Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาหน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

วิชาหน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-07-19 16:22:28

Description: อจท.หน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

Search

Read the Text Version

วฒั นธรรมด้านอาหาร อาหารของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มีลกั ษณะสาคญั คือ มีรสจดั มีผกั เป็นส่วนประกอบ หลกั อาหารจะมีลกั ษณะแหง้ ขน้ หรือมีน้าขลุกขลิก ไม่นิยมใส่กะทิ ไดแ้ ก่ • แกงหน่อไม้ เป็นอาหารพ้ืนบา้ นของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มีส่วนประกอบที่ สาคญั ไดแ้ ก่ หน่อไมส้ ด พริกข้ีหนู หวั หอม ตะไคร้ เป็นตน้ • ลาบ เป็นอาหารที่รับประทานง่ายและแพร่หลายในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ รวมถึงประเทศลาว ส่วนประกอบสาคญั ไดแ้ ก่ เน้ือสตั ว์ ตบั ตน้ หอม พริก ข้ีหนู เป็นตน้ • ส้มตา เป็นอาหารยอดนิยมท่ีมีตน้ กาเนิดจากภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มี ส่วนประกอบที่สาคญั คือ มะละกอดิบ มะเขือเทศ ถวั่ ลิสง พริก และกระเทียม นิยม รับประทานกบั ขา้ วเหนียวและไก่ยา่ ง

วฒั นธรรมด้านศาสนาและลทั ธิความเช่ือ วฒั นธรรมของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ มีเอกลกั ษณ์บนพ้ืนฐานประวตั ิศาสตร์ อนั ยาวนาน มีความเกี่ยวขอ้ งกบั แนวคิด ความศรัทธา และความเชื่อที่ปฏิบตั ิสืบต่อกนั มา ไดแ้ ก่ • บุญบ้ังไฟ เป็นประเพณีที่สาคญั ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ จดั ข้ึนในช่วงเดือน เมษายน-พฤษภาคมของทุกปี โดยชาวนาจะขอฝนจากพญาแถนตามความเช่ือ จึงมีการจดั พิธีบูชาพญาแถนทุกปี ดว้ ยการทาบ้งั ไฟ • การแห่ผตี าโขน จดั ข้ึนท่ีอาเภอด่านซา้ ย จงั หวดั เลย ผตี าโขนน้นั เดิมมีชื่อเรียกวา่ ผตี ามคน เป็นเทศกาลท่ีไดร้ ับอิทธิพลมาจากมหาเวสสันดรชาดกในทาง พระพทุ ธศาสนาท่ีวา่ เม่ือพระเวสสนั ดรและพระนางมทั รี จะเดินทางออกจากป่ า กลบั สู่เมืองหลวง บรรดาภูติผที ี่อาศยั อยใู่ นป่ าน้นั ไดอ้ อกมาส่งเสดจ็ ดว้ ย



วฒั นธรรมด้านอาหาร อาหารของภาคใต้ มีลกั ษณะท่ีสาคญั คือ รสจดั จา้ น นิยมใส่เครื่องเทศ เช่น ขมิ้น เน่ืองจากช่วยดบั กล่ินคาวของอาหาร โดยอาหารภาคใตจ้ ะไม่เนน้ รสหวาน ไดแ้ ก่ • แกงเหลือง เป็นอาหารชนิดหน่ึงของภาคใต้ ส่วนประกอบท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ เน้ือสตั ว์ พริก ขมิ้นชนั กะปิ น้ามะนาว เป็นตน้ โดยมกั จะรับประทานคูก่ บั ผกั สด • แกงไตปลา เป็นอาหารท่ีไดร้ ับความนิยมมากในภาคใต้ ส่วนประกอบที่สาคญั ไดแ้ ก่ เน้ือปลา พริกข้ีหนู ตะไคร้ กระเทียม ขมิ้น กะปิ เป็นตน้ • ข้าวยา เป็นอาหารไทยภาคใต้ โดยถือกนั วา่ เป็นอาหารท่ีมีโภชนาการครบถว้ น และมีคุณลกั ษณะพเิ ศษแตกต่างจากอาหารจานเดียวทวั่ ไป ส่วนประกอบสาคญั ไดแ้ ก่ ขา้ วสวย ข่า ตะไคร้ พริก ถวั่ งอก เป็นตน้

วฒั นธรรมด้านศาสนาและลทั ธิความเช่ือ วฒั นธรรมของภาคใต้ มีความเป็นมาอนั ยาวนาน เป็นแหล่งอารยธรรมของ พระพทุ ธศาสนา ซ่ึงไดห้ ล่อหลอมกบั ความเช่ือด้งั เดิม ก่อใหเ้ กิดประเพณีท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ • ประเพณชี ักพระ เป็นประเพณีพ้นื เมืองของชาวภาคใต้ โดยพทุ ธศาสนิกชนจะ พร้อมใจกนั อญั เชิญพระพทุ ธรูปจากวดั ข้ึนประดิษฐานบนบุษบกที่วางอยตู่ รงร้านไม้ แลว้ ลากหรือแห่ไปตามถนนหนทาง แม่น้าลาคลอง หรือริมฝั่งทะเล • ประเพณีตักบาตรธูปเทียน เป็นประเพณีท่ีเป็นส่วนหน่ึงของการถวายสงั ฆทานใน วนั เขา้ พรรษา ช่วงวนั แรม 1 ค่า เดือน 8 ซ่ึงการตกั บาตรธูปเทียนจะมีข้ึน ที่วดั พระมหาธาตุวรมหาวหิ าร จงั หวดั นครศรีธรรมราช



ปรัชญากบั ธรรมชาติ • วฒั นธรรมไทยเนน้ ปรัชญา “มนษุ ย์สอดคล้องกบั ธรรมชาติ” เป็นอนั หน่ึงอนั เดียว กบั ธรรมชาติ ดงั น้นั คนไทยจึงนิยมสร้างวฒั นธรรมใหก้ ลมกลืนกบั ธรรมชาติ เช่น การทาขวญั ขา้ ว ประเพณีบุญบ้งั ไฟ เป็นตน้ • วฒั นธรรมสากลเนน้ ปรัชญา “มนษุ ย์เป็นนายธรรมชาติ” สามารถบงั คบั ธรรมชาติ ใหต้ อบสนองความตอ้ งการของมนุษยไ์ ดท้ ้งั หมด จนนาไปสู่การประดิษฐค์ ิดคน้ วตั ถุ และเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั เพื่อสร้างความสะดวกสบายใหแ้ ก่มนุษย์ เช่น เครื่องบิน รถยนต์ รถไฟฟ้า โทรศพั ทม์ ือถือ เป็นตน้

โลกทศั น์ • วฒั นธรรมไทยมองโลกแบบองคร์ วม ทุกสิ่งหลอมรวมเป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั ไม่สามารถแยกออกจากกนั ได้ โดยองคป์ ระกอบท้งั หลายมีความสมดุล ช่วยจรรโลง โลกใหม้ ีความน่าอยู่ ร่ืนรมย์ และสงบสุข • วฒั นธรรมสากลมองทุกส่ิงเป็น 2 ส่วนเสมอ เช่น ขาว-ดา ทนั สมยั -ลา้ สมยั จึงมีความพยายามท่ีจะปรับเปลี่ยนส่ิงท่ีลา้ สมยั ใหม้ ีความทนั สมยั อยเู่ สมอ เช่น การพฒั นาเทคโนโลยี การพฒั นาการคมนาคมขนส่ง เป็นตน้

วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ • วฒั นธรรมไทยเนน้ ความคิดความเช่ือตามหลกั ธรรมทางศาสนา ยดึ มนั่ ในความจริง ควบคู่ไปกบั แนวคิดทางวทิ ยาศาสตร์ บนพ้ืนฐานความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ บั มนุษย์ โดยครอบคลุมถึงเร่ืองการดาเนินชีวติ ท้งั ท่ีเป็นรูปธรรมและนามธรรม • วฒั นธรรมสากลเนน้ ทฤษฎีและการพสิ ูจนบ์ นพ้นื ฐานของวทิ ยาศาสตร์ มีการ ต้งั สมมติฐาน วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปที่เป็นเหตุเป็นผล นาไปใชใ้ น การพฒั นาเทคโนโลยที ี่ทนั สมยั เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั เทคโนโลยขี ้นั สูง



แนวทางการอนุรักษ์และถ่ายทอดวฒั นธรรมไทย • ส่งเสริมให้ชนทุกกลุ่มเห็นคุณค่า และร่วมกนั อนุรักษแ์ ละสืบสานวฒั นธรรมของชาติ และทอ้ งถ่ิน อนั เป็นมรดกของชาติไม่ใหส้ ูญหายไป • ขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมทางวฒั นธรรม รณรงคใ์ หป้ ระชาชน เอกชน ตลอดจน หน่วยงานของรัฐเห็นความสาคญั ของวฒั นธรรมไทย นาไปสู่การประสานงาน การบริการความรู้ ตลอดจนการจดั กิจกรรมทางวฒั นธรรม เป็นตน้ • ส่งเสริมการแลกเปลีย่ นศิลปวฒั นธรรม ท้งั ภายในและภายนอกประเทศ โดยใชว้ ฒั นธรรมเป็นส่ือกลางสร้างความสมั พนั ธ์ท่ีดีระหวา่ งกนั

• สร้างทัศนคติ ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบั วฒั นธรรมวา่ เป็นทรัพยส์ มบตั ิของทุกคน ดงั น้นั ทุกคนจึงมีหนา้ ที่ในการดูแลรักษาวฒั นธรรมใหค้ งอยสู่ ืบไป • ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักใช้สิทธิและหน้าท่ี ตามท่ีบญั ญตั ิไวใ้ นรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 เช่น สิทธิในการอนุรักษฟ์ ้ื นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ศิลปวฒั นธรรม เป็นตน้ • จัดทาระบบเครือข่ายสารสนเทศทางวฒั นธรรม เพื่อเป็นศนู ยก์ ลางในการเผยแพร่ ขอ้ มูล ประชาสมั พนั ธง์ านต่างๆ ท่ีเกี่ยวกบั วฒั นธรรม เพอื่ ใหป้ ระชาชนทวั่ ไปเขา้ ใจ และตระหนกั ถึงความสาคญั ของการอนุรักษว์ ฒั นธรรมไทย

แนวทางการเลือกรับวฒั นธรรมสากล • วฒั นธรรมสากลตอ้ งสามารถผสมผสานเขา้ กบั โครงสร้างทางสงั คม คา่ นิยม และ ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยได้ • วฒั นธรรมสากลตอ้ งมีส่วนเก้ือหนุนใหว้ ฒั นธรรมไทยเกิดความกา้ วหนา้ เช่น การนาวทิ ยาศาสตร์เขา้ มาใชใ้ นกระบวนการผลิต หรือการนาคอมพิวเตอร์มาใช้ ในการเกบ็ และวเิ คราะห์ขอ้ มูล เป็นตน้ • วฒั นธรรมสากลตอ้ งสามารถอยรู่ ่วมกบั วฒั นธรรมไทยได้ เมื่อมีวฒั นธรรมจาก ภายนอกเขา้ มา จาเป็นตอ้ งเลือกสรรวฒั นธรรมมาปรับใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม ท้งั น้ี เพื่อใหร้ อดพน้ จากการครอบงาของวฒั นธรรมสากลท่ีมีอิทธิพลมากในยคุ ปัจจุบนั

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พลเมืองดขี องประเทศชาตแิ ละสังคมโลก

แนวทางการ พลเมืองดี พฒั นาตนเป็ น พลเมืองดขี อง พลเมืองดี ประเทศชาติ และสังคม บทบาทหน้าที่ ของพลเมืองดี



พลเมืองเป็นองคป์ ระกอบท่ีสำคญั ของสังคม ทุกสงั คมยอ่ มตอ้ งกำร พลเมืองท่ีมีคุณภำพ ซ่ึงหมำยถึงกำรมีร่ำงกำยแขง็ แรง มีจิตใจดี คิดเป็น ทำเป็น แกไ้ ขปัญหำไดอ้ ยำ่ งมีประสิทธิภำพ เป็นกำลงั สำคญั ในกำรพฒั นำควำม เจริญกำ้ วหนำ้ ควำมมน่ั คงใหก้ บั ประเทศชำติ นอกจำกน้ีกำรเป็นพลเมืองดีน้นั ยอ่ มตอ้ งปฏิบตั ิตำมบรรทดั ฐำนและขนบธรรมเนียมประเพณีของสังคม มีคุณธรรมเป็นแนวปฏิบตั ิในกำรดำเนินชีวติ เพื่อกำรพฒั นำสงั คมใหย้ งั่ ยนื สืบไป

ความสาคญั ของพลเมืองดี ด้านสังคม • พลเมืองท่ีดีช่วยใหส้ งั คมมีควำมสงบเรียบร้อย • สงั คมมีกำรพฒั นำไดอ้ ยำ่ งรวดเร็ว • มีกำรแกไ้ ขปัญหำตำ่ งๆ โดยใชห้ ลกั เหตุผล • ช่วยลดควำมขดั แยง้ และกำรใชค้ วำมรุนแรงในสงั คม ด้านเศรษฐกจิ • พลเมืองท่ีดีจะประกอบสมั มำอำชีพสุจริต • ดำเนินชีวิตประจำวนั อยบู่ นพ้ืนฐำนของหลกั ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง • มีควำมประหยดั อดออม ไม่ใชจ้ ่ำยเกินตวั และไม่ก่อหน้ี • มีควำมร่วมมือจำกทุกฝ่ ำย เพ่อื สร้ำงควำมเขม้ แขง็ ทำงเศรษฐกิจท้งั ระดบั ครอบครัว ชุมชน และประเทศ ด้านการเมืองการปกครอง • พลเมืองดียอ่ มคำรพกฎหมำย • ปฏิบตั ิตนตำมวิถีประชำธิปไตย • รู้จกั สิทธิและหนำ้ ท่ีของตนเอง

คุณลกั ษณะของพลเมืองดี 1. เคำรพกฎหมำย 2. เคำรพสิทธิและเสรีภำพของตนเองและผอู้ ่ืน 3. มีควำมรับผดิ ชอบตอ่ หนำ้ ที่ท้งั ในครอบครัว ชุมชน ประเทศชำติ และสงั คมโลก 4. มีเหตุผล ใจกวำ้ ง และรับฟังควำมคิดเห็นของผอู้ ่ืน 5. มีคุณธรรมและจริยธรรมในกำรดำเนินชีวติ ประจำวนั 6. มีจิตสำธำรณะ คำนึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม 7. มีส่วนร่วมในกระบวนกำรทำงกำรเมืองกำรปกครอง

คุณธรรม จริยธรรมของพลเมืองดี การเห็นแก่ประโยชน์ ส่ วนรวม • มีจิตสำธำรณะ • รู้จกั เสียสละประโยชนส์ ่วนตนเพ่อื ประโยชน์ส่วนรวม • ใหค้ วำมช่วยเหลือคนรอบขำ้ งและคนในสงั คมอยเู่ สมอ การรับฟังความคดิ เห็นของกันและกนั • เคำรพในควำมคิดเห็นที่แตกต่ำง • เปิ ดโอกำสใหผ้ อู้ ่ืนไดแ้ สดงควำมคิดเห็นอยำ่ งเสรี • ยดึ หลกั เสียงส่วนมำกเพอ่ื หำขอ้ ยตุ ิและเคำรพเสียงส่วนนอ้ ย

การมีระเบียบวินัย รับผดิ ชอบต่อหน้าที่ • เคำรพกฎระเบียบ และกติกำของสงั คม • ไม่ละเมิดสิทธิผอู้ ื่น และรู้จกั ปกป้องคุม้ ครองสิทธิเสรีภำพของตนเอง • ปฏิบตั ิหนำ้ ที่ของตนเองอยำ่ งเตม็ ควำมสำมำรถ มีความซ่ือสัตย์สุจริต • ไม่เบียดบงั เอำทรัพยส์ ินของผอู้ ื่นมำเป็นของตน • มีควำมซื่อตรงต่อหนำ้ ท่ีท่ีไดร้ ับมอบหมำย มคี วามกล้าหาญและเชื่อมั่นในตนเอง • มีควำมกลำ้ ที่จะแสดงควำมคิดเห็นในเชิงสร้ำงสรรค์ • ไม่ยอมรับหรือสนบั สนุนกำรกระทำท่ีไม่ถูกตอ้ ง

มีความสามัคคี • มีควำมรักใคร่กลมเกลียวต่อคนรอบขำ้ ง • ไม่สร้ำงควำมแตกแยกในสงั คม • ร่วมแรงร่วมใจกนั ทำงำนเพื่อพฒั นำชำติ มีความละอายและเกรงกลวั ต่อการทาช่ัว • มีควำมซื่อสตั ย์ • ปฏิบตั ิตนโดยยดึ หลกั ธรรมในกำรดำเนินชีวติ • ละเวน้ กำรทำในส่ิงไม่ดีท้งั หลำย ส่งเสริมให้คนดปี กครองบ้านเมือง • ประชำชนควรเลือกคนดีมีควำมสำมำรถใหเ้ ขำ้ ไปบริหำรบำ้ นเมือง • ควบคุมคนไม่ดีไม่ใหม้ ีอำนำจทำงดำ้ นกำรปกครอง



ด้านการเมืองการปกครอง เคารพกฎหมาย • ปฏิบตั ิตำมกรอบของกฎหมำยอยำ่ งเคร่งครัด • ไม่กระทำกำรใดๆ ท่ีละเมิดต่อกฎหมำยบำ้ นเมือง รู้จักใช้สิทธิและหน้าทขี่ องตน • ปฏิบตั ิตนตำมบทหนำ้ ท่ีใหด้ ีท่ีสุด • รู้จกั ปกป้องคุม้ ครองสิทธิของตนเองและผอู้ ื่นอยำ่ งเหมำะสม ออกไปใช้สิทธิเลือกต้ัง • ไปใชส้ ิทธิเลือกต้งั ทุกคร้ังเพ่อื เลือกคนดีเขำ้ ไปบริหำรประเทศ • ไม่นอนหลบั ทบั สิทธิ • ไม่ขำยสิทธิขำยเสียง

ด้านเศรษฐกจิ ประกอบอาชีพสุจริต • ดำรงชีวติ ตำมหลกั เศรษฐกิจพอเพียง • รู้จกั เกบ็ ออมเงินเพ่อื ไวใ้ ชจ้ ่ำยในยำมจำเป็น ใช้จ่ายอย่างประหยดั • มีวินยั ทำงกำรเงิน • ไม่นำเงินไปซ้ือส่ิงของที่ไม่จำเป็น • ไม่อยำกไดใ้ นวตั ถุส่ิงของท่ีเกินฐำนะของตน เสียภาษอี ากร • จ่ำยภำษีครบตำมจำนวน และตรงเวลำ • ไม่กระทำกำรใดๆ เพ่ือเป็นกำรหลบเล่ียงภำษี

ด้านสังคมและวฒั นธรรม รักษาความสงบเรียบร้อย • ไม่ก่อควำมวนุ่ วำยในสังคม • ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยำ่ งท่ีดีแก่คนรอบขำ้ ง • หลีกเลี่ยงกำรใชค้ วำมรุนแรงตดั สินปัญหำ ช่วยเหลือคนพกิ ารและผ้ดู ้อยโอกาส • มีเมตตำกบั ผดู้ อ้ ยโอกำสท้งั หลำย • ไม่ละเมิดสิทธิเสรีภำพของผพู้ ิกำรหรือผดู้ อ้ ยโอกำส • ใหก้ ำรสนบั สนุนและส่งเสริมใหค้ นพิกำรและผดู้ อ้ ยโอกำสตำมควำม เหมำะสม อนุรักษ์วฒั นธรรมไทย • อนุรักษแ์ ละสืบสำนวฒั นธรรมอนั ดีงำมของชำติ • ถำ่ ยทอดมรดกทำงวฒั นธรรมสืบตอ่ ไปยงั คนรุ่นหลงั



การเป็ นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ต้งั ใจศึกษาเล่าเรียน • ขยนั หมน่ั เพยี รศึกษำหำควำมรู้ • หมนั่ ทบทวนตำรำเรียนอยเู่ สมอ เช่ือฟังคาสอนของพ่อแม่ • ประพฤติปฏิบตั ิตนเป็นคนดีของครอบครัว • ไม่กระทำเร่ืองเสื่อมเสียหรือสร้ำงควำมวนุ่ วำยใหเ้ กิดข้ึนในครอบครัว แบ่งเบาภาระของพ่อแม่ • ช่วยเหลืองำนบำ้ นของพอ่ แม่ • ช่วยประหยดั คำ่ ใชจ้ ่ำยภำยในบำ้ น

การเป็ นสมาชิกท่ดี ขี องโรงเรียน เชื่อฟังคาส่ังสอนของครูอาจารย์ • มีสัมมำคำรวะ แสดงควำมเคำรพต่อครูอำจำรย์ • นำคำสอนของครูไปใชใ้ นกำรดำเนินชีวติ เคารพและปฏิบัตติ ามกฎของโรงเรียน • แต่งกำยถูกระเบียบตำมท่ีโรงเรียนกำหนด • มำโรงเรียนและเขำ้ เรียนตรงเวลำ • ไม่สร้ำงควำมเสียหำยแก่สำธำรณสมบตั ิของโรงเรียน • มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่ำงๆ ของโรงเรียน เอือ้ เฟื้ อเผ่ือแผ่ • มีน้ำใจช่วยเหลือครูอำจำรยแ์ ละเพอ่ื นนกั เรียน • ช่วยกนั ดูแลรักษำโรงเรียนใหส้ ะอำดเรียบร้อย

การเป็ นสมาชิกทดี่ ขี องชุมชน รักษาสิ่งแวดล้อม • ช่วยกนั อนุรักษท์ รัพยำกรธรรมชำติ • ไม่ทิ้งเศษขยะลงในแม่น้ำลำคลอง • ช่วยกนั ดูแลรักษำสำธำรณสมบตั ิ เข้าร่วมกจิ กรรมของชุมชน • ร่วมกนั แกไ้ ขปัญหำและพฒั นำดำ้ นต่ำงๆ ภำยในชุมชน • รวมกลุม่ กนั เพอื่ สร้ำงควำมเขม้ แขง็ ภำยในชุมชน ร่วมมือกบั เจ้าหน้าทร่ี ัฐในการสอดส่องดูแลชุมชน • ช่วยกนั สอดส่องดูแล ป้องกนั กำรก่ออำชญำกรรมในชุมชน • ร่วมกนั ป้องกนั ไม่ใหม้ ียำเสพติดภำยในชุมชน

การเป็ นสมาชิกท่ีดขี องประเทศชาติและสังคมโลก มคี ุณธรรม จริยธรรม • ไม่เบียดเบียนตนเองและผอู้ ่ืน • ปฏิบตั ิตนตำมหลกั ศีลธรรม • มีควำมเอ้ือเฟ้ื อเผอื่ แผต่ อ่ คนรอบขำ้ ง เคารพกฎหมาย • ปฏิบตั ิตำมระเบียบของสังคม • ไม่กระทำกำรใดๆ ที่เป็นกำรละเมิดกฎหมำย มสี ่วนร่วมในกจิ กรรมการเมืองการปกครอง • ไปใชส้ ิทธิลงคะแนนเลือกต้งั ทุกคร้ัง • สนใจติดตำมข่ำวสำรทำงดำ้ นกำรเมืองกำรปกครองอยเู่ สมอ • ดำเนินชีวติ ตำมวถิ ีประชำธิปไตย • มีส่วนร่วมแสดงออกทำงกำรเมืองอยำ่ งสร้ำงสรรค์

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 สิทธิมนุษยชน

ความหมายและ ปฏญิ ญาสากลว่าด้วย ความสาคัญของ สิทธิมนุษยชนแห่ง สิทธิมนุษยชน สหประชาชาติ การพฒั นาสิทธิ มนุษยชนใน สิทธิมนุษยชน องค์การระหว่าง ประเทศไทย ประเทศด้านสิทธิ มนุษยชน ปัญหาสิทธิมนุษยชน และแนวทางแก้ไข



พระราชบญั ญตั ิคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ไดใ้ ห้ ความหมายของสิทธิมนุษยชนวา่ หมายถึง ศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพและความ เสมอภาคของบุคคลท่ีไดร้ ับการรับรองหรือคุม้ ครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั ร ไทย หรือตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสญั ญาท่ีประเทศไทยมีพนั ธกรณีท่ีจะตอ้ งปฏิบตั ิ ตาม

ความสาคญั ของสิทธิมนุษยชน • มนุษยท์ ุกคนมีสิทธิ เสรีภาพในชีวติ สามารถปกป้องตนเองไดอ้ ยา่ งมีศกั ด์ิศรี มีอานาจในการตดั สินใจโดยอยบู่ นพ้ืนฐานของความถูกตอ้ งและเป็นธรรม • มนุษยท์ กุ คนมีอิสระทางความคิด สร้างสรรคผ์ ลงาน ประดิษฐค์ ิดคน้ เทคโนโลยี ที่ทนั สมยั รวมท้งั พฒั นาศกั ยภาพของตนเองไดอ้ ยา่ งเสรี โดยไม่ละเมิดสิทธิของ บุคคลอ่ืน • มนุษยท์ ุกคนมีคุณคา่ ในตนเอง มีเกียรติภูมิท่ีเกิดเป็นมนุษย์ ยอมรับความเป็นมนุษย์ ศกั ด์ิศรี ชาติกาเนิด สิทธิต่างๆ ที่มีพ้นื ฐานมาจากความชอบธรรม ตามสิทธิที่ไดม้ า ต้งั แต่กาเนิด



ปฏิญญาสากลวา่ ดว้ ยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นขอ้ ตกลงที่องคก์ าร สหประชาชาติไดก้ าหนดข้ึน ในการวางกรอบเบ้ืองตน้ เก่ียวกบั สิทธิมนุษยชนและเป็น เอกสารหลกั ดา้ นสิทธิมนุษยชนฉบบั แรก ซ่ึงที่ประชุมสมชั ชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ ใหก้ ารรับรอง เพอ่ื ใหป้ ระเทศสมาชิกท้งั หลายใชเ้ ป็นแนวทางในการคุม้ ครองดูแลสิทธิ และเสรีภาพของพลเมืองในประเทศของตน

สาระสาคญั • มนุษยท์ ้งั ปวงเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกนั ในศกั ด์ิศรีและสิทธิต่างๆ • ทุกคนยอ่ มมีสิทธิและอิสรภาพตามท่ีกาหนดไวใ้ นปฏิญญาสากลฯ โดยปราศจากการแบ่งแยก ไม่วา่ จะเป็นเร่ืองใด • มนุษยท์ ุกคนมีสิทธิในการมีชีวติ เสรีภาพ และความมนั่ คง • บุคคลจะตกอยใู่ นความเป็นทาสหรือสภาวะจายอมไมไ่ ด้ ท้งั น้ีหา้ มการคา้ ทาส ทกุ รูปแบบ • บุคคลจะถูกกระทาการทรมาน หรือการลงโทษท่ีโหดร้าย ไร้มนุษยธรรมไม่ได้

• ทุกคนมีสิทธิที่จะไดร้ ับการยอมรับทุกแห่งหนวา่ เป็นบุคคลตามกฎหมาย • ทุกคนเสมอภาคกนั ตามกฎหมายและมีสิทธิที่จะไดร้ ับความคุม้ ครองทางกฎหมาย อยา่ งเท่าเทียม โดยปราศจากการเลือกปฏิบตั ิ • มนุษยท์ ุกคนมีสิทธิที่จะไดร้ ับการเยยี วยาอนั มีประสิทธิผลจากศาล บนพ้ืนฐาน ของตนตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย • บุคคลจะถูกจบั กมุ กกั ขงั หรือเนรเทศ ตามอาเภอใจไม่ได้ • ทุกคนท่ีถูกกล่าวหาวา่ กระทาผดิ ทางอาญามีสิทธิท่ีจะไดร้ ับการสนั นิษฐานไวก้ ่อน วา่ บริสุทธ์ิจนกวา่ จะพิสูจน์ไดว้ า่ มีความผดิ ตามกฎหมาย



สานักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลภี้ ยั แห่งสหประชาชาติ (UNHCR) บทบาทหน้าท่ี • ปกป้องและสนบั สนุนในกิจการท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ผลู้ ้ีภยั ทว่ั โลก ตามขอ้ เรียกร้อง ของรัฐบาลในแต่ละประเทศ • เป็นผนู้ าและประสานงานในการรวบรวมความช่วยเหลือจากนานาประเทศ เพื่อแกไ้ ขปัญหาของผลู้ ้ีภยั ทว่ั โลก • ใหค้ วามช่วยเหลือตามหลกั มนุษยธรรมแก่ผแู้ สวงหาท่ีพกั พงิ และบุคคลไร้รัฐ

องค์การแอมเนสตี อนิ เตอร์เนชันแนล (AI) บทบาทหน้าท่ี • เป็นอาสาสมคั รระหวา่ งประเทศที่ทางานดา้ นสิทธิมนุษยชน • มีบทบาทในการเผยแพร่และสนบั สนุนใหค้ นตระหนกั ถึงการเคารพ หลกั สิทธิมนุษยชน • ใหค้ วามร่วมมือกบั องคก์ ารสหประชาชาติ องคก์ รรัฐบาล และองคก์ รเอกชน ระหวา่ งประเทศ เพ่ือสนบั สนุนเรื่องสิทธิมนุษยชน

องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) บทบาทหน้าท่ี • ช่วยเหลือผใู้ ชแ้ รงงานทวั่ โลกใหไ้ ดร้ ับความยตุ ิธรรมจากสงั คม • ช่วยใหผ้ ใู้ ชแ้ รงงานมีคุณภาพชีวติ ความเป็นอยู่ การศึกษา สาธารณสุข และการ ประกอบอาชีพที่ดีข้ึน • ขจดั ความยากจนและจดั ใหผ้ ใู้ ชแ้ รงงานมีงานทา • ส่งเสริมการฝึกอบรมผใู้ ชแ้ รงงานใหม้ ีประสิทธิภาพ • ดูแลผใู้ ชแ้ รงงานใหไ้ ดร้ ับความปลอดภยั จากการทางาน • สร้างเสริมประชาธิปไตยและคุม้ ครองสิทธิมนุษยชนของผใู้ ชแ้ รงงาน



ปัญหาแรงงานข้ามชาติ สาเหตุของปัญหา • การลกั ลอบเขา้ มาทางานในประเทศไทยโดยผดิ กฎหมาย • เกิดชุมชนแออดั ในเมืองหลวงและเขตอตุ สาหกรรม • เกิดการแพร่กระจายของโรคติดต่อจากกลมุ่ ผใู้ ชแ้ รงงาน • เกิดปัญหาอาชญากรรมและความรุนแรง แนวทางการป้องกนั แก้ไข • จดั ใหม้ ีการจดทะเบียนแรงงานขา้ มชาติไดต้ ลอดท้งั ปี • จดั ทากลไกคุม้ ครองสิทธิของผใู้ ชแ้ รงงานตามกฎหมาย • มีมาตรการลงโทษที่ชดั เจนกบั นายจา้ งที่ฝ่ าฝืนกฎหมาย

ปัญหาสิทธิเด็ก สาเหตุของปัญหา • เดก็ ไม่ไดร้ ับการศึกษาข้นั พ้นื ฐานจากภาครัฐ เช่น เดก็ พิการ เดก็ ยากจน • เดก็ ถูกปล่อยปละละเลยไม่ไดร้ ับการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัว • เดก็ ถูกกระทาทารุณกรรมจากบุคคลในครอบครัวหรือบุคคลภายนอก แนวทางการป้องกนั แก้ไข • จดั กิจกรรมเผยแพร่ความรู้และส่งเสริมสิทธิเดก็ • ประชาสมั พนั ธ์ขอ้ มูลข่าวสารเก่ียวกบั สิทธิเดก็ ออกสู่สาธารณะ • ประสานความร่วมมือของทุกฝ่ ายในการแกไ้ ขปัญหาสิทธิเดก็

ปัญหาสิทธิสตรี สาเหตุของปัญหา • การเลือกปฏิบตั ิที่ไม่เป็นธรรม • การถูกเอาเปรียบในการจา้ งงานและสวสั ดิการต่างๆ • ความเขา้ ใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกบั สิทธิของชายและหญิง แนวทางการป้องกนั แก้ไข • ส่งเสริมความเสมอภาคเท่าเทียมกนั ของชายและหญิง • รณรงคใ์ หค้ นในสงั คมตระหนกั ถึงคุณค่าของสตรีใหม้ ากข้ึน • มีมาตรการคุม้ ครองสิทธิสตรีอยา่ งเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ • กาหนดมาตรการลงโทษผกู้ ระทาละเมิดสิทธิเดก็ และบงั คบั ใชอ้ ยา่ งเขม้ งวด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook