Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาหน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

วิชาหน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-07-19 16:22:28

Description: อจท.หน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

Search

Read the Text Version

สัญญาขายฝาก • เป็นสญั ญาซ้ือขายซ่ึงกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ินตกไปยงั ผซู้ ้ือ โดยที่มีขอ้ ตกลงกนั วา่ ผขู้ ายอาจไถ่ทรัพยส์ ินน้นั กลบั คืนไดภ้ ายในระยะเวลาที่ตกลงกนั • การขายฝากเป็นการซ้ืออยา่ งหน่ึง ดงั น้นั หลกั เกณฑใ์ นการขายฝากจึงเป็น เช่นเดียวกบั การซ้ือขาย เช่น การขายฝากอสงั หาริมทรัพยห์ รือสงั หาริมทรัพยช์ นิด พเิ ศษ จะตอ้ งทาเป็นหนงั สือและจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ • การทาสญั ญาขายฝากเป็นวธิ ีการใหห้ ลกั ประกนั อยา่ งหน่ึงแก่ผซู้ ้ือฝาก และเม่ือผขู้ ายฝากใชส้ ิทธิไถ่กจ็ ะไดป้ ระโยชน์ โดยกาหนดสินไถ่ไวใ้ นอตั ราที่สูงพอ เป็ นการตอบแทน

สัญญาเช่าทรัพย์ • เป็นสญั ญาซ่ึงผใู้ หเ้ ช่าตกลงใหผ้ เู้ ช่า ไดใ้ ชห้ รือไดร้ ับประโยชนใ์ นทรัพยส์ ินใน ระยะเวลาที่กาหนด โดยผเู้ ช่าตกลงใหค้ ่าเช่าในการน้นั • การเช่าอสงั หาริมทรัพยต์ อ้ งมีหลกั ฐานเป็นหนงั สือ ลงลายมือชื่อของฝ่ ายท่ีจะตอ้ ง รับผดิ ตามสัญญา • สัญญาเช่าอสงั หาริมทรัพยน์ านเกินกวา่ 3 ปี หรือมีกาหนดตลอดอายขุ องผเู้ ช่าหรือ ผใู้ หเ้ ช่าตอ้ งนาไปจดทะเบียนต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ี • ผใู้ หเ้ ช่ามีหนา้ ท่ีส่งมอบทรัพยส์ ินที่เช่า ใหแ้ ก่ผเู้ ช่าในสภาพท่ีซ่อมแซมดีแลว้ • ผเู้ ช่าตอ้ งสงวนทรัพยส์ ินท่ีเช่า เหมือนทรัพยส์ ินของตนเอง และยอมใหผ้ ใู้ หเ้ ช่า ตรวจตราทรัพยส์ ินเป็นคร้ังคราว และไม่ดดั แปลงหรือต่อเติมทรัพยส์ ิน ยกเวน้ ไดร้ ับอนุญาตจากผใู้ ห้เช่า • ผเู้ ช่าตอ้ งส่งคืนทรัพยส์ ินท่ีเช่า ใหแ้ ห่ผใู้ หเ้ ช่าในสภาพท่ีซ่อมแซมดีแลว้ เมื่อสญั ญาเช่าน้นั สิ้นสุดลง

สัญญาเช่าซื้อ • เป็นสญั ญาซ่ึงเจา้ ของเอาทรัพยส์ ินออกใหเ้ ช่าและใหค้ ามนั่ วา่ จะขายทรัพยส์ ินน้นั หรือใหท้ รัพยส์ ินน้นั ตกเป็นของผเู้ ช่า โดยมีเง่ือนไขวา่ ผเู้ ช่าซ้ือไดใ้ ชเ้ งินเป็นงวด ตามที่ตกลงกนั ไว้ • สัญญาเช่าซ้ือตอ้ งทาเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรและลงลายมือชื่อคู่สญั ญา • ผใู้ หเ้ ช่าซ้ือมีสิทธิบอกเลิกสญั ญาได้ เมื่อผเู้ ช่าซ้ือผดิ นดั ไมช่ าระคา่ เช่าซ้ือสองงวด ติดต่อกนั • ผเู้ ช่าซ้ือมีหนา้ ท่ีชาระคา่ เช่า และมีสิทธิท่ีจะบอกเลิกสญั ญาเม่ือใดกไ็ ด้ โดยส่งมอบ ทรัพยส์ ินกลบั คืนและใหค้ ่าเช่าซ้ือเฉพาะที่ ยงั คา้ งชาระในงวดชาระเงินท่ีผา่ นมาใหแ้ ก่ผใู้ หเ้ ช่าซ้ือ • หลงั จากชาระเงินเช่าซ้ือครบตามสญั ญาแลว้ ผเู้ ช่าซ้ือมีสิทธิเรียกร้องใหผ้ ใู้ หเ้ ช่าซ้ือ เปลี่ยนแปลงกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ิน

สัญญาก้ยู ืม • เป็นสญั ญาซ่ึงผกู้ ตู้ กลงยมื เงินจานวนหน่ึงจากผใู้ หก้ ู้ และตกลงจะคืนเงินตามกาหนด ระยะเวลาที่กาหนด โดยผกู้ ใู้ หด้ อกเบ้ียเป็นค่าตอบแทน • การกยู้ มื เงินเกิน 2,000 บาทข้ึนไป จะตอ้ งมีหลกั ฐานเป็นหนงั สือแสดงวา่ มีการกยู้ มื กนั จริง พร้อมลงลายมือชื่อผกู้ ู้ • ผใู้ หก้ จู้ ะเรียกดอกเบ้ียจากผกู้ ไู้ ดส้ ูงสุดไม่เกินร้อยละ 15 ต่อปี หากเรียกสูงกวา่ น้ี ผใู้ หก้ มู้ ีความผดิ ยกเวน้ การกยู้ มื เงินจากสถาบนั ทางการเงิน • ผกู้ มู้ ีสิทธิใหผ้ ใู้ หก้ อู้ อกหลกั ฐานการใชเ้ งินไดเ้ ม่ือชาระหน้ี หมดแลว้ และมีสิทธิเรียกสญั ญากยู้ มื เงินกนั ไวก้ ลบั คืนมา • หากผกู้ ไู้ ม่ปฏิบตั ิตามสญั ญา ผใู้ หก้ มู้ ีสิทธิฟ้องเรียกเงินคืน พร้อมท้งั ดอกเบ้ียที่คา้ งชาระไดต้ ามสญั ญา

สัญญาจานา • เป็นสญั ญาซ่ึงผจู้ านาส่งมอบการครอบครองสงั หาริมทรัพยใ์ หแ้ ก่ผรู้ ับจานา เพอ่ื ประกนั การชาระหน้ี ผรู้ ับจานามีสิทธิยดึ ทรัพยส์ ินน้นั ไว้ จนกวา่ จะไดร้ ับการชาระหน้ีครบถว้ น • ผรู้ ับจานาตอ้ งเกบ็ รักษาและสงวนทรัพยส์ ินท่ีจานาใหป้ ลอดภยั ไม่สูญเสีย หรือเสียหายไป • เม่ือผจู้ านาไม่ชาระหน้ี ผรู้ ับจานามีสิทธิบงั คบั จานา โดยตอ้ งบอกกล่าวแก่ผจู้ านา หากผจู้ านายงั ไม่ชาระหน้ี อีก ผรู้ ับจานามีสิทธินาทรัพยส์ ินน้นั ขายออก ทอดตลาด โดยตอ้ งแจง้ เวลาและสถานที่แก่ผจู้ านา • เม่ือขายทอดตลาดแลว้ ไดเ้ งินสุทธิเท่าใด ผรู้ ับจานา มีสิทธิหกั มาใชห้ น้ีไดจ้ นครบ หากยงั มีเงินเหลือ ตอ้ งคืนใหแ้ ก่ผจู้ านา

สัญญาจานอง • เป็นสัญญาซ่ึงผจู้ านองเอาสังหาริมทรัพย์ หรืออสงั หาริมทรัพยไ์ ปตราไวแ้ ก่ผรู้ ับ จานอง โดยไม่ตอ้ งส่งมอบทรัพยส์ ินท่ีจานองน้นั ให้ • การชาระหน้ีจานองไม่วา่ ท้งั หมดหรือบางส่วนกต็ าม ตอ้ งไปจดทะเบียนต่อพนกั งาน เจา้ หนา้ ที่ มิฉะน้นั จะนาไปใชอ้ า้ งกบั บุคคลภายนอกไม่ได้ • การบงั คบั จานองทาไดต้ ่อเมื่อลกู หน้ีไม่ชาระหน้ีภายในเวลาอนั สมควร หากยงั ไม่ชาระหน้ี ผรู้ ับจานองตอ้ งฟ้องผจู้ านองต่อศาล โดยขอต่อศาล หากยงั ไม่ชาระหน้ี ใหศ้ าลสง่ั ใหท้ รัพยส์ ินจานองน้นั หลุดเป็นกรรมสิทธ์ิ ของผรู้ ับจานอง หรือใหม้ ีการขายทอดตลาด • หลงั จากมีการขายทอดตลาดแลว้ หากไดเ้ งินต่ากวา่ จานวนหน้ีท่ีคา้ งชาระ ลูกหน้ีไม่ตอ้ งรับผดิ ชอบ ต่อเจา้ หน้ีในเงินที่ยงั ขาดอยู่ ยกเวน้ แต่ตกลงไว้ ในสญั ญา

กฎหมายอาญา

กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกบั ความผดิ และโทษ โดยกาหนดวา่ การกระทาใดบา้ งท่ีเป็นความผดิ ซ่ึงผกู้ ระทาความผดิ จะไดร้ ับโทษตามมา กฎหมายอาญามีความมุ่งหมายในการคุม้ ครองผลประโยชนข์ องส่วนรวม โดยการควบคุมไม่ใหบ้ ุคคลกระทาอนั ตรายแก่ผอู้ ื่นหรือต่อสงั คม ท้งั น้ีเพื่อรักษาความสงบ เรียบร้อยของสงั คม

ความผดิ และโทษ • ความผดิ และโทษ คือ การกระทาใดที่กฎหมายไดร้ ะบุวา่ เป็นความผดิ ซ่ึงผกู้ ระทาความผดิ ตอ้ งไดร้ ับโทษตามมา • บุคคลจะมีความผดิ และตอ้ งไดร้ ับโทษสาหรับการกระทาอยา่ งใดน้นั ตอ้ งมีบญั ญตั ิไวใ้ นกฎหมายเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรในเวลาขณะท่ีเขากระทา • การบญั ญตั ิกฎหมายยอ้ นหลงั เพอ่ื ใหก้ ารกระทาของบุคคลซ่ึงไม่เป็นความผดิ และไม่มีโทษในขณะน้นั กลบั กลายเป็นมีความผดิ และมีโทษข้ึนมา จะกระทาไม่ได้

ความรับผดิ ทางอาญา • บุคคลจะตอ้ งรับผดิ ทางอาญาเม่ือไดก้ ระทาการอนั ละเมิดต่อกฎหมาย และตอ้ งรับโทษท่ีบญั ญตั ิไวใ้ นกฎหมาย • โทษทางอาญามี 5 อยา่ ง ไดแ้ ก่ ประหารชีวติ จาคุก กกั ขงั ปรับ และริบทรัพย์ ตามลาดบั โทษหนกั สุดถึงโทษเบาสุด • บุคคลตอ้ งรับผดิ ทางอาญา ท้งั ท่ีกระทาโดยเจตนา กระทาโดยไม่เจตนา หรือกระทาโดยประมาท • ผรู้ ่วมกระทาความผดิ หากร่วมมือ ในการกระทาโดยการเป็นตวั การ จะไดร้ ับโทษเท่ากบั ตวั การอ่ืน หรือถา้ เป็นเพยี งผสู้ นบั สนุน จะไดร้ ับโทษในอตั ราท่ีลดลง

ความผดิ ทางอาญา ความผดิ ต่อชีวติ และร่างกาย • ความผดิ ต่อชีวติ คือ ความผดิ ฐาน ฆ่าผอู้ ื่นโดยเจตนา • ผดิ ต่อร่างกาย คือ การทาร้ายผอู้ ่ืนจนเป็นเหตุ ใหเ้ กิดอนั ตรายแก่ร่างกายและจิตใจ • ผกู้ ระทาความผดิ จะไดร้ ับโทษตามกฎหมาย บญั ญตั ิ

ความผดิ ต่อทรัพย์สิน • ความผดิ ฐานลกั ทรัพย์ คือ การเอาทรัพยข์ องผอู้ ื่นหรือที่ผอู้ ่ืนเป็ นเจา้ ของอยดู่ ว้ ยไปโดย ทจุ ริต • ความผิดอยา่ งอ่ืนซ่ึงเกี่ยวเน่ืองกบั ความผดิ ฐานลกั ทรัพย์ คือ การลกั ทรัพยโ์ ดยมี เง่ือนไขอยา่ งอ่ืนเพิม่ ข้ึน ไดแ้ ก่ วงิ่ ราวทรัพย์ ชิงทรัพย์ และปลน้ ทรัพย์ • ความผดิ ฐานยกั ยอกทรัพย์ คือ การเบียดบงั ทรัพยข์ องผอู้ ่ืนหรือท่ีผอู้ ่ืนเป็นเจา้ ของ รวมอยดู่ ว้ ย ซ่ึงอยใู่ นความครอบครองของผกู้ ระทาผดิ เอง • ความผดิ อื่นที่เกี่ยวกบั ทรัพยส์ ิน เช่น ความผดิ ฐานฉอ้ โกง ความผดิ ฐานทาใหเ้ สีย ทรัพย์ ความผดิ ฐานบุกรุก ความผดิ ฐานรับของโจร เป็นตน้

กฎหมายอ่ืนท่คี วรรู้

กฎหมายเกย่ี วกบั การรับราชการทหาร • พระราชบญั ญตั ิรับราชการทหาร พทุ ธศกั ราช 2497 ไดก้ าหนดการรับราชการทหารไว้ ดงั น้ี ชายสญั ชาติไทยตอ้ งไปข้ึนบญั ชีทหารกองเกิน เม่ืออาย1ุ 8 ปี เม่ืออายุ 21 ปี ตอ้ งเขา้ รับหมายเรียกและทาการตรวจเลือกเป็นทหารประจาการ หากไดเ้ ขา้ เป็นทหารกองประจาการ บุคคลท่ีสาเร็จวชิ าทหารตามหลกั สูตร ตอ้ งรับราชการ 2 ปี รับราชการทหารนอ้ ยกวา่ 2 ปี หากฝ่ าฝืน ถูกจาคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับ บุคคลที่ข้ึนทะเบียนกองประจาการแลว้ ไม่เกิน 300 บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ ปลดเป็นทหารกองหนุนประเภท 1 หากรายงานตวั ก่อนเจา้ หนา้ ท่ียกเร่ือง จะถูกลงโทษ 1 เดือน ปรับไม่เกิน 100 บาท หรือท้งั จาท้งั ปรับ

กฎหมายเกยี่ วกบั ภาษี ภาษเี งนิ ได้ • เป็นภาษีที่ไดร้ ับมอบหมายอานาจรัฐเรียกเกบ็ จากบุคคล เพอื่ ใชจ้ ่ายในการบริหาร ประเทศหรือทอ้ งถิ่น การเสียภาษีใหแ้ ก่รัฐจึงเป็นหนา้ ท่ีสาคญั ของพลเมือง • ภาษีเงินไดจ้ ดั เกบ็ ทุกปี จากผทู้ ่ีมีเงินไดเ้ กิดข้ึนระหวา่ งปี ภาษี โดยมีสถานะอยา่ งใด อยา่ งหน่ึง ไดแ้ ก่ บุคคลธรรมดา หา้ งหุน้ ส่วนสามญั หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ผถู้ ึงแก่ความตายระหวา่ งปี ภาษี และกองมรดกท่ียงั ไม่ไดแ้ บ่ง • ผมู้ ีเงินไดต้ อ้ งยน่ื แบบ ภ.ง.ด.90 หรือ ภ.ง.ด.91 พร้อมท้งั ชาระภาษีท่ีสานกั งานสรรพากรพ้นื ที่ สาขาธนาคารไทยพาณิชยห์ รือธนาคารกรุงไทย แลว้ แต่กรณี และท่ีทาการไปรษณีย์

ภาษีเงนิ ได้นิตบิ ุคคล • เป็นภาษีอากรประเภทหน่ึงท่ีจดั เกบ็ จากเงินไดข้ องบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลท่ี จดทะเบียนตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ และไม่ไดจ้ ดทะเบียนตามประมวล กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ • จดั เกบ็ ทุกปี โดยคานวณอตั ราภาษีจากกาไรสุทธิของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล ร้อยละ 30 และจากกาไรสุทธิเฉพาะกรณีท่ีไดจ้ ากประกอบกิจการวเิ ทศธนกิจ ร้อยละ 10 • ผเู้ สียภาษีตอ้ งยน่ื เสียภาษีท่ีสานกั งานสรรพากร พ้ืนท่ีสาขาในทอ้ งท่ีท่ีสานกั งานใหญต่ ้งั อยู่ และ ธนาคารพาณิชยไ์ ทยสาขาในเขตพ้ืนที่ กรุงเทพมหานคร ส่วนจงั หวดั อ่ืนยนื่ ไดท้ ี่ ที่วา่ การอาเภอทอ้ งท่ีท่ีต้งั อยู่

ภาษมี ูลค่าเพมิ่ • เป็นภาษีทางออ้ มท่ีเรียกเกบ็ จากผซู้ ้ือสินคา้ หรือรับบริการ โดยคานวณเกบ็ จากมูลค่าส่วนที่เพิม่ ข้ึนในแต่ละข้นั ตอนของการผลิตและการจาหน่าย หรือการใหบ้ ริการ • ผมู้ ีหนา้ ที่เสียภาษีมูลค่าเพ่มิ ไดแ้ ก่ ผปู้ ระกอบการท่ีขายสินคา้ หรือ บริการที่มีรายรับเกินกวา่ 1.8 ลา้ นบาทต่อปี โดยคานวณภาษีที่ตอ้ งเสียจากภาษีขายหกั ดว้ ยภาษีซ้ือ • ผเู้ สียภาษีตอ้ งยนื่ แบบแสดงรายการภาษี ภายในวนั ท่ี 15 ของเดือนถดั ไป ท่ีสานกั งานสรรพากรพ้ืนที่สาขาใน ทอ้ งที่ท่ีสถานประกอบการต้งั อยู่

ภาษบี ารุงท้องที่ • เป็นภาษีที่จดั เกบ็ จากเจา้ ของที่ดินตามราคาปานกลางที่ดินและ ตามบญั ชีอตั ราภาษีบารุงทอ้ งท่ี • ที่ดินที่ตอ้ งเสียภาษีบารุงทอ้ งที่ ไดแ้ ก่ ที่ดินที่เป็นของบุคคลหรือคณะบุคคล ท้งั บุคคลธรรมดาและนิติบุคคลซ่ึงมีกรรมสิทธ์ิในท่ีดิน หรือสิทธิครอบครอง อยใู่ นที่ดินท่ีไม่เป็นกรรมสิทธ์ิของเอกชน โดยผทู้ ่ีมีหนา้ ท่ีเสียภาษี คือ ผรู้ ับประเมินหรือผทู้ ี่เป็นเจา้ ของท่ีดิน • ผเู้ สียภาษีตอ้ งยน่ื แบบแสดงรายการ เพื่อเสียภาษีบารุงทอ้ งที่ต่อพนกั งานเจา้ หนา้ ที่ ในทอ้ งที่ซ่ึงทรัพยส์ ินน้นั ต้งั อยู่

ภาษโี รงเรือนและที่ดนิ • เป็นภาษีท่ีจดั เกบ็ จากโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสร้างอยา่ งอื่นๆ กบั ท่ีดินท่ีใชป้ ระโยชน์ต่อเน่ืองไปกบั โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างน้นั • ผมู้ ีหนา้ ที่เสียภาษีโรงเรือนและท่ีดิน ไดแ้ ก่ เจา้ ของทรัพยส์ ิน เจา้ ของโรงเรือนหรือส่ิงปลูกสร้าง • ผเู้ สียภาษีตอ้ งยน่ื แบบแสดงรายการ เพอ่ื เสียภาษีโรงเรือนและที่ดิน ที่สานกั งานขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นท่ี ส่ิงปลูกสร้างน้นั ต้งั อยู่

กฎหมายการคุ้มครองผู้บริโภค พระราชบญั ญตั ิคุม้ ครองผบู้ ริโภค พทุ ธศกั ราช 2522 แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ท่ี 2) พทุ ธศกั ราช 2541 มีการบญั ญตั ิสิทธิของผบู้ ริโภคท่ีจะไดร้ ับการคุม้ ครองตามกฎหมายไว้ 5 ประการ ไดแ้ ก่ • สิทธิที่จะไดร้ ับขา่ วสาร รวมท้งั คาพรรณนาคุณภาพท่ีถูกตอ้ ง และเพยี งพอเกี่ยวกบั สินคา้ และบริการ • สิทธิในการเลือกหาสินคา้ หรือบริการโดยความสมคั รใจ ปราศจากการชกั จูง • สิทธิท่ีจะไดร้ ับสินคา้ หรือบริการท่ีปลอดภยั มีสภาพและ คุณภาพไดม้ าตรฐาน เหมาะแก่การใช้ • สิทธิที่จะไดร้ ับความเป็นธรรมในการทาสญั ญา โดยไม่ถูก เอารัดเอาเปรียบ • สิทธิท่ีจะไดร้ ับการพจิ ารณาและชดเชยความเสียหาย เมื่อมี การละเมิดสิทธิผบู้ ริโภค

กฎหมายระหว่างประเทศ

ความสาคญั ของรัฐธรรมนูญ • เป็นกฎหมายท่ีมีความมุ่งหมายสาคญั คอื พระราชบญั ญตั ิยกเลิกพระราชบญั ญตั ิอาชญากร การเคารพศกั ด์ิศรีของความเป็นมนุษย์ โดย สงคราม พุทธศกั ราช 2488 พ.ศ. 2510 พฒั นาการของกฎหมายน้ี มีผลทาใหเ้ กิดความ ร่วมมือระหวา่ งภาครัฐกบั ภาคเอกชนของ นานาประเทศ ในการสอดส่องดูแล เพือ่ ใหม้ ีการปฏิบตั ิตามกฎหมาย • กฎหมายของไทยที่สอดคลอ้ งกบั กฎหมาย มนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ เช่น พระราชบญั ญตั ิอาชญากรสงคราม พทุ ธศกั ราช 2488 ประมวลกฎหมายอาญา ทหาร มาตรา 48 เป็นตน้

กฎหมายเกยี่ วกบั การค้ามนุษย์ • เป็นกฎหมายที่มุ่งเนน้ แกป้ ัญหาการคา้ มนุษย์ โดยเฉพาะการคา้ สตรีและเดก็ ซ่ึงถือเป็น อาชญากรรมท่ีเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนอยา่ งร้ายแรง และมีการกระทากนั อยา่ ง กวา้ งขวางทว่ั โลก • ประเทศไทยไดร้ ่วมลงนามอนุสญั ญาสหประชาชาติเพอ่ื ต่อตา้ นอาชญากรรมขา้ มชาติ พ.ศ. 2543 และพิธีสารเพ่ือป้องกนั การปราบปรามและลงโทษการคา้ มนุษย์ พ.ศ. 2543 และไดต้ ราพระราชบญั ญตั ิป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์ พ.ศ. 2551 ข้ึน • ประเทศไทยยงั ไดก้ าหนดใหม้ ีคณะกรรมการ ป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนุษยข์ ้ึน เพ่ือทา หนา้ ท่ีกากบั ดูแลการดาเนินการตามพนั ธกรณี ระหวา่ งประเทศ ใหค้ วามร่วมมือและ ประสานงานกบั ต่างประเทศเกี่ยวกบั การป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์

กฎหมายว่าด้วยผู้ลภี้ ัย • เป็นกฎหมายที่มุ่งเนน้ ในการปกป้องสิทธิพ้นื ฐานของผลู้ ้ีภยั โดยเฉพาะสิทธิท่ีจะอาศยั อยอู่ ยา่ งปลอดภยั ในประเทศอ่ืน เพอ่ื เตรียมพร้อมที่จะส่งกลบั ประเทศของผลู้ ้ีภยั โดยมี การจดั ต้งั สานกั งานขา้ หลวงใหญผ่ ลู้ ้ีภยั แห่งสหประชาชาติเป็นผดู้ ูแลและประสานงาน • ประเทศไทยไดใ้ หก้ ารสนบั สนุนช่วยเหลือ และอานวยความสะดวกเก่ียวกบั ผอู้ พยพ หนีภยั เขา้ มาในดินแดนไทยอยา่ งต่อเนื่อง โดยใหค้ วามคุม้ ครองต่อผอู้ พยพและพฒั นา คุณภาพชีวติ ในดา้ นต่างๆ ค่ายผลู้ ้ีภยั จากการสูร้ บทางการเมืองในประเทศพม่า บา้ นอุม้ เป้ี ยม อาเภอพบพระ จงั หวดั ตาก

กฎหมายการส่ งผู้ร้ ายข้ามแดน • เป็นกฎหมายท่ีแสดงความร่วมมือระหวา่ งรัฐในการจดั การกบั ผกู้ ระทาความผดิ ท่ีพยายามหลบหนี ใหเ้ ขา้ สู่กระบวนการยตุ ิธรรม โดยช่วยจดั หาและจดั ส่งพยานบุคคล พยานเอกสาร หรือพยานวตั ถุระหวา่ งกนั ซ่ึงกระทาในลกั ษณะของขอ้ ตกลงภาคี • ตวั อยา่ งสนธิสญั ญาที่เกิดข้ึนระหวา่ งไทยและนานาประเทศ เช่น สนธิสญั ญาระหวา่ ง รัฐบาลแห่งราชอาณาจกั รไทยกบั รัฐบาลแห่งสหรัฐอเมริกา วา่ ดว้ ยการส่งผรู้ ้ายขา้ มแดน พ.ศ. 2533 เป็นตน้

กฎหมายการให้ความคุ้มครองแก่คนชาติ • เป็นกฎหมายเพ่ือใชค้ วบคุมและคุม้ ครองคนชาติหรือผทู้ ่ีมีสญั ชาติของรัฐ เมื่อตอ้ งไปอยใู่ นดินแดนของรัฐอ่ืน • กฎหมายเก่ียวกบั การใหค้ ุม้ ครองแก่คนชาติมีบทบาทในการกาหนดหนา้ ที่และ ความรับผดิ ชอบพ้นื ฐานซ่ึงมีระหวา่ งกนั ในระดบั ระหวา่ งประเทศ วา่ การก่อใหเ้ กิด ความเสียหายแก่คนในชาติหน่ึง หากไม่แกไ้ ข เม่ือถึงจุดหน่ึง อาจเป็นผลใหเ้ กิด ความรับผดิ ชอบระหวา่ งประเทศต่อสญั ชาติของเขาได้ รวมท้งั ยงั เชื่อมโยงถึงวถิ ีการ เพ่อื ใชส้ ิทธิในการเรียกร้อง และระงบั กรณีขดั แยง้ ระหวา่ งรัฐ การบรรยายหวั ขอ้ “การคุม้ ครองสิทธิและช่วยเหลือทางกฎหมายแก่คนไทยในต่างแดน และ กฎหมายน่ารู้สาหรับหญิงไทย ที่สมรสกบั ชาวต่างชาติ จดั ข้ึนโดยสถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ กรุงโรม ประเทศอิตาลี เม่ือ พ.ศ. 2555

กฎหมายแรงงานระหว่างประเทศ • เป็นกฎหมายที่เก่ียวขอ้ งกบั การจา้ งงาน ค่าจา้ งและผลประโยชนต์ อบแทนต่างๆ ใน การทางาน ตลอดจนเสริมสร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งนายจา้ งกบั ลูกจา้ ง และระงบั ขอ้ ขดั แยง้ ระหวา่ งนายจา้ งกบั ลูกจา้ ง โดยมีการ่วมกนั จดั ต้งั องคก์ ารแรงงานระหวา่ ง ประเทศ เพอื่ ใหแ้ รงงานทว่ั โลกมีมาตรฐานความเป็นอยทู่ ่ีดีข้ึน มีสภาพการทางานที่ เก้ือกลู ต่อผใู้ ชแ้ รงงาน • ประเทศไทยไดร้ ่วมใหส้ ตั ยาบนั อนุสญั ญาที่เกี่ยวขอ้ งกบั กฎหมายแรงงานระหวา่ ง ประเทศหลายฉบบั และไดพ้ ยายามดาเนินการใหเ้ ป็นไปตามอนุสญั ญาน้นั

กฎหมายส่ิงแวดล้อมระหว่างประเทศ • เป็นกฎหมายท่ีมีวตั ถุประสงคใ์ นการคุม้ ครอง อนุรักษ์ และพฒั นาสิ่งแวดลอ้ มอยา่ ง ยง่ั ยนื โดยมีหลกั การสาคญั คือ ส่ิงแวดลอ้ มถือเป็นสมบตั ิส่วนรวมของมนุษยช์ าติ ที่ ตอ้ งร่วมกนั ปกป้องและรักษา รวมท้งั ใหค้ วามร่วมมือในการแกไ้ ขปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม ตามกาลงั ความสามารถของแต่ละรัฐ • กฎหมายส่ิงแวดลอ้ มระหวา่ งประเทศที่ประเทศไทยไดร้ ่วมใหส้ ตั ยาบนั เช่น อนุสญั ญาวา่ ดว้ ยการคา้ สตั วป์ ่ าและพืชป่ าท่ีใกลส้ ูญพนั ธุร์ ะหวา่ งประเทศ พิธีสารเกียวโตเพ่ือลดการปลอ่ ยแก๊สเรือนกระจก เป็นตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook