Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore is55

is55

Published by thidaratchomdaeng, 2020-08-28 03:53:18

Description: is55

Keywords: วิจัย,บุคลากรม

Search

Read the Text Version

รายงานวิจยั ฉบบั สมบูรณ์ โครงการ : ปัจจัยส่วนบคุ คลและทศั นคติของบุคลากรท่เี ปน็ คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งของคณะ หน่วยงาน ทมี่ ตี อ่ กระบวนการจัดทาบรหิ ารความเสี่ยง ของมหาวทิ ยาลยั นเรศวร (A Study On Attitude Of Faulty Risk Management Staff Towards Naresuan University Risk Management Program) โดยนางสาวประไพรตั น์ ไวทยกลุ และคณะ มีนาคม 2556

สญั ญาเลขที่ R2555D036 รายงานวจิ ัยฉบบั สมบรู ณ์ โครงการ : ปจั จยั สว่ นบคุ คลและทัศนคติของบุคลากรที่เป็นคณะกรรมการบริหารความ เส่ยี งของคณะ หน่วยงาน ทม่ี ีตอ่ กระบวนการจัดทาบริหารความเสย่ี ง ของมหาวทิ ยาลัยนเรศวร (A Study On Attitude Of Faulty Risk Management Staff Towards Naresuan University Risk Management Program) คณะผู้วจิ ยั สังกัด สานักงานสภามหาวิทยาลยั นเรศวร 1. นางสาวประไพรัตน์ ไวทยกุล 2. นางลดั ดา กิจนพศรี 3. นายธนวรรธน์ ยอดบุรี 4. นายจกั รฤษณ์ สนอ่อง 5. นายปราการ นทีประสิทธิพร 6. นายอทิ ธิชยั ออ่ นนอ้ ม 7. นางสาวสุดารัตน์ สิงหเดช 8. นายณัฎฐเอก แกว้ วรรณดี 9. นางสาวปรางทพิ ย์ แก้วประสิทธิ์ สนบั สนุนโดยกองทนุ วิจยั มหาวิทยาลยั นเรศวร

กติ ตกิ รรมประกาศ วิจยั สถาบนั เรื่อง ปัจจัยส่วนบุคคลและทัศนคติของบุคลากรท่ีเป็นคณะกรรมการบริหารความ เสีย่ งของคณะ หน่วยงานท่ีมีต่อกระบวนการจัดทาบริหารความเส่ียงของมหาวิทยาลัยนเรศวร สาเร็จลุล่วง ได้ด้วยความกรุณา อนุเคราะห์จากคณะกรรมการจัดทาวิจัยสถาบันประจาสานักงานสภามหาวิทยาลัย นเรศวร ท่สี นับสนุนการดาเนินงานจัดทาวิจัยสถาบันเป็นอยา่ งดียงิ่ มาโดยตลอด นอกจากนี้ คณะผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.รัตนะ บัวสนธ์ ท่ีได้กรุณาให้ ข้อคิด คาแนะนา ช่วยเหลือในการแนะแนวทางการจัดทางานวิจัยที่ถูกต้อง จึงทาให้งานวิจัยสถาบัน ดังกลา่ วเสร็จสมบรู ณ์ด้วยดี ท้ายนี้ ขอขอบพระคุณ ผู้อานวยการ หัวหน้างาน และบุคลากร สานักงานสภามหาวิทยาลัย นเรศวร ที่ให้กาลังใจ ความช่วยเหลือ แนะนา ในการทางานวิจัยสถาบันจนงานสาเร็จลุล่วงด้วยดี นางสาวประไพรัตน์ ไวทยกุล หัวหน้าโครงการวิจัย

ช่อื เรือ่ ง ปัจจัยส่วนบุคคลและทัศนคติของบุคลากรท่ีเป็นคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของ คณะ หน่วยงานที่มีต่อกระบวนการจัดทาบริหารความเส่ียงของมหาวิทยาลัยนเรศวร ผู้วิจยั คณะกรรมการจัดทาวิจัยสถาบันประจาสานักงานสภามหาวิทยาลัยนเรศวร ทีป่ รกึ ษา รองศาสตราจารย์ ดร.รตั นะ บัวสนธ์ คาสาคัญ ทศั นคติ ความเสยี่ ง บทคัดยอ่ รายงานการวิจัยสถาบันฉบับน้ีจัดทาข้ึนเพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลท่ีส่งผลต่อการบริหารความ เสี่ยง และปัจจัยด้านทัศนคติท่ีสัมพันธ์ต่อการบริหารความเสี่ยง รวมถึงการสร้างสมการทานายของปัจจัย ด้านทัศนคติท่ีมีต่อการบริหารความเสี่ยงพร้อมข้อเสนอแนะ ความเข้าใจ ทัศนคติของบุคลากรในคณะ หนว่ นงาน ทด่ี ูแลและจัดทาบริหารความเสี่ยงภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร ซ่ึงผลการวิจัยในครั้งนี้จะนามา พัฒนาในระบบการจัดทาบริหารความเส่ียง ในงานประสานงานคณะกรรมการตรวจสอบประจา มหาวิทยาลัยและคณะกรรมการพิจารณาตาแหน่งทางวิชาการ (คตส.) ต่อไป โดยทาการสุ่มตัวอย่างแบบ เจาะจง (Purposive sampling) ซ่ึงมีกลุ่มตัวอย่างรวมจานวนท้ังสิ้น 554 คน จานวนกลุ่มด้วยหน่วยงานท่ี สังกัด ได้แก่ กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และหน่วยงานสนับสนุน โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ( x ) ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ปัจจัยส่วนบุคคลและทัศนคติของบุคลากรที่เป็นคณะกรรมการบริหารความเส่ียงของคณะ หน่วยงาน ที่มีต่อกระบวนการจัดทาบริหารความเส่ียง พบว่า ค่าเฉลี่ยรวมทัศนคติด้านความเข้าใจ อยู่ใน ระดับปานกลาง สาหรับระดับทัศนคติปัจจัยด้านความรู้สึกของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ค่าเฉลี่ยรวม ทัศนคติด้านความรู้สึก อยู่ในระดับปานกลาง ในส่วนระดับทัศนคติปัจจัยด้านพฤติกรรมของผู้ตอบ แบบสอบถาม ค่าเฉล่ียรวมทัศนคติด้านพฤติกรรม อยู่ในระดับปานกลาง สาหรับทัศนคติเก่ียวกับ กระบวนการจัดทาบริหารความเส่ียง มหาวิทยาลัยนเรศวรของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ค่าเฉลี่ยรวม ทัศนคตเิ กี่ยวกับกระบวนการจัดทาบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลยั นเรศวร อยู่ในระดับปานกลาง ในสว่ นทศั นคติกบั ความสามารถในการจัดทาบริหารความเส่ียง มหาวิทยาลัยนเรศวร ของผู้ตอบ แบบสอบถาม พบว่า ความสามารถจัดทาบริหารความเสี่ยงได้ทุกกระบวนการตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง ทาไม่ได้มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 59.90 ความสามารถใช้กลยุทธ์ Terminate Transfer Treat และ Take ได้อย่างถูกต้อง ทาไม่ได้มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 52.70 ความสามารถนาแนวทางในการลดความเส่ียงไป ปฏบิ ตั ใิ นหนว่ ยงานของท่านไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล ทาไม่ได้มากท่ีสุดคิดเป็นร้อยละ 73.10 สามารถถ่ายทอดให้บคุ ลากรในองค์กรของท่านได้อย่างถูกต้อง ทาไมไ่ ดม้ ากท่สี ุด คดิ เป็นร้อยละ 64.80

Title Individual Factors and Attitudes of Personnel as Risk Management in Faculty, Organization on Risk Management Authors Process o Naresuan University Advisor Institutional Research Committee at Office of Naresuan Keywords University Council Assoc.Prof. Rattana Buosonte Attitude, Risk ABSTRACT The purposes of this institutional research report were to study individual factors on risk management and attitudes factors related to risk management and to create prediction equations of attitudes factors on risk management; and suggestions. Understanding, attitudes of Personnel who were care and prepare of risk management in faculty, organization, Naresuan University, This result will be developed in risk management system for coordination university audit committee and academic rank assessment committee. The samples were 554 people on their groups of study; health sciences, Science and technology, humanities and social sciences. and support organization with obtained by purposive sampling. The questionnaire was used as data collection instrument. Statistical analyses were percentage, mean ( x ), standard deviation (S.D), and One-way ANOVA. Individual factors and attitudes of personnel as risk management committee in faculty, organization on risk management process of Naresuan University found that attitude for understanding, felling, behavior, and risk management process of Naresuan University were overall at moderate level. The attitudes and ability to risk management of Naresuan University found that The most ability of risk management all process as follow steps correctly cloud not do it about 59.90%, use Terminate Transfer Treat Take strategy cloud not do it about 52.70%, bring the guidelines on risk reduction to practice in your organization effectively and efficiently cloud not do it about 73.10%, and transfer to personnel in your organization correctly cloud not do it about 64.80%,

บทสรุปผู้บริหาร เรือ่ ง ปจั จยั ส่วนบคุ คลและทัศนคตขิ องบุคลากรทเี่ ป็นคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของคณะ หน่วยงาน ท่ีมตี ่อกระบวนการจดั ทาบริหารความเส่ยี ง ของมหาวทิ ยาลยั นเรศวร --------------------------- โดย....สานกั งานสภามหาวทิ ยาลยั หลกั การและเหตผุ ล เนื่องจากภารกิจหลักท่ีสถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบัติมี 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การ วจิ ัย การให้บริการวิชาการแก่สังคมและการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ภารกิจท้ัง 4 ประการดังกล่าว มีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนาประเทศ ท้ังระยะส้ันและระยะยาว ปัจจุบันมีปัจจัยภายในและ ภายนอกที่ทาให้การประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นสิ่งที่จะต้องเร่งดาเนินการ คือ คุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาและบัณฑิตภายในประเทศมีแนวโน้มจะมีความแตกต่างกันมากข้ึน ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียแก่สังคมสถาบันอุดมศึกษา จึงมีความจาเป็นที่จะต้องสร้างความมั่นใจแก่สังคมว่า สามารถพัฒนาองค์ความรู้และผลิตบัณฑิตโดยจะต้องให้ข้อมูลสาธารณะท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสีย สังคมต้องการระบบอุดมศึกษาท่ีเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสีย มีส่วนร่วมมีความโปร่งใส และมีความ รับผิดชอบตรวจสอบได้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ในหมวดที่ 5 ที่ว่าด้วยการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ได้กาหนดให้คณะกรรมการ การอดุ มศึกษามหี นา้ ท่พี จิ ารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีสอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยคานึงถึงความเป็นอิสระ และความเป็นเลิศทางวิชาการของสถาบันอุดมศึกษาคณะกรรมการการอุดมศึกษา จึงได้จัดทามาตรฐาน การอุดมศึกษาเพื่อใช้เป็นกลไกระดับกระทรวงระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษาและระดับหน่วยงาน เพ่ือนาไปสู่การกาหนดนโยบายการพัฒนาการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาต่อไป ดังน้ันแนวทางการ พัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในและมาตรฐานตัวบ่งชี้แ ละเกณฑ์ประเมิน คุณภาพ มาตรฐานเป็นกรอบสาคัญในการดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา กอร์ปด้วยสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนดให้มหาวิทยาลัยต่างๆ ต้องดาเนินการเก่ียวกับการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นมหาวิทยาลัยในกากับและต้อง ปฏิบัติตามทุกตัวบ่งช้ี และจากองค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ท่ี 7.4 ระบบการ บริหารความเสี่ยง เพ่ิมขึ้นและการปรับเปล่ียนอยู่ตลอดเวลา ซ่ึงมหาวิทยาลัยนเรศวร สานักงานสภา มหาวิทยาลัยนเรศวร งานประสานงานคณะกรรมการตรวจสอบประจามหาวิทยาลัยและคณะกรรมการ พิจารณาตาแหน่งทางวิชาการ (คตส.) ได้เป็นผู้ดาเนินการประสานงานเก็บรวบรวมข้อมูลและให้ความรู้ และศึกษาเกี่ยวกบั ระบบบริหารความเส่ยี งเพิ่มเติมเพอ่ื ดาเนินการเกย่ี วกับตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบบริหารความ เส่ียง ของมหาวิทยาลัยนเรศวร และประสานงานกับคณะ หน่วยงานทุกหน่วยงานให้เข้าใจและสามารถ ปฏิบัติจดั ทาระบบบริหารความเสีย่ งในแตล่ ะคณะ หนว่ ยงานได้อย่างถูกต้อง แต่ปัญหาของการจัดทาระบบ บริหารความเสี่ยงยังทาให้ คณะ หน่วยงานต่างๆ ยังไม่เข้าใจในการจัดทาระบบบริหารความเส่ียง และทา

ให้การเกิดการปฏิบัติและจัดทาระบบบริหารความเส่ียงผิดพลาด ซึ่งเกิดจากความไม่เข้าใจ ความสับสน ของการจัดทาบริหารความเส่ียงของ คณะ หน่วยงาน และคณะ หน่วยงานมีการเปล่ียนแปลงผู้ดูแลจัดทา บรหิ ารความเส่ยี ง จึงทาให้คะแนนยงั ไม่ผา่ นเกณฑป์ ระกันคุณภาพในบางคณะ หรือหน่วยงาน และปัจจุบัน ก็มีหน่วยงานใหม่ก่อต้ังเพ่ิมขึ้นจากปัญหาน้ีทาให้หลายคณะ หน่วยงานยังต้องการทาความเข้าใจเกี่ยวกับ การจัดทาบริหารความเส่ียงเพิ่มขึ้นเพ่ือให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น จึงทาให้ สานักงานสภามหาวิทยาลัย มองเห็นความสาคัญจากจึงสนใจที่จะทัศนคติของบุคลากรท่ีเป็นคณะ กรรมการบริหารความเส่ียงของคณะ หน่วยงาน ท่ีมีต่อกระบวนการจัดทาบริหารความเส่ียง ของ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร เพือ่ นาผลท่ไี ด้มาพัฒนางานต่อไป จดุ มุง่ หมายของการวิจัย 1. เพ่ือศึกษาและเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลท่ีส่งผลต่อการบริหารความเส่ียง ปัจจัยด้าน ทศั นคติทสี่ มั พันธ์ต่อการบรหิ ารความเสี่ยง 2. เพอ่ื สรา้ งสมการทานายของปจั จัยด้านทัศนคตทิ ี่มีต่อการบริหารความเส่ียง สมมติฐานการวิจยั 1. ปัจจัยสว่ นบุคคลมีผลต่อการจัดทาบริหารความเส่ียง 2. ปัจจัยทัศนคตมิ ีผลต่อการจัดทาบริหารความเสี่ยง ความสาคญั ของการวิจัย 1. ทราบถึงความเข้าใจของกลุ่มบุคคลากรในการจัดทาบริหารความเส่ียงของคณะ และ หน่วยงาน ต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร และ ทัศนคติของบุคลากรในคณะ หน่วนงาน ที่ดูแลและ จดั ทาบรหิ ารความเส่ียงของคณะ และหน่วยงาน ตา่ งๆ ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร 2. สามารถนาผลการวิจัยมาพัฒนาในระบบการจัดทาบริหารความเส่ียงภายในงานของสานัก งานสภามหาวิทยาลัย และคณะ หน่วยงานตา่ งๆ ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร ขอบเขตของการวิจัย กาหนดขอบเขตการศึกษาเป็น 3 ด้าน คือ ขอบเขตด้านเนื้อหา ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล และ ขอบเขตด้านตัวแปร ซ่งึ มรี ายละเอียดดังน้ี 1. ขอบเขตด้านเน้ือหา ปัจจัยส่วนบุคคลและทัศนคติของบุคลากรท่ีเป็นคณะกรรมการบริหาร ความเสย่ี งของคณะ หนว่ ยงาน ท่ีมตี อ่ กระบวนการจัดทาบริหารความเสี่ยงของมหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2. ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล ประชากร ได้แก่ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของคณะ หน่วยงาน ของมหาวิทยาลยั นเรศวร รวมจานวนทั้งส้ิน 554 คน

3. ขอบเขตด้านตัวแปร ตัวแปรตาม ได้แก่ กระบวนการจัดทาบริหารความเส่ียง มหาวิทยาลัย นเรศวร และตัวแปรอิสระแบ่งเป็น ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ ตาแหน่ง ประสบการณ์การทางาน และ ทศั นคติ ได้แก่ ความรเู้ ข้าใจ ความรสู้ ึก พฤตกิ รรม กล่มุ ตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างทใ่ี ช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คณะกรรมการบรหิ ารความเส่ียงระดับคณะ หน่วยงาน ตา่ งๆ ภายในมหาวทิ ยาลัยนเรศวร รวมท้ังสิ้น 488 คน โดยใชว้ ิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครอ่ื งมือการวจิ ยั การรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ซ่ึงกลุ่มตัวอย่างจะเป็นผู้กรอกแบบสอบถาม (Self-Administrated Questionnaire) แบ่งเป็น 3 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนท่ี 1) ข้อมูลด้านปัจจัยส่วน บุคคล ส่วนที่ 2) ข้อมูลเก่ียวกับปัจจัยด้านทัศนคติเก่ียวกับความเข้าใจ ความรู้สึกและพฤติกรรมในการ จดั ทาบริหารความเส่ียง ซง่ึ ประกอบดว้ ย ปจั จัยด้านความเข้าใจ ปัจจัยด้านความรู้สึก ปัจจัยด้านพฤติกรรม ในสว่ นที่ 3) กระบวนการจัดทาบรหิ ารความเสี่ยง มหาวทิ ยาลยั นเรศวร การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู แบบสอบถามเพือ่ ใชใ้ นการวิจัยครัง้ น้ี คณะผวู้ จิ ยั สรา้ งขึ้นโดยมขี ้ันตอนในการสร้างดังต่อไปน้ี 1.1 รวบรวมข้อมูลจานวนของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของคณะ หน่วยงาน ของ มหาวิทยาลยั 1.2 ศึกษาเอกสาร ข้อมูลหนังสือ และคู่มือบริหารความเส่ียง ต่างๆ เพื่อท่ีจะนามาออกแบบ สอบถามในการวิจัยคร้ังนี้เพ่ือท่ีจะได้ครอบคลุมกบั เน้ือหาและกรอบแนวคิดในการวิจัยครัง้ นี้ 1.3 ร่างแบบสอบถาม 1.4 นาแบบสอบถามไปทดลองใชก้ ับประชากรท่ีไมใ่ ชก่ ล่มุ ตัวอยา่ ง จานวน 30 คน 1.5 นาผลการทดลองมาวิเคราะหป์ ัญหาที่เกิดขึ้น และปรบั ปรุงแบบสอบถามอีกครั้ง 1.6 พิมพ์แบบสอบถามเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลต่อไป ซึ่งทาการจัดส่งเวียนไปตามคณะและ หนว่ ยงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงต่อไป วธิ กี ารวเิ คราะหข์ อ้ มูล หลังจากที่ผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลและตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อยแล้ว จะนาแบบสอบถาม ท่ีได้ทั้งหมดมาลงรหัส (Coding) เพ่ือไปประมวลผลและคานวนหาค่าสถิติที่ใช้ในการวิจัย โดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอรส์ าเรจ็ รูป ซึ่งมขี นั้ ตอนดงั นี้ 1.1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามวิเคราะหโ์ ดยการแจกแจงความถี่ และร้อยละ

1.2 ข้อมูล ระดับปัจจัยด้านทัศนคติเก่ียวกับความเข้าใจ ความรู้สึกและพฤติกรรมในการจัดทา บริหารความเส่ียง (ส่วนที่ 2) กระบวนการจัดทาบริหารความเส่ียงมหาวิทยาลัยนเรศวร (ส่วนท่ี 3) และ ความสามารถในการจัดทาบริหารความเสี่ยง (ส่วนท่ี 3 ตอน 2) ทั้งโดยรวมแต่ละด้าน และแต่ละข้อย่อย วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉล่ีย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจาแนกตามระดับทัศนคติของแต่ละบุคคลใน การศึกษาทัศนคติของบุคลากรเก่ียวกับความเข้าใจ ความรู้สึก และพฤติกรรม ในการจัดทาบริหารความ เสี่ยงและความสามารถในการจัดทาบริหารความเส่ียง โดยการใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบ่ียงเบน มาตรฐาน (Standard Deviation) 1.3 การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามเพื่อประเมินเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ ในการวิเคราะห์คร้ังน้ีใช้สถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statics) แสดงค่า ร้อยละ ค่าเฉล่ีย และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน หลังจากท่ีผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลและตรวจสอบความถูกต้อง เรียบร้อยแล้ว จะนาแบบสอบถามท่ีได้ท้ังหมดมาลงรหัส (Coding) เพื่อไปประมวลผลและคานวนหา คา่ สถิตทิ ี่ใช้ในการวิจัย โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรปู ซ่งึ มขี นั้ ตอนดังน้ี 1.4 ขอ้ มลู ทวั่ ไปเก่ียวกับผู้ตอบแบบสอบถามวิเคราะหโ์ ดยการแจกแจงความถี่และร้อยละ 1.5 ข้อมูล ระดับปัจจัยด้านทัศนคติเก่ียวกับความเข้าใจ ความรู้สึกและพฤติกรรมในการจัดทา บริหารความเสี่ยง (ส่วนที่ 2) กระบวนการจัดทาบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยนเรศวร (ส่วนท่ี 3 ตอนที่ 1) วิเคราะห์ความสามารถในการจัดทาบริหารความเสี่ยง (ส่วนที่ 3 ตอน 2) วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานจาแนกตามระดับทัศนคติของแต่ละบุคคลในการศึกษาทัศนคติของบุคลากร เกี่ยวกับความเข้าใจ ความรู้สึก และพฤติกรรม ในการจัดทาบริหารความเสี่ยงและความสามารถในการ จดั ทาบรหิ ารความเสี่ยง โดยการใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) และคา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 1.6 การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามเพื่อประเมินเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ ในการวิเคราะห์ครั้งนี้ใช้สถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statics) แสดงค่าร้อย ละ คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน สรปุ ผลการวจิ ยั การวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 231 คน พบว่าเป็นเพศหญิงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ71.40 อยู่ในช่วงอายุ 36 – 40 ปี มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 25.70 ส่วนใหญ่เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 54.30 เป็นผู้มีประสบการณ์มากกว่า 5 ปี มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 67.10 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นกลุ่มหน่วยงานสนับสนุน มากที่สุด คดิ เป็นร้อยละ 58.70 ระดับทัศนคติของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ระดับทัศนคติปัจจัยด้านความเข้าใจ โดยรวมมี คา่ เฉลี่ยอยู่ในระดบั ปานกลาง เม่ือแยกพิจารณาเปน็ รายด้านพบว่า ระดับทัศนคตปิ ัจจัยด้านความรู้สึก มคี ่าเฉลี่ยอยู่ในระดบั ปานกลาง ระดบั ทัศนคติปัจจัยดา้ นพฤติกรรม มีค่าเฉล่ยี อยูใ่ นระดับปานกลาง

สาหรับด้านทัศนคติเก่ียวกับกระบวนการจัดทาบริหารความเส่ียง มหาวิทยาลัยนเรศวรของ ผ้ตู อบแบบสอบถาม มคี า่ เฉล่ยี อยู่ในระดบั ปานกลาง ในด้านทัศนคติกับความสามารถในการจัดทาบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยนเรศวร พบว่า ความสามารถจัดทาบริหารความเส่ียงได้ทุกกระบวนการตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง ทาไม่ได้มากที่สุด คิด เป็นร้อยละ 59.90 และทาได้ คิดเป็นร้อยละ 40.10 ส่วนใหญ่ ความสามารถใช้กลยุทธ์ Terminate Transfer Treat และ Take ได้อย่างถูกต้อง ทาไม่ได้มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 52.70 และทาได้ คิดเป็น ร้อยละ 47.30 และความสามารถนาแนวทางในการลดความเสี่ยงไปปฏิบัติในหน่วยงานของท่านได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทาไม่ได้มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 73.10 และทาได้ คิดเป็นร้อยละ 26.90 และส่วนใหญ่ความสามารถนาความรู้และความเข้าใจในการจัดทาบริหารความเส่ียง สามารถถ่ายทอดให้ บุคลากรในองค์กรของท่านได้อย่างถูกต้อง ทาไม่ได้มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 64.80 และทาได้ คิดเป็นร้อย ละ 35.20 อภปิ รายผลการวจิ ัย ปจั จยั ส่วนบคุ คลมผี ลต่อการจดั ทาบริหารความเส่ียง ผลดังต่อไปน้ี เพศหญิง มีความสามารถวิเคราะห์ตารางผลพิจารณาคัดเลือกโครงการและจัดทาลาดับ ความสาคัญของโครงการตามหลักเกณฑ์ที่กาหนด หรือ (NU.RM1) ได้อย่างถูกต้อง โดยการวิเคราะห์ กระบวนการและจัดทาในตาราง (NURM.3) ได้อย่างถูกต้อง วิเคราะห์จัดทาตารางการระบุความเสี่ยงตาม หลักธรรมาภิบาล (NURM.4) ได้อย่างถูกต้อง และสามารถวิเคราะห์เกณฑ์มาตรฐานการกาหนดค่า ประเมินผลกระทบ และมาตรฐานระดับโอกาสที่เกิดความเสี่ยง (NU.RM.5) ได้อย่างถูกต้อง รวมถึง สามารถวิเคราะห์เพื่อจัดทาแผนการบริหารความเส่ียง (NURM.9) ได้อย่างถูกต้อง ดังนั้นจึงทาให้ความ เส่ียงลดลง จากท่ีได้ทาการวิเคราะห์แผนการบริหารความเส่ียง (NU.RM.9) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากกวา่ เพศชาย เพศ มีความสัมพันธ์ระหว่าง ความสามารถจัดทาบริหารความเสี่ยงได้ทุกกระบวนการตาม ข้ันตอนได้อย่างถูกต้อง และความสามารถนาแนวทางในการลดความเสี่ยงไปปฏิบัติในหน่วยงานของท่าน ได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล รวมถงึ ความสามารถนาความรู้และความเข้าใจในการจัดทาบริหาร ความเส่ียง สามารถถ่ายทอดให้บุคลากรในองค์กรของหน่วยงานได้อย่างถูกต้อง พบว่า เพศหญิงส่วนใหญ่ บอกวา่ ทาได้ ช่วงอายุ มีความสัมพันธ์ระหว่าง ความสามารถจัดทาบริหารความเสี่ยงได้ทุกกระบวนการตาม ขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง และสามารถใช้กลยุทธ์ Terminate Transfer Treat และ Take ได้อย่างถูกต้อง พบว่า ช่วงอายุ 46 ปีขึน้ ไป ส่วนใหญ่บอกว่า (ทาได)้

ปัจจัยทศั นคตมิ ผี ลตอ่ การจดั ทาบริหารความเสีย่ ง ผลดงั ต่อไปน้ี 1. ด้านพฤติกรรมส่งผลต่อกระบวนการจัดทาบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้แก่ กระบวนการในความสามารถวิเคราะห์จัดทารายงานการประเมินผลการบริหารความเส่ียง (NU.RM.10) ได้อย่างถูกต้อง และกระบวนการในความสามารถทาให้ความเส่ียงลดลง จากที่ทาการวิเคราะห์แผนการ บริหารความเสี่ยง (NU.RM.9) ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 2. ด้านความเข้าใจและด้านความรู้สึก ไม่ส่งผล ต่อกระบวนการจัดทาบริหารความเส่ียง มหาวิทยาลยั นเรศวร

สารบญั บทที่ หนา้ 1 บทนา…………………………………………………………….……...................................…..…… 1 ความเป็นมาของปัญหา…………………….........………......................…….........……… 1 จดุ มงุ่ หมายของการวจิ ยั …………………….........……………..............................……… 4 สมมตฐิ านการวจิ ัย…..…………………........................…….........……………....…...…… 4 ความสาคัญของการวิจัย………………......................…….........……………........……… 4 ขอบเขตของการวจิ ยั ...……………………….........…………......................…....…...…… 4 นิยามศัพท์เฉพาะ.......………………………................................…………...…....……… 5 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง............................................................................... 7 ปจั จยั ส่วนบุคคล ........……………………….........………..........................…………...… 7 ปจั จัยทางด้านทัศนคต.ิ ……………………….........……………...…….......................…… 8 ปัจจัยทางด้านความเสย่ี ง…………………….........……………......................…………… 11 นโยบายและพันธกจิ ของมหาวิทยาลยั นเรศวร.........……………...…..............……… 13 กรอบโครงสร้าง COSO …………………….........……………...…..….....................…… 15 งานวิจยั ท่ีเกยี่ วข้อง……………………….........……….......................….....…....……...… 29 กรอบแนวความคดิ ของโครงการวิจัย ……….........……….................……....………... 33 3 วธิ ีดาเนนิ การวจิ ัย...................................................................................................... 34 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่างทใ่ี ชใ้ นการวิจยั …………………….................…......……… 34 เครือ่ งมือท่ีใช้ในการวจิ ัย.....………………….........……………............................……… 35 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู .……………………….........……………....….........................…… 36 วิธกี ารวิเคราะห์ข้อมูล..……………………….........…………….........................……...… 36 สถติ ิทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล……………….........……………..........................……… 37

สารบญั (ต่อ) บทที่ หนา้ 4 ผลการวจิ ยั …………………......……………………………………...............................……......…… 38 ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ทัว่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม.........……………....……..............……… 39 ทดสอบสมมติฐานที่ 1 ปัจจัยส่วนบุคคลส่งผลต่อกระบวนการจัดทาบริหารความ เสี่ยง...........……………............…...…………....………..................................…… 46 ทดสอบสมมติฐานท่ี 2 ปัจจัยด้านทัศนคติด้านความเข้าใจ ด้านความรู้สึก ด้าน พฤติกรรมสง่ ผลต่อกระบวนการจัดทาบรหิ ารความเสย่ี ง……........…....….... 71 5 บทสรปุ ......…………………......………..............................…………………………………......…… 79 สรุปผลการวิจัย...................................................……………....………...................…… 79 อภิปรายผลการวิจยั ............……………............…...…………....…….....................……… 81 ข้อเสนอแนะสาหรบั การนาไปใช้...........................................………....…................... 84 ขอ้ เสนอแนะสาหรบั งานวิจัยในคร้งั ต่อไป................................………................….... 84 บรรณานกุ รม................................................................................................................................. 85 ภาคผนวก………………………....……………………………………….………………………………………………..... 88 ประวตั ผิ ู้วิจยั ………………………………………………………………..………………………………………..…........ 94

สารบญั ตาราง ตาราง หนา้ 1 แสดงจานวนและคา่ ร้อยละของข้อมลู ทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม (N =231)………… 39 41 2 แสดงทัศนคติดา้ นความเขา้ ใจของผู้ตอบแบบสอบถาม (N =232).....….........………….... 42 43 3 แสดงทัศนคตดิ า้ นความรสู้ กึ ของผตู้ อบแบบสอบถาม (N =232)...………....…..…………... 44 45 4 แสดงทศั นคตดิ ้านพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม (N =232)………....….........…….... 46 5 แสดงทัศนคติกระบวนการจัดทาบริหารความเส่ียงมหาวิทยาลัยนเรศวร 11 ด้าน ของ ผ้ตู อบแบบสอบถาม (N =231)……………………………......………..........……….......... 47 6 แสดงจานวนและรอ้ ยละความสามารถในการจดั ทาบริหารความเส่ียงของข้อมูลผูต้ อบ 48 แบบสอบถาม (N =227)……………………………………............……..............….......... 49 51 7 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นต่อกระบวนการจัดทาบริหารความเสี่ยง 52 โดยจาแนกตามอายุ ตาแหน่งหน้าท่ี กลุ่มหน่วยงานที่สังกัด โดยใช้สถิติ one way Analysis of variance (N=229)…………………………….............…...….......... 53 8 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉล่ียความคิดเห็นต่อความสามารถทาให้ความเสี่ยงลดลง จากที่ท่านทาการวิเคราะห์แผนการบริหารความเสี่ยง (NU.RM.9) ได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพโดยจาแนกตามอายุ ตาแหน่งหนา้ ท่ี กลุม่ หน่วยงานท่ีสังกัด โดยใช้ สถิติ one way Analysis of variance (N=229)……………......………............…… 9 แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นต่อความสามารถวิเคราะห์จัดทารายงาน การประเมินผลการบริหารความเสี่ยง (NU.RM.10) ได้อย่างถูกต้องโดยจาแนก ตามอายุ ตาแหน่งหน้าที่ กลุ่มหน่วยงานท่ีสังกัด โดยใช้สถิติ one way Analysis of variance (N=229)……………………………………...............…….…….... 10 แสดงข้อมูลเก่ียวกับกระบวนการจัดทาบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยนเรศวร แตกต่างระหวา่ งกลมุ่ เพศของผตู้ อบแบบสอบถาม (N=230)………...........………... 11 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับความสามารถจัดทาบริหารความเสี่ยงได้ทุก กระบวนการตามขั้นตอนไดอ้ ย่างถูกต้อง (N=226)……………………………....…….... 12 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับความสามารถใช้กลยุทธ์ Terminate, Transfer, Treat และTake ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง (N=225)……………………....….......... 13 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับความสามารถนาแนวทางในการลดความ เส่ียงไปปฏิบัติในหน่วยงานของท่านได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (N=226)…………………………………...........................................…....……...…..........

สารบัญตาราง (ตอ่ ) หนา้ ตาราง 14 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับท่านสามารถนาความรู้และความเข้าใจใน 54 การจัดทาบริหารความเส่ียง สามารถถ่ายทอดให้บุคลากรในองค์กรของท่านได้ 55 อย่างถกู ต้อง (N=226)…………………………......................…………....……...….......... 56 15 แสดงขอ้ มูลความสัมพนั ธ์ระหว่างช่วงอายุกับความสามารถจัดทาบริหารความเส่ียงได้ 57 ทกุ กระบวนการตามขนั้ ตอนไดอ้ ยา่ งถูกต้อง (N=225)…………...........…...………… 58 16 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างช่วงอายุกับความสามารถใช้กลยุทธ์ Terminate 59 Transfer Treat และTake ได้อย่างถูกตอ้ ง (N=224)……………...........………….... 60 17 แสดงขอ้ มูลความสมั พนั ธ์ระหว่างชว่ งอายุกับความสามารถนาแนวทางในการลดความ 61 เสี่ยงไปปฏิบัติในหน่วยงานของท่านได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (N=225)………………………………….............................................…....…..…………... 62 18 แสดงข้อมลู ความสัมพันธ์ระหว่างช่วงอายุกับความสามารถนาความรู้และความเข้าใจ 63 ในการจัดทาบริหารความเส่ียง สามารถถ่ายทอดให้บุคลากรในองค์กรของท่าน ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง (N=225)………………..................……………………....….........…….... 64 19 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งหน้าท่ีในปัจจุบันกับความสามารถจัดทา 65 บริหารความเสีย่ งได้ทกุ กระบวนการตามข้ันตอนไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง (N=225)……… 20 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งหน้าท่ีในปัจจุบันกับความสามารถใช้ กลยทุ ธ์ Terminate Transfer Treat และTake ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง (N=224)….. 21 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งหน้าที่ในปัจจุบันกับความสามารถนา แนวทางในการลดความเส่ียงไปปฏิบัติในหน่วยงานของท่านได้อย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลถูกต้อง (N=225)…………………………………............. 22 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งหน้าที่ในปัจจุบันกับความสามารถนา ความรู้และความเข้าใจในการจัดทาบริหารความเสี่ยง สามารถถ่ายทอดให้ บคุ ลากรในองคก์ รของท่านได้อยา่ งถูกต้อง (N=225)………………………………....... 23 แสดงขอ้ มูลความสมั พนั ธร์ ะหว่างประสบการณท์ างานทีอ่ ยใู่ นมหาวิทยาลัยนเรศวรกับ ความสามารถจัดทาบริหารความเส่ียงได้ทุกกระบวนการตามขั้นตอนได้อย่าง ถกู ต้อง (N=203)………………………..............................……………...........………….... 24 แสดงข้อมลู ความสัมพันธ์ระหวา่ งประสบการณท์ างานท่ีอยู่ในมหาวิทยาลัยนเรศวรกับ ความสามารถใช้กลยุทธ์ Terminate Transfer Treat และ Take ได้อย่าง ถกู ตอ้ ง (N=202)…………….................................………………………....…..…………... 25 แสดงข้อมลู ความสัมพนั ธ์ระหว่างประสบการณ์ทางานทอ่ี ยใู่ นมหาวิทยาลัยนเรศวรกับ ความสามารถนาแนวทางในการลดความเสี่ยงไปปฏิบัติในหน่วยงานของท่านได้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ล (N=203)…………….....................................

สารบัญตาราง (ตอ่ ) หน้า ตาราง 26 แสดงขอ้ มูลความสัมพนั ธ์ระหวา่ งประสบการณท์ างานที่อยใู่ นมหาวิทยาลัยนเรศวรกับ 66 ความสามารถนาความร้แู ละความเขา้ ใจในการจัดทาบริหารความเสี่ยง สามารถ ถ่ายทอดให้บุคลากรในองคก์ รของท่านได้อย่างถูกต้อง (N=203)……….…………… 67 27 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มหน่วยงานที่ท่านสังกัดอยู่ในปัจจุบันกับ 68 ความสามารถจัดทาบริหารความเส่ียงได้ทุกกระบวนการตามขั้นตอนได้อย่าง ถกู ต้อง (N=225)………………………...............................……………....……...….......... 69 28 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มหน่วยงานที่ท่านสังกัดอยู่ในปัจจุบันกับ 70 ความสามารถใช้กลยุทธ์ Terminate Transfer Treat และ Take ได้อย่าง 71 ถกู ตอ้ ง (N=224)………………................................………………....…......…...………… 73 75 29 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มหน่วยงานท่ีท่านสังกัดอยู่ในปัจจุบันกับ 77 ความสามารถนาแนวทางในการลดความเสี่ยงไปปฏิบัติในหน่วยงานของท่านได้ อยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล (N=225)……………………............................ 30 แสดงข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มหน่วยงานที่ท่านสังกัดอยู่ในปัจจุบันกับ ความสามารถนาความรแู้ ละความเขา้ ใจในการจัดทาบริหารความเสี่ยง สามารถ ถา่ ยทอดให้บคุ ลากรในองค์กรของทา่ นไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง (N=225)…………….......... 31 แสดงความสัมพันธ์ปัจจัยด้านความเข้าใจที่มีผลต่อกระบวนการจัดทาบริหารความ เส่ียง โดยใชส้ ถิตกิ ารวเิ คราะหก์ ารถดถอยพหุคณู ………............................…….... 32 แสดงความสมั พนั ธป์ จั จยั ดา้ นความรสู้ กึ ท่มี ีผลตอ่ กระบวนการจัดทาบริหารความเสี่ยง โดยใช้สถติ กิ ารวิเคราะหก์ ารถดถอยพหคุ ณู ……………........……….......……….......... 33 แสดงความสัมพันธ์ปัจจัยด้านพฤติกรรมท่ีมีผลต่อกระบวนการจัดทาบริหารความ เสยี่ งโดยใช้สถิติการวเิ คราะห์การถดถอยพหคุ ณู ………......……….......……….......... 34 แสดงความสัมพันธ์ปัจจัยด้านทัศนคติท้ังหมดที่มีผลต่อกระบวนการจัดทาบริหาร ความเสย่ี ง โดยใช้สถติ ิการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ………...........….……..........

สารบญั ภาพ ภาพ หนา้ 1 แสดงกราฟตัวบ่งชที้ ่ี 7.4………………………………….....………….......................…........... 3 2 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุประสงค์และองค์ประกอบของการบริหาร 20 ความเสยี่ ง........................……………………………………....………….…............................. 33 3 แสดงกรอบแนวความคิดของโครงการวจิ ัย………………....………................…...............

1 บทท่ี 1 บทนา ความเปน็ มาของปญั หา เนื่องจากภารกิจหลักที่สถาบันอุดมศึกษาจะต้องปฏิบัติมี 4 ประการ คือ การผลิตบัณฑิต การ วิจัย การใหบ้ ริการทางวิชาการแก่สงั คมและการทานุบารุงศลิ ปะและวัฒนธรรม การดาเนินการตามภารกิจ ทั้ง 4 ประการดังกล่าว มีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนาประเทศทั้งระยะส้ันและระยะยาว ปัจจุบันมี ปจั จยั ภายในและภายนอกหลายประการท่ีทาให้การประกันคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นส่ิงท่ี จะต้องเร่งดาเนินการ คือ คณุ ภาพของสถาบันอดุ มศึกษาและบัณฑิตภายในประเทศ มีแนวโน้มท่ีจะมีความ แตกต่างกันมากขึ้น ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียแก่สังคม ความท้าทายของโลกาภิวัฒน์ต่อการอุดมศึกษา สถาบันอุดมศึกษามีความจาเป็นท่ีจะต้องสร้างความม่ันใจแก่สังคมว่าสามารถพัฒนาองค์ความรู้และผลิต บัณฑิตได้ สถาบันอุดมศึกษาจะต้องให้ข้อมูลสาธารณะที่เป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสีย สังคมต้องการ ระบบอดุ มศกึ ษาทเ่ี ปดิ โอกาสให้ผูม้ ีสว่ นไดเ้ สยี มีสว่ นรว่ มมคี วามโปร่งใส และมีความรับผิดชอบตรวจสอบได้ (ทมี่ า : ค่มู อื การประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2553, ม.ค 2554.หน้า 1-2) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ในหมวดท่ี 5 ท่วี ่าดว้ ยการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรา 34 ได้กาหนดให้คณะกรรมการการอุดมศึกษามีหน้าที่ พิจารณาเสนอมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีสอดคล้องกับความต้องการตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาติ และสอดคล้องกบั มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ โดยคานงึ ถึงความเป็นอิสระและความเป็นเลิศทาง วชิ าการของสถาบันอุดมศึกษาคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้จัดทามาตรฐานการอุดมศึกษาเพ่ือใช้เป็น กลไกระดับกระทรวง ระดับคณะกรรมการการอุดมศึกษาและระดับหน่วยงาน เพ่ือนาไปสู่การกาหนด นโยบายการพัฒนาการอุดมศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาต่อไป มาตรฐานการอุดมศึกษาที่จัดทาขึ้นฉบับน้ี ได้ใช้มาตรฐานการศึกษาของชาติท่ีเปรียบเสมือนร่มใหญ่เป็นกรอบในการพัฒนาโดยมีสาระสาคัญที่ ครอบคลุมเปูาหมายและหลักการของการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทยและเป็นมาตรฐานที่ คานึงถึงความหลากหลายของกลุ่มหรือประเภทของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อให้ทุกสถาบันสามารถนาไปใช้ กาหนดพันธะกิจและมาตรฐานของการปฏิบัติงานได้ (ที่มา : คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศกึ ษาระดับอุดมศกึ ษา พ.ศ.2553, ม.ค 2554.หน้า 8) จงึ ทาใหม้ แี นวทางการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในและมาตรฐาน ตัวบง่ ชีแ้ ละเกณฑป์ ระเมนิ คุณภาพ มาตรฐานเป็นกรอบสาคัญในการดาเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา คือ มาตรฐานการอุดมศึกษา อย่างไรก็ตามในปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ยังต้องดาเนินการให้ได้ตาม มาตรฐานและหลักเกณฑ์อ่ืนๆท่ีเก่ียวข้องอีก เช่น มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษากรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษามาตรฐานเพ่ือการประเมิน

2 คุณภาพภายนอกของ สมศ. กรอบการปฏิบัติราชการตามมิติด้านต่างๆ ของสานักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) ในกรณีมหาวิทยาลัยของรัฐเป็นต้น และตัวบ่งช้ี เป็นข้อกาหนดของการ ประกนั คุณภาพในท่ีพัฒนาข้ึนในองค์ประกอบคุณภาพ 9 ด้านที่มีความครอบคลุมพันธกิจหลัก 4 ประการ ของการอุดมศกึ ษาและพนั ธกิจสนับสนุน ได้แก่ (1) ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนดาเนินการ (2) การผลิตบัณฑิต (3) กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา (4) การวิจัย (5) การบริการทางวิชาการแก่สังคม (6) การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม (7) การบริหารและการจัดการ (8) การเงินและงบประมาณ และ (9) ระบบและกลไกการประกันคณุ ภาพ ซึง่ ตวั บง่ ชี้ดังกลา่ วสามารถชี้วัดคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ตามมาตรฐาน การอุดมศึกษา มาตรฐานและหลกั เกณฑอ์ ่ืนๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั องคป์ ระกอบคณุ ภาพน้นั ๆ ได้ท้ังหมด จากสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากาหนดให้มหาวิทยาลัยต่างๆ ต้องดาเนินการ เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึ่งมหาวิทยาลัยนเรศวรเป็น มหาวทิ ยาลยั ในกากบั และต้องปฏิบัตติ ามทุกตัวบ่งชี้ และจากองค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ระบบการบริหารความเสี่ยง เพ่ิมข้ึนและการปรับเปล่ียนอยู่ตลอดเวลา ซ่ึงมหาวิทยาลัย นเรศวร สานักงานสภามหาวิทยาลัยนเรศวร งานประสานงานคณะกรรมการตรวจสอบประจา มหาวทิ ยาลยั และคณะกรรมการพิจารณาตาแหนง่ ทางวชิ าการ (คตส.) ได้เปน็ ผดู้ าเนินการประสานงานเก็บ รวบรวมขอ้ มูลและให้ความรู้ และศึกษาเกย่ี วกบั ระบบบริหารความเส่ียงเพิ่มเติมเพ่ือดาเนินการเก่ียวกับตัว บ่งช้ีที่ 7.4 ระบบบริหารความเสี่ยง ของมหาวิทยาลัยนเรศวร และประสานงานกับคณะ หน่วยงานทุก หน่วยงานให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติจัดทาระบบบริหารความเส่ียงในแต่ละคณะ หน่วยงานได้อย่าง ถูกต้อง แต่ปัญหาของการจัดทาระบบบริหารความเสี่ยงยังทาให้ คณะ หน่วยงานต่างๆ ยังไม่เข้าใจในการ จัดทาระบบบริหารความเส่ียง และทาให้การเกิดการปฏิบัติและจัดทาระบบบริหารความเสี่ยงผิดพลาด ข้อมูลจากประชุมการนาเสนอผลการดาเนินงานรอบ 9 เดือน (สกอ.) ระดับคณะวิชาและร ะดับ มหาวิทยาลัยประจาปีการศึกษา 2553 วันพฤหัสบดีที่ 7เมษายน พ.ศ.2554 ณ ห้องประชุมนเรศวร 6 ชั้น 3 สานักงานอธิการบดี จากภาพ 1 (ท่ีมา: ภาพรวมผลการประเมินระดับคณะวิชา, วันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2554)

3 ตวั บ่งชีท้ ่ี 7.4 ระบบบริหารความเส่ียง 7จานวนเกณฑ์ 6 5 4 3 2 1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สงั คมศาสตร์ คณะวชิ า/กลุ่มสาขาวชิ า ภาพ 1 แสดงกราฟตัวบ่งชี้ที่ 7.4 จากภาพ 1 แสดงกราฟตวั บง่ ช้ที ่ี 7.4 ดังกล่าวยังขาดข้อมูลระบบบริหารความเสีย่ งของคณะกลุ่ม สาขาทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสา ขาทางด้าน สังคมศาสตร์ ข้อมูลยงั คานวณไมค่ รบทงั้ 6 ข้อ ซ่ึงเกิดจากความไม่เข้าใจอย่างท่องแท้ ความสับสนของการ จัดทาบริหารความเสี่ยงของคณะ หน่วยงาน และคณะ หน่วยงานมีการเปลี่ยนแปลงผู้ดูแลจัดทาบริหาร ความเส่ียง จงึ ทาใหค้ ะแนนยังไมผ่ า่ นเกณฑ์ ของประกันคุณภาพในบางคณะ หรือหน่วยงาน และปัจจุบันก็ มีหน่วยงานใหม่ก่อตั้งเพิ่มข้ึนในมหาวิทยาลัยนเรศวร จากปัญหาน้ีทาให้หลายคณะ หน่วยงานยังต้องการ ทาความเข้าใจเก่ียวกับการจัดทาบริหารความเส่ียงเพิ่มข้ึนเพ่ือให้เข้าใจและสามารถปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งข้ึน จึงทาให้ สานักงานสภามหาวิทยาลัยนเรศวร มองเห็นความสาคัญจากปัญหานี้จึงมี ความสนใจทีจ่ ะศึกษาทัศนคติของบุคลากรที่เป็นคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของคณะ หน่วยงาน ท่ีมี อิทธิพลต่อการจัดทาบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยนเรศวร เพ่ือท่ีจะนามาพัฒนาในงานการจัดทา ระบบบริหารความเสี่ยงและทาให้คณะ หน่วยงานมีความเข้าใจท่ีตรงกันและสามารถพัฒนาการทางานให้ ถกู ต้องและมีประสิทธภิ าพสงู สุด

4 จากสภาพดังกล่าว จึงเป็นท่ีนา่ ศึกษาว่าบคุ ลากรท่ีเป็นคณะกรรมการบริหารความเส่ียงของคณะ หน่วยงาน มีทัศนคติในกระบวนการจัดทาบริหารความเส่ียงเป็นอย่างไรมีความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดทา บริหารความเสี่ยงของแต่ละคณะ หน่วยงานมากน้อยเพียงใด ท้ังน้ีเพื่อใช้ประโยชน์ต่อการจัดทาบริหาร ความเสี่ยงของคณะ หนว่ ยงาน และมหาวิทยาลยั นเรศวรตอ่ ไป จุดม่งุ หมายของการวจิ ัย 1. เพอื่ ศึกษาและเปรยี บเทียบปจั จยั ส่วนบุคคลท่สี ง่ ผลต่อการบรหิ ารความเสย่ี ง 2. เพื่อศกึ ษาปจั จัยดา้ นทัศนคติทส่ี มั พันธต์ ่อการบริหารความเสี่ยง 3. เพื่อสรา้ งสมการทานายของปจั จยั ดา้ นทัศนคติทีม่ ีต่อการบรหิ ารความเสย่ี ง สมมตฐิ านการวิจัย 1. ปจั จัยสว่ นบคุ คลมีผลต่อการจัดทาบริหารความเส่ยี ง 2. ปจั จัยทัศนคตมิ ผี ลตอ่ การจดั ทาบรหิ ารความเสยี่ ง ความสาคญั ของการวิจัย 1. ทาให้ทราบถึงความเข้าใจของกลุ่มบุคคลากรในการจัดทาบริหารความเสี่ยงของคณะ และ หน่วยงานต่างๆ ภายในมหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2. ทาให้ทราบถึงทัศนคติของบุคลากรในคณะ หน่วนงาน ท่ีดูแลและจัดทาบริหารความเสี่ยง ของคณะ และหน่วยงานตา่ งๆ ภายในมหาวทิ ยาลัยนเรศวร 3. สามารถนาผลการวิจัยมาพัฒนาในระบบการจัดทาบริหารความเส่ียง ของงานประสานงาน คณะกรรมการตรวจสอบประจามหาวิทยาลัยและคณะกรรมการพิจารณาตาแหน่งทางวิชาการ (คตส.) และคณะ หนว่ ยงานต่างๆ ภายในมหาวิทยาลยั นเรศวร ขอบเขตของการวิจยั ได้กาหนดขอบเขตการศึกษาเปน็ 3 ดา้ น คอื ขอบเขตดา้ นเน้ือหา ขอบเขตด้านแหล่งข้อมูล และ ขอบเขตด้านตวั แปร ซ่งึ มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 1. ขอบเขตด้านเนอ้ื หา ปัจจัยส่วนบุคคลและทัศนคติของบุคลากรท่ีเป็นคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงของคณะ หนว่ ยงาน ท่มี ตี อ่ กระบวนการจดั ทาบรหิ ารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยนเรศวร 2. ขอบเขตดา้ นแหล่งข้อมูล ประชากร ได้แก่ คณะกรรมการบริหารความเส่ียงของคณะ หน่วยงาน ของมหาวิทยาลัย นเรศวร (คาสั่งมหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ 3008/2554 เร่ือง แต่งต้ังคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มหาวทิ ยาลยั นเรศวร)

5 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บัณฑิตวิทยาลัย คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม คณะทนั ตแพทยศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะ มนุษยศาสตร์ คณะวิทยาการจดั การและสารสนเทศศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะสาธารณสุข ศาสตร์ คณะสงั คมศาสตร์ วทิ ยาลัยพลงั งานทดแทน สานักหอสมดุ สถาบนั เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน วิทยาลัยนานาชาติ วิทยาลัยโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยเพื่อการค้นคว้าระดับรากฐาน สถาน สัตว์ทดลองเพ่ือการวิจัย สถานการศึกษาอาเซียน อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือตอนล่าง สภาอาจารย์ กองกลาง กองกฎหมาย กองการบริหารงานบุคคล กองการศึกษาท่ัวไป กองกิจการนิสิต กองคลัง กอง บรกิ ารการศกึ ษา กองบรกิ ารวิชาการ กองบริหารงานการวิจัย กองประกันคุณภาพการศึกษา กองแผนงาน กองพัฒนากิจการต่างประเทศ กองอาคารสถานที่ สถานการศึกษาต่อเน่ือง สถานบริการเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร สถานพัฒนาวิชาการด้านภาษา สถานบ่มเพาะวิสาหกิจ สถานภูมิภาค เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศภาคเหนือตอนล่าง สถานอารายธรรมศึกษาโขง-สาละวิน สานักงาน ตรวจสอบภายใน โครงการหอพักนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร สานักงานสภามหาวิทยาลัยนเรศวร รวมเป็น 66 คน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับคณะ หน่วยงานต่างๆ อีกจานวน 488 คน รวมจานวน ทัง้ สน้ิ 554 คน 3. ขอบเขตด้านตัวแปร 3.1 ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ กระบวนการจัดทาบรหิ ารความเสีย่ ง มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 3.2 ตวั แปรอสิ ระ แบง่ เป็น 3.2.1 ปัจจัยสว่ นบคุ คล ได้แก่ เพศ ตาแหนง่ ประสบการณก์ ารทางาน 3.2.2 ทัศนคติ ไดแ้ ก่ ความรู้เขา้ ใจ ความร้สู กึ พฤติกรรม นิยามศัพทเ์ ฉพาะ ทัศนคติ คือ การประเมินหรือการตัดสินใจเก่ียวกับความชอบหรือไม่ชอบในวัตถุ คน หรือ เหตุการณ์ ซ่ึงจะสะท้อนให้เห็นถึงความรู้สึกของบุคคลเก่ียวกับบางส่ิงบางอย่าง หรือเป็นแนวโน้มของ บุคคลท่ีแสดงต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง อาจเป็นบุคคล กลุ่มคน ความคิด หรือส่ิงของก็ได้โดยมีความรู้สึกหรือความ เชือ่ เป็นพน้ื ฐาน ทศั นคตไิ ม่ใช่สง่ิ เดยี วกบั คา่ นยิ ม แต่มีความสัมพนั ธ์เก่ียวข้องกัน โดยค่านิยมเป็นสิ่งที่บุคคล เห็นคุณค่า แต่ทัศนคติเป็นความรู้สึกด้านอารมณ์ (พอใจหรือไม่พอใจ) ซ่ึงความรู้สึกน้ีจะส่งผลกระทบต่อ การแสดงพฤตกิ รรมของบุคคล คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง หมายถึง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงท่ีแต่งตั้งโดย มหาวิทยาลัยนเรศวร ประกอบด้วย รองอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี คณบดี ผู้อานวยการ ผู้อานวยการ วิทยาลยั สถาบัน สถาน สานัก กอง โครงการหอพักนิสิต โดยมีวาระการดารงตาแหน่งตามวาระ คราวละ 1 ปี

6 คณะ/หน่วยงาน หมายถึง หน่วยงานที่สังกัดสานักงานอธิการบดี คณะ บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัย ศูนย์ สานัก และหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ ในมหาวิทยาลัยนเรศวร ซ่ึงมีหน้าท่ีจัดการ เรยี นการสอนและสนับสนนุ การจดั การเรียนการสอน ของมหาวทิ ยาลัยนเรศวร อิทธิพล หมายถึง บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีดารงตนด้วยการกระทาด้วยตนเอง หรือใช้จ้างวาน สนับสนุนการกระทาการใดๆ ท่ีผิดกฎหมายหรือยู่เหนือกฎหมาย ผลของการกระทานั้นเป็นบ่อนทาลาย เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ขดั ต่อความสงบเรยี บร้อยหรอื ศีลธรรมอันดีของประชาชน เป็นอุปสรรคขัดขวาง การดาเนินการตามเจตนารมณ์ของประชาชนหรือทาลายคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยส่วนรวม ซึ่งมี ความจาเป็นอย่างย่ิงที่รัฐจะต้องดาเนินการดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎหมาย คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน รวมทัง้ จัด ระบบงานการบงั คับใช้กฎหมายใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ รวดเรว็ และเท่าเทียม ความเสี่ยง (Risk) หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การร่ัวไหลความสูญ เปลา่ หรือเหตุการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ ซ่ึงอาจเกิดข้ึนในอนาคต และมีผลกระทบหรือทาให้การดาเนินงานไม่ ประสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ เปูาประสงค์ และเปูาหมายขององค์กร ท้ังในยุทธศาสตร์การ ปฏิบัติงาน การเงินและการบริหาร ซึ่งอาจเป็นผลกระทบทางบวกด้วยก็ได้ โดยการวัดจากผลกระทบ (Impact) ทีไ่ ด้รับและโอกาสท่จี ะเกิด (Likelihood) ของเหตุการณ์

7 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง ในการศึกษาเพ่ือการจัดทาวิจัยสถาบันในคร้ังนี้ ได้มีการตรวจสอบเอกสาร เก็บข้อมูลจาก เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การบริหารความเส่ียง ตามกรอบงานด้านการบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร เพื่อใช้ เปน็ แนวทางในการศึกษา และใชเ้ ปน็ แนวคดิ ทฤษฎี ประกอบการวเิ คราะห์ ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ และขอบเขตการวิจยั ดงั นี้ 1. ปัจจัยส่วนบุคคล 2. ปัจจยั ทางดา้ นทัศนคติ 3. ปัจจัยทางดา้ นความเส่ียง 4. นโยบายและพันธกิจมหาวิทยาลยั นเรศวร 5. กรอบโครงสร้าง COSO 6. งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 7. กรอบความคิด 8. กรอบแนวคดิ ของโครงการวิจัย 1. ปัจจัยสว่ นบคุ คล ภูมิหลังเฉพาะบุคคล (Personal Background) หรือลักษณะชีวประวัติแต่ละบุคคล (Biographical Characteristics) เป็นลักษณะส่วนตัวของบุคคล เช่น เพศ ประสบการณ์ทางานหรือมี ความอาวุโส อายุ เป็นต้น ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการทางานของบุคคล ผลการวิจัยของ (Griffeth, Hom และ Gaerner (2000, PP.463 – 488) อ้างอิงใน ธนวรรธ ตั้งสินทรัพย์ศิริ, 2550, หน้า 44 - 45) ดังนี้ 1. เพศกับการทางาน (Gender and Job Performance) จากการศึกษาของ Griffeth, Hom และ Gaerner พบว่าไมม่ คี วามแตกตา่ งกนั หรอื มีความแตกตา่ งกนั นอ้ ยมากระหว่างเพศหญิงกับเพศ ชายในเร่ืองของความสามารถเกี่ยวกับการแก้ปัญหาในการทางาน ทักษะในการคิดวิเคราะห์ แรงกระตุ้น เพ่ือต่อสู้เมื่อมีการแข่งขัน แรงจูงใจ การปรับตัวทางสังคม ความสามารถในการเรียนรู้ และความพึงพอใจ ในการทางาน อย่างไรก็ตามจากการศึกษาของนักจิตวิทยาพบว่า เพศหญิงจะมีลักษณะคล้อยตามมากกว่า เพศชาย และเพศชายจะมคี วามคิดเชิงรกุ ตลอดจนมคี วามคาดหวงั ในความสาเรจ็ มากกว่าเพศหญิง 2. ประสบการณ์การทางาน หรือมีความอาวุโส (Tenure and Job Performance) จาก การศกึ ษาของ Griffeth, Hom และ Gaerner พบว่า ผู้ที่มรี ะยะเวลาการทางานในองค์กรมานานหรือผู้ท่ีมี อาวโุ สการทางานจะมีผลงานสูงกว่าพนักงานใหม่ และมีความพึงพอใจในงานสูงกว่าด้วย รวมถึงจะมีอัตรา

8 การขาดงานน้อยและการลาออกจากงานน้อยซ่ึงความเป็นอาวุโสในการทางานจะบ่งช้ีถึงผลงานได้เป็น อยา่ งดี 3. อายุกับการทางาน (Age and Job Performance) เป็นที่ยอมรับกันว่าผลงานของบุคคล จะลดน้อยถอยลงในขณะท่ีมีอายุเพ่ิมขึ้น แต่อย่างไรก็ตามสาหรับบุคคลที่มีอายุ 55 ปีข้ึนไปน้ัน ถือว่ามี ประสบการณ์ในการทางานสูงและสามารถจะปฏิบัติหน้าที่การงานที่ก่อให้เกิดผลผลิต (Productivity) สูง ได้พนักงานในองค์กรไม่จาเป็นต้องเกษียณอายุการทางานเม่ืออายุ 60 ปี จากการศึกษาของ Griffeth, Hom และ Gaerner พบว่าพนักงานท่ีมีอายุมากขึ้นจะไม่อยากลาออกหรือย้ายงาน ทั้งน้ีเนื่องจากการมี ระยะเวลาในการทางานนานจะมีผลทาให้ได้รบั คา่ ตอบแทนหรือคา่ จา้ งมากข้นึ 4. ตาแหน่ง (Position) ประกอบด้วยหน้าท่ีภารกิจและกิจกรรมย่อยๆ ซึ่งแตกต่างกันไปตาม ลกั ษณะงานท่มี อบหมายให้บคุ คลใดบคุ คลหน่ึงปฏิบตั ิ เช่นตาแหนง่ พนกั งานพิมพ์ดีด ตาแหน่งผู้จัดการฝุาย บคุ คล (ปรีชา อยุ ตระกลู และคณะ, 2550, หนา้ 6) สรุปได้ว่า ส่วนสาคัญท่ีเก่ียวข้องกับปัจจัยส่วนบุคคล เพศกับการทางาน ประสบการณ์การ ทางาน อายกุ ับการทางาน และตาแหน่ง ทาใหเ้ ขา้ ใจลกั ษณะของแต่ละบุคคล 2. ปจั จยั ทางด้านทศั นคติ ทัศนคติ (Attitudes) คือ การประเมินหรือการตัดสินใจเกี่ยวกับความชอบหรือไม่ชอบในวัตถุ คน หรอื เหตุการณ์ ซงึ่ จะสะทอ้ นให้เหน็ ถงึ ความร้สู ึกของบุคคลเก่ียวกับบางส่ิงบางอย่าง หรือเป็นแนวโน้ม ของบุคคลท่ีแสดงต่อส่ิงใดส่ิงหน่ึง อาจเป็นบุคคล กลุ่มคน ความคิด หรือส่ิงของก็ได้โดยมีความรู้สึกหรือ ความเชอ่ื เป็นพืน้ ฐาน ทัศนคติไม่ใชส่ ิง่ เดียวกับค่านิยม แต่มีความสัมพันธ์เก่ียวข้องกัน โดยค่านิยมเป็นสิ่งที่ บคุ คลเหน็ คณุ คา่ แตท่ ศั นคติเปน็ ความรูส้ กึ ดา้ นอารมณ์ (พอใจหรือไมพ่ อใจ) ซึ่งความรสู้ ึกน้ีจะส่งผลกระทบ ตอ่ การแสดงพฤติกรรมของบคุ คล (ธนวรรธ ตัง้ สนิ ทรัพยศ์ ริ ิ, 2550, หน้า 62) 2.1 องค์ประกอบของทัศนคติ (Components of Attitude) ทัศนคติประกอบด้วย 3 ส่วน ดังน้ี 2.1.1 องคป์ ระกอบด้านความเข้าใจ (Cognitive Component) คือ ส่วนที่เป็นความเข้าใจ ในเรอื่ งใดเร่ืองหนง่ึ ซ่งึ สะท้อนให้เห็นถึงความคดิ และความเชอื่ ของบคุ คล 2.1.2 องค์ประกอบด้านความรู้สึก (Affective Component) คือ ส่วนของอารมณ์และ ความรูส้ กึ ว่าชอบหรือไม่ชอบในส่ิงใดส่ิงหน่ึง 2.1.3 องค์ประกอบด้านพฤติกรรม (Behavioral Component) คือ ส่วนของความต้ังใจที่ จะปฏิบัตติ ่อคนใดคนหนึง่ หรอื สง่ิ ใดสิง่ หนงึ่ เช่น การลาออกจากงาน การมองทัศนคติจากองค์ประกอบท้ัง 3 ส่วนนี้ จะช่วยให้เราเข้าใจความซบั ซอ้ นหรือความสมั พันธร์ ะหวา่ ง ทัศนคติกบั พฤตกิ รรมไดเ้ ป็นอย่างดี 2.2 ที่มาของทัศนคติ (Success of Attitudes) ทศั นคตกิ บั คา่ นยิ ม คอื ได้รบั อิทธิพลจากบิดา มารดา ครู กลุ่มเพื่อน และกลุ่มสังคม โดยบุคคลจะสังเกตวิธีท่ีครอบครัวและเพื่อนประพฤติ แล้วนามา สร้างทัศนคติและพฤติกรรมท่ีมีต่อผู้อื่น ทัศนคติจะคงอยู่ไม่นาน เช่น ข่าวการโฆษณาต่างๆ ซ่ึงพยายาม

9 เปลี่ยนแปลงทัศนคติของเราท่ีมีต่อสินค้าและบริการ หรือพนักงานของบริษัทหนึ่งสามารถทาให้เรารู้สึก ชอบสนิ ค้าของเขา ทศั นคตนิ ้ันจะนาไปสู่พฤตกิ รรมการตัดสนิ ใจ คือการซ้ือผลติ ภัณฑ์จากบริษทั น้นั ได้ 2.3 ความสาคัญของทัศนคติ (Importance of Attitudes) ทัศนคติเป็นสิ่งสาคัญในองค์การ เพราะจะมีผลต่อพฤติกรรมการทางาน ถ้าพนักงานมีทัศนคติที่ดีหรือทัศนคติบวก (Positive Affectivity) จะทาให้พนักงานมุ่งสร้างสรรค์ส่ิงท่ีดีให้กับองค์การและตนเอง เช่น ทุ่มเทให้กับการทางานอย่างเต็มกาลัง ความสามารถ แต่ถ้าพนักงานมีทัศนคติท่ีไม่ดีหรือมีทัศนคติด้านลบ (Negative Affectivity) ต่องานหรือ องคก์ าร อาจทาให้เขาไม่ตัง้ ใจทางานไมเ่ หน็ คุณค่าของงาน และลาออกจากงานในที่สุด ซ่ึงจะส่งผลกระทบ ต่อองค์การโดยรวม โดยทัว่ ไปองค์การธุรกจิ ส่วนใหญก่ ิจการอยูใ่ นสงั คมใดๆ นั้นๆมักจะมีการสารวจถึงทัศนคติที่มีต่อ สินค้าบรกิ าร ตลอดจนการดาเนนิ การของหน่วยงานของตนเองเสมอ ในงานบริหารองค์การ นักบริหารที่ดี ย่อมต้องการรู้ทัศนคติของบุคลากรในหน่วยงานของตนว่ามีความรู้สึกต่อผู้บริหารและนโยบายอย่างไร สมควรท่ีจะปรับปรุงหรือไม่และในด้านใด หากผู้บริหารไม่สนใจทัศนคติเหล่านั้นผลลัพธ์จะเป็นอย่างไร ดังน้ันทัศนคติจึงเป็นประเด็นที่น่าสนใจท้ังน้ีเพื่อจะนาไปสู่ความเข้าใจท่ีตรงกันและสร้างบรรยากาศที่ดีใน องค์การ เพอ่ื ประสิทธิภาพสงู สุดในงานโดยรวมซึ่งเป็นเปูาหมายของการดาเนนิ ธุรกจิ นั่นเอง 2.4 ประเภทของทัศนคติ (Types of Attitudes) คนเรามีทัศนคติมากมาย แต่ในท่ีน้ีจะ กล่าวถึงเฉพาะทัศนคติท่ีเก่ียวข้องกับงานเท่านั้นซึ่งเป็นการประเมินพนักงานทั้งด้านบวกและด้านลบ เก่ียวกับสภาพแวดล้อมในการทางานแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ (1) ทัศนคติด้านความพึงพอใจในงาน (2) ทัศนคติด้านการมีส่วนร่วมในงาน (3) ทัศนคติด้านความผูกพันกับองค์การหรือความจงรักภักดีต่อ องค์การ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 2.4.1 ทัศนคตดิ า้ นความพงึ พอใจในงาน (Job Satisfaction) หมายถงึ ความร้สู ึกของบุคคลที่ มีต่องานของเขา บุคคลที่มีความพึงพอใจในงานสูงจะมีทัศนคติในทางบวกต่องานท่ีทา ในทางตรงข้าม บุคคลท่ีไม่พึงพอใจในงานก็จะมีทัศนคติในทางลบต่องานท่ีทา ในการศึกษาถึงทัศนคติของพนักงานมักจะ ศกึ ษากบั ความพึงพอใจในการทางานของกลมุ่ มักจะเรยี กว่า ขวญั และกาลงั ใจ (Morale) องค์ประกอบของความพึงพอใจในการทางาน โดยท่ัวไปความพึงพอใจในการทางาน อาจ มองได้ทั้งจากทัศนคติโดยรวมทั้งหมด (Overall attitudes) หรือวัดเฉพาะจากความพึงพอใจในงานของ พนักงานเป็นรายบุคคลก็ได้ (Individual’s job) แต่มีข้อเสียคือเราอาจไม่รู้สาเหตุที่แท้จริงที่ซ่อนอยู่ได้ ดังนั้นการศึกษาถึงความพึงพอใจในการทางานจึงควรมุ่งเฉพาะเจาะจงไปในส่วนที่สาคัญ อาทิ ค่าจ้าง หัวหน้างาน เพื่อนร่วมงานหรือกลุ่มงาน ตลอดจนสภาพแวดล้อมในการทางาน เป็นต้น ดังน้ันความพึง พอใจในการทางานจึงเป็นมุมมองท่ีมีรูปแบบหลายมิติ (Multidimensional) ซ่ึงผู้บริหารจะต้องมีมุมมอง รอบด้านเพ่ือจะวัดหรือตัดสินใจเกี่ยวกับทัศนคติและความพึงพอใจในการทางานของผู้ปฏิบัติงานใน หนว่ ยงาน ความพึงพอใจในการทางานถือเป็นส่วนหน่ึงของความพึงพอใจในชีวิต (Life Satisfaction) เพราะหน้าท่ีการงานถือเป็นสิ่งสาคัญส่วนหนึ่งในชีวิตคน ดังน้ันความพึงพอใจในการทางานย่อมมีอิทธิพล ตอ่ ความพงึ พอใจในชีวติ ด้วย ในการสรา้ งความพึงพอใจในการทางานให้เกิดข้ึนในตัวผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหาร

10 จะต้องพิจารณาถึงปัจจัยท่ีมีผลต่อความพึงพอใจในชีวิตประกอบด้วยปัจจัยเก่ียวกับงาน ครอบครัว สภาพแวดล้อม การเมือง ศาสนาและกิจกรรมนันทนาการหรืองานอดิเรกของพนักงาน พนักงานอาจไม่ พอใจในงานที่เขาทาบ้างเป็นบางคร้ัง แต่ไม่ได้หมายความว่าเขาไม่พอใจองค์การทั้งหมด แต่ถ้าบุคคลเกิด ความไม่พอใจต่ององค์กรเมื่อใด บุคคลมักจะคดิ ถงึ เรือ่ งการลาออกจากงานมากขึ้น 2.4.2 ทัศนคติด้านการมีส่วนร่วมในงาน (Job Involvement) หมายถึง อัตราการรับรู้ เก่ียวกับความสามารถในการทางานว่ามีความสาคัญและมีคุณค่า พนักงานท่ีมีระดับของการมีส่วนร่วมใน งานสูงจะมีความระมัดระวังเก่ียวกับงานท่ีทาสูง มีการขาดงาน และการลาออกน้อย โดยจะทุ่มเททั้งเวลา กาลังกายและกาลงั ใจใหก้ ับการทางานอยา่ งเตม็ ท่ี อกี ทัง้ มองว่างานนนั้ เป็นสง่ิ สาคญั เหนือสิ่งอ่ืนใดๆ ในการ ดาเนินชีวิต การมีโอกาสรับผิดชอบตาแหน่งหน้าท่ีใดๆ น่ันหมายถึงภาพลักษณ์ของตนเอง ผลการวิจัย เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมในการทางานของพนักงานพบว่า การมีส่วนร่วมในงาน (Job involvement) และ เป็นส่วนหนงึ่ ขององค์กร (Organizational Commitment) เขาจะมีความพึงพอใจ และไม่มีพฤติกรรมการ ขาดงานและลาออกจากงาน 2.4.3 ทัศนคตดิ ้านความผกู พนั กับองค์การหรือความจงรักภักดีต่อองค์การ (Organizational Commitment) หมายถึง ระดับความต้องการท่ีจะมีส่วนร่วมในการทางานให้กับหน่วยงานหรือองค์การท่ี ตนเองเป็นสมาชิกอยู่อย่างเต็มกาลังความสามารถและศักยภาพท่ีมีอยู่ หรือหมายถึง ระดับที่พนักงานเข้า มาเกย่ี วข้องกับเปูาหมายขององค์การ และต้องการรักษาความเป็นสมาชิกขององค์กร บุคคลท่ีมีความรู้สึก ผกู พันกับองค์การสงู จะมคี วามรู้สกึ ว่าเขาเปน็ ส่วนหน่ึงขององค์การ งานวิจัยชี้ให้เห็นว่าความรู้สึกผูกพันกับ องคก์ ารของบุคคลสามารถเปน็ เคร่ืองชว้ี ดั การออกจากงานได้ดกี วา่ การคาดคะเนโดยใช้ความพอใจในงาน 2.5 ผลกระทบจากทัศนคติของพนักงาน (Effect of Employee Attitudes) ทัศนคติ นบั เป็นสิ่งช้ีวัดถึงพฤติกรรมของบุคลากรได้เป็นอย่างดี เพราะเป็นส่ิงท่ีสามารถบ่งบอกถึงการแสดงออกใน พฤติกรรมต่างๆ ได้ กล่าวคือ ทัศนคติต่องานในเชิงบวกจะช่วยบ่งช้ีถึงพฤติกรรมในเชิงสร้างสรรค์ท่ีจะมีข้ึน ในตวั พนักงาน ตรงขา้ มกบั ทศั นคติต่องานในเชงิ ลบ กจ็ ะชว่ ยใหเ้ ห็นพฤตกิ รรมในเชงิ ลบได้เช่นกัน พฤติกรรมท้ังสองแบบน้ีล้วนมีผลกระทบโดยตรงต่อการดาเนินงานขององค์กรทั้งส้ิน แต่จะมี ความมากน้อยแตกต่างกันออกไป หากพนักงานมีทัศนคติในด้านลบ หรือเกิดความไม่พอใจในการทางาน ขึ้น ปัญหาท่ีตามมาน้ันมีมากมาย ซึ่งพฤติกรรมท่ีแสดงออกอาจเป็นได้ทั้งในเชิงความคิด หรือด้านจิตใจ (Psychological withdrawal) เช่น นั่งฝันกลางวันไปเรื่อยไม่ต้ังใจทางาน หรือแสดงออกมาด้วยการ กระทา (Physical withdrawal) เช่น ขาดงานโดยไม่มีเหตุผลเพียงพอ กลับบ้านก่อนเวลา หยุดพักนาน เกนิ ไป (อูง้ าน) ทางานช้าลงไปจนถงึ การมีพฤติกรรมทก่ี า้ วร้าว รนุ แรง และการลาออก ตรงข้ามถ้าพนักงาน ท่ีมีความพึงพอใจในงาน มีทัศนคติที่ดีต่อองค์กรและงาน พฤติกรรมในการทางานย่อมแสดงออกแต่สิ่งดีๆ เชน่ ทางานในหน้าที่อย่างเตม็ ทีแ่ ละจะทางานเกนิ หนา้ ทที่ ี่ได้รับมอบหมายอีกด้วย ดังน้ันจึงพอจะสรุปได้ว่า ความพงึ พอใจในการทางานจะนาไปสปู่ ระสทิ ธิภาพในการทางาน ประโยชน์จากการศึกษาถึงทัศนคติและความพึงพอใจในการทางาน ผู้บริหารควรศึกษาและ รวบรวมขอ้ มลู เกีย่ วกบั ความพอใจในการทางานของพนักงาน เพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจ ท้ังในด้านการ ปูองกนั และแก้ปญั หาเกย่ี วกับพนกั งาน แนวทางที่นิยมใช้ได้แก่ การออกแบบสารวจความคิดเห็นหรือความ

11 พึงพอใจของพนักงานท่ีมีต่อการทางาน การสารวจขวัญกาลังใจ หรือการสารวจคุณภาพชีวิตในการทางาน การศกึ ษาทศั นคติและความพงึ พอใจในการทางานก่อให้เกดิ ประโยชน์ ดังนี้ 1. เป็นการตรวจสอบและรู้เท่าทันความพึงพอใจและทัศนคติของพนักงานมีคความรู้สึกอย่างไร ต่อหน่วยงาน (Monitoring Attitudes) 2. มีประโยชน์ในด้านการส่ือสารระหว่างฝุายต่างๆ ในองค์กร (The Flow of Communication) ทาให้รู้ว่าพนักงานต้องการอะไร คิดอย่างไรต่องาน มีความต้องการฝึกอบรมหรือไม่ เปน็ ต้น 3. เป็นเคร่ืองมือช่วยฝุายบริหารในด้านการวางแผนและจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์และการ วางแผนโครงการใหมๆ่ ขึ้นมาดว้ ย 2.6 ทัศนคติและความสอดคล้องกัน (Attitudes and Consistency) งานวิจัยโดยทั่วๆ ไปมัก สรุปวา่ บคุ คลจะแสวงหาความสอดคล้องกันระหว่างทัศนคติต่างๆ และความสอดคล้องกันระหว่างทัศนคติ หลายๆ อย่างของเขากับพฤติกรรมของเขา หมายความว่า บุคคลแสวงหาทัศนคติท่ีตรงกันเพื่อให้เกิดการ ประสมกลมกลนื ของทศั นคติ และทศั นคติกับพฤตกิ รรมของเขา เพ่อื ว่าส่ิงเหล่าน้ันจะได้สมเหตุสมผลและมี ความสอดคล้องกนั เมื่อมีความไม่สอดคล้องเกิดข้ึน แรงจูงใจจะถูกสร้างข้ึนมาเพื่อทาให้บุคคลกลับสู่ภาวะ ความสมดุล โดยทาให้ทัศนคติและพฤติกรรมมีความสอดคล้องกัน สิ่งนี้สามารถทาได้โดยการเปล่ียนแปลง ทศั นคติหรือพฤตกิ รรม หรืออาจพฒั นาโดยการใช้เหตผุ ลสาหรับความคาดเคล่ือนหรือเขา้ ใจผิดท่ีเกดิ ข้ึน สรุปได้ว่า องค์ประกอบของทัศนคติ คือองค์ประกอบด้านความเข้าใจ องค์ประกอบด้าน ความรู้สึก และองค์ประกอบดา้ นพฤตกิ รรม ท่ีโยงเขา้ มาทาใหเ้ กดิ ทัศนคตติ ่างๆ ในแตล่ ะบคุ คล 3. ปจั จัยทางดา้ นความเส่ยี ง การบรหิ ารความเส่ียงควรเริ่มต้นจากการที่ผู้บริหาร ตลาดจนบุคลากรที่อยู่ในองค์กรได้ทาความ เข้าใจให้ตรงกันต่อคานิยามหรือความหมายของ “ความเสี่ยง” เพื่อให้บุคลากรสามารถบ่งช้ีความเสี่ยง โอกาส และผลกระทบ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั (คณะทางานจัดทาคู่มือบริหารความเสี่ยง, 2553, หน้า 11) 3.1 ความเสีย่ ง (Risk) ความเส่ียง หมายถึง เหตุการณ์ที่อาจะเกิดข้ึน ภายใต้สถานการณ์ที่มีความไม่แน่นอนและจะ ส่งผลกระทบเชิงลบตอ่ การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคข์ ององค์กร 3.2 ปจั จยั เสี่ยง (Risk Factor) ปัจจัยเสี่ยง หมายถึง ต้นเหตุ หรือสาเหตุที่มาของความเสี่ยงที่จะทาให้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่ กาหนดไว้ โดยต้องระบุได้ด้วยว่าเหตุการณ์น้ันจะเกิดที่ไหน เม่ือใด และเกิดข้ึนได้อย่างไร และทาไม ท้ังนี้ สาเหตุของความเสย่ี งทรี่ ะบุควรเป็นสาเหตุทแ่ี ทจ้ รงิ เพือ่ จะได้วิเคราะห์และกาหนดมาตรการลดความเสี่ยง ในภายหลงั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 3.3 การประเมนิ ความเสย่ี ง (Risk Assessment) การประเมินความเส่ียง หมายถึง กระบวนการระบุความเส่ียง การวิเคราะห์ความเส่ียง และ จัดลาดับความเสี่ยง โดยการประเมินจากโอกาสท่ีจะเกิด (Likelihood) และผลกระทบ (Impact) ซ่ึง

12 โอกาสท่ีจะเกิด (Likelihood) หมายถึง ความถ่ีหรือโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ความเส่ียง และผลกระทบ (Impact) หมายถึง ขนาดความรุนแรงของความเสียหายที่จะเกิดข้ึนหากเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยง เม่ือทา การประเมินแล้ว ทาให้ทราบระดับของความเส่ียง (Degree of Risk) หมายถึง สถานะของความเสี่ยงที่ได้ จากการประเมินโอกาสและผลกระทบของแต่ละปัจจัยเสี่ยง แบ่งออกเป็น 5 ระดับ คือ สูงมาก สูง ปาน กลาง นอ้ ย และนอ้ ยมาก 3.4 การบรหิ ารความเส่ยี ง (Risk Management) การบริหารความเส่ียง หมายถึง กระบวนการท่ีนาไปประยุกต์ใช้ในการกาหนดกลยุทธ์ของ องค์กรในทุกระดับ โดยได้รับการออกแบบให้สามารถระบุเหตุการณ์ท่ีอาจเกิดข้ึนและส่งผลกระทบต่อ องค์กร และจัดการความเสี่ยงให้อยู่ในระดับท่ียอมรับได้ เพ่ือให้ได้รับความม่ันใจอย่างสมเหตุสมผลในการ บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่องค์กรกาหนด กลยุทธ์ในการจัดการความเส่ียงมี 4 แบบ รวมเรียกว่า 4T’s Strategies ดังน้ี 3.4.1 Terminate การหลีกเลี่ยงความเส่ียง (Risk Avoidance) การหลีกเลี่ยงเหตุการณ์ท่ี กอ่ ให้เกิดความเส่ยี ง เชน่ การหยุดดาเนนิ กิจกรรม การเปลี่ยนวัตถุประสงค์ หรือการเปล่ียนแปลงกิจกรรม ท่เี ป็นความเสย่ี ง การปรบั เปล่ยี นรปู แบบการทางาน การลดขนาดของงานหรอื กิจกรรมที่ดาเนินการลงหรือ เลอื กกิจกรรมท่ีสามารถยอมรบั ได้มากกว่า เปน็ ต้น 3.4.2 Transfer การกระจาย/โอนความเส่ียง (Risk Sharing/Transfer) การกระจาย/โอน ความเสี่ยงท้ังหมดหรือเพียงบางส่วนไปยังผู้อื่นที่มั่นใจได้ว่าสามารถควบคุมความเสี่ยงน้ันได้เป็นอย่างดี ทง้ั น้ี เพ่ือลดความสูญเสยทีอ่ าจเกดิ ขนึ้ เช่น การทาประกนั ภัย การจา้ งบุคคลภายนอกดาเนินการแทน เป็น ตน้ 3.4.3 Treat การลด/ควบคุมความเสี่ยง (Risk Reduction/Control) การลดโอกาสในการ เกิดความเสี่ยงและ/หรือความรุนแรงของผลกระทบท่ีเกิดขึ้นโดยหาวิธีเพ่ิมเติมเพื่อจัดการความเสี่ยง เช่น การออกแบบระบบการควบคุมภายในปรับปรุงแก้ไขกระบวนงาน/การปฏิบัติงาน/การตรวจติดตาม การ จัดทาแผนฉุกเฉนิ การจดั ทามาตรฐานความปลอดภยั การฝกึ อบรมเพือ่ พฒั นาทักษะ เปน็ ตน้ 3.4.4 Take การยอมรบั ความเสี่ยง (Risk Acceptance) การยอมรับใหม้ ีความเส่ียงปรากฏ อยู่ เป็นความเสี่ยงที่หน่วยงานสามารถยอมรับได้ เน่ืองจากมีกิจกรรมการควบคุมภายในที่ดีอยู่แล้ว เน่ืองจากการดาเนินกิจกรรมจัดการกับความเสี่ยงไม่มีความคุ้มค่าเพียงพอ หรือทรัพยากรมีไม่เพียงพอต่อ การดาเนินการในปีงบประมาณ เป็นต้น 3.5 การบริหารความเสี่ยงท่วั ทัง้ องคก์ ร (Enterprise Risk Management) การบริหารความเส่ียงท่ัวทั้งองค์กร หมายถึง การบริหารปัจจัย และควบคุมกิจกรรม รวมทั้ง กระบวนการดาเนินงานต่างๆ เพื่อลดมูลเหตุของแต่ละโอกาสที่องค์กรจะเกิดความเสียหาย ให้ระดับของ ความเสย่ี งและผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตอยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และ ตรวจสอบได้อย่างมีระบบโดยคานึงถึงการบรรลุเปูาหมาย ท้ังในด้านกลยุทธ์การปฏิบัติตามกฎระเบียบ การเงิน และช่ือเสียงขององค์กรเป็นสาคัญ โดยได้รับการสนับสนุนและการมีส่วนร่วมในการบริหารความ เสี่ยงจากหน่วยงานทุกระดับทว่ั ทง้ั องค์กร

13 3.6 การควบคุม (Control) การควบคุม หมายถึง นโยบาย แนวทาง หรือขั้นตอนปฏิบัติต่างๆ ซึ่งกระทาเพื่อลดความเส่ียง และทาใหก้ ารดาเนินการบรรลวุ ตั ถุประสงค์ แบง่ ได้ 4 ประเภท คือ 3.6.1 การควบคุมเพ่ือการปูองกัน (Preventive Control) เป็นวิธีการควบคุมที่กาหนดขึ้น เพอื่ ปูองกนั ไม่ใหเ้ กิดความเสย่ี งและข้อผิดพลาดตั้งแต่แรก 3.6.2 การควบคุมเพื่อให้ตรวจพบ (Detective Control) เป็นวิธีการควบคุมท่ีกาหนดข้ึน เพื่อค้นพบขอ้ ผิดพลาดที่เกิดข้นึ แล้ว 3.6.3 การควบคุมโดยการช้ีแนะ (Directive Control) เป็นวิธีการควบคุมท่ีส่งเสริมหรือ กระตนุ้ ใหเ้ กดิ ความสาเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ท่ีตอ้ งการ 3.6.4 การควบคุมเพื่อการแก้ไข (Corrective Control) เป็นวิธีการควบคุมท่ีกาหนดข้ึน เพ่ือแก้ไขขอ้ ผิดพลาดท่ีเกิดขึน้ ให้ถูกต้อง หรือเพอื่ หาวิธีการแกไ้ ขไม่ใหเ้ กดิ ข้อผดิ พลาดซา้ อีกในอนาคต สรุปได้ว่า ปัจจัยด้านความเสี่ยงส่วนสาคัญ คือ ความเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง การประเมินความเส่ียง การบริหารความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงท่ัวท้ังโลก การควบคุม ซึ่งจะทาให้แต่ละบุคคลสามารถ ดาเนินการจัดทาความเส่ียงได้ 4. นโยบายและพนั ธกิจของมหาวิทยาลยั นเรศวร 4.1 นโยบายการบรหิ ารความเส่ยี ง เพื่อให้มหาวิทยาลัยนเรศวรมีระบบในการบริหารความเสี่ยง โดยการบริหารปัจจัย และควบคุม กิจกรรม รวมทั้งกระบวนการดาเนินงานต่างๆ เพ่ือลดมูลเหตุของแต่ละโอกาสที่มหาวิทยาลัยนเรศวรจะ เกิดความเสียหาย ให้ระดับความเส่ียงและขนาดของความเสียหายท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตอยู่ในระดับที่ ยอมรับได้ โดยคานึงถึงการบรรลุเปูาหมายของมหาวิทยาลัยนเรศวร ตามยุทธศาสตร์ที่สาคัญ จึงกาหนด นโยบายการบรหิ ารความเสย่ี งดงั นี้ 4.1.1 ให้มีการบริหารความเส่ียงท่ัวทั้งองค์กรแบบบูรณาการ โดยมีการจัดการอย่างเป็น ระบบและตอ่ เน่อื ง 4.1.2 ให้มีการกาหนดกระบวนการบริหารความเสี่ยงที่เป็นระบบมาตรฐานเดียวกันทั่วท้ัง องค์กร 4.1.3 ให้มีการติดตามประเมินผลการบริหารความเสี่ยงท่ีมีการทบทวนและปรับปรุงอย่าง สม่าเสมอ 4.1.4 ให้มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชเ้ พอ่ื การจดั การที่ดี 4.1.5 ให้การบรหิ ารความเสีย่ งเปน็ ส่วนหนงึ่ ของการดาเนนิ งานตามปกติ 4.2 พันธกิจของมหาวทิ ยาลัยนเรศร มหาวิทยาลัยนเรศวรต้องเร่งปรับเปล่ียนไปเป็นมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐเพ่ือปฏิบัติภารกิจ หลักที่สาคัญ ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาท่ีมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ที่มีการประกันคุณภาพทาง การศกึ ษาตลอดจนมีการประเมินแผนและโครงการตา่ งๆ ทีเ่ ปน็ ระบบโดยมงุ่ กระจายโอกาสและความเสมอ

14 ภาคทางการศึกษาให้กับประชากรในภูมิภาคโดยเฉพาะในเขตภาคเหนือตอนล่าง 9 จังหวัด ได้แก่ พิษณุโลก พิจิตร สุโขทัย กาแพงเพชร เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ ตาก นครสวรรค์ อุทัยธานี และจังหวัดพะเยา โดยการจัดการเรยี นการสอน ในสาขาวชิ าตา่ งๆ ทงั้ กลมุ่ สงั คมศาสตร์ กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ ให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคมและประเทศชาติ รวมทั้งมหาวิทยาลัย นเรศวร จะต้องเคล่ือนเข้าไปให้บริการในชุมชนให้ได้อย่างท่ัวถึง โดยการตั้งวิทยาเขตสารสนเทศหรือศูนย์ วิทยบรกิ ารเพอ่ื ใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการในรูปแบบต่างๆ อย่างต่อเนอ่ื ง โดยมีพันธกิจทีส่ าคัญ ดังนี้ 4.2.1 ด้านการผลิตบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวรมีภารกิจหลักท่ีต้องทาการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ทุกระดับอย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นปัจจัยสาคัญในการชักนาให้เกิดความเจริญย่ิงยืนนาน และการหลกี เลย่ี งภาวะชะงกั งันเส้นทางการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ มหาวิทยาลัยนเรศวรจะต้อง มุ่งเน้นการสร้างบัณฑิตให้มีงานทา และสามารถไปทางานได้ทุกแห่งในโลก การผลิตบัณฑิตในระดับ ปรญิ ญาโท – เอก จะดาเนินการโดยการมีหุ้นส่วน (Partnership) หรือสร้างเครือข่าย (Networking) ทาง วิชาการกับมหาวิทยาลัยท่ีมีช่ือเสียงในต่างประเทศ เพ่ือเป็นการพัฒนาศักยภาพและความพร้อมด้าน อาจารย์ของเราควบคู่ไปกับมาตรฐานทางวิชาการด้วย นอกจากนี้จะต้องปรับตัวให้มีพลวัตและความ หลากหลายมากข้ึนในอนาคต ทั้งในเชิงวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนากาลังคนทุกระดับอย่างต่อเน่ือง ทั้งเพื่อ พัฒนาทักษะและภูมิปัญญาในงานอาชีพ ในฐานะแรงงานทางเศรษฐกิจของประเทศ และเพื่อพัฒนา จิตสานึกและยุติธรรมในฐานะมนุษย์และพลเมืองดีของสังคมไทยและสังคมโลก กลุ่มเปูาหมายอุดมศึกษา ต้องมีความหลากหลายย่ิงข้ึน ครอบคลุมทั้งกลุ่มเปูาหมายก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานและกลุ่มเปูาหมายใน ตลาดแรงงาน นอกจากนยี้ งั ต้องมีการปรับตวั เกีย่ วกับเรื่องวิธกี ารและเนื้อหาสาระอกี ด้วย 4.2.2 ด้านการวิจัย มหาวิทยาลัยนเรศวรจะมุ่งการวิจัยและพัฒนาโดยเฉพาะการวิจัย ประยุกต์ เพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีรูปแบบท่ีซับซ้อนข้ึน เช่น การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เพ่อื อตุ สาหกรรมสมัยใหม่ทใี่ ช้ทนุ ปญั ญามากกว่าทุนแรงงานหรอื ทุนวัตถุดิบ การวิจัยเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ การใช้ทรัพยากรและการฟ้ืนฟู และการอนุรักษ์สภาพแวดล้อม การวิจัยเชิงอุตสาหกรรม การวิจัยและ พฒั นาระบบบริการด้านสาธารณสุข เป็นต้น ในขณะเดียวกันมหาวิทยาลัยนเรศวรจะให้ความสาคัญสูงขึ้น แก่การวิจัยพื้นฐานควบคู่ไปกับการวิจัยประยุกต์ โดยมุ่งให้การพัฒนาการวิจัยพื้นฐานในสาขาต่างๆ เป็น ฐานนาไปสู่การวิจัยประยุกต์ท่ีมีประสิทธิภาพและการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิผล และสร้าง ความสามารถในการพ่ึงพาตนเองด้านความรู้ของประเทศไทยได้อย่างแท้จริงในระยะยาว โดยจะต้องสร้าง ผู้นาในการทาวิจัย ดาเนินการในลักษณะหุ้นส่วน (Partnership) หรือการสร้างเครือข่าย (Networking) กับมหาวทิ ยาลยั ทม่ี ีช่ือเสยี งทัง้ ในและตา่ งประเทศ เพ่อื ให้นาไปสูค่ วามเป็นสากลได้เร็วข้ึนดว้ ย 4.2.3 ด้านการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยนเรศวร จะมุ่งเน้นการบริการทางวิชาการใน รูปแบบท่ีหลากหลายข้ึน การให้บริการบางประเภทควรจะเน้นแหล่งเงินทุนที่ สาคัญยิ่งขึ้นของ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะการให้บริการวิชาการแก่กลุ่มเปูาหมายท่ีมีกาลังซ้ือสูง เช่น ภาคธุรกิจและ อุตสาหกรรม รวมท้ังควรได้มีการพิจารณาเก่ียวกับการลงทุนและดาเนินการร่วมกับภาคเอกชนในการ บรกิ ารวิชาการบางประเภท โดยเฉพาะการจัดต้ังหนว่ ยทดสอบมาตรฐานในสาขาต่างๆ เพื่อให้บริการท่ัวไป

15 เป็นต้น การดาเนินการอาจจะต้องใช้ระบบหุ้นส่วน (Partnership) และการสร้างเครือข่าย (Networking) เขา้ มาชว่ ยในการสร้างจุดแข็งและการยอมรบั ของสงั คมโดยท่วั ไป 4.2.4 ดา้ นการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร ตระหนักดีว่าภารกิจ ด้านน้ีกว้างขวางยิ่งขึ้นในอนาคต เน่ืองจากแนวโน้มการผสมผสานทางวัฒนธรรม และการมีส่วนร่วมใน ประชาคมโลกในด้านเศรษฐกิจมากขึ้น ทาให้การทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมของสังคมไทยเป็นรากฐานของ การพัฒนาอย่างมีดุลยภาพ การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมไม่ควรถูกจากัดอยู่แต่ในการอนุรักษ์มรดก ทางศิลปะและวัฒนธรรมไทยเท่านั้น แต่ควรหมายรวมถึงการศึกษาให้เข้าใจความเป็นไทยอย่างถ่องแท้ เพ่ือนาไปสู่การสงวนความแตกต่างทางวัฒนธรรมและการอยู่ร่วมกันในประชาคมโลกอย่างมีเอกลักษณ์ และศักดิ์ศรี การเสริมสร้างวัฒนธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ให้เกิดขึ้นกับบุคคล องค์กร และสังคมอีก ดว้ ย 5. กรอบโครงสรา้ ง COSO 5.1 คาจากัดความ ทุกองค์กรต้องเผชิญกับความไม่แน่นอน ความท้าทายของผู้บริหารก็คือ การจะต้องตัดสินใจว่า ความไม่แน่นอนมากน้องเพียงใดท่ีองค์กรพร้อมที่จะรับ ในขณะที่จะต้องฝุาฟันอุปสรรคต่างๆ เพ่ือเพ่ิม มูลค่าให้กบั ผู้มีสว่ นได้เสยี ขององคก์ ร การบริหารความเสี่ยงขององค์กรทาให้ผู้บริหารสามารถระบุประเมิน และจัดการกบั ความเส่ียงภายใตค้ วามไม่แนน่ อนได้ และยังผสมผสานเข้าไปอยู่ในการสร้างและดารงคุณค่า ขององค์กรอีกด้วย การบริหารความเส่ียงขององค์กรเป็นกระบวนการท่ีเป็นผลมาจากคณะกรรมการ ผู้บริหาร และบุคลากรอ่ืนๆ ขององค์กรได้ร่วมกันกาหนดขึ้นเป็นกลยุทธ์และใช้ท่ัวทั้งองค์กร การบริหาร ความเสี่ยงได้ถูกออกแบบมาเพ่ือระบุเหตุการณ์ที่อาจเกิดข้ึนแล้วมีผลกระทบต่ อองค์กรและเพ่ือกัดการ ความเสี่ยงเหล่าน้ันให้อยู่ในระดับความเส่ียงที่องค์กรยอมรับได้ ทั้งน้ีเพื่อทาให้เกิดความเช่ือม่ันอย่าง สมเหตุสมผลว่า องค์กรจะสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ได้ การบริหารความเส่ียงประกอบไปด้วย องค์ประกอบ 8 องค์ประกอบท่ีสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน องค์ประกอบเหล่านี้จะผสมผสานเข้าเป็นอันหน่ึง ประกอบมีความเช่ือมโยงกันและทาหน้าที่เป็นเกณฑ์ในการวัดว่าการบริหารความเส่ียงขององค์กรมี ประสทิ ธิผลหรือไม่ วัตถุประสงค์หลักของกรอบโครงสร้างการบริหารความเส่ียงนี้ คือ การช่วยให้ฝุายบริหารของ ธุรกิจและองค์กรอื่นๆ จัดการกับความเส่ียงให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรได้ดีข้ึน แต่ว่าต่าง บุคคลก็เห็นการบริหารความเสี่ยงต่างกันไปแล้วยังมีชื่อเรียกและความหมายท่ีหลากหลายทาให้ไม่อาจ สร้างความเข้าใจที่ตรงกันได้ ดังนั้น เปูาหมายสาคัญคือ การรวมเอาแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง แนวต่างๆ เข้าเป็นกรอบการบริหารความเสี่ยงที่มีการกาหนดคาจากัดความร่วมกันข้ึนมีการระบุ องค์ประกอบและอธิบายแนวคิดที่สาคัญไว้ กรอบการบริหารความเส่ียงนี้ใช้ได้กับมุมมองต่างๆ และเป็น จุดเร่ิมต้นของการประเมินความเส่ียงของแต่ละองค์กรและการส่งเสริมให้มีการบริหารควา มเสี่ยงของ องค์กรที่ดีข้ึน อีกท้ังเป็นจุดเริ่มต้นของความคิดริเร่ิมในอนาคตขององค์กรผู้ออกกฎระเบียบ และแวดวง

16 การศึกษาด้วย (Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission COSO. (no date) อ้างอิงใน วชิ ัย กติ ติวิทยากลุ และคณะ, 2551, หน้า17 –หน้า40) 5.2 ความไมแ่ น่นอนและคณุ ค่าของกรอบโครงสรา้ ง COSO หลักการพื้นฐานของการบริหารความเสี่ยงขององค์กร คือ องค์กรทุกแห่งดารงอยู่เพ่ือเพ่ิมค่า ให้กบั ผูม้ สี ว่ นไดเ้ สยี ขององค์กรนน้ั ไมว่ ่าจะเป็นองค์กรท่แี สวงกาไรหรือไม่แสวงหากาไร หรือหน่วยงานของ รัฐ ทุกองค์กรล้วนต้องเผชิญกับความไม่แน่นอนมากน้อยเพียงใดที่องค์กรเตรียมพร้อมท่ีจะยอมรับใน ขณะทต่ี ้อง ฝุาฟันอปุ สรรคเพือ่ เพิม่ มูลคา่ ให้กบั ผมู้ ีสว่ นได้เสยี ขององคก์ ร ความไม่แน่นอนดังกล่าวอาจอยู่ใน รูปแบบของความเสี่ยงหรือโอกาสซ่ึงอาจจะเพิ่มหรือลดคุณค่าขององค์กรได้การบริหารความเสี่ยงของ องค์กรจะทาให้ผู้บริหารสามารถรับมือกับความไม่แน่นอนความเสี่ยง และโอกาสท่ีเกี่ยวข้องได้อย่างมี ประสทิ ธิผล ซึ่งจะชว่ ยใหเ้ พิม่ พนู ความสามารถขององค์กรในการสรา้ งคุณค่าได้ คุณค่าจะเกิดขึ้นได้สูงสุดเมื่อผู้บริหารกาหนดกลยุทธ์แล ะวัตถุประสงค์ท่ีทาให้เกิดดุลยภาพ ระหว่างเปาู หมายการเจญิ เติบโต เปาู หมายผลตอบแทนและความเส่ียงที่เก่ียวข้อง รวมท้ังการใช้ทรัพยากร อย่างมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลท่ีดีท่ีสุดในการกาหนดวัตถุประสงค์ขององค์กร การบริหารความเส่ียง ขอองคก์ รหมายรวมไปถึง 5.2.1 การกาหนดระดับความเสี่ยงท่ีองค์กรยอมรับได้ (Risk Appetite) และกลยุทธ์ให้ สอดคล้องกัน ผู้บริหารจะต้องพิจารณาถึงระดับความเส่ียงท่ียอมรับได้ขององค์กรเป็นอันดับแรกในการ ประเมินทางเลือกต่างๆ ของกลยุทธ์ แล้วจึงกาหนดวัตถุประสงค์ให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ที่เลือก รวมทั้ง พัฒนากลไกท่จี ะจัดการกบั ความเส่ยี งท่เี กย่ี วข้อง 5.2.2 การตัดสนิ ใจตอบสนองต่อความเสี่ยงถ้าดีข้ึน การบริหารความเสี่ยงขององค์กรทาให้ เกิดความแม่นยาในการระบแุ ละการเลอื กทางเลือกเพื่อตอบสนองต่อความเสี่ยง ไม่ว่าจะเป็นการหลีกเลี่ยง ความเสีย่ ง การลดความเส่ียง การหาผู้รว่ มรับความเสยี่ ง ละการยอมรบั ความเสี่ยง 5.2.3 การลดเหตุการณ์ไมไ่ ดค้ าดคิดและความเสียหายในการปฏิบัติงาน องค์กรต่างๆ จะมี ศักยภาพดีขึ้นในการระบุเหตุการณ์ท่ีอาจจะเกิดขึ้น การประเมินความเส่ียง และการกาหนดมาตรการ ตอบสนองต่อความเสี่ยงเพ่ือช่วยลดการเกิดส่ิงท่ีไม่คาดคิด และต้นทุนที่เก่ียวข้อง หรือความเสียหายที่จะ ตามมา 5.2.4 การระบุและการจัดการความเส่ียงท่ัวท้ังองค์กร ทุกองค์กรต้องเผชิญกับความเส่ียง มากมายท่ีส่งผลกระทบต่อส่วนงานต่างๆ ในองค์กร ผู้บริหารไม่เพียงแต่จะต้องจัดการกับความเสี่ยงแต่ละ เรือ่ งเทา่ นน้ั แตจ่ ะต้องเขา้ ใจถึงผลกระทบต่างๆ ท่ีเกยี่ วข้องสมั พันธก์ นั 5.2.5 การจัดให้มีการตอบสนองเชิงบูรณาการต่อความเสี่ยงท่ีมีหลากหลาย กระบวนการ ทางธุรกิจมีความเส่ียงตามธรรมชาติ อยู่มากมายการบริหารความเส่ียงขององค์กรจะทาให้มีทางแก้ปัญหา แบบบรู ณาการสาหรับการจดั การกับความเสีย่ งเหลา่ น้นั 5.2.6 การฉวยโอกาส ในการพิจารณาถึงเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดข้ึนอย่างครบองค์ประกอบ แทนที่จะพจิ ารณาแคค่ วามเส่ยี งเพยี งอยา่ งเดียว ฝาุ ยบริหารบางคร้ังอาจจะเห็นเหตุการณ์ท่ีเป็นโอกาสทาง ธุรกิจด้วย

17 5.2.7 การพัฒนาการใช้เงินทุนให้ดีข้ึน การได้รับข้อมูลความเส่ียงท่ีมีคุณภาพดีจะทาให้ ผู้บริหารสามารถประเมินเงินทนุ ทัง้ หมดท่ีต้องการใช้และส่งเสริมใหม้ ีการจัดสรรเงนิ ทุนทด่ี ีขน้ึ ได้ ความสามารถที่ดีเหล่านี้มีอยู่ในการบริหารความเสี่ยงขององค์กร ซึ่งจะช่วยให้ผู้บริหารบรรลุ เปูาหมายในด้านผลประกอบการและความสามารถในการทากาไรขององค์กร รวมทั้งปูองกันการสูญเสีย ทรัพยากร การบริหารความเส่ียงขององค์กรจะช่วยทาให้มั่นใจได้ว่าการรายงานมีประสิทธิผล นอกจากนี้ ยังช่วยให้เชื่อมั่นได้ว่าองค์กรสามารถปฏิบัติตามกฏหมายและกฏระเบียบต่างๆ โดยไม่เกิดการเส่ือมเสีย ชื่อเสียงหรือผลกระทบอ่ืนๆ ท่ีจะตามมา กล่าวโดยสรุปการบริหารความเส่ียงขององค์กรจะช่วยให้องค์กร ดาเนินไปในทิศทางท่ีองค์กรประสงค์และหลีกพ้นกับดักหลุมพรางต่างๆ รวมทั้งเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดใน ระหว่างการดาเนนิ กิจการนน้ั ไดด้ ว้ ย 5.3 เหตุการณ์ – ความเสีย่ งและโอกาส (Events-Risks and Opportunities) เหตุการณ์ คือ สิ่งทเ่ี กิดขึ้นหรือการเกิดขึ้นของเหตุต่างๆ จากปัจจัยภายในหรือปัจจัยภายนอก ท่ี มีผลกระทบต่อการบรรลุเปูาหมายขององค์กร เหตุการณ์ต่างๆ ดังกล่าวสามารถส่งผลในเชิงลบคือ ความ เสยี่ ง ความเสี่ยง คือ ความเป็นไปได้ท่ีเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งจะเกิดขึ้นและส่งผลให้องค์กรไม่ สามารถบรรลวุ ัตถุประสงค์ได้เหตุการณ์ซ่ึงก่อให้เกิดผลกระทบในเชิงลบ จะเป็นอุปสรรคต่อการเสริมสร้าง คุณค่าหรือบั่นทอนคุณค่าที่องค์กรมีอยู่ ตัวอย่างเช่น เคร่ืองจักรไฟไหม้หรือการสูญเสียความน่าเช่ือถือ เหตุการณ์ซ่ึงส่งผลในเชิงลบอาจเกิดจากส่ิงท่ีดูเสมือนเป็นสภาวการณ์ท่ีไม่ดี เหตุการณ์ที่ส่งผลในเชิงบวก อาจหกั กลบลบกนั กับผลกระทบในเชงิ ลบก็ได้หรอื อาจสรา้ งโอกาสให้กับกิจการก็ โอกาส คือ ความเป็นไปได้ที่เหตุการณ์ใดเหตุการณ์หน่ึงจะเกิดข้ึนและส่งผลดีต่อการบรรลุ วัตถุประสงค์ โอกาสจะส่งเสริมการสร้างและการรักษาคุณค่า เมื่อมีโอกาสเกิดข้ึน ผู้บริหารจะต้องนา โอกาสนั้นกลับไปพิจารณาในกระบวนการกาหนดกลยุทธ์หรือวัตถุประสงค์ขององค์กร เพ่ือท่ีจะวางแผน ดาเนินกจิ กรรมตา่ งๆ ในอนั ท่จี ะฉวยโอกาสน้ันไว้ 5.4 คาจากัดความของการบรหิ ารความเสีย่ งขององค์กร การบริหารความเสี่ยงขององค์กร จัดการกับความเส่ียงและโอกาส เพื่อสร้างหรือรักษาคุณค่า ขององคก์ ร ดงั นัน้ คาจากดั ความของการบริหารความเสย่ี งขององค์กร เปน็ ดงั น้ี บริหารความเสยี่ งขององค์กร คอื กระบวนการซ่ึงคณะกรรมการผู้บริหารและบุคลากรอ่ืนๆ ของ องค์กรกาหนดข้ึนและนามาใช้ในการกาหนดกลยุทธทั่วท้ังองค์กร การบริหารความเส่ียงขององค์กรได้รับ การออกแบบมาเพ่ือให้สามารถระบุเหตุการณ์ที่อาจเกิดข้ึน และส่งผลกระทบต่อองค์กร รวมท้ังจัดการ ความเส่ียงนั้นให้อยู่ภายใต้ระดับความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับ (Risk Appetite) เพื่อช่วยทาให้เกิดความ เชอื่ ม่นั ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าองค์กรจะบรรลวุ ตั ถุประสงค์ตามเปาู หมายไว้ คาจากัดความน้ีถูกกาหนดโดยจงใจให้กว้างเข้าไว้ด้วยเหตุผลหลายประการ กล่าวคือ มีการ นาเอาแนวคิดพื้นฐานของวิธีการท่ีบริษัทหรือองค์กรต่างๆ ใช้ในการบริหารความเส่ียง ซึ่งจะเป็นแนวทาง สาหรับการนาไปประยุกต์ใช้ได้กับทุกองค์กรทุกอุตสาหกรรม และทุกภาคส่วน คาจากัดความน้ีมุ่งเน้นให้ ความสนใจโดยตรงไปที่การบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ขององค์กรใดองค์กรหนึ่ง นอกจากนี้แล้วคากาจัด

18 ความยงั ก่อให้เกิดแนวทางในการระบุถึงประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงขององค์กรซ่ึงจะได้กล่าวถึง ตอ่ ไปนใี้ นบทนี้ ส่วนแนวคิดพื้นฐานตามทไี่ ด้กลา่ วมาคร่าวๆ ข้างตน้ นั้นจะไดอ้ ธิบายในย่อหน้าถดั ไป 5.5 กระบวนการบรหิ ารความเส่ยี งขององค์กร การบริหารความเสี่ยงขององค์กรเป็นกระบวนการที่ไม่คงท่ี แต่เป็นการกระทาซ่ึงเก่ียวพันซึ่งกัน และกนั และตอ้ งการกระทาอย่างต่อเนื่องหรือทาซ้าแล้วซ้าอีก ซ่ึงการกระทาเหล่าน้ันจะกระจายและมีอยู่ ในทกุ วิถที างของการดาเนนิ ธุรกิจของผบู้ รหิ าร ผู้สังเกตการณ์บางคนอาจจะมองการบริหารความเสี่ยงขององค์กรแตกต่างไปจากท่ีอธิบาย ข้างต้น โดยมองว่าการบริหารความเส่ียงเป็นส่วนเพิ่มชองกิจกรรมขององค์กร แต่นั่นไม่ได้หมายความว่า การบริหารความเส่ียงท่ีได้ผลจะไม่ต้องใช้ความพยายามเพิ่มข้ึน เพราะบางคร้ังก็อาจเป็นเช่นน้ันได้ ตัวอย่างเช่น การพิจารณาความเสี่ยงด้านการให้สินเช่ือ (Credit Risk) หรือความเสี่ยงจากอัตรา แลกเปลี่ยน อาจจาเป็นต้องใช้ความพยายามเพ่ิมข้ึนในการพัฒนาโมเดลที่ต้องการ รวมท้ังการวิเคราะห์ และการคานวณตา่ งๆ ท่จี าเป็น บุคลากรขององค์กรหมายรวมถึง คณะกรรมการ ผู้บริหาร และบุคลากรอ่ืนๆ ในองค์กร ถึงแม้ว่าโดยพ้ืนฐานกรรมการขององค์กรจะทาหน้าท่ีหลักในการกากับดูแลแต่ยังต้องกาหนดทิศทางการ ทางานและอนุมตั กิ ลยุทธ์ รวมท้งั ธรุ ะกรรมและนโยบายท่สี าคัญบางประการดว้ ย ดงั น้ัน คณะกรรมการของ องคก์ รจึงเปน็ สว่ นประกอบที่สาคญั ของการบริหารความเสี่ยงขององค์กร 5.6 การนาหลักการบริหารความเสย่ี งไปใชท้ ่วั ทงั้ องคก์ ร ในการนาเอาหลักการบริหารความเสี่ยงขององค์กรไปประยุกต์ใช้นั้น องค์กรควรคานึงถึง ขอบเขตของกิจกรรมท้ังหมด การบริหารความเส่ียงขององค์กรจะพิจารณากิจกรรมในทุกๆ ระดับของ องค์กร เริ่มต้ังแต่กิจกรรมระดับองค์กร ได้แก่ การวางแผนเชิงกลยุทธ์ และการจัดสรรทรัพยากรต่อไปยัง กิจกรรมในระดับหน่วยธุรกิจ ได้แก่ การตลาด ทรัพยากรบุคคล ไปจนถึงระดับกระบวนการทางธุรกิจซึ่ง ได้แก่ การผลิตการสอบทานเครดิตของลูกค้ารายใหม่ ในการบริหารความเส่ียงขององค์กร องค์กรต้อง พิจารณาภาพรวมของความเส่ียง (Portfolio View of Risk) ของทั้งองค์กร ซึ่งอาจเก่ียวพันไปถึงความ รับผิดชอบ หน้าท่ี กระบวนการปฏิบัติงาน ของผู้จัดการแต่ละคนของหน่วยธุรกิจหรือกิจกรรมอ่ืนๆ ซ่ึงอยู่ ในระหว่างการประเมนิ ความเสย่ี งสาหรบั กิจกรรมของตน การประเมินอาจอยู่ในระหว่างการประเมินความ เสี่ยงสาหรับกิจกรรมของตน การประเมนิ อาจอยูใ่ นรปู แบบเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพก็ได้ 5.7 ระดบั ความเสย่ี งที่องค์กรยอมรับได้ (Risk Appetite) ระดับความเส่ียงท่ีองค์กรยอมรับได้ คือ ปริมาณความเส่ียงในระดับกว้างๆ ซ่ึงองค์กรเต็มใจท่ีจะ ยอมรับในการมุ่งสู่คุณค่า ซึ่งสะท้อนให้เห็นปรัชญาการบริหารความเส่ียงขององค์กร และมีอิทธิพลต่อ วัฒนธรรมองค์กรและรูปแบบการปฏิบัติงานหลายๆ องค์กรพิจารณาระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ในเชิง คุณภาพ ซึ่งแบ่งเป็นระดับสูง ปานกลาง หรือต่า ในขณะที่อีกหลายองค์กรใช้วิธีการเชิงปริมาณซึ่งสะท้อน และถว่ งดลุ ระหว่างเปูาหมายการเจริญเติบโต ตอบแทนและความเส่ียง บริษัทท่ีมีระดับความเสี่ยงสูง เช่น ตลาดใหม่ (Newly Emerging Markets) ในทางตรงข้ามบริษัทที่มีระดับความเสี่ยงท่ียอมรับได้ต่า อาจจะ

19 กาหนดขีดจากัดความเสี่ยงระยะส้ันจากการสูญเสียเงินทุนก้อนใหญ่โดยการลงทุนเฉพาะในตลาดที่เติบโต เตม็ ทแี่ ละมเี สถียรภาพแลว้ 5.8 องคป์ ระกอบของการบริหารความเส่ยี งขององคก์ ร การบริหารความเส่ียงขององค์กร ประกอบไปด้วยองค์ประกอบที่เก่ียวโยงกัน 8 องค์ประกอบ ส่ิงเหล่าน้ีได้มาจากวิถีทางที่ผู้บริหารดาเนินธุรกิจ และผนวกรวมอยู่ในกระบวนการบริหารงาน องคป์ ระกอบเหล่าน้ีคือ 5.8.1 สภาพแวดลอ้ มภายในองค์กร ผู้บริหารจะต้องสร้างปรัชญาเกี่ยวกับการบริหารความ เสีย่ งและกาหนดระดับความเสีย่ งท่อี งคก์ รยอมรับได้ สภาพแวดล้อมภายในองค์กรเป็นพื้นฐานของวิธีการท่ี บคุ ลากรขององค์กรจะมองภาพความเส่ียงและการควบคุมว่าเป็นอย่างไร รวมทั้งจะจัดการเรื่องดังกล่าวได้ อย่างไร 5.8.2 การกาหนดวัตถุประสงค์ ผู้บริหารจะต้องกาหนดวัตถุประสงค์ให้ได้ก่อนท่ีจะระบุ เหตุการณท์ อ่ี าจจะเกดิ ข้ึนและส่งผลต่อการบรรลุผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์นั้น การบริหารความเสี่ยงของ องค์กรจะทาให้เกิดความมั่นใจว่า ผู้บริหารได้เลือกน้ันจะสนับสนุนและสอดคล้องกับพันธกิจขององค์กร รวมทง้ั สอดคลอ้ งกบั ระดับความเสีย่ งที่องค์กรยอมรบั ได้ 5.8.3 การระบุเหตุการณ์ องค์กรต้องระบุเหตุการณ์ท่ีอาจจะเกิดขึ้นและมีผลกระทบต่อ องค์กร โดยการระบุถึงเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นและมี ผลกระทบต่อองค์กร โดยการระบุถึงเหตุการณ์ที่ อาจเกิดข้ึนท้ังจากแหล่งภายในหรือภายนอก ซ่ึงจะส่งผลต่อการบรรลุเปูาหมายขององค์กร รวมถึงการ จาแนกระหวา่ งเหตกุ ารณ์ท่ีเป็นความเสย่ี ง โอกาส หรอื เป็นทง้ั ความเส่ยี งและโอกาส 5.8.4 การประเมินความเส่ียง ความเส่ียงต่างๆ ท่ีได้ระบุน้ัน จะถูกนาไปวิเคราะห์เพื่อสร้าง เกณฑ์การพิจารณาสาหรับตัดสินว่าความเส่ียงเหล่าน้ันควรจะได้รับการอย่างไร ความเสี่ยงจะมี ความสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ซ่ึงอาจจะเกิดผลกระทบจึงต้องมีการประเมินความเส่ียงท้ังความเส่ียงที่มีอยู่ ตามธรรมชาติ (inherent risk) และความเสี่ยงที่เหลืออยู่ (residual risk) โดยคานึงถึงท้ังความเป็นไปได้ท่ี จะเกดิ ความเส่ียงและผลกระทบทเี่ กดิ จากความเส่ยี งนน้ั ๆ 5.8.5 การตอบสนองต่อความเส่ียง บุคลากรขององค์กรจะเป็นผู้ระบุและประเมินแนว ทางการตอบสนองต่อความเส่ียงท่ีเป็นไปได้ ซ่ึงได้แก่ การหลีกเลี่ยง การยอมรับ การลด หรือการหาผู้ร่วม รับความเสี่ยง ผู้บริหารจะเป็นผู้เลือกแนวทางที่จะจัดการกับความเส่ียงในรูปแบบต่างๆ ให้เหมาะสม สอดคล้องกับชว่ งความเบีย่ งเบนของความเสี่ยงท่ียอมรับได้และระดบั ความเสี่ยงท่ยี อมรับได้ขององค์กร 5.8.6 กิจกรรมการควบคุม นโยบายและข้ันตอนการปฏิบัติงานต่างๆ จะถูกกาหนดและ นามาบังคับใช้เพ่ือช่วยให้มั่นใจว่า การตอบสนองต่อความเสี่ยงซึ่งผู้บริหารเลือกมานั้นได้มีการนาไปใช้ ดาเนนิ การจนเสร็จส้ินอย่างมปี ระสิทธผิ ล 5.8.7 สารสนเทศและการส่ือสาร สารสนเทศที่เก่ียวข้องกันจะต้องได้รับการระบุ จัดเก็บ และนาไปสื่อสารในรูปแบบและกรอบเวลาท่ีเอื้อให้บุคลากรสามารถนาไปใช้ในการปฏิบัติงานหน้าท่ีตาม ความรบั ผิดชอบได้ สารสนเทศเป็นส่ิงท่ีทุกระดับในองค์กรจาเป็นต้องใช้ในการระบุ การประเมิน และการ ตอบสนองต่อความเสย่ี ง

20 5.8.8 การติดตามประเมินผล กระบวนการบริหารความเส่ียงขององค์กรทั้งหมดจะต้องมี การติดตามประเมินผลและปรับเปลี่ยนตามความจาเป็น วิธีการเช่นนี้จะทาให้องค์กรสามารถตอบโต้ได้ใน ทุกสถานการณ์ และปรับตัวได้ในทุกสถานการณ์ท่ีเปล่ียนแปลงได้ การติดตามประเมินผลสามารถกระทา โดยผ่านกจิ กรรมทางการบริหารซ่งึ มกี ารดาเนินการอย่างต่อเน่ืองหรือแยกประเมินผลการบริหารควมเส่ียง ขององค์กรต่างหากหรือทั้งสองวิธีรวมกนั ก็ได้ 5.9 ความสมั พันธร์ ะหว่างวตั ถุประสงค์และองคป์ ระกอบของการบรหิ ารความเส่ียง วัตถุประสงค์ ซึ่งก็คือ ส่ิงท่ีองค์กรต้องฝุาฟันเพื่อให้บรรลุผล จะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับ องค์ประกอบของการบริหารความเส่ียงขององค์กร ซึ่งแสดงถึงส่ิงท่ีจาเป็นในการทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ เหลา่ นั้น ความสมั พนั ธด์ ังกลา่ วสามารถแสดงเปน็ ภาพ 3 มติ ิ ในรูปลูกบาศกด์ ังภาพ 2 ภาพ 2 แสดงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งวัตถุประสงค์และองค์ประกอบของการบรหิ ารความเสีย่ ง วัตถุประสงค์มี 4 ประเภท คือ กลยุทธ์ การปฎิบัติการ การรายงานและการปฏิบัติตามระเบียบ ซงึ่ แสดงอยู่ในแนวต้งั 5.9.1 องคป์ ระกอบทง้ั 8 องคป์ ระกอบแสดงอยู่ในแถวแนวนอน 5.9.2 องค์กรและระดบั หน่วยธรุ กิจขององค์กรแสดงอยู่ในมติ ทิ ่ี 3 ของรูปลูกบาศก์ แต่ละแถวขององค์กรประกอบท่ี “ตัดผ่านตามแนวขวาง” ใช้กับวัตถุประสงค์ได้ ท้ัง 4 ประเภท ตัวอย่างเช่น ข้อมูลทางการเงินและข้อมูลอ่ืนที่ไม่ใช่ข้อมูลทางการเงินที่เกิดจากแหล่งภายในและ ภายนอกองค์กรซ่ึงถือเป็นส่วนหน่ึงขององค์กรประกอบด้านสารสนเทศและการสื่อสารนั้น จาเป็นต้องใช้ ข้อมูลเหล่าน้ันเพ่ือกาหนดกลยุทธ์ เพ่ือการบริหารงานธุรกิจให้ได้ผล เพ่ือการรายงานท่ีมีประสิทธิผล และ เพอื่ ตัดสินได้วา่ การดาเนนิ งานขององค์กรเปน็ ไปตามกฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้องหรือไม่

21 ในทานองเดียวกันเมื่อดูท่ีประเภทของวัตถุประสงค์แล้ว องค์ประกอบทั้ง 8 ล้วนมี ความสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์แต่ละประเภท หากหยิบยกเอาวัตถุประสงค์มาหนึ่งประเภท คือ วัตถุประสงค์เกี่ยวกับประสิทธิภาพของการปฎิบัติงานองค์ประกอบทั้ง 8 ส่วน ก็สามารถนามาใช้ได้และมี ความสาคญั ในการทาให้บรรลวุ ัตถุประสงค์นน้ั ทงั้ สนิ้ การบริหารความเส่ียงขององค์กรมีความเกี่ยวข้องกับท้ังองค์กรหรือแต่ละหน่วยงานใดของ องค์กรกไ็ ด้ ความสัมพนั ธ์ดังกล่าวถูกอธบิ ายในมติ ทิ ่สี าม ซึ่งแสดงใหเ้ ห็นถงึ บริษทั ย่อย และหน่วยงานธุรกิจ อื่นๆ ดังนั้น องค์กรจึงสามารถให้ความสนใจเฉพาะแต่ละช่องของเมทริกซ์ ตัวอย่างเช่น องค์กรอาจ พิจารณาช่องขวาบนสุดด้านหลัง ซ่ึงแสดงถึงสภาพแวดล้อมภายในท่ีก่ียวข้องกับวัตถุประสงค์ด้านการ ปฏิบัตติ ามกฎระเบียบต่างๆ ของบริษัทย่อยขององค์กร พึงระวังว่า คอลัมน์แนวต้ัง 4 คอลัมน์แสดงถึงแต่ ละประเภทของวัตถปุ ระสงคข์ ององค์กร แต่ไมใ่ ช่เปน็ เพียงส่วนหน่ึงหรือหน่วยหนึ่งขององค์กร ตัวอย่างเช่น เม่ือกาลังพิจารณาถึงวัตถุประสงค์ประเภทท่ีเก่ียวข้องกับการรายงาน ความรู้ความเข้าใจในเร่ืองความ หลากหลายของสารสนเทศท่เี กีย่ วกบั การปฏิบัติงานขององค์กรย่อมเป็นสิ่งจาเป็น แต่ในกรณีดังกล่าวควร มุ่งความสนใจไปท่ีคอลัมน์แนวตั้งช่องกลางด้านขวาของเมทริกซ์ ซ่ึงเป็นวัตถุประสงค์ด้านการรายงาน มากกวา่ วตั ถปุ ระสงค์ด้านการปฏบิ ตั กิ าร 5.10 ประสทิ ธผิ ล ในขณะท่ีการบริหารความเส่ียงขององค์กร คือ กระบวนการ ประสิทธิผลของกระบวนการ ดงั กล่าวก็คือ สภาพหรือสภาวะ ณ ขณะใดขณะหน่ึง การที่จะตัดสินว่าการบริหารความเสี่ยงขององค์กรมี ประสิทธิผลหรือไม่น้ัน เป็นการตัดสินใจจากผลการประเมินว่าองค์ประกอบทั้ง 8 มีอยู่และทาหน้าที่ อย่างไรได้ผลหรือไม่เพียงใด ดังน้ันองค์ประกอบของการบริหารความเสี่ยงจึงเป็นเกณฑ์สาหรับวัดความมี ประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงขององค์กรด้วยเช่นกัน การที่องค์กรประกอบน้ันยังคงอยู่และทา หน้าที่ได้อย่างถูกต้องจึงไม่ควรจะมีจุดอ่อนที่สาคัญ และจาเป็นต้องจากัดความเสี่ยงให้อยู่ภายใต้ระดับ ความเสยี่ งท่ีองค์กรยอมรบั ได้ (risk appetite) 5.11 การบริหารความเสยี่ งขององคก์ รและกระบวนการบริหาร เน่ืองจากการบริหารความเสี่ยงขององค์กรเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหาร จึงได้มีการ กล่าวถึงองค์ประกอบของกรอบโครงสร้างการบริหารความเสี่ยงขององค์กรในแงข่ องส่ิงท่ีผู้บริหารกระทาใน การดาเนินธุรกิจหรือในกิจการอื่นๆ ขององค์กรแต่ไม่ใช่ว่าทุกการกระทาของผู้บริหารจะเป็นส่วนหนึ่งของ การบริหารความเสี่ยงขององค์กร การใช้ดุลยพินิจหลายๆ อย่างในการตัดสินใจของผู้บริหารและในการ กระทาอ่ืนๆ ทางการบริหารท่ีเก่ียวเน่ืองกัน แม้จะเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการบริหารก็ตามแต่ก็ถือว่า เปน็ ส่วนหน่งึ ของการบริหารความเส่ียงขององค์กร ตัวอย่างเชน่ 5.11.1 การทาใหม้ ่ันใจได้ว่ามีกระบวนการท่ีเหมาะสมในการกาหนดวัตถุประสงค์ถือเป็น องค์ประกอบท่ีสาคัญย่ิงในการบริหารความเส่ียงขององค์กร แต่วัตถุประสงค์เฉพาะบางอย่างที่ผู้บริหาร เลอื กไมไ่ ด้เปน็ ส่วนหนึง่ ของการบรหิ ารความเสี่ยงขององคก์ ร 5.11.2 การตอบสนองต่อความเสี่ยงโดยมีพื้นฐานมากจากการประเมินความเส่ียงที่ เหมาะสม เป็นส่วนหนี่งของการบรหิ ารความเสีย่ งขององคก์ ร แตก่ ารตอบสนองตอ่ ความเส่ียงเฉพาะอย่างท่ี

22 ผู้บริหารเลือกและการจัดการทรัพยากรขององค์กรท่ีเก่ียวเนื่องกันนั้น ไม่ใช่การบริหารความเสี่ยงของ องคก์ ร 5.11.3 การกาหนดและการดาเนินกิจกรรมการควบคุมภายในต่างๆเพ่ือช่วยให้เกิดความ ม่ันใจว่าการตอบสนองต่อความเส่ียงที่ผู้บริหารเลือกมาน้ันได้มีการดาเนินการจนสาเร็จ เป็นส่วนหนึ่งของ การบรหิ ารความเส่ยี งขององค์กร แต่กจิ กรรมการควบคุมเฉพาะเรื่องทถ่ี ูกเลือกมานั้นไม่ใช่การบริหารความ เสีย่ งขององค์กร กล่าวโดยทั่วไป การบริหารความเส่ียงขององค์กรจะเกี่ยวข้องกับส่วนต่างๆ ของกระบวนการ บริหารท่ีทาให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจในเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับความเส่ียงบนพื้นฐานของข้อมูล แต่การ ตัดสินใจใดท่ีได้เลือกมาจากทางเลือกที่เหมาะสมซึ่งมีอยู่หลากหลายน้ัน ไม่ได้เป็นส่ิงที่บอกว่าการบริหาร ความเสี่ยงขององค์กรน้ันได้ผลหรือไม่ อย่างไรก็ตาม แม้วัตถุประสงค์ถ้าเฉพาะเจาะจง การตอบสนองต่อ ความเส่ียง และกิจกรรมการควบคมุ ท่ีเลือกใช้ จะเปน็ เรอ่ื งของการใช้ดลุ ยพินิจทางการบริหาร แต่ทางเลือก ต่างๆ ต้องส่งผลให้การลดความเส่ียงไปสู่ระดับที่ยอมรับได้ตามท่ีกาหนดไว้และทาให้เกิดความเชื่อม่ันได้ อย่างสมเหตสุ มผลวา่ องคก์ รจะบรรลุวัตถปุ ระสงค์ 5.12 ขัน้ ตอนของกรอบโครงสร้าง COSO การบริหารความเสี่ยงขององค์กรจะนาไปใช้โดยผู้เกี่ยวข้องหลายฝุายแต่ละฝุายมีความ รับผิดชอบที่สาคัญไม่ว่าจะเป็นกรรมการ (โดยตรงหรือผ่านคณะอนุกรรมการ) ฝุายบริหาร ผู้ตรวจสอบ ภายในและบคุ ลากรอ่านๆ ล้วนมีส่วนสาคัญในการบริหารความเสี่ยง สาหรับหน่วยงานภายนอกอ่ืนๆ เช่น ผู้สอบบัญชีและหน่วยงานกกับดูแลจะเกี่ยวข้องกับการประเมินความเส่ียงและการควบคุมภายในบางคร้ัง ถึงแม้ว่าจะมีความแตกต่างระหว่างผู้ท่ีเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารความเส่ียงขององค์กร แต่การ กระทาของบุคคลเหล่านี้อาจมีผลต่อกระบวนการหรืออาจช่วยให้องค์กรสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้ อย่างไรก็ตามไม่ว่าบุคคลภายนอกเหล่าน้ีจะช่วยให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์โดยทางตรงหรือทางอ้อมก็ ไมไ่ ดใ้ ห้พวกเขาเป็นสว่ นหนึ่งหรือมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ การบรหิ ารความเสย่ี งขององค์กรแต่อยา่ งใด ข้ันตอนของกรอบโครงสร้าง COSO เป็นองค์กรประกอบสาคัญท่ีทาให้จัดการกับการบริหาร ความเสีย่ งได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ มขี น้ั ตอน 8 ข้ันตอน ได้แก่ 5.12.1 สภาพแวดลอ้ มภายในองค์กร สภาพแวดล้อมภายในองค์กร ครอบคลุมท่าที (Tone) ขององค์กรโดยรวมซึ่งมีอิทธิพลต่อ ความตระหนักถึงความเส่ียงของบุคลากรขององค์กรและเป็นพื้นฐานขององค์ประกอบอ่ืนๆ ท้ังหมดของ การบริหารความเสีย่ งขององคก์ รและช่วยกอ่ ใหเ้ กิดแนวทางปฏิบัตแิ ละโครงสร้างของการบริหารความเส่ียง ขององค์กร ปัจจัยของสภาพแวดล้อมภายในองค์กร ประกอบด้วยปรัชญาในการบริหารความเสี่ยงของ องค์กร ระดับความเส่ียง ท่ีองค์กรยอมรับได้ การกากับดูแลของคณะกรรมการ ความซื่อสัตย์ คุณค่าแห่ง จริยธรรม และความสามารถของบุคลากร ตลอดจนวิธีการที่ผู้บริหารมอบหมายอานาจหน้าท่ีและความ รบั ผดิ ชอบ และการจดั โครงสรา้ งและการพัฒนาบุคลากรองค์กร สภาพแวดล้อมภายในองค์กรเป็นพื้นฐานขององค์ประกอบอื่นของบริหารความเส่ียงของ องค์กรและช่วยก่อให้เกิดแนวทางปฏิบัติและโครงสร้างของการบริหารความเสี่ยงขององค์กร

23 สภาพแวดล้อมภายในองค์กรจะมีอิทธิพลต่อวิธีการกาหนดกลยุทธ์และวัตถุประสงค์ วิธีการกาหนด โครงสรา้ งของกิจกรรมทางธุรกจิ รวมทง้ั การระบุการประเมิน และวิธกี ารจดั การความเสี่ยง สภาพแวดล้อม ภายในองค์กรมีอทิ ธิพลต่อการออกแบบและการดาเนินการของกิจกรรมการควบคุม ระบบสารสนเทศและ การส่ือสารรวมท้งั กจิ กรรมตอ่ การติดตามประเมินผลด้วย สภาพแวดล้อมภายในองค์กรได้รับอิทธิพลมาจากประวัติความเป็นมาและวัฒนธรรมของ องคก์ ร สภาพแวดล้อมภายในองคก์ ร มสี ่วนประกอบหลายอย่าง ซึ่งรวมถึงคุณค่าทางจริยธรรมขององค์กร ความสามารถและการพัฒนาของบุคลากร ปรัชญา การบริหารความเสี่ยงของผู้บริหาร และวิธีการท่ี ผู้บริหารมอบหมายอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบคณะกรรมการขององค์กรถือเป็นส่วนสาคัญยิ่งของ สภาพแวดล้อมภายในองคก์ ร และมีอทิ ธิพลเปน็ อย่างมากต่อส่วนประกอบอ่ืนๆ ของสภาพแวดล้อมภายใน องคก์ ร ถึงแม้ว่าทุกๆ ส่วนประกอบของสภาพแวดล้อมภายในจะมีความสาคัญ แต่ระดับของการ จัดการจะแตกต่างกนั ไปแล้วแต่กรณี ตวั อยา่ งเช่น หัวหนา้ ผบู้ ริหารของบริษัทแห่งหน่ึง ท่ีมีจานวนพนักงาน ไมม่ มี าก และปฏบิ ัติการแบบรวมศูนย์ อาจไม่จาเป็นต้องกาหนดหน้าท่ีความรับผิดชอบที่เป็นทางการ และ ไม่จาเป็นต้องมีนโยบายการปฏิบัติงานอย่างละเอียด บริษัทก็สามารถมีสภาพแวดล้อมภายในซึ่งก่อให้เกิด พ้ืนฐานของการบริหารความเสี่ยงขององค์กรที่เหมาะสมได้ (Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission COSO. (nodate) อ้างอิงใน วิชัย กิตติวิทยากุลและ คณะ, 2551, หน้า 41–42) 5.12.2 การกาหนดวัตถุประสงค์ วตั ถปุ ระสงค์ท่ีกาหนดไวใ้ นระดบั กลยุทธ์ เป็นพื้นฐานของการกาหนดวัตถุประสงค์ด้านการ ปฏบิ ัตกิ าร การรายงาน และการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ทุกองค์กรจะเผชิญอยู่กับความเส่ียงท่ีหลากหลาย ทั้งจากแหล่งภายในและภายนอก การกาหนด วัตถุประสงค์เป็นเง่ือนไขเบื้องต้นที่จะทาให้สามารถระบุ เหตุการณ์ ประเมินความเส่ียง และตอบสนองต่อความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิผล วัตถุประสงค์จะต้อง สอดคล้องกับระดับความเส่ียงที่องค์กรยอมรับได้ (Risk Appetite) ซ่ึงเป็นตัวกาหนดระดับของช่วงความ เบีย่ งเบนของความเสี่ยงท่ียอมรับไดข้ ององคก์ ร (Risk Tolerance Levels) การกาหนดวตั ถปุ ระสงคเ์ ปน็ เง่ือนไขเบอื้ งตน้ ของการระบเุ หตกุ ารณ์ การประเมินความเสี่ยง และการตอบสนองต่อความเส่ียง และการตอบสนองต่อความเส่ียง วัตถุประสงค์จึงต้องกาหนดขึ้นก่อนที่ ผบู้ ริหารจะสามารถระบุและประเมนิ ความเส่ียงทมี่ ีผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ รวมทั้งกาหนดมาตรการท่ี จาเปน็ เพอ่ื บริหารความเส่ยี งดงั กล่าว พนั ธกจิ ขององค์กรกาหนด ถงึ สงิ่ ซ่งึ องค์กรปรารถนาจะบรรลุไว้อย่างกว้างๆ ดังน้ัน ไม่ว่าจะ ใช้ถ้อยคาอะไร เป็นต้นว่า พันธกิจ วิสัยทัศน์ หรือ เปูาหมาย ก็ตามฝุายบริหารภายใต้การกากับดูแลโดย คณะกรรมการขององค์กรจาเป็นต้องกาหนดเหตุผลในการดารงอยู่ขององค์กรท่ีครอบคลุมและชัดเจน ต่อจากนั้น ผู้บริหารจึงกาหนดวัตถุประสงค์ด้านกลยุทธ์ สร้างกลยุทธ์ และกาหนดวัตถุประสงค์ด้านการ ปฏิบตั กิ าร การรายงาน และการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับองค์กรต่อไป โดยทั่วไปแล้วพันธกิจ และวัตถุประสงค์ด้านกลยุทธ์ขององค์กรมักจะไม่เปล่ียนแปลงบ่อยๆ แต่กลยุทธ์และวัตถุประสงค์ที่

24 เกี่ยวข้องทั้งหลายมักจะมีการเปลี่ยนแปลงและต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทั้งจาก ภายในและภายนอกองค์กรท่ีเปล่ียนแปลงไป เมื่อมีการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึน องค์กรจาเป็นต้องจัดกลยุทธ์ และวัตถปุ ระสงค์ทเี่ ก่ียวข้องใหม่ใหส้ อดคล้องกบั วัตถุประสงคด์ ้านกลยุทธ์ วัตถุประสงค์ด้านกลยุทธ์เป็นเปูาหมายในระดับสูงซึ่งสอดคล้องสนับสนุน พันธกิจ หรือ วิสัยทัศน์ขององค์กร วัตถุประสงค์ด้านกลยุทธ์ จะสะท้อนถึงทางเลือกของฝุายบริหารว่าจะหาวิธีสร้าง คุณคา่ ใหแ้ ก่ผู้มีสว่ นได้เสยี ขององค์กรไดอ้ ย่างไร ในการพิจารณาทางเลือกต่างๆ เพ่ือให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ด้านกลยุทธ์ขององค์กร ฝุายบริหารจะระบุความเสี่ยงท่ีเก่ียวข้องกับแต่ละทางเลือกของกลยุทธ์และพิจารณาถึงผลต่อเนื่องของ ความเสี่ยงดังกล่าว เทคนิคท่ีใช้ในการระบุเหตุการณ์และการประเมินความเสี่ยงหลายๆ วิธีท่ีจะกล่าวถึง ตอ่ ไปในบทน้ีและบทต่อๆ ไป สามารถนาไปใช้ในกระบวนการกาหนดกลยุทธ์ได้ ด้วยเหตุน้ี เทคนิคในการ บริหารความเสี่ยงขององค์กรจึงถูกนามาใช้ในการกาหนดกลยุทธ์และวัตถุประสงค์ด้วย(Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission COSO. (nodate) อ้างอิงใน วิชัย กิตติ วิทยากลุ และคณะ, 2551, หนา้ 55–56) 5.12.3 การระบเุ หตกุ ารณ์ ฝุายบริหารจะระบุเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นว่า หากเหตุการณ์เหล่านั้นเกิดข้ึนแล้วจะมี ผลกระทบท่ีเป็นโอกาส หรือเป็นอุปสรรคต่อความสามารถในการดาเนินกลยุทธ์ให้สาเร็จและการบรรลุ วัตถุประสงค์ขององค์กรหรือไม่ เหตุการณ์ที่มีผลกระทบในเชิงลบหรือเป็นอุปสรรคคือ ความเสี่ยง ซ่ึงฝุาย บริหารจะต้องประเมินและตอบสนองเหตุการณ์ท่ีมีผลกระทบในเชิงบวกคือโอกาส ซ่ึงฝุายบริหารจะนา โอกาสน้ันไปพิจารณาในกระบวนการกาหนดกลยุทธ์ และวัตถุประสงค์ในการระบุเหตุการณ์ ฝุายบริหาร จะต้องพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ทั้งจากภายในและภายนอกองค์กรที่อาจก่อให้เกิดความเส่ียงและโอกาส โดยจะต้องพิจารณาให้ครอบคลุมทวั่ ท้งั องคก์ ร เหตุการณ์ หมายถึง ส่ิงท่ีเกิดข้ึนหรือเร่ืองที่เกิดขึ้นจากแหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นภายในหรือ ภายนอกองค์กรซึ่งมีผลกระทบต่อการดาเนินการตามกลยุทธ์หรือการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร เหตุการณ์อาจให้ผลกระทบในเชิงบวกหรือเชิงลบ หรือทั้งสองอย่างในคราวเดียวกันก็ได้ ในการระบุ เหตกุ ารณฝ์ าุ ยบรหิ ารจะทราบว่ามีความไม่แน่นอนอยู่ แต่ไม่ทราบว่าเหตุการณ์ใดจะเกิดข้ึน หรือจะเกิดขึ้น เม่ือใด หรือมีผลกระทบมากน้อยเพียงใด ดังนั้นฝุายบริหารจะต้องพิจารณาถึงเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีอาจจะ เกิดขึ้นท้ังหมด ท้ังท่ีเกิดจากภายในและภายนอกองค์กร โดยไม่ต้องสนใจว่าเหตุการณ์นั้นให้ผลกระทบใน เชิงบวกหรือเชิงลบตอ่ องคก์ ร ดว้ ยวธิ นี ี้ฝาุ ยบรหิ ารจงึ ไม่เพยี งแตร่ ะบุเหตุการณ์ท่ีอาจเกิดข้ึนท่ีมีผลในเชิงลบ แตย่ งั ระบุเหตุการณ์ ซึง่ เป็นโอกาสท่ีองคก์ ร เหตุการณ์อาจมีตั้งแต่เหตุการณ์ท่ีมีความชัดเจนไปจนถึงเหตุการณ์ท่ียังคลุมเครือและมี ผลกระทบตั้งแตเ่ ล็กนอ้ ยจนถงึ รุ่นแรงมาก วิธรี ะบุเหตกุ ารณท์ ่ดี ีทสี่ ดุ เพ่ือหลกี เล่ียงการมองข้ามเหตุการณ์ท่ี มีสาระสาคัญ คือ มองแยกจากการประเมินโอกาส (likelihood) ท่ีเหตุการณ์จะเกิดข้ึนและผลกระทบ (Impact) ของเหตุการณ์นั้น ซ่ึงเป็นประเด็นในหัวข้อการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) อย่างไร ก็ตามยังมขี ้อจากดั ในทางปฏบิ ัตอิ ยู่ และบ่อยคร้ังยากท่ีจะขีดเส้นแบ่งได้อย่างชัดเจน การระบุเหตุการณ์ไม่

25 ควรละเลยเหตุการณ์ท่ีมีความเป็นไปได้ต่ากว่าจะเกิดข้ึนถ้าเหตุการณ์นั้นจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการ บรรลวุ ัตถปุ ระสงคท์ ี่สาคัญขององค์กร (Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission COSO. (nodate) อ้างองิ ใน วิชยั กติ ติวิทยากลุ และคณะ, 2551, หน้า 67–68) 5.12.4 การประเมินความเส่ยี ง การประเมินความเส่ียงจะช่วยให้แต่ละองค์กรพิจารณาถึงเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดข้ึนและมี ผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร ฝุายบริหารจะประเมินเหตุการณ์จาก 2 มุมมอง ซึ่งได้แก่ โอกาสท่ีจะเกิดและผลกระทบ ซ่ึงโดยปกติแล้วจะใช้ท้ังวิธีการเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณร่วมกันองค์กร ควรพจิ ารณาผลกระทบทง้ั ในเชงิ บวก เชิงลบจากเหตกุ ารณ์ ตลอดจนท่วั ท้ังองคก์ ร นอกจากนี้จะต้องมีการ ประเมินความเสี่ยงบนพ้ืนฐานของความเส่ียงที่มีอยู่ตามธรรมชาติ (Inherent Risk) และความเส่ียงที่ เหลืออยู่ (residual risk) ปจั จัยภายในและปัจจัยภายนอกจะมีอิทธิพลต่อขนาดและประเภทของเหตุการณ์ที่อาจจะ เกิดขนึ้ ซึง่ สง่ ผลกระทบต่อวัตถุประสงค์ขององค์กร แม้ว่าปัจจัยบางอย่างจะมีลักษณะเหมือนกันกับบริษัท อ่ืนๆ ทอ่ี ย่ใู นอุตสาหกรรมเดียวกันแต่ผลจากเหตุการณ์ต่างๆ มักจะมีลักษณะเฉพาะองค์กรน้ันๆ เน่ืองจาก แต่ละองค์กรจะกาหนดวัตถุประสงค์และเลือกใช้ทางเลือกที่แตกต่างกันในการประเมินความเสี่ยงน้ันฝุ าย บริหารจะพิจารณาเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นในอนาคตท่ีเกี่ยวจข้องกับองค์กรและกิจกรรมต่างๆ ของ องค์กร ภายใต้สภาวะแวดล้อมต่างๆ ที่เป็นตัวกาหนดความเสี่ยงทั้งหมดขององค์กร (entity’s risk profile) เช่น ขนาดขององค์กร ความซับซ้อนของการปฏิบัติการ และระดับความเข้มงวดของระเบียบ ข้อบังคับในกิจกรรมต่างๆ ขององคก์ ร ในการประเมินความเส่ียง ฝุายบริหารจะพิจารณาท้ังเหตุการณ์ท่ีคาดว่าจะเกิดและไม่คาด ว่าจะเกิดขึ้นเหตุการณห์ ลายๆ เหตกุ ารณเ์ กิดข้ึนเป็นประจาและเกิดข้ึนซ้าๆ จะได้รับการระบุไว้ในโครงการ บริหารงานและงบประมาณการปฏิบัติงานเรียบร้อยแล้ว ในขณะที่เหตุการณ์อ่ืนๆ อาจจะไม่ได้คาดหมาย เอาไว้จึงไม่ได้ระบุไว้ในโครงการบริหารงานและงบประมาณการปฏิบัติงาน ดังนั้น ฝุายบริหารจะต้อง ประเมินความเส่ียงของเหตุการณ์อาจจะเกิดข้นึ แตไ่ มไ่ ดค้ าดหมายไว้และเหตุการณ์ท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นซ่ึงยัง ไม่ได้ประเมินความเสี่ยงไว้ ซ่ึงสามารถก่อให้เกิดผลกระทบท่ีร้ายแรงต่อองค์กร ในบางครั้งคาว่า “การ ประเมินความเสี่ยง”จะใช้กับกิจกรรมที่เกิดข้ึนเพียงคร้ังเดียว แต่ในความหมายของการบริหารความเสี่ยง ขององค์กรน้ันองค์ประกอบทางด้านการประเมินความเส่ียงจะเป็นการกระทาที่ต่อเนื่องสัมพันธ์กันและ เกิดขึ้นซ้าแล้วซ้าอีกท่ัวทั้งองค์กร (Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission COSO. (nodate) อา้ งองิ ใน วชิ ยั กิตตวิ ทิ ยากุลและคณะ, 2551, หนา้ 79-80) 5.12.5 การตอบสนองตอ่ ความเส่ยี ง เม่ือได้ประเมินความเส่ียงที่เกี่ยวข้องแล้ว ผู้บริหารจะพิจารณาว่าจะตอบสนองต่อความ เส่ียงอย่างไร วิธีการตอบสนองต่อความเสี่ยง รวมถึงการหลีกเล่ียงความเส่ียง การลดความเส่ียง การหาผู้ ร่วมรับความเส่ียง และการยอมรับความเส่ียง ในการพิจารณาว่าจะตอบสนองต่อความเส่ียงอย่างไรน้ัน ฝุายบริหารจะประเมินผลกระทบท่ีมีโอกาสท่ีจะเกิดและผลกระทบของความเส่ียง รวมท้ังต้นทุนและ ประโยชน์ทไี่ ด้รับ เพอ่ื เลือกวิธีการตอบสนองต่อความเส่ียงที่ทาให้ความเสี่ยงท่ีเหลืออยู่อยู่ภายในช่วงความ

26 เบี่ยงเบนของความเส่ียงที่ยอมรับได้ ฝุายบริหารจะระบุโอกาสท่ีอาจจะมีอยู่ และมองความเส่ียงในระดับ องค์กรหรอื ความเส่ียงในภาพรวมแล้วจึงพิจารณาวา่ ความเสย่ี งท่เี หลืออยู่โดยรวมน้ันอยู่ในระดับความเสี่ยง ทีอ่ งค์กรยอมรบั ได้หรอื ไม่ การตอบสนองต่อความเสี่ยงสามารถจาแนกออกเปน็ ประเภทได้ ดงั นี้ 5.12.5.1 การหลีกเลี่ยงความเส่ียง (Avoidance) คือ การเลิกกิจกรรมท่ี ก่อให้เกิดความเส่ียง การหลีกเล่ียงความเสี่ยง อาจเก่ียวกับการยกเลิกสายการผลิต การปฏิเสธที่จะขยาย ธุรกจิ สู่ตลาดในพนื้ ท่ีทางภูมิศาสตร์แหง่ ใหม่ หรือการขยายสายงานบางสายงาน 5.12.5.2 การลดความเสี่ยง (Reduction) คือ การกระทาการใดๆ เพ่ือลดโอกาส ทจี่ ะเกดิ ความเสยี่ งหรอื ผลกระทบของความเส่ยี งหรือลดท้งั สองด้านการตอบสนองต่อความเสี่ยงประเภทน้ี มักจะเกี่ยวขอ้ งกับการตัดสนิ ใจทางธรุ กิจทเี่ กดิ ข้ึนมากมายทกุ วัน 5.12.5.3 การหาผู้ร่วมรับความเสี่ยง (Sharing) คือ การลดโอกาสที่จะเกิดความ เส่ยี งหรอื ลดผลกระทบของความเสยี่ งโดยการโอนความเส่ียง หรือมิฉะน้ันก็โดยการหาผู้ร่วมรับความเสี่ยง ไปบางส่วน เทคนิคที่ใช้กันโดยท่ัวไป รวมถึงการซ้ือประกันภัยประเภทต่างๆ การเข้าไปทาสัญญาปูองกัน ความเส่ียง (hedging transactions) หรือการว่าจ้างให้บุคคลภายนอกเป็นผู้กระทากิจกรรมแทนในบาง กจิ กรรม (outsourcing) 5.12.5.4 การยอมรบั ความเส่ียง (Acceptance) คอื ไมก่ ระทาการใดๆ ที่จะมีผล เปลี่ยนแปลงต่อโอกาสท่ีจะเกิดความเสี่ยง หรือผลกระทบของความเสี่ยง (Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission COSO. (nodate) อ้างอิงใน วิชัย กิตติวิทยากุลและ คณะ, 2551, หน้า 91-92) 5.12.6 กิจกรรมการควบคุม กิจกรรมวิธีปฏิบัติท่ีจะช่วยให้มั่นใจว่า ได้มีการดาเนินการตามแนวทางการตอบสนองต่อ ความเสี่ยงท่ีได้วางไว้ กิจกรรมการควบคุมเกิดข้ึนในทุกระดับ ทุกหน้าที่งานทั่วท้ังองค์กรกิจกรรมการ ควบคุมประกอบไปด้วยกิจกรรมหลายๆ กิจกรรมท่ีแตกต่างกัน เช่น การอนุมัติ การมอบหมายอานาจ หน้าที่ การยืนยันความถูกต้อง การกระทบยอด การสอบทานผลการปฏิบัติงาน การดูแลรักษาสินทรัพย์ และการแบ่งแยกหนา้ ท่งี าน กิจกรรมการควบคุม คือ นโยบายและวิธีปฏิบัติงานที่บุคลากรนาไปถือปฏิบัติไม่ว่าจะเป็น การปฏิบัติโดยตรงหรือโดยการใช้เทคโนโลยีมาช่วยเพื่อให้แน่ใจว่าได้มีการดาเ นินการตามแนวทางการ ตอบสนองตอ่ ความเส่ียงที่ฝาุ ยบริหารได้กาหนดไว้ กิจกรรมการควบคุมสามารถจัดประเภทได้ตามลักษณะ ของความสัมพนั ธ์กับวตั ถปุ ระสงค์ขององค์กร ซ่ึงได้แก่ กลยุทธ์ การปฏิบัติการ การรายงานและการปฏิบัติ ตามกฎระเบียบ ถึงแม้ว่ากิจกรรมการควบคุมบางชนิดจะสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ประเภทเดียว แต่ โดยทั่วไปแล้วมักจะมีการทับซ้อนกัน กิจกรรมการควบคุมหน่ึงอาจช่วยให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ มากกว่าหนึ่งวัตถุประสงค์ ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับสถานการณ์แวดลัอม ตัวอย่างเช่น การควบคุมการปฏิบัติงาน บางอย่างช่วยให้การรายงานถูกต้องและเช่ือถือได้ ขณะเดียวกันกิจกรรมการควบคุมด้านการรายงานช่วย ให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ฯลฯ (Committee of Sponsoring Organizations

27 of the Treadway Commission COSO. (nodate) อ้างอิงใน วิชัย กิตติวิทยากุลและคณะ, 2551, หน้า 101) 5.12.7 สารสนเทศและการสื่อสาร ข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับการบริหารความเส่ียงจะต้องถูกระบุบันทึกและจัดเก็บไว้ (captured) และสื่อสารในรูปแบบและกรอบเวลาที่ช่วยทาให้บุคลากรที่เก่ียวข้องสามารถดาเ นินงานตามความ รบั ผดิ ชอบของตนได้ ระบบสารสนเทศใชข้ อ้ มูลทั้งท่ผี ลิตภายในองค์กรและข้อมลู จากแหล่งภายนอกซึ่งช่วย สนับสนุนสารสนเทศสาหรับการบริหารความเส่ียงและการตัดสินใจท่ีอยู่บนพ้ืนฐานของสารสนเทศซึ่ง สัมพันธ์กับวตั ถุประสงค์ขององค์กรการสื่อสารที่มีประสิทธิผลจะเกิดขึ้นจากผู้บริหารไปสู่พนักงานในระดับ ล่างข้ามหน่วยงาน และข้ึนสู่ระดับบนขององค์กร บุคลากรทุกคนต้องได้รับข่าวสารท่ีชัดเจนจากผู้บริหาร ระดับสงู ว่าความรับผิดชอบในเรื่องการบริหารความเส่ียงขององค์กรถือเป็นเร่ืองสาคัญและต้องดาเนินการ อยา่ งจริงจัง ทุกคนต้องเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนในการบริหารความเส่ียงขององค์กร รวมท้ังต้องเข้าใจ วา่ กจิ กรรมของแตล่ ะบุคคลเกย่ี วพนั ถึงงานของบุคคลอ่ืนๆ อย่างไร ทุกคนต้องมีช่องทางและวิธีการสื่อสาร ขอ้ มูลที่สาคัญย้อนกลบั ไปส่รู ะดับบน (upstream) นอกจากน้ันยังต้องมีการสื่อสารท่ีมีประสิทธิผลกับกลุ่ม บคุ คลภายนอก เช่น ลูกคา้ ผ้ขู าย หน่วยงานกากบั ดแู ล และผถู้ อื หุ้น ทุกองค์กรจะระบุและจัดเก็บสารสนเทศที่หลากหลายและสัมพันธ์กับเหตุการณ์ท้ังจาก ภายนอกและภายใน รวมท้ังกิจกรรมต่างๆ ทจ่ี าเปน็ ต่อการบริหารองค์กร สารสนเทศดังกล่าวจะถูกส่งให้ บุคลากรอย่างเป็นรูปแบบและภายในช่วงเวลาที่จะช่วยให้บุคลากรในองค์กรสามารถปฏิบัติหน้าท่ีในการ บริหารความเสี่ยงและหน้าที่ความรับผิดชอบอ่ืนๆ ได้ (Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission COSO. (nodate) อ้างอิงใน วชิ ัย กิตตวิ ทิ ยากลุ และคณะ, 2551, หน้า113 - หน้า114) 5.12.8 การตดิ ตามประเมนิ ผล การบริหารความเสี่ยงขององค์กรจะต้องมีการติดตามประเมินผลและประเมินผลแต่ละ องคป์ ระกอบของการบรหิ ารความเสย่ี งขององค์กรท่ีมีอยู่จริงและยังทาหน้าที่ได้ตามท่ีกาหนดตามช่วงเวลา การติดตามประเมินผลสามารถทาได้โดยใช้วิธีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องในแต่ละกิจกรรม หรือ การประเมินแยกต่างหาก (Separate Evaluation) หรือใช้ทั้งสองวิธีร่วมกัน การติดตามประเมินผลอย่าง ต่อเนื่องจะเกิดข้ึนในการดาเนินกิจกรรมทางการบริหารตามปกติ ส่วนการประเมินแยกต่างหากนั้นการ กาหนดขอบเขตและความถี่จะข้ึนอยู่กับการประเมินความเส่ียงและประสิทธิผลของวิธีการติดตาม ประเมินผลอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ขอ้ บกพร่องท่ีพบจากการติดตามประเมินผลการบริหารความเสี่ยงขององค์กรจะ รายงานต่อผู้บังคับบัญชา โดยข้อบกพร่องท่ีมีสาระสาคัญจะรายงานต่อผู้บริหารระดับสูงและ คณะกรรมการ บริหารควมเสี่ยงขององค์กรจะเปล่ียนแปลงไปตามกาลเวลา วิธีการตอบสนองต่อความ เสีย่ งทเ่ี คยใชไ้ ดผ้ ลในอดตี อาจจะใชไ้ ม่ได้อีกต่อไป กิจกรรมการควบคุมต่างๆ อาจมีประสิทธิผลน้อยลงหรือ อาจไม่ได้ถือปฏิบัติแล้ว หรือวัตถุประสงค์ขององค์กรอาจเปลี่ยนแปลงไป การเปล่ียนแปลงต่างๆ นั้นอาจ เกิดจากการมีบุคลากรใหม่เข้ามา มีการเปล่ียนแปลงในโครงสร้างหรือทิศทางขององค์กร หรือจากการนา

28 กระบวนการใหม่ๆ มาใช้ จากการเปลย่ี นแปลงท่ีเกดิ ขึน้ ผบู้ ริหารจาเป็นตอ้ งตดั สินว่าการบริหารความเสี่ยง ขององคก์ รคงมีประสิทธิผลอยหู่ รอื ไม่ การติดตามประเมินผลสามารถทาได้ 2 วิธีคือ ทาเป็นกิจกรรมต่อเนื่อง หรือกระทาแยก ตา่ งหากกลไกของการบรหิ ารความเส่ียงขององค์กรมกั จะถกู ออกแบบไว้ให้ทาการติดตามประเมินผลตัวเอง อย่างต่อเนอ่ื งอย่างนอ้ ย ณ ระดับหน่ึง ย่ิงระดับและประสิทธิผลของการติดตามประเมินผลอย่างต่อเน่ืองมี มากเท่าใด ความจาเป็นท่ีจะต้องทาการประเมินแยกต่างหากก็ย่ิงน้อยลงเท่านั้น ความถี่ของการประเมิน แยกต่างหากที่จะทาให้ผู้บริหารมีความเช่ือม่ันสมเหตุสมผลในเรื่องของการบริหาร (Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission COSO. (nodate) อ้างอิงใน วิชัย กิตติ วทิ ยากลุ และคณะ, 2551, หน้า 125-126) 5.13 บทบาทและความรับผิดชอบ ทุกคนในองค์กรต่างก็มีความรับผิดชอบต่อการบริหารความเส่ียงขององค์กรประธานเจ้าหน้าที่ บริหารมีความรับผิดชอบสูงสุดและควรรับหน้าที่เป็นเจ้าของเรื่องดังกล่าว ผู้จัดการคนอ่ืนๆมีหน้าท่ี สนับสนุนปรัชญาการบริหารความเส่ียงและส่งเสริมให้มีการบริหารความเสี่ยงสอดคล้องกับร ะดับความ เสย่ี งทอ่ี งคก์ รยอมรับได้ รวมถงึ บริหารความเสยี่ งภายใต้ขอบเขตความรับผิดชอบของตนให้อยู่ในช่วงความ เบี่ยงเบนของความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ส่วนบุคลากรอ่ืนๆในองค์กรมีหน้าที่รับผิดชอบต่อการดาเนินการ บริหารความเส่ียงขององค์กรให้เป็นไปตามข้อกาหนด ทิศทาง และกติกาที่ได้กาหนดไว้ คณะกรรมการมี หน้าทใ่ี นการสอดส่องดูแลการบรหิ ารความเสยี่ งขององค์กร สาหรับบุคคลภายนอกแล้วมักเป็นผู้ให้ข้อมูลท่ี เป็นประโยชนต์ อ่ การบรหิ ารความเสีย่ งขององคก์ ร แต่บคุ คลเหลา่ นไี้ ม่ต้องรับผดิ ชอบต่อความมีประสิทธิผล ของการบรหิ ารความเสีย่ งขององคก์ ร การบริหารความเส่ียงขององค์กรจะนาไปใช้โดยผู้เก่ียวข้องหลายฝุายแต่ละฝุายมีความ รับผิดชอบท่ีสาคัญ ไม่ว่าจะเป็นคณะกรรมการ (โดยตรงหรือผ่านคณะอนุกรรมการ) ฝุายบริหาร ผตู้ รวจสอบภายในและบุคลากรอนื่ ๆ ล้วนมสี ่วนสาคัญในการบริหารความเส่ียง สาหรับหน่วยงานภายนอก อื่นๆ เช่น ผู้สอบบัญชีและหน่วยงานกากับดูแลจะเก่ียวข้องกับการประเมินความเส่ียงและการควบคุม ภายในบางครัง้ ถึงแมว้ า่ จะมีความแตกตา่ งระหว่างผู้ท่เี ป็นสว่ นหนง่ึ และผทู้ ี่ไม่เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ บริหารความเส่ียงขององค์กร แต่การกระทาของบุคคลเหล่านี้อาจมีผลต่อกระบวนการหรืออาจช่วยให้ องค์กรสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้ อย่างไรก็ตามไม่ว่าบุคคลภายนอกเหล่านี้จะช่วยให้องค์กรบรรลุ วัตถุประสงค์โดยทางตรงหรือทางอ้อม ก็ไม่ได้ทาให้พวกเขาเป็นส่วนหน่ึงหรือมีความรับผิดชอบต่อการ บรหิ ารความเสี่ยงขององคก์ รแตอ่ ย่างใด ท้ังหมด 8 ข้ันตอนของกรอบโครงสร้าง COSO เป็นองค์ประกอบสาคัญท่ีทาให้จัดการกับการ บริหารความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission COSO. (nodate) อ้างอิงใน วิชัย กิตติวิทยากุลและคณะ, 2551, หน้า137- 138)

29 6. งานวิจยั ทเี่ กีย่ วขอ้ ง จากการศึกษาทัศนคติของบุคลากรท่ีเป็นคณะกรรมการบริหารความเส่ียงของคณะ หน่วยงาน ท่ีมีอิทธิพลต่อการจัดทาบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยนเรศวรน้ัน คณะผู้วิจัยได้ค้นคว้าเอกสาร งานวจิ ัยท่เี ก่ยี วข้อง ดังตอ่ ไปนี้ กันยารัตน์ ม้าวิไล (2551) ได้ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของ หัวหน้าหอผู้ปุวย โรงพยาบาลศูนย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุข การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนามี วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ศึกษา (1) ระดบั ของพฤติกรรมการบริหารความเส่ียงของหัวหน้าหอผู้ปุวย (2) ปัจจัยส่วน บคุ คล เจตคตติ ่อการบริหารความเส่ียง และทกั ษะการติดต่อสื่อสารของหวั หน้าหอผู้ปุวย (3) ความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติต่อการบริหารความเส่ียง และทักษะการติดต่อสื่อสารกับพฤติ กรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ปุวย และ (4) ตัวแปรพยากรณ์ที่ร่วมทานายพฤติ กรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ปุวย กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ปุวยโรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จานวน 309 คน ซ่ึงได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งช้ันภูมิ เครื่องมือท่ีใช้ใน การวิจัยเป็นแบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล เจตคติต่อการบริหารความเส่ียง ทักษะการติดต่อสื่อสารและ พฤติกรรมการบริหารความเสี่ยงของหัวหน้าหอผู้ปุวย ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเน้ือหาจาก ผู้ทรงคุณวุฒิ วิเคราะห์ค่าความเท่ียงของแบบสอบถามได้เท่ากับ .94, .90 และ .96 ตามลาดับ วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถ่ี รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ ของเพยี รส์ นั และวเิ คราะหถ์ ดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขัน้ ตอน ผลการวิจัย พบว่า (1) พฤติกรรมการบริหารความเส่ียงของหัวหน้าหอผู้ปุวย โดยรวมมีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก (2) ค่าเฉล่ียของเจตคติต่อการบริหารความเสี่ยงและทักษะการติดต่อส่ือสารเกี่ยวกับการ บริหารความเส่ียงโดยรวมอยู่ในระดับสูง (3) วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทางาน และการได้รับการ อบรมไม่มีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรมการบริหารความเส่ียงของหัวหน้าหอผู้ปุวย สาหรับเจตคติมี ความสัมพนั ธท์ างบวกในระดับปานกลางและทักษะการติดตอ่ ส่อื สารมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับ พฤตกิ รรมการบริหารความเส่ียงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (4) เจตคติต่อการบริหารความเสี่ยง และทักษะการติดต่อส่ือสารสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมบริหารความเสี่ยงของหัวหน้ าหอผู้ปุวยได้ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ.05 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมบริหารความเส่ียง ไดร้ ้อยละ 44 (R2=.440) และสามารถสร้างสมการพยากรณใ์ นรปู คะแนนดิบไดด้ ังนี้ นิศานาถ ภูมิดี (2549) ได้ศึกษาความคิดเห็นของพนักงานบริษัทการบินไทย จากัด (มหาชน) สังกัดสานักงานใหญ่ ต่อการบริหารความเส่ียงภายในองค์การ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ ประการแรก เพื่อศกึ ษาระดับความคิดเห็นของพนกั งานบริษัทการบนิ ไทย จากัด (มหาชน) สังกัดสานักงาน ใหญ่ ต่อการบริหารความเส่ียงภายในองค์การ ประการที่สอง เพื่อศึกษาเปรียบเทียบระดับความคิดเห็น ของพนักงานบริษัทการบินไทย จากัด (มหาชน) สังกัดสานักงานใหญ่ ต่อการบริหารความเส่ียงภายใน องค์การ ตามปัจจัยส่วนบุคคล ประการสุดท้าย เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านงานกับความ คิดเห็นของพนักงานบริษัทการบินไทย จากัด (มหาชน) สังกัดสานักงานใหญ่ ต่อการบริการความเส่ียง ภายในองค์การ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคร้ังนี้ คือ พนักงานบริษัทการบินไทย จากัด (มหาชน) สังกัด

30 สานักงานใหญ่ จานวน 354 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะหข์ ้อมูลโดยโปรแกรมสาเร็จรูป ทางสถิติ โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ค่า t-test การ วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน โดยมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 ผลการวิจัยคร้ังนี้ พบว่า พนักงานบริษัทการบินไทย จากัด (มหาชน) สังกัดสานักงานใหญ่ มี ความคิดเห็นต่อการบริหารความเสี่ยงภายในองค์การอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อเปรียบเทียบตามปัจจัย อายุ ตาแหน่ง รายได้รวม และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน พบว่าพนักงานบริษัทการบินไทย จากัด (มหาชน) สังกัดสานักงานใหญ่ มีความคิดเห็นต่อการบริหารความเสี่ยงภายในองค์การแตกต่างกัน ยกเว้น ปจั จัย เพศ และระดบั การศกึ ษา สว่ นการรบั รู้ปัจจยั เก่ียวกบั ความเส่ยี งภายในองค์การ และความรู้เกี่ยวกับ แนวคิดเร่ืองการบริหารความเส่ียงภายในองค์การ ไม่มีความสัมพันธ์กับความคิดเห็นต่อการบริหารความ เสี่ยงภายในองคก์ าร สิริมาส หมื่นสาย และคณะ (2553) ได้ศึกษาการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาบรกิ ารเฉลมิ พระเกียรติจงั หวดั เพชรบรู ณ์ การบรหิ ารความเส่ียงเป็นประเด็นที่สาคัญเร่ืองหนึ่งสาหรับ ผู้บริหารในนโยบายการวางแผนพัฒนาสถาบันการศึกษา การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพ ปัญหาความเสี่ยง และองค์ประกอบการบริหารความเส่ียง ของมหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดเพชรบูรณ์ โดยใช้แบบสารวจเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 4 กลุ่ม คือ เจ้าหน้าที่ จานวน 12 คน บุคลากรจ้างพิเศษ จานวน 10 คน นักศึกษา จานวน 405 คน และอาจารย์ จานวน 70 คน ผลการศึกษาสภาพปัญหาความเส่ียงที่ได้ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างแต่ละกลุ่มพบว่าเจ้าหน้าที่ของ มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดเพชรบูรณ์มีสภาพปัญหาการบริหาร ความเสี่ยงอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากทักษะของผู้ปฏิบัติงาน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเงิน และงบประมาณ ดา้ นระบบการบัญชี ดา้ นระบบเอกสารและประชาสัมพันธ์ และศักยภาพในการให้บริการ กับนักศึกษาในกลุ่มบุคลากรจ้างพิเศษ ได้แก่ แม่บ้าน คนสวน และเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย พบว่า สภาพปัญหาการบริหารความเส่ียงอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาท่ีพบได้แก่พื้นท่ีในการปฏิบัติงานมาก เกินไปไม่เหมาะสมกับจานวนผู้ปฏิบัติงาน เครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงานมี สถาพไม่สมบูรณ์และมีจานวน ไม่เพียงพอ การขาดการบันทึกการเบิกจ่ายและการใช้อุปกรณ์ การควบคุมบัญชีเบิกจ่ายไม่มีการบันทึก ข้อมูลให้ครบถ้วนและขาดการจัดทาตารางการตรวจสอบรอบมหาวิทยาลัยท่ีชัดเจน สภาพปัญหาการ บริหารความเสี่ยงของนักศึกษาและอาจารย์ท้ังหมดพบว่าอยู่ในระดับปานกลาง สาหรับในกลุ่มตัวอย่าง นักศึกษาปริญญาตรีพบว่า ส่วนใหญ่มีสภาพปัญหาเกี่ยวกับการจัดส่งเอกสารตาราเรียนและผลสอบล่าช้า ขาดเอกสารตาราเรียนจาหน่ายในวันลงทะเบยี นและวนั สมัคร การใหบ้ ริการห้องสมุดและห้องคอมพิวเตอร์ ยังไม่เพียงพอ ในกลุ่มนักศึกษาระดับชั้นปริญญาโทพบว่า ส่วนใหญ่มีปัญหาระบบสแกนลายนิ้วมือเข้าชั้น เรียน เน่ืองจากนักศึกษาแสกนไม่ผ่าน ระบบสัญญาณภาพและเสียงไม่ชัดเจนในบางคร้ัง ในกลุ่มนักศึกษา ปริญญาเอก พบว่ามีปัญหาเกี่ยวกับระบบการติดต่อสื่อสารระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษากับนักศึกษา การ จัดส่งเอกสารและการบริหารให้คาปรึกษาในระหว่างการเรียน สาหรับกลุ่มอาจารย์ผู้สอนปริญญาตรี

31 มีปัญหาทีพ่ บคอื ระยะเวลาการบรรยายสรุปนอ้ ยเกนิ ไป ตารางการบรรยายสรุปจดั ตารางในกระบวนวิชาท่ี มีคนลงทะเบยี นนอ้ ย แตจ่ ดั อาจารยม์ าสอน ส่วนกระบวนวชิ าท่ีนักศึกษาลงทะเบียนมากแต่ไม่มีอาจารย์มา บรรยายสรุปในภาคการศกึ ษาน้ัน ในกล่มุ อาจารยผ์ ้สู อนและอาจารย์ประสานงานในระดับปริญญาโทพบว่า ส่วนใหญ่มีปัญหาความเส่ียง 4 ด้าน คือ ระบบการเรียนการสอน การให้บริการจากเจ้าหน้าท่ี อาคาร สถานที่และเทคโนโลยี และสภาพแวดล้อมทั่วไป โดยเฉพาะปัญหาท่ีพบได้แก่ การติดต่อส่ือสารกับ นักศึกษาในระหว่างที่มีการเรียนการสอนล่าช้า ระบบไม่ชัดเจน ทาให้อาจารย์ผู้สอนติดต่อกับนักศึกษาใน เครอื ข่ายไดช้ ้า สภาพปัญหาการบริหารความเส่ียงและองค์ประกอบท่ีพบจากตัวอย่างทุกกลุ่มในงานวิจัยน้ี ถือ ว่าเป็นขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และบุคลากรของมหาวิทยาลัยซ่ึงมี ส่วนเก่ียวข้องและมีความสัมพันธ์กับการบริหารงานในมหาวิทยาลัย ข้อมูลน้ีจะใช้เป็นแนวทางในการช่วย ลดสภาพปัญหาการบริหารความเส่ยี งที่สาคญั สาหรบั ผู้บริหารมหาวิทยาลยั รวมท้ังช่วยเป็นแนวทางในการ หามาตรการในการพัฒนางานบริหารที่ดีและมีประสิทธิภาพอันก่อให้เกิด ผลสูงสุดต่อมหาวิทยาลัย รามคาแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรตจิ ังหวัดเพชรบูรณ์ ในอนาคตต่อไป ธิติภณั ฑ์ สุตมาศ (2548) ได้ศกึ ษาการรับรูข้ องพนกั งานต่อปจั จัยระบบการบริหารความเสี่ยงทั่ว ทัง้ องคก์ าร กรณีศกึ ษา บริษัทปโิ ตรเคมแี ห่งชาติ จากดั (มหาชน)การศึกษาคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษา ระดับการรับรู้ของพนักงานต่อปัจจัยระบบการบริหารความเสี่ยงทั่วท้ังองค์การ และเพื่อเปรียบเทียบการ รับรู้ปัจจัยระบบการบริหารความเส่ียงทั่วทั้งองค์การของพนักงานที่มีปัจจัยเก่ียวกับงานแตกต่างกัน กลุ่ม ตัวอย่างเป็นพนักงานบริษัทปิโตรเคมีแห่งชาติ จากัด(มหาชน)ท่ีปฏิบัติงาน ณ สานักงานกรุงเทพ และ สานักงานระยอง จานวน 454 คน ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามท่ีผู้วิจัยได้สร้างขึ้น ตามข้อเสนอแนะของ ไพร้ซวอเตอร์เฮาส์คูเปอร์ส (2546)เพ่ือตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยซึ่ง ประกอบด้วย การสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง การใช้คาเพ่ือให้เข้าใจแบบเดียวกัน การปฏิบัติตาม กระบวนการบรหิ ารความเสยี่ งอย่างตอ่ เน่ือง กระบวนการในการบริหารการเปล่ียนแปลง การส่ือสารอย่าง มีประสิทธิผล การวัดผลการบริหารความเส่ียง การฝึกอบรมและกลไกด้านทรัพยากรบุคคล และการ ติดตามกระบวนการบริหารความเส่ียง ตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิในบริษัทปิ โตรเคมีแห่งชาติ จากัด (มหาชน) และได้นาไปทดสอบกับพนักงาน 30 คน เพื่อทดสอบความเช่ือมั่นของ แบบสอบถาม ด้วยวิธีของ Cronbach’s Alpha ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .98 แล้วนาไปให้พนักงานกลุ่ม ตัวอย่างตอบแบบสอบถาม เก็บขอ้ มูลระหว่างวนั ท่ี 18-28 ธันวาคม 2547 ผลการศึกษาพบว่า 1. พนกั งานมีการรบั ร้ปู ัจจยั การบรหิ ารระบบโดยภาพรวมในระดับปานกลาง 2. พนักงานที่มีลักษณะงานต่างกัน มีการรับรู้ปัจจัยในการบริหารระบบไม่แตกต่างกัน 3. พนักงานที่ ปฏบิ ัติงานในสถานทปี่ ฏิบัตงิ านต่างกัน มีการรบั รปู้ ัจจัยในการบรหิ ารระบบแตกตา่ งกันอย่างมีนัยสาคัญย่ิง 4. พนักงานที่มีอายุงานต่างกันมีการรับรู้ปัจจัยในการบริหารระบบไม่แตกต่างกัน 5. พนักงานที่เคยได้รับ ข้อมูลเก่ียวกับการบริหารความเส่ียงที่ต่างกัน มีการรับรู้ปัจจัยในการบริหารระบบแตกต่างกันอย่างมี นยั สาคญั ยิ่ง

32 ไพรวัลย์ คุณาสถิตย์ชัย (2553)ได้ศึกษาการบริหารความเส่ีย งด้านการเงินของ มหาวิทยาลัยขอนแก่น การวิจัยคร้ังน้ีเป็นการวิจัยเชิงบรรยาย โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการ บริหารความเสี่ยงของงานด้านการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2) เพื่อหาแนวทางในการบริหารจัดการ ความเสี่ยงของงานด้านการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เน้ือหา การแจกแจง ความถ่ี ร้อยละ คา่ เฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารความเส่ียงของ งานด้านการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่นโดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับ “มาก” เมื่อพิจารณาตาม ขั้นตอนพบว่า การกาหนดวัตถุประสงค์ การระบุความเสี่ยง และการบริหารความเสี่ยงมีการปฏิบัติอยู่ใน ระดับ “มาก” ยกเว้นการติดตามผลและการประเมินความเส่ียงมีการปฏิบัติอยู่ในระดับ “ปานกลาง” 2. แนวทางการบริหารความเสี่ยงของงานด้านการเงินของมหาวิทยาลัยขอนแก่น คือ 1) กาหนดนโยบาย บริหารความเส่ียง ต้องเป็นนโยบายและบังคับผู้บริหารออกแนวทางปฏิบัติ การกาหนดในเรื่องของการ บริหารความเสี่ยง 2) มีการจัดทาคู่มือปฏิบัติงาน 3) มีหน่วยงานให้คาปรึกษาส่วนกลาง การปฏิบัติต้องมี การปรับปรุงกระบวนการเพ่ือลดความเส่ียง 4) เจ้าหน้าท่ีมีสมรรถนะในด้านการให้บริการ และควร คัดเลือกผู้ปฏบิ ัติทางดา้ นการเงินและบญั ชีอย่างรอบคอบ 5) การส่ือสารให้ข้อมูลความเส่ียงอย่างสม่าเสมอ โดยเนน้ ให้เหน็ ถึงความสาคัญของการบริหารความเสีย่ ง ประเด็นความเสย่ี งทคี่ วรตอ้ งไดร้ ับการจัดการทันที และการปรับปรุงแผนการดาเนินงานที่จาเป็น 6) การจัดให้มีการฝึกอบรมและใช้กลไกการบริหาร ทรพั ยากรบคุ คล เพื่อเผยแพรข่ ้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับการบริหารความเส่ียง ความรับผิดชอบของแต่ละบุคคล และเพื่อส่งเสริมให้เกิดการปฏิบัติท่ีเหมาะสม 7) จัดให้มีหน่วยงานหรือผู้รับผิดชอบในการบริหารความ เสี่ยงมาปฏบิ ตั ิและการพัฒนาความสามารถในการบริหารความเส่ียงของพนักงาน 8) ผู้ตรวจสอบภายในมี บทบาทสาคัญในการทาให้ม่ันใจได้ว่าองค์กร มีการควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพและประสิทธผลในการ จัดการความเส่ียง และในกรณที จ่ี าเปน็ ผ้ตู รวจสอบภายในควรเสนอแนะประเดน็ ทคี่ วรได้รบั การปรบั ปรงุ มนสชิ า แสวง้ (2553) ได้ศึกษาการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การศึกษาครั้ง นมี้ ีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อ 1) ต้องการศกึ ษาระดับความเส่ียงของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2) ศึกษาแนวทางในการ จดั ทาการบรหิ ารความเสย่ี งของมหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ี รวมจานวนท้ังสิ้น 36 คน ซ่ึงเป็นประชากรระดับผู้บริหารของ ส่วนงาน ของคณะ สถาบัน สานัก ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เครอื่ งมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม แสดงความคิดเหน็ ในประเด็นความเส่ียง การวิเคราะห์ ข้อมูลแบบสอบถามได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย โดยเรียบเรียงบรรยายตามความเป็นจริง ผลการศึกษา สรุปได้ดังน้ี 1) ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ด้านการดาเนินงาน ด้านกฎหมายและระเบียบต่างๆ มีความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย แสดงว่าทั้ง 3 ประเด็นผู้บริหารระดับสูงของส่วนงานสามารถยอมรับความ เส่ียงได้แต่ต้องมีการควบคุมการปฏิบัติงานในด้านดังกล่าว ส่วนความเส่ียงด้านการเงินและงบประมาณมี ความเส่ียงอย่ใู นระดับสงู แสดงวา่ ในประเดน็ น้ี ผู้บริหารระดบั สูงของส่วนงานไม่สามารถยอมรับความเสี่ยง ได้ ต้องมีการจัดการกับความเส่ียงในด้านการเงินและงบประมาณ ในภาพรวมการบริหารความเส่ียงของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ท้ัง 4 ด้าน มีความเสี่ยงอยู่ในระดับน้อย แสดงว่าสามารถยอมรับความเสี่ยงได้ แต่ ต้องมีกิจกรรมควบคุมในทุกๆด้าน 2) แนว ทางในการจัดทาการบริหารความเสี่ยงขอ ง

33 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ควรมีแนวทางในเร่ืองดังต่อไปน้ี 1.1) จัดการอบรมส่งเสริมความรู้ความเข้าใจใน เรื่องการบริหารความเสี่ยงให้แก่ผู้บริหารและบุคลากรทุกระดับ 1.2) จัดทาแผนบริหารความเส่ียงโดยให้ ความสาคญั ตอ่ ความเสี่ยงดา้ นยุทธศาสตรเ์ พื่อใหม้ หาวทิ ยาลยั สามารถดาเนินการใหบ้ รรลุเปูาหมายได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ความเส่ียงด้านการเงินและงบประมาณ ซ่ึงมีประเด็นต่อการได้รับงบประมาณสนับสนุน จากรฐั บาลลดลงในอนาคต 7. กรอบแนวความคดิ ของโครงการวจิ ัย ปัจจัยส่วนบุคคล เพศ, ตำแหนง่ , ประสบกำรณ์กำรทำงำน กระบวนการ ทัศนคติ จดั ทาบริหาร ควำมเข้ำใจ, ควำมรู้สกึ , ความเส่ยี ง พฤติกรรม ภาพ 3 แสดงกรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย ภาพ 3 แสดงกรอบแนวความคดิ ของโครงการวจิ ยั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook