Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาหน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

วิชาหน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-07-19 16:22:28

Description: อจท.หน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

Search

Read the Text Version

ภาครัฐ • ส่งเสริมและสนบั สนุนกระบวนการเรียนรู้สิทธิมนุษยชนศึกษา • สร้างความตระหนกั และจิตสานึกของประชาชนตามหลกั สิทธิมนุษยชน • เปิ ดโอกาสใหท้ ุกภาคส่วนในสงั คมมีส่วนร่วมในการปกป้องคุม้ ครองสิทธิ มนุษยชน • ผลกั ดนั กฎหมายใหเ้ กิดการคุม้ ครองและพทิ กั ษส์ ิทธิอยา่ งเป็นรูปธรรม • สร้างความสมั พนั ธแ์ ละความเขา้ ใจอนั ดีแก่สาธารณชนในบทบาท ภารกิจดา้ นสิทธิ มนุษยชน

ภาคเอกชน • เผยแพร่ความรู้เก่ียวกบั สิทธิมนุษยชนใหก้ บั สมาชิกในสงั คม • สร้างความเขา้ ใจและส่งเสริมแนวคิดสิทธิมนุษยชนแก่คนทว่ั ไป • รณรงคใ์ หป้ ระชาชนตระหนกั ถึงความสาคญั ของสิทธิมนุษยชน • ใหค้ วามร่วมมือกบั หน่วยงานของรัฐในเร่ืองสิทธิมนุษยชน ท้งั ดา้ นขอ้ มูล เน้ือหา และการจดั กิจกรรม ที่ส่งเสริมดา้ นสิทธิมนุษยชน

ภาคประชาชน • ปฏิบตั ิตามกฎหมายอยา่ งเคร่งครัด ใชส้ ิทธิและเสรีภาพตามที่กฎหมายกาหนด • ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น • เคารพในความเสมอภาคเท่าเทียมกนั ของมนุษย์ • ไม่กระทาการดูถูก ดูหมิ่น หรือเหยยี ดหยามบุคคลอ่ืน • รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืนอยา่ งมีเหตุผล • ใหค้ วามร่วมมือกบั ภาครัฐและภาคเอกชนในการส่งเสริมสิทธิมนุษยชน

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 5 ระบอบการเมืองการปกครอง

ลกั ษณะการเมือง การปกครองระบอบ การปกครอง ประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั ริย์ทรง การเป็ นสมาชิก ระบอบ เป็ นประมุข องค์กรความร่วมมือ การเมืองการ ระหว่างประเทศ ฐานะและพระราช ปกครอง อานาจของ สถานการณ์ทาง พระมหากษตั ริย์ การเมืองในปัจจุบัน อทิ ธิพลของระบอบ การเมืองการปกครองท่ี มีผลต่อการดาเนินชีวติ



ประเทศต่างๆ ยอ่ มมีระบบการเมืองการปกครองท่ีประชาชนส่วนใหญ่ ของประเทศเชื่อวา่ เหมาะสม กบั สภาพทางเศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม หาก ระบอบการเมืองการปกครองในขณะน้นั เกิดความไม่เหมาะสมตอ้ งมีการ เปล่ียนแปลงและพฒั นารูปแบบการเมืองการปกครองใหเ้ หมาะสม ระบอบการ ปกครองที่ประเทศตา่ งๆ ใชก้ นั อยู่ มี 2 ระบอบ คือ ระบอบประชาธิปไตย และ ระบอบเผดจ็ การ

ระบอบประชาธิปไตย • อานาจอธิปไตยเป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นอานาจ ท่ีมาจากปวงชน ผปู้ กครองตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมจากประชาชนส่วนใหญ่ ในประเทศ • รัฐบาลตอ้ งเคารพสิทธิและเสรีภาพข้นั พ้นื ฐานของประชาชน ตอ้ งไม่ละเมิดสิทธิ เวน้ แต่เพอ่ื รักษาความมน่ั คงของชาติ • ประชาชนมีสิทธิเสมอภาคกนั ท่ีจะไดร้ ับการบริการจากภาครัฐ • รัฐบาลยดึ หลกั นิติรัฐเป็นบรรทดั ฐานในการปกครองประเทศ และในการแกไ้ ข ประเทศ ไม่ออกกฎหมายท่ีมีผลเป็นการลงโทษบุคคลยอ้ นหลงั

ระบอบเผดจ็ การ • มีผนู้ าหรือพรรคการเมืองเพียงกลุ่มเดียว มีอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ • การรักษาความมนั่ คงของผนู้ าสาคญั กวา่ การคุม้ ครองสิทธิของประชาชน • ผนู้ าหรือคณะผนู้ าสามารถอยใู่ นอานาจไดน้ านภายใตก้ ารสนบั สนุนของกองทพั • รัฐธรรมนูญและการเลือกต้งั ไม่สาคญั ต่อกระบวนการปกครอง โดยรัฐธรรมนูญ เป็นเพยี งแค่รากฐานรองรับอานาจของผนู้ าหรือคณะผนู้ าเท่าน้นั



อานาจนิติบัญญตั ิ อานาจหน้าที่ • พิจารณาร่างพระราชบญั ญตั ิ สมาชิกวฒุ ิสภา • ควบคุมการบริหารราชการ รัฐสภา แผน่ ดิน • ควบคุมการตรากฎหมาย สมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎร ท่ีขดั ต่อรัฐธรรมนูญ • มีอานาจในการถอดถอน ผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมือง อานาจหน้าที่ • เสนอและพิจารณากฎหมาย • ควบคุมการบริหารราชการ แผน่ ดิน • มีสิทธิเขา้ ชื่อเพอื่ ถอดถอน ผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมือง • ควบคุมการตรากฎหมาย ที่ขดั หรือแยง้ ต่อรัฐธรรมนูญ

อานาจบริหาร อานาจหน้าท่ี • กาหนดนโยบายการบริหารราชการแผน่ ดิน คณะรัฐมนตรี ใหม้ ีความเป็นระเบียบเรียบร้อย • รักษาความสงบเรียบร้อยเพือ่ ใหป้ ระชาชน ปลอดภยั ในการดาเนินชีวติ • ควบคุมขา้ ราชการประจาใหน้ านโยบายไปปฏิบตั ิ และประสานงานกบั กระทรวงต่างๆ ใหเ้ ป็นไป ในทางเดียวกนั • ออกมติต่างๆ เพื่อใหก้ ระทรวง กรมต่างๆ ถือปฏิบตั ิ และเป็นแนวทางในการบริหารจดั การ

อานาจตุลาการ • พจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั ิที่ผา่ นการ เห็นชอบจากรัฐสภา ศาลรัฐธรรมนูญ • พจิ ารณาวนิ ิจฉยั บทบญั ญตั ิแห่ง ศาลยตุ ิธรรม กฎหมาย ศาล • พจิ ารณาปัญหาหนา้ ท่ีขององคก์ รต่างๆ ศาลปกครอง ศาลทหาร • พิจารณาพิพากษาคดีท้งั ปวง • พิจารณาคดีแพง่ และคดีอาญาที่มีการ อทุ ธรณ์ • พจิ ารณาคดีตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ • พจิ ารณาคดีท่ีเก่ียวกบั การใชอ้ านาจ ทางการปกครองตามกฎหมาย ตามท่ีกฎหมายบญั ญตั ิ • พจิ ารณาคดีอาญาซ่ึงผกู้ ระทาผดิ เป็นบุคคลท่ีอยใู่ นอานาจศาลทหาร



ฐานะและพระราชอานาจ ทรงอยใู่ นฐานะประมุขของประเทศ ทรงเป็ นกลางทางการเมือง ทรงดารงตนในฐานะอนั เป็นที่ เคารพสกั การะ ทรงเป็นตวั แทนของ ปวงชนชาวไทย ทรงเป็นศูนยร์ วมความสามคั คี ของคนในชาติ



ประชาชนทุกคนตกอยภู่ ายใตอ้ ิทธิพลของระบอบการเมืองการ ปกครองไม่วา่ จะเป็นระบอบเผดจ็ การ หรือระบอบประชาธิปไตย ยอ่ ม ส่งผลตอ่ การดาเนินชีวติ ของประชาชน อาจดีข้ึนหรือเลวร้ายลง ข้ึนอยู่ กบั การนามาใชใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั วฒั นธรรมและสงั คมของประเทศน้นั ๆ

อทิ ธิพลของระบอบการเมืองการปกครอง • ทาใหป้ ระชาชนเห็นความสาคญั ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย • ประชาชนเกิดตระหนกั ในสิทธิและหนา้ ท่ีของตนเองต่อการปกครอง • ทาใหป้ ระชาชนต่ืนตวั ทางการเมือง มีส่วนร่วมสนบั สนุนกิจกรรมทางการเมือง • ทาใหเ้ กิดการแสดงความคิดเห็นอยา่ งมีเหตุผล ท้งั ที่เห็นดว้ ยและไม่เห็นดว้ ย • ทาใหค้ นในทอ้ งถ่ินร่วมมือกนั ปกป้องผลประโยชนข์ องทอ้ งถ่ินตน



ปัญหาทางการเมือง • ความคิดเห็นทางการเมืองของคนไทยแตกต่างกนั • ความอ่อนแอของฝ่ ายบริหาร • พรรคการเมืองมีจานวนมากเกินไป • เกิดปัญหาทุจริตคอร์รัปชนั่ ในวงกวา้ ง • นกั การเมืองบางคนอาศยั อานาจทางการเมืองเพือ่ หาผลประโยชนใ์ หก้ บั ตนเอง



องค์การสหประชาชาติ (UN) วตั ถุประสงค์ในการก่อต้ัง • รักษาสนั ติภาพ ความมน่ั คง และพฒั นาความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศ โดย อยบู่ นพ้ืนฐานของหลกั สิทธิมนุษยชนและความเท่าเทียมกนั ของมนุษย์ • ส่งเสริมประชาธิปไตย สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค บนพ้นื ฐานของหลกั ความยตุ ิธรรมและกฎหมายระหวา่ งประเทศ • อนุรักษแ์ ละบูรณะสถานที่สาคญั ทางประวตั ิศาสตร์ วฒั นธรรม และ สถาปัตยกรรม

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ (ASEAN) วตั ถุประสงค์ในการก่อต้ัง • ส่งเสริมเสถียรภาพ สนั ติภาพ และความมน่ั คงภายในภูมิภาค • เสริมสร้างความสมั พนั ธ์อนั ดีกบั ประเทศนอกภูมิภาค • เพอ่ื เร่งรัดความเติบโตทางเศรษฐกิจ ความกา้ วหนา้ ทางสังคมและวฒั นธรรมของ ภูมิภาค • ส่งเสริมความร่วมมือในทางวชิ าการ ท้งั การฝึกอบรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการวิจยั

เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) วตั ถุประสงค์ในการก่อต้ัง • ส่งเสริมการคา้ ในอาเซียนใหข้ ยายตวั เพิม่ ข้ึน • ลดภาษีและอุปสรรคขอ้ กีดขวางทางการคา้ เพอ่ื ดึงดูดการลงทุนจากต่างชาติ • เพม่ิ ขีดความสามารถในการต่อรองทางการคา้ โลก • เป็นเป็นเวทีแสดงความคิดเห็นหากถูก เอารัดเอาเปรียบทางการคา้ จากประเทศอ่ืน

ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ เอเชียแปซิฟิ ก (APEC) วตั ถุประสงค์ในการก่อต้ัง • ส่งเสริมและพฒั นาระบบการคา้ เพอ่ื การขยายตวั ทางเศรษฐกิจของภูมิภาค และของโลก • เป็นเวทีสาหรับใหส้ มาชิกปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนขอ้ คิดเห็นกนั ทาง ดา้ นเศรษฐกิจ • ส่งเสริมใหก้ ารคา้ และการลงทุนเป็นไปอยา่ เสรี • ลดอุปสรรคและอานวยความสะดวกทางการคา้ และบริการระหวา่ งประเทศสมาชิก

องค์การการค้าโลก (WTO) วตั ถุประสงค์ในการก่อต้ัง • ส่งเสริมใหก้ ารคา้ ระหวา่ งประเทศเป็นไปโดยเสรีมากข้ึน • ส่งเสริมการแขง่ ขนั ทางการคา้ ที่เป็นธรรมไม่เลือกปฏิบตั ิ • กากบั ดูแลการดาเนินงานของประเทศสมาชิกใหเ้ ป็นไปตามขอ้ ตกลงของ องคก์ ารการคา้ โลก • ยตุ ิขอ้ พพิ าทท่ีอาจมีข้ึนระหวา่ งประเทศสมาชิก • เป็นเวทีเจรจาการคา้ ของประเทศสมาชิก • ติดตามและตรวจสอบนโยบายทางการคา้ ของประเทศสมาชิกอยา่ งสม่าเสมอ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

รัฐธรรมนูญแห่ง รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ราชอาณาจกั รไทย และศาล พทุ ธศักราช 2550 รัฐธรรมนูญแห่ง พรรคการเมือง การตรวจสอบ ราชอาณาจกั รไทย และการเลือกต้งั การใช้อานาจรัฐ บทบาทหน้าท่ี ของรัฐบาล

รัฐธรรมนพูญทุ ธแศหัก่งรราาชชอ2า5ณ50าจกั รไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 เป็นกฎหมายสูงสุดของ ประเทศ ร่างข้ึนโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญที่ไดร้ ับการเลือกต้งั จากสมาชิกสมชั ชาแห่งชาติ ซ่ึงมา จากผแู้ ทนทุกวชิ าชีพ ร่างรัฐธรรมนูญฉบบั น้ีไดผ้ า่ นความคิดเห็นจากประชาชนทว่ั ประเทศ โครงสร้างของรัฐธรรมนูญแห่ง ประกอบไปดว้ ย 15 หมวด 1 บทเฉพาะกาล 309 มาตรา

ความสาคญั ของรัฐธรรมนูญ • ยนื ยนั ความเป็นเอกราช • รับรองความเป็นเอกรัฐ • ยนื ยนั วา่ ประเทศไทยมีการปกครอง แบบระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็น ประมุข • คุม้ ครองศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ • ใหค้ วามคุม้ ครองประชาชนอยา่ ง เท่าเทียมกนั

หลกั การสาคญั ทก่ี าหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ • ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างเตม็ ท่ี เพื่อเพม่ิ สิทธิ ของประชาชนใหก้ วา้ งขวางมากข้ึน ลดการผกู ขาดอานาจรัฐและการใชอ้ านาจรัฐ อยา่ งไม่เป็นธรรม • ลดการผูกขาดอานาจรัฐและการใช้อานาจอย่างไม่เป็ นธรรม เพอ่ื ลดการแทรกแซง การทางานของขา้ ราชการและหน่วยงานภาครัฐ เพอื่ การทางานที่อิสระ ปราศจากการ ครอบงาจากการเมือง • ทาให้การเมืองมคี วามโปร่งใส มคี ุณธรรม จริยธรรม เพอื่ ลดปัญหาการทุจริต คอร์รัปชน่ั • ทาให้ระบบตรวจสอบมคี วามเข้มแข็งและทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อใหอ้ งคอ์ ิสระท่ีจดั ต้งั ตามรัฐธรรมนูญไดท้ างานอยา่ งเป็นอิสระ ไม่ถูกแทรกแซง จากภาคการเมือง

แนวทางการปฏบิ ตั ติ นตามรัฐธรรมนูญ • เข้าไปมสี ่วนร่วมในกระบวนการทางประชาธิปไตยทุกระดบั ท้งั ระดบั ทอ้ งถ่ิน และระดบั ชาติ เช่น ไปใชส้ ิทธิเลือกต้งั กานนั ผใู้ หญ่บา้ น สมาชิกองคก์ ารบริหารส่วน ตาบล สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร เขา้ ร่วมกิจกรรมรณรงคเ์ ก่ียวกบั ประชาธิปไตย เป็ นตน้ • ตดิ ตามตรวจสอบการใช้อานาจของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและผู้บริหารทุกระดบั อย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกนั มิใหใ้ ชอ้ านาจรัฐเพือ่ ประโยชน์ส่วนตวั หรือไปในทางทุจริต • สนับสนุนนักการเมืองและพรรคการเมืองทีด่ ี โดยการไปออกเสียงเลือกต้งั นกั การเมืองและพรรคการเมืองท่ีดีเขา้ ไปบริหารประเทศ

ว่าด้วบยทรัฐบสญั ภญาตัคขิณอะงรรัฐัฐมธนรรตมรีนแูญละศาล

รัฐสภา รัฐสภา สมาชิกสภาผแู้ ทน วฒุ ิสภา 150 คน ราษฎร 500 คน มาจากการ แบบบญั ชีรายช่ือ เลือกต้งั จงั หวดั มาจากการสรรหา เลือกต้งั 375 คน 125 คน ละ 1 คน 73 คน ประธานรัฐสภา ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร เป็นประธานรัฐสภา ประธานวฒุ ิสภา เป็นรองประธานรัฐสภา

บทบัญญัติสาคญั เกย่ี วกบั รัฐสภา ทาหนา้ ที่พจิ าณาร่างพระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญ หรือ ร่างพระราชบญั ญตั ิท่ีจะตราเป็นกฎหมาย ในการประชุมสภาตอ้ งมีผเู้ ขา้ ร่วมมากกวา่ ก่ึงหน่ึงของจานวนสมาชิก ท้งั หมด โดยเปิ ดสมยั ประชุมปี ละ 2 คร้ัง คร้ังละ 120 วนั การประชุมสภาผแู้ ทนราษฎรและวฒุ ิสภาตอ้ งมีสมาชิกไม่นอ้ ยกวา่ ก่ึงหน่ึง ของสมาชิกท้งั หมด พระมหากษตั ริยท์ รงไวซ้ ่ึงพระราชอานาจในการยบุ สภาผแู้ ทนราษฎร เพ่ือใหม้ ี การเลือกต้งั ใหม่ โดยการประกาศเป็นพระราชกฤษฎีกา ตามคาแนะนาของ นายกรัฐมนตรี

คณะรัฐมนตรี • คณะรัฐมนตรี พระมหากษตั ริยท์ รงแตง่ ต้งั คณะรัฐมนตรี ประกอบดว้ ย นายกรัฐมนตรี 1 คน แต่งต้งั จากสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรรัฐมนตรี ไม่เกิน 35 คน มาจากสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรหรือไมก่ ไ็ ด้ คุณสมบัติของรัฐมนตรี ❑ มีสัญชาติไทยโดยการเกิด ❑ มีอายไุ ม่ต่ากวา่ 35 ปี บริบรู ณ์ ❑ สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากวา่ ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ❑ ไม่เคยตอ้ งคาพิพากษาใหต้ อ้ งจาคุก โดยไดพ้ น้ โทษมายงั ไม่ถึง 5 ปี ในวนั เลือกต้งั เวน้ แต่ในความผดิ อนั ไดก้ ระทาโดยประมาท หรือความผดิ ลหุโทษ ❑ ไม่มีลกั ษณะตอ้ งหา้ ม เช่น ติดยาเสพติด เป็นบุคคลลม้ ละลาย เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือใหอ้ อกจากราชการ หน่วยงานของรัฐ เพราะทุจริตต่อหนา้ ท่ี

บทบัญญัติเกย่ี วกับคณะรัฐมนตรี • ประธานสภาผแู้ ทนราษฎรเป็นผลู้ งนามรับสนองพระบรมราช โองการแต่งต้งั นายกรัฐมนตรี • นายกรัฐมนตรีเป็นผลู้ งนามสนองพระบรมราชโองการแต่งต้งั รัฐมนตรีท่ีทูลเกลา้ เสนอ ก่อนเขา้ รับหนา้ ที่นายกฯและรัฐมนตรี ตอ้ งถวายสตั ยป์ ฏิญาณต่อพระมหากษตั ริย์ • รัฐมนตรีตอ้ งดาเนินตามบทบญั ญตั ิแห่งรัฐธรรมนูญและนโยบายท่ี แถลงไวต้ ่อรัฐสภา และตอ้ งรับผดิ ชอบต่อสภาผแู้ ทนราษฎรใน หนา้ ที่ของตนรวมท้งั ตอ้ งรับผดิ ชอบร่วมกนั ต่อรัฐสภาในนโยบาย ทวั่ ไปของคณะรัฐมนตรี • คณะรัฐมนตรีท่ีพน้ จากตาแหน่งตอ้ งอยใู่ นตาแหน่งเพื่อปฏิบตั ิ หนา้ ที่ต่อไปจนกวา่ คณะรัฐมนตรีที่ต้งั ข้ึนใหม่จะเขา้ รับหนา้ ที่ • ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตวั เช่น เม่ือตาย ลาออก สภาผแู้ ทนราษฎรมีมติไม่ไวว้ างใจเป็นรายบุคคล

ศาล องคก์ รสาธารณะซ่ึงมีอานาจพจิ ารณาพิพากษาอรรถคดี โดยดาเนินการตาม รัฐธรรมนูญ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ไดแ้ ก่ ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร

บทบาทหน้าทข่ี องศาลรัฐธรรมนูญ • พิจารณาวนิ ิจฉยั ร่าง • พิจารณาวนิ ิจฉยั • พิจารณาวนิ ิจฉยั พ.ร.บ.หรือร่าง พ.ร.บ. บทบญั ญตั ิที่ศาลจะใช้ ปัญหาเก่ียวกบั อานาจ ประกอบรัฐธรรมนูญท่ี บงั คบั แก่คดี ขดั หรือ หนา้ ที่ขององคก์ รต่างๆ สภาผแู้ ทนราษฎร แยง้ ต่อรัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนูญ วฒุ ิสภา หรือรัฐสภา แลว้ แต่กรณี ใหค้ วาม เห็นชอบแลว้ แต่ยงั มิได้ ประกาศในราชกิจจา- นุเบกษา มีขอ้ ความขดั หรือแยง้ ต่อรัฐธรรมนูญ

บทบาทหน้าท่ขี องศาลยุตธิ รรม พิจารณาพิพากษาคดีท้งั ปวง เวน้ แต่คดีท่ีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายบญั ญตั ิใหอ้ ยใู่ น อานาจของศาลอ่ืน แบ่งออกเป็น 3 ช้นั ไดแ้ ก่ ศาลฎกี า ศาลช้ันต้น ศาลอทุ ธรณ์ พจิ ารณาพิพากษาคดี ที่ พิจารณารับฟ้องในช้นั พิจารณาและพพิ ากษาคดี รัฐธรรมนูญ หรือ กฎหมาย เริ่มตน้ คดีท้งั คดีแพง่ ท่ีคูค่ วามไดย้ นื่ อุทธรณ์ บญั ญตั ิใหเ้ สนอต่อศาลฎีกา และคดีอาญา คาพพิ ากษาของศาลช้นั ตน้ ไดโ้ ดยตรง และ คดีท่ี ซ่ึงไม่เห็นพอ้ งดว้ ยกบั คา พิพากษาของศาลช้นั ตน้ อทุ ธรณ์ หรือ ฎีกา คาพิพากษา หรือ คาสง่ั ของ ศาลช้นั ตน้ หรือ ศาล อทุ ธรณ์ ตามที่กฎหมาย บญั ญตั ิ

บทบาทหน้าท่ขี องศาลปกครอง • พจิ ารณาพิพากษาคดีปกครอง • พจิ ารณาขอ้ พิพาทระหวา่ ง ซ่ึงเป็นคดีพิพาทระหวา่ งหน่วย หน่วยงานต่างๆ ของรัฐหรือ ราชการ หน่วยงานของรัฐ เจา้ หนา้ ที่ของรัฐดว้ ยกนั เพ่ือ รัฐวสิ าหกิจ หรือราชการส่วน ปกป้องคุม้ ครองสิทธิเสรีภาพ ของประชาชนและเพ่ือสร้าง ทอ้ งถิ่น หรือเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ บรรทดั ฐานที่ถูกตอ้ งในการ กบั เอกชน ปฏิบตั ิราชการ

บทบาทหน้าทีข่ องศาลทหาร • มีอานาจ พิจารณาพิพากษาลงโทษผกู้ ระทาความผิดอาญาซ่ึงเป็นบุคคลท่ีอยใู่ น อานาจศาลทหารในขณะกระทาผิด

บทบัญญัตเิ กย่ี วกบั ศาล • ผพู้ ิพากษาและตุลาการมีอิสระในการพิจารณาพพิ ากษาคดีใหเ้ ป็นไปโดยถูกตอ้ ง รวดเร็ว และเป็นธรรม ตามรัฐธรรมนูญและกฎหมาย • การบญั ญตั ิกฎหมายใหม้ ีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงหรือแกไ้ ขเพมิ่ เติมกฎหมายวา่ ดว้ ย ธรรมนูญศาลหรือวธิ ีพิจารณาคดีเพื่อใชแ้ ก่คดีใดคดีหน่ึงโดยเฉพาะจะกระทามิได้ • ในคดีอาญาผตู้ อ้ งหาหรือจาเลยมีสิทธิไดร้ ับการสอบสวนหรือพจิ ารณาคดีให้เป็นไปโดย ถูกตอ้ งรวดเร็ว และเป็นธรรม • ก่อนที่ผพู้ พิ ากษาและตลุ าการจะเขา้ รับหนา้ ท่ีจะตอ้ งถวายสตั ยป์ ฏิญาณต่อพระมหากษตั ริย์

พรรคการเมือง

พรรคการเมือง คือ องคก์ รทางการเมืองที่รวมบุคคลที่มีความคิด อุดมการณ์เดียวกนั ทางด้านการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ แบบเดียวกนั หรือคลา้ ยคลึงกนั เพ่ือนาแนวความคิด เหล่าน้ันมากาหนดเป็ นนโยบายของรัฐบาล โดยวิถีประชาธิปไตย โดยการส่งบุคคลเข้ารับ เลือกต้ัง เพ่ือให้ได้เสียงข้างมากในรัฐสภาและจัดต้ังรัฐบาลเข้ามาบริ หารประเทศตาม แนวความคิดหรือนโยบายท่ีสอดคลอ้ งกบั อุดมการณ์ของพรรค

บทบาทหน้าที่ของพรรคการเมือง • วางนโยบายในการแกไ้ ขปัญหาของประเทศ และแถลงนโยบายแก่ประชาชน • พจิ ารณาคดั เลือกผทู้ ่ีมีคุณสมบตั ิเหมาะสม เพอื่ ลงสมคั รรับเลือกต้งั ในนามของพรรค ท้งั ระดบั ทอ้ งถ่ินและระดบั ชาติ • ดาเนินการหาเสียงเลือกต้งั โดยการเขา้ ถึง ประชาชน เพ่อื ใหไ้ ดร้ ับการสนบั สนุน • นานโยบายของพรรคที่ไดแ้ ถลงต่อ ประชาชนไปปฏิบตั ิอยา่ งจริงจงั เพื่อให้ เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและ ประเทศชาติ • ใหก้ ารศึกษาและอบรมความรู้ดา้ น การเมืองกบั ประชาชนทว่ั ไป และ สมาชิกของพรรค

การเลือกต้งั

การเลือกต้งั เป็นกระบวนการเขา้ ไป มีส่วนร่วมทางการเมืองและการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญฉบบั ปัจจุบนั ไดก้ าหนดใหก้ ารไปใชส้ ิทธิเลือกต้งั เป็นท้งั สิทธิ และหนา้ ที่ ดงั น้นั คนไทยที่มี สิทธิเลือกต้งั จะตอ้ งไปใชส้ ิทธิ หากไม่ไป เลือกต้งั โดยไม่แจง้ เหตุอนั ควรจะทาใหเ้ สีย สิทธิตามที่กฎหมายบญั ญตั ิ

ความสาคญั ของการเลือกต้ัง • ประชาชนไดเ้ ขา้ ไปมีส่วนร่วมในการปกครองตนเองตามหลกั การประชาธิปไตย • เป็นวธิ ีการท่ีใชเ้ ปล่ียนอานาจทางการเมืองการปกครองอยา่ งสนั ติวธิ ี • ป้องกนั การเกิดปฏิวตั ิรัฐประหาร เม่ือรัฐบาลไม่สามารถบริหารประเทศหรือ แกป้ ัญหาต่างๆได้ กจ็ ะคืนอานาจใหก้ บั ประชาชนดว้ ยการยบุ สภาผแู้ ทนราษฎร เพ่ือจดั การเลือกต้งั ใหม่ • ทาใหเ้ กิดการหมุนเวยี นเปล่ียนอานาจ เพือ่ เปิ ดโอกาส ใหบ้ ุคคลอื่นหรือกลุ่มอ่ืนไดเ้ ขา้ มาบริหารประเทศ ป้องกนั การผกู ขาดอานาจทางการเมือง • สร้างความถูกตอ้ งและความชอบธรรมในการใช้ อานาจทางการเมืองใหก้ บั บุคคลท่ีจะมาทาหนา้ ท่ีเป็น รัฐบาล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook