Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปฏิจจสมุปบาท สำหรับคนรุ่นใหม่.

ปฏิจจสมุปบาท สำหรับคนรุ่นใหม่.

Published by thiwadon jirapunyo, 2021-09-24 11:52:14

Description: พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวิไล).

Search

Read the Text Version

พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) ๒. กรณีที่มีการผัสสะกับ กามาวจรอนิฏฐารมณ คือกามารมณท่ี ไมนาปรารถนา จิตท่ีเกิดขึ้นจะเปน โทสมูลจิต คือจิตโกรธ ท่ีเปนบาป และ เวทนาท่ีเกิดข้ึนจะเปน โทมนัสเวทนา คือความทุกขใจ… ซ่ึงโทมนัสเวทนา ในกรณีน้ี ยอมเปนปจจัยใหเกิดซ่ึง วิภวตัณหา ความทะยานอยากในวิภพ, ความอยากในความพรากพนไปแหงตัวตน จากความเปนอยางใดอยางหน่ึง อันไมปรารถนา อยากทําลาย อยากใหดับสูญ แตเม่ือภพ คือความเปน อยางใดอยางหนึ่งอันไมปรารถนายังดํารงอยู ไมไดแตกสลายพนไปดังใจ ปรารถนา จิตจึงมี ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งใจ จนเกิด โทสะ มีความคิด ประทษุ ราย ตดิ ตามมา ซึ่งแนนอนเม่ือมี โทสะ ปฏิฆะ และวิภวตัณหา ในกามภพน้ันๆ เปนปจจัย กามุปาทาน คือความยึดติดถือม่ัน ในการปฏิเสธ คัดคาน ตอตาน ตอวัตถกุ ามนัน้ ๆ ก็จะเกิดข้นึ ตามมา พรอมกบั การเพิ่ม ทิฏุปาทาน ความยึดติดถือมั่นในทิฏฐิ คือความเห็นวา วัตถุกามน้ันๆ เปนส่ิงท่ีเลว เปนส่ิงที่ไมดีไมงาม เปนส่ิงที่ไมไดนํามาซึ่งความสุข แตกลับนําความทุกขมาให เปนส่งิ ท่ีแนน อนเช่อื ถือไดว า เลว เปนกามาวจรอนิฏฐารมณ คือกามารมณท่ี ไมนาปรารถนายิ่งๆ ข้ึนไป นอกจากนี้แลว อัตตวาทุปาทาน การยึดติด ถือม่ันในวาทะวาตน ก็จะไดรับการเสริมแรง ใหถลําลึกปกใจแนนลงไปอีก เพราะสําคัญวา “ตน” เปน “เจาของ” เวทนา คือโทมนัสเวทนา ท่ีเกิดขึ้น แลวนั้น มิหนําซํ้า ยิ่งมีการปฏิบัติในศีลพรต หรือขอวัตรใดๆ แลวมีสวน ทําใหสามารถหลบหนี พนไปไดจากกามาวจรอนิฏฐารมณ คือกามารมณท่ี ไมนาปรารถนา อันมีเวทนาเปนโทมนัส คือความทุกขใจดังกลาวแลวนั้น สีลัพพตุปาทาน ความยึดติดถือม่ันในศีลพรตน้ันๆ ก็จะถูกตอกย้ํา ใหมัน ย่ําแยยับเยินเขาไปอกี 86

ปฏจิ จสมปุ บาท สําหรบั คนรนุ ใหม ๓. กรณีที่มีการผัสสะกับอารมณ ที่เปน อรูปกรรมฐาน ๔ จาก กรรมฐานท้ัง ๔๐ กอง จิตที่เกิดข้ึนจะเปน อรูปาวจรกุศลจิต คือ จิตท่ีเปน กุศลในการบําเพ็ญสมถะกรรมฐานท่ีเปน อรูปฌาน โดยมีเวทนาเปนอุเบกขา ซ่ึงอุเบกขาเวทนาอันประณีตในกรณีนี้ ยอมเปนปจจัยใหเกิด อรูปราคะ ความติดใจในอารมณแหงอรูปฌานน้ันๆ โดยมี ภวตัณหา ความทะยานอยาก ในภพ คอื อรปู ภพอันประณตี น้นั ๆ เกิดข้ึนตามมา จากนั้น ภวตัณหา ความทะยานอยากในภพ คืออรูปภพอัน ประณีตนนั้ กจ็ ะเปนปจจัยสบื เนอื่ งตอไป ใหเ กดิ อุปาทาน ความยึดติดถือม่ัน อันไดแก ทิฏุปาทาน ความยึดติดถือม่ันในทิฏฐิ คือความเห็นวา การได เขาถึงอรูปฌาน ๔ นั้นๆ เปนส่ิงที่ดีงาม นํามาซึ่งความสงบอันประณีต เปนสภาวะอันมั่นคง เปนสิ่งที่แนนอนนาเชื่อถือ นาจะฝากผีฝากไขได เปน อรูปาวจรอฏิ ฐารมณ คอื อรูปกรรมฐานทีน่ าปรารถนายง่ิ ๆ ขึน้ ไป นอกจากน้ีแลว อัตตวาทุปาทาน การยึดติดถือม่ันในวาทะวาตน ก็จะไดรับการเสริมแรง ใหถลําลึกปกใจแนนลงไปอีก เพราะสําคัญวา “ตน” เปน “เจาของผูเขาถึง” เวทนา คืออุเบกขาเวทนาอันประณีต ที่เกิดข้ึน มาแลวน้ัน มิหนําซ้ํา ยิ่งมีการปฏิบัติในศีลในพรต หรือในขอวัตรใดๆ แลว มีสวนทําใหสามารถเขาถึงไดซึ่ง อรูปกรรมฐาน อันมีเวทนาเปนอุเบกขา อันประณีตอยางยิ่งเชนน้ันแลว สีลัพพตุปาทาน ความยึดติดถือม่ันใน ศลี พรตน้นั ๆ กจ็ ะถูกตอกยํา้ ปก แนน ใหติดยดึ จัง๋ หนับเขาไปอีก ๔. กรณีที่มีการผัสสะกับอารมณ ที่เปน รูปกรรมฐาน ๓๖ ใน กรรมฐานทั้ง ๔๐ กอง จิตท่ีเกิดขึ้นจะเปน รูปาวจรกุศลจิต คือ จิตท่ีเปนกุศล ในการบําเพ็ญสมถะกรรมฐานทเ่ี ปน รปู ฌาน โดยมีเวทนาเปน อุเบกขา สุข ปติและสุข หรือเพียงอุปจารสมาธิบาง ซึ่งเวทนาดังท่ีไดกลาวมานี้ ยอมเปน ปจ จยั ใหเกดิ รปู ราคะ ความติดใจในอารมณแหงรปู ฌานนั้นๆ โดยมี ภวตัณหา ความทะยานอยากในภพ คือรูปภพอันประณตี น้นั ๆ เกดิ ข้นึ ตามมา 87

พระภาสกร ภรู ิวฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) แลว ภวตัณหา ความทะยานอยากในภพ คือรูปภพอันประณีตนั้น จึงไดเ ปน ปจ จัยสืบเนือ่ งตอไป ใหเ กดิ อปุ าทาน ความยึดติดถือมั่น อันไดแก ทิฏุปาทาน ความยึดติดถือมั่นในทิฏฐิ คือความเห็นวา การไดเขาถึง รูปฌาน หรือการมีรูปกรรมฐานน้ันๆ เปนอารมณ เปนสิ่งที่ดีงาม นํามาซ่ึง ความสงบ ความสุข หรือความอ่ิมเอมใจอันประณีต เปนสภาวะอันม่ันคง เปนส่ิงที่แนนอน นาเช่ือถือ ควรท่ีจะฝากผีฝากไขได เปนรูปาวจรอิฏฐารมณ คือรปู กรรมฐาน ทนี่ า ปรารถนายง่ิ ๆ ขึน้ ไป นอกจากนี้แลว อัตตวาทุปาทาน การยึดติดถือมั่นในวาทะวาตน ก็จะไดรับการเสริมแรง ใหถลําลึกปกใจแนนลงไปอีก เพราะสําคัญวา “ตน” เปน “เจาของผูเขาถึง” เวทนา คือ อุเบกขาเวทนา สุข ปติ และความแนวแน อันประณีต ท่ีเกิดข้ึนแลวนั้น มิหนําซ้ํา ย่ิงมีการปฏิบัติในศีลพรต หรือใน ขอวัตรใดๆ แลว มีสวนทําใหสามารถเขาถึงรูปกรรมฐาน ที่มีเวทนาอัน ประณีตอยางยิ่ง เชนที่กลาวมาแลวนั้น สีลัพพตุปาทาน ความยึดติดถือมั่น ในศีลพรตนนั้ ๆ ก็จะถูกตอกย้ํา ปกแนน ใหต ดิ ยดึ จ๋งั หนับเขา ไปอีก 88



พระภาสกร ภรู วิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) จิตอาศัย ถาจิตนึกคิดปรุงแตงถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยูบอยๆ เปนอาจิณ เปนท่ีหลงใหลพอใจของจิต ที่นั่นก็เปนภพของจิต ถาจิตมีความหวงกังวล อาลัยอาวรณ กับส่ิงน้ันบาง ส่ิงนี้บาง หรือจิตไปยึดเหนี่ยว ยึดม่ันในสิ่งใด ส่ิงน้ันก็เปนภพของจิต ถาจิตมีอุปาทาน หลงผิดยึดม่ัน ไปเกาะอยูตรงไหน ตรงนั้นนั่นแหละ เปน ภพ คือท่ีอยขู องใจ หรือทอ่ี นั จติ อาศัยท้งั หมด ภพ คอื ภาวะชวี ติ ไดแ ก ภพ ๓ อกี นัยหน่งึ วา ไดแก กรรมภพ ภพคือกรรม (active-process of becoming) - ตรงกับ อภสิ งั ขาร ๓ อปุ ปตติภพ ภพคอื ทีอ่ บุ ัติ (rebirth-process of becoming) - ตรงกบั ภพ ๓ ภพ ๓ คอื ภาวะชวี ติ ของสตั ว, โลกเปนท่อี ยูของสัตว (existence, sphere) ๑. กามภพ ภพที่เปน กามาวจร, ภพของสัตวที่ยังเสวยกามคุณ คือ อารมณแหงอินทรยี ทัง้ ๕ ไดแ ก อบาย ๔, มนุษยโลก, และกามาวจรสวรรค ๖ ๒. รูปภพ ภพที่เปนรูปาวจร, ภพของสัตวผูเขาถึงรูปฌาน ไดแก รูปพรหมทง้ั ๑๖ ๓. อรูปภพ ภพที่เปนอรูปาวจร, ภพของสัตวท่ีเขาถึงอรูปฌาน ไดแก อรูปพรหมทั้ง ๔ ภูมิ ๔ หรอื ๓๑ คอื ชั้นแหงจิต, ระดับจิตใจ ระดับชีวิต มี ๔ คอื ๑. อบายภูมิ ๔ หมายถึง ภูมิที่ปราศจากความเจริญ มี ๔ คอื ๑) นิรยะ นรก, สภาวะหรือที่อันไมมีความสุขความเจริญ, ภาวะ เรา รอนกระวนกระวาย ๒) ตริ ัจฉานโยนิ กําเนดิ ดริ ัจฉาน, พวกมดื มวั โงเขลา 90

ปฏจิ จสมปุ บาท สาํ หรบั คนรุน ใหม ๓) ปต ตวิ ิสัย แดนเปรต, ภูมแิ หงผหู วิ กระหาย ไรส ขุ ๔) อสรุ กาย พวกอสรู , พวกหวาดหวน่ั ไรค วามร่นื เริง ๒. กามสุคติภูมิ ๗ หมายถึง กามาวจรภูมิท่ีเปนสุคติ, สุคติภูมิ ซง่ึ ยงั เก่ียวขอ งกับกาม คอื ๑) มนษุ ยโลก โลกคอื หมมู นุษย, ชาวมนุษย และ กามาวจรสวรรค ๖ คอื ๒) จาตุมหาราชิกา สวรรคช ้นั ทท่ี า วมหาราช ๔ ปกครอง ๓) ดาวดงึ ส สวรรคเ ปนแดนแหง เทพ ๓๓ อนั มีทา วสักกะเปนใหญ ๔) ยามา สวรรคเ ปนแดนแหง เทพผูป ราศจากความทกุ ข ๕) ดสุ ติ สวรรคเปน แดนแหงเทพผูเ อบิ อ่ิมดว ยสริ ิสมบัตขิ องตน ๖) นมิ มานรดี สวรรคเ ปน แดนแหง เทพผูยนิ ดีในการเนรมิต ๗) ปรนิมมิตวสวัตดี สวรรคเปนแดนแหงเทพ ผูยังอํานาจเปนไป ในสมบตั ทิ ่มี ีผูนิรมติ ให ภูมิทั้ง ๑๑ ใน ๒ หมวดนี้ รวมเปน กามาวจรภูมิ ๑๑ คือชั้นท่ียัง ทอ งเทยี่ วอยูใ นกาม ๓. รูปาวจรภูมิ ๑๖ หมายถึง ชัน้ ที่ทอ งเท่ยี วอยใู นรปู , ชัน้ รปู พรหม คือ ก. ปฐมฌานภูมิ ๓ คือระดบั ปฐมฌาน คือ ฌาน ๑ ๑) พรหมปาริสัชชา พรหมพวกท่ีเปนบริษัทบริวาร ของทานทาว มหาพรหม (สาวกภูมิ) ๒) พรหมปุโรหิตา พรหมพวกท่ีเปนปุโรหิต ของทานทาว มหาพรหม (ปจ เจกภูม)ิ ๓) มหาพรหมา พรหมพวกท่ีเปนใหญเปนหัวหนาในหมูพรหม (พทุ ธภมู ิ) 91

พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) ข. ทตุ ยิ ฌานภมู ิ ๓ คือระดับ ทุตยิ ฌาน คือ ฌาน ๒ ๔) ปรติ ตาภา พรหมพวกท่ีมรี ัศมนี อย (สาวกภมู )ิ ๕) อปั ปมาณาภา พรหมพวกทมี่ ีรัศมีประมาณไมไ ด (ปจเจกภูมิ) ๖) อาภสั สรา พรหมพวกทม่ี ีรศั มสี ุกปล่ังซานไป (พทุ ธภูม)ิ ค. ตติยฌานภมู ิ ๓ คอื ระดับ ตติยฌาน คอื ฌาน ๓ ๗) ปรติ ตสุภา พรหมพวกทมี่ ลี าํ รัศมงี ามนอ ย (สาวกภูม)ิ ๘) อัปปมาณสุภา พรหมพวกที่มีลาํ รัศมงี ามประมาณมิได (ปจเจกภมู )ิ ๙) สภุ กณิ หา พรหมพวกที่มี ลาํ รัศมงี ามกระจา งจา (พุทธภูม)ิ ง. จตุตถฌานภูมิ ๓-๗ คอื ระดบั จตุตถฌาน คือ ฌาน ๔ ๑๐) เวหัปผลา พรหมพวกท่มี ี ผลอนั ไพบลู ย ๑๑) อสญั ญสี ตั ว พรหมลูกฟก หรอื พวกสตั วทป่ี ราศจากสัญญา สุทธาวาส ๕ คอื พวกทีม่ ที ่ีอยูอ ันบริสุทธ์ิ, ท่ีเกิดของทานผูบริสุทธ์ิ คอื พระอนาคามี ๑๒) อวหิ า พรหมอนาคามี ผูไมเส่ือมหรอื ละไปเรว็ จากสมบัตขิ องตน ๑๓) อตปั ปา พรหมอนาคามี ผไู มเ ดอื ดรอ นไปกบั ใคร ๑๔) สทุ ัสสา พรหมอนาคามี ผมู ีความงดงามนาทศั นา ๑๕) สุทสั สี พรหมอนาคามี ผูมีทศั นาการมองเห็นไดแ จงชัด ๑๖) อกนิฏฐา พรหมอนาคามี ผูมีความสูงสุด มิไดมีความดอย หรอื เล็กนอยกวาใคร 92

ปฏิจจสมุปบาท สาํ หรับคนรุน ใหม ๔. อรูปาวจรภูมิ ๔ หมายถึง ชั้นที่ทองเที่ยวอยูในอรูป, ชั้น อรูปพรหม คือ ๑) อากาสานญั จายตนภูมิ อรูปพรหมที่เขาถงึ ภาวะทีม่ อี ากาศไมมที ีส่ ุด ๒) วิญญาณัญจายตนภูมิ อรปู พรหมทเี่ ขา ถงึ ภาวะท่ีมีวญิ ญาณ คือการรูไมมีทีส่ ุด ๓) อากิญจญั ญายตนภูมิ อรปู พรหมทีเ่ ขาถงึ ภาวะท่ไี มมีอะไรแมสักนดิ หน่งึ ๔) เนวสญั ญานาสัญญายตนภมู ิ อรูปพรหมที่เขาถึง ภาวะที่จะมีสัญญาก็ไมใ ช จะไมม สี ญั ญาก็ไมใ ช ในปฏิจจสมปุ บาทสาํ หรับคนรุนใหมน ี้ แสดงภพในแงของ จิตอาศัย เปนสําคัญ แตก็มีความตอเนื่องเชื่อมโยงกับภพ ในแงของ กายอาศัย อยางใกลชดิ อยูดวย ภพอันจิตอาศัย คือกรรมภพ หรือเจตนาภพ บังเกิดมาแตกรรม คือการปรุงแตงของจิต (active process of becoming) ในแตละรอบของ ขบวนวิถกี ารปรงุ แตง (อภสิ งั ขาร ๓) ซงึ่ จําแนกครา วๆ ได ๒ ลักษณะคอื ๑. มิจฉาทิฏฐิ-ภพ คือ ภพอันเนื่องจากมิจฉาทิฏฐิ คือ ความเห็นผิด ไปจากความเปน จรงิ ทีจ่ ิตไปกาํ หนดตดั สินเอาเองวา กามคุณ หรือกามวัตถุใดๆ เปนสิ่งที่ดี มีคุณคา เปนอิฏฐารมณ คืออารมณที่นาปรารถนา ที่นําความสุข มาให หรือไปกําหนดตัดสินวา กามคุณ หรือกามวัตถุใดๆ เปนส่ิงที่เลว ไมมี คณุ คา เปน อนฏิ ฐารมณ คืออารมณท ่ีไมน า ปรารถนา ท่นี าํ ความทุกขมาให ๒. โมหะ-ภพ คือภพอันเนื่องจากโมหะ คือ ความหลง ไมรูสภาพ ตามความเปนจริง ท่ีปกปด กําบัง หรืออําพรางความเปนจริงเอาไว เชน หลงยึดตดิ ในสุขสงบอนั เกิดจากฌาน 93



ปฏิจจสมุปบาท สาํ หรับคนรุนใหม เพ่ือความเขาใจใน ชาติ ความเกิดทางจิต อันเน่ืองมาแต ภพ อันจิตอาศัย เปนปจจัย ขอใหมาพิจารณาภาวะของความเปนมนุษยกัน กอน ซึ่งทานโบราณจารยไดอาศัยนัยจากคําเทศนาของพระพุทธองค เชน ลักษณะของสามีภรรยา ในสังวาสสูตร อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาฯ เลมที่ ๒๑ ขอที่ ๕๓ หนา ๘๘ ท่ีเปรียบสามีหรือภรรยาท่ีประพฤติช่ัว กระทําแตอกุศลกรรม วาเปน ชายผี หญิงผี สวนสามีหรือภรรยาที่ประพฤติดีประกอบแตกุศล วาเปนชายเทวดา หญิงเทวดา ทานโบราณาจารย จึงจําแนกมนุษยไวเปนประเภทตางๆ ๕ ประเภท ตาม “คุณภาพจิต” และ “พฤตกิ รรม” คือ ๑. มนุสสมนุสโส คือ มนุษยท่ีมีจิตใจเปนมนุษย เปนมนุษยที่ สมบูรณแกลวกลา เพราะคําวา “มนุษย” น้ัน แปลวา ผูมีใจสูง คือสูงดวย คุณธรรม มีศีล ๕ เปนบาทฐาน ไมทําใหใครเดือดรอน เคารพกฎเกณฑ ของสังคม มีธรรมะ คือความเมตตากรุณา ไมฆา ไมเบียดเบียนสัตวหรือใครๆ เปนตน ท้ังเปน ผรู ูจ กั เหตทุ ีส่ มควรและไมสมควร รูจักวาอะไรเปนประโยชน อะไรไมเปนประโยชน อะไรเปนกุศล อะไรไมเปนกุศล มีคุณภาพจิต สมรรถภาพจิต และสุขภาพจิตที่ดี ถามนุษยไมรูส่ิงเหลานี้ มนุษยก็ไมตางกับ สัตวเ ดยี รัจฉาน มนุษยท มี่ จี ติ ใจเปน มนุษย ทานจึงเรียกวา “มนสุ สมนสุ โส” ๒. มนุสสติรัจฉาโน คือ มนุษยท่ีมีจิตใจเหมือนเดียรัจฉาน หรือ สัตวในรางมนุษย คือ คนทั่วไปท่ีไมมีศีลธรรม มีศีลไมครบ ๕ ขอ ไมสนใจ ในการสรางความดี ใชชีวิตอยูไปเปนวันๆ ไมรูวาอะไรดีอะไรช่ัว เอาแตกิน นอน และสืบพันธุเทานั้น และดวยเหตุท่ีมีศีลไมครบ คือไมเต็มท้ัง ๕ ขอ จึงเปนเหตุใหยอหยอนในความแกลวกลา มีความกลัว มีความขลาดเขลา เปนเจาเรือน เชนเดียวกันกับสัตวเดียรัจฉาน ท่ีตองคอยหวาดระแวง หลบ ซอน หนภี ัยจากสตั วทีใ่ หญกวาดุรา ยกวา จะมาทํารายหรือจับกินเปนอาหาร ซ่ึงเปนไปตามวัฏจักรหวงโซของอาหารตามกฎของธรรมชาติ ทานเรียกวา “มนสุ สติรัจฉาโน” 95

พระภาสกร ภรู ิวฑฺฒโน (ภาวิไล) ๓. มนุสสเปโต คือ มนุษยท่ีมีจิตใจเหมือนเปรต หรือเปรตใน รางมนุษย มคี วามหิวกระหาย ทุรนทรุ าย ตะกละ ละโมบ อยากได ตองการ อยูเสมอ ไมรูจักอิ่ม ไมรูจักเต็ม ไมรูจักพอ อันเปนไปดวยอํานาจของ ความโลภ (โลภมูลจิต) จริงอยู ท่ีมนุษยปกติธรรมดา เมื่อประสบเขากับ อิฏฐารมณ คืออารมณที่นาปรารถนา อันตนมีอุปาทานยึดม่ันสําคัญหมาย เคยตั้งคาต้ังราคาเอาไว ยอมเกิดความโลภ ความปรารถนาอยากได อยากมี อยากเปน ในสง่ิ นั้น แตต ราบใดก็ตาม ทจ่ี ติ ยังมีกฎเกณฑข องศีล ๕ กํากับอยู แมจะอยากได อยากมี อยากเปนมากมายเพียงใด แตท่ีจะใหทําผิดศีล ขอหนึ่งขอใดใน ๕ ขอน้ัน ไมมีทางเด็ดขาด อยางนี้ ทานยังไมเรียกวา มนสุ สเปโต ดวยยงั เปน มนุสสมนสุ โส สมบรู ณอ ยู แตเมื่อใดท่ีความโลภ ความปรารถนาอยากได อยากมี อยากเปน ในสิ่งน้ัน มีกําลังมาก จนศีลไมมีกําลังพอที่จะขวางก้ันใจไวได… ความโลภ มีกําลังมากพอที่จะเบียดเบียน ฆาฟน ทํารายผูอื่น เพ่ือใหไดมาซ่ึงสิ่งที่ ปรารถนานั้นๆ หรือมากพอที่จะขโมย หยิบฉวย คดโกง จนถึงทําลายสัจจะ โกหก หลอกลวง ใหไดมาซ่ึงสิ่งอันตนปรารถนานั้นๆ จิตท่ีทุรนทุราย ดวย ความตะกละ ละโมบ โลภมากเชนนี้ ยอมเขาถึงภาวะของความเปนเปรต ที่เรียกวา “มนุสสเปโต” แมกายหยาบภายนอกเปนมนุษย แตกายละเอียด คืออาทิสมานกาย หรือกายทิพยภายใน อันสรางข้ึนดวย จิต ที่มีความโลภ ครอบงํา ปรากฏโดยศักยภาพแหงความเปนเปรต ซ่ึงผูมีจักษุ (ตา) ทิพย พึงรูได โบราณาจารยเรียกวา นี้คือ “มนุสสเปโต” หรือมนุษยผูมีใจเปนเปรต หรือมีใจอยใู นภพของเปรต ๔. มนุสสนิรยโก คือ มนุษยท่ีมีจิตใจเหมือนสัตวนรก หรือสัตว นรกในรางมนุษย เปนผูถูกกิเลสครอบงํา เห็นกงจักรเปนดอกบัว มีความ เรารอน โกรธแคน อาฆาตพยาบาท อยากทําลาย อยากใหบุคคล-ส่ิงท่ีเปน ปฏิปกษ แตกดับสูญสิ้นไป ไมรูจักเย็น ไมรูจักความสงบระงับ มีจิตที่ปราศจาก ความสุข ดวยอํานาจของความโกรธ (โทสมลู จติ ) และความหลง (โมหมลู จติ ) 96

ปฏจิ จสมปุ บาท สําหรับคนรนุ ใหม มนุษยท่ัวไป เม่ือประสบกับอนิฏฐารมณ คืออารมณท่ีไมนา ปรารถนา อันตนมีอุปาทานยึดม่ันสําคัญหมาย ต้ังคาตั้งราคาเอาไว วาจะ เปนส่ิงท่ีกอทุกขโทษใหเกิดข้ึนแกตน เขายอมเกิดปฏิฆะ ความขัดเคืองใจ ความเรารอน โกรธแคน อาฆาต พยาบาท อยากทําลาย อยากใหบุคคล หรือส่ิงท่ีเปนปฏิปกษแตกดับสูญส้ินไป แตตราบใดก็ตาม ที่ยังมีกฎเกณฑ ของศีล ๕ กํากับไวอยู แมจะโกรธแคน อาฆาต พยาบาท มากนอยเพียงใด ก็ไมยอมผิดศีลขอหน่ึงขอใดใน ๕ ขอนั้น โดยเด็ดขาด อยางน้ีทานยังไม เรยี กวา มนุสสนิรยโก ยงั เปน มนสุ สมนสุ โส สมบูรณอยู แตเมื่อใดท่ีความเรารอน โกรธแคน อาฆาต พยาบาท อยากทําลาย อยากใหบ คุ คลหรอื ส่ิงท่ีเปน ปฏิปก ษแตกดับสูญส้ินไปมีกําลังมาก เกินกําลัง ของศีลที่จะขวางก้ันใจไวได ความโกรธมีกําลังมากพอที่จะเบียดเบียน ฆาฟน ทํารายผูอื่น เพื่อใหพนไปจากส่ิงที่ไมปรารถนานั้นๆ หรือมากพอที่จะขโมย หยิบฉวย คดโกง จนถงึ ทาํ ลายสจั จะ โกหก หลอกลวง เพ่ือพรากพนไปจาก ส่ิงหรือภาวะที่ไมปรารถนาน้ันๆ จิตที่ทุรนทุราย ดวยโกรธแคนและเรารอน เชนนี้ ยอมเขาถึงภาวะของความเปนสัตวนรก ท่ีเรียกวา มนุสสนิรยโก แมกายหยาบภายนอกเปนมนุษย แตกายละเอียด คืออาทิสมานกาย หรือ กายทพิ ยภ ายใน อันถกู สรางข้นึ ดวย จิต ท่ีมคี วามโกรธครอบงาํ ปรากฏโดย ศกั ยภาพแหงความเปนสัตวนรก ซึ่งผูมีจักษุ (ตา) ทิพยพึงรูได โบราณาจารย ทา นเรยี กวา “มนสุ สนิรยโก” คือ มนษุ ยผ มู ใี จเปน สัตวนรก มีใจอยใู นนรก ๕. มนุสสเทโว คือ มนุษยที่มีจิตใจเหมือนเทวดา มนุษยท่ีเปน เสมือนเทพ ไดรับยกยองใหเปนสมมุติเทพผูประเสริฐ เปนท่ีพึ่งพิงอิงอาศัย ของชาวโลก มีเทพสมบัติ คือ หิริ ความละอายแกใจ ละอายตอความชั่ว และ โอตตัปปะ ความกลวั บาป เกรงกลัวตอทุจริตความช่ัวเหมือนกลัวอสรพิษ ไมอ ยากเขา ใกล หลกี ใหไกล ผใู ดมีพรอ มทง้ั สองอยา งน้ี กเ็ พียงพอแลวท่ีจะ “คุมครองโลก” ใหสงบรมเย็นและย่ังยืน ก็ถือวาเปน “เทวดา” ได คือเปน ผูรูจ ักละอายชว่ั กลวั บาป รืน่ เรงิ บันเทงิ อยู ทา นเรยี กวา “มนสุ สเทโว” 97

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) เทาที่ทา นโบราณาจารยจ าํ แนกมนษุ ยไวต าม “คณุ ภาพจิต” และตาม “พฤติกรรม” มีปรากฏอยูเพียง ๕ ประเภทตามท่ีกลาวมาแลวนี้ แตเพื่อให ครอบคลุมกวางขวางยงิ่ ข้นึ ผูเ ขยี นจึงไดเพ่มิ เขา ไปอกี ๓ ประเภท คอื ๖. มนุสสวินิปาโต คือ มนุษยที่มีจิตใจเหมือนอสุรกาย หรือ อสุรกายในรางมนุษย เปนผูมีความปรารถนาอันลามก มีความเห็นผิด ทํานองคลองธรรม ยินดีในวัตถุกาม หรือสิ่งปฏิกูล อันชนทั่วไปพึงรังเกียจ มีความสะดุง หวาดหวั่น ไรความรื่นเริง ดวยกลัววาผูอ่ืนจะมาลวงรู ในวิสัย อันผิดปกติผดิ ธรรมดาแหง ตน ซงึ่ เปนไปและดํารงอยู ดวยอํานาจของความ หลงผดิ (โมหมลู จิต) วนิ บิ าต หมายถงึ โลก หรอื วิสัย เปนทตี่ กไปแหงสตั วอ ยางไรอํานาจ , แดนเปนที่ตกลงไปพินาศยอยยับ, กําเนิด อสุรกาย “พวกอสูร” ภพแหง สัตวเ กิดในอบายพวกหนึ่ง เปนพวกสะดงุ หวาดหว่ัน ไรความร่นื เริง เชนเดียวกับกรณีของเปรตและสัตวนรก มนุษยมีสมรรถภาพท่ีจะ คิดนึกปรุงแตงไปตางๆ นาๆ กอใหเกิดความคิดใหมๆ ท่ีสรางสรรค หรือ แตกตางไปจากท่ีรับรูคุนเคยกันมาตั้งแตดั้งเดิม แตตราบใดก็ตาม ท่ีจิตยังมี กฎเกณฑของศีล ๕ กํากับไวอยู แมจะปรุงแตงสรางสรรคพิสดารไปมากมาย ลํ้าลกึ เพียงใด แตท ี่จะใหม าผดิ ศีลขอหนึง่ ขอ ใดใน ๕ ขอ นั้น ไมมีทางเด็ดขาด อยา งน้ียังไมเรียกวา มนุสสวนิ ิปาโต ดวยยงั เปน มนสุ สมนสุ โส สมบูรณอยู แตเมื่อใดท่ีความปรารถนาอันลามก ที่เห็นผิดจากทํานองคลองธรรม ยินดีในวัตถุกาม หรือสิ่งปฏิกูลอันชนท่ัวไปพึงรังเกียจน้ัน มีกําลังมาก จนศีล ไมมีกําลังพอที่จะขวางกั้นใจไวได และความปรารถนาอันลามกหลงผิดน้ัน มีกําลังมากพอท่ีจะเบียดเบียน ฆาฟน ทํารายผูอื่น เพื่อใหไดมาซึ่งสิ่งท่ี ปรารถนาลามกนนั้ ๆ หรอื มากพอทจี่ ะขโมย หยิบฉวย คดโกง จนถึงทําลาย สัจจะ โกหก หลอกลวง เพ่ือใหไดมาซึ่งส่ิงอันตนปรารถนาลามกน้ันๆ จิตท่ี ทุรนทุราย โหยหา หลบเรน ดวยความลามกหลงผิดเชนน้ี ยอมเขาถึงภาวะ ของความเปน อสุรกาย ท่สี มมติเรียกวา มนสุ สวนิ ปิ าโต 98

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรบั คนรนุ ใหม แมกายหยาบภายนอกเปนมนุษย แตกายละเอียด คืออาทิสมานกาย หรือกายทิพยภายใน อันสรางขึ้นดวย จิต ท่ีมีความลามกหลงผิดครอบงํา ปรากฏโดยศักยภาพแหงความเปนอสุรกาย ซึ่งผูมีจักษุ (ตา) ทิพยพึงรูได น้จี งึ เรยี กวา “มนุสสวนิ ิปาโต” หรอื มนษุ ยผูม ใี จเปนอสรุ กาย หรือมีใจอยูใน ภพของอสุรกาย พรหม หมายถึง ผูประเสริฐ, เทพในพรหมโลก เปนผูไมเก่ียวของ ดวยกาม มอี ยู ๒ จําพวก คอื รปู พรหม มี ๑๖ ชน้ั และอรปู พรหม มี ๔ ชน้ั พรหมโลก คือ ที่อยูของพรหม ซ่ึงตามปกติ “พรหมโลก” จะหมายถึง รปู พรหม ซ่งึ มอี ยู ๑๖ ชัน้ (เรยี กวา รูปโลก) ตามลาํ ดบั ดงั นี้ ๑. พรหมปาริสชั ชา ๒. พรหมปุโรหิตา ๓. มหาพรหมา ๔. ปริตตาภา ๕. อปั ปมาณาภา ๖. อาภสั สรา ๗. ปริตตสุภา ๘. อปั ปมาณสภุ า ๙. สุภกิณหา ๑๐. อสัญญสี ตั ตา ๑๑. เวหัปผลา รวมกบั สุทธาวาส คอื ช้ันของพรหมทีเ่ ปน พระอนาคามี อกี ๕ ชั้น คือ ๑๒. อวหิ า ๑๓. อตปั ปา ๑๔. สุทัสสา ๑๕. สุทัสสี ๑๖. อกนฏิ ฐา นอกจากนี้ยงั มี อรปู พรหม ซง่ึ แบง เปน ๔ ช้นั (เรียกวา อรูปโลก) คือ ๑. อากาสานัญจายตนะ ๒. วญิ ญาณัญจายตนะ ๓. อากิญจัญญายตนะ ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนะ พรหมวิหาร หมายถึง ธรรมเคร่ืองอยูของพรหมคือผูประเสริฐ, ธรรมประจําใจอันประเสริฐ, ธรรมประจําใจของทานผูมีคุณความดีย่ิงใหญ มี ๔ คอื เมตตา กรุณา มุทิตา อเุ บกขา 99

พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) ๗. มนุสส-รูปพรหม คือ มนุษยท่ีมีจิตใจเหมือนพรหม หรือ มนุษยที่เปนเสมือนพรหม เปนผูไมเกี่ยวของดวยกาม เปนผูประเสริฐดวย ความเปน ผูมี “พรหมสมบัติ” คือ รูปฌาน และพรหมวิหารธรรม คือมีทั้ง เมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา ถาผูใดถึงพรอมดวยประการทั้งสองนี้ แมประการหนึ่ง ก็สามารถเรียกไดว า เปน “มนสุ ส-รปู พรหม” ๘. มนุสส-อรปู พรหม คอื มนษุ ยทีม่ ีจติ ใจเหมือนอรูปพรหม หรือ มนุษยที่เปนเสมือนอรูปพรหม เปนผูไมเก่ียวของดวยกาม เปนผูประเสริฐ ดวยความเปนผูมี “อรูปสมบัติ” คือ อรูปฌาน ซึ่งมนุษยผูใดท่ีดําเนินจิต เขาถึงอรูปฌานอยู หรือเสวยผลแหงอรูปฌานอยู ก็สามารถเรียกไดวา เปน “มนุสส-อรูปพรหม” จากภาวะของความเปนมนุษยท่ีไดจําแนกมาแลวทั้ง ๘ ประเภท คือท่ีทานโบราณาจารยไดแสดงไวแลว ๕ ประเภท และท่ีไดเพ่ิมเขามาให สมบรู ณอีก ๓ ประเภท เปน การแสดงใหเ ราไดรวู า ในทกุ ๆ รอบของสังขาร การปรุงแตงท่ีเกิดข้ึนทางใจน้ัน สงผลใหเกิดภพ คือภพอันจิตอาศัยข้ึนมา และดวยอาํ นาจของภพอันจิตอาศัยน้ีเอง ท่ีเปนปจจัยใหเกิดชาติทางจิต คือ ภาวะของความเปนมนษุ ย ทแ่ี ตกตางกนั ทง้ั ๘ ประเภท ดังทีก่ ลา วมาแลว เม่ือมาไลเรียงจากการปรุงแตงของจิต ที่เปนไปในอภิสังขาร ๓, ๔ กลาวคอื ๑. กามาวจร-ปุญญาภิสังขาร ปรุงแตงเปนบุญ ดวยกุศลเจตนาใน กศุ ลกรรมบถ ๑๐ ๒. กามาวจร-อปุญญาภิสังขาร ปรุงแตงเปนบาป ดวยอกุศลเจตนาใน อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ ๓. รูปาวจร-ปุญญาภิสังขาร ปรุงแตงเปน รูปฌาน-สมถกรรมฐาน ดว ยการเพงอารมณจนใจแนว แน เปน อปั ปนาสมาธิ มีรปู ธรรมเปนอารมณ ๔. อรปู าวจร-อาเนญชาภิสังขาร ปรุงแตงเปน อรูปฌาน-สมถกรรมฐาน ดวยการเพง อารมณจ นใจแนวแน เปน อัปปนาสมาธิ มีอรูปธรรมเปน อารมณ 100

ปฏจิ จสมุปบาท สาํ หรับคนรุน ใหม ทง้ั หมดนก้ี อ ใหเ กิดภพชาติอนั จติ อาศยั ดังตอไปนี้ ๑. ถาเปนการปรุงแตงที่เกิดข้ึนในกามาวจร โดยมีอารมณเปน อิฏฐารมณ และปรุงแตงดวย จิตโลภ ท่ีมีกําลังมากเกินกวาขอบเขตของ ศีล ๕ จะวิรัติ คืองดเวนไวได จิตนั้นยอมไดภพอันเปนมิจฉาทิฏฐิภพ คือ เห็นผิดวาอารมณน้ันเปน อิฏฐารมณท่ีดีงาม นําความสุขมาให และไดชาติ ทางใจ คอื ความมใี จเปน เปรต ทีท่ า นเรยี กวา มนุสสเปโต ๒. ถาเปนการปรุงแตงท่ีเกิดขึ้นในกามาวจร โดยมีอารมณเปน อนิฏฐารมณ และปรุงแตงดวย จิตโกรธ ที่มีกําลังมากเกินกวาขอบเขตของ ศีล ๕ จะวิรัติ คืองดเวนไวได จิตนั้นยอมไดภพอันเปนมิจฉาทิฏฐิภพ คือ เห็นผิดวาอารมณน้ันเปน อนิฏฐารมณที่เลวทราม นําความทุกขมาให และ ไดช าตทิ างใจ คอื ความมใี จเปน สตั วนรก ทที่ า นเรียกวา มนุสสนริ ยโก ๓. ถาเปนการปรุงแตงที่เกิดขึ้นในกามาวจร โดยมีอารมณเปน อิฏฐารมณ และปรุงแตงดว ย จติ หลงและลามก ที่มีกําลังมากเกินกวาขอบเขต ของศีล ๕ จะวิรัติ คืองดเวนไวได จิตนั้นยอมไดภพอันเปนมิจฉาทิฏฐิภพ คือเห็นผิดวาอารมณน้ัน (อันเปนอนิฏฐารมณ คืออารมณที่ไมดี ไมนา ปรารถนา ของบุคคลปกติ) เปน อิฏฐารมณที่ดีงาม นําความสุขมาให และ ไดช าติทางใจ คอื ความมใี จเปนอสรุ กาย ท่ีเรียกไดว า มนุสสวนิ ปิ าโต ๔. ถาเปนการปรุงแตงท่ีเกิดขึ้นในกามาวจร โดยมีอารมณเปนไดทั้ง อฏิ ฐารมณ และอนฏิ ฐารมณ เขา สสู งั ขารการปรุงแตง ดวย จติ หลง ท่ีมกี ําลัง มากเกินกวาขอบเขตของศลี ๕ จะวิรตั ิงดเวนไวได คือมีศีลไมครบทั้ง ๕ ขอ จิตนั้นยอมไดภพอันเปนมิจฉาทิฏฐิภพ คือเห็นผิดวาอารมณนั้นเปน อิฏฐารมณ ทด่ี งี าม นําความสขุ มาใหบาง เปน อนฏิ ฐารมณ ท่ีเลวทราม นําเอา ความทุกขมาใหบ าง และไดชาตทิ างใจ คอื ความมใี จเปนสตั วเดรัจฉาน ที่ทาน เรยี กวา มนุสสติรจั ฉาโน 101

พระภาสกร ภูริวฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) ๕. ถาเปนการปรุงแตงท่ีเกิดขึ้นในกามาวจร โดยมีอารมณเปนไดท้ัง อิฏฐารมณ และอนิฏฐารมณ เขาสูสังขารการปรุงแตง ดวย จิตเปนมหากุศล บาง จิตโลภบาง จิตโกรธบาง จิตหลงบาง จิต (ใกล) ลามกบาง ท่ีมี กําลังไมเกินกวาขอบเขตของศีล ๕ จะวิรัติงดเวนไวได คือสามารถรักษาศีล ไวไดครบถวนทั้ง ๕ ขอ แมจิตนั้นจะไดภพอันเปนมิจฉาทิฏฐิภพ คือ ความเห็นผิด วาอารมณน้ันเปน อิฏฐารมณ ท่ีดีงาม นําความสุขมาใหบาง เปน อนิฏฐารมณ ท่เี ลวทราม นาํ เอาความทกุ ขมาใหบาง แตก็ยังไดชาติทางใจท่ีดี คอื ความมีใจเปนมนษุ ย ดว ยอํานาจของศีล ๕ ทที่ านเรียกวา มนสุ สมนุสโส ๖. ถาเปนการปรุงแตงท่ีเกิดข้ึนในกามาวจร โดยมีอารมณเปน อิฏฐารมณ และเขาสูสังขารการปรุงแตงดวย จิตเปนมหากุศล ที่ประกอบ ดวย หิริ ความละอายชั่ว และ โอตตัปปะ ความกลัวบาป ทั้งยังสามารถ วิรัติงดเวนรักษาศีลไวไดครบถวนทั้ง ๕ ขอ แมจิตนั้นจะไดภพ อันเปน มิจฉาทิฏฐิภพ คือความเห็นผิดวาอารมณนั้นเปน อิฏฐารมณ ที่ดีงาม นําความสุขมาให แตก็ยังไดชาติทางใจที่ดี คือความมีใจเปนเทวดา ดวย อาํ นาจของ หริ ิ และโอตตปั ปะ ทท่ี า นเรยี กวา มนสุ สเทโว ๗. ถาเปนการปรุงแตงที่เกิดขึ้นในรูปาวจร โดยมีอารมณเปน รูปกรรมฐาน ๓๖ ในกรรมฐาน ๔๐ มีสังขารการปรุงแตงเปนสมถะ คือ รูปฌาน ดว ย จติ ที่เปนรูปาวจรกศุ ลจติ มีสมาธิแนวแน เปนอุปจารสมาธิบาง ฌาน ๑ บาง ฌาน ๓ บา ง ฌาน ๔ บาง และมีความสงบระงับไปแหงกาม มี ปติ สุข และอเุ บกขาเปนเวทนา ยอมเกิด รูปราคะ ความติดใจในอารมณแหงรูปฌาน หรือรูปธรรมอันประณีตนั้นๆ แลวเกิดอุปาทาน ความยึดม่ันในสุขสงบอัน ประณีต ท่ีมาแตการดําเนินไปในรูปฌานนั้นๆ ภพที่เกิดข้ึนตามมาจึงเปน โมหะภพ ความหลงใหลติดใจในอารมณแ หงรูปฌานอันประณีตนั้น แตก็ยัง ไดชาติทางใจท่ีดี คือความมีใจเปนพรหม ผูประเสริฐ ดวยอํานาจของฌาน และความปลอดระงบั ไปแหงกามทงั้ หลาย ทเี่ รยี กไดว า มนสุ ส-รปู พรหม 102

ปฏจิ จสมุปบาท สาํ หรบั คนรุนใหม ๘. ถาเปนการปรุงแตงท่ีเกิดขึ้นใน อรูปาวจร โดยมีอารมณเปน อรูปกรรมฐาน ๔ ในกรรมฐาน ๔๐ มีสังขารการปรงุ แตง เปนสมถะ คืออรูปฌาน ดวย จิตท่ีเปนอรูปาวจรกุศลจิต โดยมีสมาธิ ความแนวแน เปนอัปปนาสมาธิ ในระดับอรูปฌาน มีความสงบระงับไปแหงกามและอุเบกขาเปนเวทนา ยอ มเกิด อรปู ราคะ คอื ความตดิ ใจในอารมณแหงอรูปฌาน หรือในอรูปธรรม อนั ประณตี นั้นๆ แลว เกิดอปุ าทาน คอื ความยดึ มั่นในความสุขสงบอันประณีต ท่ีมาแตการดําเนินไปในอรูปฌานน้ันๆ ภพท่ีเกิดขึ้นตามมาจึงเปน โมหะภพ คือความหลงใหลติดใจในอารมณแหงอรูปฌานอันประณีตนั้น แตก็ยังไดชาติ ทางใจที่ดี คอื ความมีใจเปนอรูปพรหมผูประเสริฐ ดวยอํานาจของอรูปฌาน และความปลอดระงับไปแหงกามทงั้ หลาย ท่ีเรยี กไดว า มนุสส-อรูปพรหม ส่ิงที่นาสนใจก็คือ ขณะเมื่อเรายังมีชีวิต ยังดํารงขันธ ๕ ไวไดนั้น ในทกุ ๆ รอบของการปรุงแตงทางใจ ที่เปน ไปใน อภิสังขาร ๓, ๔ (บุญ, บาป, รปู ฌาน, อรูปฌาน) ยอมเปนปจจัยตอเนื่อง ที่กอใหเกิดภพและชาติ อันจิต อาศัยข้ึนมา แมกายหยาบภายนอกจะปรากฏเปนมนุษยอยูก็ตาม แตใจก็มี การปรุงแตงเปนไปตางๆ กลาวคือ มีใจเปนพรหม ทั้งรูปพรหมและอรูปพรหม บาง หรือวามีใจเปนเทวดาบาง เปนมนุษยบาง เปนเดรัจฉาน เปนเปรต เปน อสรุ กาย เปนสัตวนรกประการตางๆ บาง อยางที่ไดบรรยายมาแลวทั้งหมด ซึ่งใจท่ีเปนไปตางๆ เชนนี้ ไมเพียงแตจะมีภพและชาติอันจิตอาศัยเกิดข้ึน เทานั้น แมกายละเอียด คืออาทิสมานกาย หรือกายทิพยภายใน อันถูกปรุงแตง สรางข้นึ ดวยจิต ก็จะปรากฏโดยศักยภาพแหงความเปนไปในภพชาติอันจิต อาศัยนั้น ซ่ึงผูมีจักษุ (ตา) ทิพยพึงทราบได และยังมีผลปรุงแตงเชื่อมโยง มาสูกายภายนอกอีกดวย คือความผองใส สดช่ืน เบิกบาน หรือความเศรา หมอง เรา รอ น เครงเครียด ที่ปรากฏใหเห็นได ท้ังบนใบหนาและเรือนกาย ของบคุ คลคนน้นั 103

พระภาสกร ภรู ิวฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) ในพระสุตตันตปฎก ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค โปฏฐปาทสูตร พระ พุทธองค ทรงตรัสกับโปฏฐปาทปริพาชก และจิตตหัตถิสารีบุตรไวตอนหน่ึง มีความวา …[๓๐๒] ดูกรโปฏฐปาทะ ความไดอัตตา ๓ เหลาน้ี คือ ไดอัตตา ทห่ี ยาบ ๑ ไดอ ตั ตาทสี่ ําเร็จดวยใจ ๑ ไดอ ัตตาท่หี ารปู มไิ ด ๑ ความไดอัตตาท่ีหยาบเปนไฉน คือ อัตตาที่มีรูป ประกอบดวย มหาภตู ๔ บริโภคกวลงิ การาหาร น้คี วามไดอ ตั ตาทห่ี ยาบ ความไดอัตตาท่ีสําเร็จดวยใจเปนไฉน คือ อัตตาที่มีรูปสําเร็จดวยใจ มีอวัยวะนอยใหญครบถวน มีอินทรียไมบกพรอง น้ีความไดอัตตาที่สําเร็จ ดวยใจ ความไดอัตตาท่ีหารูปมิไดเปนไฉน คือ อัตตาอันหารูปมิได สําเร็จ ดว ยสัญญา น้ีความไดอตั ตาท่ีหารูปมิได… …[๓๑๒] ดูกรจิตตะ อยางนั้นแหละ สมัยใด มีการไดอัตตาท่ีหยาบ สมัยนั้น ไมนับวาไดอัตตาท่ีสําเร็จดวยใจ ไมนับวาไดอัตตาท่ีหารูปมิได นับวา ไดอ ัตตาท่หี ยาบอยา งเดยี ว. ดูกรจิตตะ สมัยใด มีการไดอัตตาท่สี ําเร็จดว ยใจ สมัยนนั้ ไมนบั วา ไดอัตตาท่ีหยาบ ไมนับวาไดอัตตาท่ีหารูปมิได นับวาไดอัตตาที่สําเร็จดวยใจ อยางเดยี ว. ดกู รจิตตะ สมยั ใด มกี ารไดอ ัตตาที่หารปู มไิ ด สมัยนน้ั ไมนับวาได อัตตาที่หยาบ ไมนับวาไดอัตตาที่สําเร็จดวยใจ นับวาไดอัตตาท่ีหารูปมิได อยา งเดียว… จากพระสตู รท่ยี กมานี้ วเิ คราะหไดว า ๑. ความไดอ ัตตาทหี่ ยาบ หมายถึง การท่จี ิตเขา ครอบครอง ควบคุม สําคัญวาเปนเจาของ ซึ่งความเปนตัวตน ในกายหยาบ คือรางกายท่ีประกอบ ดวยธาตุ ๔ มี ดิน น้ํา ลม ไฟ และอยูไดดวยการบริโภคอาหาร (คําขาว) ทปี่ ระกอบดว ยธาตุ ๔ มี ดนิ นํา้ ลม ไฟ 104

ปฏิจจสมุปบาท สําหรบั คนรนุ ใหม ๒. ความไดอ ตั ตาที่สาํ เรจ็ ดวยใจ หมายถึง การท่จี ติ เขาครอบครอง ควบคุม สาํ คญั วา เปน เจาของ ซงึ่ ความเปน ตวั ตน ในรา งกายภายใน กายละเอียด กายทิพย หรือ อาทิสมานกาย ท่ีสําเร็จดวยใจ อันมีอวัยวะนอยใหญครบถวน มอี ินทรยี ไ มบ กพรอ ง ๓. ความไดอัตตาท่ีหารูปมิได คือ การท่ีจิตเขาครอบครอง ควบคุม สําคัญวาเปน เจา ของ ซงึ่ อรูปภาวะ (อรูปพรหม) อันสําเร็จดว ยสัญญา ซึ่งในสมัยหนึ่ง จิตจะครอบครอง ควบคุม หรือสําคัญวาเปนเจาของ ซ่ึงความเปนตัวตนในอัตตา ไดเพียงอยางใดอยางหน่ึงในสามประการน้ีเทาน้ัน ไมอาจจะครอบครอง ควบคุม ไดมากกวา หน่ึงอตั ตาในขณะเดียวกนั (ผูวิจัยใชศัพทวา “ศักยภาพ” เชน “ศักยภาพแหงความเปนไป ในภพชาติอันจิตอาศัย” เปนตน ไมไดกลาววา เปนการปรากฏรูปรางของ กายละเอียดซอนทับอยูกับกายหยาบ อยางท่ีมักมีผูอธิบายกัน เพราะยังไมพบ หลักฐานอางอิงโดยตรงท่ีมาในพระไตรปฎก ซึ่งความหมายของศักยภาพน้ี ก็คือความพรอมตอการจุติปฏิสนธิตอไป หากมีการแตกดับส้ินไปแหง กายหยาบ หรือในกรณีท่ีมีการเคลื่อนออกไปแหงจิต จากกายหยาบไปสู ภายนอก อยางกรณีท่ีเรียกกันวา “ถอดกายทิพย” หรือ การปฏิบัติแบบ มโนมยิทธิเต็มกําลัง ซ่ึงเปนการใชอํานาจของจิตท่ีเปนสมาธิ นิรมิตรูปอัน เกิดแตใจ คือนิรมิตกายอื่น (กายทิพย) นอกจากกายน้ี (กายหยาบ) ทาน เปรียบไวว า “เปรยี บเหมือนบุรุษ จะพงึ ชักไสออกจากหญา ปลอ ง” เปน ตน) 105



ปฏิจจสมุปบาท สําหรับคนรุนใหม ในเม่อื มกี ารผัสสะ เกิดวญิ ญาณความรูใหมๆ เขามาสูกระบวนการ ของการปรุงแตงใหมๆ อยูตลอดเวลา น้ีจึงเปนเหตุใหภพและชาติอันจิตอาศัย และเกิดขึ้นอยูเดิมนั้น มีความเปลี่ยนแปลง กลับกลาย สลายตัว และแตกดับ ไปอยา งรวดเรว็ พระอภิธรรมกลาวถงึ อายุของรปู วา มอี ายุอยนู านเทา กบั ๑๗ ขณะจิต หรือเทากับหนึ่งชวงวิถีจิตเทานั้น ซ่ึงสอดคลองกันกับกรณีของภพและชาติ อนั จิตอาศัย อยา งทไี่ ดบรรยายมาน้ี ความโศก ความครํ่าครวญ ทกุ ข โทมนัส คบั แคน ใจ จงึ เกดิ มีข้ึน กองทุกขท้ังมวลจงึ เกดิ มีขน้ึ ดว ยอาการอยา งนี้ กระบวนการของปฏจิ จสมุปบาทนน้ั ดําเนินสืบเนื่องหมุนเวียนกันไป ในทกุ ขณะของการดําเนินชีวิต และแมจะมีผูกลาววา ชีวิตเปนจริงก็เฉพาะที่ ปรากฏเปนปจจบุ ันขณะ แตเราก็ไมสามารถที่จะปฏิเสธถึงความสัมพันธระหวาง อดีต ปจจุบัน และอนาคตได เพราะเหตุวา ในเมื่อมีสวนยอย คือขณะจิต แตละขณะๆ คร้ันเช่ือมหลายๆ สวนยอยเขาดวยกัน จึงเปนวิถีจิต และเมื่อ หลายๆ วิถีจิตตอเน่ืองทอดยาวออกไป ในที่สุดก็กลายเปนวิถีชีวิต ฉันใด เวลาก็เชนกัน ในเมื่อมีวินาทีได ก็ยอมจะมีนาที มีนาทีได ก็ยอมจะมีช่ัวโมง มีชั่วโมงได ก็ยอมจะมีวัน มีสัปดาห มีเดือน มีป มีหลายๆ ป ทศวรรษ ศตวรรษ หลายๆ ศตวรรษ ลา นป กปั มหากปั อสงไขย ฯลฯ ได ปฏิจจสมุปบาท ก็ฉันน้ัน อาจพิจารณาในแบบพระอภิธรรม ที่แสดง ถึงกระบวนการแหงปฏิจจสมุปบาทท้ังหมด ที่เกิดครบถวนในขณะจิตอัน เดยี ว1 หรือจะขยายยืดยาวออกไป จนกลายเปนแบบขามภพขามชาติ อยาง ทพ่ี บในคมั ภีรรนุ อรรถกถา ก็ไมไ ดผ ดิ หรือเสียหายแตป ระการใด 1 เจตนาสตู ร ส.ํ นิ. ๑๖/๑๔๕/๗๘, ทกุ ขนโิ รธสตู ร สํ.นิ. ๑๖/๑๖๓/๘๗, โลกนโิ รธสตู ร ส.ํ น.ิ ๑๖/๑๖๔/๘๗, อภิธรรมภาชนยี  แหงปจจยาการวิภงั ค, อภ.ิ วิ. ๓๕/๒๗๔-๔๓๐/๑๘๕-๒๕๗ 107

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) แตทั้งหมดนี้ ปฏิจจสมุปบาท ก็คือ กระบวนการหมุนเวียน เกิด-ดับ แหงชีวิต และความทุกขของบุคคล จึงควรทําความเขาใจให ชดั เจน ในความหมายของคาํ วา “ทกุ ข” เสียกอน ความหมายของคาํ วา “ทุกข” ในพทุ ธธรรม ทุกขตา ๓ หมายถึง ความเปนทุกข, ภาวะแหงทุกข, สภาพทุกข, ความเปน สภาพท่ที นไดยาก หรือคงอยูในสภาวะเดิมไมไ ด มี ๓ ประการ คือ ๑. ทุกขทุกขตา หมายถึง ทุกขท่ีเปนความรูสึกทุกข คือ ความทุกข ทางกาย (ทุกข) ความทุกขทางใจ (โทมนัส) อยางที่เขาใจกันโดยสามัญ ตรงตามชือ่ ตามสภาพ ที่เรียกกนั วา ทุกขเวทนา ซ่ึงเปนความทุกขอยางปกติ ที่เกิดขนึ้ เมื่อประสบกบั อนฏิ ฐารมณ คอื อารมณที่ไมนาปรารถนา อันกระทบ กระทัง่ บีบค้นั ๒. วิปริณามทุกขตา หมายถึง ทุกขที่เกิดแตความผันแปรของ ความสุข กลายเปนวาความสุขนั่นเอง เปนเหตุใหเกิดความทุกข เพราะ ความสุขนั้น โดยธรรมชาติก็ไมไดยั่งยืน มั่นคง หรือดํารงอยูไดตลอดไป จําตอ งเปลย่ี นแปร คลีค่ ลาย และจางหายไปในท่สี ุด ความสุขจึงมีสภาพเสมือน ทกุ ขแ ฝง ที่จะแสดงตัวออกมาทันทีเมื่อความสุขนั้นจืดจางหรือเลือนลางไป ยิ่งมีความสุขมากเทาไร ความทุกขแฝงน้ีก็ย่ิงมีมากเทานั้น แมขณะเม่ือ เสวยความสขุ อยู ครน้ั ระลึกวาความสุขเหลา น้ัน วันหน่งึ จะถึงความส้ินสุดไป ใจกห็ วาดกงั วลเสยี แลว ๓. สังขารทุกขตา หมายถึง ทุกขเพราะสภาพแหงสังขาร คือส่ิงที่ ถูกปจจัยปรุงแตงข้ึนมาทั้งปวง (เชน ธาตุ ๔, ขันธ ๕) ท่ีถูกบีบค้ันดวย กระแสของความเกิดข้ึน ต้ังอยู เส่ือมสลาย และความแตกดับ อันทําให คงอยูในสภาพเดิมไมได มีความพรองอยูเสมอเปนภาวะ ยังความทุกขใหแก ผูที่ยังไมรูเทาทัน และยังฝนตอกระแส ดวยตัณหาความทะยานอยาก และ อุปาทานความยึดมน่ั ถือมัน่ 108

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรับคนรนุ ใหม อาสวะ ๔ วถิ เี พมิ่ พนู อวิชชา อาสวะ หมายถึง สภาวะอันหมักดองสันดาน, ส่ิงท่ีมอมพื้นจิต, กิเลส ท่ีไหลซึมซานไปยอมใจ (ใหมีอวิชชา ไมรูถูกตองตามความเปนจริงย่ิงข้ึน) เมอื่ ประสบอารมณต า งๆ อาสวะ มี ๔ ประการ ดงั นี้ ๑. กามาสวะ อาสวะคือ กาม ๒. ภวาสวะ อาสวะคือ ภพ ๓. ทฏิ ฐาสวะ อาสวะคอื ทิฏฐ1ิ ๔. อวิชชาสวะ อาสวะคอื อวิชชา อาสวะทั้ง ๔ น้ี ที่สืบเนื่องมาแตการปรุงแตงใน อภิสังขาร ๓, ๔ และสงผลซึมซานยอนกลับไปยอมใจใหมีอวิชชา ความไมรูถูกตองตาม ความเปนจริง ยง่ิ ๆ ข้นึ ไป ไมวา จะเปน ๑. กามาสวะ ที่เนื่องมาแต กามราคะ กามตณั หา และกามุปาทาน ๒. ภวาสวะ ท่ีเน่ืองมาแต ภพ ท่ีมีโมหะและมิจฉาทิฏฐิ เปนปจจัย (โมหะ-มิจฉาทิฏฐิ ภพ) ๓. ทิฏฐาสวะ ท่เี นือ่ งมาแต อุปาทาน และ มจิ ฉาทฏิ ฐิ-ภพ ๔. อวิชชาสวะ ท่ีครอบงําตลอดกระบวนการแหงปฏิจจสมุปบาท ในทศิ ท่ีกอ ใหเกดิ ภพ น้ีคือที่มาของ อวิชชา ความไมรูถูกตองตามความเปนจริง ท่ีถูก ตอกยาํ้ ใหม ากข้นึ ๆ ทุกที จนกลายเปน อนุสยั 2 สันดาน3 1 ในพระสูตรสวนมาก แสดงอาสวะไว ๓ อยา ง โดยสงเคราะหเอา ทิฏฐาสวะ เขา ไวใ น ภวาสวะ 2 อนุสัย ๗ คอื กิเลสทแ่ี ฝงตัวนอนเนอ่ื งอยูใน สนั ดาน ความสืบตอของจิต มี ๗ คือ ๑. กามราคะ ความกําหนัดในกาม ๒. ปฏิฆะ ความหงุดหงิด ๓. ทิฏฐิ ความเห็นผิด ๔. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ๕. มานะ ความถือตัว ๖. ภวราคะ ความกําหนัด ๗. อวชิ ชา ความไมร จู ริง 3 สันดาน คือ ความสืบตอแหงจิต หรือกระแสจิตท่ีเกิดดับตอเน่ืองกันมา ในภาษาไทยมักใชในความหมายวา อปุ นิสัยทีม่ มี าแตกาํ เนิด, อัธยาศัยทีม่ ตี ิดตอมา 109

พระภาสกร ภูรวิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) และวาสนา1 แหงปจเจกบุคคลนั้นๆ ท่ีเปนบาทฐานตอการปรุงแตง ตัดสินอารมณใหมๆ ทเี่ ขามากระทบ อันจะกอใหเกิดกรรมดี กรรมช่ัว ที่จะ สงผลเปนวิบากตอไป แลวแตวาจะปรุงแตงไปในกุศลกรรมบถ หรือปรุงแตง ไปในอกุศลกรรมบถ และอีกนัยหน่ึง อวิชชา ก็เปนรากเหงาของ สังโยชน2 คือ กิเลสท่ีผูกมัด รอยรดั ใจสตั วไ วกับทุกข 1 วาสนา คือ อาการกายวาจาที่เปนลักษณะพิเศษของบุคคล เกิดจากกิเลส ที่ไดส่ังสมเปนเวลานานจนเคยชิน ติดเปนพื้นประจําตัว แมจะละกิเลสน้ันไดแลว แตก็ ยังละอาการกายวาจาท่ีเคยชินไมได เชน คําพูดติดปาก อาการเดินที่เร็วหรือตวมเตี้ยม เปนตน ผูรูทานขยายความวา วาสนาท่ีเปนกุศลก็มี เปนอกุศลก็มี เปนอัพยากฤต คือ เปนกลางๆ ไมดีไมช่ัวก็มี ที่เปนกุศลกับอัพยากฤต ไมตองละ แตท่ีเปนอกุศลอันควรละน้ัน แบงเปน ๒ สวน คือ สวนท่ีจะเปนเหตุใหเขาถึงอบาย กับสวนท่ีเปนเหตุใหแสดงออก ทางกายวาจาแปลกๆ ตางๆ สวนแรกพระอรหันตทุกองคละได แตสวนหลัง เฉพาะ พระพุทธเจาเทา นน้ั ละได พระอรหันตอ่ืนละไมได จึงมีคํากลาววา พระพุทธเจาเทานั้น ละกิเลสท้ังหมดได พรอมท้ังวาสนา แตในภาษาไทย คําวา วาสนา มีความหมายเพี้ยนไป กลายเปนอาํ นาจบญุ เกาหรอื กศุ ล ทท่ี าํ ใหไ ดรับลาภยศ 2 สงั โยชน คอื กิเลสทีผ่ กู มดั รอยรัดใจสตั วไ วกับทุกข มี ๑๐ อยาง คอื ก. โอรัมภาคิยสังโยชน คือ สังโยชนเบื้องต่ํา มี ๕ อยาง คือ (๑) สักกายทิฏฐิ ความเห็นวาเปนตัวของตน (๒) วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย (๓) สีลัพพตปรามาส ความ ถอื มั่นศีลพรต (๔) กามราคะ ความติดใจในกาม (๕) ปฏฆิ ะ ความกระทบกระทั่งใจ ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน คือ สังโยชนเบื้องสูง มี ๕ อยาง คือ (๖) รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต (๗) อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม (๘) มานะ ความถือวาตัวเปนนั่นเปนน่ี มีตัวตนเปรียบเทียบกับผูอื่น (๙) อุทธัจจะ ความฟุงซาน (๑๐) อวิชชา ความไมร ูจรงิ หมายเหตุ พระโสดาบัน ละสังโยชน ๓ ขอตนได, พระสกิทาคามี ทําสังโยชน ขอ (๔) และ (๕) ใหเบาบางลงดวย, พระอนาคามี ละสังโยชน ๕ ขอเบื้องตํ่าไดหมด, พระอรหันตล ะสังโยชนไดท้ังหมด ทัง้ เบอ้ื งต่ําและสูง 110

ปฏจิ จสมปุ บาท สําหรับคนรุนใหม กระบวนการแตกดบั ตายเกดิ ขา มภพขามชาติ อธิบายดว ยวงจรปฏิจจสมปุ บาทสาํ หรบั คนรุนใหม ลองนึกถึงคนท่ีใชชีวิตอยูในเมืองฮิโรชิมา ประเทศญ่ีปุน กอนท่ี มหาสงครามเอเซยี บูรพา จะยุตลิ ง… 111

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) คนในเมืองฮโิ รชิมา ก็เหมือนคนในเมืองใหญๆ ทั่วโลก ท่ีดําเนินชีวิต ไปตามปกติ มแี รงจูงใจ และถกู ผลักดนั ดว ยบทบาทหนาที่ ความรับผิดชอบ ในกิจการงานตางๆ มีจิตใจที่ถูกปรุงแตง เปนไปดวยอํานาจของเจตสิก คือ ธรรมท่ีประกอบกับจิต, อาการหรือคุณสมบัติตางๆ ของจิต เชน ความโลภ ความโกรธ ความหลง ศรทั ธา เมตตา สติ ปญญา เปนตน (เจตสิกมี ๕๒ อยาง โดยจัดเปน อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ อกุศลเจตสกิ ๑๔ โสภณเจตสกิ ๒๕) และในขณะนั้นเอง ชาวเมอื งฮิโรชิมา ซ่ึงกําลังมี อภิสังขาร ๓ คือการ นึกคิดปรุงแตง สรางสรร ภพ-ชาติ อันจิตอาศัย ไปตางๆ นาๆ คือ บางก็ เปน มนสุ สมนุสโส กายเปนมนุษย ใจก็เปนมนุษย บางก็เปน มนุสสติรัจฉาโน กายเปน มนุษย ใจเปนสตั วเ ดรจั ฉาน บางกเ็ ปน มนสุ สเปโต กายเปน มนษุ ย ใจเปนเปรต บางก็เปน มนุสสวินิปาโต กายเปนมนุษย ใจเปนอสุรกาย บาง ก็เปน มนุสสนิรยโก กายเปนมนุษย ใจเปนสัตวนรก บางก็เปน มนุสสเทโว กายเปนมนุษย ใจเปนเทวดา บางก็เปน มนุสส-รูปพรหม กายเปนมนุษย ใจเปนรปู พรหม บา งก็เปน มนุสส-อรปู พรหม กายเปนมนุษย ใจเปน อรูปพรหม เปน ตน… ลูกระเบิดปรมาณูลูกหนึ่ง ก็ลอยรวงจากฟากฟา ตกลงมายังกลาง เมืองฮิโรชิมา และเกิดการระเบิดเปนดอกเห็ดขนาดยักษข้ึนไปในอากาศ พรอมทั้งแผกัมมันตภาพรังสีอันรอนแรง ออกไปเผาผลาญทําลายลาง สรรพวตั ถุ และสิ่งมีชีวิตโดยรอบ ใหแ ตกสลายกลายเปน อากาศธาตุ ดวยเวลา อนั นอยนดิ เหลอื ประมาณ คอื แทบจะทนั ทีทนั ใด… 112

ปฏิจจสมุปบาท สาํ หรบั คนรุนใหม ในเวลานัน้ ชาวฮิโรชิมาที่อยูโดยรอบรัศมีการระเบิดนั้น ไมทันรูตัว เสียดว ยซํา้ วา เกดิ อะไรขึ้น พริบตาเดียว รางกายที่เคยมี เคยทํากิจกรรมตางๆ ก็ไดแตกสลาย หายวับไป แลว เหลอื อะไร ?… “จิต” คอื หนึ่งหนวยของพลังงาน ท่ีมีวิวัฒนาการเรียนรู จนกระทั่ง กลายเปน “ธาตุรู” ท่ีสมบูรณแบบ คือมีพัฒนาการข้ึนไป จนกระทั่งมี ขันธ ๕ ครบถวน กลาวคอื ๑. รูปขันธ คือกองรูป สวนท่ีเปนรูป มีการเขารวมกับวัตถุธาตุ อื่นๆ เอามาสรางขึ้นเปนรางกาย และหลงผิดยึดถือรางกายนั้น วามันเปน รางกายของตน หรอื หลงคดิ วา ตน คือรางกายอนั นัน้ ๒. เวทนาขันธ คือ กองเวทนา สวนที่เปนการเสวยรสอารมณ, การมคี วามรูสกึ สุข ทุกข หรอื เฉยๆ ๓. สัญญาขันธ คือ กองสัญญา สวนที่เปนความกําหนดหมาย ใหจําอารมณนั้นๆ ได, ความกําหนดไดหมายรูในอารมณ ๖ เชนวา เขียว ขาว แดง ดาํ เปน ตน ๔. สังขารขันธ คือ กองสังขาร สวนที่เปนความปรุงแตง, สภาพท่ี ปรุงแตงจิต ใหดี หรือช่ัว หรือเปนกลางๆ, คุณสมบัติตางๆ ของจิต ท่ีมี เจตนาเปนตัวนาํ ปรุงแตงคุณภาพของจิต ใหเปน กุศล อกุศล อพั ยากฤต ๕. วญิ ญาณขนั ธ คือ กองวญิ ญาณ, สว นท่ีเปนความรูแจงอารมณ, ความรูอารมณทางอายตนะท้ัง ๖ มีการเห็น การไดยิน เปนตน ไดแก วิญญาณ ๖ ครั้นรูปขันธ คือรางกายของชาวฮิโรชิมา ถูกทําลายหายวับไป เปน การส้ินสดุ ของภาวะชีวิตในภพมนุษยน้ันๆ คุณสมบัติของจิตอีก ๓ ประการ คือ เวทนาขันธ สัญญาขันธ และสังขารขันธ อันเปนคุณสมบัติท่ีตองอาศัย องคประกอบของกาย คอื สว นทีเ่ ปน รปู กายนน้ั จะเปน ไปอยางไร ? 113

พระภาสกร ภรู ิวฑฒฺ โน (ภาวิไล) ในเมื่อ คุณสมบัติของจิตอีก ๓ ประการ คือ เวทนา สัญญา และ สงั ขาร เปน คณุ สมบตั ทิ ี่ตองอาศยั องคประกอบของกาย คือสวนทเี่ ปนรูปกายน้ัน เขามาเปนปจ จัยรวม เชน เวทนาขนั ธ คอื สขุ ทุกข อันอาศัยประสาทสัมผัส เปนทางเขามาแหงความรู (วิญญาณ ๖) หรือสัญญาขันธ และสังขารขันธ ท่ีตองอาศัยสมองเปนตัวกลางในการพักขอมูล และสนับสนุนในกระบวนการ นึก คิด ปรุงแตง เหลาน้ี ลวนเปนอันระงับไปพรอมๆ กับการสิ้นไปแหง รูปขันธดวย คงเหลือแต วิญญาณขันธ คือภาวะรู ธาตุรู หรือจิตนั้นเอง ซึ่งเมื่อพิจารณาในฐานะที่เปนผลรวมของความรู วิญญาณขันธ ก็จะมาทํา หนาที่ เปน จุติจิต คือ จิตสุดทายในปจจุบันภพ (เกิดขึ้นแกบุคคลที่จะตาย ในระยะทายสุดแหงวิถีจิต หรือในเม่ือภวังคจิตส้ินสุดลง แลวดับไปดวย อํานาจแหงการทาํ หนาทยี่ ายจากภพเกา ) และเมื่อจุติจติ ดับลง ในลําดับแหง จุติจิต โดยไมมีระหวางค่ัน จิตที่ชื่อวา ปฏิสนธิจิต (เพราะเน่ืองดวยสืบตอ ชาติใหมและชาติเกาทั้ง ๒ ตอกัน) ก็เกิดขึ้น และต้ังอยูในภพใหมทันที ในขณะเดยี วกนั นั้นเอง แลวภพ-ชาตใิ หม เกดิ ขึ้นมาไดอ ยางไร ? ตราบใดที่ยังมี อวิชชา ความรูไมถูกตองตามเปนจริง ในธรรมชาติ และกฎของธรรมชาติ ไมรูแจงตามเปนจริงในวัตถุ ๘ ที่ปรากฏในสังขาร ส่ิงปรุงแตงทั้งหลาย กลาวคือ (๑) ไมรูในทุกข (๒) ไมรูในเหตุใหเกิดทุกข (๓) ไมรูในความดับทุกข (๔) ไมรูในทางปฏิบัติใหถึงความดับทุกข (๕) ไมรูในสวนอดีตหรือเงื่อนตน (๖) ไมรูในสวนอนาคตหรือเงื่อนปลาย (๗) ไมรูทั้งในสวนอดีตและอนาคต คือทั้งเง่ือนตนและเงื่อนปลาย และ (๘) ไมร ูในปฏจิ จสมปุ บาท ซ่ึงโดยสรุปก็คือ ไมรู ไมเขาใจ ไมยอมรับ ในกฎธรรมชาติทั้ง ๔ อันไดแก ๑) กฎของความเปนเหตุเปนผล ๒) กฎของความเปลี่ยนแปลง ๓) กฎแหงกรรม ๔) กฎแหง เหตแุ ละปจ จยั ท่ีสืบเนอ่ื งไปสูผล 114

ปฏจิ จสมุปบาท สําหรบั คนรนุ ใหม ทั้งหมดนี้ จึงรวมลงเปนอวิชชาในฝายเหตุ ที่ยังใหเกิดอวิชชาใน ฝา ยผล อันไดแกค วามโง ความเห็นผดิ ความไมเขาใจ ท่ีทําใหติดยึดมัวเมา ในรางกาย เรียกส้นั ๆ วาเปน “ความโงในกาย” “ความโงในกาย” เปนเชนไร? คือความเห็นผิด หลงผิด เขาใจ ผิดๆ รูสึกผิดๆ ที่สั่งสมทับถมกันมา อันผิดไปจากความเปนจริงของชีวิต (อวิชชา ๘ หรือการปฏิเสธกฎธรรมชาติท้ัง ๔) ซ่ึงความเห็นผิด (มิจฉาทิฏฐิ) ความหลงผิด (โมหะ) และความไมรูตามเปนจริง (อวิชชา) เหลานั้น ลวน รวมลงไปในเร่ืองของ “กาย” และ “วัตถุธาตุ” ทั้งหลาย ซ่ึงมันเห็นผิดวา เปนส่ิงที่ใหประโยชนได เปนสิ่งที่นําความสุขมาใหได เปนส่ิงท่ีมั่นคงถาวร เปนท่ีพ่ึงพิงอิงอาศัยได สามารถแสวงหาความสุขความสบาย และความมี สาระ ควรแกการยึดถอื เอาไวไ ด ความโงใ นกายนี้ ท้ัง ความโงในกายภายนอก ไดแกความหลงผิด เขาใจผิด ใหคุณคาอยางผิดๆ อันเปนคุณคาท่ีไมไดมีอยูจริง แก “กาย” และ “วัตถุธาตุ” ท้ังหลายภายนอก กลาวคือ ความโงงมงายลุมหลง ท่ี เปนไปในรางกายชาวบาน นั่นเอง สวน ความโงในกายภายใน ไดแก ความหลงผิด เขาใจผิด ใหคุณคาผิดๆ อันเปนคุณคาที่ไมไดมีอยูจริง ใน “กาย” และ “วัตถุอันเนื่องดวยกาย” ทั้งหลายภายใน กลาวคือ ความโง ที่เปน ไป ในรางกายท่ตี นอาศยั นนั่ เอง เพราะความหลงผิด เขาใจผิด ใหคุณคาผิดๆ ไปในกายท้ังหลาย ภายนอก ดว ยเขาใจวา รูป เสยี ง กลิน่ รส และสมั ผัส อันเกดิ แตกายภายนอก หรือวัตถุภายนอกเชนน้ัน จะนําความสุขมาให ใจจึงส่ังสมความเห็นผิดไป ในกายภายใน คือรางกายของตน เพราะการท่ีจะไดเห็นรูป ไดยินเสียง ไดดมกล่ิน ไดลิ้มรส ไดสัมผัสเย็นรอนออนแข็ง จากกายหรือวัตถุภายนอก อันตนหลงใหลใหคาใหราคาเอาไว เชน รางกายของชาวบานเปนตนน้ัน ตนจะตองมีตาดี มีหูดี มีจมูก มีลิ้น และกายประสาทท่ีดี ไวเปนประตู สําหรบั สัมผัสรบั รใู นกายและวัตถุ อันใจตั้งคา ไววา มนั นา จะดเี หลานน้ั … 115

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) ใจจึงสัง่ สมความเห็นผดิ ไปในรา งกายของตน โดยปรารถนาที่จะได เกิดมามีรูปรางกายที่ดี มีอวัยวะเคร่ืองรับรูท่ีดี จะไดไปสัมผัสรับรูในสิ่งท่ีดีๆ ปรารถนาใหไดร างกายซึง่ มคี วามสวยสดงดงาม หลอ เหลาแข็งแรง มสี ุขภาพดี จะไดเอาเปน เหย่ือลอ ดงึ ดูดกายทัง้ หลายภายนอกทีป่ รารถนา ใหเขามาติดเบ็ด จะไดเสพสมอารมณหมาย อยางท่ีไดต้ังคา ต้ังความปรารถนาเอาไว ดวย ความหลงผดิ เหน็ ผิด รผู ิด ที่มมี าแตด้ังเดมิ เพราะอวชิ ชาเปนปจ จัย สังขารจึงมี ดังน้ัน เม่ือใจโง ใจหลง ใจเห็นผิด วากายและวัตถุธาตุท้ังหลาย เปนของดี มีคุณคา “สังขาร” การคิดนึกปรุงแตง จึงปรุงแตง คิดนึก คาดหวัง และจินตนาการไปอยางมากมายวา กาย คือรางกายทั้งหลาย และ วัตถุธาตุท้ังปวงน้ัน จะนําความสุขมาให มาตอบสนองตอความตองการ หรือความปรารถนาของตนไดอยางไรบาง กายสังขาร สภาพท่ีปรุงแตง การกระทําทางกาย วจีสังขาร สภาพท่ีปรุงแตงการกระทําทางวาจา และ จิตตสังขาร สภาพที่ปรุงแตงการกระทําทางใจ จึงเปนผลมาแตความโง ในกาย หลงผิดในกาย และเห็นผดิ ในกาย เพราะสังขารเปนปจ จยั วญิ ญาณจึงมี ดังน้ัน เม่ือมี “สังขาร” การปรุงแตงกาย วาจา และใจ (กายสังขาร, วจีสังขาร, จิตตสังขาร) อันเปนไปดวยความโง ความหลงผิด ความเห็นผิดวา รางกายและวัตถธุ าตุท้ังหลายเปนของทด่ี ีมีคุณคา นาํ มาซึ่งความสขุ “วญิ ญาณ” ความรู บรรดาที่เกิดข้ึนท้ังปวง ที่จิตรองรับมาจากความคิดนึกปรุงแตง จินตนาการมาอยางผิดๆ ของตนเชนนี้ จึงเกิดเปนวิญญาณความรูที่ผิด เปน ความเห็นผดิ เปนความยอมรับและความเขาใจที่ผิดๆ วา กายนี้ วัตถุธาตุนี้ เปนสิ่งท่ีมีคา เปนส่ิงท่ีถูกตองดีงาม สามารถนําความสุขสมใจมาใหแกเราได อยางมากมาย… และดวย “ความตายปรากฏ” คือการสิ้นไปแหงกาย อันจิตเคยอิงอาศัยมาถึง วิญญาณ น้ีจึงทําหนาที่เปน ปฏิสนธิวิญญาณ คือ ความรูแจงอารมณ อนั ทําหนาท่ีสบื ตอภพใหมต อ ไป 116

ปฏจิ จสมปุ บาท สําหรบั คนรุน ใหม เพราะวญิ ญาณ (= ปฏิสนธวิ ิญญาณ) เปนปจจยั นามรูปจึงมี เม่ือวิญญาณ ความรูแจงอารมณ เปนความรูความเห็นท่ีผิดๆ เปนความหลง ความยอมรับ และความเขาใจท่ีผิดๆ วา กายนี้ วัตถุธาตุนี้ เปนสิ่งที่มีคา เปนสิ่งท่ีถูกตองดีงาม เปนสิ่งท่ีนําความสุขสมใจมาใหแกตน ไดอ ยางมากมาย มันกห็ วังทีจ่ ะไดร ับความสุขที่ย่งั ยนื ถาวร จาก “กาย” และ “วัตถุธาตุ” น้ันๆ ฉะน้ันการแสวงหากาย หรอื วตั ถธุ าตุทัง้ ปวง จึงเกิดขนึ้ การปฏิสนธิ คือ การเกิด การเกิดใหม การรวมตัว หรือการท่ี จิตน้ัน เขาไปผนวกกับวัตถุธาตุ ทั้งที่เปนของหยาบหรือของละเอียด ท่ีเรียกวา “กาย” จึงเกิดข้ึน (ปฏิสนธิข้ึนมา) ฉะน้ันส่ิงที่ทานเรียกวา “นามรูป” ก็คือ “กาย” และ “จติ ” นัน่ เอง จิตสดุ ทาย (จุติจิต) เปนเชนไร จติ ต้ังตนในภพใหม (ปฏิสนธจิ ติ ) กเ็ ชน น้นั จากตัวอยาง ชาวเมืองฮิโรชมิ า ซงึ่ กําลังมี อภสิ ังขาร ๓ คอื การนึกคิด ปรุงแตง สรา งสรร ภพ-ชาติ อนั จติ อาศยั ตา งๆ นาๆ คือ เปน มนุสสมนุสโส กายมนุษย- ใจมนุษย บาง เปน มนุสสตริ จั ฉาโน กายมนุษย- ใจเดรจั ฉาน บาง เปน มนสุ สเปโต กายมนุษย- ใจเปรต บาง เปน มนุสสวนิ ปิ าโต กายมนุษย- ใจอสุรกาย บาง เปน มนสุ สนิรยโก กายมนุษย- ใจสตั วนรก บา ง เปน มนุสสเทโว กายมนษุ ย- ใจเทวดา บา ง เปน มนุสส-รูปพรหม กายมนษุ ย- ใจรปู พรหม บาง เปน มนุสส-อรูปพรหม กายมนุษย-ใจอรปู พรหม เปนตน… 117

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) ครั้นเม่ือระเบิดปรมาณู1 ตกลงมา เกิดการแตกตัวของนิวเคลียส ท่ีแกนกลางของอะตอม เปนปฏิกิริยานิวเคลียรลูกโซ ปลดปลอยพลังงาน ที่มีอยูมหาศาล ออกมาในท่ีแคบ ในระยะเวลาอันส้ัน จึงทําใหเกิดการ ระเบิดอยางรุนแรง และมีลูกไฟกลมขนาดมหึมา ซึ่งมีอุณหภูมิสูงมากกวา ลานองศา ปลดปลอยรังสีอํามหิต คือกัมมันตภาพรังสี ใหแผขยายออกมา อยางรวดเร็วรุนแรง เผาผลาญทําลายลาง รูปขันธ ของสรรพชีวิตท้ังปวง ในบรเิ วณใกลเคยี ง ชาวเมืองฮิโรชิมา ที่อยูในรัศมีการทําลายลาง แมไมทันไดรูเน้ือรูตัว แทบจะฉับพลันทันที รางกายที่ประกอบดวยวัตถุธาตุหยาบ อันมี มหาภูต รูป ๔ คือ ดิน น้ํา ลม ไฟ ก็ถูกทําลาย สลาย หายไป กลายเปนไอธุลีไปใน บดั ดล… โอ… สิ้นรปู สนิ้ กายแลว ใจจะไปอยู ณ หนใด ที่ไหนหนอ… จากความฝน คือความคิดนั้น ก็ไดกลายมาเปนความจริงในบัดดล ในขณะนั้น ใครตอใคร ในเมืองฮิโรชิมา ท่ีกําลังมี อภิสังขาร ๓ คือการนึก คิด ปรุงแตง สรางสรร ภพ-ชาติ อันจิตอาศัย ตางๆ นาๆ อยูเชนไร เมื่อกายหยาบ คือความเปน “มนุษย” ในทางกายสิ้นไป ใจก็จะไดภพชาติ อันจติ อาศยั ใหม ตามคุณภาพของใจ ดงั ตอไปนี้ 1 ลูกระเบิดอะตอม ระเบิดปรมาณู หรือระเบิดนิวเคลียร เปนลูกระเบิด ชนดิ หนึ่ง มีอาํ นาจการทําลายสูงมาก แรงระเบิดนี้เกิดขึ้นจากการแตกตัวของนิวเคลียส แกนกลางของอะตอม และปลดปลอยพลังงานท่ีมีอยูมหาศาลนั้น ออกมาในที่แคบๆ และในระยะเวลาอนั สั้น ดว ยหลักการนจ้ี ะทาํ ใหเ กิดการระเบิดอยางรุนแรง และมีลูกไฟ กลมขนาดมหึมา ซ่ึงมีอุณหภูมิสูงมากกวาลานองศา ท้ังเปลวไฟและอํานาจการทําลาย จะกนิ พน้ื ที่เปน บริเวณกวาง ซ่ึงนอกจากระเบิดจะถายโอนพลังงานมหาศาลออกมาแลว การระเบิดยังจะทําใหเกิดสารกัมมันตรังสี หรือไอโซโทป เกาะติดกับฝุนละอองกระจัด กระจายไปกับลมไดหลายรอยกิโลเมตร ฝุนละอองที่เปอนสารกัมมันตรังสีน้ีเราเรียกวา “ฝุนมรณะ” และจะปนเปอ นมอี ันตรายอยูต อไปอกี หลายสิบป 118

ปฏจิ จสมุปบาท สาํ หรบั คนรนุ ใหม ๑. หากขณะน้ันเปน มนุสสเปโต คือ กายมนุษย-ใจเปรต ที่กําลัง ปรุงแตงอยู ดวย จิตโลภ ท่ีมีกําลังมากเกินกวาศีล ๕ จะวิรัติ คืองดเวนไวได จิตน้ันยอมไดรูปกายใหมอันละเอียด ลวงจักษุมนุษย มีความเปน เปรต ในมิตภิ พภูมิแหงเปรต คอื แดนเปรต (เปตติวสิ ัย) ในบดั ดล แดนเปรต ๒. หากขณะนนั้ เปน มนสุ สนริ ยโก คือ กายมนุษย- ใจสตั วน รก ที่กําลัง ปรงุ แตง อยู ดว ย จติ โกรธ ทม่ี กี ําลังมากเกินกวาศีล ๕ จะวิรัติคืองดเวนไวได จติ นั้นยอ มไดรูปกายใหมอันละเอียด ลวงจักษุมนุษย มีความเปน สัตวนรก ในมติ ิภพภมู ิแหงสัตวน รก คือ นรก (นริ ยะ) ในบัดดล แดนนรก 119

พระภาสกร ภรู ิวฑฺฒโน (ภาวิไล) ๓. หากขณะน้ันเปน มนุสสวินิปาโต คือ กายมนุษย-ใจอสุรกาย ท่ีกําลังปรุงแตงอยู ดวย จิตหลงและลามก ที่มีกําลังมากเกินกวาศีล ๕ จะวิรัติ คืองดเวนไวได จิตน้ันยอมไดรูปกายใหมอันละเอียด ลวงจักษุมนุษย มีความเปน อสุรกาย ในมิติภพภูมิแหงอสุรกาย คือ พวกอสูร (อสุรกาย) ในบดั ดล แดนอสุรกาย สตั วเดรัจฉาน ๔. หากขณะน้ันเปน มนุสสติรัจฉาโน กายมนุษย-ใจเดรัจฉาน ท่ีกําลัง ปรุงแตง อยู ดวย จิตหลง ท่มี กี าํ ลงั มากเกนิ กวาศลี ๕ จะวิรัติคืองดเวนไวได คือ มีศีลไมครบทั้ง ๕ ขอ จิตนั้นยอมไดรูปกายใหมอันละเอียด ลวงจักษุ มนุษย เปน สัมภเวสี (แหงเดรจั ฉาน)1 รอนเรหาแดนเกิดในมิติภพภูมิแหง ความเปน สตั วเ ดรัจฉาน คือ กําเนดิ ดริ จั ฉาน (ติรจั ฉานโยน)ิ ในบดั ดล 1 สัมภเวสี แปลวา ผูแสวงหาสมภพ คือสัตวผูยังแสวงหาที่เกิด ซึ่งไดแก ปุถุชน และพระเสขะ ผูยังแสวงหาภพท่ีเกิดอีก หรือสัตวในครรภและไข ที่ยังอยู ระหวางจะเกิด ในปฏิจจสมุปบาทสําหรับคนรุนใหมน้ี ผูเขียนใชคําวา สัมภเวสี เพ่ือใช อธิบายภาวะท่ีมีกายละเอียด ในการเช่ือมตอภพ กอนท่ีจะมีการไดภพท่ีมีกายหยาบ อันประกอบดวย ธาตุ ๔ ซ่ึงสัตวประเภทนี้ มีอยูเพียง ๒ จําพวก คือ การไดชาติเกิด ในความเปนมนษุ ย และสตั วเ ดรัจฉาน 120

ปฏิจจสมุปบาท สาํ หรับคนรนุ ใหม ๕. หากขณะนั้นเปน มนุสสมนุสโส กายมนุษย-ใจมนุษย ท่ีกําลัง ปรุงแตงอยูดวย จิตเปนมหากุศลบาง จิตโลภบาง จิตโกรธบาง จิตหลงบาง จิต (ใกล) ลามกบาง ที่มีกําลังไมเกินกวาขอบเขตของศีล ๕ จะวิรัติงดเวน ไวไ ด คือสามารถรักษาศีลไวไ ดค รบถว นท้งั ๕ ขอ จติ นนั้ ยอ มไดร ปู กายใหม อันละเอียด ลวงจักษุมนุษย เปน สัมภเวสี (แหงมนุษย) ผูรอนเรหาแดนเกิด ในมิติภพภูมิแหงความเปน มนษุ ย คือ ชาวมนุษย (มนษุ ย) ในบัดดล เทวดา มนุษย ๖. หากขณะนั้นเปน มนุสสเทโว กายมนุษย-ใจเทวดา ที่กําลัง ปรุงแตงอยู ดวย จิต เปนมหากุศล ท่ีประกอบดวย หิริ ความละอายชั่ว และ โอตตัปปะ ความกลัวบาป ทั้งยังสามารถวิรัติงดเวน รักษาศีลไวได ครบถวนทั้ง ๕ ขอ จิตนั้นยอมไดรูปกายใหมอันละเอียด ลวงจักษุมนุษย มีความเปน เทพเทวา เทวนารี (เทวดา) ผูเสวยสุขอันกอปรดวยกามคุณ อันประณีต ในสรวงสวรรคสุคติภูมิ ช้ันหนึ่งชั้นใด ในเทวโลกท้ัง ๖ ชั้น คือ (๑) จาตุมหาราชิกา (๒) ดาวดึงส (๓) ยามา (๔) ดุสิตา (๕) นิมมานรดี และ (๖) ปรนมิ มิตวสวตั ดี ในบัดดล 121

พระภาสกร ภูรวิ ฑฒฺ โน (ภาวิไล) ๗. หากขณะน้ันเปน มนุสส-รูปพรหม กายมนุษย-ใจรูปพรหม ที่จิตทรงตัวอยูใน รูปฌาน มีอารมณเปน รูปกรรมฐานในกรรมฐาน ๔๐ (ท่ีใหผลถึงฌาน) มี จิตเปน รูปาวจร-กุศลจิต มีสมาธิ ความแนวแนเปน อัปปนาสมาธิ ในระดับฌาน ๑ ถึง ฌาน ๔ มีปกติไมลวงศีล มีความสงบ ระงบั ไปแหง นวิ รณทัง้ ๕1 เสวยอยูซ่ึง ปต ิ สขุ หรืออุเบกขาเปน เวทนา จิตนั้นยอมไดรูปกายใหมอันละเอียด ลวงจักษุมนุษย มีความเปน รูปพรหม ผูเสวยสุขสงบอันประณีต ที่เกิดแตความสงบระงับไปแหงกามคุณ ในรูปาวจรสุคติภูมิ ช้ันหนึ่งช้ันใดในพรหมโลกท้ัง ๑๑ ช้ัน คือ (๑) ปาริสัชชา (๒) ปุโรหิตา (๓) มหาพรหมา (๔) ปริตตาภา (๕) อัปปมาณาภา (๖) อาภัสสรา (๗) ปริตตสุภา (๘) อัปปมาณสุภา (๙) สุภกิณหา (๑๐) เวหัปผลา และ (๑๑) อสัญญสี ตั ตา เทวดา และรปู พรหม 1 นิวรณ คือ ธรรมที่ก้ันจิตไมใหบรรลุความดี, ขัดขวางจิตไมใหกาวหนาใน คุณธรรม มี ๕ อยาง คือ ๑. กามฉันทะ (ความพอใจในกามคุณ) ๒. พยาบาท (ความ คิดรายผูอ่ืน) ๓. ถีนมิทธะ (ความหดหูซึมเซา) ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ (ความฟุงซาน รําคาญใจ) ๕. วิจกิ ิจฉา (ความลงั เลสงสัย) 122

ปฏจิ จสมปุ บาท สาํ หรับคนรุนใหม ๘. หากขณะนั้นเปน มนุสส-อรูปพรหม กายมนุษย-ใจอรูปพรหม ท่ีจิตทรงตัวอยูใน อรูปฌาน มีอารมณเปน อรูปกรรมฐาน ๔ ในกรรมฐาน ๔๐ ดวย จิตเปน อรูปาวจรกุศลจิต มีสมาธิ ความแนวแนเปน อัปปนาสมาธิ ในระดับอรูปฌาน มีปกติไมลวงศีล มีความสงบระงับไปแหงนิวรณทั้ง ๕ เสวยอยูซึง่ อุเบกขา เปน เวทนา จิตน้ันยอมไดอรูปภาวะ อันลวงจักษุมนุษย มีความเปน อรูปพรหม ผูเ สวยสุขสงบอนั ประณตี ทีเ่ กดิ แตค วามสงบระงับไปแหง กามคณุ ใน อรูปาวจร- สุคติภูมิ ชัน้ หนง่ึ ชน้ั ใดใน อรปู พรหมโลก ทงั้ ๔ ชั้น คอื (๑) อากาสานญั จายตนภมู ิ (๒) วญิ ญาณญั จายตนภูมิ (๓)อากญิ จญั ญายตนภูมิ (๔) เนวสัญญานาสญั ญายตนภูมิ ท่ีกลาวมาแลวท้ัง ๘ กรณีนั้น เปนกรณีของบุคคลท่ัวไปท่ีเปน กัลยาณชน คือคนดีบาง เปนปุถุชนบาง เปนทุศีลบาง แตที่แนๆ คือ ยัง ไมใชพ ระอรยิ บุคคล คราวน้มี าพิจารณาใหม โดยสมมตุ ิใหช าวเมอื งฮิโรชิมา เปน ชาวพทุ ธ และปฏิบัติธรรมจนบรรลเุ ปน พระอริยเจาระดบั ตา งๆ ๙. หากขณะน้ันเปน มนุสส-โสดาบัน เปนผูทรงศีลบริบูรณ ได ปฏิบัติวิปสสนาจนเกิดความรูแจง สามารถตัดสังโยชน1 เบ้ืองต่ําได ๓ ขอ คือ (๑) สกั กายทฏิ ฐิ (๒) วิจิกจิ ฉา และ (๓) สลี ัพพตปรามาส 1 สงั โยชน คือ กิเลสที่ผูกมัด รอ ยรัดใจสัตวไ วก ับทกุ ข มี ๑๐ อยาง คอื ก. โอรัมภาคิยสังโยชน คือ สังโยชนเบ้ืองต่ํา มี ๕ อยาง คือ (๑) สักกายทิฏฐิ ความเห็นวาเปนตัวของตน (๒) วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย (๓) สีลัพพตปรามาส ความถือมั่นศีลพรต (๔) กามราคะ ความติดใจในกาม (๕) ปฏฆิ ะ ความกระทบกระทง่ั ใจ ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน คือ สังโยชนเบ้ืองสูง มี ๕ อยาง คือ (๖) รูปราคะ ความติดใจในรูปธรรมอันประณีต (๗) อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม (๘) มานะ ความถือวาตัวเปนนั่นเปนนี่ มีตัวตนเปรียบเทียบกับผูอื่น (๙) อุทธัจจะ ความฟุงซาน (๑๐) อวชิ ชา ความไมร ูจริง 123

พระภาสกร ภรู วิ ฑฒฺ โน (ภาวิไล) จนเขาถึงความเปนอริยบุคคลชั้นพระโสดาบันอยางแทจริง มีกาย เปนมนุษย มีจิตทรงตัวอยูในภูมิของ โสดาปตติผล มี ศีลสมบูรณ เปน วิหารธรรม เคร่ืองอยูของใจ ภาวะจิตของพระโสดาบัน ในขณะเมื่อทรงรูปขันธ ของมนุษยอยูนั้น จิตยอมปรุงแตงดําเนินไปในภาวะท่ีเปน มนุสสมนุสโส เปนอยางตา่ํ โดยไมม ีทางทีจ่ ะปรุงแตง ดวยเจตนาท่ีจะละเมิดศีล โดยเดด็ ขาด ฉะนนั้ เมือ่ มีเหตกุ ารณอันเปนเหตุใหรูปขันธแตกสลายสิ้นไป ดังกรณี “ระเบิดปรมาณู” ที่ยกข้ึนมาเปนตัวอยางนี้ จิตของพระโสดาบัน ยอมได ภาวะ คอื ภพใหม อันลวงจกั ษุมนุษย เพยี ง ๑ ใน ๔ ประเภทนี้เทานัน้ คือ (๑) ไดรูปกายใหมอันละเอียด ลวงจักษุมนุษย เปน โสดาบัน- สมั ภเวสี แหง มนุษย รอ นเรหาแดนเกิดในมิติภพภูมิแหงความเปน มนุษย คอื ชาวมนษุ ย (มนุษย) ในบัดดล (๒) ไดรูปกายใหมอันละเอียด ลวงจักษุมนุษย เปน โสดาบัน- เทพเทวา (เทวดา) ผูเสวยสุขอันกอปรดวยกามคุณอันประณีต ในสวรรค สคุ ตภิ ูมิ ชน้ั หน่งึ ช้นั ใด ในเทวโลกทั้ง ๖ ช้นั (๓) ไดรูปกายใหมอันละเอียด ลวงจักษุมนุษย เปน โสดาบัน- รปู พรหม ผูเสวยสุขสงบอันประณีตท่ีเกิดแตความสงบระงับไปแหงกามคุณ ในรูปาวจรสุคติภูมิ ชั้นหนึ่งช้ันใดในพรหมโลก ๑๐ ช้ัน คือ ปาริสัชชา, ปุโรหิตา, มหาพรหมา, ปริตตาภา, อัปปมาณาภา, อาภัสสรา, ปริตตสุภา, อัปปมาณสุภา, สุภกิณหา, เวหัปผลา (พระอริยะ ไมเกิดในอสัญญีภพ และ อบายภูมิ) (๔) ได อรูปภาวะ อันลวงจักษุมนุษย มีความเปน โสดาบัน- อรปู พรหม ผูเสวยสขุ สงบอันประณตี ทีเ่ กดิ แตความสงบระงบั ไปแหงกามคุณ ในอรปู าวจรสคุ ติภูมิ ชัน้ หนึ่งชนั้ ใด ในอรูป-พรหมโลกทัง้ ๔ ช้ัน 124

ปฏจิ จสมปุ บาท สาํ หรับคนรุนใหม ๑๐. หากขณะนั้นเปน มนุสส-สกิทาคามี เปนผูทรงศีลบริบูรณ เปนวิหารธรรม ปฏิบัติสมถะและวิปสสนาจนเกิดความรูแจง ตัดสังโยชน เบ้ืองต่ําได ๓ ขอ เชนเดียวกับพระโสดาบัน พรอมท้ังระงับ (๔) กามราคะ และ (๕) ปฏิฆะ ใหจืดจางลง จนถึงความเปนพระสกิทาคามีอยางแทจริง มีกายเปนมนุษย จติ ทรงตัวอยูใ นภมู ิของ สกทิ าคามผี ล ในกรณีตัวอยางนี้ จิตของพระสกิทาคามี ยอมไดภาวะ คือภพใหม อันลวงจักษุมนุษย เชนเดียวกับกรณีของพระโสดาบัน เพียงแตดวยภาวะของ พระสกิทาคามี ท่ีระงับกามราคะและปฏิฆะใหจืดจางลง จึงสงผลใหมาเกิด เปนมนุษย ไดอกี เพยี งคร้งั เดียวเทา นัน้ แลว จกั ทําใหแจงซงึ่ พระนิพพาน ๑๑. หากขณะน้ันเปน มนุสส-อนาคามี ซ่ึงเปนผูทรงศีล ปฏิบัติ สมถะวิปสสนา จนเกิดความรูแจง สามารถตัดสังโยชนเบื้องต่ํา คือ กิเลส อันรอยรัดผูกใจสัตวไวกับทุกขท้ัง ๕ ได คือ (๑) สักกายทิฏฐิ (๒) วิจิกิจฉา (๓) สีลัพพตปรามาส (๔) กามราคะ (๕) ปฏิฆะ จนเขาถึงความเปน อริยบุคคลช้ันพระอนาคามี ซ่ึงมีกายเปนมนุษย และมีจิตทรงตัวอยูใน อนาคามีภูมิ มคี วามสงบระงับไปแหงนิวรณ ๕ เปนวิหารธรรมเครื่องอยูของใจ จติ นัน้ ยอมไดรูปกายใหมอ ันละเอยี ด ลว งจกั ษมุ นษุ ย เปน อนาคามี- รูปพรหม ผูเสวยสุขสงบอันประณีต เกิดแตการตัดสังโยชนเบ้ืองต่ําทั้ง ๕ ในสุทธาวาสพรหมโลก ท่มี ีอยู ๕ ชน้ั จําแนกตามความเดน ของพละ ๕ ท่ีใช ในการดําเนินจิตเขาถึงอนาคามีภูมินั้นๆ กลาวคือ (๑) อวิหา สุทธาวาส เขาถึง ดวย สัทธาพละ (๒) อตัปปา สุทธาวาส เขาถึงดวย วิริยาพละ (๓) สุทัสสา สุทธาวาส เขาถึงดวย สติพละ (๔) สุทัสสี-สุทธาวาส เขาถึงดวยสมาธิพละ (๕) อกนิฏฐา สทุ ธาวาส เขา ถึงดวย ปญ ญาพละ ๑๒. หากขณะนั้นเปน มนุสส-อรหนั ต ผูป ฏบิ ัตสิ มถะและวิปสสนา จนเกิดความรแู จงแทงตลอดในขนั ธ ๕ ทั้งภายในภายนอก ตัดสังโยชน คือกิเลส อนั รอยรัดผูกใจสัตวไ วก บั ทุกขทั้ง ๑๐ ประการ ไดห มดสิ้นเปนสมจุ เฉทปหาน 125

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) เปนผูปราศจากกิเลส ตัณหา มานะ และทิฏฐิ (มิจฉา-ทิฏฐิ) ปราศจากความโลภ ความโกรธ ความหลง เปนผูสมบูรณดวยศีล สมาธิ และปญญา เปนผูปราศจากภพอันจิตอาศัยแลวทั้งปวง ถึงพรอมดวยความรู อันยังความหลุดพนใหเกิดข้ึน (วิมุตติญาณทัศนะ) กระทําใหแจงและจบกิจ คือ ปริญญา1 ๓ ในอริยสัจ ๔ มีพระนิพพาน คือ สอุปาทิเสสนิพพาน2 เปนที่สุด ในกรณีตัวอยาง คือชาวเมืองฮิโรชิมานี้ จิตของพระอรหันต (ชาวเมืองฮิโรชิมา) ยอมถึงพระนิพพาน คือ อนุปาทิเสสนิพพาน3 อันเปนท่ี ส้ินไปแหง ภพทัง้ ปวง โยนิ ๔ คือ กาํ เนดิ , แบบหรือชนิดของการเกดิ ๑. ชลาพุชะ คือ สัตวเกิดในครรภ แลวคลอดออกมาเปนตัว เชน คน โค สุนขั เปน ตน ๒. อัณฑชะ คือ สัตวเกิดในไข ออกไขเปนฟอง แลวฟกเปนตัว เชน นก เปด ไก เปน ตน ๓. สังเสทชะ คือ สัตวเกิดในไคล เกิดแพรขยาย ในของชื้นแฉะ หมกั หมมเนา เปอย เชน กมิ ิชาตบิ างชนิด 1 ปริญญา ๓ คอื การกําหนดรูทาํ ความเขาใจโดยครบถวน ไดแ ก (๑) ญาตปรญิ ญา กําหนดรู ขัน้ รูจกั (๒) ตีรณปริญญา กําหนดรู ขน้ั พิจารณา (๓) ปหานปรญิ ญา กําหนดรู ขน้ั ละได 2 สอุปาทิเสสนิพพาน คือนิพพานยังมีอุปาทิเหลือ, ดับกิเลสแตยังมีเบญจขันธ เหลือ คือ นิพพานของพระอรหันตผูยังมีชีวิตอยู, นิพพานในแงที่เปนภาวะดับกิเลส คือ โลภะ โทสะ โมหะ 3 อนปุ าทเิ สสนพิ พาน คือนพิ พานไมมีอุปาทิเหลือ, ดบั กิเลสไมมีเบญจขันธเหลือ คอื ส้ินทัง้ กิเลสและชวี ิต หมายถงึ พระอรหันตสิน้ ชวี ิต, นพิ พานในแงท ี่เปนภาวะดบั ภพ 126

ปฏจิ จสมปุ บาท สําหรับคนรุน ใหม ๔. โอปปาติกะ คือ สัตวเกิดผุดขึ้นเต็มตัวในทันใด ไดแก พรหม เทพ เทวดา เปรต อสุรกาย สัตวนรก และสัมภเวสี (ของมนุษย และสัตว เดรจั ฉาน) ซ่ึงเกิดและตาย โดยไมต อ งมเี ชือ้ หรือซากปรากฏ1 การเกิดของมนุษย (ชาติ) มีพระพุทธพจน ในพระไตรปฎก กลาวถงึ การเกดิ ของมนษุ ยไวว า ประกอบดว ยองค ๓ คอื ๑. บดิ ามารดาอยูรว มกัน (มีเพศสัมพันธก นั ) ๒. มารดาอยใู นวัยยังมรี ะดู ๓. มคี นั ธพั พะมาปรากฏ (ในครรภมารดา) คันธัพพะ2 คือสัตว บาลีแปลไดวา คือ คนธรรพ, กําเนิดเทวดา, นกั ดนตรี, นกั รอ ง, มา. คพั ภะ คอื ครรภ, สตั วในครรภ, หอง, หองใน, ลําไส. มบี ทสนทนาระหวางพระพทุ ธองค กบั พระอานนท ดงั น3ี้ พระพทุ ธองค ดูกอนอานนท หากวิญญาณจักไมหย่ังลงสูครรภมารดา นามรูป (ชวี ติ ใหม) จักเกดิ ในครรภมารดาไดหรือ พระอานนท ไมได พระเจาขา พระพทุ ธองค ดูกอนอานนท หากวิญญาณหยั่งลงสูครรภมารดาแลว จักเลย ไปเสีย (ดับ) นามรปู (ชีวิตใหม) จักเกิดเปนอยางนี้ไดหรอื พระอานนท ไมได พระเจา ขา 1 พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม วา มีมนุษยบางประเภท กําเนดิ แบบโอปปาตกิ ะดว ย 2 คนฺธพพฺ ป. คนธรรพ, กาํ เนิดเทวดา, นักดนตรี, นักรอ ง, มา. 3 ท.ี มหา. ๑๐/๖๐/๗๔. 127

พระภาสกร ภรู วิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) พระพทุ ธองค ดกู อ นอานนท หากวิญญาณของกุมาร หรือกุมารี ผูเติบโต เปนหนุมสาว จักขาดสูญ (ดับ) ไปเสีย นามรูปจักเจริญ พระอานนท เติบโตอยา งน้ีไดหรอื พระพุทธองค ไมได พระเจาขา ดกู อ นอานนท เพราะเหตนุ นั้ แล (ตถาคตจึงกลา ววา) ส่ิงท่ี เปนเหตุ เปนตนเคา เปนแดนเกิด เปนปจจัยแหงนามรูป (ชวี ติ ใหม) กค็ ือวญิ ญาณ จากบทสนทนาระหวางพระพุทธองคกับพระอานนทดังที่ยกมาน้ี จึงเปนที่ชัดเจนวา สัตวท่ีมาเกิดในครรภมารดาน้ัน มาในสภาพที่เปน วิญญาณ คือเปน ปฏิสนธิวิญญาณ โดยจะเขามาในขณะท่ี บิดามารดาอยู รวมกัน (มีเพศสัมพันธกัน) และมารดาอยใู นวัยทีย่ ังมรี ะดู ถาเปรียบเทียบกับความรูทางการแพทยในปจจุบัน ก็คือขณะเม่ือ สเปอรม หรอื เชือ้ อสุจิของบดิ า เจาะเขาไปผสมกับไขของมารดา ที่สกุ พรอม ควรแกการผสม โดยที่โครโมโซม หรือรหัสพันธุกรรม จะไดจากฝายบิดา ครึ่งหน่ึง จากมารดาคร่ึงหนึ่ง เมื่อรวมกันแลวจะมีอยู ๒๓ คู ซึ่งนับรวมทั้ง โครโมโซม x หรือโครโมโซม y สําหรับบอกเพศดวย ครั้นเม่ือปรากฏ ลักษณะทางพันธุกรรมของชีวิตครบถวนแลว คือ เซลลๆ แรกของชีวิตใหม เกิดขึ้นมาโดยสมบูรณแลว ก็เปนเวลาที่ประจวบพรอมกันกับที่ปฏิสนธิ วิญญาณ ท่ีมีกรรมวิบากและเหตุปจจัยท่ีเหมาะสมอยางสอดคลอง พอเหมาะ พอดี กับบิดา มารดา เผาพันธุ วรรณะ ฐานะ และกรรมรวมของครอบครัว เขารวมผสมโรง ครอบครอง และควบคุมพัฒนาการของเซลลๆ น้ัน ให เปนไปสอดคลองพอดี เทากับบุญ บาป วิบากกรรม ท่ีสั่งสมมาแตอดีต ของปฏสิ นธิวิญญาณดวงนนั้ 128

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรบั คนรนุ ใหม ดงั พทุ ธพจนท ว่ี า “สัตวทัง้ หลาย มกี รรมเปน ของตน เปน ทายาทแหง กรรม มีกรรม เปนกําเนิด มีกรรมเปนเผาพันธุ มีกรรมเปนที่พึ่งอาศัย กรรมยอมจําแนก สตั วใหทรามและประณีต”1 จากหลักปฏจิ จสมุปบาทท่วี า “วิ ฺญาณปจฺจยา นามรูป” ซ่ึงแปลวา นามรูปมีได เพราะวิญญาณเปนปจจัย หรือ วิญญาณ เปนปจจัยใหเกิด นามรูป กรณีการตงั้ ครรภข องมารดานี้ วิญญาณท่ีเขามาในขณะที่อสุจิ (ของบิดา) เขาผนวกรหัสพันธุกรรมกับไขสุก (ของมารดา) เรียกวา ปฏิสนธิวิญญาณ หรือ จติ นั่นเอง พฒั นาการของชีวติ ในครรภมารดา ในอินทกสูตร2 พระพุทธองคทรงแสดงพัฒนาการของชีวิตในครรภ มารดาไวดงั นี้ “รปู นี้ เปนกลละกอน จากกลละเปนอัพพุทะ จากอัพพุทะเปนเปสิ จากเปสิเปนฆนะ จากฆนะเกิดเปน ๕ ปุม ตอจากนั้นก็มี ผม ขน และเล็บ (เปนตน) เกิดข้ึน มารดาของสัตวในครรภ บริโภคขาวนํ้าโภชนาหารอยางใด สตั วผอู ยูในครรภม ารดา กเ็ ลี้ยงอตั ตภาพอยดู วยอาหารอยา งนัน้ ในครรภน น้ั ” นอกจากน้ียังมีคัมภีรในระดับอรรถกถา เชน ปปญจสูทนี3, สารัตถ- ปกาสินี และในระดบั ฎกี า เชน อภิธมั มัตถวิภาวนิ ีฎกี า ไดม าอธิบายขยายความ เสรมิ ในรายละเอยี ด อีกหลายประการ 1 ม.อุ. ๑๔/๕๗๙/๓๗๖ 2 สํ.ส. ๑๕/๘๐๓/๓๐๓ 3 ปปญจสูทนี ๒/๒๑๘ 129

พระภาสกร ภรู วิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) เพื่อความรวบรัด จักขอเพียงเปรียบเทียบใหดูวา สิ่งท่ีพระพุทธองค และพระอรรถกถาจารยไดแสดงไว เมื่อสองพันหารอยกวาปน้ัน มีความ สอดคลอ งกบั ความรทู างการแพทยในปจจบุ นั ดงั ตารางตอไปน้ี สัปดาห พุทธศาสนา การแพทยในปจจุบนั ๑ กลละ (น้าํ ใส) (ไขผสมเชือ้ ) ๒ อพั พุทะ (นํ้าขนุ ขน) (ไขผสมเชือ้ ) ๓ เปสิ (ตวั ออ น) (ชน้ิ เน้อื ) เร่มิ มที างเดินอาหาร หัวใจ ตมุ แขนขา ๔ ฆนะ (ตวั ออ น) (กอนเนื้อ) เริ่มมตี มุ ตา หู จมูก แกม เร่ิมมีเคา ๕ ปญ จสาขา (ตัวออน) (๕ ปมุ ) มีศรี ษะ รา งกาย เร่ิมมีเคาของน้วิ มือ ๖ จกั ขทุ สกะ (ตัวออ น) (เคาโครงตา) นว้ิ มอื ปรากฏ ๗ โสตทสกะ (ตวั ออ น) (เคาโครงหู) แขนปรากฏสัน้ มาก ๘ ฆานทสกะ (ทารก) (เคา โครงจมูก) ศีรษะปรากฏใหญกวา ตวั สมองเจริญ ๙ ชวิ หาทสก (ทารก) ๑๐-๔๐ (เคาโครงลิ้น) อวยั วะเพศเจริญ ๔๑-๔๒ อวยั วะอน่ื ๆ (ทารก) อวยั วะปรากฏตามลําดบั หัวใจสมบรู ณ อาทิ ผม ขน การแพทยใ นปจ จบุ นั กาํ หนดไว อวยั วะอืน่ ๆ รวม ๔๐ สปั ดาห อาทิ ผม ขน รวม ๔๒ สปั ดาห พัฒนาการของชีวิตในครรภมารดา ที่แสดงมานี้ เมื่อพิจารณา รายบคุ คล ยอ มแตกตา งกันไปดว ยอาํ นาจของเหตุปจจัยตางๆ มากมาย 130

ปฏิจจสมุปบาท สําหรบั คนรนุ ใหม แตก็สามารถสรุปลงในหลักกรรมไดวา เปนดวยกรรมของคนๆ นั้น จึงไดพอแมที่มีเผาพันธุเชนน้ัน มีโรคทางพันธุกรรมอยางน้ัน มีฐานะทาง ครอบครัวยากจนหรือม่ังมีเชนนั้น เกิดในสภาพแวดลอมที่ดีหรือเปนโทษ ตอพัฒนาการอยางนั้น เกิดในประเทศและชวงเวลาเชนนั้นๆ อันเปนการ ยนื ยันพทุ ธพจน ที่ทรงแสดงไวว า “สัตวท ั้งหลาย มีกรรมเปน ของตน เปนทายาทแหง กรรม มกี รรม เปนกําเนิด มีกรรมเปนเผาพันธุ มีกรรมเปนท่ีพ่ึงอาศัย กรรมยอมจําแนก สตั วใ หท รามและประณตี ”1 กรณศี ึกษา ตายจากมนุษย แลวมาเกดิ เปนมนุษย จากที่วา บุคคลใด ตายไปในขณะที่มีใจเปน มนุสสมนุสโส คือ กายมนุษย-ใจมนุษย ที่กําลังปรุงแตงอยู ดวย จิตเปนมหากุศลบาง จิตโลภบาง จิตโกรธบาง จิตหลงบาง จิต (ใกล) ลามกบาง ท่ีมีกําลัง ไมเกินกวาขอบเขตของศีล ๕ จะวิรัติงดเวนไวได คือสามารถรักษาศีลไวได ครบถวนทั้ง ๕ ขอ จิตนั้นยอมไดรูปกายใหมอันละเอียด ลวงจักษุมนุษย เปน สัมภเวสี (แหงมนุษย) ผูรอนเรหาแดนเกิด ในมิติภพภูมิแหงความเปน มนษุ ย ในบัดดล การไดกายละเอียด อันพนวิสัยที่ตามนุษยปกติจะมองเห็นได ของ สัมภเวสี (แหงมนุษย) น้ัน จัดวาเปนการปฏิสนธิ คือการเกิดใหม ในแบบ โอปปาติกะ คือเกิดผุดขึ้นเต็มตัวในทันใด สําเร็จดวยอํานาจของใจ ที่มี อวิชชา ผูกพันยึดมั่นในความมีอยูของกาย แลวรังสรรคกายละเอียดนั้นขึ้น จากน้นั จงึ ไดเ รร อนไปตามยถากรรม อันสัมภเวสนี นั้ เคยสรางสัง่ สมมา 1 ม.อ.ุ ๑๔/๕๗๙/๓๗๖ 131

พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) ครั้นเมื่อมีความประจวบพรอ มขององค ๓ คือ ๑. บิดามารดาอยูร ว มกัน (มีเพศสมั พันธ) ๒. มารดาอยูในวยั ยังมรี ะดู ๓. มีคันธัพพะมาปรากฏ (ในครรภมารดา) ซึ่ง คันธัพพะ ในกรณีน้ี ก็คือ ปฏิสนธิจิต อันเปนจิตดวงแรกของชีวิตใหม ซ่ึงสืบตอมาแต จุติจิต ทเ่ี ปน จติ สดุ ทา ย ของชาตทิ ่เี ปน สัมภเวสีแหงมนษุ ย น้นั ดวยประการฉะนี้ จึงไดมีมนุษยคนใหมถือกําเนิดขึ้น ในแบบ ชลาพุชะ คือเกิดในครรภของมารดา ใชเวลาในครรภของมารดารวมแลว ๔๐-๔๒ สปั ดาห จึงคลอดออกมาดูโลก กลาวโดยสรปุ ก็คือ การที่มนุษยถึงแกความตาย แลวจะมาเกิดเปน มนุษย เขาทองของคุณแมคนใหมโดยตรงในฉับพลันทันที ตอชาติกันนั้น เปนสิ่งที่เปนไปไดโดยยากมาก หรือแทบจะเปนไปไมไดเลย ยอมจะตองมี ชาติ ที่มาเกิดเปน สัมภเวสี (แหงมนุษย) เสียกอน ซึ่งเหลาสัมภเวสีนั้น ก็จะมีอายุยืนยาว คลายๆ กับเหลาเทวดา สัตวนรก และพวกที่มีกําเนิด แบบโอปปาตกิ ะทัง้ หลาย คือไมไดเสวยความสุขแตเพียงอยางเดียว เชนกับ เทวดา และไมไดเสวยแตทุกขอ ยางเดียว เชน กับสตั วน รก แตเ ปน ไปกลางๆ สุขบางทุกขบา ง เฉกเชนมนุษยใ นโลกนี้ แลวเรร อ นทอ งเที่ยวไป จนกวาจะมี พอและแม ทีเ่ ปน แดนเกดิ อันเหมาะสม แกกรรมสวนของตนเสยี กอน จึงจะ ไดมาเกดิ ใหมอ กี คร้ังในครรภข องคุณแม ซง่ึ ชว งเวลาแหง ความเปนสัมภเวสี ของมนษุ ยน้ี อาจจะยาวนาน หรือสัน้ มากๆ ก็มีความเปนไปไดท ง้ั น้นั 132

ปฏิจจสมุปบาท สาํ หรบั คนรุนใหม กรณีศึกษา ตายจากโอปปาติกะชน้ั สงู คอื พรหม เทพ เทวดา แลว มาเกดิ เปน มนุษย ๑. กรณีที่บุญเดิมท่ีสรางมา เพื่อเสวยความเปนพรหม เทพ เทวดา ในชวงน้ัน ไดเสวยไปจนหมดสิ้นแลว ก็จะจุติ ตายจากความเปนพรหม เทพ เทวดานน้ั แลวปฏสิ นธิแบบโอปปาติกะ คือเกิดใหมทันที ผุดข้ึนเต็มตัว แต ในฐานะเปนสัมภเวสี (แหงมนุษย) แลวแสวงหาแดนเกิดในความเปน มนุษยต อไป จนกวาจะไดพ อ แม และฐานะอนั สมควรแกก รรมของตน ๒. กรณีท่ีบุญเดิมท่ีสรางมาเพื่อเสวยความเปนพรหม เทพ เทวดา ในชวงน้ันยังมีอยูอีกมาก แตปรารถนาจะมาเกิดในภูมิมนุษย เพ่ือบําเพ็ญ บารมี เชน พระโพธิสัตวผูปรารถนาพุทธภูมิเปนตน คร้ันตรวจสอบดูวามี บิดามารดาผูสมควรเปนแดนเกิดใหแกตนในการบําเพ็ญบารมีแลว ก็จะ อธิษฐานใจ กระทํากาลกิริยา จุติ ตายจากความเปนพรหม เทพ เทวดานั้น แลวปฏิสนธิแบบชลาพุชะ คือเกิดในครรภของมารดา ใชเวลาในครรภของ มารดารวมแลว ๔๐-๔๒ สปั ดาห จงึ คลอดออกมาดโู ลก โดยไมต อ งผา นการ เปน สัมภเวสี (แหงมนษุ ย) มากอน ซ่ึงกรณีน้ี สอดคลองกับที่เราเคย ไดยินวา เทพเจาชั้นสูงบางองค แบงภาคลงมาเกิดทําบารมี จริงๆ แลวไมมีทางเลย ท่ีจิตหนึ่งใด จะแบงภาค แยกเปนหลายจิต ไปทําหนาที่อื่นๆ พรอมกัน แลวกลับมารวมกันอีก เพียงแตวา เวลาในแตละมิติภพภูมิ มีความแตกตางกันมาก จนเทพเจา บางทานท่ีมีบุญญาธิการมาก สามารถกําหนดใจ จุติมาเกิดในภูมิมนุษย แลวทําบารมีบางประการ จากน้ันจึงจุติ ตายจากชาติมนุษยน้ัน กลับไป ปฏิสนธิยังสวรรคชั้นเดิมท่ีตนเคยอยู โดยที่เทพเทวดาองคอื่นในสวรรค ช้ันเดียวกันน้ัน ไมทันสังเกต เพราะเห็นวาหายไปครูเดียว ในมิติเวลาของ ภพภูมิแหงเทวดาน้ัน 133

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) กรณีศึกษา ตายจากเดรัจฉาน และโอปปาติกะชั้นต่ํา คือ อสรุ กาย เปรต สตั วน รก แลวมาเกดิ เปน มนุษย ในกรณนี ้ี สตั วเดรัจฉาน และโอปปาติกะช้ันต่ํา คือ อสุรกาย เปรต สัตวน รก จําตอ งใชก รรมไปจนกวาจะหมดผลของกรรมชวั่ อันยังใหเสวยผล เปนทุกขโทษ ท่ีตองทนทรมานในภพภูมิแหงตนนั้นแลว จึงจะจุติจากภูมิ เดิมของตน มาปฏิสนธิใหมแบบโอปปาติกะ เกิดผุดข้ึนเต็มตัวในความเปน สัมภเวสี (แหงมนุษย) ผูแสวงหาแดนเกิดแหงความเปนมนุษย แลวรอคอย ไปจนกวาจะไดพอแม และฐานะอันสมควรแกกรรมที่สั่งสมสรางมาของตน จึงจะไดป ฏิสนธิแบบ ชลาพุชะ คือเกิดในครรภของมารดา ใชเวลาในครรภ ของมารดารวมแลว ๔๐-๔๒ สัปดาห จึงคลอดออกมาดูโลก เพ่ือสราง กรรมใหม และเสวยผลของกรรมเกา ตอ ไป โอปปาตกิ ะกาํ เนิด ในภพสมั ภเวสี เพ่อื ความเปน เดรจั ฉาน การจะไดช าตเิ ปน สัตวเดรัจฉาน ก็มนี ยั คลายกบั การไดช าติเปน มนุษย คือมีภพของ สัมภเวสี เปนระหวางค่ัน เพ่ือแสวงหาแดนเกิดในความเปน สัตวเดรัจฉาน (มีกายหยาบ คือธาตุ ๔) อันควรแกคุณภาพของใจ ที่มีศักยภาพ แหงความเปนสัตวเดรัจฉานน้ัน เปนผลมาแต อปุญญาภิสังขาร การปรุงแตง อันยิ่ง ฝายบาป ดวยอํานาจของ จิตหลง ท่ีมีกําลังเกินกวาขอบเขตท่ีศีล ๕ จะวิรัติงดเวนไวได คือมีศีล ๕ ไมครบท้ัง ๕ ขอ จิตนั้นยอมไดภพชาติคือ ความเปนสัตวเดรัจฉาน ที่มีความกลัวเปนพ้ืนฐานของใจ (มนุษย เปนภพ แหงผูกลา ดวยมีศีล ๕ เปนกําลัง) คร้ันเม่ือประสบกับแดนเกิด คือมีสัตว เดรัจฉานเพศผูเพศเมีย หรือไรเพศ ท่ีทําหนาท่ีสืบพันธุตามกฎเกณฑแหง พีชนยิ าม แลว สมั ภเวสนี ้ันจงึ ไดจุติ ตายจากสมั ภเวสภี าวะ แลว ปฏิสนธิ คือ เกิดใหมใ นชาติแหง เดรัจฉาน ท่มี ีกายหยาบ คือธาตุ ๔ เหลา นนั้ 134

ปฏจิ จสมุปบาท สาํ หรับคนรุน ใหม การเกดิ ในภพของเดรจั ฉาน จะมโี ยนิ คือแบบ หรอื ชนิดของการเกิด อยู ๓ ประการ คอื ๑. ชลาพุชะ คือ สัตวเกิดในครรภ แลวคลอดออกมาเปนตัว เชน สนุ ัข แมว หนู ฯลฯ ๒. อัณฑชะ คือ สัตวเกิดในไข ออกไขเปนฟอง แลวฟกเปนตัว เชน เปด ไก กบ งู ฯลฯ ๓. สังเสทชะ คือ สัตวเกิดในไคล เกิดแพรขยาย ในของช้ืนแฉะ หมกั หมม เนา เปอ ย เชน กมิ ชิ าติบางชนดิ ฯลฯ เดรัจฉานภพ ภพแหงการเสวยผลของกรรม สัตวเดรัจฉาน แมจะมีกายหยาบ คือ รางกายที่ประกอบดวยธาตุ ๔ พรอมทั้งมีอายตนะในการผัสสะกระทบกับอารมณตางๆ แตทวาสัตว เดรัจฉานทั้งหลาย มีระบบประสาทหรือสมองขนาดเล็ก จึงไมสามารถปรุงแตง กรรม ที่เขม ขนดงั เชนมนษุ ยได การดาํ เนินชีวติ ของสัตวเ ดรัจฉาน จงึ เปน ไป ตามสัญชาตญาณในการเอาชีวิตรอดและสืบพันธุเปนสําคัญ และโดยทั่วไป สัตวก็จะปรับตัวปรับใจ ยินดี และติดของอยูในภพแหงความเปนเดรัจฉานน้ัน คราวละนานๆ กลาวไวในคัมภีรตางๆ วา มากมายถึงอยางละ ๕๐๐ ชาติ จงึ จะพน ขน้ึ ไปได 135


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook