Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือสวดมนต์

หนังสือสวดมนต์

Published by thiwadon jirapunyo, 2021-09-23 14:03:09

Description: วัดมัชฌิมาวาสวรวิหาร เมืองสงขลา

Search

Read the Text Version

1 พระประธานภายในพระวิหาร วัดมชั ฌมิ าวาสวรวิหาร อำ�เภอเมอื ง จงั หวัดสงขลา 

2 พระราชศีลสังวร เจา้ อาวาสวัดมชั ฌิมาวาส อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา 

3 คำ�น�ำ ในการจดั พิมพ์ เนื่องด้วยหนังสือสวดมนต์ของพระภิกษุ-สามเณร ในวัดมัชฌิมาวาส วรวิหาร ได้จัดพิมพ์ข้ึนมานานแล้ว ซึ่งเป็นหนังสือสวดมนต์แปลทำ�วัตร เช้าเย็น ในการพิมพ์แต่ละคร้ังมีการรวบรวมบทสวดจากหลายสำ�นักพิมพ์ ด้วยเคร่ืองพิมพ์ดีดในสมัยโบราณ ทำ�ให้เกิดความคลาดเคลื่อนของอักขระ ภาษา และตัวอักษรเล็กจนทำ�ให้สายตาในการท่องบ่นภาวนาดูไม่ชัด การสวดมนต์ เปน็ อีกหน่งึ อบุ ายทใ่ี หเ้ ราทา่ นท้ังหลายเลอื กใช้ เพ่ือเปน็ การขัดเกลากเิ ลสของตนเอง ขน้ึ อยู่กับวา่ เราจะพจิ ารณาถึงจดุ ไหน เราจะรู้ วิธีการสวดมนต์เพ่ือให้พ้นทุกข์เป็นการปฏิบัติบูชาไปในตัวได้หรือเปล่า ประโยชน์ที่เราจะได้รับจากการสวดมนต์น้ันข้ึนอยู่กับเราผู้เป็นคนใส่เหตุ คือสวดมนต์ลงไปเอง ว่าเราใส่เหตุแบบใด เราสวดมนต์แบบใด เราก็จะได้ รับผลตามน้ัน สวดแบบเจริญพุทธานุสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ ก็ได้ เจรญิ สมาธกิ ไ็ ด้ สวดแบบเจรญิ วปิ สั นากไ็ ด้ สวดแบบพจิ ารณาเนอื้ ความกไ็ ด้ เราสามารถเลอื กใสเ่ หตุไดต้ ามสถานการณ์ หนังสือสวดมนต์ฉบับนี้ ถูกเรียบเรียงขึ้นมาเพื่อให้สอดคล้องกับการ สวดมนต์ทำ�วัตรเช้าเย็นของวัดมัชฌิมาวาส และประชาชนทั่วไปสามารถ เปดิ หนงั สอื และสวดตามไปได้ เนอื่ งจากหนงั สอื ถกู ออกแบบวางลงกบั พนื้ ได้ และขนาดตัวอักษรท่ีใหญ่ข้ึนเหมาะกับหนังสือสวดมนต์ทำ�ให้ท่านท้ังหลาย ประสบความสะดวกมากข้นึ มคี วามเข้าใจในการสวดมนต์มากข้ึน ขา้ พเจ้า จึงขอนอ้ มถวายกุศลบญุ เปน็ พทุ ธบชู า ธรรมบชู า สังฆบชู า.

4 คหำ�นล�ำกั ใกนากราสรวจดัดมพนิมตพ์ ์ “เม่อื เข้าสทู่ ่ชี ุมนมุ หรือสถานทีท่ ำ�บุญแหง่ น้ี ให้ทำ�ตามระเบยี บปฏิบตั ิ แสดงความเคารพในพระรตั นตรยั แสดงความเคารพในศาสนา คอื สงบกาย สำ�รวมกาย ไม่เคล่ือนไหวโดยไม่จำ�เป็น ต้องนั่งน่ิง น่ังตั้งตัวให้ตรง องอาจ ในธรรม พร้อมทจี่ ะสร้างกศุ ล สงบวาจาไม่พดู คยุ กนั เวน้ ไวแ้ ต่จ�ำ เปน็ จรงิ ๆ สงบใจ คือสังเกตดูใจตนเองว่าเป็นอย่างไรดีหรือไม่ดีประการใด ส่ิงใดควร รักษาหรือควรกำ�จัดออกไป ถ้าใครสวดไม่ได้ก็ต้ังใจฟัง เอาสติจดจ่ออยู่ท่ีหู ทีไ่ ดย้ ินเสียง ระลกึ ถงึ คุณพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ตามความเป็นจรงิ กล่อมใจจากความวนุ่ วายสบั สนตา่ ง ๆ อนั เกดิ จากตาเหน็ รปู หูได้ยินเสียง เป็นต้น ถ้าทำ�จริง ๆ ก็จะได้ผลจริง ๆ ได้ผลเฉพาะหน้าทันที ไม่ใช่ได้ผล ในอนาคตอย่างเดียว เป็นประเพณีนิยมของชาวพุทธ ผู้ชายน่ังท่าเทพบุตร ผหู้ ญงิ นงั่ ทา่ เทพธดิ า กราบเบญจางคประดษิ ฐ์ ๓ ครง้ั แสดงความนอบนอ้ ม แด่พระผู้มีพระภาคเจา้ โดยการกราบคารวะ ๓ คร้งั ตัง้ ใจกราบคารวะ พระรตั นตรยั โดยอาศยั กายนีเ้ ป็นเครือ่ งบูชา ปชู า จะ ปชู ะนยี านัง เอตัมมงั คะละมตุ ตะมัง การบชู าบุคคลทคี่ วรบูชาเป็นมงคลอย่างยิง่ การบูชาก็มีหลายอยา่ งหลายวธิ เี ราจะบชู าด้วยเครอ่ื งหอมต่าง ๆ อันมี ดอกไม้ธูปเทียน เป็นต้น ใช้การสวดมนต์เป็นอุบายในการฝึกอบรม กาย วาจา ใจ ไม่ได้สวดมนต์เพ่ืออ้อนวอนหรือร้องขอ แต่เพื่อเป็นอุบายในการ กลอ่ มใจใหส้ งบระงบั จากนวิ รณช์ วั่ คราว เพอ่ื ใหเ้ กดิ เปน็ บญุ เปน็ กศุ ลของคน

5 แตล่ ะคนไป ใครท�ำ ใครได้ ตง้ั ใจถวายเสยี ง เปน็ พทุ ธบชู า ธรรมบชู า สงั ฆบชู า ในขณะเดียวกันให้ศาลากิเลสท่ีมีอยู่ในจิตใจของแต่ละคนออกไป เป็นการ ปฏิบัติบูชา ถือได้ว่า วาจาเราเป็นกุศล เป็นสมาวาจา เป็นการเจรจาชอบ เปน็ การสวดสรรเสรญิ บชู าคณุ พระรตั นตรยั เปน็ บญุ เราจะทำ�บญุ ทกุ อยา่ ง ไมว่ า่ จะเป็นทางกาย ทางวาจา หรือทางใจกแ็ ล้วแต่ การปฏบิ ตั บิ ชู า หมาย ความวา่ เรามสี ตริ ะลกึ รวู้ า่ ปจั จบุ นั เราท�ำ อะไร ใหม้ สี ตริ ะลกึ รกู้ ายอยเู่ นอื ง ๆ เป็นกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ให้ดูปากท่ีขยับ ที่สวด หยุดก็รู้ สวดอยู่ก็รู้ มีความฟุ้งซ่านรำ�คาญหดหู่ประการใด ก็ให้รู้ทันแล้วสละท้ิงออกไป ใช้กาย เป็นเครอ่ื งระลึกของสติ เป็นเครื่องร้ขู องจติ เม่อื จติ ใจสงบไม่ฟุ้งซา่ นออกไป ในอารมณต์ า่ ง ๆ กเ็ กดิ เปน็ บญุ บญุ คอื ความสงบกาย สงบวาจา และสงบใจ จะกราบพระก็รู้ว่ากราบ เวลาสวดมนต์ก็รู้ว่าสวดมนต์ เวลาหยุดก็รู้ว่าหยุด นี่เรียกว่าการปฏิบัติบูชา ให้รู้ตัวในขณะปัจจุบัน เมื่อรู้ตัวแล้วกุศลก็เกิดข้ึน เพราะวา่ ใจไมไ่ ดฟ้ งุ้ ซา่ น ไมไ่ ดเ้ ปน็ กงั วลตา่ งๆ ท�ำ ใหเ้ กดิ นวิ รณข์ น้ึ เครอ่ื งกน้ั ไม่ใหม้ คี ุณธรรมเกิดขึ้นในจิตในใจของแตล่ ะคน เมื่อเราทำ�ได้เช่นน้ีแล้ว ถือได้ว่าเราได้ปฏิบัติบูชา เมื่อปฏิบัติบูชาแล้ว บุญกุศลย่อมเกิดขึ้นกับตนของตนเอง บุญน้ีและสามารถนำ�พาให้พวกเรา ทง้ั หลายมคี วามสขุ ในขณะปจั จบุ นั เพราะฉะนน้ั เราตง้ั ใจสวดมนตด์ ว้ ยความ เคารพให้เกดิ บุญ บุญนัน้ ตอ้ งทำ�เสมอ ๆ จะได้เกิดเป็นความสขุ . พระราชศีลสงั วร เจา้ อาวาสวดั มัชฌิมาวาสวรวิหาร

6 คำ�นส�ำาใรนบกัญาใรนจเดั ลพม่ มิ พ์  ท�ำ วัตรเช้า - ปพุ พะภาคะนะมะการ ๒............................................................................................................................................................................................................ - พุทธาภิถตุ ิง ๒................................................................................................................................................................................................................................................................. - ธมั มาภถิ ตุ งิ ๓................................................................................................................................................................................................................................................................... - สังฆาภิถตุ งิ ๓................................................................................................................................................................................................................................................................... - ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา ๔........................................................................................................................................................................ - สงั เวคะปะรกิ ติ ตะนะปาฐะ ๔ ....................................................................................................................................................................................... - ตงั ขะณิกะปัจจะเวกขะณะปาโฐ ๖............................................................................................................................................................... - สรณคมนปาฐะ ๗................................................................................................................................................................................................................................................ พทุ ธชัยมงคลคาถา ๘................................................................................................................................................................................................................................................................... โภชะนะทานานโุ มทะนาคาถา ๑๑.................................................................................................................................................................................................... เทวะตาทิสสะทักขิณานุโมทะนาคาถา ๑๑.............................................................................................................................................................. อัคคัปปะสาทะสุตตะคาถา ๑๒..................................................................................................................................................................................................................... ติโรกุฑฑะกณั ฑะปัจฉมิ ภาค ๑๒................................................................................................................................................................................................................ มงคลจักรวาฬนอ้ ย ๑๓........................................................................................................................................................................................................................................................... กาละทานะสตุ ตะคาถา ๑๔...................................................................................................................................................................................................................................... มงคลจักรวาฬใหญ่ ๑๕.......................................................................................................................................................................................................................................................... วหิ าระทานะคาถา ๑๖............................................................................................................................................................................................................................................................. ปตั ตทิ านะคาถา ๑๗........................................................................................................................................................................................................................................................................

7  บทสวดมนตแ์ ปลสำ�หรับสวดตอ่ ทา้ ยทำ�วตั รสวดมนตเ์ ช้า - บทท่ี ๑ : คาราวะคาถา ๑๘................................................................................................................................................................................ - บทท่ี ๒ : มติ ตามติ ตะคาถา ๑๙............................................................................................................................................................... - บทที่ ๓ : สมณสญั ญา ๒๐........................................................................................................................................................................................ - บทท่ี ๔ : โอวาทปาฏโิ มกขคาถา ๒๑....................................................................................................................................... - บทที่ ๕ : อารกั ขะกมั มฏั ฐาน ๒๒...................................................................................................................................................... - บทที่ ๖ : กรณยี กิจ ๒๔..................................................................................................................................................................................................... - บทท่ี ๗ : สมณสัญญา ๑๐ ๒๕.................................................................................................................................................................. - บทที่ ๘ : ทศธรรม ๒๖........................................................................................................................................................................................................ - บทท่ี ๙ : สลี ทุ เทสปาฐะ ๒๘............................................................................................................................................................................. - บทท่ี ๑๐ : ตายนคาถา ๒๙........................................................................................................................................................................................... - บทท่ี ๑๑ : อรยิ สจั จคาถา ๓๐.............................................................................................................................................................................. - บทที่ ๑๒ : พระคาถาธรรมบรรยาย ๓๑...............................................................................................................................  ทำ�วตั รเย็น - ปพุ พะภาคะนะมะการ ๓๔.................................................................................................................................................................................................... - พทุ ธานสุ สะติ ๓๔................................................................................................................................................................................................................................................ - พทุ ธาภคิ ตี ิ ๓๔................................................................................................................................................................................................................................................................ - ธัมมานุสสะติ ๓๖................................................................................................................................................................................................................................................. - ธมั มาภคิ ตี ิ ๓๖................................................................................................................................................................................................................................................................ - สังฆานุสสะติ ๓๗.................................................................................................................................................................................................................................................. - สงั ฆาภคิ ตี ิ ๓๗................................................................................................................................................................................................................................................................. - อนตั ตลกั ขณสตู ร ๓๙...............................................................................................................................................................................................................................

8 บทเจรญิ พระพุทธมนต์ ๗ ตำ�นาน - นะมะการะสทิ ธคิ าถา ๔๓................................................................................................................................................................................................................... - นะโมการะอฏั ฐะกะ ๔๓............................................................................................................................................................................................................................ - มังคะละสุตตงั ๔๔...................................................................................................................................................................................................................................................... - ระตะนะสตุ ตงั ๔๕....................................................................................................................................................................................................................................................... - กะระณยี ะเมตตะสตุ ตงั ๔๖............................................................................................................................................................................................................ - ขนั ธะปะรติ ตะคาถา ๔๖.......................................................................................................................................................................................................................... - โมระปะริตตงั ๔๖.......................................................................................................................................................................................................................................................... - วฏั ฏะกะปะริตตัง ๔๗....................................................................................................................................................................................................................................... - อาฏานาฏยิ ะปะรติ ตัง ๔๘................................................................................................................................................................................................................... - องั คลุ มิ าละปะรติ ตงั ๔๙.............................................................................................................................................................................................................................. - โพชฌังคะปะริตตัง ๔๙................................................................................................................................................................................................................................ - อะภะยะปะรติ ตงั ๕๐........................................................................................................................................................................................................................................ - เทวะตาอยุ โยชะนะคาถา ๕๐.................................................................................................................................................................................................... บทสวดถวายพรพระ ๕๑................................................................................................................................................................................................................................................... บทสวดพระอภิธรรม ๗ คมั ภีร์ ๕๔.................................................................................................................................................................................................... บทสวดพระพุทธมนต์ ๕๘.............................................................................................................................................................................................................................................. อาทติ ตปรยิ ายสตู ร ๖๒............................................................................................................................................................................................................................................................ สตปิ ฏั ฐานะปาฐะ ๖๖................................................................................................................................................................................................................................................................. ธมั มะจกั กปั ปะวตั ตะนะสตู ร ๖๘................................................................................................................................................................................................................... อภณิ ฺหปจฺจเวกขณปาฐ ๗๔....................................................................................................................................................................................................................................... สาราณยี ธมมฺ สตุ ตฺ ๗๖................................................................................................................................................................................................................................................................. ภกิ ฺขุอปริหานยิ ธมฺมสตุ ฺตํ ๗๘................................................................................................................................................................................................................................

9  บทสวดมนต์แปลสำ�หรบั สวดตอ่ ทา้ ยทำ�วัตรสวดมนตเ์ ย็น - บทท่ี ๑ : พระพทุ ธคณุ แปล ๘๐.............................................................................................................................................................. พระธรรมคณุ แปล ๘๐.......................................................................................................................................................... พระสงั ฆคณุ แปล ๘๑................................................................................................................................................................ - บทท่ี ๒ : พทุ ธาทยานสุ สติ ๘๑................................................................................................................................................................. - บทที่ ๓ : ชาติกถา ๘๒......................................................................................................................................................................................................... - บทที่ ๔ : กายคตาสติ ๘๓.......................................................................................................................................................................................... - บทที่ ๕ : อภณิ หปจั จเวกขณะ ๘๕................................................................................................................................................ - บทท่ี ๖ : ปกณิ ณกะ ๘๖................................................................................................................................................................................................. - บทท่ี ๗ : รปู งั อนิจจงั ๘๗........................................................................................................................................................................................ - บทที่ ๘ : อรยิ สจั จกถา ๘๘.................................................................................................................................................................................... - บทท่ี ๙ : ฉพงั คเุ ปกขา ๙๐..................................................................................................................................................................................... อตตี ปจั จเวกขณปาฐะ ๙๓............................................................................................................................................................................................................................................. คำ�อาราธนาอานาปานสตกิ ัมมัฏฐาน ๙๔....................................................................................................................................................................... แผ่เมตตาให้กับตนเอง ๙๕........................................................................................................................................................................................................................................... แผเ่ มตตาให้กบั สรรพสตั ว์ทั่วไป ๙๕.............................................................................................................................................................................................. กรวดนํ้า ๙๖.............................................................................................................................................................................................................................................................................................................. บทกรวดน้ํา (อิมินา) ๙๖..................................................................................................................................................................................................................................................... ค�ำ ลาพระ ๙๘......................................................................................................................................................................................................................................................................................................... การทำ�สมาธิ ๙๙..........................................................................................................................................................................................................................................................................................

10

1 ท�ำ วัตรเช้า เมอ่ื เขา้ ประชมุ พรอ้ มแลว้ เวลาผเู้ ปน็ หวั หนา้ ท�ำ สกั การะ พงึ พรอ้ ม กันยืนข้ึนหรือนั่งคุกเข่าประนมมือ คร้ันเสร็จแล้ว พึงนั่งคุกเข่า ผู้เป็น หวั หน้าพึงกลา่ วค�ำ อภิวาท น�ำ ใหห้ มูว่ า่ ตามเปน็ ตอนๆ ดงั นี้ คำ�กราบพระรัตนตรยั อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระ อรหนั ต์ บรสิ ุทธ์ิหมดจดจากกิเลสเคร่อื งเศรา้ หมองทงั้ หลาย ได้ตรสั รู้ถกู ถ้วนดแี ล้ว อเิ มหิ สกั กาเรหิ ตงั ภะคะวนั ตงั อภปิ ชู ะยามิ ขา้ พเจา้ บชู า ซง่ึ พระ ผมู้ ีพระภาคเจ้านนั้ ด้วยเคร่ืองสกั การะเหลา่ น.้ี (กราบ ๑ ครงั้ ) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรมคือศาสนา อันพระผู้มี พระภาคเจา้ แสดงไว้ดแี ล้ว อิเมหิ สกั กาเรหิ ตัง ธัมมัง อภิปูชะยามิ ขา้ พเจ้าบูชา ซึง่ พระธรรม เจ้านัน้ ดว้ ยเครือ่ งสกั การะเหลา่ นี้. (กราบ ๑ ครั้ง) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ หมู่พระสงฆ์ผู้เช่ือฟังของ พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ปฏบิ ตั ิดีแล้ว

2 อเิ มหิ สักกาเรหิ ตัง สงั ฆงั อภปิ ชู ะยามิ ขา้ พเจ้าบชู า ซึ่งหมู่พระ สงฆเ์ จ้าน้ัน ดว้ ยเครอ่ื งสักการะเหลา่ น.ี้ (กราบ ๑ คร้งั ) บชู า (ผู้เปน็ หัวหน้าวา่ แตผ่ ู้เดยี ว) ยะมมั หะ โข มะยงั ภะคะวนั ตงั สะระณงั คะตา, อทุ ทสิ สะปพั พะชติ า โย โน ภะคะวา สตั ถา, ยสั สะ จะ มะยงั ภะคะวะโต ธมั มงั โรเจมะ อเิ มหิ สกั กาเรหิ ตงั ภะคะวนั ตงั สะสทั ธัมมัง สะสาวะกะสังฆงั อะภปิ ชู ะยามะ. ปุพพะภาคะนะมะการ (น�ำ ) หันทะทานิ มะยัง พทุ ธสั สะ ภะคะวะโต ปพุ พะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส. (รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ. (๓ หน) พุทธาภถิ ตุ ิง (นำ�) หันทะ มะยงั พทุ ธาภิถตุ ิง กะโรมะ เส (รบั ) โย โส ตะถาคะโต อะระหังสัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะ สมั ปนั โน สคุ ะโต โลกะวทิ ,ู อะนตุ ตะโร ปุริสะธมั มะสาระถิ สัตถา เทวะ มะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา, โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรัหมะกัง, สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง

3 อะภิญญา สัจฉิกัตตะวา ปะเวเทสิ, โย ธัมมัง เทเสสิ อาทิกัลละยาณัง มัชเฌกัลละยาณัง ปะริโยสานะกัลละยาณัง, สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะรสิ ุทธงั พรัหมะจะริยัง ปะกาเสสิ, ตะมะหัง ภะคะวันตงั อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ภะคะวนั ตัง สิระสา นะมามิ. (กราบ ๑ ครัง้ ) ธมั มาภิถตุ งิ (น�ำ ) หันทะ มะยงั ธัมมาภถิ ตุ ิง กะโรมะ เส. (รบั ) โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ, ตะมะหัง ธัมมัง อะภปิ ูชะยามิ ตะมะหงั ธมั มัง สิระสา นะมามิ. (กราบ ๑ ครง้ั ) สังฆาภถิ ุติง (นำ�) หันทะ มะยงั สังฆาภถิ ตุ งิ กะโรมะ เส. (รบั ) โย โส สปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชปุ ะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สามจี ปิ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะททิ งั จัตตาริ ปรุ ิสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปคุ คะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, อาหเุ นยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อญั ชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตงั โลกสั สะ, ตะมะหัง สังฆงั อะภปิ ชู ะยามิ ตะมะหัง สงั ฆงั สิระสา นะมามิ. (กราบ ๑ ครัง้ )

4 ระตะนัตตะยปั ปะณามะคาถา (นำ�) หนั ทะ มะยงั ระตะนตั ตะยปั ปะณามะคาถาโย เจวะ สงั เวคะวตั ถุ ปะริทีปะกะปาฐญั จะ ภะณามะ เส. (รับ) พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว, โยจจันตะสุทธัพพะระ- ญาณะโลจะโน, โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก, วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตงั , ธัมโม ปะทโี ป วยิ ะ ตสั สะ สตั ถโุ น, โย มคั คะปากา มะตะเภทะภนิ นะโก, โลกตุ ตะโร โย จะ ตะทัตถะทปี ะโน, วนั ทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, สังโฆ สุเขตตาภะยะติเขตตะสัญญิโต, โย ทิฏฐะ สันโต สุคะตานุโพธะโก, โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส, วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง, วัตถุตตะยัง วนั ทะยะตาภิสังขะตัง, ปญุ ญัง มะยา ยงั มะมะ สัพพปุ ทั ทะวา, มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสทิ ธยิ า. สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐะ อิธะ ตะถาคะโต โลเก อปุ ปนั โน อะระหงั สัมมาสัมพทุ โธ, ธมั โม จะ เทสโิ ต นยิ ยานโิ ก อปุ ะสะมโิ ก ปะรนิ พิ พานโิ ก, สมั โพธะคามี สคุ ะตปั ปะเวทโิ ต, มะยันตัง ธัมมัง สุตตะวา เอวัง ชานามะ, ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง, โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา, อปั ปิเยหิ สัมปะโยโค ทกุ โข, ปเิ ยหิ วิปปะโยโค ทุกโข, ยัมปจิ ฉัง นะ ละภะตติ มั ปิ ทุกขัง, สังขติ เตนะ ปญั จุปาทานกั ขันธา ทกุ ขา, เสยยะถที งั , รปู ปู าทานกั ขนั โธ, เวทะนปู าทานกั ขนั โธ, สญั ญปู าทานกั ขนั โธ, สงั ขารปู าทา นกั ขนั โธ, วญิ ญาณปู าทานกั ขนั โธ, เยสงั ปะรญิ ญาย, ธะระมาโน โส ภะคะวา,

5 เอวงั พะหลุ งั สาวะเก วเิ นต,ิ เอวงั ภาคา จะ ปะนสั สะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนสุ าสะน,ี พะหลุ า ปะวตั ตะต,ิ รปู งั อะนจิ จงั , เวทะนา อะนจิ จา, สญั ญา อะนิจจา, สงั ขารา อะนจิ จา, วิญญาณัง อะนจิ จงั , รปู ัง อะนตั ตา, เวทะนา อะนตั ตา, สญั ญา อะนตั ตา, สงั ขารา อะนตั ตา, วญิ ญาณงั อะนตั ตา, สพั เพ สังขารา อะนิจจา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ, เต มะยัง, โอติณณามะหะ ชาติยา ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, ทุกโขติณณา ทุกขะปะเรตา, อปั เปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขนั ธสั สะ อนั ตะกริ ิยา, ปัญญาเยถาติ, จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมา สัมพุทธัง, สัทธา อะคารัสสะมา อะนะคาริยัง ปัพพะชิตา, ตัสสะมิง ภะคะวะติ พรัหมะจะริยัง จะรามะ, ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปันนา, ตงั โน พรหั มฺ ะจะรยิ งั , อมิ สั สะ เกวะลสั สะ ทกุ ขกั ขนั ธสั สะ อนั ตะกริ ยิ ายะ, สงั วัตตะต.ุ (อักษรตัวหนา คฤหสั ถ์พงึ สวดแทนวา่ ) จริ ะปะรนิ ิพพตุ มั ปิ ตงั ภะคะวนั ตงั สะระณัง คะตา, ธัมมญั จะ ภิกขุ สังฆัญจะ, ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิ กะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ, สา สา โน ปะฏิปัตติ, อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทกุ ขกั ขนั ธัสสะ อันตะกิริยายะ, สงั วัตตะต.ุ

6 ตงั ขะณิกะปจั จะเวกขะณะปาโฐ (นำ�) หันทะ มะยัง ตงั ขะณกิ ะปจั จะเวกขะณะปาฐงั ภะณามะ เส. (รับ) ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริง สะปะสมั ผัสสานัง ปะฏฆิ าตายะ, ยาวะเทวะ หริ ิโกปนิ ะปะฏิจฉาทะนตั ถัง. ปะฏิสังขา โยนิโส ปณิ ฑะปาตงั ปะฏิเสวาม,ิ เนวะ ทะวายะ นะ มะทายะ นะ มณั ฑะนายะ นะ วภิ สู ะนายะ, ยาวะเทวะ อมิ สั สะ กายสั สะ ฐิติยา ยาปะนายะ วิหิงสุปะรัตติยา พรัหมะจะริยานุคคะหายะ, อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปฏิหังขามิ นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, ยาตรา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวชั ชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ. ปะฏสิ ังขา โยนโิ ส เสนาสะนงั ปะฏเิ สวาม,ิ ยาวะเทวะ สตี สั สะ ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริง สะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามตั ถฺ งั . ปะฏิสงั ขา โยนิโส คลิ านะปัจจะยะเภสชั ชะปะรกิ ขารงั ปะฏเิ สวามิ, ยาวะเทวะ อุปปันนานงั เวยยาพาธิกานงั เวทะนานงั ปะฏฆิ าตายะ, อัพพะยาปชั ฌะปะระมะตายาติ.

7 บชู า ปุพพะภาคะนะมะการะ (นำ�) หนั ทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโตปพุ พะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส. (รับ) นะโม ตสั สะ ภะคะวะโต อะระหะโต สมั มาสมั พุทธสั สะ. (๓ หน) สรณคมนปาฐะ (นำ�) หันทะ มะยงั ติสะระณะคะมะนาปาฐงั ภะณามะ เส. พุทธงั สะระณงั คจั ฉามิ ธมั มัง สะระณงั คัจฉาม ิ สงั ฆงั สะระณงั คจั ฉามิ ทตุ ยิ มั ปิ พทุ ธงั สะระณงั คจั ฉาม ิ ทตุ ยิ มั ปิ ธมั มัง สะระณงั คัจฉามิ ทตุ ยิ ัมปิ สงั ฆัง สะระณัง คจั ฉาม ิ ตะตยิ ัมปิ พทุ ธงั สะระณัง คัจฉามิ ตะติยมั ปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณงั คัจฉามิ

8 พทุ ธชัยมงคลคาถา พาหงุ สะหัส สะมะภนิ มิ มติ ะสาวุธนั ตงั ครีเมขะลงั อุทติ ะโฆระสะเสนะมารงั ทานาทิธัมมะวิธนิ า ชิตะวา มนุ ินโท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ มาราตเิ รกะมะภิยชุ ฌติ ะสพั พะรตั ตงิ โฆรมั ปะนาฬะวะกะมกั ขะมะถทั ธะยกั ขงั ขนั ตสี ุทันตะวิธินา ชติ ะวา มุนนิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ นาฬาคริ ิง คะชะวะรงั อะตมิ ัตตะภตู ัง ทาวัคคจิ กั กะมะสะนีวะ สทุ ารณุ ันตัง เมตตมั พุเสกะวธิ นิ า ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ อกุ ขิตตะขัคคะมะตหิ ัตถะสทุ ารณุ นั ตงั ธาวนั ตโิ ยชะนะปะถังคุลิมาละวันตงั อทิ ธีภสิ ังขะตะมะโน ชติ ะวา มุนนิ โท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ กตั ตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อวิ ะ คพั ภนิ ยี า จญิ จายะ ทฏุ ฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มนุ นิ โท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ

9 สจั จงั วหิ ายะ มะตสิ ัจจะกาวาทะเกตุง วาทาภโิ รปติ ะมะนงั อะติอนั ธะภตู ัง ปญั ญาปะทปี ะชะลโิ ต ชิตะวา มุนินโท ตนั เตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ นันโทปะนนั ทะภชุ ะคงั วพิ ุธงั มะหทิ ธงิ ปุตเตนะ เถระภชุ ะเคนะ ทะมาปะยันโต อทิ ธปู ะเทสะวิธินา ชติ ะวา มนุ ินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ ทคุ คาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สทุ ฏั ฐะหัตถัง พรหั มงั วิสทุ ธชิ ตุ มิ ิทธิพะกาภธิ านงั ญาณาคะเทนะ วิธินา ชติ ะวา มนุ ินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมงั คะลานิ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอฏั ฐะคาถา โย วาจะโน ทินนะทนิ เน สะระเต มะตันที หิตตะวานะเนกะววิ ธิ านิ จุปทั ทะวานิ โมกขัง สุขงั อะธคิ ะเมยยะ นะโร สะปญั โญ.

10 มะหาการณุ โิ ก นาโถ หติ ายะ สพั พะปาณินัง ปูเรตะวา ปาระมี สัพพา ปตั โต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สจั จะวชั เชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง. ชะยันโต โพธิยา มเู ล สักยานัง นันทิวฑั ฒะโน เอวงั ตวัง วชิ ะโย โหหิ ชะยสั สุ ชะยะมงั คะเล อะปะราชติ ะปัลลงั เก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภเิ สเก สัพพะ พทุ ธานงั อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ สนุ ักขัตตงั สุมังคะลัง สุปะภาตัง สหุ ฏุ ฐติ งั สุขะโณ สมุ หุ ตุ โต จะ สยุ ิฏฐงั พรัมหมะจารสิ ุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขณิ งั ปะทักขิณงั มะโนกัมมงั ปะณธิ ีเต ปะทกั ขิณา ปะทักขณิ านิ กัตวานะ ละภนั ตัตเถ ปะทักขเิ ณ.

11 โภชะนะทานานุโมทะนาคาถา อายโุ ท พะละโท ธโี ร วัณณะโท ปะฏิภาณะโท สขุ ัสสะ ทาตา เมธาวี สขุ งั โส อะธคิ ัจฉะติ อายุง ทัต๎วา พะลงั วัณณงั สขุ ญั จะ ปะฏิภาณะโท ทฆี ายุ ยะสะวา โหติ ยตั ถะ ยัตถปู ะปัชชะตตี .ิ เทวะตาทสิ สะทกั ขณิ านุโมทะนาคาถา ยสั มงิ ปะเทเส กัปเปติ วาสัง ปัณฑิตะชาตโิ ย สลี ะวันเตตถะ โภเชตวา สญั ญะเต พรหั มะจารโิ น ยา ตตั ถะ เทวะตา อาสุง ตาสงั ทกั ขณิ ะมาทเิ ส ตา ปูชติ า ปูชะยนั ติ มานติ า มานะยันติ นงั ตะโต นงั อะนกุ มั ปันติ มาตา ปุตตงั วะ โอระสัง เทวะตานุกมั ปโิ ต โปโส สะทา ภทั ทรานิ ปัสสะต.ิ

12 อัคคปั ปะสาทะสุตตะคาถา อัคคะโต เว ปะสันนานงั อัคคัง ธัมมงั วชิ านะตัง อัคเค พุทเธ ปะสนั นานัง ทักขเิ ณยเย อะนุตตะเร อคั เค ธมั เม ปะสนั นานัง วริ าคูปะสะเม สเุ ข อคั เค สังเฆ ปะสนั นานัง ปญุ ญกั เขตเต อะนุตตะเร อคั คสั สะมิง ทานงั ทะทะตัง อัคคงั ปญุ ญัง ปะวฑั ฒะติ อัคคงั อายุ จะ วัณโณ จะ ยะโส กิตติ สุขงั พะลัง อัคคสั สะ ทาตา เมธาว ี อคั คะธมั มะสะมาหิโต เทวะภูโต มะนุสโส วา อัปคปั ปัตโต ปะโมทะตตี ิ. ตโิ รกุฑฑะกัณฑะปจั ฉิมภาค อะทาสิ เม อะกาสิ เม ญาติมติ ตา สะขา จะ เม เปตานัง ทกั ขณิ งั ทชั ชา ปุพเพ กะตะมะนุสสะรัง นะ หิ รณุ ณัง วา โสโก วา ยา วญั ญา ปะริเทวะนา นะ ตงั เปตานะมัตถายะ เอวงั ติฏฐนั ติ ญาตะโย อะยัญจะโข ทกั ขิณา ทนิ นา สงั ฆมั หิ สุปะติฏฐติ า ทีฆะรัตตัง หิตายัสสะ ฐานะโส อปุ ะกัปปะติ โส ญาติธมั โม จะ อะยัง นทิ สั สโิ ต เปตานะ ปชู า จะ กะตา อฬุ ารา พะลญั จะ ภกิ ขูนะมะนุปปะทนิ นัง ตมุ เหหิ ปุญญัง ปะสตุ งั อะนปั ปะกนั ติ.

13 มงคลจกั รวาฬน้อย สัพพะพุทธานุภาเวนะ, สัพพะธัมมานุภาเวนะ, สัพพะสังฆา นุภาเวนะ, พุทธะระตะนัง, ธัมมะระตะนัง, สังฆะระตะนัง, ติณณัง, ระตะนานัง อานุภาเวนะ, จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ, ปฏิ ะกัตตะยานุภาเวนะ, ชนิ ะสาวะกานภุ าเวนะ, สพั เพ เต โรคา, สพั เพ เต ภะยา, สัพเพ เต อันตะรายา, สัพเพ เต อุปัททะวา, สัพเพ เต ทุนนิมิตตา, สัพเพ เต อะวะมังคะลา วินัสสันตุ, อายุวัฑฒะโก ธะนะ วัฑฒะโก สริ วิ ัฑฒะโก ยะสะวัฑฒะโก พะละวัฑฒะโก วัณณะวฑั ฒะโก สุขะวฑั ฒะโก โหตุ สัพพะทา, ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จปุ ัททะวา อะเนกา อันตะรายาปิ วนิ ัสสนั ตุ จะ เตชะสา ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภงั โสตถิภาคคะยงั สุขงั พะลัง สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคงั วฑุ ฒี จะ ยะสะวา สะตะวสั สา จะ อายูจะ ชวี ะสิทธี ภะวันตุ เต.

14 กาละทานะสุตตะคาถา กาเล ทะทันติ สะปัญญา วะทัญญู วีตะมัจฉะรา กาเลนะ ทนิ นงั อะรเิ ยสุ อชุ ุภเู ตสุ ตาทิสุ วิปปะสนั นะมะนา ตสั สะ วปิ ลุ า โหติ ทักขิณา เย ตัตถะ อะนุโมทันติ เวยยาวัจจงั กะโรนติ วา นะ เตนะ ทกั ขณิ า โอนา เตปิ ปญุ ญสั สะ ภาคิโน ตัสมา ทะเท อัปปะฏวิ านะจติ โต ยัตถะ ทินนัง มะหัปผะลัง ปุญญานิ ปะระโลกัสสะมงิ ปะติฏฐา โหนติ ปาณนิ ันต.ิ

15 มงคลจกั รวาฬใหญ่ สิริธิติมะติเตโช ชะยะสิทธิมะหิทธิมะหาคุณาปะริมิตะปุญญาธิกา- รัสสะ สัพพันตะรายะนิวาระณะสะมัตถัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ท๎วัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณานุภาเวนะ อะสีตยา นุพ๎ยัญชะนานุภาเวนะ อัฏฐุตตะระสะตะ มังคะลานุภาเวนะ ฉัพพัณณะ รังสิยานุภาเวนะ เกตุมาลานุภาเวนะ ทะสะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะ อุประปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะ ปะระมัตถะปาระมิตานุภาเวนะ สีละ สะมาธิปัญญานุภาเวนะ พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ เตชานุภาเวนะ อิทธานุภาเวนะ พะลานุภาเวนะ เญยยะธัมมานุภาเวนะ จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ อัฏฐังคิกะมัคคานุภาเวนะ อัฏฐะสะมาปัตติยานุภาเวนะ ฉะฬะ ภิญญา นุภาเวนะ จะตุสัจจะญาณานุภาเวนะ ทะสะพะละญาณานุภาเวนะ สัพพัญญุตะญาณานุภาเวนะ เมตตากะรุณามุทิตาอุเปกขานุภาเวนะ สพั พะปะริตตานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะสะระณานุภาเวนะ ตุยหงั สัพพะ โรคะโสกุปัททะวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา วินัสสันตุ สัพพะอันตะรายาปิ วินัสสันตุ สัพพะสังกัปปา ตุยหัง สะมิชฌันตุ ทีฆายุตา ตุยหัง โหตุ สะตะวัสสะชีเวนะ สะมังคิโก โหตุ สัพพะทา อากาสะปัพพะตะวะนะ ภมู คิ งั คามะหาสะมุททา อารักขะกา เทวะตา สะทา ตุมเห อะนรุ กั ขนั ตุ.

16 วหิ าระทานะคาถา สีตัง อุณหงั ปะฏหิ ันติ ตะโต วาฬะมิคานิ จะ สิริงสะเป จะ มะกะเส สิสิเร จาปิ วฏุ ฐิโย ตะโต วาตาตะโป โฆโร สัญชาโต ปะฏหิ ัญญะติ เลนัตถัญจะ สุขัตถญั จะ ฌายติ งุ จะ วปิ สั สติ งุ วิหาระทานงั สงั ฆสั สะ อคั คัง พุทเธหิ วณั ณิตัง ตัสสะมา หิ ปณั ฑโิ ต โปโส สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน วหิ าเร การะเย รมั เม วาสะเยตถะ พะหสุ สเุ ต เตสงั อนั นญั จะ ปานญั จะ วตั ถะเสนาสะนานิ จะ ทะเทยยะ อุชภุ ูเตส ุ วปิ ปะสนั เนนะ เจตะสา เต ตัสสะ ธัมมงั เทเสนต ิ สัพพะทุกขาปะนทู ะนงั ยัง โส ธัมมะมธิ ญั ญายะ ปะรนิ พิ พาตะยะนาสะโวติ. “คนเราไมไ่ ด้เกดิ มาพรอ้ มกบั การมีความรู้ติดตวั มาด้วย” “อยู่ให้คนเขารกั จากไปใหค้ นเขาอาลยั ลว่ งลับไปใหค้ นเอย่ อ้างถึง”

17 ปัตติทานะคาถา (น�ำ ) หันทะ มะยงั ปตั ตทิ านะคาถาโย ภะณามะ เส. (รับ) ยา เทวะตา สนั ติ วหิ าระวาสนิ ,ี ถูเป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหงิ ตะหงิ , ตา ธมั มะทาเนนะ ภะวันตุ ปชู ิตา, โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล, เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว, สารามิกา ทานะปะตี อปุ าสกา, คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา, สปั ปาณะภตู า สขุ ติ า ภะวนั ตุ เต, ชะลาพุชา เยปิ จะ อณั ฑะสมั ภะวา, สังเสทะชาตา อะถะโวประปาติกา, นยิ ยานกิ ัง ธมั มะวะรงั ปะฏิจจะ เต, สพั เพปิ ทกุ ขัสสะ กะโรนตุ สงั ขะยงั , ฐาตุ จริ ัง สะตงั ธัมโม ธัมมทั ธะรา จะ ปุคคะลา, สงั โฆ โหตุ สะมคั โค วะ อัตถายะ จะ หติ ายะ จะ, อัมเห รกั ขะตุ สัทธมั โม สพั เพปิ ธัมมะจาริโน, วฑุ ฒิง สมั ปาปุเณยยามะ ธัมเม อะรยิ ัปปะเวทเิ ต.

18 บทสวดมนต์แปล ส�ำ หรบั สวดตอ่ ทา้ ยท�ำ วตั รสวดมนต์ เช้า บทท่ี ๑ คาราวะคาถา สัตถุคะร ุ ธัมมะคะรุ, ผเู้ คารพหนักแนน่ ในพระศาสดา ผูเ้ คารพ หนักแน่นในพระธรรม, สังเฆ จะ ติพพะคาระโว, และผู้มีความเคารพ แก่กลา้ ในพระสงฆ,์ สมาธคิ ะรุ อาตาปี, ผมู้ คี วามเพียรหนกั แน่นในสมาธ,ิ สิกขายะ ตพิ พะคาระโว, มคี วามเคารพแกก่ ลา้ ในไตรสกิ ขา, อัปปะมาทะ คะรุ ภกิ ข,ุ ผเู้ หน็ ภยั หนกั แนน่ ในความไมป่ ระมาท, ปะฏสิ นั ถาระคาระโว, มคี วามเคารพในการปฏสิ นั ถาร, อะภพั โพ ปะรหิ านายะ, ยอ่ มเปน็ ผไู้ มพ่ อ เพื่อจะเส่ือมเสีย, นิพพานัสเสวะ สันติเก, เป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพาน โดยแท้แล. ต่อ คำ�อาราธนาอานาปานสติกัมมฏั ฐาน หนา้ ๙๔

19 บทที่ ๒ มติ ตามิตตะคาถา อัญญะทัตถหุ โร มติ โต, มติ รปอกลอกนำ�ไปถา่ ยเดยี ว, โย จะ มิตโต วะจปี ะระโม, มติ รใด มวี าจาปราศรยั เปน็ อยา่ งยงิ่ , อะนปุ ปยิ ญั จะ โย อาห ุ มิตรใด กล่าวคำ�ประจบ, อะปาเยสุ จะ โย สะขา, มิตรใด เป็นเพ่ือนใน ความฉิบหาย, เอเต อะมิตเต จัตตาโร อิติ วญิ ญายะ ปณั ฑโิ ต, บัณฑติ พิจารณาเห็นว่า ท้ัง ๔ จำ�พวกนี้มิใช่มิตรแล้ว, อาระกาปะริ วัชเชย ยะ, พึงหลีกเลยี่ งเสยี ให้หา่ งไกล, มคั คัง ปะฏภิ ะยัง ยะถา, เหมือนคนเดนิ ทาง เว้นทางอันมีภัยเสียฉะน้ัน, อุปะกาโร จะ โย มิตโต, มิตรใด มีอุปการะ สขุ ะทกุ โข จะ โย สะขา, เพ่ือนใด รว่ มสขุ ร่วมทกุ ขก์ นั ได้, อัตถักขายี จะ โย มิตโต, มิตรใด มีปกติบอกประโยชน์ให้, โย จะ มิตตานุ กัมปะโก, และมติ รใด เปน็ ผอู้ นุเคราะหเ์ อ็นดูซึ่งมิตร, เอเตปิ มิตเต จัตตา โร อติ ิ วิญญายะ ปณั ฑโิ ต, บัณฑติ พจิ ารณาเห็นวา่ ทั้ง ๔ จ�ำ พวกน้เี ป็นมติ รจริง แลว้ , สกั กจั จงั ปะยริ ปุ าเสยยะ, พงึ เขา้ ไปคบหาโดยเคารพ มาตา ปตุ ตงั วะ โอระสงั , เหมอื นมารดากับบตุ รอันเป็นโอรส ฉะน้ัน. ต่อ ค�ำ อาราธนาอานาปานสติกมั มฏั ฐาน หน้า ๙๔

20 บทที่ ๓ สมณสญั ญา สะมะณา สะมะณาติ โว ภิกขะเว ชะโน สัญชานาติ, ดูก่อนภิกษุ ทง้ั หลาย มหาชน เขายอ่ มรจู้ ักเธอทัง้ หลายว่าเป็นสมณะๆ ดงั น,้ี ตุมเห จะ ปะนะ, กแ็ หละเธอท้ังหลายเล่า เก ตุมเหติ ปฏุ ฐา สะมานา, เมอ่ื ถกู ถาม วา่ ทา่ นเปน็ อะไร สะมะณัมหาติ ปะฏิชานาถะ พวกเธอก็ย่อมปฏญิ ญาวา่ เราเป็นสมณะ, เตสัง โว ภิกขะเว เอวงั สะมญั ญานัง สะตัง, ดกู ่อนภกิ ษุ ทงั้ หลาย เมอื่ พวกเธอนนั้ มชี อื่ วา่ สมณะอยอู่ ยา่ งน,้ี เอวงั ปฏญิ ญานงั สะตงั , ทั้งปฏิญญาตัวว่าเป็นสมณะอยู่อย่างน้ี, ยา สะมะณะสามีจิปะฏิปะทา, ข้อปฏบิ ตั อิ ย่างใด เป็นความสมควรแกส่ มณะ, ตงั ปะฏปิ ะทัง ปะฏิปชั ชิส สามะ, เราจักปฏบิ ตั ิซง่ึ ขอ้ ปฏิบัตอิ ยา่ งนน้ั , เอวนั โน, เมอื่ ความปฏิบตั ิของ เราอยา่ งนมี้ อี ย,ู่ อะยงั อมั หากงั สะมญั ญา จะ สจั จา ภะวสิ สะติ ปะฏญิ ญา จะ ภตู า, ทง้ั ชอ่ื ทง้ั ความปฏญิ ญาของเรานกี้ จ็ กั เปน็ จรงิ ได,้ เยสญั จะ มะยงั จีวะระ ปิณฑะปาตะ เสนาสนะ คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาเร ปะรภิ ญุ ชามะ, อนง่ึ เราบรโิ ภคจวี รบณิ ฑบาตเสนาสนะ และคลิ านะปจั จะยะ เภสัชชะบริขารของทายกเหล่าใด, เตสันเต การาอัมเหสุ มะหัปผะลา ภะวิสสันติ มะหานิสังสา, ความอุปการะเหล่าน้ันของเขาในเราทั้งหลาย ก็จักมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่, อัมหากัญเจวายัง ปัพพัชชา อะวัญฌา ภะวสิ สะต,ิ อนง่ึ การบรรพชาของเรากจ็ กั ไมเ่ ปน็ หมนั เหมอื นกนั , สะผะลา สะอุทะระยาต,ิ จักเป็นไปกับดว้ ยผล เป็นไปกับด้วยก�ำ ไรดังนี,้ เอวัญหิ โว ภกิ ขะเว สกิ ขติ พั พงั , ดกู อ่ น ภกิ ษทุ งั้ หลาย เธอทง้ั หลาย พงึ ศกึ ษาส�ำ เหนยี ก อย่างนีแ้ ล. ต่อ ค�ำ อาราธนาอานาปานสติกมั มัฏฐาน หน้า ๙๔

21 บทท่ี ๔ โอวาทปาฏิโมกขคาถา ขนั ตี ปะระมัง ตะโป ตตี ิกขา, ความอดกลน้ั คือ ความทนทานเปน็ ตบะอย่างยิ่ง, นิพพานงั ปะระมัง วะทันติ พุทธา, ท่านผู้รู้ทง้ั หลายกลา่ ว พระนพิ พานวา่ เปน็ ธรรมอยา่ งยง่ิ , นะ หิ ปพั พะชโิ ต ปะรปู ะฆาตี สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต, ผู้ฆ่าสัตว์อ่ืน เบียดเบียนสัตว์อ่ืนไม่ช่ือว่าเป็น บรรพชิตสมณะเลย, สัพพะปาปัสสะอะกะระณัง, การไม่ทำ�บาปท้ังปวง กสุ ะลัสสปู ะสัมปะทา, ความให้กศุ ลถงึ พร้อม, สะจติ ตะปะริโยทะปะนงั ความใหจ้ ติ ของตนผอ่ งแผว้ เอตงั พทุ ธานะ สาสะนงั , ๓ อยา่ งน้ี เปน็ ค�ำ สอน ของพระพทุ ธเจา้ ทงั้ หลาย อะนปู ะวาโท ความไม่กล่าวรา้ ย อะนปู ะฆาโต ความไมล่ ้างผลาญ ปาติโมกเข จะ สงั วะโร ความสำ�รวมในพระปาตโิ มกข์ มตั ตญั ญตุ า จะ ภตั ตสั มงิ ความเปน็ ผรู้ จู้ กั ประมาณในภตั ตาหาร ปนั ตญั จะ สะยะนาสะนงั ท่ีนอนทน่ี ่ังอันสงดั อะธิจิตเต จะ อาโยโค และความ ประกอบโดยเอ้ือเฟ้ือในอธิจิต เอตัง พุทธานะ สาสะนัง ๖ อย่างนี้ เป็น คำ�สอนของพระพุทธเจา้ ทั้งหลาย ฉะน้ี. ต่อ ค�ำ อาราธนาอานาปานสตกิ ัมมัฏฐาน หน้า ๙๔

22 บทที่ ๕ อารกั ขะกัมมฎั ฐาน พทุ ธานุสสะติ เมตตา จะ อะสภุ งั มะระณัสสะต,ิ อิจจมิ า จะตุรารกั ขา กาตพั พา จะวปิ ัสสะนา. ภาวนาทง้ั ๔ น,ี้ คือ พุทธานสุ สติ, ระลึกถึงพระคุณพระพทุ ธเจ้า เมตตาปรารถนาจะใหเ้ ปน็ สขุ , อะสภุ ะ พจิ ารณากายใหเ้ หน็ เปน็ ของไมง่ าม, มะระณัสสติ, ระลึกถึงความตาย, ชื่อว่าจตุรารักข์, และวิปัสสนาอันพึง บำ�เพ็ญ. วิสทุ ธะธมั มะสันตาโน อะนุตตะรายะ โพธยิ า, โยคะโต จะ ปะโพธา จะ พทุ โธ พทุ โธติ ญายะเต พระพทุ ธเจา้ มพี ระสนั ดานอนั บรบิ รู ณ,์ ดว้ ยพระธรรมอนั บรสิ ทุ ธ,ิ์ อนั สตั วโลกรอู้ ยวู่ า่ พทุ โธ ๆ ดงั น,ี้ เพราะพระปญั ญาตรสั รอู้ ยา่ งเยยี่ ม, เพราะ ทรงชักโยงหมู่สัตว์ไว้ในธรรมะปฏิบัติ, และเพราะทรงปลุกใจหมู่สัตว์ให้ ตน่ื อย.ู่ นะรานะระ ติรัจฉานะ เภทา สตั ตา สเุ ขสโิ น, สัพเพปิ สขุ ิโน โหนตุ สุขติ ัตตา จะ เขมโิ น. สัตว์ท้ังหลาย, ต่างโดยมนุษย์อมนุษย์และดิรัจฉาน, เป็นผู้แสวงหา ความสุข, ขอสัตว์เหล่านั้นแม้ทั้งส้ิน, จงเป็นผู้ถึงซึ่งความสุข, และเป็น ผเู้ กษมส�ำ ราญเพราะถงึ ซึ่งความสุขเถิด.

23 เกสะโลมา ทฉิ ะวานงั อะยะเมวะ สะมสุ สะโย กาโย สัพโพปิ เชคจุ โฉ วัณณาทโิ ต ปะฎกิ กโุ ล. กายนี้แล, เป็นที่ประชุมแห่งซากศพมีผมขนเป็นต้น, แม้ท้ังส้ินเป็น ของนา่ เบื่อหนา่ ย, เปน็ ปฏกิ ลู โดยส่วนมีสี เป็นต้น. ชวี ิตนิ ทฺริยุปจั เฉทะ สังขาตะมะระณงั สิยา สัพเพสังปธี ะ ปาณีนงั ตณั หิ ธวุ ัง นะ ชวี ติ งั . ความตาย, กล่าวคือ ความแตกขาดแห่งชีวิตินทรีย์, พึงมีแก่สัตว์ ทงั้ หลายในโลกนแี้ ม้ทั้งส้ิน, เพราะวา่ ความตายเปน็ ของเทีย่ ง, ชีวิตความ เป็นอยู่เปน็ ของไมเ่ ท่ียงแล. ต่อ ค�ำ อาราธนาอานาปานสติกัมมฏั ฐาน หน้า ๙๔

24 บทที่ ๖ กรณียกิจ กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ, อันผู้ฉลาดในประโยชน์, พึงทำ�ซึ่งกิจท่ีท่านผู้ได้บรรลุถึงซ่ึงทางอันสงบ กระทำ�แลว้ , สักโก, พงึ เป็นผูอ้ งอาจ, อชุ ู จะ, เปน็ ผซู้ ่ือตรงด้วย, สหุ ุชู จะ, เป็นผู้ซ่ือตรงอย่างดีด้วย, สุวะโจ จัสสะ, เป็นผู้ว่าง่ายสอนง่ายด้วย, มุทุ, เป็นผู้อ่อนโยน, อะนะติมานี, เป็นผู้ไม่ดูหมิ่นผู้อ่ืน, สันตุสสะโก จะ, เป็นผู้ยินดีด้วยของอันมีอยู่แล้วด้วย, สุภะโร จะ, เป็นผู้เลี้ยงง่ายด้วย, อปั ปะกจิ โจ จะ, เปน็ ผมู้ กี จิ การพอประมาณดว้ ย, สลั ละหกุ ะวตุ ต,ิ ประพฤติ ตนเปน็ ผู้เบากายเบาจิต, สันตนิ ทร๎ โิ ย จะ, มอี นิ ทรยี ์อันสงบอันระงับดว้ ย, นปิ ะโก จะ, มปี ัญญารกั ษาตนไดด้ ว้ ย, อัปปะคพั โภ, เป็นผไู้ มค่ ะนองกาย วาจา, กเุ ลสุ อะนะนคุ ิทโธ, เปน็ ผู้ไมต่ ิดพันในสกุลทง้ั หลาย, นะ จะ ขุททงั สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง วิญญูชน, พึงล่วง ติเตียนเหล่าชนอ่ืนได้ด้วยการกระทำ�อย่างใด ไม่พึงประพฤติการกระทำ� การอย่างนนั้ หน่อยหน่ึงแล. ต่อ ค�ำ อาราธนาอานาปานสตกิ ัมมฏั ฐาน หนา้ ๙๔

25 บทที่ ๗ สมณสัญญา ๑๐ ติสโส ภกิ ขะเว สะมะณะสญั ญา ภาวติ า พะหลุ กี ะตา, ดกู อ่ นภิกษุ ท้ังหลาย สมณะสัญญาสามประการ อันบรรพชิตบำ�เพ็ญกระทำ�ให้มาก แลว้ , สตั ตะ ธมั เม ปะรปิ เู รนต,ิ ยอ่ มบ�ำ เพญ็ ธรรมะเจด็ ประการใหบ้ รบิ รู ณไ์ ด้ กะตะมา ตสิ โส, สามประการไฉนบา้ ง, เววณั ณิยัมหิ อัชฌปุ ะคะโต, บดั นี้ เรามีเพศต่างจากคฤหสั ถ์แลว้ , อาการกิรยิ าใด ๆ ของสมณะ, เราตอ้ งท�ำ อาการกิริยานั้น ๆ, ปะระปะฏิพัทธาเม ชีวิกา, ความเล้ยี งชีพของเราเนอ่ื ง ดว้ ยผ้อู ืน่ , เราควรทำ�ตวั ให้เขาเลยี้ งง่าย, อัญโญ เม อากปั โป กะระณีโย, อาการกายวาจาอย่างอ่ืน อันเราพึงทำ�ยังมีอยู่อีก, มิใช่แต่เท่าน้ี, อิเม โข ภกิ ขะเว ตสิ โส สะมะณะสญั ญา ภาวติ า พะหลุ กี ะตา, ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย, สมณะสญั ญาสามประการเหลา่ นแี้ ล, อนั บรรพชติ บ�ำ เพญ็ กระท�ำ ใหม้ ากแลว้ , สัตตะ ธัมเม ปะริปูเรนติ, ย่อมบำ�เพ็ญธรรมะเจ็ดประการให้บริบูรณ์ได้, กะตะเม สตั ตะ, เจ็ดประการไฉนบ้าง, นิจจัง สตั ตะการี โหติ สตั ตะวุตตี สเี ลส,ุ เปน็ ผมู้ ปี กตกิ ระท�ำ ประพฤตติ ดิ ตอ่ ในศลี ทง้ั หลายเปน็ นจิ , อะนภิ ชิ ฌาล ุ โหต,ิ เปน็ ผไู้ มเ่ พง่ เลง็ เปน็ ปกต,ิ อพั ยฺ าปชั โฌ โหต,ิ เปน็ ผไู้ มเ่ บยี ดเบยี นใคร อะนะตมี านี โหต,ิ เปน็ ผไู้ มด่ หู มน่ิ ผอู้ นื่ , สกิ ขากาโม โหต,ิ เปน็ ผใู้ ครต่ อ่ การ ศกึ ษา, อจิ จตั ถนั ตสิ สะโหติ ชวี ิตะปะรกิ ขาเรสุ, เป็นผู้มคี วามพจิ ารณาให้ เหน็ ประโยชนใ์ นบรขิ ารเครอื่ งเลย้ี งชวี ติ , อารทั ธะวริ โิ ย วหิ ะระต,ิ ยอ่ มเปน็ ผมู้ คี วามเพยี รปรารภอย,ู่ อเิ ม โข ภกิ ขะเว ตสิ โส สะมะณะสญั ญา ภาวติ า พะหลุ กี ะตา, ดกู อ่ นภกิ ษทุ งั้ หลาย, สมณะสญั ญาสามประการเหลา่ นแี้ ล อนั บรรพชิตบำ�เพ็ญกระท�ำ ให้มากแลว้ , อเิ ม สตั ตะ ธมั เม ปะรปิ เู รนตตี ,ิ ย่อม บ�ำ เพ็ญธรรมเจด็ ประการเหลา่ นีใ้ หบ้ ริบรู ณ์ได้ ฉะนแี้ ล. ตอ่ ค�ำ อาราธนาอานาปานสติกมั มัฏฐาน หน้า ๙๔

26 บทที่ ๘ ทศธรรม ทะสะ อเิ ม ภกิ ขะเว ธมั มา ปพั พะชเิ ตนะ อะภณิ หงั ปจั จะเวกขติ พั พา, ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ธรรมทง้ั ๑๐ ประการน,้ี บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื งๆ, กะตะเม ทะสะ, ๑๐ ประการไฉนบ้าง, เววัณณิยัมหิ อัชฌูปะคะโตติ, ปพั พะชเิ ตนะ อะภณิ หงั ปจั จะเวกขติ พั พงั , บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื ง ๆ ว่า, บดั นีเ้ รามเี พศต่างจากคฤหัสถ์แลว้ , อาการกริ ิยาใด ๆ ของสมณะ, เรา ต้องทำ�อาการกิริยานั้น ๆ, ปะระปะฏิพัทธา เม ชีวิกาติ, ปัพพะชิเตนะ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง, บรรพชิตควรพิจารณาเนือง ๆ ว่า, ความ เลี้ยงชีวิตของเราเนอื่ งด้วยผอู้ ื่น, เราควรท�ำ ตัวให้เขาเลยี้ งงา่ ย, อญั โญ เม อากัปโป กะระณโี ยติ, ปัพพะชิเตนะ อะภณิ หงั ปัจจะเวกขติ ัพพัง, บรรพชติ ควรพิจารณาเนือง ๆ ว่า, อาการกายวาจาอยา่ งอ่ืน, ท่เี ราจะตอ้ ง ท�ำ ให้อยา่ งดขี ้นึ ไปกว่านี้, ยังมอี ย่อู กี , มิใช่เพยี งเทา่ นี้, กัจจิ นุโข เม อัตตา สลี ะโต นะ อปุ ะวะทะตีต,ิ ปัพพะชิเตนะ อะภิณหัง ปจั จะเวกขติ ัพพัง, บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนือง ๆ ว่า, ตวั ของเราเอง, ติเตยี นตัวเราเองโดยศีล ได้หรือไม่, กัจจิ นุโข มัง อะนุวิจจะ วิญญู สะพรัหมะจารี สีละโต นะ อุปะวะทันตีติ, ปัพพะชิเตนะ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง, บรรพชิต ควรพิจารณาเนือง ๆ วา่ , สพรหมจารผี ูร้ ้ใู ครค่ รวญแลว้ , ตเิ ตียนเราโดยศีล ไดห้ รือไม,่ สัพเพหิ เม ปเิ ยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโวติ, ปพั พะชเิ ตนะ อะภณิ หงั ปจั จะเวกขติ พั พงั , บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื ง ๆ ว่า, เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งน้ัน, กัมมัสสะโกมหิ กัมมะทายาโท กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระโณ, ยัง กัมมัง

27 กะริสสามิ กัลปยาณัง วา ปาปะกังวา ตัสสะทายาโท ภะวิสสามีติ, ปพั พะชเิ ตนะ อะภณิ หงั ปจั จะเวกขติ พั พงั , บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื ง ๆ ว่า, เรามีกรรมเป็นของตัว, เป็นผู้รับผลของกรรม, มีกรรมเป็นกำ�เนิด มี กรรมเปน็ เผา่ พนั ธ,์ุ มกี รรมเปน็ ทพ่ี งึ่ อาศยั , เราท�ำ ดจี กั ไดด้ ,ี ท�ำ ชวั่ จกั ไดช้ ว่ั , เราจกั เปน็ ผรู้ บั ผลของกรรมนนั้ , กะถมั ภตู สั สะ เม รตั ตนิ ทวิ า วตี ปิ ะตนั ตตี ,ิ ปพั พะชเิ ตนะ อะภณิ หงั ปจั จะเวกขติ พั พงั , บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื ง ๆ ว่า, วันคืนล่วงไป ๆ, บัดนี้เราทำ�อะไรอยู่, กัจจิ นุโขหัง สุญญาคาเร อะภิระมามตี ,ิ ปัพพะชิเตนะ อะภณิ หัง ปัจจะเวกขติ พั พงั , บรรพชิตควร พจิ ารณาเนือง ๆ วา่ , เรายนิ ดใี นทีส่ งัดหรือไม่, อตั ถิ นโุ ข เม อุตตะรมิ ะนุส สะธมั มา อะละมะริยะญาณะทสั สะนะ วิเสโส อะธิคะโต, โส หัง ปัจฉิเม กาเล สะพรหมะจารหี ิ ปุฏโฐ นะมังกุ ภะวสิ สามีต,ิ ปพั พะชิเตนะ อะภณิ หงั ปจั จะเวกขติ พั พงั , บรรพชติ ควรพจิ ารณาเนอื ง ๆ วา่ , คณุ วเิ ศษ ของเรามีอยู่หรือไม่, ที่จะให้เราเป็นผู้ไม่เก้อเขิน, ในเวลาเพื่อนบรรพชิต ถาม, ในกาลภายหลัง, อิเม โข ภิกขะเว ทะสะ ธัมมา ปัพพะชิเตนะ อะภิณหัง ปจั จะเวกขติ ัพพาติ, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย, ธรรมทัง้ สิบประการ น้ีแล, บรรพชติ ควรพิจารณาเนือง ๆ ฉะน.ี้ ต่อ คำ�อาราธนาอานาปานสติกมั มฏั ฐาน หน้า ๙๔

28 บทที่ ๙ สลี ุทเทสปาฐะ ภาสติ ะมทิ ัง เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปัสสะตา อะระหะตา สมั มาสมั พทุ เธนะ, พระผมู้ พี ระภาคเจา้ , ผรู้ เู้ หน็ , เปน็ พระอรหนั ตต์ รสั รเู้ อง โดยถูกถ้วนพระองค์นั้น, ได้ตรัสคำ�น้ันไว้แล้วว่า, สัมปันนะสีลา ภิกขะเว วิหะระถะ สัมปันนะปาฏโิ มกขา, ดูกอ่ นภกิ ษุทง้ั หลาย, เธอท้งั หลาย, จง เป็นผู้มีศีลสมบูรณ์มีพระปาติโมกข์สมบูรณ์, ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุตา วหิ ะระถะ อาจาระโคจะระสมั ปนั นา, จงเปน็ ผสู้ �ำ รวมแลว้ ดว้ ยเครอ่ื งสงั วร ในพระปาฏโิ มกข,์ สมบรู ณด์ ว้ ยอาจาระและโคจร, คอื มรรยาทและสถานที่ ควรเที่ยวไป, อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี สะมาทายะ สิกขะถะ สิกขาปะเทสูติ, จงเป็นผู้มีปรกติเห็นความน่ากลัวในโทษสักว่าเล็กน้อย, สมาทานศึกษาสำ�เหนียกในสิกขาบททั้งหลายเถิด, ตัสะมาติหัมเหหิ สิกขิตัพพัง, เพราะเหตุดังนั้นแล, เราทั้งหลายพึงศึกษาสำ�เหนียกว่า, สมั ปนั นะสลี า วหิ ะรสิ สามะ สมั ปนั นะปาฏโิ มกขา, จกั เปน็ ผมู้ ศี ลี สมบรู ณ์ มีพระปาฏิโมกข์สมบูรณ์, ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุตา วิหะริสสามะ, อาจาระโคจะระสัมปันนา, จักเป็นผู้สำ�รวมแล้วด้วยเครื่องสังวรในพระ ปาฏิโมกข์, สมบูรณ์ด้วยอาจาระและโคจร, คือมารยาทและสถานที่ควร เที่ยวไป, อะนุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี สะมาทายะ สิกขิสสามะ สิกขาปะเทสูติ, จักเป็นผู้มีปกติเห็นความน่ากลัวในโทษสักว่าเล็กน้อย, สมาทานศึกษาสำ�เหนียกในสิกขาบทท้ังหลาย, เอวัญหิ โน สิกขิตัพพัง, เราท้ังหลาย, พึงศึกษาสำ�เหนยี กอย่างนแ้ี ล. ตอ่ ค�ำ อาราธนาอานาปานสติกมั มัฏฐาน หน้า ๙๔

29 บทท่ี ๑๐ ตายนคาถา ฉนิ ทะ โสตงั ปะรักกัมมะ, เธอจงบากบน่ั ตดั กระแสแหง่ ตณั หาเสยี , กาเม ปะนทู ะ พราหมณะ, จงก�ำ จดั กามคณุ ทง้ั หลายเสยี เถดิ นะพราหมณ,์ นปั ปะหายะ มนุ ิ กาเม, มุน,ี ที่ยงั ละเวน้ กามคุณท้งั หลายไมไ่ ด,้ เนกัตตะ มปุ ปชั ชะต,ิ ยอ่ มเข้าฌานยังไม่ได้, กะยริ า เจ กะยิราเถนงั , ถ้าจะท�ำ , ให้ท�ำ การน้นั จรงิ ๆ, ทัฬหะเมนัง ปะรกั กะเม, พงึ บากบ่ันซึ่งการนน้ั ใหม้ ัน่ , สถิ โิ ล หิ ปะรพิ พาโช, เพราะว่า, การบวชที่ยังยอ่ หยอ่ นหละหลวม, ภิยโย อากิระเต ระชัง, ย่ิงจะเกล่ียโทษดังธุลี, อะกะตัง ทุกกะฏัง เสยโย, อัน ความช่ัวร้าย, ไม่ทำ�เสียเลยดีกว่า, ปัจฉา ตัปปะติ ทุกกะฏัง, เพราะว่า, ความชั่วย่อมแผดเผาในภายหลังได้, กะตัญจะ สุกะตัง เสยโย, ฝ่ายว่า ความด,ี ทำ�ไวน้ ัน่ แหละดกี ว่า, ยัง กตั ตะวา นานุตัปปะต,ิ ท่ที �ำ แล้วไม่ต้อง เดือดร้อนใจ, กโุ ส ยะถา ทคุ คะหิโต, เปรยี บเหมอื นหญา้ คาทีจ่ ับยงั ไม่มัน่ , หัตถะเมวานุกนั ตะต,ิ ย่อมบาดมือได้โดยแท้, สามญั ญงั ทุปปะรามตั ถงั , สมณคณุ , ทล่ี บู คล�ำ เกยี่ วขอ้ งอยา่ งชวั่ ชา้ กเ็ หมอื นกนั , นริ ะยายปู ะกฑั ฒะต,ิ ยอ่ มหนว่ งเหนยี่ วไปสูน่ รกได้, ยังกิญจิ สถิ ลิ งั กัมมงั , อนั การงานอย่างใด อยา่ งหนงึ่ ทย่ี อ่ หยอ่ น, สงั กลิ ฏิ ฐญั จะยงั วะตงั , และขอ้ วตั รปฏบิ ตั ทิ ย่ี งั เจอื ดว้ ยความเศร้าหมอง, สงั กัสสะรัง พรัหมะจะริยงั , พรหมจรรย,์ ทยี่ ังตอ้ ง นึกด้วยความรังเกียจใจ, นะ ตัง โหติ มะหัปผะลันติ, ท้ัง ๓ อย่างน้ัน, ยอ่ มไม่เปน็ การมผี ลยิง่ ใหญ่แล. ตอ่ ค�ำ อาราธนาอานาปานสติกมั มัฏฐาน หนา้ ๙๔

30 บทที่ ๑๑ อรยิ สจั จคาถา เย ทุกขัง นัปปะชานันติ, ชนเหล่าใด, ไม่รู้ทั่วถึงซ่ึงทุกข์, อะโถ ทุกขัสสะ สัมภะวัง, ท้ังเหตุเป็นแดนเกิดแห่งทุกข์, ยัตถะ จะ สัพพะโส ทุกขัง อะเสสัง อุปะรุชฌะติ, ทั้งความทุกข์ย่อมดับไม่เหลือโดยประการ ทัง้ ปวง, ในเพราะมรรคใด, ตัญจะ มคั คัง นะ ชานนั ต,ิ ทง้ั ไม่รูซ้ งึ่ มรรคนัน้ , ทุกขูปะสะมะคามินงั , อันเปน็ ข้อปฏบิ ตั ใิ ห้ถึงซึง่ ความสงบแหง่ ทุกข์, เจโต วมิ ตุ ติหีนา เต, ชนเหลา่ นั้น, เป็นผเู้ หนิ หา่ งจากเจโตวมิ ตุ ติ์, อะโถ ปัญญา วิมุตติยา, ทั้งจากปัญญาวิมุตต์ิ, อะภัพพา เต อันตะกิริยายะ, เขาเป็นผู้ ไม่พอเพือ่ จะท�ำ ทส่ี ุดแห่งทกุ ข์ได,้ เต เว ชาติชะรูปะคา, เขาต้องเข้าถึงซง่ึ ชาติและชราแนแ่ ท้, เย จะ ทุกขงั ปะชานันติ, ฝา่ ยชนเหลา่ ใด, รู้ทั่วถึงซง่ึ ทกุ ข์ได,้ อะโถ ทุกขสั สะ สัมภะวัง, ท้งั เหตเุ ป็นแดนเกิดแห่งทุกข,์ ยัตถะ จะ สพั พะโส ทุกขัง อะเสสัง อปุ ะรุชฌะติ, ท้งั ความทุกขย์ อ่ มดบั ไมเ่ หลือ โดยประการท้ังปวง, ในเพราะมรรคใด, ตัญจะ มัคคัง ปะชานันติ, ท้ังรู้ ทั่วถึงซ่ึงมรรคน้ัน, ทุกขูปะสะมะคามินัง, อันเป็นข้อปฏิบัติให้ถึงซึ่งความ สงบแห่งทุกข์, เจโตวิมุตติสัมปันนา, ชนเหล่าน้ัน, เป็นผู้สมบูรณ์ด้วย เจโตวิมุตติ์, อะโถ ปัญญาวิมุตติยา, ทั้งด้วยปัญญาวิมุตติ์, ภัพพา เต อันตะกิรยิ ายะ, เขาเพียงพอเพื่อจะทำ�ท่ีสุดแหง่ ทุกขไ์ ด้, นะ เต ชาติชะรู ปะคาต,ิ เขาไมต่ ้องเข้าถงึ ซ่งึ ชาตแิ ละชรา, ฉะน้แี ล. ตอ่ ค�ำ อาราธนาอานาปานสตกิ มั มัฏฐาน หนา้ ๙๔

31 บทที่ ๑๒ พระคาถาธรรมบรรยาย ๑. สพั เพ สตั ตา มะรสิ สนั ต,ิ สตั วทง้ั หลายทงั้ สน้ิ จกั ตาย, มะระณนั ตั หิ ชีวิตัง, เพราะชีวิตมีความตายเป็นที่สุด, ชะรังปิ ปัตตะวา มะระณัง, แมอ้ ยู่ได้ถึงชราก็ตอ้ งตาย, เอวัง ธัมมา หิ ปาณิโน, เพราะสตั ว์ทัง้ หลาย มีอยา่ งน้เี ป็นธรรมดา. ๒. ยะมะกงั นามะรปู ญั จะ, กน็ ามและรปู เปน็ คกู่ นั , อโุ ภ อญั โญญญะ นิสสติ า, ตา่ งอาศยั กนั และกันท้งั สอง, เอกสั มงิ ภชิ ชะมานสั มิง, เม่อื ฝา่ ย หนงึ่ แตกสลาย, อโุ ภ ภชิ ชนั ติ ปจั จะยา, ทงั้ สองฝา่ ยอนั อาศยั กนั กต็ อ้ งสลาย. ๓. ยะถาปิ อัญญะตะรัง พชี ัง, เปรยี บเหมอื นพชื ชนดิ ใดชนิดหน่งึ , เขตเต วตุ ตัง วริ ูหะต,ิ ทีห่ ว่านลงในนาแลว้ ย่อมงอกได,้ ปะฐะวรี ะสญั จะ อาคัมมะ, เพราะอาศัยรสแห่งแผ่นดิน, สิเนหัญจะ ตะทูภะยัง, และยาง ในพืชเป็นสองประการนน้ั . ๔. เอวัง ขนั ธา จะ ธาตโุ ย, ฉะ จะ อายะตะนา อเิ ม, ขันธ์ ๕ และธาตุทั้งหลาย, ท้ังอายตนะ ๖ เหล่านี้ก็เหมือนกัน, เหตุง ปะฏิจจะ สัมภูตา, อาศัยเหตุจึงเกิดข้ึนได้, เหตุภังคา นิรุชฌะเร, เพราะเหตุแตก สลายกย็ อ่ มดับไป. ๕. ยะถา หิ อังคะสมั ภารา, เปรียบเหมือนการคมุ สมั ภาระเครอื่ งรถ เขา้ ได,้ โหติ สทั โท ระโถ อติ ,ิ เสยี งเรยี กวา่ รถกม็ ไี ด,้ เอวงั ขนั เธสุ สนั เตส,ุ เมื่อขนั ธ์ ๕ ยังมอี ย่กู เ็ หมอื นกัน, โหติ สัตโตติ สัมมะติ, การสมมติวา่ สัตว์ ก็มไี ด้.

32 ๖. อุโภ ปญุ ญัญจะ ปาปัญจะ ยัง มัจโจ กุรเุ ต อธิ ะ, อันผู้จะตอ้ ง ตายท�ำ บญุ และบาปทงั้ สองอยา่ งๆ ใดไวใ้ นโลกน,้ี ตญั ห ิ ตสั สะ สะกงั โหต,ิ บญุ และบาปนนั้ , คงเปน็ ของ ๆ ผ้นู ัน้ แท,้ ตัญจะ อาทายะ คจั ฉะติ, ผู้นั้น, ก็ตอ้ งรับรองบุญหรอื บาปนน้ั ไป, ตัญจัสสะ อะนคุ ัง โหติ, บุญหรือบาป น้นั ก็ยอ่ มตดิ ตามผนู้ นั้ ไป, ฉายาวะ อะนปุ ายินี, เหมอื นเงาอนั ตดิ ตามผนู้ นั้ ไป ฉะน้นั . ๗. สัทธายะ สีเลนะ จะ โย ปะวฑั ฒะต,ิ ผูใ้ ด เจริญดว้ ยศรทั ธาและ ศีล, ปัญญายะ จาเคนะ สุเตนะ จูภะยัง, และปัญญาการบริจาค การ สดับศึกษา ทั้งสองฝ่าย, โส ตาทิโส สัปปุริโส วิจักขะโณ, ผู้นั้น, เป็น สตั บรุ ุษเฉยี บแหลมเชน่ น้นั , อาทยี ะติ สาระมิเธวะ อัตตโน, ย่อมถือไวไ้ ด้ ซ่งึ สาระประโยชนข์ องตนในโลกนแ้ี ท้. ๘. อัชเชวะ กิจจะมาตัปปงั , ควรรบี ทำ�ความเพียรในวันนที้ ีเดียว, โก ชญั ญา มะระณัง สเุ ว, ใครจะรไู้ ด้ว่าความตายจะมใี นพรงุ่ น้ี, นะ หิ โน สงั คะรนั เตนะ มะหาเสเนนะ มจั จนุ า, เราท้งั หลาย, จะผดั เพีย้ นดว้ ย มจั จุราชผู้มีเสนาใหญน่ น้ั ไม่ได้เลย. ๙. เอวมั ภเู ตสเุ ปยเตส ุ สาธ ุ ตตั ถาชฌเุ ปกขะณา, เมอื่ สงั ขารเหลา่ นน้ั , ตอ้ งเปน็ อยา่ งนแี้ นแ่ ทแ้ ลว้ , การวางอเุ บกขาในสงั ขารเหลา่ นน้ั ไดเ้ ปน็ ด,ี อะปิ เตสงั นโิ รธายะ ปะฏปิ ัตยาตสิ าธุกา, อน่ึง, การปฏิบัตเิ พื่อความสงบ สงั ขารเหลา่ นนั้ ได,้ กย็ ง่ิ เปน็ ความด,ี สพั พงั สมั ปาทะนยี ญั หิ อปั ปะมาเทนะ สัพพะทาติ, กิจทั้งสิ้นน้ีควรบำ�เพ็ญให้บริบูรณ์ได้, ด้วยความไม่ประมาท ในกาลทุกเมื่อแล. ต่อ คำ�อาราธนาอานาปานสติกมั มฏั ฐาน หน้า ๙๔

33 ทำ�วตั รเย็น เมอ่ื เขา้ ประชมุ พรอ้ มแลว้ เวลาผเู้ ปน็ หวั หนา้ ท�ำ สกั การะ พงึ พรอ้ มกนั ยนื ขึ้นหรือน่งั คุกเข่าประนมมอื ครั้นเสร็จแล้ว พึงน่งั คกุ เข่า ผเู้ ป็นหวั หน้า พงึ กลา่ วค�ำ อภวิ าท น�ำ ใหห้ มวู่ า่ ตามเปน็ ตอนๆ ดงั น้ี ค�ำ กราบพระรตั นตรยั อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระ อรหันต์ บริสุทธ์ิหมดจดจากกิเลสเครื่องเศร้าหมองทั้งหลาย ได้ตรัสรู้ ถกู ถว้ นดีแลว้ อเิ มหิ สกั กาเรหิ ตัง ภะคะวนั ตัง อภิปชู ะยามิ ขา้ พเจา้ บชู า ซงึ่ พระ ผมู้ ีพระภาคเจา้ นน้ั ด้วยเครอ่ื งสกั การะเหลา่ นี้ (กราบ ๑ ครั้ง) สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรมคือศาสนา อันพระผู้มี พระภาคเจา้ แสดงไวด้ แี ล้ว ตรัสไว้ดแี ลว้ อิเมหิ สักกาเรหิ ตงั ธัมมงั อภิปูชะยามิ ข้าพเจ้าบชู า ซ่ึงพระธรรม เจา้ น้นั ดว้ ยเครอ่ื งสักการะเหลา่ น้ี (กราบ ๑ คร้งั ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ หมู่พระสงฆ์ผู้เชื่อฟังของ พระผมู้ ีพระภาคเจ้า ปฏิบัตดิ ีแล้ว อเิ มหิ สกั กาเรหิ ตงั สงั ฆงั อภปิ ชู ะยามิ ขา้ พเจา้ บชู า ซงึ่ หมพู่ ระสงฆ์ เจ้านน้ั ด้วยเครือ่ งสกั การะเหลา่ น้ี (กราบ ๑ ครัง้ )

34 บูชา ปพุ พะภาคะนะมะการ (น�ำ ) หันทะทานิ มะยันตัง ภะคะวันตงั วาจายะ อภิคายิตุง ปุพพะภาคะ นะมะการัญเจวะ พุทธานสุ สะตนิ ะยญั จะ กะโรมะ เส. (รับ) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสมั พทุ ธสั สะ. (๓ หน) พุทธานุสสะติ ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลยาโณ กิตตสิ ทั โท อัพภคุ คะโต, อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปันโน สคุ ะโต โลกะวทิ ,ู อะนตุ ตะโร ปรุ สิ ะทมั มะสาระถิ สตั ถา เทวะมะนสุ สานงั พทุ โธ ภะคะวาต.ิ พุทธาภคิ ีติ (นำ�) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส. (รบั ) พทุ ธะวาระหันตะวะระตาทคิ ุณาภิยตุ โต สทุ ธาภิญาณะกะรณุ าหิ สะมาคะตัตโต โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลงั วะ สูโร วันทามะหัง ตะมะระณัง สริ ะสา ชิเนนทัง พทุ โธ โย สพั พะปาณีนงั สะระณงั เขมะมุตตะมัง ปะฐะมานุสสะติฏฐานงั วนั ทามิ ตงั สเิ รนะหัง

35 พุทธสั สาหสั มิ ทาโส วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร พทุ โธ ทกุ ขัสสะ ฆาตา จะ วธิ าตา จะ หติ ัสสะ เม พทุ ธัสสาหงั นิยยาเทมิ สะรรี ญั ชีวติ ญั จทิ ัง วันทนั โตหัง จะริสสามิ พุทธสั เสวะ สโุ พธติ ัง นตั ถิ เม สะระณงั อญั ญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สัจจะวชั เชนะ วฑั เฒยยงั สตั ถุ สาสะเน พทุ ธัง เม วนั ทะมาเนนะ ยงั ปญุ ญัง ปะสตุ งั อธิ ะ สพั เพปิ อันตะรายา เม มาเหสงุ ตสั สะ เตชะสา (หมอบกราบ กลา่ ววา่ ) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา พทุ เธ กุกัมมงั ปะกะตัง มะยา ยัง พทุ โธ ปะฏคิ คณั หะตุ อจั จะยนั ตงั กาลนั ตะเร สังวะริตงุ วะ พุทเธ. (พงึ นัง่ คุกเขา่ ข้นึ )

36 ธัมมานุสสะติ (นำ�) หนั ทะ มะยงั ธัมมานุสสะตนิ ะยัง กะโรมะ เส. (รับ) สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทฏิ ฐิโก อะกาลโิ ก เอหปิ ัสสิโก,โอปะนะยโิ ก ปจั จตั ตัง เวทติ ัพโพ วญิ ญูหตี ิ. ธัมมาภิคีติ (นำ�) หนั ทะ มะยัง ธัมมาภคิ ตี งิ กะโรมะ เส. (รับ) สวากขาตะตาทคิ ุณะโยคะวะเสนะ เสยโย โย มคั คะปากะปะริยัตตวิ ิโมกขะเภโท ธัมโม กโุ ลกะปะตะนา ตะทะธารธิ ารี วันทามะหัง ตะมะหะรงั วะระธัมมะเมตัง ธัมโม โย สพั พะปาณีนัง สะระณงั เขมะมุตตะมงั ทุตยิ านสุ สะตฏิ ฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหงั ธัมมสั สาหัสมิ ทาโส วะ ธัมโม เม สามกิ สิ สะโร ธมั โม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หติ ัสสะ เม ธมั มัสสาหัง นยิ ยาเทมิ สะรีรัญชีวติ ัญจทิ ัง วันทนั โตหงั จะริสสามิ ธมั มัสเสวะ สุธมั มะตงั นตั ถิ เม สะระณัง อัญญงั ธัมโม เม สะระณัง วะรัง เอเตนะ สจั จะวัชเชนะ วฑั เฒยยัง สัตถุ สาสะเน ธมั มงั เม วนั ทะมาเนนะ ยงั ปญุ ญงั ปะสตุ ัง อธิ ะ สพั เพปิ อนั ตะรายา เม มาเหสงุ ตสั สะ เตชะสา

37 (หมอบกราบ กลา่ วว่า) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ธัมเม กุกมั มัง ปะกะตัง มะยา ยัง ธมั โม ปะฏคิ คณั หะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สงั วะรติ ุง วะ ธมั เม. สงั ฆานสุ สะติ (น�ำ ) หนั ทะ มะยงั สงั ฆานุสสะตนิ ะยัง กะโรมะ เส. (รบั ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, ญายะปะฏิปนั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, สามจี ปิ ะฏปิ นั โน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, ยะททิ งั จตั ตาริ ปรุ สิ ะยคุ านิ อฏั ฐะปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ, อาหุเนยโย, ปาหุเนยโย, ทกั ขิเณยโย, อญั ชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญกั เขตตัง โลกสั สาต.ิ สังฆาภคิ ตี ิ (นำ�) หันทะ มะยัง สังฆาภคิ ตี งิ กะโรมะ เส. (รับ) สทั ธมั มะโช สุปะฏิปัตติคณุ าทยิ ตุ โต โยฏฐัพพโิ ธ อะริยะปุคคะละสงั ฆะเสฏโฐ สลี าทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต วันทามะหัง ตะมะรยิ านะคะณงั สุสทุ ธัง

38 สงั โฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมงั ตะติยานุสสะตฏิ ฐานัง วันทามิ ตัง สเิ รนะหงั สังฆัสสาหัสมิ ทาโส วะ สังโฆ เม สามิกสิ สะโร สงั โฆ ทกุ ขสั สะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หติ ัสสะ เม สังฆสั สาหัง นยิ ยาเทมิ สะรีรัญชีวติ ัญจิทัง วนั ทันโตหงั จะรสิ สามิ สงั ฆสั โสปะฏิปันนะตัง นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สงั โฆ เม สะระณัง วะรงั เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยงั สตั ถุ สาสะเน สังฆงั เม วนั ทะมาเนนะ ยงั ปุญญงั ปะสตุ งั อธิ ะ สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสงุ ตสั สะ เตชะสา (หมอบกราบ กลา่ ววา่ ) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา สงั เฆ กุกมั มงั ปะกะตัง มะยา ยงั สังโฆ ปะฏคิ คณั หะตุ อัจจะยนั ตัง กาลันตะเร สงั วะรติ งุ วะ สังเฆ. (นงั่ พบั เพียบ)

39 อนัตตลักขณสตู ร บทขดั อะนตั ตะลักขะณะสตู ร ยันตัง สัตเตหิ ทกุ เขนะ เญยยงั อะนตั ตะลกั ขะณัง อตั ตะวาทาตตะสญั ญานัง สัมมะเทวะ วิโมจะนงั สมั พุทโธ ตงั ปะกาเสสิ ทิฏฐะสจั จานะ โยคนิ งั อตุ ตะรงิ ปะฏิเวธายะ ภาเวตงุ ญาณะมุตตะมงั ยนั เตสงั ทฏิ ฐะธัมมานงั ญาเณนปุ ะปะรกิ ขะตงั สัพพาสะเวหิ จติ ตานิ วิมุจจงิ สุ อะเสสะโต ตะถา ญาณานุสาเรนะ สาสะนงั กาตมุ จิ ฉะตงั สาธูนงั อตั ถะสิทธตั ถัง ตัง สตุ ตันตงั ภะณามะ เส บทอะนัตตะลักขะณะสุตตงั เอวัมเม สุตัง, เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, พาราณะสิยัง วิหะระติ, อสิ ปิ ะตะเน มคิ ะทาเย, ตตั ร๎ ะ โข ภะคะวา ปญั จะวคั คเิ ย ภกิ ขู อามนั เตส.ิ รูปัง ภกิ ขะเว อะนัตตา, รปู ญั จะหิทงั ภกิ ขะเว อัตตา อะภะวสิ สะ, นะยิทัง รูปัง อาพาธายะ สงั วตั เตยยะ, ลัพเภถะ จะ รูเป, เอวงั เม รปู งั โหตุ เอวัง เม รปู งั มา อะโหสีติ, ยสั ๎มา จะ โข ภิกขะเว รปู ัง อะนัตตา, ตสั ม๎ า รูปัง อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ รเู ป, เอวงั เม รูปงั โหตุ เอวงั เม รูปัง มา อะโหสีต,ิ เวทะนา อะนตั ตา, เวทะนา จะ หทิ งั ภิกขะเว อตั ตา อะภะวสิ สะ, นะยิทัง เวทะนา อาพาธายะ สงั วัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ เวทะนายะ, เอวัง เม เวทะนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา

40 อะโหสีติ, ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว เวทะนา อะนัตตา, ตัส๎มา เวทะนา อาพาธายะ สังวตั ตะต,ิ นะ จะ ลัพภะติ เวทะนายะ, เอวงั เม เวทะนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อะโหสีต,ิ สัญญา อะนตั ตา, สญั ญา จะ หทิ งั ภกิ ขะเว อตั ตา อะภะวสิ สะ, นะยิทัง สัญญา อาพาธายะ สังวตั เตยยะ, ลัพเภถะ จะ สัญญายะ, เอวัง เม สัญญา โหตุ เอวัง เม สัญญา มา อะโหสีติ, ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว สัญญา อะนัตตา, ตัส๎มา สัญญา อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ สัญญายะ, เอวัง เม สัญญา โหตุ เอวงั เม สัญญา มา อะโหสีติ, สังขารา อะนตั ตา, สงั ขารา จะ หิทัง ภกิ ขะเว อตั ตา อะภะวสิ สงั สุ, นะยทิ งั สังขารา อาพาธายะ สังวตั เตยยุง, ลพั เภถะ จะ สงั ขาเรสุ, เอวัง เม สงั ขารา โหนตุ เอวงั เม สงั ขารา มา อะเหสุนติ, ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว สังขารา อะนัตตา, ตัส๎มา สังขารา อาพาธายะ สังวัตตันติ, นะ จะ ลัพภะติ สังขาเรสุ, เอวัง เม สังขารา โหนตุ, เอวัง เม สังขารา มา อะเหสุนติ, วิญญาณัง อะนัตตา, วิญญา ณญั จะ หทิ งั ภกิ ขะเว อตั ตา อะภะวสิ สะ, นะยทิ งั วญิ ญาณงั อาพาธายะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ วิญญาเณ, เอวัง เม วิญญาณัง โหตุ เอวัง เม วญิ ญาณงั มา อะโหสตี ิ, ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว วิญญาณงั อะนัตตา, ตัส๎มา วิญญาณัง อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ วิญญาเณ, เอวัง เม วญิ ญาณัง โหตุ เอวัง เม วิญญาณัง มา อะโหสตี ิ. ตงั กิง มญั ญะถะ ภิกขะเว รูปงั นจิ จัง วา อะนิจจัง วาติ, อะนิจจงั ภนั เต, ยมั ปะนานจิ จัง ทุกขงั วา ตงั สุขัง วาต,ิ ทกุ ขัง ภันเต, ยมั ปะนา นิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปัสสิตุง, เอตัง มะมะ เอโสหะมสั ๎มิ เอโส เม อตั ตาติ, โน เหตัง ภนั เต, ตัง กิง มญั ญะถะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook