Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาหน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

วิชาหน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

Published by thiwadon jirapunyo, 2022-07-19 16:22:28

Description: อจท.หน้าที่พลเมืองฯ ม.4-6

Search

Read the Text Version

หลกั เกณฑ์การเลือกต้งั • หลักอสิ ระแห่งการเลือกต้งั ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพที่จะเลือกใครหรือพรรค การเมืองใดกไ็ ดท้ ี่ตนชอบ • หลกั การเลือกต้ังตามกาหนดเวลา การเลือกต้งั จะตอ้ งกาหนดเวลาท่ีแน่ชดั เช่น กาหนดใหม้ ีการเลือกต้งั ทุก 4 ปี • หลกั การเลือกต้งั อย่างบริสุทธ์ิยุตธิ รรม การเลือกต้งั ที่ไม่มีการคดโกง ใชอ้ ิทธิพลหรือ อานาจในการบงั คบั ซ้ือคะแนนเสียง เพ่ือตนเองและคณะ • หลกั การใช้สิทธิในการเลือกต้งั อย่างเสมอภาค การ เลือกต้งั ที่ใหส้ ิทธิแก่ประชาชนโดยไม่มีการกีดกนั หรือ จากดั บุคคลใดเป็นพิเศษ ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกนั • หลักการออกเสียงโดยทวั่ ไป การเลือกต้งั ที่เปิ ดโอกาส ใหม้ ีการออกเสียงอยา่ งทว่ั ถึงแก่ประชาชนทุกหมู่เหล่า • หลักการลงคะแนนลบั การเลือกต้งั ท่ีผอู้ อกเสียงไม่ จาเป็นตอ้ งบอกผอู้ ื่นวา่ ตนเลือกใคร

อปุ สรรคในการเลือกต้งั • การใช้อทิ ธิพลจากทางราชการ เพ่ือให้เกดิ ประโยชน์ฝ่ ายตน เช่น ร่วมมือกบั เจา้ หนา้ ท่ี ที่เก่ียวขอ้ งปลอมแปลงหลกั ฐานการเลือกต้งั เพ่มิ ช่ือผอู้ ่ืนในทะเบียนบา้ น • การทาลายคู่แข่งขนั เช่น หาเสียงใหร้ ้ายคูแ่ ข่ง โดยการใหข้ อ้ มูลท่ีเป็นเทจ็ ทาลายป้าย หาเสียง ปองร้ายหวั คะแนน • การใช้เงนิ เพื่อซื้อคะแนนเสียง โดยการใชว้ ธิ ีการต่างๆ เช่น แจกเงิน ใหส้ ิ่งของ สัญญา วา่ จะใหผ้ ลตอบแทนต่างๆ • ประชาชนบางส่วนยงั ไม่เข้าใจความสาคญั ของการ เลือกต้ัง จึงไม่ไดต้ ระหนกั ในสิทธิและหนา้ ท่ีของตน ไม่ไดเ้ ลือกนกั การเมืองจากผลงานและความมีคุณธรรม • หน่วยงานภาครัฐไม่สามารถให้ความรู้เกย่ี วกบั การ เลือกต้ังได้อย่างทว่ั ถงึ ทาใหป้ ระชาชนขาดความรู้ท่ี แทจ้ ริง นาไปสู่การซ้ือคะแนนเสียงหรือการไม่ไปใช้ สิทธิเลือกต้งั

การสร้างสานึกการมสี ่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน • ปลูกฝังให้เยาวชน ประชาชนท่ัวไป • ให้ความรู้เก่ียวการมีส่วน ต ร ะ ห นัก ใ น สิ ท ธิ ร่ วมของประชาชนใน หน้าท่ีของตนเอง • จะต้องศึกษาความรู้ ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย แ ล ะ มี ส่ ว น ร่ ว ม เกี่ยวกับการปกครอง เพ่ือให้ประชาชนเห็นถึง ทางการเมืองอย่าง ระบอบประชาธิปไตย ค ว า ม ส า คัญ ข อ ง ก า ร ถูกตอ้ ง เพื่อจะไดเ้ ขา้ ใจในสิทธิ เลือกต้งั กระตุน้ เตือนให้ หนา้ ที่ของตน เห็นถึงขอ้ เสียของการไม่ เยาวชน เขา้ ไปมีส่วนร่วมในการ ปกครองตนเอง หน่วยงานรัฐ

บทบาทหน้าที่ของรัฐบาล

รัฐบาล คือ คณะบุคคลมีหนา้ ที่ในการบริหารประเทศ และบงั คบั ใชก้ ฎหมายต่างๆ กาหนดนโยบายท่ีเป็นประโยชนแ์ ก่ประชาชน และก่อใหเ้ กิดการพฒั นาประเทศ เกิดความ ยตุ ิธรรมในสงั คม รักษาความมนั่ คงของชาติ รวมท้งั ความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ินของประชาชน

ประสิทธิภาพในการบริหารงานของรัฐบาล • ความสามารถในการ • ความสามารถรับผดิ ชอบ ตอบสนองตรงความ ร่วมกนั เม่ือเกิดความ ตอ้ งการของประชาชน ผดิ พลาดในการ ส่วนใหญ่อยา่ งทว่ั ถึงและ บริหารงาน เท่าเทียม • ความสามารถในการ • ความสามารถในการ ประสานงานใหก้ ระทรวง ติดตามและควบคุมการ ต่างๆ ทางานร่วมกนั ทางานของกระทรวง กรม เพือ่ ใหบ้ รรลุจุดหมาย ต่างๆ จากการนานโยบาย อยา่ งเดียวกนั ดว้ ย ท่ีไดม้ อบหมายไปปฏิบตั ิ

ความรับผดิ ชอบของรัฐบาลต่อประชาชน • รัฐบาลต้องแถลงผลงานต่อสภาผู้แทนราษฎร ผา่ นสื่อต่างๆ ใหป้ ระชาชนรับรู้ และ บริหารประเทศตามนโยบายที่แถลงไว้ • จัดให้มีหน่วยงาน หรือองค์กรอสิ ระ ทาหนา้ ท่ีในการตรวจสอบการทางานของรัฐบาล และประชาชนสามารถตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของรัฐบาลได้ โดยผา่ นทางสภาผแู้ ทนราษฎร • ให้เสรีภาพแก่ประชาชนในการแสดงออกทางการเมือง หากพบวา่ รัฐบาลไม่ปฏิบตั ิตาม นโยบายท่ีแถลงไว้ หรือบริหารงานไม่โปร่งใส เช่น การวพิ ากษว์ จิ ารณ์ทางการเมือง เดินขบวนประทว้ งอยา่ งสงบและปราศจากอาวธุ ภายใตร้ ัฐธรรมนูญ

การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐโดยองค์กรอสิ ระ

คณะกรรมการการเลือกต้งั (กกต.) 1. ควบคุมและดาเนินการจดั ใหม้ ีการเลือกต้งั และการออกเสียงประชามติ ใหเ้ ป็นไป โดยสุจริตและเท่ียงธรรม 2. ดาเนินการแบ่งเขตเลือกต้งั สาหรับการเลือกต้งั ท่ีใชว้ ธิ ีการแบ่งเขตเลือกต้งั และจดั ให้ มีบญั ชีรายช่ือผมู้ ีสิทธิเลือกต้งั 3. สืบสวนสอบสวนเพื่อหาขอ้ เทจ็ จริงและวนิ ิจฉยั ช้ีขาดปัญหาหรือขอ้ โตแ้ ยง้ เก่ียวกบั การเลือกต้งั 4. สงั่ ใหม้ ีการเลือกต้งั ใหม่หรือออกเสียงประชามติใหม่ในหน่วยเลือกต้งั ท่ีมีการทุจริต 5. เพิกถอนสิทธิเลือกต้งั และดาเนินคดีอาญากบั ผสู้ มคั ร หวั คะแนน และผเู้ กี่ยวขอ้ ง (ใหใ้ บเหลือง หรือ ใบแดง) 6. ประกาศผลการเลือกต้งั หรือการออกเสียงประชามติ

ผู้ตรวจการแผ่นดนิ 1. พิจารณาและสอบสวนหาขอ้ เทจ็ จริงในกรณี เช่น การไม่ปฏิบตั ิตามกฎหมาย หรือ ปฏิบตั ินอกเหนืออานาจหนา้ ที่ของขา้ ราชการ 2. ตรวจสอบการละเลยการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีหรือการปฏิบตั ิหนา้ ที่โดยไม่ชอบดว้ ย กฎหมายขององคก์ ร ตามรัฐธรรมนูญและองคก์ รในกระบวนการยตุ ิธรรม 3. ดาเนินการเก่ียวกบั จริยธรรมของผดู้ ารงตาแหน่งทางการเมืองและเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ 4. เสนอเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญหรือศาลปกครอง ในกรณี เช่น บทบญั ญตั ิแห่งกฎหมายมีปัญหาเก่ียวกบั ความชอบดว้ ยรัฐธรรมนูญ

คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) 1. ตรวจสอบความถูกตอ้ งและความมีอยจู่ ริงของทรัพยส์ ินและหน้ีสินของผดู้ ารง ตาแหน่งทางการเมืองและเจา้ หนา้ ที่ระดบั สูงของรัฐ 2. ไต่สวนและวนิ ิจฉยั ความร่ารวยผดิ ปกติของเจา้ หนา้ ท่ีของรัฐ ในการกระทา ความผดิ ฐานทุจริตต่อหนา้ ที่ หรือความผดิ ต่อตาแหน่งหนา้ ที่ในการยตุ ิธรรม 3. กาหนดหลกั เกณฑเ์ ก่ียวกบั การกาหนดตาแหน่งและช้นั หรือระดบั ของเจา้ หนา้ ท่ี ของรัฐท่ีจะตอ้ งยน่ื บญั ชีแสดงรายการทรัพยส์ ินและหน้ีสิน 4. ดาเนินการเพอื่ ป้องกนั การทุจริตและเสริมสร้างทศั นคติและค่านิยมเก่ียวกบั ความ ซื่อสตั ยส์ ุจริต

คณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดนิ 1. กาหนดหลกั เกณฑม์ าตรฐานเกี่ยวกบั การตรวจเงินแผน่ ดินที่เป็นกลาง 2. ใหค้ าแนะนาแก่ผา่ ยบริหารในการแกไ้ ขกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บงั คบั เกี่ยวกบั การควบคุมเงินของรัฐ 3. พิจารณาคาร้องขอของสภาผแู้ ทนราษฎร วฒุ ิสภา หรือคณะรัฐมนตรีที่ขอให้ ตรวจสอบ 4. เสนอขอ้ สงั เกตและความเห็นต่อคณะกรรมาธิการพจิ ารณางบประมาณ รายจ่ายประจาปี

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 กฎหมายในชีวติ ประจาวนั

กฎหมายทว่ั ไป กฎหมายแพ่ง กฎหมายเกย่ี วกบั เกย่ี วกบั ตนเอง ทรัพย์สิน กฎหมายระหว่าง ประเทศ กฎหมายใน กฎหมายเกย่ี วกบั ชีวติ ประจาวนั ครอบครัวและ กฎหมายอ่ืนที่ควรรู้ กฎหมายอาญา มรดก กฎหมายแพ่ง เกยี่ วกบั นิติกรรม และสัญญา

ควแาลมะหลมกั ษายณคะวขาอมงสกาฎคหญั มาย

กฎหมาย หมายถึง ขอ้ บงั คบั ของรัฐ อนั เป็นส่วนหน่ึงของการจดั ระเบียบสังคม เพ่อื ใชค้ วบคุมความประพฤติของพลเมือง หากผใู้ ดฝ่ าฝืนจะตอ้ งไดร้ ับโทษอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง โดยเจา้ หนา้ ที่ของรัฐเป็นผดู้ าเนินการบงั คบั กฎหมายพฒั นาข้ึนมาจากศีลธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี ศาสนา และ กฎเกณฑข์ อ้ บงั คบั โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ ธารงความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอนั ดีของ สมาชิกในสงั คม ทาใหก้ ารอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมน้นั เป็นไปโดยราบร่ืน

ความสาคญั ของกฎหมาย 1. ใชค้ วบคุมหรือจดั ระเบียบทางสงั คม เพ่อื ใหค้ นในสงั คมอยรู่ ่วมกนั อยา่ งเรียบร้อย ไม่กระทบกระทง่ั หรือเอาเปรียบกนั จนเกิดเป็นความ ขดั แยง้ 2. ช่วยพฒั นาสงั คมใหเ้ จริญกา้ วหนา้ เป็นสงั คมที่มีความเป็นปึ กแผน่ และมีแต่สนั ติสุข 3. ช่วยคุม้ ครองสิทธิประโยชน์ต่างๆ ของประชาชน ดว้ ยการรับรองสิทธิ และเสรีภาพของคนในสังคม

ลกั ษณะของกฎหมาย 1. ตอ้ งเป็นคาสง่ั หรือขอ้ บงั คบั 2. ตอ้ งออกโดยรัฏฐาธิปัตยห์ รือผมู้ ีอานาจสูงสุดในรัฐหรือองคก์ รน้นั 3. ตอ้ งมีสภาพบงั คบั และใชบ้ งั คบั ไดท้ ว่ั ไป 4. ตอ้ งมีผลใชบ้ งั คบั ตลอดไปจนกวา่ จะมีการแกไ้ ขหรือยกเลิก

ประเภทของกฎหมาย

กฎหมายทจี่ ดั ตามองค์กรจดั ทากฎหมาย กฎหมายที่จดั ทาโดยองค์กรพเิ ศษ • กฎหมายประเภทน้ี ไดแ้ ก่ กฎหมายรัฐธรรมนูญ ซ่ึงเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ • จดั ทาข้ึนโดยองคก์ รพิเศษท่ีไดร้ ับมอบหมายใหจ้ ดั ทารัฐธรรมนูญ เช่น สภาร่างรัฐธรรมนูญ เป็นตน้ • รัฐธรรมนูญกาหนดวา่ อานาจสูงสุดทาง การปกครองมาจากประชาชนชาวไทย โดยมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ พร้อมท้งั ไดว้ างหลกั ประกนั เก่ียวกบั สิทธิและ เสรีภาพของประชาชนไว้ • กฎหมายอ่ืนท่ีขดั หรือแยง้ กบั รัฐธรรมนูญ จะบงั คบั ใชม้ ิได้

กฎหมายท่จี ัดทาโดยองค์กรฝ่ ายนิติบัญญัติ • กฎหมายประเภทน้ี ไดแ้ ก่ พระราชบญั ญตั ิประกอบรัฐธรรมนูญและพระราชบญั ญตั ิ • เป็นกฎหมายที่พระมหากษตั ริยท์ รงตราข้ึนตามคาแนะนาและยนิ ยอมของรัฐสภา ซ่ึงประกอบดว้ ยสภาผแู้ ทนราษฎรและวฒุ ิสภา • ในพระราชบญั ญตั ิแต่ละฉบบั จะแบ่งขอ้ ความออก เป็นมาตรา ซ่ึงประกอบดว้ ยขอ้ กาหนด ความประพฤติต่างๆ และกาหนดโทษหรือ ผลร้ายที่เกิดจากการฝ่ าฝืน • พระราชบญั ญตั ิมีผลบงั คบั เป็นกฎหมายได้ โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซ่ึงเป็นหนงั สือ ประกาศกฎหมายและเร่ืองสาคญั ของทางราชการ

กฎหมายที่จดั ทาโดยองค์กรฝ่ ายบริหาร • กฎหมายประเภทน้ี ไดแ้ ก่ พระราชกาหนด และ พระราชกฤษฎีกา พระราชกาหนด พระราชกฤษฎกี า • เป็นกฎหมายท่ีพระมหากษตั ริยท์ รงตราข้ึน • เป็นกฎหมายที่พระมหากษตั ริยท์ รงตราข้ึน ตามคาแนะนาของคณะรัฐมนตรี ตามคาแนะนาของคณะรัฐมนตรี เพื่อ ในกรณีเพือ่ ประโยชน์ในอนั ที่จะรักษา กาหนดการต่างๆ ตามที่รัฐธรรมนูญหรือ ความปลอดภยั ของประเทศ ความปลอดภยั พระราชบญั ญตั ิใหอ้ านาจไว้ หรือวาง สาธารณะ ความมนั่ คงทางเศรษฐกิจหรือ ระเบียบการต่างๆ ทางบริหาร โดยไม่ขดั ต่อ ป้องปัดภยั พิบตั ิสาธารณะ กฎหมายอ่ืน • รัฐมนตรีตอ้ งนาพระราชกาหนดเสนอต่อ • พระราชกฤษฎีกามีฐานะท่ีต่ากว่าพระราช- รัฐสภา ถา้ รัฐมนตรีไม่อนุมตั ิกใ็ หพ้ ระราช- กาหนด และตอ้ งออกโดยอาศยั อานาจท่ี กาหนดน้นั ตกไป และใหบ้ ทบญั ญตั ิแห่ง รัฐธรรมนูญมอบให้ และไม่ตอ้ งนาเสนอ กฎหมายที่มีอยกู่ ่อนการแกไ้ ขเพิ่มเติมหรือ ใหร้ ัฐสภาพิจารณาอนุมตั ิ ยกเลิก มีผลบงั คบั ใชต้ ่อไป

กฎหมายท่ีจดั ทาโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ • กฎหมายประเภทน้ี ไดแ้ ก่ ขอ้ บญั ญตั ิและขอ้ บงั คบั ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น • เป็นกฎหมายท่ีจดั ทาข้ึนโดยองคก์ รปกครอง ส่วนทอ้ งถิ่น ไดแ้ ก่ กรุงเทพมหานคร เมืองพทั ยา เทศบาล องคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั และ องคก์ ารบริหารส่วนตาบล เกี่ยวกบั เรื่อง ท่ีพระราชบญั ญตั ิใหอ้ านาจไว้ • เป็นกฎหมายท่ีมีฐานะต่ากวา่ พระราชบญั ญตั ิ และมีผลบงั คบั ใชเ้ ฉพาะในเขตทอ้ งทขี่ ององคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถิ่นน้นั ๆ

กฎหมายท่ีจัดตามลกั ษณะความสัมพนั ธ์ระหว่างคู่กรณี กฎหมายเอกชน • เป็นกฎหมายซ่ึงกาหนดความสมั พนั ธ์ระหวา่ งเอกชนกบั เอกชน พลเมืองกบั พลเมือง หรือพลเมืองกบั รัฐ โดยรัฐยอมอยใู่ นฐานะเท่าเทียมกบั พลเมือง • ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือพจิ ารณาหรือตดั สิน เม่ือเกิดความขดั แยง้ กนั ของคูก่ รณี เพ่อื หาขอ้ ยตุ ิ • กฎหมายเอกชนที่ควรรู้จกั ไดแ้ ก่ กฎหมายแพง่ และกฎหมายพาณิชย์

กฎหมายมหาชน • เป็นกฎหมายที่กาหนดความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรัฐกบั พลเมืองของรัฐ โดยรัฐอยใู่ นฐานะเหนือกวา่ พลเมือง • ใชเ้ ป็นเครื่องมือในการปกครองและควบคุมดูแลพลเมืองใหอ้ ยภู่ ายใตก้ รอบ ของกฎหมายมหาชน • กฎหมายมหาชนที่ควรรู้จกั ไดแ้ ก่ กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง กฎหมายอาญา กฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญา กฎหมาย วธิ ีพจิ ารณาความแพง่ และ พระธรรมนูญศาลยตุ ิธรรม

กฎหมายระหว่างประเทศ • เป็นกฎหมายหรือขอ้ ตกลงซ่ึงกาหนดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งรัฐกบั รัฐในฐานะ ที่เท่าเทียมกนั มิใช่กฎหมายของรัฐใดรัฐหน่ึง แต่เกิดจากการตกลงระหวา่ งรัฐ ใหใ้ ชไ้ ด้ หรือรัฐต่างๆ ยอมรับมาปฏิบตั ิร่วมกนั • ใชใ้ นการแกป้ ัญหาร่วมกนั ระหวา่ งรัฐหรือภาคีสมาชิก ท้งั ในยามปกติ และในยามท่ีมีขอ้ ขดั แยง้ เพื่อหาแนวทางยตุ ิความขดั แยง้ มิใหล้ ุกลาม • กฎหมายระหวา่ งประเทศตามหลกั สากลมี 3 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ กฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดีเมือง กฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดีบุคคล และกฎหมายระหวา่ งประเทศแผนกคดีอาญา

กฎหมายท่จี ัดตามบทบาทของกฎหมาย กฎหมายสารบัญญัติ • เป็นกฎหมายซ่ึงบญั ญตั ิหรือกาหนดในเร่ือง สิทธิหนา้ ที่และความรับผดิ ชอบต่างๆ ซ่ึงถือเป็นสาระสาคญั หรือหวั ใจของกฎหมาย • มีลกั ษณะเป็นเน้ือหาของกฎหมาย เช่น กฎหมายแพง่ ซ่ึงบญั ญตั ิวา่ บุคคลมีสิทธิ หนา้ ที่ และความรับผดิ ชอบระหวา่ งกนั อยา่ งไรบา้ ง เป็ นตน้

กฎหมายวธิ ีสบัญญัติ • เป็นกฎหมายซ่ึงใชป้ ระกอบกบั กฎหมาย สารบญั ญตั ิ โดยบญั ญตั ิวธิ ีดาเนินการให้เป็นไป ตามกฎหมายสารบญั ญตั ิอีกข้นั หน่ึง • มีลกั ษณะกาหนดข้นั ตอนของกระบวนวธิ ีการใช้ กฎหมายหรือกระบวนวธิ ีพิจารณาคดี เช่น กฎหมายอาญา บญั ญตั ิวา่ เม่ือบุคคลกระทา ความผดิ แลว้ จะตอ้ งไดร้ ับโทษ โดยวธิ ีการจบั กมุ สอบสวน ฟ้องร้องผกู้ ระทาผดิ ตอ่ ศาล และ พจิ ารณาวา่ เขามีความผดิ จริงหรือไม่ ตลอดจน พพิ ากษาใหเ้ ขาไดร้ ับโทษหากมีความผดิ จริง เป็ นตน้

กฎหมายแพ่ง

กฎหมายแพง่ เป็นกฎหมายท่ีเก่ียวกบั เอกชนหรือคนแต่ละคน ท้งั เม่ืออยตู่ ามลาพงั และเม่ือติดต่อกบั ผอู้ ่ืน เน้ือหาของกฎหมายแพง่ ซ่ึงรวบรวมไวใ้ นประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มี บทบญั ญตั ิเกี่ยวกบั เร่ืองของบุคคล ครอบครัว ทรัพยส์ ิน นิติกรรมและสญั ญา ซ่ึงเป็นเรื่องราว ที่เก่ียวขอ้ งกบั ชีวติ ประจาวนั ของทุกคน

กฎหมายแพ่งเกย่ี วกบั ตนเอง

กฎหมายเรื่องบุคคล กฎหมายเร่ืองบคุ คลที่สาคญั ไดแ้ ก่ • การกาหนดตวั บุคคล กฎหมายมีวธิ ีการกาหนดตวั บุคคลเพ่ือใหเ้ กิดความชดั เจนวา่ ใครเป็นใคร และมีบทบาททางกฎหมายในสงั คมไดเ้ พียงใด ซ่ึงส่ิงท่ีนามาใชก้ าหนด ตวั บุคคล ไดแ้ ก่ ช่ือบุคคล ภมู ิลาเนา สถานะ และความสามารถ • หลักฐานแสดงตัวบุคคล พระราชบญั ญตั ิ บตั รประจาตวั ประชาชน (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2554 กาหนดใหบ้ ุคคลสญั ชาติไทยท่ีมีอายุ ต้งั แต่ 7 ปี บริบูรณ์ข้ึนไป แต่ไม่เกิด 70 ปี บริบรู ณ์ ตอ้ งมีบตั รประจาตวั ประชาชน เพื่อเป็นเอกสารสาคญั ในการใชพ้ ิสูจน์ตวั บตั รประจาตวั ประชาชนเป็นหลกั ฐานแสดงตวั บคุ คล ภูมิลาเนา และสถานะบางอยา่ ง บุคคลท่ีสาคญั ควรนาติดตวั ไวเ้ สมอ ของบุคคล เม่ือเดินทางออกนอกบา้ นเพือ่ ทากิจธุระต่างๆ

กฎหมายเร่ืองทรัพย์สิน • เป็นกฎหมายท่ีกาหนดวา่ สิ่งใดเป็นวตั ถุหรือทรัพยส์ ิน (ท้งั ที่มีรูปร่างและไม่มีรูปร่าง) ซ่ึงบุคคลสามารถยดึ ถือเป็นของตนเองได้ กาหนดวธิ ีไดม้ า ตลอดจนรับรองสิทธิต่างๆ ในส่ิงน้นั • กฎหมายไดแ้ บ่งทรัพยส์ ินและประโยชนเ์ ก่ียวกบั ทรัพยส์ ินออกเป็นหลายประเภท แต่ท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ อสงั หาริมทรัพยแ์ ละสงั หาริมทรัพย์ โดยใหค้ วามสาคญั กบั อสงั หาริมทรัพยม์ ากกวา่ • กฎหมายบญั ญตั ิใหผ้ มู้ ีกรรมสิทธ์ิในทรัพยส์ ิน ยอ่ มมีสิทธิครอบครอง ใชส้ อย จ่ายโอน ทาลาย และมีสิทธิไดด้ อกผลจากทรัพยส์ ินน้นั • บุคคลมีสิทธิในทรัพยส์ ินไดโ้ ดยเหตุผล สาคญั 2 ประการ คือ ไดม้ าตามบญั ญตั ิ ของกฎหมาย และ ไดม้ าโดยผลของ กฎหมายกาหนดใหข้ า้ วเป็นสงั หาริมทรัพยช์ นิดหน่ึง นิติกรรมและสญั ญา

กฎหมายเรื่องละเมิด • เป็นกฎหมายกาหนดหนา้ ที่ใหบ้ ุคคลเคารพสิทธิเสรีภาพต่างๆ ของผอู้ ่ืนโดยทว่ั ไป ดว้ ยการไม่ก่อความเสียหายแก่สิทธิและเสรีภาพของผอู้ ื่น ไม่วา่ โดยจงใจหรือโดย ประมาทเลินเล่อกต็ าม หากบุคคลกระทาผดิ กฎหมายจะตอ้ งรับผดิ ชอบโดยการชดใช้ คา่ สินไหมทดแทน • การละเมิดบางกรณีอาจเป็นความผดิ ทางอาญาดว้ ย เช่น การทาใหท้ รัพยส์ ินของผอู้ ื่นเสียหายโดยเจตนา ผเู้ สียหายมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายได้ และอาจฟ้องใหผ้ กู้ ระทาผดิ ไดร้ ับโทษ ทางอาญาดว้ ย

กฎหมายแพ่ง เกยี่ วกบั ครอบครัวและมรดก

กฎหมายครอบครัว การหม้นั เป็นการทาสญั ญาระหวา่ งชายกบั หญิงวา่ ต่อไปจะสมรสกนั โดยฝ่ ายชายไดม้ อบ ของหม้นั ไวใ้ หแ้ ก่ฝ่ ายหญิงเพ่อื เป็นประกนั ซ่ึงกฎหมายไดก้ าหนดเงื่อนไขไว้ ดงั น้ี • การหม้นั จะทาไดต้ ่อเม่ือชายและหญิงมีอายุ 17 ปี บริบูรณ์ แต่ถา้ ชายหรือหญิงยงั เป็น ผเู้ ยาวจ์ ะตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอมจากบิดามารดาหรือผปู้ กครองเสียก่อน • เม่ือสมรสแลว้ ของหม้นั จะตกเป็น ของฝ่ ายหญิง แต่หากไม่มีการ สมรสเน่ืองจากความผดิ ของ ฝ่ ายหญิง ฝ่ ายหญิงตอ้ งคืน ของหม้นั ใหแ้ ก่ฝ่ ายชาย • การผดิ สญั ญาหม้นั ฝ่ ายท่ีเสียหาย สามารถเรียกคา่ ทดแทนได้ แต่จะ แหวนหม้นั ถือเป็นสญั ลกั ษณ์สาคญั ในการทาสญั ญา ใหศ้ าลบงั คบั ใหม้ ีการสมรสไม่ได้ ระหวา่ งชายกบั หญิงวา่ จะสมรสกนั

การสมรส เป็นการทาสญั ญาตกลงเป็นสามีภรรยากนั ระหวา่ งชายกบั หญิง ซ่ึงกฎหมาย กาหนดเง่ือนไขไว้ ดงั น้ี • ชายและหญิงตอ้ งมีอายคุ รบ 17 ปี บริบูรณ์ • บุคคลวกิ ลจริตหรือไร้ความสามารถจะทาการสมรสไม่ได้ • ผซู้ ่ึงเป็นญาติสืบสายโลหิตกนั จะสมรสกนั ไม่ได้ • ผรู้ ับบุตรบุญธรรมจะสมรสกบั บุตรบุญธรรมไม่ได้

• ชายหรือหญิงจะทาการสมรสในขณะที่มีคู่สมรสอยแู่ ลว้ ไม่ได้ • หญิงท่ีเคยสมรสแลว้ จะสมรสใหม่ไดต้ ่อเม่ือการสมรสคร้ังก่อนสิ้นสุดลงไม่นอ้ ยกวา่ 310 วนั • ถา้ ชายหรือหญิงฝ่ายใดอายยุ งั ไม่ครบ 20 ปี บริบูรณ์ ฝ่ายน้นั ตอ้ งไดร้ ับการยนิ ยอมจากบิดา มารดาหรือผปู้ กครองก่อน • การสมรสจะตอ้ งจดทะเบียน โดยมีนายอาเภอหรือปลดั อาเภอเป็นนายทะเบียน •ชายหญิงจะตอ้ งแสดงความยนิ ยอมเป็นสามีภริยากนั โดยเปิ ดเผยต่อหนา้ นายทะเบียน

• การสมรสอยา่ งถูกตอ้ งตามกฎหมายก่อใหเ้ กิดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง สามีภรรยา 2 ประการ คือ ความสมั พนั ธท์ างครอบครัว ซ่ึงสามีภรรยา จะตอ้ งช่วยเหลืออุปการะเล้ียงดูกนั ตามความสามารถและฐานะของตน และความสมั พนั ธท์ างทรัพยส์ ิน ซ่ึงกฎหมายไดแ้ บ่งทรัพยส์ ินระหวา่ งสามี ภรรยาเป็นสินส่วนตวั และสินสมรส • การสมรสจะสิ้นสุดลงเมื่อศาลพพิ ากษาวา่ การสมรสเป็นโมฆะ หรือ โมฆียะ หรือใหเ้ พิกถอนการสมรส คูส่ มรสฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงตาย และเมื่อมี การหยา่

ความสัมพนั ธ์ระหว่างบิดามารดากบั บุตร แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 กรณี ไดแ้ ก่ การเป็ นบุตรชอบด้วยกฎหมาย การรับบุตรบุญธรรม • บตุ รที่ชอบดว้ ยกฎมายคือบุตรท่ีเกิดจาก • เป็นการจดทะเบียนรับบุตรผอู้ ื่นมาเล้ียงดู บิดามารดาซ่ึงจดทะเบียนสมรสกนั ตาม เป็นบุตรของตนเอง โดยดาเนินการตาม กฎหมาย ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ • เดก็ ซ่ึงเกิดจากบิดามารดาที่มิไดส้ มรสกนั • ผทู้ ี่จะรับผอู้ ่ืนเป็นบุตรบุญธรรมตอ้ งมี เป็นบุตรท่ีชอบดว้ ยกฎหมายของมารดา อายไุ ม่ต่ากวา่ 25 ปี บริบูรณ์ และตอ้ งแก่ ฝ่ ายเดียว หากตอ้ งการใหเ้ ป็นบุตรทช่ี อบ กวา่ ผทู้ ี่จะรับเป็นบุตรบุญธรรมอยา่ งนอ้ ย ดว้ ยกฎหมายของบิดาดว้ ยน้นั บิดาและ 15 ปี หรือถา้ เป็นผเู้ ยาวต์ อ้ งไดร้ ับการ มารดาจะตอ้ งจดทะเบียนสมรสกนั หรือ ยนิ ยอมจากบิดามารดาผใู้ หก้ าเนิด และ บิดาจะขอจดทะเบียนรับรองบุตร ไดร้ ับความยนิ ยอมจากคูส่ มรสก่อน • บุตรที่ชอบดว้ ยกฎหมายมีฐานะและมี • บตุ รบุญธรรมท่ีไดร้ ับการจดทะเบียน สิทธิตามกฎหมายกาหนด เช่น สิทธิการ ถูกตอ้ งมีฐานะและสิทธิเสมือนบตุ รท่ี รับมรดกในฐานะทายาท เป็นตน้ ชอบดว้ ยกฎหมาย

สิทธิและหน้าท่ีของบิดามารดา และ สิทธิและหน้าที่ของบุตร สิทธิและหน้าที่ของบิดามารดา สิทธิและหน้าที่ของบุตร • ใหก้ ารอุปการะเล้ียงดู และใหก้ ารศกึ ษา • มีสิทธิใชช้ ่ือสกลุ ของบิดา เวน้ แต่ไม่ ตามสมควร ปรากฏบิดาใหใ้ ชส้ กลุมารดาแทน • เป็นผใู้ ชอ้ านาจการปกครองบุตร • มีสิทธิไดร้ ับการอุปการะเล้ียงดู และ มีสิทธิในการกาหนดท่ีอยขู่ องบตุ ร ไดร้ ับการศึกษาตามสมควรจากบิดา และมีสิทธิทาโทษบุตรตามสมควร มารดา • ถา้ บุตรมีเงินได้ บิดามารดามีสิทธิ • มีหนา้ ท่ีตอบแทนบุญคุณบิดามารดา นามาใชเ้ ป็นคา่ เล้ียงดูอุปการะเล้ยี งดู และบุตรจะฟ้องบิดามารดา รวมท้งั และการศึกษาของบุตร ส่วนที่เหลือ บุพการีอื่นของตนในคดีแพง่ หรืออาญา ตอ้ งมอบใหแ้ ก่บุตรภายหลงั ไม่ได้ ตอ้ งขอใหพ้ นกั งานอยั การ ยกคดีข้ึนกล่าวให้

กฎหมายเร่ืองมรดก • มรดกหรือกองมรดก คือ ทรัพยส์ ิน สิทธิ หนา้ ท่ี และความรับผดิ ชอบต่าง ๆ ของเจา้ ของมรดก เม่ือถึงแก่ความตาย มรดกของเขายอ่ มตกแก่ทายาททนั ที ยกเวน้ สิทธิเฉพาะตวั ของผตู้ ายโดยแท้ จะไม่ตกทอดเป็นมรดก • ทายาท คือ ผมู้ ีสิทธิไดร้ ับมรดก มี 2 ประเภท คือ ทายาทโดยธรรม และทายาทตามพินยั กรรม ทายาทโดยธรรม ทายาทตามพนิ ัยกรรม • มีสิทธิตามกฎหมาย ไดแ้ ก่ บุตร บิดา • ผมู้ ีสิทธิไดร้ ับมรดกตามที่พนิ ยั กรรม มารดา คูส่ มรส พน่ี อ้ งร่วมบิดาหรือ ระบุไว้ แลว้ แต่ผตู้ ายจะต้งั ใจยก มารดาเดียวกนั ป่ ูยา ตา ยาย ลุง ป้า มรดกของตนใหใ้ ครบา้ ง นา้ อา ตามลาดบั ความห่างช้นั แต่คู่ • หากผตู้ ายยกมาดกใหก้ บั ทายาทตาม สมรส บุตรและบิดามารดา จะไดร้ ับ พนิ ยั กรรมท้งั หมด ทายาทโดยธรรม มรดกของผตู้ ายเท่าเทียมกนั จะไม่มีสิทธิไดร้ ับมรดกเลย

กฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั นิตกิ รรมและสัญญา

นิตกิ รรม • นิติกรรม ไดแ้ ก่ การแสดงเจตนาของบุคคลโดยชอบดว้ ยกฎหมาย มุ่งโดยตรงต่อการผกู ความสมั พนั ธ์ทางกฎหมายระหวา่ งบุคคล เพื่อที่จะก่อใหเ้ กิดความเปล่ียนแปลง โอน สงวน หรือระงบั ซ่ึงสิทธิ • นิติกรรมตอ้ งเป็นการแสดงเจตนาหรือความต้งั ใจออกมาภายนอก เช่น โดยวาจาหรือโดยการเขียนหนงั สือ • นิติกรรมตอ้ งทาโดยความสมคั รใจ คือ ตอ้ งไม่เกิดจากการเขา้ ใจผดิ หรือถูกขเู่ ขญ็ บงั คบั หรือขาดสติสมั ปชญั ญะ • นิติกรรมซ่ึงทาโดยผหู้ ยอ่ นความสามารถ เช่น ผเู้ ยาวอ์ าจถูกบอกลา้ งดว้ ยผแู้ ทน โดยชอบธรรมได้ ในกรณีที่ทาใหผ้ เู้ ยาวเ์ สียเปรียบเน่ืองจากหยอ่ นความสามารถน้นั

สัญญา • สัญญา คือ นิติกรรมชนิดหน่ึง แต่เป็นนิติกรรมท่ีมีบุคคล 2 ฝ่ าย หรือมากกวา่ น้นั มาตกลงกนั โดยแสดงเจตนาเสนอและสนองตรงกนั ก่อใหเ้ กิดสัญญาข้ึน • สัญญายอ่ มก่อใหเ้ กิดหน้ี เกิดความผกู พนั ระหวา่ ง เจา้ หน้ีกบั ลูกหน้ี โดยเจา้ หน้ีมีสิทธิเรียกร้อง ใหล้ ูกหน้ีชาระหน้ีไดต้ ามกฎหมาย

สัญญา • สัญญา คือ นิติกรรมชนิดหน่ึง แต่เป็นนิติกรรมท่ีมีบุคคล 2 ฝ่ าย หรือมากกวา่ น้นั มาตกลงกนั โดยแสดงเจตนาเสนอและสนองตรงกนั ก่อใหเ้ กิดสัญญาข้ึน • สัญญายอ่ มก่อใหเ้ กิดหน้ี เกิดความผกู พนั ระหวา่ ง เจา้ หน้ีกบั ลูกหน้ี โดยเจา้ หน้ีมีสิทธิเรียกร้อง ใหล้ ูกหน้ีชาระหน้ีไดต้ ามกฎหมาย

เงื่อนไขการทานิติกรรมสัญญาของบุคคล • กฎหมายกาหนด • ผเู้ ยาวจ์ ะทานิติกรรม • คนไร้ความสามารถตอ้ งอยใู่ นความ นิติกรรมและสญั ญา ไดต้ อ้ งไดร้ ับความ อนุบาลของผอู้ นุบาลท่ีแต่งต้งั โดยศาล ซ่ึง ข้ึน เพือ่ ใหบ้ ุคคลใช้ ยนิ ยอมจากผแู้ ทนโดย จะเป็นผทู้ านิติกรรมแทน ส่วนคนเสมือน เปลี่ยนแปลงสิทธิ ชอบธรรม เวน้ แต่ ไร้ความสามารถทากิจการเองไดท้ กุ อยา่ ง นิติกรรมท่ีไดม้ าซ่ึง เวน้ แต่บางอยา่ งที่ตอ้ งไดร้ ับความยนิ ยอม ของตนไดด้ ว้ ยความ สิทธิโดยสิ้นเชิง จากผพู้ ิทกั ษ์ ต้งั ใจ

• บุคคลลม้ ละลายจะ • นิติกรรมและสญั ญาที่ทา • การทานิติกรรมสญั ญาใดๆ ทานิติกรรมใดๆ ไม่ได้ ข้ึนโดยผเู้ ยาว์ คนไร้ จะตอ้ งไม่มีวตั ถุประสงคเ์ ป็นการ ความสามารถ และบุคคล ตอ้ งหา้ มชดั แจง้ โดยกฎหมาย ไม่ เจา้ พนกั งานพิทกั ษ์ ลม้ ละลาย โดยปราศจาก เป็นการพน้ วสิ ยั และตอ้ งไมข่ ดั ต่อ ความยนิ ยอมจากบคุ คลท่ี ทรัพยต์ ามคาสง่ั ศาล กฎหมายกาหนดจะ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรม จะเป็นผมู้ ีอานาจ อนั ดีของประชาชน กลายเป็ นโมฆียะ จดั การแทน

ประเภทของนิตกิ รรมสัญญา • นิติกรรมสญั ญา แบ่งได้ 2 ประเภท คือ นิติกรรมฝ่ ายเดียว และนิติกรรมสองฝ่ าย นิตกิ รรมฝ่ ายเดยี ว นิติกรรมสองฝ่ าย • เกิดข้ึนโดยการแสดงเจตนาของ • เกิดข้ึนโดยการแสดงเจตนาของ บุคคลฝ่ ายเดียวและมีผลทางกฎหมาย บุคคลท้งั สองฝ่ าย ต่างตกลงยนิ ยอม เช่น การก่อต้งั มูลนิธิ การรับสภาพ ระหวา่ งกนั หรือเรียกวา่ สญั ญา เช่น หน้ี การทาพนิ ยั กรรม การบอกกลา่ ว สญั ญาซ้ือขาย สญั ญากยู้ มื สญั ญา บงั คบั จานอง เป็นตน้ แลกเปลี่ยน สญั ญาขายฝาก จานอง จานา เป็นตน้

สัญญาซื้อขาย • เป็นสญั ญาท่ีผขู้ ายโอนกรรมสิทธ์ิใหก้ บั ผซู้ ้ือ โดยผซู้ ้ือตกลงจะให้ ราคาทรัพยส์ ินน้นั กบั ผขู้ าย • สัญญาซ้ือขายแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ สญั ญาซ้ือขายสาเร็จบริบูรณ์หรือสญั ญาซ้ือ ขายเสร็จเดด็ ขาด และสญั ญาจะซ้ือจะขาย • การซ้ือขายอสงั หาริมทรัพยห์ รือสงั หาริมทรัพยช์ นิดพเิ ศษ ตอ้ งตกลงกนั เป็น ลายลกั ษณ์อกั ษร หรือมีการวางมดั จา หรือมีการชาระหน้ีบางส่วนไวล้ ่วงหนา้ • หากมีฝ่ ายใดฝ่ ายหน่ึงไม่ปฏิบตั ิตามสญั ญา ยอ่ มฟ้อง ร้องใหป้ ฏิบตั ิตามสญั ญารวมท้งั เรียกคา่ เสียหาย จากฝ่ ายท่ีผดิ สญั ญาได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook