจ้ ดั ทา4.9 ระบบวิศวกรรมท่เี ก่ียวข้อง 4-2105 แนวความคดิ และผลงานออกแบบ 5- จ 5- 5.1 แนวคดิ ในการออกแบบ 5- 5.2 เง่ือนไขในการพฒั นาแนวความคิด 5- 5.3 ขัน้ ตอนการพฒั นาแบบสถาปัตยกรรม 5- 5.4 ผลงานทางสถาปัตยกรรม 5- 5.5 ภาพถา่ ย MODEL 5.6 CHART PRESENTATION

สารบัญภาพ.01 บทนา 1-01 ภาพท่ี 2.10 : สีสนั ของอาคารเก่า 2-12 1-03 ภาพท่ี 2.11 : บาบา๋ ยา่ หยา ตะก่วั ป่ า 2-13 ภาพท่ี 1.1 : ท่ที าการเทศบาลเมอื งตะก่ัวป่ า 1-04 ภาพท่ี 2.12 : พิธแี ตง่ งาน บาบ๋า 2-14 ภาพท่ี 1.2 : ท่ีทาการเทศบาลเมอื งตะก่ัวป่ า 1-05 ภาพท่ี 2.13 : เทศกาลกินผกั ตะก่วั ป่ า 2-16 ภาพท่ี 1.3 : ชิโนโปตุกีส บาบ๋า - ยะหยา๋ 1-06 ภาพท่ี 2.14 : ภาพแสดงผงั เมอื งตะก่วั ป่ า 2-17 ภาพท่ี 1.4 : ชิโนโปรตกุ ีส ตลา่ดใหญ่ ตะก่ัวป่ า 1-08 ภาพท่ี 2.15 : การอนรุ กั ษ์ยา่ นเมอื งเก่า 2-18 ภาพท่ี 1.5 : เทศกาลกินผกั ตะก่วั ป่ า ภาพท่ี 2.16 : เพ่มิ คณุ ค่าใหเ้ มืองเก่า 2-19 ภาพท่ี 1.6 : บริษทั เรอื ขุดแร่จุ ติ 2-01 ภาพท่ี 2.17 : เฮง เฮง เฮง 2-20 2-03 ภาพท่ี 2.18 : มุง่ สู่ วฒั นธรรม 2-2102 หลักการออกแบบและทฤษฎที ่ีเก่ียวขอ้ ง 2-04 ภาพท่ี 2.19 : การท่องเท่ียวเชิงวฒั นธรรม 2-23 2-05 ภาพท่ี 2.20 : พน้ื ท่สี าธารณะ 2-24 ภาพท่ี 2.1 : ภาพประกอบบทท่ี 2 2-06 ภาพท่ี 2.21 : แนวคิดสาธารณะของพืน้ ท่สี าธารณะในเมือง 2-24 ภาพท่ี 2.2 : ป้ายบอกทางบรเิ วณถนน อุดมธารา 2-09 ภาพท่ี 2.22 : การทอ่ งเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม 2-25 ภาพท่ี 2.3 : โรงแร่จุ ติ ตะก่วั ป่ า 2-10 ภาพท่ี 2.23 : ภาพแสดงอาคารกรณีศึกษา 1 2-26 ภาพท่ี 2.4 : ถนนสายวัฒนธรรม 2-10 ภาพท่ี 2.24 : ภาพแสดงอาคารกรณศี ึกษา 2 2-29 ภาพท่ี 2.5 : ตานานท่ยี ังมลี มหายใจ 2-11 ภาพท่ี 2.25 : ภาพแสดงอาคารกรณศี กึ ษา 3 2-30 ภาพท่ี 2.6 : ภาพอดตี บริเวณถนน ศรีตะก่ัวป่ า ภาพท่ี 2.26 : ภาพแสดงอาคารกรณีศกึ ษา 4 2-31 ภาพท่ี 2.7 : ภาพอดตี บริเวณถนน ศรตี ะก่วั ป่ า ภาพท่ี 2.8 : รา้ นแป๊ะซาเต ร้านกาแฟหวั โคง้ ภาพท่ี 2.9 : ยุคตา่ งๆของ อาคารชิโนโปรตุกสี

03 การศกึ ษาและวเิ คราะห์ท่ตี ัง้ โครงการ 3-01 ภาพท่ี 3.18 : ผังแสดงบริบทโดยรอบท่ีตัง้ 3-24 3-03 ภาพท่ี 3.19 : สถานท่สี าคัญในเมืองเก่าตะก่ัวป่ า 3-25 ภาพท่ี 3.1 : ภาพประกอบบทท่ี 3 3-04 ภาพท่ี 3.20 : การวิเคราะหม์ ุมมองท่มี ผี ลตอ่ โครงการ 3-26 ภาพท่ี 3.2 : ผังเมอื งตะโกลา นคร 3-05 ภาพท่ี 3.21 : รอ่ นแร่ กาแฟใต้ 3-28 ภาพท่ี 3.3 : ผังแสดงแหลง่ บริการสาธารณะเมืองตะก่ัวป่ า 3-06 ภาพท่ี 3.4 : ภาพถ่ายทางอากาศเมืองเกา่ ตะก่วั ป่ า 3-09 04 การกาหนดรายละเอียดโครงการ 4-01 ภาพท่ี 3.5 : ภาพถา่ ยทางอากาศเมืองเก่าตะก่ัวป่ า 3-10 4-03 ภาพท่ี 3.6 : ภาพถา่ ยทางอากาศเมอื งเก่าตะก่ัวป่ า 3-11 ภาพท่ี 4.1 : ภาพประกอบบทท่ี 4 4-04 ภาพท่ี 3.7 : ภาพถ่ายทางอากาศเมืองเกา่ ตะก่วั ป่ า 2 3-12 ภาพท่ี 4.2 : ภาพประกอบบทท่ี 4 -1 4-09 ภาพท่ี 3.8 : งานบวงสรวงองคเ์ ทวรูปพระนารายณ์ฯ 3-13 ภาพท่ี 4.3 : เดก็ น้อยในตลาดใหญ่ 4-12 ภาพท่ี 3.9 : เทศกาลกินผกั และประเพณีชักพระแข่งเรอื 3-14 ภาพท่ี 4.4 : ผูใ้ ช้บรกิ ารโครงการ 4-20 ภาพท่ี 3.10 : ผังวเิ คราะห์ทาเลท่ีตัง้ 3-15 ภาพท่ี 4.5 : เมอื งสวย ดว้ ยตัวเรา 4-21 ภาพท่ี 3.11 : ผังวิเคราะห์ทาเลท่ีตงั้ 2 3-16 ภาพท่ี 4.6 : การคานวณคา่ ใช้จ่ายของโครงการ 4-22 ภาพท่ี 3.12 : สองแถว ย่านยาว—ตลาดใหญ่ 3-19 ภาพท่ี 4.7 : ภาพแสดงระบบฐานรากอาคาร 4-23 ภาพท่ี 3.13 : ผังแสดงการวเิ คราะห์ท่ตี งั้ โครงการ ภาพท่ี 4.8 : ระบบเสาและคานท่ใี ช้กับอาคาร 4-24 ภาพท่ี 3.14 : ผงั วิเคราะหท์ าเลท่ีตงั้ 2 3-20 ภาพท่ี 4.9 : โครงสร้างของผนังรบั นา้ หนกั 4-25 3-22 ภาพท่ี 4.10 : ลกั ษณะของโครงสร้างช่วงผาดกว้าง 4-26 ภาพท่ี 3.15 : ถนนศรตี ะก่ัวป่ า 3-23 ภาพท่ี 4.11 : ลกั ษณะของโครงสร้างพน้ื 1 4-27 ภาพท่ี 3.16 : กาหนดบรเิ วณห้ามกอ่ สรา้ ง ภาพท่ี 4.12 : ลกั ษณะของโครงสรา้ งพืน้ 2 ภาพท่ี 3.17 : ผงั แสดงพน้ื ท่ีของเมืองเกา่ ตะก่ัวป่ า ภาพท่ี 4.13 : ลกั ษณะการกอ่ ผนงั ท่ีใช้กับโครงการ

ภาพท่ี 4.14 : ลกั ษณะผนังกระจกและโครงสร้าง 4-28 สารบญั ตาราง. 2-07ภาพท่ี 4.15 : ระบบสขุ าภิบาล 4-29 2-32ภาพท่ี 4.16 : ผังการระบายน้าทิง้ ภายในอาคาร 4-30 02 หลักการออกแบบและทฤษฎที ่เี ก่ียวขอ้ งภาพท่ี 4.17 : อุปกรณค์ วบคุมไฟฟ้าในอาคาร 4-31 3-21ภาพท่ี 4.18 : ลกั ษณะของไฟฟ้าส่องสว่างของอาคาร 4-32 ตารางท่ี 2.1 : ตารางแสดงวิวฒั นาการเมอื งเกา่ ตะก่วั ป่ า 3-27ภาพท่ี 4.19 : ระบบปรับอากาศ 4-33 ตารางท่ี 2.2 : ตารางเปรยี บเทียบอาคารกรณีศกึ ษาภาพท่ี 4.20 : ภาพประกอบบันไดท่ใี ช้กับโครงการ 4-34 4-05ภาพท่ี 4.21 : ระบบป้องกนั อัคคีภัยภายในอาคาร 4-35 03 การศึกษาและวเิ คราะหท์ ่ีตงั้ โครงการ 4-06ภาพท่ี 4.22 : ระบบป้องกนั อคั คีภยั ในอาคาร 4-36 4-10 ตารางท่ี 3.1 : การใช้ประโยชน์ท่ดี นิ เขตเทศบาลเมอื งตะก่วั ป่ า 4-11 ตารางท่ี 3.2 : วิเคราะหส์ ภาวะแวดลอ้ มและศักยภาพ 4-13 04 การกาหนดรายละเอยี ดโครงการ ตารางท่ี 4.1 : ผังบรหิ ารองคก์ ร ตารางท่ี 4.2 : อตั รากาลงั ของพนักงานและเจ้าหนา้ ที ตารางท่ี 4.3 : วิเคราะหจ์ านวนผูใ้ ช้โครงการ ตารางท่ี 4.4 : วเิ คราะหช์ ่วงเวลาการใช้งานโครงการ ตารางท่ี 4.5 : รายละเอยี ดพน้ื ท่ีใช้สอยของโครงการ



ภาพท่ี 1.2 : ท่ที าการเทศบาลเมอื งตะก่วั ป่ า ท่มี า ภาพถา่ ยโดย นาย ธนชิต บาเพญ็ ผล ,25601-01

01 INTRODUCTION บทท่ี 1 บทนา 1-02

1.1 ความเปน็ มาและความสาคัญของการศกึ ษา ชุมชนตะโกลา หรอื เมอื งตะก่วั ป่ า เกดิ ขนึ้ เม่อื ประมาณ 2000 ปีมาแลว้ เป็นเมืองท่ีมีความเจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยโบราณ เป็นท่ีรู้จักของคน หลากหลายเชื้อชาตทิ งั้ จนี อนิ เดยี อาหรบั ในช่ือเมอื งทา่ ตะโกลา (TAKOLA) เปน็ ศนู ยก์ ลางการคา้ ขาย และเปน็ เสน้ ทางลดั ในการขนสง่ สนิ คา้ จากคาบสมุทร มาลายูไปยงั อา่ วไทยการตงั้ ถ่นิ ฐานของชุมชนไทยยุคแรกท่เี ขา้ มาเพ่อื ขุดหาแร่ ดีบุก มีช่ือเรียกว่า ตะก่ัวป่ าและในบริเวณอ่ืนท่ีมีแร่ดีบุกท่ีอุดมสมบรูณ์อีก หลายแหง่ ไดแ้ ก่ ตะก่วั ทงุ่ ถลาง ซ่ึงสรุปเก่ียวกบั ช่ือตะก่วั ป่ าได้ 2 ประเดน็ คือ กลุ่มแรกสันนิฐานว่าเพี้ยนมาจากคาว่าตะโกลา อีกประเด็นหน่ึงมี ความเหน็ วา่ นา่ จะมาจากการเรยี ก ดบี ุกท่ถี ลงุ แลว้ วา่ ตะก่วั ผสมกบั คาวา่ ป่ า คอื ตะก่วั ท่อี ยูใ่ นทงุ่ ภาพท่ี 1.2 : ท่ที าการเทศบาลเมอื งตะก่วั ป่ า ท่ีมา ภาพถา่ ยโดย นาย ธนชิต บาเพญ็ ผล ,25601-03

ประเด็นปัญหา เมืองตะก่ัวป่ ายังคงหลงเหลือร่องรอยความเป็นอดีตบริเวณ ชุมชนตลาดใหญ่เป็นพื้นท่ีท่ี ซ่ึงรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบชิ โนโปรตุกีสในปั จจุ บัน มีการเปล่ียนแปลงไปเน่ืองจากปรับปรุ งโดยเจ้าของซ่ึ งขาดความรู ้ความเข้าใจเร่ืองการอนุรักษ์เมอื งเก่า บ้าบ๋า-ย่าหยาจากอดีตท่ีเคยสวมใส่ตามบ้านเรือนได้เลือนหายไปจากอดีต จากการเข้ามาของกระแสการท่องเท่ียวและความทันสมัยท่ีเปล่ียนแปลงไปจนหลงลืมเคร่ืองแต่งกายแบบพ้ืนถ่ินจากพื้นท่ีท่ีเคยเงียบและเหงาจากการ ยุบตัวลงของกิจการเหมืองแร่ดีบุก ได้กลับมาอีกครั้งผ่านกิจกรรมท่ีผ่านการรังสรรค์พ้ืนท่ีว่างในชุมชนท่ีมีวัฒนธรรมในอดีตเป็นจุ ดขาย ท่ามกลางสภาวการณเ์ ปล่ยี นแปลงและการไหลตามของทุนนิยม การท่ีคนในพ้ืนท่ีต้องมีการปรับเปล่ียนและปรับตัวโดยการนาทุนจากอดีตมาปรบั ใช้เช่น การนาอัตลักษณม์ าประกอบ เพ่ือสร้างสถาปัตยกรรมท่ีหวนนกึ ถึงอดีต ภาพท่ี 1.3 : (บน,ล่าง) ชิโนโปตุกสี บาบ๋า - ยะหยา๋ ท่ีมา ภาพถ่ายโดย นาย ธนชิต บาเพญ็ ผล , 2560 1-04

1.2 ขอบเขตของการศกึ ษาโครงการ โครงการปรับปรุงฟื้นฟู พื้นท่ีสาธารณะเมืองเก่าตะก่ัวป่ า และการท่องเท่ียวเชิง วัฒนธรรม เป็นโครงการท่ีครอบคลุมบริเวณถนนศรีตะก่ัวป่ า และถนนราษฎร์บารุง โดยมขี อบเขตการศกึ ษา ดังน้ี ก) ศกึ ษาประวตั ิศาสตรข์ องเมอื งเก่าตะก่วั ป่ า ตัง้ แตส่ มยั ของรัชกาลท่ี 5 จนถงึ ปัจจุ บนั จากขอ้ มูลท่ตี พี ิมพ์ในเอกสารทางวชิ าการและการลงพ้ืนท่ีสารวจ ข) ศึกษาวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของชาวพ้ืนถ่ินตะก่ัวป่ า ประกอบ ค) ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการท่ีจะเกิดข้ึน รวมไปถึงปัจจัยในด้านต่างๆ ท่ีสนบั สนุนให้เกดิ โครงการ ง) ศึกษาทฤษฏีและแนวคิดเก่ียวกับการใช้พ้ืนท่ีสาธารณะและการฟ้ื นฟู ย่าน ประวัติศาสตร์เพ่อื การทอ่ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม ภาพท่ี 1.4 : (บน,ลา่ ง) )ชิโนโปรตกุ ีส ตลา่ดใหญ่ ตะก่วั ป่ า ท่มี า ภาพถา่ ยโดย นาย ธนชิต บาเพญ็ ผล ,25601-05

1.3 วตั ถุประสงคข์ องการศึกษาโครงการ ก) หาประสบการณ์จากสถานท่ีจริง เพ่ือเรียนรู้สภาพปัจจุ บันของบริบทบรเิ วณเมอื งเกา่ ตะก่วั ป่ า ข) เรียนรู้ทาความเข้าใจเร่ืองราวของประวัติศาสตร์ความเป็นมา รวมทั้งศกึ ษาวถิ ชี ีวติ ความเป็นอยูจ่ ากอดีตสูป่ ัจจุ บันผ่านขอ้ มูลท่อี ้างอิงได้ ค) วเิ คราะหร์ วบรวมขอ้ มูลท่ีสนบั สนนุ โครงการ เพ่อื ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ ง) ศึกษาแนวทางการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมประเพณี ท่ีมีอัตลักษณ์เป็นของตนเองเพ่อื นาไปพัฒนาสู่งานสถาปัตยกรรม จ) สร้างทางเลือกในการใช้ประโยชน์พ้ืนท่ีสาธารณะในย่านเมืองเก่า และพนื้ ฟู การท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรมภาพท่ี 1..5 : เทศกาลกินผกั ตะก่วั ป่ าท่มี า http://oknation.nationtv.tv/blog/theeratatt2/2009/10/20/entry-1 1-06

1.4 ขัน้ ตอนและวิธีการศกึ ษา (ตารางท่ี 1.1 : ผังแสดงขนั้ ตอนและวธิ ีการศึกษา) เหตผุ ลท่เี กิดโครงการน้ี การเดินทางท่องเท่ียว หนงั เร่อื ง มหาลัยเหมืองแร่ ชุมชนตลาดใหญ่ตะก่ัวป่ าพังงา ฉากในหนงั สามารถเกบ็ รายละเอยี ด สนใจในเร่ืองของประวัติศาสตร์ ยุคทองของเหมอื งแรด่ บี ุกไดอ้ ยา่ ง วฒั นธรรมพื้นถ่ิน ครบถว้ น การศึกษาขอ้ มูลเบอ้ื งต้น การศึกษาความเปน็ มา ข้อมูลการสารวจพืน้ ท่ี ขัน้ ตอนการนาเสนอผลงานความเป็นไปไดข้ องโครงการ ประวตั ศิ าสตรว์ ถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม สถานท่ีตงั้ โครงการสภาพแวดล้อม วิเคราะห์ ตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจุ บัน โดยรวมปัญหาทางกายภาพ แนวคิดในการออกแบบ ประเดน็ ปัญหา นโยบายรองรับ แบบสถาปัตยกรรม-หนุ่ จาลอง อดีตนครหลวงแหง่ ดีบุก แผนพฒั นาตะก่วั ป่ า พังงา การอนรุ กั ษ์และการทอ่ งเท่ยี วเชิง บาบ๋า - ยา่ หยา๋ ตะก่ัวป่ า (พ.ศ. 2560-2564)แนวทางการ วฒั นธรรม อาคารเกา่ ชิโนโปรตุกีส อนุรักษแ์ ละพฒั นาเมอื งเก่า เทศกาลถอื ศิลกินผัก กลมุ่ เป้าหมาย กฎหมายผงั เมอื งและการอนรุ กั ษ์ ลกั ษ รวบรวมขอ้ มูล สรา้ งแนวความคดิ ในการออกแบบ สร้างทางเลือก การออกแบบเบ้อื งตน้ พฒั นาแบบ1-07

1.5 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะได้รับจากการศกึ ษาโครงการ 1.5.1 สามารถวเิ คราะหข์ อ้ มูลทางประวัติศาสตร์ท่ีจะนาไปสูเ่ หตุผลในการเกิดโครงการรวมไปถึงแนวทางในการออกแบบสถาปั ตยกรรมเพ่ือฟ้ื นฟูแหล่งทอ่ งเท่ียววัฒนธรรม 1.5.2 รวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มูลเก่ยี วกับทฤษฎีการออกแบบ และประเภทการใช้งานพื้นท่ีประเภทสาธารณะ เพ่ือเป็นทางเลือกในการจัดสรรพ้นื ท่ีภายในโครงการ 1.5.3 วิเคราะห์ความเป็นไปไดข้ องโครงการในด้านต่างๆ และศึกษาแนวทางในการอนุรักษ์ประเพณีวิถชี ีวิต ซ่ึงเป็นรากฐานของชุมชนตะก่ัวป่ าต่อดีตจนถึงปัจจุ บันให้เหมาะสมกับการใช้งานพืน้ ท่ภี ายในโครงการ ภาพท่ี 1.6 : บรษิ ทั เรือขุดแร่จุ ติ ท่มี า ภาพถา่ ยโดย นาย ธนชิต บาเพ็ญผล , 2560 1-08

ภาพท่ี 2.1 : ภาพประกอบบทท่ี 2 ท่มี า http://jaymantri.com/2-01

LITERATURE REVIEWAND CASE STUDYบทท่ี 2 หลกั การออกแบบและทฤษฎที ่เี ก่ียวขอ้ ง 2-02

2.1 ความหมายและคาจากดั ความ โค รง กา รป รับ ปรุ งฟ้ื นฟู พ้ืน ท่ีเ มือ งเ ก่า ตะ ก่ัว ป่ า แ ล ะ ก า ร ท่ อ ง เ ท่ี ย ว เ ชิ ง วั ฒ น ธ ร ร ม คื อ โ ค ร ง ก า ร จ ะ ช่ ว ย ส่ ง เ ส ริม แ น ว ท า ง ก า ร อ นุ รั ก ษ์ เ มื อ ง เ ก่ า ต ะ ก่ั ว ป่ า ให้มี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง กับ ก า ร ป รั บ ป รุ ง ฟ้ื น ฟู พ้ื น ท่ี ส า ธ า ร ณ ะ เ พ่ื อ ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ใ น พื้นท่ีซ่ึ งต้องการพลิกฟ้ื นความทรงจาในอดีตท่ีเคย รุ่ ง เ รื อ ง ใ ห้ ก ลั บ ม า อี ก ค รั้ ง โ ด ย ใ ช้ ต้ น ทุ น ท า ง ปร ะวัติศา ส ตร์วั ฒน ธร ร มท่ี เ ป็ น เ อก ลัก ษ ณ์ข อ งช า ว ต ะ ก่ั ว ป่ า เ พ่ื อ ห วั ง ท่ี จ ะ พ ลิ ก ฟ้ื น เ มื อ ง เ ก่ า ต ะ ก่ั ว ป่ า ข้ึ น ม า อี ก ค รั้ ง เ ห มื อ น ก า ร ร ว ม ข อ ง เ ก่ า ท่ี ห า ย ไ ป ภ า ย ใ ต้ บ ริ บ ท ข อ ง พ้ื น ท่ี ท่ี ยั ง ค ง ไ ว้ ซ่ึ ง เ ร่ื อ ง ร า ว ใ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ วั ฒ น ธ ร ร ม ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ วิ ถี ชี วิ ต ข อ ง ค น ต ะ ก่ั ว ป่ า แ ล ะ เ ป็ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ท่ี ย ว เ ชิ ง วั ฒ น ธ ร ร ม อี ก ห น่ึ ง ข อ ง จั ง ห วั ด พั ง ง า ภาพท่ี 2.2 : ป้ายบอกทางบรเิ วณถนน อุดมธารา ท่มี า http://www.phuketneophoto.com/2-03

ภาพท่ี 2.3 : โรงแร่จุ ติ ตะก่วั ป่ าท่มี า http://www.phuketneophoto.com 2-04

2.2 ความเป็นมาของเร่ืองท่ีศกึ ษา 2.2.1 รุ่งเรอื งเหมืองแร่ นับตงั้ แต่สมัยรัชกาลท่ี 5 เมืองตะก่ัวป่ าถูกจัดฐานะ เป็นจงั หวัด ประกอบดว้ ย 3 อาเภอ คือ อาเภอตะก่ัวป่ า อาเภอ คุระบุ รี และอาเภอกะปง จนกระท่ังปี พ.ศ. 2456 ได้ย้ายตัว เมืองไปตั้งท่ีบ้านย่านยาว ตาบลตะก่ัวป่ า คือ อาเภอตะก่ัวป่ า ปัจจุ บันและเป็นใจกลางความเจริญของเมืองตะก่ัวป่ ามาจนถึง ปั จจุ บัน แต่เน่ืองจากแหล่งน้าต้ืนเขินไม่สามารถเดินเรือได้ เช่นเดมิ ทาให้ความสาคญั ของบ้านตลาดใหญ่หมดความสาคัญ ลงไป (โครงการกาหนดขอบเขตพนื้ ท่เี มอื งเกา่ ตะก่วั ป่ า ,2560) ในยุ คเหมืองแร่เฟ่ื องฟู สมัยรัชกาลท่ี 7 เพราะ บริเวณน้ีอุ ดมสมบรูณ์ด้วยแร่ดีบุ ก จึงมีคนจีนอพยพเข้ามา ทางานในเหมืองแร่เป็นจานวนมาก และท่ังร่องรอยของ วัฒนธรรมท่ีผสมผสานกันระหว่างตะวันออกและตะวันตก เห็น ได้จากอาคารบ้านเรือนร้านค้าของชาวจีนท่ีเรียกว่า “ชิโนโปร ตุกสี ” บริเวณถนนอุดมธารา และถนนศรีตะก่วั ป่ า (ตลาดใหญ)่ ภาพท่ี 2.4 : ถนนสายวฒั นธรรม ท่ีมา hthttp://www.phuketneophoto.com/2-05

แต่ปัจจุ บันการทาเหมืองแร่ดีบุ กนั้นได้ยุติลง เส้นทางการค้าทางเรือท่ีเคยรุ่งเรืองก็ได้ยุติลง ทาให้จาก เมืองใหญ่ถูกลดความสาคัญลงเหลือเพียงชุ มชนเล็กๆ ด้วยกาลเวลาท่ีเปล่ียนไปเม่ือพิษของ เศรษฐกิจเข้า ครอบงา ทาให้ราคาดีบุ กตกต่าส่งผลกระทบกับเมือง ตะก่ัวป่ าให้ซบเซาลงตามราคา ของเหมืองแร่ของ ตลาดโลกตามไปด้วย แม้เหมืองแร่ดีบุ กจะปิ ดตัวลงไป พร้อมกับยุคความรุ่งเรือง ของเหมืองแร่ในตะก่ัวป่ าส่ิงท่ี ยังคงเหลือร่องรอยไว้เป็นหลักฐาน การเจริญเติบโตของ เมืองทาให้ผู้คนเข้าไปทางานในพ้ืนท่ีเมืองกันมาก ชุมชน ตลาดใหญ่แห่งน้ีจึงกลายเป็นชุมชนท่ีเงียบเหงา ทรุดโทรม มีผู้สงู อายุเป็นส่วนใหญท่ ่ียงั อาศยั อยูแ่ ห่งน้ี แต่ก็ยังมีกลุ่มคนท่ียังรักและแห่งคุณค่าของ ชุมชนร่วมกันฟ้ืนฟู ให้ชุมชนกลับมามีกิจกรรมต่างๆเพ่ือ กระตนุ้ การท่องเท่ียวของชุมชน อกี ทงั้ ชุมชนตลาดใหญย่ ัง ได้รับการข้ึนทะเบียนเป็นชุมชนอนุรักษ์ โดยสานักงาน นโยบายและแผนทรพั ยากรส่งิ แวดล้อมภาพท่ี 2.5 : ตานานท่ยี ังมีลมหายใจท่ีมา http://jaymantri.com/post/ 2-06

เมืองท่าตะโกลา กรรมกรจีนในเหมืองแร่ดบี ุก ท่ีวา่ การจังหวัดตะก่ัวป่ า ชุมชนคนจีนในตะก่วั ป่ า เมืองตะก่ัวป่ าข้ึนอยู่กับเมือง ได้แบ่งเขตหัวเมืองตะก่ัวป่ าออกเป็น พังงา มี ช า ว จี น อ พ ย พ เ ข้ า ม า ท า มีการแก้ไขการปกครอง มณฑล 3 อาเภอ คืออาเภอตลาดใหญ่ เหมืองแร่ดีบุกท่ีตะก่ัวป่ าและได้ เมืองตะก่ัวป่ ามีฐานะเป็นจังหวัด อาเภอเกาะคอเขาและอาเภอกะปง พ.ศ. 2388 - 2404 ตั้งตัวเป็นอ่ังย่ี 3 พวก คือ ข้ึนอยู่ในการปกครองของมลฑล พวกไฮ่เซ่ ง พวกปนเถาก๋ง ถลาง (ภเู กต็ ) พ.ศ. 2441 และพวกย่ีหิน เกิดกบฏอ่ังย่ีจีน ขึ้นทงั้ ท่ี ภูเกต็ ระนองและตะก่ัว พ.ศ. 2437 ป่ า พ.ศ. 2419 ตารางท่ี 2.1 : ตารางแสดงววิ ัฒนการของเมืองตะก่วั ป่ า ท่มี า วิเคราะห์โดย ธนชิต บาเพญ็ ผล , 25602-07

เมอื งทา่ ตะโกลา นคร ยุคตกต่าของเหมืองแร่ เทศบาลเมอื งตะก่วั ป่ า จดั ตัง้ เทศบาลเมอื งตะก่วั ป่ า ย้ายเมืองตะก่ัวป่ าไปตั้งท่ี เศรษฐกิจของประเทศและท่ัวเกาะคอเขาทางปากน้าตะก่ัวป่ าเพ่ือ โลกตกต่าอย่างมาก จึงมีพระบรมรา พ.ศ. 2480สะดวกในการคมนาคมในการขน ชองการให้ยุบจังหวัดตะก่ัวป่ าลงเป็นถ่ายสนิ คา้ และการคา้ ขาย อาเภอ (โดยเปล่ียนช่ื อจากอาเภอ ตลาดใหญ่เป็นอาเภอตะก่ัวป่ า) ขึ้นต่อ จังหวดั พงั งาพ.ศ. 2444 พ.ศ. 2475 2-08

2..2.2 ชิโนโปรตกุ ีส ตลาดใหญ่ ลักษณะของสถาปั ตยกรรมแบบชิ โน (โครงการกาหนดขอบเขตพนื้ ท่เี มอื งเกา่ โ ป ร ตุ กี ส ห รื อ อ า ค า ร ยุ ค อ า ณ า นิ ค ม (COLONIAL STYLE) ถ้าเป็นอาคารสองชั้นก่ึง ตะก่วั ป่ า) ร้านค้าก่ึงท่ีอยู่อาศัย (SHOP-HOUSE OR SEMI RESIDENTAIL) จะมีด้านหน้าอาคารท่ีชั้น จากประวตั เิ มอื งตะก่ัวป่ าพบว่า ล่างมีช่ องโค้ง (ARCH) ต่อเน่ืองกันเป็นระยะๆ ชุ มชนเก่าท่ีมีสถาปั ตยกรรมชิ โนโปรตุกีส เพ่ือให้เกิดการเดินเท้าหรือท่ีภาษาจีนฮกเก้ียน เกิดขึ้นสมัยต้นกรุ งรัตนโกสินทร์จนถึง เรียกว่า “หง่อคาข่ี” ซ่ึ งมีความหมายว่า รัชกาลท่ี 7 การวางผังเมือง หรือการตั้ง ทางเดินกว้าง 5 ฟุ ต นอกจากอาเขตแล้วจะมี ชุมชนในยุคแรกของชุมชนเมืองตะก่ัวป่ า การนาลวดลายศิลปะตะวันตกแบบกรีกโรมัน (เก่า) ซ่ึงมีอายุเก่าแก่ท่ีสุดจะตั้งเมืองอยู่ หรือเรียกว่า “ยุคคลาสสิก” เช่ น หน้าต่างวง บริเวณคุ้งน้าของแม่น้าตะก่ัวป่ า ในจุ ดท่ี โ ค้ ง เ กื อ ก ม้ า ห รื อ หั ว เ ส า แ บ บ ไ อ โ อ นิ ก น้าลึกไหลช้า ทาให้ง่ายต่อการเทียบเรือ ผสมผสานศิลปะจีนคือ ลวดลายการตกแต่ง สินค้าขนาดใหญ่ และการตัง้ เมืองโอบล้อม ไม่ว่าจะเป็นภาพประติมากรรมนูนต่าหรือนูนสูง ของหุบเขาลักษณะของท่ีดินเป็นผืนแคบ ทาด้วยปูนปั้นระบายสีของช่ างฝี มือจีนประดับ ยาวเกาะไปตามถนน มีความลึกของท่ีดิน อยู่บนโครงสรา้ งอาคารแบบชิโนโปรตกุ ีส ไม่แน่นอน รู ปแบบทางศิลปกรรมและ ลักษณะของตวั อกั ษรศิลาจารึกท่ีพบในเขต อาเภอตะก่ัวป่ า แสดงให้เห็นถึงอิทธิพล ของชาวอินเดียใต้และชาวจีนฮกเกี้ยน ตามลาดับ ภาพท่ี 2.6 : ภาพอดตี บริเวณถนน ศรตี ะก่วั ป่ า ท่มี า http://collections.lib.2-09

ผนงั แยกระหวา่ งตกึ หลังคากระเบ้อื ง ขอบหนา้ ต่าง กาบกลว้ ย (กาบู)เสาหนิ หวั เสา แผน่ ลายฉลุตดิ ผนงั ตัวเสา ช่ องแสง บานหน้าต่าง ฐานเสา ปู นฉาบชั้นสอง ช่ องลมประตูระเบียงบานใหญ่หนา้ ตา่ งเหล็กดดั เสาหนิภาพท่ี 2.7 : ภาพอดตี บรเิ วณถนน ศรีตะก่วั ป่ า ภาพท่ี 2.8 : รา้ นแป๊ะซาเต ร้านกาแฟหวั โคง้ท่ีมา สถาปัตยกรรมในมุมมองท่ีเงยี บเหงา ,2555 ท่มี า http://collections.lib.uwm.edu 2-10

กลุ่มชุมชนเก่าท่ีอยู่ในเมืองตะก่ัวป่ าท่ีมีสถาปัตยกรรม ภาพท่ี 2.9 : ยุคต่างๆของ อาคารชิโนโปรตกุ สี (บน,กลาง,ลา่ ง) แบบ ชิโนโปรตกุ สี สามารถแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ท่ีมา http://www.phuketneophoto.com ประเภทท่ี 1 ได้แก่ อาคารชิโนโปรตุกีสท่ีมีโครงสร้างเป็น ผนังรับน้าหนัก มีอาเขตด้านหน้าอาคารและมีลวดลายประดับ อาคารเป็นแบบยุโรป เช่น ท่ีหัวเสา ปูนปั้นประดบั ผนังอาคารหรือ ขอบหน้าต่าง โดยนับรวมถึงอาคารทรงจีน จะไม่ค่อยมีการ ตกแต่งลวดลายใดๆ บนอาคารกลมุ่ นี้ ประเภทท่ี 2 ได้แก่ อาคารชิโนโปรตุกีสประยุกต์ เป็น อาคารท่ีมีโครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล) จะมีอาเขต หรือไม่ก็ได้ แต่ต้องมีลวดลายประดับอาคารในส่วนต่างๆ ไม่ว่า จะเป็นลวดลายแบบจนี หรอื ยุโรป ประเภทท่ี 3 ได้แก่ สถาปัตยกรรมท้องถ่ินเป็นอาคาร เรือนแถวไม้ท่ีพบเป็นส่วนใหญใ่ นพน้ื ท่ี มีอาเขตหรือไม่ก็ได้ โดยมี หลักการพิจารณา คือ ความหนาแน่น ความต่อเน่ือง หรือการ กระจุ กตัวของอาคาร และตาแหน่งท่ีตั้งและบทบาทการใช้สอย อาคาร2-11

บรเิ วณชุมชนตลาดเก่า (ตลาดใหญ่) ซ่ึงถือเป็นย่านเก่าหรือเมืองเก่าของเมืองตะก่ัวป่ าในปัจจุ บัน โดยบริเวณท่ีแสดงให้เห็นถึงความเป็นเมืองเก่า ได้แก่ จวนเจ้าเมืองวัดหน้าเมืองอาคารบ้านเรือนรูปทรงชิโนโปรตุกีส และอาคารสมัยเก่าของผู้มีฐานะ เช่น บ้านขุนอินทร์ ซ่ึงเป็นลูกหลานของตระกูล ณ นคร(เจ้าเมืองนคร) สาหรับรูปแบบการสร้างอาคารแบบชิโนโปรตุกีสนั้นได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการก่อสร้างอาคารมาจากพระยารษั ฎานุประดิษฐ์ (อดตี เจา้ เมืองตรงั ) ซ่ึงเคยดารงตาแหน่งเป็นเจ้าเมืองตะก่ัวป่ าในอดีต แต่ในปัจจุ บันอาคารแบบชิโนโปรตุกีสดังกล่าวได้มีการเปล่ียนแปลงไปหลายหลัง เน่ืองจากการปรับปรุ งอาคารท่ีทรุ ดโทรมโดยเจ้าของเอง และจากการเปล่ียนแปลงอันเน่ืองจากการขยายถนนเม่อื ประมาณ 20 ปีก่อน(โครงการกาหนดขอบเขตพน้ื ท่ีเมอื งเก่าตะก่ัวป่ า ,2560) ภาพท่ี 2.10 : สสี ันของอาคารเกา่ ท่ีมา http://www.phuketneophoto.com 2-12

2.2.3 บาบ๋า - ยา่ หยาตะก่วั ป่ า ชุดการแตง่ กายของ “บะบา๋ บา่ หยา” นบั วา่ เปน็ เอกลกั ษณอ์ ยา่ งหน่งึ ของพนื้ ทเ่ีมอื งเกา่ ตะกว่ั ป่ า แสดง ถงึ การผสมผสานทางวฒั นธรรมของชนชาวจนี -มลายูทม่ี ี การรับเข้ามาจากอดีตเป็นกลุ่มลูกคร่ึงมลายู -จีนท่ีมี วฒั นธรรมผสมผสานมกี ารสรา้ งวฒั นธรรมแบบใหมข่ น้ึ มา โดยเปน็ การนาวฒั นธรรมจนี และมลายูมารวมกนั คนใน ชุมชนตะกว่ั ป่ ามกี ารอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมผา่ นเครอ่ื งแตง่ กาย โดยประกอบการสรา้ งผา่ นกจิ กรรม โดยนาชุดพน้ื เมอื ง บะบา๋ ยา่ หยา มาใสจ่ ากอดตี ทเ่ีคยสวมใสต่ ามบา้ นเรอื นและ ไดเ้ ลอื นหายไปตามอดตี (อัตลักษณ์และการแต่งกาย ชาวบาบา๋ ฝ่ังทะเลอันดามนั ,2560) ภาพท่ี 2.11 : บาบา๋ ยา่ หยา ตะก่ัวป่ า ท่ีมา http://www.phuketneophoto.com/forums2-13

2.2.3.1 บทบาท ของชาวจีนและลูกบาบ๋าทางด้านสงั คมและวฒั นธรรมในเมืองตะก่ัวป่ า 2.2.3.2 ทางสังคม มีการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีด่ังเดิมของตนไว้อย่างชัดเจน เช่ น การสร้าง“อ๊าม” (ศาลเจ้า) เพ่ือเป็นศูนย์กลางของชุมชน ในการพบปะพู ดคุยและร่วมทากิจกรรมต่างๆ ต่อมามีการตั้งสมาคมและโรงเรียนจีนเพ่ือลูกหลานท่ีเกิดมาได้เล่าเรียนภาษาจีนของพ่อ ซ่ึ งจะก่อตัวเป็นสายใยถักทอความผู กพันท่ีจะส่งลูกไปเรียนต่อเมืองปี นัง อันเป็นรากเหง้าบรรพชนของพ่อ 2.2.3.3 ทางวัฒนธรรม วิถีชีวิตของชาวจีนในเมืองตะก่วั ป่ าจะมคี วามคล้ายคลงึ กับชาวจีนในเมอื งปีนังเช่ น ประเพณีท้องถ่ิน วัฒนธรรมทางภาษา อาหารความเช่ือ พิธีกรรม พิธีแต่งงาน และอัตลักษณ์การแต่งกาย อดตี (อัตลักษณ์และการแต่งกายชาวบาบ๋าฝ่ังทะเลอนั ดามัน ,2560) ภาพท่ี 2.12 : พิธแี ต่งงาน บาบา๋ ท่ีมา http://www.phuketneophoto.com/forums/ 2-14

2.2.4 เทศกาลกนิ ผกั ตะก่วั ป่ า (พธิ กี รรมกินเจในสงั คมชาว ก่อนพิธีกินผักจะเร่ิม 1 วัน จะมีการทาความสะอาด จีนภาคใต้: กรณชี าวจีนในอาเภอตะก่วั ป่ า จังหวดั พังงา ) ศาลเจ้า รมกายานไม้หอม และมีการยกเสาธงไว้หน้าศาลเจ้า สาหรับ อันเชิญดวงวิญญาณของเจ้า เท่ียงคืนก็ประกอบพิธีอัญเชิญยกอ๋อง เม่ือถึงช่วงเทศกาลถือศีลกินผัก ก็ถึงเวลาท่ีศาลเจ้าพ่อ ฮ่องเต้ (พระอิศวร) และก๋ิวอ๋องไตเต หรือกิวอ่องฮุดโจ้ว (ผู้เป็นใหญ่ กวนอู (ซ่ินใช่ ต๋ึง) จะถูกใช้เป็นสถานท่ีประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ ทัง้ 9) มาเป็นประธานในพิธี จากนัน้ กแ็ ขวนตะเกยี งน้ามนั 9 ดวง อัน มากมาย และท่ีน่าสนใจมากท่ีสุดคือพิธีแห่พระ ซ่ึงจะแตกต่างจาก เป็นสัญลักษณ์ของดวงวิญญาณก๋ิวอ๋องไตเต ไว้บนเสาธง อันเป็น ของภูเก็ต ตรงท่ีจะแห่เพียง 2 วันเท่านั้น คือวันขึ้น 6 ค่า และขึ้น 9 การแสดงวา่ พิธีกินผกั เร่ิมขนึ้ แล้ว ค่า (วันสง่ พระ) เดือน 9 ตามปฎทิ นิ จีน ประเพณีกินผักในจังหวัดพังงา โดยเฉพาะท่ีอาเภอตะก่ัว เดือน 9 ข้ึน 6 ค่า (เก้าโง๊ยเช่ ล้าก) ตามปฏิทินจีน จะทาพิธี ป่ า ในการทาพธิ กี ินผัก ผูค้ นท่รี ่วมพธิ ีจะล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ อัญเชิญเทพเจ้าและก่ิวอ๋องไต่เต่ออกแห่ไปท่ัวตลาดตะก่ัวป่ า โดย ท่ีจะใช้ประกอบอาหารจนสะอาดหมดกล่ินคาว บ้างก็ใช้ภาชนะชุดใหม่ มีฮวดกั้ว ม้าทรง และประชาชนมารวมตัวกันเพ่ือประกอบพิธีกรรม ในการประกอบอาหารหรือใส่อาหารผัก บ้างก็ไปรับประทานอาหารท่ี ก่อนทาการเคล่ือนขบวนไปตามท้องถนน ถือได้ว่าเป็นวันรวมญาติ โรงครัว ในช่ วงกินผักนี้ผู้ท่ีเคร่งครัดในพิธีจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าสี ของชาวตะก่ัวป่ า เพราะลกู หลานท่ไี ปเรียน หรอื ทางานต่างจังหวัด ก็ ขาวตลอดทั้ง 9 วัน โรงครัวของศาลเจ้าจะรับภาระหนักมากในเร่ือง จะกลับมาอยู่พร้อมหน้า ทาให้ย่านตลาดเก่าตะก่ัวป่ ากลับมาคึกคัก การประกอบอาหารให้กับผู้ท่ีร่วมกินผัก ผู้ใดท่ีประสงค์จะรับอาหาร อีกครงั้ (สถาปัตยกรรมในมุมมองท่เี งยี บเหงา ,2555) จากศาลเจา้ ต้องไปลงช่ือแจง้ ความประสงคบ์ อกจานวนบุคคลในบ้านท่ี ร่วมกินผัก และจานวนวัน เพ่ือว่าโรงครัวจะได้จัดเตรียมอาหารได้ เพียงพอ เม่ือถึงเวลาอาหารจะนาป่ินโตตักอาหารไปรับประทานท่ีบ้าน และเน่ืองจากจานวนของผู ้ร่วมกินผักมีมากทางโรงครัวจึงต้องหา อาสาสมัครมาช่ วยงานครัวเป็นจานวนมาก สาหรับอาหารและ ค่าใช้จ่ายในโรงครวั นัน้ ไดร้ บั บริจาคจากผู้มีใจศรทั ธา และบุคคลท่ัวไป และจากผู้เขา้ รว่ มกินเจ (สถาปัตยกรรมในมุมมองท่ีเงยี บเหงา ,2555)2-15

ภาพท่ี 2.13 : (บน,ลา่ ง) เทศกาลกนิ ผกั ตะก่วั ป่ าท่มี า https://pantip.com/topic/32700859 2-16

2.3 นโยบายและแผนพฒั นาท่ีเก่ยี วขอ้ ง 2.3.2 แนวทางการอนรุ กั ษ์และพัฒนาเมืองเกา่ ตะก่วั ป่ า 2.3.1 ยุทธศาสตร์การพฒั นาจงั หวดั พงั งา การพฒั นาเมอื งพงั งาอยา่ งสมดลุ ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมและ(แผนพัฒนาจังหวดั พงั งา พ.ศ. 2560-2564) สง่ิ แวดลอ้ มบนอตั ลกั ษณข์ องชุมชน โครงการศกึ ษาความเหมาะสมเพอ่ื ปรบั ปรุงฟิ้นฟู พนื้ ท่เี มอื งเกา่ ตะก่วั ป่ าและสง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ยี วเชิง ประกอบด้วย 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ โดยเรียงตาม วฒั นธรรม (โครงการกาหนดขอบเขตพน้ื ทเ่ีมอื งเกา่ ตะกว่ั ป่า สานกั งานลาดบั ความสาคญั ดงั นี้ นโยบายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม) ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1 : สร้างเสริมคุณภาพการ 2.3.3 การกาหนดขอบเขตเมืองเกา่ ตะก่วั ป่ าท่องเท่ียวเชิงนเิ วศครบวงจร ในการอนรุ กั ษจ์ าเปน็ ทจ่ี ะตอ้ งอนรุ กั ษท์ งั้ อาคารสภาพแวดลอ้ ม ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 4 : ยกระดับคุณภาพชีวิตท่ี และบรเิ วณท่มี คี ณุ คา่ ซ่ึงมกั มคี วามแตกตา่ งกนั ไปทงั้ จากปัจจยั ดา้ นดี สรา้ งสังคมม่นั คงน่าอยู่ ประวตั ศิ าสตรโ์ บราณคดคี วามเกา่ แก(่ อายุ) คณุ คา่ ดา้ นสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม และสภาพอาคารรวมทั้ง คุณค่าด้านการเป็น ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 5 : สร้างเสริมระบบความ องคป์ ระกอบของเมอื งเกา่ ของโบราณสถาน และสถานทส่ี าคญั นนั้ การม่ันคงปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยส์ นิ ประเมนิ เพ่อื จดั ลาดบั ความสาคญั เปน็ แนวทางหน่งึ ท่ที าใหท้ ราบถงึ คณุ คา่ ตลอดจนระดบั คณุ คา่ ของโบราณสถานอาคารและสถานท่ี เหลา่ นนั้ อนั เปน็ ประโยชนใ์ นการกาหนดขอบเขตพนื้ ทเ่ีมอื งเกา่ และ ความสาคญั ของพนื้ ท่ี (Zones) (โครงการกาหนดขอบเขตพน้ื ทเ่ีมอื งเกา่ ตะกว่ั ป่า สานกั งานนโยบายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม) ภาพท่ี 2.14 : ภาพแสดงผังเมืองตะก่วั ป่ า ท่ีมา โครงการกาหนดขอบเขตเมืองเกา่ ตะก่วั ป่ า2-17

2.4 ทฤษฎีหรอื แนวคดิ ท่ีเก่ยี วข้องกบั การออกแบบ2.4.1 การอนุรกั ษ์เมืองเก่า 2.4.1.1 แนวคดิ การอนรุ ักษเ์ มืองและยา่ นประวัติศาสตร์(โครงการนามาตรฐานคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มศลิ ปกรรม ประเภทย่านชุมชนเกา่ ) การทบทวนแนวคิดด้านอนุรักษเ์ มืองมีเนอ้ื ใน 6 ดา้ นคือกฎบตั รและมาตรฐานระหวา่ งประเทศท่เี ก่ียวกบั การอนรุ กั ษ์เมืองแนวคิดหลักการของการอนรุ ักษช์ ุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมทางวฒั นธรรม แนวคิดการสรา้ งสรรคส์ ถาปัตยกรรมบ้านเมอื งแนวคิดและหลักการอนุรักษแ์ ละพฒั นาเมืองเกา่ แนวทางการรกั ษา เอกลักษณ์ ภมู ทิ ศั น์ และการฟ้ืนฟู เมอื งเกา่ และขอบเขตการอนรุ กั ษ์ส่ิงแวดลอ้ มศลิ ปกรรม (แนวทางการพัฒนาบนวถิ ีชีวติ ไทย, 2552 ภาพท่ี 2.15 : การอนรุ ักษย์ า่ นเมอื งเกา่ ท่ีมา โครงการกาหนดขอบเขตเมืองเกา่ ตะก่วั ป่ า 2-18

2.4.1.2 ประเภทของส่ิงท่คี วรอนรุ กั ษ์ (โครงการนามาตรฐานคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรม ประเภทยา่ นชุมชนเกา่ ) ส่ิงท่คี วรอนุรกั ษ์มีอยู่หลายประเภท ทัง้ ท่ีเป็นรูปธรรมหรือกายภาพมีตั้งแต่ ขนาดใหญ่ เช่ น เมือง พื้นท่ีบางส่วนของเมืองหรือบริเวณ ไปจนถึงขนาดเล็ก วัตถุหรือช้ินส่วนของอาคาร และอาจรวมถึงส่ิงท่ีเป็นนามธรรม เช่น ประเพณี วิถีชีวิต เป็นต้น ประเภทของส่ิงท่ีควรอนุรักษ์มีอยูห่ ลากหลาย ก) ความสัมพันธ์ของเมือง หรือพ้ืนท่ีเมืองกับท่ีตั้งท่ีอยู่โดยรอบทัง้ ท่ีเป็นธรรมชาตแิ ละท่ีมนษุ ยส์ ร้างข้ึนบทบาทหนา้ ท่ที ่ีหลากหลายของเมืองหรือพนื้ ท่ีเมอื งท่สี ่งั สมมาตามกาลเวลา ข) ย่านและชุมชนย่อย (Districts and Neighborhoods) ในเมืองทุกเมืองมักจะมีย่านท่ีมีความสาคัญทางด้านประวัติศาสตร์ หรือมีความสวยงามทางด้านสถาปัตยกรรมของกลุ่มอาคาร หรือ ภูมิทัศน์ของชุมชนชุมชนย่อยเป็นท่อี ยู่อาศยั ของกลุ่มชนบางกลมุ่ ท่ีมีเชื้อชาติลกั ษณะทางสังคมวฒั นธรรมและวถิ ชี ีวิตท่ีนา่ สนใจและแตกต่างไปจากบรเิ วณอ่นื ๆ (โครงการนามาตรฐานคุณภาพส่ิงแวดล้อมศิลปกรรม ประเภทย่านชุ มชนเก่า ,2560 ) ภาพท่ี 2.16 : เพ่มิ คณุ ค่าให้เมอื งเกา่ ท่มี า https://www.pinterest.com/2-19

ค) มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) 2.4.1.3 ย่านเมอื งเก่าตะก่วั ป่ า มรดทางวัฒนธรรมอาจปรากฏเป็นรูปร่างท่ีชัดเจน เช่น อาคาร ส่ิงก่อสร้าง สถานท่ี หรือเป็นนามธรรม เช่ น ฉ า ก ข อ ง อ ดี ต ท่ี ถู ก เ ก็ บ อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ ประเพณี พิธกี รรม วิถีชีวิต ฯลฯ สถาปั ตยกรรมอันเก่าแก่ได้ถูกนามาประกอบสร้าง มรดกทางวัฒนธรรม เป็นค่าท่ีนิยมใช้อย่าง เป็นกิจกรรมในการอนุรักษ์ทั้งทางนิทรรศการ แพร่หลาย มีความหมายลึกซ้ึ ง กว้างขวางและ วัฒนธรรม ประเพณี ถนนคนเดินสายวัฒนธรรม ครอบคลุมส่ิงท่ีสมควรได้รับการอนุรักษ์เกือบทุกประเภท ซ่ึงในความหมายท่ีครอบคลุมนี้สามารถสร้างกรอบของ เ ป็ น ต้ น ล้ ว น จั ด ขึ้ น ภ า ย ใ ต้ ฉ า ก ห ลั ง ข อ ง สถาปั ตยกรรม ท่ีในพ้ืนท่ีย่านเมืองเก่าตะก่ัวป่ ามี การอนรุ กั ษ์ทัง้ ในมติ ดิ ้านกายภาพและไม่ใช่กายภาพ อีก จุ ดเด่นท่ีดึงดูดกับนักท่องเท่ียวตือเรือนแถวแบบ ทัง้ ยังรวมถงึ ปฎิสัมพนั ธร์ ะหวา่ งกายภาพกบั ส่ิงท่ีจับต้อง เตีย้ มฉู่ ทงั้ สองฟากฝ่ังของถนน และลวดลายปูนปั้น ไดย้ าก ทาใหม้ ติ ิของการอนุรักษ์เกิดการขับเคล่ือนอย่าง ต่างๆ อาทิ เครือเถาผลไม้ มาลีระบัดช่อ หรือสัตว์ มีชีวิตชีวาและมีพลวัตมากข้ึน (โครงการนามาตรฐาน ในนิทานปรัมปรา รวมทั้งหัวเสาแบบไอโอนิกและโคริ คุณภาพส่ิงแวดล้อมศิลปกรรม ประเภทย่านชุมชน เทยี นท่ปี ระดับตวั อาคาร Purotakanon (2015) ส่ิงท่ี เป็นอัตลกั ษณ์และมีคุณค่าของย่านเมืองเก่าตะก่ัวป่ า เกา่ ,2560 ) ถู ก น า ม า เ ป็ น จุ ด ท่ี ถู ก ท า ใ ห้ เ ป็ น จุ ด ข า ย ท า ง วัฒนธรรมรับใช้การท่องเท่ียวถวิลหาอดีตท่ีเคย เลือนหายไปแล้วผ่านตึกอาคาร (พ้ืนท่ีย่านเมือง เก่า : การประกอบอัตลักษณ์เพ่ือการท่องเท่ียวถวิล หาอดีต)ภาพท่ี 2.17 : เฮง เฮง เฮงท่มี า ttps://pantip.com/topic/32700859 2-20

2.4.2 วีถีชีวิตของวฒั นธรรม 2.4.2.2 ชุดแต่งกายบาบ๋า-ย่าหยา (พื้นท่ีย่าน เมืองเก่า : การประกอบอัตลักษณ์เพ่ือการ 2.4.2.1 แนวคิดเก่ียวกับวิถีชีวิต (Way of life) ไว้ ท่องเท่ยี วถวิลหาอดตี ) ว่า วิถีชีวิตของมนุษย์ในสังคมถูกกาหนดโดยวัฒนธรรม ของมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนตาย ตั้งแต่ต่ืนนอนจนเข้านอน นอกจากถูกยกระดับภายในหน่วยงานแล้ว พฤติกรรมต่าง ๆ ท่ีมนุษย์ทาไม่ว่าจะเป็นการแปรงฟั น สวมใส่เสื้อผ้าเคร่ืองประดับตลอดจนการเล่นกีฬา ดู การนาชุดบาบ๋า-ย่าหยา มาใช้ในการจัดงานและ โทรทศั น์ ลว้ นแลว้ แตเ่ ป็นเร่อื งของวัฒนธรรมทัง้ สน้ิ (พวง กิจกรรมภายใต้บริบทเมืองเก่าตะก่ัวป่ าการโหยหา เพชร สรุ ตั นกวีกลุ , 2544) อดีตในระดับสังคมท่ีมีการปรับทุนทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมเป็นตัวกาหนดรู ปแบบของครอบครัว การแต่งกายในอดีตนามาร้ือฟื้น ตัด และตกแต่ง เศรษฐกิจ การปกครอง การศึกษา ศาสนา เป็นต้น วัฒนธรรมจะกาหนดว่า ส่ิงใดดี ส่ิงใดไม่ดี ส่ิงใดถูก ส่ิง ใหม่ อีกครงั้ ตามแบบยุคสมัยและนาเป็นชุดพื้นเมือง ใดผิด รวมทั้งเป้าหมายในชีวิตว่าควรเป็นอย่างไร ฉะนั้น ของตะก่ัวป่ าอีกครั้งผ่านกิจกรรมต่างๆ ท่ีร่วมกัน กิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นการกิน การด่ืม จัดข้ึนตามแบบฉบับของเมืองของความเป็นพหุ การพูด การอ่าน การเขียน การคดิ การทางาน การเล่น วัฒนธรรม อีกนัยหน่ึงเป็นการยกระดับการ การติดต่อสัมพันธ์ ล้วนแล้วแต่เป็นเร่ืองของวัฒนธรรม ท่องเท่ียวใหผ้ ูพ้ บเหน็ ท่ีมคี วามสนใจในการแต่งกาย ทัง้ ส้ิน วัฒนธรรมจงึ เป็นวิถชี ีวติ ของมนษุ ยใ์ นสังคม แบบพ้ืนถ่ินสามารถเลือกหาผ้าแบบบาบ๋า-ย่าหยาท่ี ถูกนามาจัดจาหน่ายโดยคนในชุมชนเพ่ือตอบรับกับ กระแสการทอ่ งเท่ียว2-21

2.4.3 การท่องเท่ียวเชิงวฒั นธรรม 2-22 2.4.3.1 แนวคิดการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม (การ จัดการการท่องเท่ียวเชิ งวัฒนธรรมของ วัดโสธรวราราม วรวหิ ารจังหวัดฉะเชิงเทรา”) ก) การท่องเท่ียงเชิงศิลปวัฒนธรรม เป็นการ ท่องเท่ียวเพ่ือการชมหรือสัมผัส ศิลปวัฒนธรรมแขนงต่าง ๆ รวมทั้งงานเทศกาล ประเพณี ตลอดจนเท่ียวชมมรดกทาง ประวัติศาสตร์ ท่ีเป็นแหล่งประวัติศาสตร์ โบราณสถาน และศา สนสถาน สามารถแบ่งได้เป็นการท่องเท่ียว เชิ งศิลปกรรม ประเพณี และแหลง่ ประวัตศิ าสตร์ ข) กระแสความต้องการของนักท่องเท่ียวให้เกิดการ เรียนรู้ในแหลง่ ทอ่ งเท่ียว เป็นกระแส ความต้องการท่ีมีมากข้ึนกลุ่ม นักท่องเท่ียวท่ีต้องการได้รับความรู้ความเข้าใจเร่ืองการท่องเท่ียว 15 มากกวา่ ความสนุกเพลิดเพลินเพียงอย่างเดียว เพ่ือสร้างความ พึงพอใจให้แกน่ กั ท่องเท่ยี วในรูปแบบใหม่ภาพท่ี 2.18 : มุง่ สู่ วฒั นธรรมท่มี า http://jaymantri.com/

2.4.3.2 ตะก่ัวป่ ากับการท่องเท่ียววิถีวัฒนธรรม (พ้ืนท่ีย่าน เมอื ง เก่า : การประกอบอัตลักษณ์เพ่อื การทอ่ งเท่ยี วถวิลหาอดีต) ถนนสายวัฒนธรรมตะก่ัวป่ าเมืองเก่าเล่าความหลัง เป็นการ บอกเล่าเร่ืองราวของอดีต ท่ีสอดแทรกภายใต้กิจกรรมเพ่ือการ ย้อนอดีตวิถีของคนตะก่ัวป่ าท่ีเคยมีในปัจจุ บันหรืออาจเลือนหายไป แล้วบ้างแล้วนามาสร้างเป็นถนนคนเดิน โดยนาทุต้นทุนทาง วัฒนธรรมท่ีมีวิถีชีวิตท่ี เรียบง่ายของคนตะก่ัวป่ าการผสมผสานระ หว่าจีนแลไทยไว้ผ่านกิจกรรม เป็นการบอกเล่าเร่ืองราวทาง ประวัติศาสตร์ท่ีคนในชุมชนร่วมกันจัดข้ึนทั้งมีการแสดงนิทรรศการ เร่ืองเล่าจากอดีตซ่ึ งถูกจัดขึ้นทุกวันอาทิตย์ของเดือนเมษายนถึง เดือนพฤษภาคม เวลา 15:00-21:00 เป็นต้นไป นักท่องเท่ียวจะได้ เงินทั้งการกิน การแต่งกาย วัฒนธรรมก็จะถูกนามาแสดงอีกครั้ง ผ่านภาพจาลองหรือการผลิต ฉายซ้ าท่ีถูกเล่าผ่านเร่ืองราวของ เมืองตะก่ัวป่ าทา่ มกลางถนนคนเดนิ ตลอดทัง้ สาย ภาพท่ี 2.19 : การทอ่ งเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม ท่ีมา http://jaymantri.com/2-23

2.4.4 หลกั การออกแบบ การวิเคราะห์ระดับสนามทัศน์ของพ้ืนท่ี (space) ท่ีแตกต่างหลากหลายความสัมพันธ์ 2.4.4.1 พื้นท่ีสาธารณะ กับรูปแบบการใช้พ้ืนท่ี (space use pattern) หรือไม่และอย่างไร จึงมีประโยชน์ต่อการระบุ “สนามทัศน์” (isovist field) ส่ิงปิ ดล้อมในพ้ืนท่ี ชุมชนหรือเมอื ง ตลอดจนการจัดวางตัวของพื้นท่ีนั้นท่ี หรือทานายลกั ษณะรูปทรงและการจัดวางของ สัมพันธ์กับพ้ืนท่ีอ่ืนๆ มีผลทาให้ขนาดของสนามทัศน์ พ้ืนท่ีว่างสาธารณะท่ีสัมพันธ์กับคุณภาพของ ในแตล่ ะตาแหนง่ เปล่ียนแปลงไป ซ่ึงจะส่งผลโดยตรงทา การใช้อย่างอเนกประโยชน์ในพ้นื ท่นี นั้ ๆ ได้ ให้ประสบการณแ์ ละพฤตกิ รรมของคนภายในพ้ืนท่ีนั้นๆ เช่ น การเลือกเส้นทางการเข้าถึงเดินผ่าน หยุดพบปะ พู ดคุย ยืน น่ัง แลกเปล่ียนข้อมู ลข่าวสาร สินค้า บริการ หรือมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมในลักษณะต่างๆ (Benedikt 1976)ภาพท่ี 2.20 : พ้ืนท่สี าธารณะ ภาพท่ี 2.21 : ภาพแสดงแนวคดิ สาธารณะของพื้นท่สี าธารณะในเมืองท่ีมา http://jaymantri.com/ ท่ีมา แนวคดิ สาธารณะของพ้ืนท่ีสาธารณะในเมอื ง ,2560 2-24

2..4..4.2 รูปแบบการจดั นิทรรศการ ข) นิทรรศการในร่ม (Indoor Exhibition) คือ นิทรรศการท่ีจัดใน บริเวณอาคารหรือจัดสร้างอาคารเพ่ือแสดงนิทรรศการโดยวิธีแบบถาวร ก) นิทรรศการกลางแจ้ง (outdoor exhibition) เป็นการจัดนิทรรศการภายนอกตัว แบบช่ัวคราว หรือแบบเคล่ือนท่ีก็ได้ นิทรรศการในร่มแบบถาวร เช่ น ใน อาคารของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติกรุ งเทพมหานาครหรือพิพิธภัณฑ์อาคาร และอาจจัดในสนามโดยใช้เต็นท์นิทรรศการประเภทนี้ มีขนาดใหญ่หรือเล็กข้ึนอยู่กับ จังหวัด นิทรรศการในร่มแบบช่ัวคราวจัดขึ้นโดยมีระยะ เวลาแสดงแน่นอนมีรูปแบบ ลักษณะวิธีจัดด้วย และมีขอบเขตการแสดงกว้างขวาง นิทรรศการกลางแจ้งแบบ จุ ดมุ่งหมาย แคบลงแต่เด่นชัด การจัดนิทรรศการประเภทนี้ผู้จัดมีความช่ัวคราว อาจจะจัดในสนามโดยใช้เต็นท์กาง และยกพ้ืนขึ้นเพ่ือจัดแสดงก็ได้ นิทรรศการ สะดวกในการเตรียมงานได้ดีกว่าจดั ภายนอกอาคารกลางแจง้ แบบช่ัวคราวนี้ อาจจะมีขนาดใหญ่หรือเล็กก็ได้ เช่น งานประจาปี งานฉลองเทศกาลปี ใหม่ของจังหวัดต่างๆก็จัดค่อน ข้างใหญ่ แต่หากจัดประกอบงานพิธีอ่ืนๆก็มักเล็กลง ค) นิทรรศการหมุนเวียน (Traveling exhibition) หรือนิทรรศการนิทรรศการกลางแจ้งแบบเคล่อื นท่มี ักเป็นนิทรรศการขนาดย่อยท่ีสุดเช่น รถเผยแพร่การทาหมัน สัญจร หมายถึง นิทรรศการท่ีจัดทาเป็นชุดสาเร็จรู ปถาวร สามารถของโรงพยาบาล ซ่ึงอาจมีการฉายภาพยนตร์ สไลด์ หรือวดี ที ศั นป์ ระกอบ เคล่ือนย้ายไปแสดงในท่ีต่าง ๆ หมุนเวียนสลับกันไปหรืออาจแสดงในรูปของ รถเผยแพร่เคล่ือนท่ี (Mobile units) ซ่ึงจัดแสดงเพียงคร่ึงวันหรือหน่ึงวัน นิทรรศการประเภทน้สี ามารถเขา้ ถึงบุคคลเป้าหมายได้อย่างแท้จริงโดยเฉพาะ ในท้องถ่ินทรุ กันดาร การคมนาคมไมส่ ะดวก ภาพท่ี 2.22 : การท่องเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม ท่ีมา http://jaymantri.com/2-25

2.5 กฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ งกับโครงการ 2.5.3 แนวอาคารและระยะต่างๆ ของอาคาร 2.5.1 กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 55 ก ) อ า ค า ร ท่ี ก่ อ ส ร้ า ง ห รื อ ดี ด แ ป ล ง ใ ก ล้ ถ น น สาธารณะท่ีมีความ กว้างน้อยกว่า 6 เมตร ให้หล่นอาคารห่าง “อาคารสาธารณะ” หมายความวา่ อาคารทีใ่ ชเ้ พอ่ื จากก่งึ กลางถนนสาธารณะอยา่ งนอ้ ย 3 เมตร ประโยชนใ์ นการชุมนุมคนไดโ้ ดยท่ัวไป เพื่อกิจกรรมทาง ราชการ การเมือง การศึกษา การศาสนา การสังคม การ ข) อาคารท่กี ่อสรา้ งหรือดัดแปลงใกล้แหล่งน้าสาธารณะ เช่น นันทนาการ หรือการพาณิชยกรรม เชน่ โรงมหรสพ แม่น้า คู คลอง สาราง หรือลากระโดง ถ้าแหล่งน้าสาธารณะนั้นมี หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศกึ ษา หอสมุด สนาม ความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ต้องหล่นแนวอาคารให้ห่างจากเขต กีฬากลางแจง้ สนามกีฬาในรม่ ตลาด หา้ งสรรพสินคา้ แหล่งน้าไม่น้อยกว่า 3 เมตร แต่ถ้าแหล่งน้านั้นมีความกว้างตั้งแต่ ศูนยก์ ารคา้ สถาน บริการ ทาอากาศยาน อุ โมงคส์ ะพาน 10 เมตรข้ึนไป ต้องหล่นแนวอาคารจากเขตแหล่งน้าไม่น้อยกว่า 6 อาคารจอดรถ สถานีรถ ทา่ จอดเรือ โปะ๊ จอดเรือ สุสาน เมตร ฌานสถาน ศาสนสถาน 2.5.2 ท่ีวา่ งภายนอกอาคาร อาคารสาธารณะ และอาคารอ่นื ๆ ซ่ึงไมไ่ ดใ้ ชเ้ ป็นท่ี อยูอ่ าศัย ตอ้ งมีท่ีวา่ งไมน่ อ้ ยกวา่ 10 ใน 100 สว่ น ของ พ้ืนท่ชี ั้นใดชั้นหนง่ึ มากท่ีสดุ ของอาคาร 2-26

2.5.4 แบบและจานวนห้องน้า 2.5.5 หอ้ งน้าคนพิการ ข) ท่ีจอดรถ อาคารขนาดใหญ่ ใหม้ ที ่จี อด ห้องส้วมข้อ 9 ห้องน้ าและห้อง รถยนตต์ ามจานวนท่กี าหนดของแตล่ ะประเภทอาคาร ท่ีใช้ อาคารท่จี ัดให้มีห้องส้วมสาหรับบุคคลท่ัวไป เป็นท่ีประกอบกจิ การในอาคารใหญน่ นั้ รวมกนั หรอื มีท่ีส้ ว ม จ ะ แ ย ก จ า ก กั น ห รื อ อ ยู ่ ใ น ห้ อ ง เ ดี ย ว กั น ไ ด้ ต้องจดั ใหม้ ีห้องสว้ มสาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และแ ต่ ต้ อ ง มี ลั ก ษ ณ ะ ท่ี รั ก ษ า ค ว า ม ส ะ อ า ด ไ ด้ ง่ า ย คนชราอย่างน้อย 1 ห้องในห้องส้วมนั้น หรือแยก จอดรถไม่น้อยกวา่ 1 คนั ต่อ 120 ตารางเมตร ออกมาอยู่บริเวณเดียวกันกับห้องส้วมสาหรับบุ คคลและต้องมีช่ องระบายอากาศไม่น้อยกว่า ร้อย ท่ัวไปก็ได้ มีพ้ืนทีว่างภายในห้องส้วมเพ่ือให้เก้าอ้ีล้อล ะ 2 0 ข อ ง พ้ื น ท่ี ห้ อ ง ห รื อ พั ด ล ม ร ะ บ า ย อ า ก า ศ สามารถหมุนตัวกลับได้ ซ่ึงมีเส้น ผ่านศูนย์กลางไม่น้อยได้เพียงพอระยะด่ิงระหว่างพ้ืนห้องถึง เพดาน กว่า 1,500 มิลลิเมต ประตูของห้องท่ีตั้งโถส้วมเป็นยอดฝา หรือผนังตอนต่ าสุดต้องไม่น้อยกว่า แบบบานเปิดออกสู่ภายนอก โดยต้องเปิดค้างไว้ ไม่น้อย1.80 เมตร ในก รณีท่ีห้ องน้ า และห้องส้ว ม กว่า 90 องศาหรือเป็นแบบบานเล่ือน และมีสัญลักษณ์แยกกันต้องมีขนาดพื้นท่ีของห้องไม่น้อยกว่า คนพกิ ารติดไว้ท่ีประตู0.90เมตร แต่ถ้าห้องน้าและห้องส้วมรวมอยู่ในห้องเดียวกันต้องมีพื้นท่ีภายในไม่น้อยกว่า ก) บันไดของอาคารท่ีใช้เป็นท่ีชุมนุมของคน จานวนมาก เช่น บันไดของห้องประชุมหรือห้องบรรยาย1.50 ตารางเมตร ท่ีมีพ้ืนท่ีรวมตั้งแต่ 500 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันได ห้องรับประทานอาหารหรือสถานบริการท่ีมีพ้ืนท่ีรวม ตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบันไดของอาคาร นั้นท่ีมีพ้ืนท่ีรวมทั้งแต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ต้องมี ความกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่างน้อย 2 บันได ถา้ มีบันไดเดยี วให้มีความกวา้ งไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร2-27

2.6 การศึกษาและเปรยี บเทยี บอาคาร ตัวอย่างตา่ งประเทศและในประเทศภาพท่ี 2.23 : ภาพแสดงอาคารกรณศี กึ ษา 1 (บน,กลาง,ลา่ ง)ท่มี า http://www.archdaily.com/ 2-28

2.6.1 Play Landscape be-MINE เ ห ล่ า ผู้ ใ ช้ ส า ม า ร ถ เ ลื อ ก ไ ด้ ว่ า จ ะ เ ล่ น กั บ สถาปัตยกรรมแบบไหนตามใจชอบ ทั้งปี นด้วยเชือก ปี นArchitects : Carve , OMGEVING ด้วยปุ่ ม พักชมวิวระหว่างทาง มุดเข้าถ้า หรือจะไถลตัว ด้วยสไลเดอร์ก็ย่อมได้ปลุกพื้นท่ีเก่าให้มีวิญญาณอีกครั้งLocation : Beringen, Belgium ไม่จาเป็นต้องทาใหข้ ึงขังจนผู้ใช้เกรง็ แต่สามารถเลือกจะให้Architect in Charge : Elger Blitz, Jasper van เลน่ ไปกับประวตั ิศาสตรไ์ ดเ้ ช่นกนัde Schaaf (Carve),Area : 1200.0 sqmProject Year : 2016 แปลงเหมืองถ่านหินเก่าสู่กิจกรรมใหม่เป็นพื้นท่ีสวนสนุกแห่งการเล่น ตัวสวนนี้ออกแบบให้ล้อไปภูมิประเทศเดิมท่ีเป็นภูเขาขนาดย่อม พื้นท่ีถูกแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ทั้งปี นดงเสาท่ีมีเสาจานวนมากวางเป็นกริดพรอ้ มกบั ติดอุปกรณ์ให้ผู้ใช้เข้าไปเลน่ ได้เต็มท่ี สว่ นท่ี 2 คอื การเล่นกับระนาบท่ีพับไปมาเพ่ือส่ือถึงการทาเหมอื งท่ียากลาบาก และสว่ นสุดทา้ ยคอลานถา่ นหินท่ีอยู่สว่ นบนสุดของเขา ภาพท่ี 2.24 ภาพแสดงอาคารกรณศี กึ ษา 2 (บน,กลาง,ล่าง) ท่ีมา http://www.archdaily.com2-29

2.6.2 McDonalds Cycle โดยออกแบบพื้นท่ีการใช้งานเป็น 3 ส่วน หลักคือ ส่วนท่ีเป็นท่ีจอดจักยาน ส่วนคาเฟ่ และส่วนบริการ มีCenter at Millennium Park จานวน 3 ชั้นโดยชั้นใต้ดินจะเป็นพื้นท่ีจอดจักยาน ชั้น1 จะ เป็นห้องเก็บของ ห้องาบน้า พื้นท่ีเซอร์วิสจักยาน และส่วนArchitects : Muller&Muller ชั้นดาดฟ้าเป็นลานพลาซ่าให้เช่าจดั กิจกรรมเก่ยี วกับจักยานLocation : Chicago, IL, United StatesClient : City of Chicago Department of Transpor-tationArea : 1486.0 sqmProgram : parking for 300 bikesbike repair and parts shopshowers and lockers โครงการน้ีตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมอื งชิคาโก (Millennium Park) มฟี ังชันก์การใช้งานเป็นพื้นท่ีเก็บจักยานกว่า 300 คัน ล๊อคเกอร์เก็บของใช้ส่วนตัว ห้องอาบน้า และพื้นท่ีซ่ อมจักยาน มีส่วนอย่างมากตอ่ การส่งเสริมการขนส่งทางจักยานภายในเมืองชิคาโก ภาพท่ี 2.25 : ภาพแสดงอาคารกรณีศกึ ษา 3 (บน,กลาง,ลา่ ง) ท่มี า http://www.archdaily.com/31324 2-30


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook