Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปฏิจจสมุปบาท สำหรับคนรุ่นใหม่.

ปฏิจจสมุปบาท สำหรับคนรุ่นใหม่.

Published by thiwadon jirapunyo, 2021-09-24 11:52:14

Description: พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวิไล).

Search

Read the Text Version

พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) วิตกวิจาร พิจารณาวา เขาเกิดมาอยางไร จากเด็กจนโตขึ้นมาเปน วัยรุน เปนหนุม เปนสาว เปนผูใหญ… เขาเปล่ียนแปลงไหม? เขาจะแกไหม เจ็บไขไมสบายไหม แลวจะตายไหม? ถาเขาตาย เขาจะตายเพราะอะไร? กฎแหงกรรม วบิ ากกรรมดี วบิ ากกรรมชั่ว เปนไปไดไหม? หรือเปนไปตาม กฎพระไตรลักษณ หมดอายุขัย แลวก็ตองแตกดับไป ตายแลวรางกายเขา จะเปนอยางไร? เนาไหม? ผุพังไหม? หรือเอาไปเผา เผาแลวเหลืออะไร กระดูกผุไหม ปนไหม แตกไหม แลวเหลืออะไร? อนัตตา… หายไปหมด หาอะไรเปนทยี่ ึดถอื ไมไ ดเลย… จบวิตกวิจาร จะเกิดปติ ปติเกิดจากการที่เราเขาใจในธรรมชาติ ความเปนจริงของมัน ออ… ท่ีแทมันก็เปนอยางน้ีเอง จากนั้นก็เกิดสุข ดวย มีความสบาย มีความคลี่คลายใจ จากความรูนั้น ครั้นสุขดับลง คงเหลือ เอกัคตาและอุเบกขา แสดงวาใจเรา สามารถอุเบกขา วางลง ๆ ปลงตก ในอุปาทานความยึดถือ ท่ีหลงผิดใหคุณคา ในบุคคลน้ันๆ ลงได เพราะ เขาใจในเหตุผลของการเกิดข้ึน ต้ังอยู และดับไปในบุคคลนั้น อันเปนไป ตามกฎพระไตรลักษณนน่ั เอง เปนการจบการชกกับคซู อมของเรา เราทําเรอ่ื ยๆ ยกองคธรรมขึน้ มาพจิ ารณาทีละ ๑ คน เรมิ่ จากคนท่ี สนิทไมมาก มีคาตอใจไมมาก ไมไดมีสวนไดสวนเสียกับเรามากมายนัก แลวขยับขึ้นมาเปนคนท่ีสนิทมากขึ้น คนที่เราช่ืนชอบมากขึ้น ชนิดที่ใหคา ใหราคา มีสวนไดสวนเสียกับเรามากข้ึนๆ ซึ่งตองใชกําลังใจที่มากข้ึนๆ เรือ่ ยๆ ตามคณุ คาของบุคคลตางๆ ทเี่ ราตัง้ คา เอาไว แตขอย้ําวา ใหทําเทาท่ีมีกําลัง ถารูสึกวากําลังใจออนลา ก็ให ถอยกลับไปทําทาน รักษาศีล ทําสมถะภาวนา เพื่อเติมกําลังใจกอน พอกําลังใจเต็ม จึงคอยกลับมาพิจารณาตอ ลองเริ่มใหมที่ชกลม พอจะ ไหวไหม? ถาแคลวคลองดี ก็ชกกระสอบตอ ชกกระสอบจนเกิดความมั่นใจ ไมห วน่ั ไหวแลว จงึ ขน้ึ เวที อัดกบั คตู อสู 186

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรับคนรนุ ใหม ถาเราสามารถน็อคคูตอสูได แสดงวาเราสามารถทําลายคุณคา จอมปลอม ท่ีใจเราตั้งขึ้นในคนเหลาน้ัน ใหหมดไปจากใจไดแลว บุคคล เหลาน้ัน จะไมสามารถมามีอํานาจเหนือใจเราอีก ไมวาเขาจะกระทําใดๆ หรือแปรเปลี่ยนจากไป บุคคลเหลาน้ัน ก็ไมสามารถท่ีจะมาทําใหจิตใจ ของเราหวั่นไหวไดอีก นี้แสดงวา เราเริ่มแข็งแกรงข้ึนมาบางแลว มีที่ยืน บนเวทีสาํ หรับเราแลว” ๑๔. ไดฤกษข ึ้นเวทจี ริง ไตอนั ดับสูความเปน แชมป จากสําเนาตอบคําถามในอินเตอรเนท ที่คุณภัทร คชะภูติ ไดแสดงไว มดี ังน้ี “บัดนี้เราพรอม… ที่จะขึ้นเวทีจริงไดแลว เพื่อชกไตอันดับ ซึ่งยาก ขึ้นอีก โดยพิจารณา เพื่อนๆ เพื่อนรวมงาน ญาติหางๆ ก็ใชวิธีเดียวกัน วิตก วิจาร เขาเกิดมาอยางไร จากเด็กเล็ก โตขึ้นมาเปนผูใหญ เขามีความ เปล่ียนแปลงไหม? เขาจะตายไหม? จะตายเพราะอะไร? กฎแหงกรรม วิบากกรรมดี วิบากกรรมชั่ว เปนไปไดไหม? หรือวาเปนไปตามกฎพระ ไตรลักษณ เม่ือหมดอายุขัยก็ตองแตกดับไป เมื่อตายแลวรางกายจะเปน อยางไร? เนาไหม? ผุพังไหม? หรือถาเอาไปเผา เผาแลวไหม กระดูกจะผุ ปน เปน ขเ้ี ถา สลายไปไหม? แลว เหลอื อะไร? สุดทายก็อนัตตา… หายไปหมด หาอะไรเปนที่ยึดถือไมไดเลย… วติ กวจิ ารจึงหยุดไป เพราะพิจารณาจนจบรอบ เกิดความเขาใจในธรรมชาติ ตามความเปนจริงของมัน… ออ… ที่แทมันก็เปนอยางนี้เอง ใจจึงเกิดปติ สุข เอกัคตา สบายใจในความรูหน่ึงเดียวน้ัน คร้ันปติจางลงๆ จนดับไป เหลือแตสุขกับเอกัคตา เม่ือสุขจางลงและดับไปอีก ใจจึงเหลือเพียง อุเบกขา กับเอกัคตา ความวางลงปลงตก เพราะเขาใจเหตุผลของการ เกิดขึ้น ต้ังอยู และดับไป ในธรรมหน่ึงเดียวน้ัน อันเปนไปตามกฎพระ ไตรลกั ษณน ่ันเอง จึงเปน การจบการชกไตอนั ดับของเรา 187

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) เราทาํ เร่อื ยๆ ยกองคธรรมข้ึนมาพจิ ารณาทลี ะ ๑ คน เร่มิ จากคนท่ี เรารักไมมาก หวงไมมาก มีคาตอใจไมมาก ขยับข้ึนมาเปนคนท่ีเรารัก มากขึ้น ช่ืนชมมากขึ้น ใหคาใหราคามากขึ้นๆ ซึ่งจะเห็นวา ตองใชกําลังใจ มากขนึ้ เร่ือยๆ ตามระดบั ของคุณคาทเ่ี ราหลงไปต้งั คาไว แตขอยํ้าซํ้าวา ใหทําเทาท่ีมีกําลังใจนะครับ ถารูสึกออนลาแลว ใหกลับไปเติมกําลังใจกันกอน ดวยการใหทาน รักษาศีล และปฏิบัติ สมถะภาวนา พอมีกําลังใจเต็ม ก็กลับมาพิจารณาตอ… ลองเริ่มใหมที่ ชกลม พอไหวไหม? ถาแคลวคลองดีก็ชกกระสอบตอ เม่ือชกกระสอบได ไมหวั่นไหว ก็ขึ้นเวทีอัดคูซอม แลวก็อัดคูตอสูอันดับตางๆ ถาเราสามารถ น็อคพวกเขาลงได ก็แสดงวา เราสามารถทําลาย คุณคาจอมปลอมของ คนเหลานั้น (ท่ีเราหลงตั้งขึ้นมาเอง) ใหหมดไปจากใจได และแนนอน… หากบุคคลเหลานั้นแปรเปลี่ยน อนิจจังจากเราไปจริงๆ ก็ไมสามารถทําให ใจของเราหว่ันไหวไดอีก น้ีแสดงวา เราเริ่มแข็งแกรงขึ้นมาแลว พรอมท่ีจะ ขึ้นเวทีใหญไดแ ลว” ๑๕. ขนึ้ เวทใี หญ ใกลค วามเปน แชมป คุณภัทร คชะภูติ ไดแสดงไวดังน้ี “เราพรอมที่จะข้ึนเวทีใหญ เพื่อจะชิงแชมปแลวนะ ตองฟตรางกาย ใหดี ออกกําลังกายสม่ําเสมอ ออกว่ิงทุกวัน ทานอาหารดีๆ (ทําบุญใหทาน รักษาศีล สวดมนต ทําสมาธิ อยาใหขาด) ชกกระสอบบาง (คือการพิจารณา ในวัตถุสิ่งของ ท่ีเราเขาไปยึดถือวาเปนของเรา) ชกกับคูซอม หรือครูฝกบาง (คอื การพจิ ารณาบุคคลท่เี รารจู ัก) เอาหละ ไดเวลาข้นึ เวทีใหญแ ลว… ข้ึนเวทีใหญ ก็คือ พิจารณาจากคนใกลชิด คนในครอบครัว ของเราเอง ก็ใชวิธเี ดยี วกัน วิตกวิจาร เขาเกิดมาอยางไร จากเด็ก โตขึ้นมา จนเปนผูใหญ เขาจะเปลี่ยนแปลงไหม? เขาจะแก จะเจ็บ จะตายไหม? ถาเขาจะตาย เขาจะตายเพราะอะไร? กฎแหงกรรม วิบากกรรมดี หรือ วบิ ากกรรมชว่ั เปนไปไดไ หม? หรอื เปนไปตามกฎพระไตรลักษณ ? 188

ปฏจิ จสมปุ บาท สําหรับคนรุนใหม คร้ันหมดอายุขัย ก็แตกดับตายไป ตายแลวรางกายเปนอยางไร? เนาไหม? ผุพังไหม? หรือเอาไปเผา? เผาแลวจะเหลืออะไร? เปนข้ีเถา ปน แตก อนัตตา… หายไปหมด จะหาอะไรมาเปน ท่ีพงึ่ ท่ียดึ ถือไมไดเลย… จบวิตกวิจาร ก็จะเกิดปติ ปติเกิดจากเราเขาใจในธรรมชาติ ตามความ เปนจรงิ ของมนั ออ... ทแี่ ทมนั กเ็ ปนอยางน้ีเอง วิตกวิจารหยุดไป เพราะเรา เขาใจแลว เหลือแต ปติ สุข เอกัคตา สบายใจในความรูหนึ่งเดียวนั้น ครั้น ปติจางดับไป เหลือแตสุขกับเอกัคตา เมื่อสุขจางลงและดับไปอีก ใจจึงเหลือ เพียงอุเบกขากับเอกัคตา วางลงๆ ปลงตก เพราะเขาใจเหตุผลของการเกิดข้ึน ต้ังอยู และดับไป ในธรรมหน่ึงเดียวนั้น อันเปนไปตามกฎพระไตรลักษณนั่นเอง เปนการจบการชกไตขึ้นสู ๑๐ อนั ดับสงู สุด หรือ Top Ten ของเรา… เราทําเรื่อยๆ พยายามทําอยางตอเนื่อง ยกองคธรรมข้ึนมาพิจารณา ทีละ ๑ คน เริ่มจากคนท่ีเรารักนอยที่สุด คือมีคาตอใจนอยหนอย (อยางไรก็ มากกวา ญาติหางๆ) แลว ขยับมาเปนคนที่เรารักมากข้นึ มีคา ตอใจเรามากข้ึน คนที่เราใหคาใหราคามากขึ้นๆ จากหลาน เปนลุง ปา นา อา มาเปนพ่ีนอง (คราวน้ีหนักหนอย) สว นรองแชมปอันดับ ๔, ๓, ๒ ก็แลวแตเราจะจัดใหใคร คุณแม คุณพอ ลูก หรือสามี ภรรยา ก็ข้ึนอยูกับวา เรากลัวการจากไปของใคร มากท่ีสุด จะเห็นวาตองใชกําลังใจอยางหนัก หนักมากข้ึนเรื่อยๆ จนถึงมาก ท่สี ุด แตก็น่นั แหละ ทําไปเทา ที่มกี าํ ลงั ใจจะทําได… เราจะข้ึนเวทีก็ตอเม่ือกําลังใจเราพรอมจริงๆ ถารูสึกออนลา ให กลับไปเติมกําลังกอน ดวยทาน ศีล และสมถะภาวนา พอมีกําลังก็กลับมา พิจารณาตอ เริ่มใหมท่ีชกลมไหวไหม? ถาแคลวคลองดี ก็ชกกระสอบตอ ชกกระสอบไมหวั่นไหว ก็ขึ้นเวทีอัดคูซอม แลวอัดคูตอสูอันดับตางๆ ถา สามารถน็อคพวกเขาลงได แสดงวาเราสามารถทําลายคุณคาจอมปลอม ท่ี เคยถูกตั้งคาไวใหหมดไปจากใจไดแลว ดังน้ันการแปรเปล่ียน หรืออนิจจัง จากไปของเขาเหลานั้น จะไมสามารถทําใหจิตใจเราหว่ันไหวไดอีก นี้แสดง วาเราเร่มิ แขง็ แกรง จนถงึ ทีส่ ดุ แลว พรอมจะขึ้นเวทชี งิ แชมปจ รงิ ๆ ไดแ ลว” 189

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) เปดปูมชวี ิต เพอื่ กวาดลางทําความสะอาด “อตตี ารมณ” ในบทความเรื่อง “วิธีสอบอารมณแบบ สุขวิปสสโก ๑๗ ขอ” ของ ทานอาจารยแมชี อุบาสิกาเพียงเดือน ธนสารพิพิธ ไดแนะนําใหนักปฏิบัติ ยกองคธรรมขึ้นมาพิจารณาเพิ่มเติม เพื่อชําระลางทําความสะอาดอตีตารมณ คอื อารมณที่จิตรับรูแ ละบันทกึ เอาไว ท่ีมีมาแตด้ังเดิมในอดีต แลวเอามาทํา การปรุงแตงและรับรูใหม ใหถูกตองตามความเปนจริง อยางที่เปนไปตาม กฎธรรมชาติ ดงั ตอ ไปน้ี (๑) ทบทวนประวัติชีวิตของตนเองท้ังหมด นับตั้งแตเกิดมา เปนเด็กทารก เติบโตขึ้นมา… ตลอดจนถึงปจจุบัน แลวพิจารณานอมลงสู กฎพระไตรลักษณ ใหเ ห็นชัดดวยใจตนเอง (๒) ทบทวนพิจารณาอตีตารมณ อดีตท่ีมีอํานาจเหนือใจ ที่สามารถ ยังใหใจหว่ันไหว ดวยความยินดีบาง ไมยินดีบาง ขุนมัวเศราหมอง โหยหา หรือพยาบาทบาง โดยคนหาข้ึนมาคร้ังละ ๑ หัวขอ เปนเร่ืองๆ ไปตามลําดับ อยาใหส ับสน พจิ ารณาตั้งแตตนจนจบ จึงนอ มลงสูกฎพระไตรลักษณ ซ่ึงยิ่ง พจิ ารณาละเอียด จนสามารถลงใจไดแ นบสนิทเพียงไร ก็จะย่ิงลางจิตลางใจ ใหส ะอาดไดมากย่งิ ข้นึ เทา น้นั (๓) ขุดคน “กามประวัติ”1 กลาวคือพฤติกรรมทางกามของตน เอาขึน้ มาพิจารณาครัง้ ละหัวขอ วาตนนั้นไดเ คยหลงใหลมัวเมา ยดึ ติดมา 1 ทาํ ไมถงึ ตองพิจารณา กามประวัติ ? กเ็ พราะกามเปนบอเกิดแหงโลก เปน โลกียธรรม ถาไมเขาใจ ไมแทงตลอด ไมรูแจงในเหตุผล ไมเห็นทุกขโทษของกามแลว ยอมจะละกามไมได ซึ่งเหลานักปฏิบัติ ที่ปฏิบัติธรรมไปโดยไมไดร้ือคนจนถึงรากเหงา ของกาม ไมไดเห็นวิถีการทํางานของธรรมารมณ อันเนื่องมาแตกามอยางชัดเจนแลว กามสัญญา (สัญญาอุปาทาน คือ อิฏฐารมณ อารมณที่ชอบใจ และอนิฏฐารมณ อารมณท่ีไมชอบใจ) อันเกิดแต อวิชชา ความรูเห็นท่ีผิดไปจากความเปนจริงเหลาน้ัน ก็จะยังคงซอนเรน เปนเช้ือมะเร็งรายที่คอยเวลาท่ีจะลุกลาม ลางผลาญ ทํารายทําลายเรา ใหพ ายแพตกเวที พลาดโอกาสทีจ่ ะบรรลมุ รรค ผล นิพพานไปอยา งนาเสยี ดาย 190

ปฏจิ จสมุปบาท สําหรบั คนรุนใหม ดวยชอบใจในสัตว บุคคล สิ่งของ หรือฐานะอันใด เปนเพราะเหตุใด ทําไมถึงไดไปหลงใหลคลั่งไคล ยึดติดอยูเชนนั้น และทําไมสิ่งนั้น ถึงไดมา มีอิทธิพลอยูเหนือจิตเหนือใจของเรา ซ่ึงการพิจารณาเชนน้ี เราจะตองร้ือ เอาพฤติกรรมทางกามที่เคยมีมาในอดีต เอามาตรวจสอบพิจารณาหาเหตุผล ตง้ั แตตนจนจบ แลวนอมลงสูกฎพระไตรลักษณ ดวยความซ่ือตรง เปดเผย กลาหาญ โดยไมมีการปดบัง หมกเม็ด หรอื กลบเกล่อื นซอ นเรน ๑๖. ข้ึนเวทีโลก ชวงชิงความเปนแชมป จากรองแชมปโลก จนถึงแชมปโ ลก คุณภทั ร คชะภตู ิ ไดแสดงไวอกี ดงั นี้ “แชมปโลกคือใคร? มีรองแชมปโลกหรือไม? ใครคือรองแชมปโลก อันดับหน่ึง? ใครคือแชมปโลก? ทานพระอาจารยภาสกร ภูริวฑฺฒโน ทานไดแ สดงไวว า รองแชมปโลกอนั ดบั หนง่ึ กค็ อื รปู ที่ใจเราต้งั คา ไวส งู สุด วาเม่ือไดเห็นแลว จะมีความสุขที่สุด เสียง กลิ่น รส และสัมผัสทางกายใดๆ ท่ีใจต้ังคาไววา เม่ือไดยิน ไดกล่ิน ล้ิมรส หรือไดเสียดสีสัมผัสใกลชิดแลว จะมคี วามสขุ ทสี่ ดุ เมื่อเรายังเปนผเู สพเสวยกามอยู แนนอน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสทางกาย รวมไปถึงสัมผัสทางใจ ท่ีเก่ียวเน่ืองดวยกายน้ัน ก็มักจะ มีรูปของมนุษยมาเปนตัวแทนของคุณคาสูงสุด อันจะนําความสุขสูงสุด มาสูใ จของเรา ถาคนๆ นั้นเปนชาย รูป เสียง กล่ิน รส สัมผัสทางกาย และ สัมผัสทางใจอันเน่ืองดวยกาย ที่จะนําความสุขสูงสุดมาสูใจเขาน้ัน ก็มักจะ เปนการต้ังคาในเพศหญิง ที่ทานพระอาจารยภาสกรเรียกวา เปนนางเอก ประจําใจของคนๆ น้ัน ซ่ึงไมจําเปนวารูปๆ นั้น จะตองเปนรูปที่สวยท่ีสุด ในโลก เปนนางงามจักรวาลหรืออะไร ขอเพียงแตใจของคนๆ นั้นต้ังคา ข้ึนมาวา รูปน้ีน่ีแหละท่ีจะทําใหขามีความสุขสูงสุด ก็ถือวารูปนั้นไดเปน นางเอกของเขาแลว นับเปนรองแชมปโลกอันดับหนึ่ง คูตอสูของเขาใน หวงเวลาน้ัน 191

พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวไิ ล) ในทางตรงขาม ถาคนๆ น้ันเปนหญิง รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสทางกาย และสัมผัสทางใจ อันเนื่องดวยกาย ที่จะนําความสุขสูงสุด มาสูใจเธอน้ัน ก็มักจะเปนการต้ังคาในเพศชาย ท่ีพระอาจารยภาสกร เรียกวา เปนพระเอกประจําใจของเธอคนนั้น ซ่ึงไมจําเปนวา รูปๆ น้ัน จะตองเปนรูปท่ีหลอที่สุดในโลก เปนชายงามล่ําสันหุนมาดแมนหรืออะไร ขอเพียงแตใจของเธอคนน้ัน ตั้งคาข้ึนมาวา รูปน้ีแหละ ที่จะทําใหฉันมี ความสขุ สงู สดุ กถ็ ือวารูปนนั้ ไดเ ปนพระเอกของเธอคนนน้ั แลว เปนรอง แชมปโลกอันดบั หน่ึง เปน คตู อสูของเธอคนนนั้ นอกจากรูปแลว เสียง กลิ่น รส และสัมผัสทางกาย หรือทางใจ ใดๆ ก็ตาม ท่ีมีคาสูงสุดตอใจ ก็มักไปลงตัวท่ีเธอหรือเขา รายเดียวกัน ให เปนนางเอกหรือพระเอกประจําใจของเราโดยสมบูรณ… แตยังกอน อยาเพิ่ง ตายใจวาจะมีรองแชมปอยูเพียงรายเดียว เพราะไมแนวา พอถึงวันดีคืนดี พอมีรูปที่ดีกวา เสียง กลิ่น รส สัมผัสทางกายและใจที่ดีกวา ท่ีเรารูสึกวา จะนาํ ความสุขมาใหไ ดมากกวา รูปเดิม ที่เคยเปน หรอื กาํ ลังเปนนางเอก หรือ พระเอกของเราในปจ จุบัน เราก็คงจะเปลีย่ นนางเอก หรือพระเอกในใจของ เราใหมเปนแนแท… น่ีไง แมแตคุณคาคืออุปาทานท่ีมีอยูในใจของเรา ก็ยัง อนิจจงั กนั ไดงา ยๆ สวนเจาของตําแหนงแชมปโลกคนปจจุบัน ที่เราจะตองขึ้นไป ชิงแชมป ไปถลมใหราบคาบเลา มันคือผูใด? ไมใชอื่นไกล มันก็คือ กายของเรานี่เอง ที่ใจเราเขาไปหลงผิด คิดวามันเปนตัวเปนตนท่ีแทจริง ของเรา ท้ังๆ ท่ีมันไมใช แตเราก็หลงรักกายนี้ ปรารถนาในกายนี้ แลวรูไหม วา ทําไม นั่นก็เพราะเราคดิ วา กายน้แี หละ ทีม่ ันจะสามารถนําความสุขมาให เราไดนะสิ ก็เพราะเรามีกายน้ีไมใชหรือ เราจึงมีตาไปดู ไปเห็นในรูป ที่เรา ต้ังคาเอาไววาจะนําความสุขมาใหแกเราได ก็เพราะการที่มีกายนี้มิใชหรือ เราจึงมีหู มีจมูก มีลิ้น มีประสาทสัมผัส เอาไวไปเสพซ่ึงคุณคา ในเสียง ในกลน่ิ ในรส และในสมั ผัสทีเ่ ราปรารถนา 192

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรบั คนรุนใหม กายนี้แหละ คอื แชมปโ ลกตวั จรงิ แชมปโลกท่ีมีอํานาจ ลอหลอกใหเราแสวงหา ปรารถนา บํารุง บําเรอมนั และ ปรารถนาที่จะเกิด เพราะคิดวา ถาเราไดเกิดมาแลว เราคง จะไดร บั ความสขุ บรรดาท่ีมี จากรูป จากเสยี ง จากกล่ิน จากรส และสมั ผัสที่ เราตงั้ คา ตัง้ ความปรารถนาเอาไว เราจึงอยากจะเกิดมา เพ่ือที่จะมีโอกาสได แกต ัวกับความผิดพลาด หรือความปรารถนาท่ีไมสมหวังของเรา แลวเรายัง หวังกันอีกวา เรานาจะไดเกิดมาหลอ เกิดมาสวย ทําไมเราถึงไดอยากหลอ อยากสวยกันนัก? น่ันเปนเพราะเราคิดวา ถาเราหลอเราสวย หรือเรามี บุคลิกภาพท่ีดีกวานี้ เราคงจะมีความสุขไดมากกวาน้ี เราจะเอาความหลอ ความสวย ความรวย ความเกของเราน้ัน เอาไปเปนเหยื่อ ไวลอปูลอปลา คือรูป เสียง กล่ิน รส สัมผัส ท้ังกายและใจ อันเราต้ังคุณคาเอาไวนั่นเอง ใหมาตดิ กับตดิ เบด็ ของเรา… เราตองควา่ํ รองแชมป กับแชมปโ ลกใหได… …ไมวารูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสภายนอกใดๆ ก็ไมมีอํานาจเหนือ ใจเรา เทียบเทากับรองแชมปโลก คือนางเอกหรือพระเอกที่คอยหลอกหลอน อยูในใจของเรา ไมวาจะมีรูปใด หรือใครคนใหมหนาไหน เขามาในชีวิต ของเรา เปนตองถูกนํามาเปรยี บเทียบกับนางเอกหรือพระเอกของเรา วาจะ สามารถนําความสุขมาใหกับเรา เทาเทียมกับนางเอกหรือพระเอกท่ีมีอยู เดมิ ไหม ถาดไี มเ ทาหรอื สไู มได นางเอกหรือพระเอกของเรากย็ ังดํารงอยูใน ตําแหนง แตเม่ือใดท่ีมีรูปอื่น เสียงอ่ืน กล่ิน รส และสัมผัสอื่น ที่ใจเราคิดวา นําความสุขมาใหกับเราได มากกวาท่ีนางเอกหรือพระเอกคนเดิมเคยใหมา เรากเ็ อารปู ใหมน้ัน เสียงใหมน ้นั กลิน่ รส และสัมผัสใหมน้ัน ยกยองข้ึนมา เปนนางเอกหรือพระเอกใหมแทน… เราตองลมรองแชมปโลก คือถอดถอน และทําลายเสียซ่ึงความเห็นผิด ที่หลงไปใหคุณคาในนางเอกหรือพระเอก ประจําใจของเรา เมือ่ ใดท่ีลม คตู อสรู ายนี้ไดสําเรจ็ รูปอ่ืน เสยี งอ่นื กลน่ิ รส สัมผสั อน่ื อันใดเลา จะมีความหมาย มีอาํ นาจเหนือใจเรา ยอมเปนไปไมไ ด 193

พระภาสกร ภูรวิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) แตก็อยาประมาท เพราะแมวา รองแชมปโลกอันดับหนึ่ง คือ นางเอกหรือพระเอกของเราจะพายแพหมดทาไปแลว แตอยาลืมวา ตราบใด ท่เี รายงั มรี างกายอยู ยังมีความปรารถนาและติดยดึ ในรางกายของเราเองอยู แลวเราจะเอาตา เอาหู จมูก ลิ้น และประสาทสัมผัสทางกายไวไปทําอะไร แมนางเอกหรือพระเอกไดตายไปแลว แตไ อต ัวแสบ คือกายของเรานี้ก็ยังอยู มันกเ็ ลยทําตัวเปน แมวมอง หานางเอกหรอื พระเอกคนใหมข้ึนมาต้ังไวแทน เอาไวเปรียบเทียบในการเสพเสวยตอ ไป ฉะนัน้ การวปิ ส สนา พิจารณาเพือ่ ถอดถอนความเหน็ ผดิ อยางสูงสุด ใน ขนั ธ ๕ ภายนอก ซ่ึงเปรียบไดก บั การขึน้ ชกกับรองแชมปโลก อันดับ ๑ จึงไมควรประมาท เมื่อชกเสร็จแลว ก็ตองโอปนยิโก นอมกลับเขามาสู ตนเองเสมอ วกกลับมาถลม กลับมาตดั กําลังแชมปโลกอยูเสมอ อยาใหมัน ทนั ไดต ัง้ ตัว แลว คอยถลมแชมปโลก คอื ขันธ ๕ ภายใน ในสว นรา งกาย และอาการของใจ ท่ีเราคิดวา เปนเราเปน ของเรานี้ อยา งเตม็ รูปแบบ เราตองพยายามคว่ําท้ังแชมป และรองแชมปใหได เมื่อคว่ําไมได ก็สูใหม คว่ําไมได ก็ซอมอีก เตรียมตัวใหดี อัดมันใหกองเลย ถาสามารถ ควาํ่ รองแชมปโ ลก และแชมปโลกได กเ็ ปนอันวาหมดภารกิจท่ีเราจะตองทํา แลว ถึงจุดหมายของเราเสียท…ี เราก็จะรูไดดวยตนเองทุกคร้ัง ทุกขั้น ทุกตอน วาเราผานมาถึง ข้ันไหน คุณคาจอมปลอมตางๆ ท่ีเราเคยหลงไปใหคุณคา ใหราคาน้ัน มันไดถูกทําลายลงไปมากนอยเทาไร ความทุกขของเรา ไดลดลงไปมาก นอยเพยี งใด ยังมีอะไรท่ีมีคามีราคา สามารถทําใหใจของเราเปนทุกขไดอีก ก็คอ ยหาเหตุหาผลมาสอนใจเราตอ ไป ทกุ อยา งเปนปจจัตตัง ปฏิบัติไปแลว ยอมรไู ดดวยตนเองจรงิ ๆ **ขอควรระวัง** ถาสูไมไหว เห็นทาไมดี (ดูท่ีกําลังใจ ใจส่ัน หวั่นไหวมาก หมดกําลัง) เราตองเปนพ่ีเล้ียง คอยระมัดระวังใหกับตัวเอง ตัดสนิ ใจโยนผา ยุตกิ ารชก (หยุดพิจารณาทันที) รอบน้ียอมแพไ ปกอ น 194

ปฏิจจสมปุ บาท สาํ หรับคนรุนใหม แลวกลับไปซอมมาใหม ซอมใหดี แลวจึงคอยกลับมาสูตอ เพราะ แชมปมันเกง จรงิ ๆ แตเ รากลบั มาสูใหมกี่คร้ังก็ได ซ่ึงการกลับมาของเราน้ัน ควรทเ่ี ราจะตอ งพรอมจรงิ ๆ การดันทุรังข้ึนชก ท้ังๆ ท่ียังไมพรอม จะทําใหเรา “เสียมวย” อาจถึงกับเลิกชกมวยไปตลอดชีวิตเลยก็เปนได นะครับ (คือเข็ดขยาด บาดเจ็บสาหัส จนกลวั ไมกลา ที่จะกลับมาพิจารณาธรรมอกี เลย) ท่ีเลามานี้ พอเปนแนวทางนะครับ ผมปฏิบัติแบบน้ีมา ไดผลดี มากครับ ทุกขลดลงมาก ถาคุณพิจารณาดูเห็นวาเขาทา ทดลองปฏิบัติดูได ก็จะดคี รบั … เทคนิครายละเอยี ดยงั มอี ีกมาก ตองทดลองปฏบิ ตั ิดู!!! ดวยอานิสงสของการปฏิบัติ และการใหธรรมะเปนทานนี้ ผมขอ แผความดีใหกับทุกทาน ขอใหทานจงปฏิบัติธรรมกาวหนาสงผล ไดเขาถึง ซ่ึงมรรค ผล นพิ พาน ในชาติปจ จุบัน โดยเร็วพลันดวยเทอญ โมทนาสาธุ… โมทนาสาธุ… โมทนาสาธุ… จาก ภทั ร คชะภตู ”ิ ภูมขิ องวปิ สสนา ในวปิ ส สนาชกมวย ในหลักสูตรนักธรรมเอก จัดสิ่งที่เปนภูมิของวิปสสนาไว ไดแก ขนั ธ ๕1 อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ และอนิ ทรีย ๒๒ 1 ขันธ ๕ หรือ เบญจขันธ คือ กองแหงรูปธรรมและนามธรรมหาหมวด ท่ปี ระชมุ กันเขา เปน หนวยรวม ซ่งึ บัญญัติเรียกวา สัตว บุคคล ตัวตน เรา-เขา เปนตน, สว นประกอบหาอยา งท่รี วมเขาเปนชีวิต ๑. รูปขันธ คือ กองรูป, สวนท่ีเปนรูป, รางกาย, พฤติกรรม และคุณสมบัติ ตางๆ ของสวนท่ีเปนรางกาย, สวนประกอบฝายรูปธรรมท้ังหมด, ส่ิงท่ีเปนรางกาย พรอ มทง้ั คณุ และอาการ ๒. เวทนาขันธ คือ กองเวทนา, สวนที่เปนการเสวยอารมณ, ความรูสึกสุข ทุกข หรอื เฉยๆ ๓. สัญญาขนั ธ คือ กองสญั ญา, สวนทีเ่ ปน ความกําหนดหมาย ใหจําอารมณ น้นั ๆ ได, ความกาํ หนดไดห มายรใู นอารมณ ๖ เชนวา ขาว เขียว ดาํ แดง เปน ตน 195

พระภาสกร ภรู ิวฑฺฒโน (ภาวิไล) ถาเราปฏิบัติตามหลักวิปสสนาชกมวยดังที่กลาวมาแลว จะมีความ เกย่ี วพนั อยา งไรกบั ภูมขิ องวิปส สนาท่ยี กมานี้ ๑. การพิจารณาที่เปนไปในสัตวบุคคลท้ังหลาย เชน พอ แม พ่ี นอง บุคคลอันเปนท่ีรัก ตลอดจนตัวเราเองน้ัน เปนการพิจารณา รูป-นาม ขนั ธ ๕ คือ กายและจิต โดยที่ ๑.๑ การ พิจารณากาย จะทําใหเห็นภาวะของ รูป ซ่ึงประกอบ ข้ึนมาจากวัตถุธาตุ อันมีสมบัติ ๔ ประการ คือ ธาตุ ๔ ไดแก (๑) ธาตุดิน ความแคนแข็ง (๒) ธาตุนํ้า ความเกาะกุม (๓) ธาตุลม ตําแหนงท่ีตั้ง อันเปลี่ยนแปลงโยกยายเคลื่อนที่ได และ (๔) ธาตุไฟ คือ อุณหภูมิ โดยมี อายตนะ คือชองทางรับรู อันไดมาแตกายอีก ๕ ประการ คือ ตา หู จมูก ลิ้น และประสาทกาย เปนอุปกรณสําหรับเช่ือมตอรับรูกับอารมณท้ังหลาย ภายนอก นอกจากน้ียังมีอวัยวะนอยใหญ ท้ังภายนอก เชน ผม ขน เล็บ ฟน หนัง แขน ขา ตา หู ฯลฯ และภายใน เชน ตับ ไต ไส ปอด หัวใจ สมอง ไขสันหลัง ฯลฯ เปนสวนที่มาประกอบกันข้ึนเปนกาย ซ่ึงแมแต สังขาร คือ การปรุงแตง นึก คิด พิจารณา ตัดสิน สรางสรรเจตนา คือ กรรมทั้งหลายของใจ ในความเปนมนุษยน้ัน ก็จําเปนตองอาศัยอวัยวะ มี สมองและระบบประสาท เปนปจ จยั สาํ คญั ๑.๒ การ พิจารณาจติ 1 ทแี่ สดงออกใหร บั รไู ดโดยอาการของจิต ๔. สังขารขันธ คือ กองสังขาร, สวนท่ีเปนความปรุงแตง, สภาพที่ปรุงแตงจิต ใหดีหรือชั่ว หรือเปนกลางๆ คุณสมบัติตางๆ ของจิต มีเจตนาเปนตัวนํา ท่ีปรุงแตง คุณภาพของจิต ใหเปน กศุ ล อกุศล อพั ยากฤต ๕. วิญญาณขันธ คือ กองวิญญาณ, สวนท่ีเปนความรูแจงอารมณ, ความรู อารมณท างอายตนะทัง้ ๖ มีการเห็น การไดย นิ เปนตน ไดแกวิญญาณ ๖ 1 พจิ ารณาจิต คือ จิตตานปุ สสนา ในสตปิ ฏฐาน ๔ สติปฏฐาน ๔ คือ ที่ต้ังของสติ, การต้ังสติกําหนดพิจารณาสิ่งท้ังหลายใหรู เห็นตามความเปน จรงิ คอื ตามท่สี ิง่ นน้ั ๆ มนั เปน ไปเชน นนั้ เอง ตามธรรมชาติของมัน 196

ปฏจิ จสมุปบาท สําหรับคนรนุ ใหม กลา วคอื (๑) เวทนา ความท่ีจิตสามารถรูสึก สุข ทุกข หรือ เฉยๆ ไมสุขไมทุกข ได (๒) สัญญา ความท่ีจิตสามารถ จําไดหมายรู ระลึกขึ้นมา ซึ่งสิ่งอนั จติ เคยมีวิญญาณ รับรู จดจําบันทึกเอาไวในจิต (๓) สังขาร ความที่ จิตสามารถปรุงแตง คิดนึก สรางสรรเจตนา คือกรรม อันเปนไปตางๆ (๔) วิญญาณ ความที่จิตสามารถรูแจง อายตนะภายนอก คือ อารมณท้ัง ๖ และสามารถจดจําบันทึกความรูน้ันเอาไวในจิต โดยผาน อายตนะภายใน คอื ชอ งทางรับรทู ้ัง ๖ มี ตา หู จมูก ลนิ้ กาย และใจ ๑. กายานุปสสนาสติปฏฐาน คือ การตั้งสติกําหนดพิจารณากาย ใหรูเห็น ตามเปนจรงิ วา เปน แตเ พียงกาย ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา ทานจําแนกวิธีปฏิบัติไว หลายวิธี คือ อานาปานสติ การกําหนดลมหายใจ ๑, อิริยาบถ กําหนดรูทันอิริยาบถ ๑, สัมปชัญญะ สรางสัมปชัญญะ รูเทาทันในการเคล่ือนไหว และการกระทําทุกอยาง ๑, ปฏิกูลมนสิการ พิจารณาสวนประกอบอันไมสะอาด ที่ประชุมเขาเปนรางกายนี้ ๑, ธาตุมนสิการ พิจารณาเห็นรางกายของตนโดยสักวาเปนธาตุแตละอยางๆ ๑, นวสีวถิกา พิจารณาซากศพ อันเปนไปตางๆ ๙ อยาง ใหเห็นคติธรรมดาของกาย อนั ตนและผูอื่นจักเปนไป ๑ ๒. เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน คือ การต้ังสติกําหนดพิจารณาเวทนา ใหรูเห็น ตามเปนจริงวา เปนแตเพียงเวทนา ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา คือ มีสติอยูพรอม ดวยความรูชัดเวทนา อันเปนสุขก็ดี ทุกขก็ดี เฉยๆ ก็ดี ท้ังท่ีอาศัยกามคุณ (สามิส) และไมอ าศัยกามคุณ (นิรามิส) เปนเหยอ่ื ลอ ท่ีเปน ไปในขณะนั้นๆ ๓. จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน คือ การต้ังสติกําหนดพิจารณาจิต ใหรูเห็น ตามเปนจริงวา เปนแตเพียงจิต ไมใชสัตวบุคคลตัวตนเราเขา มีสติอยูพรอมดวยความ รูชัดในจติ ของตน ท่ีมรี าคะ ไมมรี าคะ มีโทสะ ไมมีโทสะ มโี มหะ ไมมโี มหะ เศราหมอง หรือผองแผว ฟุงซา น หรือเปนสมาธิ อยางไรๆ ที่เปนไปในขณะนนั้ ๆ ๔. ธัมมานุปส สนาสติปฏฐาน คอื การตั้งสตกิ าํ หนดพิจารณาธรรม ใหรูเห็น ตามเปน จริงวา เปน แตเพียงธรรม ไมใ ชสัตวบ ุคคลตวั ตนเราเขา คอื มสี ตอิ ยพู รอ มดว ย ความรชู ดั ธรรมทง้ั หลาย ไดแก นิวรณ ๕ ขันธ ๕ อายตนะ ๑๒ โพชฌงค ๗ อริยสัจ ๔ วาคืออะไร เปนอยางไร มีในตนหรือไม เกิดข้ึน เจริญบริบูรณ และดับไปไดอยางไร เปน ตน ตามทเี่ ปน จรงิ ของมนั อยางนน้ั ๆ 197

พระภาสกร ภูริวฑฒฺ โน (ภาวิไล) ทั้งน้ี การพิจารณาจิตนั้น จะทําใหเราสามารถเห็นเหตุปจจัย อันยัง จิต ใหมีความเปล่ียนแปลงเปนไปตางๆ เชน จิตผองแผว ผองใส หรือจิต เศราหมอง ขุนมัว วาเปนเพราะสาเหตุใด มีปจจัยใดบางที่เขามาเกี่ยวของ หรอื เปน ไปดวยความหลงผดิ เขาใจผิด หรือมีความเห็นผิดเปน ประการใด ๒. การพิจารณาสัตวบุคคลท้ังหลาย เชน พอ แม พี่ นอง บุคคล อันเปนท่ีรัก ตลอดจนตัวเราเองตาม กฎแหงกรรม ทําใหเราเห็นเหตุผล ท่ีไปท่ีมา อันเปนเหตุใหไดอินทรีย คือความเปนใหญในฐานะตางๆ เชน การไดมาซ่งึ อินทรีย คือ อายตนะภายใน ๖ มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ จะไดตาดี หูดี จมูกดี หรือช่ัวประการใด ก็เปนไปดวยอํานาจของกรรม หรือการท่ีจะไดมาซึ่งอินทรีย คือเพศภาวะ ความเปนหญิง เปนชาย หรือ ภาวะชีวิตท่ีเปนไปตางๆ ก็เปนไปดวยอํานาจของกรรมเชนกัน แมอินทรีย คือเวทนาทั้งหลาย อันเกิดแตกายก็ดี จิตก็ดี ก็มีกรรมเขามาเปนปจจัย สาํ คัญ ทอ่ี าํ นวยผลใหไ ดเวทนาเปน เชนน้นั ๆ ๓. กระบวนการดําเนินวิปสสนาชกมวย เปนการพัฒนา ฝกฝน บมเพาะ และใชอินทรีย คือ พละ ๕ อยางเต็มกําลังความสามารถ ไมวา อินทรีย คือความเปน ใหญใ นกิจนนั้ จะไดแ ก สัทธา เช่ือม่ัน, วิริยะ พากเพียร, สติ ระลึกได, สมาธิ ต้ังจิตมั่น และปญญา รูท่ัวชัด โดยเปนใหญในหนาที่ อันครอบงําเสียซึ่งสิ่งที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนา ไดแก ความไรศรัทธา ความเกยี จคราน ความประมาท ความฟุง ซา น และความหลงตามลาํ ดับ ๔. กระบวนการดําเนนิ วิปสสนาชกมวย จึงเปนไปเพ่ือการพิจารณา ถอดถอนความเห็นผิดในเรื่องของกายและจิต จึงเปนเหตุทําลายซ่ึง อวิชชา ความไมรูถูกตองตามความเปนจริง อันมีประการตางๆ ผลท่ีไดรับก็คือ การถอดถอน ทําลาย และขจัดไดซ่ึงสังโยชน คือ กิเลส ตัณหา มานะ ทิฏฐิ และอุปาทานใดๆ อันผูปฏิบัติเคยมีมาแตเดิม ท้ังยังผูปฏิบัติใหบรรลุ คุณธรรม อนั นับเปนอินทรีย คือเปนใหญในการทํากิจของตน ตั้งแตเบ้ืองตน คอื โสดาปตตมิ รรค ตลอดจนเบื้องปลาย คือ อรหตั ตผล เปน ทีส่ ุด 198

ปฏจิ จสมปุ บาท สาํ หรับคนรุนใหม จากตัวอยา งที่ยกมาเปรียบเทียบทั้ง ๔ ขอนี้ จึงสรุปไดอยางชัดเจน แลววา การปฏิบัติตามหลักวิปสสนาชกมวยที่นําเสนอมาน้ี ลงรอยอยาง แนบสนิทกับ ภูมิของวิปสสนา ในหลักสูตรนักธรรมเอก ที่จัดให ขันธ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ และอินทรยี  ๒๒1 เปน ภูมขิ องวิปส สนา 1 อายตนะ ๑๒ ไดแ ก อายตนะภายใน ๖ และอายตนะภายนอก ๖ อายตนะภายใน ๖ เปนแดนที่เชื่อมตอใหเกิดความรูฝายภายใน บาลีเรียก อัชฌัตติกายตนะ ไดแก (๑) จักษุ คือ ตา (๒) โสตะ คือ หู (๓) ฆานะ คือ จมูก (๔) ชิวหา คือ ล้ิน (๕) กาย คือ กายประสาท (๖) มโน คือ ใจ ทั้ง ๖ นี้เรียกอีกอยางวา อนิ ทรีย ๖ เพราะเปน ใหญใ นหนาที่ของตนแตล ะอยาง เชน จกั ษุ เปน เจา ในการเหน็ ฯ อายตนะภายนอก ๖ เปนแดนที่เชื่อมตอใหเกิดความรูฝายภายนอก บาลี เรียก พาหิรายตนะ ไดแก (๑) รูปะ คือ รูป, ส่ิงท่ีเห็น หรือ วัณณะ คือสี (๒) สัททะ คือ เสียง (๓) คันธะ คือ กล่ิน (๔) รสะ คือ รส (๕) โผฏฐัพพะ คือ สัมผัสทางกาย, ส่ิงท่ีถูกตองกาย (๖) ธรรม หรือ ธรรมารมณ คือ อารมณที่เกิดกับใจ, สิ่งท่ีใจนึกคิด ทงั้ ๖ น้ี เรียกท่ัวไปวา อารมณ ๖ คือ สงิ่ สาํ หรบั ใหจ ิตยึดหนวง ธาตุ ๑๘ คือ ส่ิงท่ีทรงสภาวะของตนอยูเอง ตามที่เหตุปจจัยปรุงแตงขึ้น เปน ไปตามธรรมนยิ าม คือกําหนดแหงธรรมดา ไมมีผูสรางผูบันดาล และมีรูปลักษณะ กิจอาการเปนแบบจําเพาะตัว อันพึงกําหนดเอาเปนหลักไดแตละอยางๆ (๑) จักขุธาตุ ธาตุคือ จักขุปสาท (๒) รูปธาตุ ธาตุคือ รูปารมณ (๓) จักขุ-วิญญาณธาตุ ธาตุคือ จักขุวิญญาณธาตุ (๔) โสตธาตุ ธาตุคือ โสตปสาท (๕) สัททธาตุ ธาตุคือ สัททารมณ (๖) โสตวิญญาณธาตุ ธาตุคือ โสตวิญญาณ (๗) ฆานธาตุ ธาตุคือ ฆานปสาท (๘) คันธธาตุ ธาตุคือ คันธารมณ (๙) ฆานวิญญาณธาตุ ธาตุคือ ฆานวิญญาณ (๑๐) ชิวหาธาตุ ธาตุคือ ชิวหาปสาท (๑๑) รสธาตุ ธาตุคือ รสารมณ (๑๒) ชิวหาวิญญาณธาตุ ธาตุคือ ชิวหาวิญญาณ (๑๓) กายธาตุ ธาตุคือ กายปสาท (๑๔) โผฏฐัพพธาตุ ธาตุคือ โผฏฐัพพารมณ (๑๕) กายวิญญาณธาตุ ธาตุคือ กายวิญญาณ (๑๖) มโนธาตุ ธาตุคือ มโน (๑๗) ธรรมธาตุ ธาตุคือ ธรรมารมณ (๑๘) มโนวญิ ญาณธาตุ ธาตุคือ มโนวญิ ญาณ อินทรีย ๒๒ คือ ส่ิงท่ีเปนใหญในการทํากิจของตน คือทําใหธรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวของเปนไปตามตน ในกิจนั้นๆ ในขณะท่ีเปนไปอยูนั้น แบงเปน ๕ หมวด ๒๒ รายการ คือ (มตี อ >) 199

พระภาสกร ภูรวิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) เพราะวปิ สสนาเปนปจจยั จงึ ละตัณหาได เพราะเหตุที่ไดดําเนินจิต ปฏิบัติ วิปสสนากรรมฐาน เอาความจริง มาแสดงใหใจไดรูเห็น โดย พิจารณาขันธ ๕ ทั้งภายในภายนอก พิจารณา โลกธรรม ๘ อันมี ความไดลาภ เสื่อมลาภ ไดยศ เส่ือมยศ สรรเสริญ นินทา สุข และทุกข ท่ีเปนไปใน คน สัตว ส่ิงของ ฐานะ และท่ีไมใชฐานะ พิจารณาจําแนกแยกแยะ “กาย” อันตนไดเคยเกาะเกี่ยว แสวงหา และ เกลอื กกล้ัวอยู ตามนัยท่อี งคสมเด็จพระสมั มาสมั พุทธเจา ไดทรงชแี้ นะไว หมวดท่ี ๑ ของอนิ ทรยี  ๒๒ มี ๕ คอื (๑) จักขนุ ทรีย อนิ ทรีย คอื จกั ขุปสาท (๒) โสตินทรีย อินทรีย คือ โสตปสาท (๓) ฆานินทรีย อินทรีย คือ ฆานปสาท (๔) ชิวหินทรีย อินทรีย คือ ชิวหาปสาท (๕) กายินทรีย อินทรีย คือ กายปสาท (๖) มนินทรยี  อนิ ทรีย คอื ใจ ไดแ กจ ิตท่ีจาํ แนกเปน ๘๙ หรอื ๑๒๑ หมวดที่ ๒ ของ อินทรีย ๒๒ มี ๓ คือ (๗) อิตถินทรีย อินทรีย คือ อิตถีภาวะ หรือ เพศหญิง (๘) ปุริสินทรีย อินทรีย คือ ปุริสภาวะ หรือ เพศชาย (๙) ชีวิตนิ ทรยี  อินทรีย คือ ชวี ิต หมวดที่ ๓ มี ๕ คือ (๑๐) สุขินทรีย อินทรีย คือ สุขเวทนา (๑๑) ทุกขินทรีย อินทรีย คือ ทุกขเวทนา (๑๒) โสมนัสสินทรีย อินทรีย คือ โสมนัสสเวทนา (๑๓) โทมนัสสินทรีย อินทรีย คือ โทมนัสส-เวทนา (๑๔) อุเปกขินทรีย อินทรีย คือ อุเบกขาเวทนา หมวดที่ ๔ มี ๕ คือ (๑๕) สัทธินทรีย อินทรีย คือ ศรัทธา (๑๖) วิริยินทรีย อินทรีย คือ วิริยะ (๑๗) สตินทรีย อินทรีย คือ สติ (๑๘) สมาธินทรีย อินทรีย คือ สมาธิ ไดแก เอกคั คตา (๑๙) ปญ ญินทรยี  อินทรยี  คอื ปญญา หมวดท่ี ๕ มี ๓ คือ (๒๐) อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย อินทรียแหงผูปฏิบัติ ดวยมุงวาเราจักรู สัจธรรมท่ียังมิไดรู ไดแก โสตาปตติมัคคญาณ (๒๑) อัญญินทรีย อินทรีย คือ อัญญา หรือปญญาอันรูท่ัวถึง ไดแก ญาณ ๖ ในทามกลาง คือตั้งแต โสตาปตติผลญาณ ถึง อรหัตตมัคคญาณ (๒๒) อัญญาตาวินทรีย อินทรียแหงทานผูรู ทัว่ ถงึ แลว กลาวคือ ปญ ญาของพระอรหันต ไดแ ก อรหัตตผลญาณ 200

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรับคนรนุ ใหม ไมวาจะเปนเร่ืองของ “อสุภะ” การพิจารณารางกายของตนและ ผอู นื่ ใหเ หน็ สภาพทไ่ี มง ามบา ง ความไมเ ปนอันหน่ึงอันเดียวกัน หรือความ เปนสิ่งที่ประกอบกันขึ้น เชน การพิจารณารางกายเปน “อาการ ๓๒” เปน “ธาตุ ๔” บาง พิจารณาใหเห็นถึง “ไตรลักษณ” ความเสื่อม ความ เปล่ียนแปลง ความไมเท่ียงแท ความไมม่ันคง ความทุกขยากท่ีชีวิตและ รางกายจะตองเผชิญบาง หรือพิจารณาใหเห็น “ภาระ” ของรางกายทั้งหลาย ทม่ี โี รคภัยไขเ จ็บและเชอื้ โรคตางๆ มาคกุ คามบา ง “กาย” ท่ีมีความเสื่อมอยูเนืองนิตย เปนสิ่งที่บังคับบัญชาไมได เปนของท่ปี รารถนาแลวไมสมหวัง เปน สิ่งทไ่ี มม ่ันคงยั่งยืน และตองแตกหัก ทําลายไปในที่สุด พิจารณา “เวทนา” ความรูสึกท่ีเปน สุขบาง ทุกขบาง ไมสุขไมทุกขบาง ท่ีแปรปรวนเปนไปตางๆ พิจารณา “จิต” ในอาการท่ีมี ราคะ ไมมีราคะบาง มีโทสะ ไมมีโทสะบาง มีโมหะ ไมมีโมหะบาง วามี ความเศราหมองหรือผองแผว ฟุงซานหรือเปนสมาธิ เปนไปอยางไรใน ขณะน้ันๆ พิจารณาความเปนไปใน “ธรรม” ตางๆ จนเกิดความประจักษ แจงในความเปนไปของสรรพสิ่ง ที่มีการเกิดข้ึน ดํารงอยู และแตกดับไป ตาม กฎไตรลักษณ ประจักษชัดแจงในความเปนไปภายใต อริยสัจ ๔ คือความเปนเหตุเปนผลแหงทุกขท้ังหลาย ประจักษชัดถึง กฎแหงกรรม ที่ครอบงํากํากับชีวิต ประจักษชัดถึง ปฏิจจสมุปบาท วงจรแหงเหตุปจจัย อนั เชอ่ื มโยง ไปสกู ารปรากฏขน้ึ แหง ภาวะทกุ ข ท่ีมีอยปู ระจาํ ชวี ติ พิจารณาจนรูชัด ประจักษแจงในภาวะทุกข จนเกิดความหนาย คลายความกําหนัด คลายความกอดรัดของใจ ท่ีเคยมี ตัณหา ความทุรนราน ทะยานอยาก หรือเคยมี ราคะ ความติดของ หนึบเหนียว อยูในรูป ในเสียง ในกลิ่น ในรส ในสัมผัส ในฐานะและไมใชฐานะ ในรูปฌาน และ อรูปฌานทัง้ หลาย 201

พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) เหตุนี้เอง ในทางปฏิบัติ เมื่อเรายกองคธรรมใดขึ้นมาเปนอารมณ แหงวิปสสนา และไดดําเนินจิตพิจารณา โดยกระบวนแหงโยนิโสมนสิการ คือพิจารณาสืบสาวหาเหตุผลต้ังแตตนจนจบในอารมณนั้น จนประจักษชัด ในความเปนไปตามกฎธรรมชาติของอารมณน้ันอยางแทจริง เม่ือน้ัน ตัณหา ความทะยานอยากของเราในอารมณนั้น ยอมจะถูกละ ถูกขจัด หรือทําให เบาบางลงไป หรือจนถึงที่สุด คือหมดคุณคาไปจากใจ ไมมีอํานาจที่จะทํา ใหใ จเกิด ตัณหา ราคะ ความทะยานอยาก หรอื ความติดใจ ใดๆ อกี เพราะการละตณั หาในอารมณ (ท่ยี กข้ึนมาวิปสสนา) ได เปน ปจจยั ใจจึงละได ซงึ่ อปุ าทานในอารมณนนั้ คร้ันใจละไดแลวซึ่ง ตัณหา ราคะ คือความทะยานอยาก ติดใจใน อารมณ อันเปนองคธรรมแหงวิปสสนา ท่ียกขึ้นมาพิจารณาจนจบรอบแลวนั้น อปุ าทาน ความยึดตดิ ถอื ม่นั ในอารมณน ้นั ยอมจะถูกละไปดวย ระบบคุณคา ทงั้ หลาย บรรดาทีเ่ คยมอี ปุ าทานยดึ ถอื เอาไววา อารมณนั้นๆ เปนอารมณท่ี ชอบใจ (อิฏฐารมณ) หรือเปนอารมณท่ีไมชอบใจ (อนิฏฐารมณ) ครั้นเมื่อ เราดําเนินจิตวิปสสนา เอาความจริงมาตีแผเปดเผย จนกระท่ังมันหมด ที่กําบังซอนเรน ถูกประจานใหเห็นถึงภาวะอันเปนไปตามกฎธรรมดาแหง สรรพส่ิง ท่ีดําเนินไปภายใตกฎพระไตรลักษณบาง อริยสัจ ๔ บาง กฎแหง กรรม หรือปฏิจจสมุปบาทบาง ใจยอมประจักษถึงภาวะที่ไรแกนสารสาระ แหงอารมณน้ันๆ จนเกิดความหนาย คลายความกําหนัด คลายความกอดรัด ของใจ ทีเ่ คยมีอปุ าทาน ความยึดติดถอื ม่ันในอารมณน ้นั 202

ปฏจิ จสมุปบาท สาํ หรบั คนรุนใหม เพราะการละได ซ่ึงอุปาทานในอารมณน ั้นเปน ปจจัย ใจจงึ ละได ซึ่งภพอนั เคยมีในอารมณน้ัน เม่ือจิตละคลายไดซึ่ง อุปาทาน ความหลงผิด ยึดติดถือมั่น หวงหา อาลัยอาวรณ อันเคยมีมาในอารมณใด ภพ คือท่ีอยูของใจ หรือท่ีอันจิต อาศัยในอารมณน้ัน ยอมจะถูกละคลายไปดวย ทั้ง มิจฉาทิฏฐิ-ภพ คือ ภพอันเนื่องจากความเห็นผิดไปจากความเปนจริง ที่จิตไปกําหนดตัดสินวา กามคุณ ฐานะ หรือมิใชฐานะใดๆ เปนอารมณที่นาปรารถนา มีคุณคา นําความสุขมาให (อิฏฐารมณ) หรือกําหนดตัดสินวา กามคุณ ฐานะ หรือ มิใชฐ านะใดๆ เปน อารมณทไี่ มนาปรารถนา ไมมีคุณคา นําความทุกขมาให (อนิฏฐารมณ) และทั้ง โมหะ-ภพ คอื ภพอันเนื่องจากโมหะ คือ ความหลง ไมรูสภาพตามความเปนจริง ท่ีปกปด กําบัง หรืออําพรางความเปนจริง เอาไว เชน ความหลงยดึ ติดในสุขสงบอนั เกิดจากฌาน เปนตน เพราะการละได ซ่งึ ภพอนั เคยมีในอารมณน้นั เปนปจจัย ใจจึงละได ซ่ึงชาติ คือความเกดิ แหงขันธทัง้ หลาย อนั เคยมีมาในอารมณนนั้ เมื่อจิตละได คลายออก ไมสรางซึ่ง ภพ คือท่ีอยูของใจ หรือท่ีอัน จติ อาศยั ใหกับอารมณน ัน้ ชาติ คอื ความเกิดแหง ขันธท ั้งหลาย อันเคยมี มาในอารมณนั้น ยอมจะถูกละได คลายออก ไมสราง ไมกอใหเกิดขึ้น ตามไปดวย 203

พระภาสกร ภรู วิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) เพราะการละไดซงึ่ ชาติ คือความเกิดขึน้ แหง ขนั ธท ง้ั หลาย ในอารมณนั้นเปน ปจจัย ใจจึงปราศจากซง่ึ ชรา-มรณะ คอื ความ เส่อื มสลาย และดับสิน้ ไปแหง ขนั ธท ัง้ หลาย อันเคยมมี าในอารมณน น้ั ในเม่อื ไมม ีชาติ จงึ ทําใหไ มม ชี รา คือความเสอื่ มสลาย และไมมมี รณะ คือ ความดับสูญส้ินไปแหงชาติน้ันๆ โดยเฉพาะเมื่อปราศจากแลวซึ่งชาติ ทางใจ อันเคยเกิดข้ึนมาจากการปรุงแตงภพ ในอารมณที่เคยมีอุปาทาน ใหคุณคา วาเปนอารมณที่นาปรารถนา (อิฏฐารมณ) หรือเปนอารมณที่ไม นา ปรารถนา (อนิฏฐารมณ) ใดๆ อีกประการหน่ึง โสกะ ปริเทวะ โทมนัส และอุปายาส คือความโศก ความรํ่าไรรําพัน ความไมสบายใจ ความคับแคนใจ ก็ยอมไมมีตามไปดวย เชนเดียวกนั อวชิ ชา ในอารมณนนั้ จึงถกู แทนท่ีดวยวิชชา ในอารมณนัน้ อวิชชา คอื ความรเู ห็นที่ผิดไปจากความเปนจรงิ ไดแ ก โมหะ ความหลง และมิจฉาทิฏฐิ ความเห็นผิด ที่เคยมีมาแตเดิม ในอารมณอันเปนองค ธรรมแหงวิปสสนานั้น ไดถูกความจริงที่ใจประจักษรู ในกระบวนการของ วิปสสนา เขามาทําหนาท่ีชําระลางใหกลายเปนวิชชา จากโมหะ ความหลง เปนความรูชัดตามเปนจริง จากมิจฉาทิฏฐิ ความเห็นผิด กลายเปน สัมมาทฏิ ฐิ ความเหน็ ชอบตามเปนจรงิ เมอ่ื ทาํ ความเพียร ปฏิบัติวิปสสนาอยางสม่ําเสมอ สัมมาทิฏฐิ จะเกิด ข้ึนมา แลวทดแทนมิจฉาทิฏฐิท่ีมีอยูเดิมไปเร่ือยๆ จนถึงที่สุด เม่ือเหตุ ปจจัยถึงพรอม บูรณาการแหงธรรมะ โดยองครวมจึงเกิดขึ้น เกิดภาวะ มัคคสมังคี ประหารกิเลสไดหมดสิ้นเปนสมุจเฉทปหาน จิตจึงสํารอก ออกซ่ึง อวิชชา ความรูเห็นอันไมถูกตองตามความเปนจริง ไดอยาง สน้ิ เชงิ . 204

ปฏจิ จสมปุ บาท สาํ หรบั คนรนุ ใหม ขอใหพจิ ารณาบทสรุปของปฏิจจสมุปบาท ท่พี ระอาจารยส มบัติ ภูริปฺโญ ไดแสดงไว ดงั ตอไปน้ี ความคิดเกาดั้งเดิมท่ีวา “กายนี้... เปนของเที่ยงแท ม่ันคงถาวร” ก็ถูกความจริง “ลบ” ไปหมด ความเห็นผิดที่วา “กายนี้... นําความสุขสบาย มาให นําความยั่งยืนมาให” ไดถูกความจริง คือ “กายน้ี... ท่ีเปนบอเกิด ของกองทุกข เปนกองของโรค เปนภาระตองเลี้ยงดู เปนของที่ไมม่ันคง แตกหกั เสยี หายได…” ความจริงทงั้ หลายเหลา นี้ ถูกนํามาแสดงใหใจไดเห็น และ “ลบ” ความเห็นผิดดง้ั เดมิ ในใจออกไป เอา “วชิ ชา” ไปดับ “อวชิ ชา” ปฏิจจสมปุ บาทสายดบั เกิดข้นึ เมื่อ “อวิชชา” คือความรูผิดเห็นผิดน้ัน ถูก “วิชชา” คือความรู ตามความเปนจริงที่ถกู ตอ ง มาต้งั อยูแ ทนทแ่ี ลว “อวิชชา” ก็ดบั ไป เมอื่ “อวิชชา” ดับไป… “สงั ขาร” ความคิดนึกปรุงแตง ในส่ิงที่ผิดๆ ก็ยอมไมอาจเกิดข้ึน ดังนั้น ความคิดนึกปรุงแตงทั้งหลาย จึงคิดนึกไปตาม ครรลองของความเปนจริง ที่เห็นวา “กายน้ีเปนของสกปรก… กายนี้เปน กองทุกข… กายน้ีไมเท่ียง… กายน้ีเปล่ียนแปลง… สรรพส่ิงทั้งหลายในโลก ก็เปนเชนเดียวกับกายน้ี คือ… ไมมีใครเอาเปนเจาของได ไมมีใครที่จะ ครอบครองได ไมมใี ครบังคบั บัญชาได” ฉะนนั้ … ความรูท เี่ กดิ ข้ึนใหม ก็กลายเปนความรูที่ถูกตอง… แมจะ เรยี กวา “วญิ ญาณ” เชนเดิม แตก็เปน “วิญญาณที่รูถูก” เพราะมันเปนการ สรุปรวมลงของความรู อนั ไดจากการศกึ ษาความจรงิ ของชวี ติ นน่ั เอง เมื่อมันเห็นชัดเจนอยูอยางนั้น เขาใจแจมแจงอยูอยางน้ัน การที่ จะตองเดินไปสูการจุติปฏิสนธิ คือการตองเขาไปอาศัย ไปเกาะเก่ียวใน “กาย” หรือใน “วัตถุธาต”ุ ทง้ั ปวง… สําหรบั ใจทีเ่ หน็ จรงิ อยเู ชนนน้ั ยอ มไมมี 205

พระภาสกร ภรู ิวฑฒฺ โน (ภาวิไล) เมอ่ื ไมมีการเกิดใหม จึงไมมี “นาม-รูป” ฉะน้ัน “อายตนะ” ในการ ท่ีจะมารองรับสัมผัส ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส… ก็ยอมไมมี… ยอมดับไป เชนเดียวกัน “เวทนา” ท่ีจะเกดิ ขนึ้ จากการอาศยั ผสั สะแหงอายตนะ ก็ยอมไมมี ยอมจะดบั ไป “ตัณหา” ท่อี าศัยผสั สะ แหง อายตนะ ก็ไมมี กด็ บั ไปเชนเดยี วกนั “อุปาทาน” การยึดถอื ตางๆ เหลานัน้ ก็ไมมี “ภพ” ภาวะท่ีรองรับใจ ที่พอใจใน รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ตางๆ เหลานัน้ กไ็ มมี เหลอื เพยี ง “ใจ” ทีเ่ ปนอสิ ระ แม “กาย” จะยงั อยู ชวี ติ ยังเปนไป ดวยเกิดข้ึนมาแลว ... ในภาวะอยางน้ี “อายตนะ” ยังทํางานได ตายังเห็นรูปได แต เพราะไดรูจัก “รูป” รูจัก “กาย” รูจักอยางแทจริงแลววา “กายทั้งหลาย ไมไดสวยสดงดงาม กายทั้งหลาย ไมไดเปนท่ีมาของความสุข แตกลับเปน กองแหงความสกปรกเนาเหม็น เปนของที่ตองเส่ือมสลายแตกตายไป กายเปนกองแหงทุกข…” ฉะน้ัน… แมอายตนะคือตา ยังเห็นอยู ยังสัมผัส รบั รูอยู หูยังไดย นิ เสยี ง จมูกยังไดกล่ิน ล้ินยังรูรส กายยังรูสัมผัสรอนหนาว แตใจก็ไมเกาะติด ไมแสวงหา ไมทะยานอยาก ไมยึดถือ เพราะรูชัดเจน เขาใจแจมแจงแลว … คุณคาของ “กาย” คุณคาของ “วัตถุธาตุ” คุณคาของ “รูป เสียง กล่ิน รส สัมผัส” ท่ีเคยมีแกใจมาแตเดิมนั้น ถูกความเปนจริง ที่ใจไดเห็น ชัดเจนแลวน้ัน “ลบลาง” ไปหมด จึงเหลือเพียง “ใจ” ที่เปนอิสระ แมวา รางกายและอายตนะยังมีอยู ก็ถูกใชไปตามครรลอง ตามธรรมชาติของมัน ไมไดมีความยึดถือเขาไปเกาะเกี่ยว ไมมีความทะยานอยากท่ีจะเขาไปเพื่อ เสวยผล หรืออารมณใ ดๆ อีก ความยึดถือใดๆ ยอมสลายหมดสิน้ ไป 206

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรบั คนรุนใหม สน้ิ อาลยั ไรอ าวรณ ปลอดจาก “ทกุ ข” ในขณะท่ี “กาย” ที่ตนอาศัยอยู และรูป เสียง กล่ิน รส สัมผัส เหลาอน่ื ทัง้ หลาย ทเ่ี ปนอยตู ามธรรมชาตินนั้ เมอ่ื เกิดขึ้นมาแลว มนั กต็ องแก ตองเจ็บ และจะตองตายจากไป… แตใจก็ไมไดด้ินรนหรือกระวนกระวาย เพราะมันรูอยูอยางชัดเจนแลววา ของมันเปนของมันอยูอยางน้ัน น่ันเปน ธรรมชาติของมัน! คุณคาของมันที่เคยหลงตั้งไวในใจนั้น บัดนี้ไดถูกลบลางไป หมดแลว… ความเสยี ดาย อาลัยอาวรณ ความเศรา โศก พลิ าปพไิ ร รําพันนั้น ไมอาจเกิดขน้ึ กับจติ ใจดวงนั้นไดอีก เพราะมนั เหน็ อยา งเดนชัดแลว วา… “กายก็ดี… สรรพสิ่งท้ังหลายทั้งปวงก็ดี… รูป เสียง กล่ิน รส สัมผัส ท้ังหลายท้ังปวงก็ดี… เปนของไมเท่ียง เปนทุกขเปนอนัตตา เปนของที่ ใครๆ บังคบั บัญชาไมได จะเอามาเปน ของๆ ตนก็ไมได… และการที่ตนเอง ไดเคย เขาไปเกาะเกี่ยวยึดเหน่ียวผูกพันน้ัน ก็เห็นชัดวา ตนเองก็ตองไดรับ ทุกข รับโทษ โดยไมม ปี ระโยชนตอบแทนเลย แมแตนอ ยนดิ …” พน ไปจาก “กาย” ใจถงึ “นิพพาน” เมื่อกายนี้หรือกายอ่ืน ตองแตกสลายไป ใจไมกระทบกระเทือน ใจเปนอิสระ เพราะใจถือวา ภาระของการตองมาคอยดูแล การตองมา ประคับประคอง การตองมาเล้ียงดูรางกายท้ังหลายน้ัน สําหรับใจดวงนี้แลว จบสิ้นกันที… หมดสิ้นภาวะของการตองมาเวียนมาวน เพื่อหาท่ีเกาะท่ีเกิด กันอีก การเกิดไมมีอีกแลวสําหรับจิตดวงนั้น จิตน้ันยอมบรรลุถึงฝงอันเกษม คือ “พระนิพพาน” ภาวะการณตางๆ ในการหยุดวัฏสงสารของใจ เปนไป เชน น้ี… 207



ปฏิจจสมุปบาท สาํ หรับคนรนุ ใหม ภาคผนวก ทศิ ๖ คือ บุคคลประเภทตางๆ ที่เราตองเก่ียวของสัมพันธทางสังคม ดจุ ทศิ ที่อยูรอบตัว ๑. ปุรัตถิมทิศ แปลวา ทิศเบ้ืองหนา คือ ทิศตะวันออก ไดแก บดิ ามารดา เพราะเปนผูม ีอปุ การะแกเรามากอ น ก. บุตรธิดาพงึ บาํ รุงมารดาบิดา ผูเปน ทิศเบ้ืองหนา ดังน้ี ๑) ทานเล้ียงเรามาแลว เลี้ยงทานตอบ ๒) ชวยการงานของทาน ๓) ดาํ รงวงศส กุล ๔) ประพฤตติ นใหเ หมาะสมกบั ความเปนทายาท ๕) เมอื่ ทานลว งลับไปแลว ทาํ บุญอทุ ิศใหทา น ข. บิดามารดายอมอนุเคราะหบ ุตรธดิ า ดงั นี้ ๑) หา มปรามจากความชวั่ ๒) ใหต้งั อยูในความดี ๓) ใหศ กึ ษาศิลปวิทยา ๔) หาคคู รองท่สี มควรให ๕) มอบทรัพยส มบตั ิใหในโอกาสอันสมควร 209

พระภาสกร ภูริวฑฒฺ โน (ภาวิไล) ๒. ทักษิณทิศ แปลวา ทิศเบ้ืองขวา คือทิศใต ไดแก ครูอาจารย เพราะเปน ทกั ขิไณยบุคคล ควรแกก ารบชู าคุณ ก. ศิษยพงึ บํารงุ ครูอาจารย ผูเ ปนทิศเบือ้ งขวา ดงั น้ี ๑) ลกุ ตอนรบั ๒) เขา หา (เพื่อบํารงุ คอยรับใช ปรึกษา ซักถาม และรับคําแนะนาํ เปน ตน) ๓) ใฝใจเรียน (คอื มใี จรัก เรียนดว ยศรัทธา และรจู กั ฟงใหเ กดิ ปญญา) ๔) ปรนนบิ ัตชิ วยบริการ ๕) เรยี นศิลปวทิ ยาโดยเคารพ (คอื เอาจรงิ เอาจงั ถือเปน กจิ สาํ คญั ) ข. ครูอาจารยย อ มอนเุ คราะหศ ิษย ดงั น้ี ๑) ฝก ฝนแนะนาํ ใหเ ปนคนดี ๒) สอนใหเ ขาใจแจมแจง ๓) สอนศิลปวทิ ยาใหสน้ิ เชิง ๔) ยกยองใหปรากฏในหมูคณะ ๕) สรางความคุมภัยในสารทิศ (สอนฝกใหรูจักเลี้ยงตัวรักษาตน ในอัน ที่จะดําเนินชีวิตตอไปดวยดี รับรองความรูความประพฤติ ใหเปนท่ี ยอมรับในการไปประกอบอาชพี เปน อยไู ดดว ยด)ี ๓. ปจฉิมทิศ แปลวา ทิศเบื้องหลัง คือ ทิศตะวันตก ไดแก บุตร ภรรยา (เพราะมีขนึ้ ภายหลงั และคอยเปน กาํ ลงั สนับสนุนอยูข า งหลัง) ก. สามีพงึ บาํ รุงภรรยา ผูเปนทศิ เบื้องหลงั ดังน้ี ๑) ยกยอ งใหเ กยี รติ สมกบั ฐานะที่เปนภรรยา ๒) ไมด ูหม่นิ ๓) ไมน อกใจ ๔) มอบความเปน ใหญในงานบา นให ๕) หาเครื่องประดบั มาใหเปนของขวญั ตามโอกาส 210

ปฏจิ จสมุปบาท สาํ หรบั คนรนุ ใหม ข. ภรรยายอ มอนุเคราะหส ามี ดงั นี้ ๑) จัดงานบา นใหเ รียบรอ ย ๒) สงเคราะหญาติมติ รท้งั สองฝา ยดวยดี ๓) ไมนอกใจ ๔) รกั ษาทรพั ยสมบตั ทิ ห่ี ามาได ๕) ขยันไมเ กียจครานในงานทัง้ ปวง ๔. อุตตรทิศ แปลวา ทิศเบื้องซาย คือ ทิศเหนือ ไดแก มิตรสหาย เพราะเปนผูชวยใหขามพนอุปสรรคภัยอันตราย และเปนกําลังสนับสนุนให บรรลุความสาํ เร็จ ก. บคุ คลพงึ บาํ รุงมติ รสหาย ผเู ปนทศิ เบื้องซา ยดังนี้ ๑) เผ่ือแผแบง ปน ๒) พูดจามนี าํ้ ใจ ๓) ชวยเหลือเกอ้ื กูลกัน ๔) มีตนเสมอ รว มสุขรวมทกุ ขกัน ๕) ซ่ือสัตยจรงิ ใจตอ กนั ข. มติ รสหายยอมอนเุ คราะหต อบ ดงั นี้ ๑) เมื่อเพ่อื นประมาท ชว ยรกั ษาปองกัน ๒) เมอ่ื เพือ่ นประมาท ชวยรกั ษาทรัพยส มบตั ิของเพื่อน ๓) ในคราวมภี ัย เปน ทพี่ ง่ึ ได ๔) ไมล ะทิง้ ในยามทุกขย าก ๕) นับถือตลอดถงึ วงศญ าติของมิตร 211

พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) ๕. เหฏฐิมทิศ แปลวา ทิศเบื้องลาง ไดแก คนรับใชและคนงาน เพราะเปน ผูชว ยทาํ การงานตา งๆ เปนฐานกาํ ลังให ก. นายพงึ บํารุงคนรบั ใชและคนงาน ผเู ปน ทศิ เบ้อื งลางดงั น้ี ๑) จดั การงานใหท าํ ตามความเหมาะสมกับกาํ ลงั ความสามารถ ๒) ใหคา จา งรางวัล สมควรแกงานและความเปน อยู ๓) จัดสวสั ดกิ ารดี มีชวยรักษาพยาบาลในยามเจบ็ ไข เปนตน ๔) ไดข องแปลกๆ พเิ ศษมา ก็แบงปน ให ๕) ใหม ีวันหยดุ และพกั ผอ นหยอนใจ ตามโอกาสอนั ควร ข. คนรบั ใชและคนงานยอมอนุเคราะหนาย ดังน้ี ๑) เร่มิ ทําการงานกอ นนาย ๒) เลกิ งานทหี ลงั นาย ๓) ถอื เอาแตข องท่นี ายให ๔) ทาํ การงานใหเ รยี บรอยและดยี ่งิ ขึ้น ๕) นาํ เกยี รติคุณของนายไปเผยแพร ๖. อุปริมทิศ แปลวา ทิศเบ้ืองบน ไดแก สมณพราหมณ คือ พระสงฆ เพราะเปน ผสู ูงดว ยคุณธรรมและเปนผนู าํ ทางจิตใจ ก. คฤหัสถยอมบํารงุ พระสงฆ ผเู ปนทศิ เบ้อื งบน ดงั นี้ ๑) จะทําสงิ่ ใด ก็ทําดวยเมตตา ๒) จะพูดส่ิงใด กพ็ ดู ดวยเมตตา ๓) จะคิดส่งิ ใด ก็คดิ ดวยเมตตา ๔) ตอนรับดว ยความเต็มใจ ๕) อุปถมั ภดวยปจจยั ๔ 212

ปฏิจจสมุปบาท สําหรับคนรุน ใหม ข. พระสงฆยอ มอนุเคราะหค ฤหสั ถด งั น้ี ๑) หา มปรามจากความช่วั ๒) ใหต ง้ั อยใู นความดี ๓) อนุเคราะหด วยความปรารถนาดี ๔) ใหไ ดฟ งสง่ิ ทีย่ งั ไมเคยฟง ๕) ทําส่งิ ท่เี คยฟงแลวใหแ จมแจง ๖) บอกทางสวรรค คอื ทางชีวิตทม่ี คี วามสขุ ความเจริญให ผปู ฏิบตั ิดังกลา วนีช้ ่ือวา ปกปก รกั ษาทว่ั ทุกทิศใหเปนแดนเกษมสุข ปลอดภยั . 213

พระภาสกร ภรู ิวฑฺฒโน (ภาวิไล) “พธิ ีขออโหสกิ รรมใหญ เพื่อความไมประมาท” ของ พระอาจารยนพพร อาทจิ ฺจวโํ ส ทา นพระอาจารยน พพร อาทจิ ฺจวํโส ไดเมตตาใหคําแนะนําแกศิษย ท้ังหลายวา โดยเหตุท่ีเราทานท้ังหลาย ไดมีจิตศรัทธานอมใจเขามาปฏิบัติ ธรรม บําเพ็ญบารมีทําความดีดวยประการตางๆ ดังน้ันเพ่ือเปนการเปดทาง และสรางเหตุใหเราทาน สามารถวิมุตติหลุดพนไดโดยงาย และเพ่ือใหเกิด สัปปายะ ความสบายรวดเรว็ ในการปฏบิ ัติธรรม ท้ังยังเปนความไมประมาท ท่ีพระพทุ ธเจาท้งั หลาย ทรงยกยองสรรเสริญดว ยแลว ควรท่ีศิษยท้ังหลาย จะไดมีการทําพิธี “ขออโหสิกรรม เพ่ือความ ไมประมาท” ตอกรรมทั้งหลายท้ังปวง ที่เราทานอาจจะไดเคยลวงเกินตอ ทานผูรู ผูมีพระคุณ ผูทรงคุณความดี และบารมีธรรมท้ังหลาย เพราะการ กระทบกระทง่ั ผูร ู ผูมีคุณความดีบารมีธรรม ระดับสงู มากขึน้ ไปเพียงใดแลว ผลทจ่ี ะสะทอ นกลับมา ก็ยอมรุนแรงข้ึนไปเทาน้ัน ยิ่งเปนพระพุทธเจา พระ ธรรมเจา พระอริยสังฆเจา หรือพระอรหันตเจาทั้งหลาย ผูเปนอัปปมาโณ บุคคล คือบุคคลผูทรงคุณคาหาประมาณมิไดแลวดวยไซร กรรมท่ีเกิดขึ้น แมเพยี งคดิ กลา วปรามาสลว งเกนิ กส็ ามารถสง ผลตอบแทนท่ีรุนแรงนากลัว มหันต และดวยอํานาจแหงวิบากกรรมเหลานั้น ก็จะปดบังตาปดบังใจ ไมให เราทานสามารถเกิดปญ ญา รูทวั่ ถงึ ธรรมตามเปน จรงิ ได ดังน้ันใครเลยจะรูวา ในอดีตท่ีผานมา หรือในภพชาติท่ีผานพนไป แลวน้ัน บางทีเราอาจจะไดเคยพลาดพลั้งลวงเกินไปอยางใดบาง จึงควรที่ เราทานทัง้ หลายจะไดปฏิบัติตาม ท่ีพระศาสดาสัมมาสัมพุทธเจาของเรา ได ทรงตกั เตือนแกพทุ ธบรษิ ทั ทั้งหลายเปนปจฉิมโอวาทวา “สังขารทั้งหลาย มีความเส่ือมไปเปนธรรมดา ทานท้ังหลายจงยัง กิจท้ังปวง อันเปนประโยชนตนและประโยชนผูอื่น ใหบริบูรณดวยความ ไมป ระมาทเถดิ ” 214

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรบั คนรนุ ใหม ดังนั้นโดยการตั้งใจทําพิธี “ขออโหสิกรรม” ในกรรมท้ังหลาย ท่ีเรา อาจจะไดเคยกระทําไวเหลาน้ัน เพ่ือยังความไมประมาทใหเกิดข้ึน ทั้งยัง เปน การทรมานกเิ ลส และพฒั นาใจของเรา ใหม คี วามกลา หาญตอความจริง และเหตุผลท่ีถูกตองชอบธรรม เปนการแสดงความออนนอม เปนเหตุให เปนบุคคลท่ีพึงประสงค เปนท่ีรัก อีกทั้งยังเปนการบรรเทาโทษทุกขภัย ใหล ดนอ ยลงดวย ดงั ทเี่ ราทาน จะไดก ลาวคําขมา ขออโหสิกรรมตอไป หมายเหตุ ทานพระอาจารยนพพร อาทิจฺจวํโส ไดเมตตาแนะนํา ใหทาํ พธิ ีน้ใี นวนั วสิ าขบูชา วันมาฆบูชา หรือในวันมหาปวารณา (ออกพรรษา) โดยถือเอาตามนยั ทว่ี า เปน วนั ทีพ่ ระทั้งหลายทา นมาประชุมพรอ มเพรียงกัน พรอมทจ่ี ะใหอ โหสิกรรม และวา กลาวตกั เตือนได ชุมนมุ เทวดา (สคั เค กาเม...)1 นะโม ๓ จบ, ไตรสรณาคมณ (พุทธงั สรณัง คจั ฉามิ...), สมาทานศลี (ปาณาตปิ าตา...) โมทนาสาธุๆๆ กับ พระสัมมาสัมพุทธเจา ทกุ ๆ พระองค โมทนาสาธๆุ ๆ กับ พระธรรมเจา ทกุ ๆ พระองค โมทนาสาธๆุ ๆ กบั พระอรยิ สงั ฆเจา ทกุ ๆ พระองค โมทนาสาธุๆๆ กบั พระปจเจกพทุ ธเจา ทกุ ๆ พระองค โมทนาสาธุๆๆ กับ พระอคั รสาวกเจา ทุกๆ พระองค โมทนาสาธุๆๆ กบั พระอสีตมิ หาสาวกเจา ทุกๆ พระองค โมทนาสาธุๆๆ กับ พระอรหันตสาวกเจา ทุกๆ พระองค 1 หาไดจากหนังสอื สวดมนต หรอื มนตพิธี ท่ัวๆ ไป 215

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) ขอพระบรมพุทธานุญาติ ขอพระองคทรงประทานพระวโรกาส ใหขาพระพุทธเจาและคณะ พรอมดวยพรหมเทพเทวดาทั้งหลาย สรรพสัตว ทั้งหลาย สรรพเจากรรมนายเวรทั้งหลาย ไดทําพิธีขออโหสิกรรม ในกรรม ท้งั หลายทง้ั ปวง ที่ขา พเจาท้ังหลาย ไดเคยประมาทลวงเกิน แกองคพระศาสดา สมั มาสมั พุทธเจา พระธรรมเจา พระอรยิ สงั ฆเจา ทานผูทรงพระคุณความดี และบารมีธรรมทั้งหลาย ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี หรือแมดวยใจก็ดี นับแตอดีต ๑๖ อสงไขยแสนกัลป จนถึงปจจุบันชาติ เพื่อความหมดเวร สิ้นกรรม เพ่ือมรรค ผล นิพพาน และความวิมุติหลุดพนไดโดยงาย ในฉับพลนั นี้ดวยเทอญ. นะโม ๓ จบ ๑. สมั มาสมั พุทโธ ปะมาเทนะ + ทฺวารัตตะเยนะ กะตงั สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภนั เต. ๒. สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ปะมาเทนะ + ... ๓. สปุ ะฏปิ นโน ภะคะวะโต สาวะกะสงั โฆ ปะมาเทนะ + ... ๔. รัตนะตะเย ปะมาเทนะ + ... ๕. สงั โฆ อริยสังโฆ ปะมาเทนะ + ... ๖. เถเร มะหาเถเร ปะมาเทนะ + ... ๗. ทานบารมี ทานอุปบารมี ทานปรมัตถบารมี ศีลบารมี ศีลอุปบารมี ศีลปรมัตถบารมี เนกขัมมะบารมี เนกขัมมะอุปบารมี เนกขัมมะ- ปรมัตถบารมี ปญญาบารมี ปญญาอุปบารมี ปญญาปรมัตถบารมี วิริยะบารมี วิริยะอุปบารมี วิริยะปรมัตถบารมี ขันติบารมี ขันติอุปบารมี ขันติปรมัตถบารมี สัจจะบารมี สัจจะอุปบารมี สัจจะปรมัตถบารมี อธษิ ฐานบารมี อธษิ ฐานอุปบารมี อธิษฐานปรมัตถบารมี เมตตาบารมี เมตตาอุปบารมี เมตตาปรมัตถบารมี อเุ บกขาบารมี อุเบกขาอุปบารมี อเุ บกขาปรมตั ถบารมี ญาณะสัมปน โน ปะมาเทนะ + ... 216

ปฏิจจสมุปบาท สําหรบั คนรุนใหม ๘. ญาณวมิ ตุ บิ ารมี ญาณวิมุตอิ ุปบารมี ญาณวมิ ตุ ิปรมตั ถบารมี ญาณะสัมปนโน ปะมาเทนะ + ... ๙. มรรค-ผล-นิพพานบารมี มรรค-ผล-นิพพานอุปบารมี มรรค-ผล- นพิ พานปรมตั ถบารมี ญาณะสมั ปน โน ปะมาเทนะ + ... ๑๐. ครุ ุ อาจะริเย ปะมาเทนะ + ... ๑๑. มาตาปต ะเร ปะมาเทนะ + ... โมทนาสาธุ โมทนาสาธุ โมทนาสาธุ ขอใหพระสัมมาสัมพุทธเจาทุกๆ พระองค พระธรรมเจาทุกๆ พระองค พระอริยสังฆเจาทุกๆ พระองค พระปจเจกพุทธเจาทุกๆ พระองค พระอัครสาวกเจาทุกๆ พระองค พระอสีติมหาสาวกเจาทุกๆ พระองค พระอรหันตสาวกเจาทุกๆ พระองค บารมีธรรมท้ังหลาย อุปชฌาย ครู อาจารย ทั้งหลาย บิดามารดาและทานผูมีพระคุณทั้งหลาย ญาติสนิทมิตรสหาย ท้งั หลาย สรรพเจากรรมนายเวรทงั้ หลาย สรรพสัตวสรรพวิญญาณทั้งหลาย นับแต ๑๖ อสงไขยแสนกัลปจนถึงปจจุบันชาติ จงเมตตาใหอโหสิกรรม แกขาพเจา และใหอโหสิกรรมแกก นั และกันเทอญ • ขอจงอโหสิๆๆ • ขอใหหมดเวรส้นิ กรรมๆๆ • ขอใหกรรมทั้งหลายท้งั ปวงจงเปนอโหสิๆๆ • ขอใหวิบากกรรมชั่วท้งั หลายทง้ั ปวง จงยุตกิ ารสง ผลๆๆ • ขอใหว บิ ากกรรมดีท้ังหลายทั้งปวง จงสง ผลสาํ เร็จๆๆ • นบั แตบดั นเี้ ปนตน ไป ตราบเทาเขาสูพระนิพพานดวยเทอญ. • โมทนาสาธๆุ ๆ • ขอใหสําเรจ็ มรรค ผล นิพพาน ในชาตปิ จ จุบันนีเ้ ทอญ. ---///--- 217

พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) (ตวั อยา ง) การอธิษฐานการปฏิบตั ธิ รรม ใหเ กิดปฏเิ วธธรรม ถึงพระนิพพานในชาตปิ จจุบัน ชมุ นุมเทวดา วานะโม ๓ จบ สมาทานศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ (ตามสถานภาพของแตล ะบคุ คล) (พระภิกษพุ ึงเขา หาพระภิกษุผเู ปนสหธรรมิก ปลงอาบัติใหต กตามพระวินยั ) แลวกลา วคําขอพระบรมพทุ ธานญุ าต ขา แตองคพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจาผูเจริญ ขาพระพุทธเจา… (ช่ือ ฉายา นามสกุล) ไดกระทําตามโดยชอบแลว ซึ่งธรรมของพระองค โดย การกําหนดรู และพิจารณาในกองทุกข คอื ความทนไดยาก อันไดแ ก ชาติป ทุกขา ความเกิดทั้งหลาย น้ันเปนความทุกข ชะราปทุกขา ความแกชรา เส่ือมโทรม ออนลาของสังขารทั้งหลาย นั้นเปนความทุกข มะระณัมป ทุกขัง ความตาย ความจากพรากท้ังหลาย น้ันเปนความทุกข โสกะปะริเทวะทกุ ขะโทมะนสั สุปายา สาป ทุกขา ความโศกเศรา รํ่าไรรําพัน ไมสบายกาย ไมสบายใจ คับแคนใจทั้งหลาย น้ันเปนความทุกข อัปปเยหิ สัมปะโยโค ทกุ โข ความประสบกับส่ิงที่ไมเปนที่รักที่พอใจท้ังหลาย น้ันเปน ความทุกข ปเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ความพลัดพรากจากสิ่งอันเปนท่ีรัก ท่ีพอใจท้ังหลาย น้ันเปนความทุกข ยัมปจฉัง นะ ละภะติ ตัมป ทุกขัง ปรารถนาสงิ่ ใด แลว ไมส มปรารถนาในสง่ิ น้นั ทง้ั หลาย นน้ั เปน ความทกุ ข พิจารณาไตรตรองถ่ีถวนดีแลว ในกองทุกขทั้งหลายดังกลาวมานี้ มีศรัทธาบริบูรณ ในพระมหากรุณาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระปญญาธิคุณ ของพระพุทธองค พรอมดวยพระธรรมที่ตรัสไวดีแลว พรอมดวยพระสงฆ ผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ขาพระพุทธเจาจึงมีมหากุศลจิต อธิษฐานมุงตรงตอ พระนพิ พาน และหากมเี หตุปจจัยถึงพรอ ม ขอใหขาพระพุทธเจาพึงถึงท่ีสุด แหงกองทกุ ขท้งั ปวง ในชาติปจ จบุ ัน โดยเรว็ พลันเทอญ. 218

ปฏจิ จสมุปบาท สําหรบั คนรุนใหม ขา พระพุทธเจา ขอประกาศสจั จะ เปนอธิษฐานบารมี ดงั ตอ ไปนี้ ๑. บุญบารมีใดๆ ไมวา ทาน ศีล เนกขัมมะ ปญญา วิริยะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา ทั้งท่ีเปนบารมีธรรม อุปบารมีธรรม และ ปรมัตถบารมีธรรมทั้งหลาย ท่ีขาพระพุทธเจาไดเคยบําเพ็ญส่ังสมอบรมมา นับแตอเนกชาติ ทุกกัปทุกกัลปทุกอสงไขย หาประมาณมิได ขาพระพุทธเจา ขอนอมบารมีธรรมเหลาน้ันท้ังหมด มาเปนกําลังในการปฏิบัติ เพ่ือเปาหมาย สูงสุด คือพระนพิ พานใหแ จง ถึงทีส่ ดุ แหง ทุกขในปจ จบุ นั โดยเรว็ พลันเทอญ. ๒. อธษิ ฐานอนื่ ใดอันเปน อุปสรรคตอการเขาถึงมรรค ผล นิพพาน ในชาติปจจุบัน ท่ีขาพระพุทธเจาไดเคยอธิษฐานไวในอดีต เชน การอธิษฐาน พุทธภูมิ เพ่ือตรัสรูเปนพระพุทธเจา การอธิษฐานปจเจกภูมิ เพ่ือตรัสรูเปน พระปจเจกพุทธเจา การอธิษฐานเพ่ือความเปนอัครสาวก อสีติมหาสาวก หรืออธิษฐานเพ่ือไปบรรลุธรรมและปฏิบัติหนาท่ี ในสมัยท่ีพระโพธิสัตว พระองคอน่ื จะมาตรสั รใู นอนาคตบาง หรอื แมแตการอธิษฐานที่ไปเก่ียวของ ผูกพันไวกับบุคคล หรือชุมชนกลุมใดกลุมหน่ึง เพื่อรอเขาถึงพระนิพพาน ในอนาคตสมัยเดียวกันบาง… บัดน้ีขาพระพุทธเจา ขออธิษฐานอยางสูงสุด เต็มกําลังใจ ยกเลิกอธิษฐานแตอดีต ที่เปนอุปสรรคตอมรรค ผล นิพพาน ในปจจบุ ันเหลา น้นั ทง้ั หมด โดยส้ินเชงิ ไมม ขี อแม นบั แตบัดนเ้ี ปนตนไป ๓. ขาพระพทุ ธเจา ขอใชบารมีธรรมทั้งปวง ที่เคยบําเพ็ญสั่งสมมา เพ่ือการเขาถึงมรรค ผล นิพพาน ในชาตปิ จจบุ ัน โดยเร็วพลันเทอญ หากมี สวนแหงบารมีธรรมหลงเหลืออยูมากมายเพียงใด ขาพระพุทธเจาขอนอม เอาบารมีธรรมเหลาน้ันท้ังหมด มาใชในการทํากิจพระพุทธศาสนา เผยแผ พระสัทธรรมแหงพระบรมศาสดาฯ ใหยังประโยชนแกชนนิกร ตลอดจน พรหมเทพเทวดา สมดังเจตนารมย ของสมเด็จพระผูมีพระภาคเจา ในการ ขนถา ยเวไนยสัตว ขามหว งมหรรณพวัฏสงสาร เขาสูมหาอมตนฤพาน ขอใหส ัจจะอธษิ ฐานบารมนี ี้ จงสาํ เรจ็ จงสาํ เร็จ จงสาํ เร็จ ขอใหส จั จะอธษิ ฐานบารมีน้ี ตั้งขนึ้ แทนอธษิ ฐานในอดีตทัง้ ปวง 219

พระภาสกร ภูรวิ ฑฒฺ โน (ภาวิไล) ขอใหสัจจะอธิษฐานบารมี อันเปนสัมมาทิฐิ แหงอริยมรรคมีองค ๘ น้ี จงเปนกุญแจธรรม ไขพลิกบารมีธรรมท้ังปวง ท่ีขาพระพุทธเจาได บําเพญ็ สง่ั สมมา ใหเกิดมรรคสมังคี ประหารปวงกิเลส คือ โลภ โกรธ หลง พรอมดวยตัณหา มานะ ทิฐิ และอวิชชา ใหถึงกาลแตกทําลาย สิ้นสูญไป เปน สมจุ เฉทปหาน ในชาติปจ จบุ นั โดยเรว็ พลันเทอญ. ขาพระพุทธเจาขอโมทนาความดี กับบารมีธรรมทั้งหลายทั้งปวง อันสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา พระปจเจกพุทธเจา พระอัครสาวกเจา พระอสีติมหาสาวกเจา พระอรหันตสาวกเจา พระอริยสังฆเจา ตลอดจน พระโพธิสัตวเจาทั้งหลายทั้งปวง ที่ไดสั่งสมบําเพ็ญมาแลว และถึงซ่ึงความ สําเรจ็ ในความปรารถนาอันเปนกุศลแลว ขอใหขาพระพุทธเจา จงเปนผูมีสวนในบุญกุศล คุณความดี และ บารมีธรรม ท่ีทานไดเขาถึงแลวเหลาน้ัน และเขาถึงท่ีสุดแหงทุกขทั้งปวง คอื มรรค ผล นิพพาน ในชาตปิ จจุบนั โดยเรว็ พลันเทอญ. โมทนาสาธุ โมทนาสาธุ โมทนาสาธุ ขอใหส าํ เรจ็ ขอใหสําเรจ็ ขอใหสําเร็จ 220

ปฏิจจสมุปบาท สาํ หรับคนรนุ ใหม ประกาศใหอ โหสิกรรม “ขา พระพทุ ธเจาทง้ั หลาย ขออาราธนา พระสัมมาสมั พุทธเจา ทกุ ๆ พระองค พระธรรมเจาทุกๆ พระองค พระอรยิ ะสังฆเจา ทกุ ๆ พระองค พระปจ เจกพทุ ธเจาทุกๆ พระองค พระอรหนั ตส าวกเจาทุกๆ พระองค ทานทาวพระยายมราช ทานทาวจตุโลกบาล และพระสยามเทวาธิราชทกุ ๆ พระองค ขอจงโปรดเมตตากรุณา เสด็จมาเปน สกั ขีพยาน และรว มโมทนา ในการใหอโหสกิ รรมแกก ันและกนั และแกผ เู คยลว งเกนิ ตอขาพระพุทธเจา มาแลว ทง้ั หลายทง้ั ปวง ในทกุ กัปทกุ กลั ปท กุ อสงไขย จนถงึ ปจ จบุ นั ชาต.ิ .. ขาพระพุทธเจาทั้งหลาย ขอประกาศใหอโหสิกรรมแกตนเอง ตลอดจนถงึ พอแมพี่นอ ง ปูยา ตายาย ลงุ ปานา อา บตุ รธดิ า ภรรยาสามี ลกู หลานเหลนทัง้ หลาย ญาติมติ รสหายท้ังหลาย หมคู ณะผูรว มงานท้ังหลาย คูแ ขงคูคา ครู ักคูแ คน คบู ุญคกู รรมทง้ั หลาย ครูบาอาจารยท ้งั หลาย อปุ ชฌายอ าจารยท้ังหลาย ตลอดจนพรหมเทพเทวดา มนษุ ย สรรพสตั ว สรรพวิญญาณ สรรพเจา กรรมนายเวร ทงั้ หลายทั้งปวง ทกุ ทา นทุกพระองค ท่ีเคยเขนฆา ทํารา ยรังแก ปลนจลี้ ักขโมย เบยี ดบงั ยักยอก ขม ขนื ผิดประเวณี โกหกหลอกลวง ตม ตุน คดโกง ตระบดั สตั ย หกั หลงั ทรยศ อกตญั ู เสยี ดสดี าวา บังคบั ฝนใจ ใหกินเหลาเมายา ท้ังแกต ัวขา พเจาเอง หรือแมใน บคุ คล และส่งิ ท่ขี าพเจารักหวงแหน ไมวา ในชาตนิ ้ภี พน้ี หรือในภพชาตใิ ดๆ กต็ าม ในทุกกปั ทกุ กัลป ทกุ อสงไขย ทงั้ เจตนาหรือไมเ จตนา ทง้ั ตอ หนา และลบั หลงั ท้งั ทรี่ ูและไมร ู อันเปน เหตุใหขา พเจา ท้ังหลาย ทุกขกายก็ดี ทุกขใ จกด็ ี ขา พเจา ขออโหสิกรรม และใหอโหสกิ รรมแกท า นท้งั หลายท้งั ปวง จนหมดสิ้น ต้งั แตบ ัดนี้ ตราบเทาเขาสพู ระนิพพาน การอาฆาตพยาบาท สาปแชง จองเวรจองกรรมใดๆ ที่ขาพเจาได เคยประกาศไว หรือผูกใจเก็บไว ในชาติน้ีภพนี้ หรือในภพชาตใิ ดๆ ก็ตาม ขาพเจา ใหอ โหสิกรรม ยกเลกิ ใหเ ปนโมฆะท้ังสิ้น เพ่อื ใหห มดเวรสิน้ กรรม ตอ กันและกัน นบั แตบดั นี้ ตราบจนถึงพระนิพพาน 221

พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวไิ ล) ขอใหเราทานทั้งหลาย ท่ีอยูพรอมหนากันในท่ีน้ี ตลอดจนพอซ้ือ แมซ้ือ พอเกิดแมเกิด พรหมเทพเทวดา ท่ีปกปกรักษาขาพเจาทั้งหลาย จงทราบวา บัดนี้ขาพเจาทั้งหลาย ไดใหอโหสิกรรมแกกันและกันแลว และ จะไมเอาการกระทําทั้งหลายในอดีต มาเปนเหตุทําราย ทําลาย เบียดเบียน ซงึ่ กนั และกนั อีกตอ ไป ขา พระพทุ ธเจา ท้งั หลาย ขอโมทนาความดี กับพระสัมมาสัมพุทธเจา ทกุ ๆ พระองค พระธรรมเจาทุกๆ พระองค พระอริยะสังฆเจาทุกๆ พระองค พระปจเจกพุทธเจา ทุกๆ พระองค พระอรหันตสาวกเจาทุกๆ พระองค ทานทาวพระยายมราช ทานทาวจตุโลกบาล และพระสยามเทวาธิราชทุกๆ พระองค ท่โี ปรดเมตตากรณุ า เสด็จมาเปนสักขีพยาน ในการใหอโหสิกรรม ของขา พระพทุ ธเจาทงั้ หลาย โมทนาสาธุ โมทนาสาธุ โมทนาสาธุ ดวยอานิสงส แหงการใหอโหสิกรรมน้ี ขอใหเจากรรมนายเวร ท้ังหลายทั้งปวงของขาพเจา จงกรุณาใหอโหสิกรรมแกขาพระพุทธเจา โดย งายเทอญ. • โมทนาสาธุ โมทนาสาธุ โมทนาสาธุ • ขอใหกรรมท้ังหลายท้งั ปวงจงเปน อโหสิ (๓ ครง้ั ) • ขอใหว ิบากกรรมช่ัวทัง้ หลายทัง้ ปวง จงยุตกิ ารสงผล (๓ ครั้ง) • ขอใหวิบากกรรมดีท้ังหลายท้ังปวง จงสง ผลสําเร็จ (๓ ครง้ั ) • โมทนาสาธุ โมทนาสาธุ โมทนาสาธุ • ขอใหขาพเจา พรอมดวยพรหมเทพเทวดา สรรพสัตวสรรพ วิญญาณ สรรพเจากรรมนายเวรท้ังหลายทั้งปวง จงสําเร็จมรรค ผล นิพพาน ในชาติปจจบุ ัน ฉับพลันนี้ เทอญ. ---///--- 222

บรรณานกุ รม ธรรมปฎก, พระ (ประยุทธ ปยุตฺโต). พุทธธรรม ฉบับขยายความ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพม หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘ ธรรมปฎก.พระ.(ประยุทธ ปยุตฺโต).พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวล ธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓ ธรรมปฎก.พระ.(ประยุทธ ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวล ศัพท. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓ ญาณสังวร, สมเด็จพระ, สมเด็จพระสังฆราช. (เจริญ สุวฑฺฒโน). ความ เขาใจเรื่องปฏิจจสมุปบาท. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหา- มกฏุ ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒ พุทธทาสภิกขุ, (เงื่อม อินฺทปฺโญ). เร่ืองสําคัญท่ีสุดสําหรับพุทธบริษัท ปฏิจจสมุปบาท หลักปฏิบัติอริยสัจจท่ีสมบูรณแบบ. กรุงเทพ- มหานคร : ธรรมสภา, ม.ป.ป. บรรจบ บรรณรุจิ. กระบวนธรรมเพ่ือความเขาใจชีวิต ปฏิจจสมุปบาท เกิด-ดํารงอยู-ตาย และสืบตออยางไร. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ม.ป.ป. สัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ, พระ. ปรมัตถโชติกะ มหาอภิธัมมัตถสังคห- ฎีกา ปริจเฉทที่ ๕ เลม ๑ ภูมิจตุกกะและปฏิสนธิจตุกกะ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๔๐ ------- 223

\"พอ\" คือ คําทีส่ องในชีวติ ครึ่งหนงึ่ ของอวยั วะ และเลอื ดเนือ้ … พอ คอื ผูใหม า… ตราบใดทล่ี ูกยังมลี มหายใจ ไมว า จะอยูใ นสถานะไหน… ยอมไมส ามารถทดแทนพระคณุ ของ \"พอ\" ใหห มดสิน้ ได ขอใหบญุ กศุ ล คือ ทาน ศีล ภาวนา ทลี่ ูกไดกระทําไว ท้ังท่ีสาํ เรจ็ แลว และทจ่ี กั กระทําใหสําเร็จนั้น… เปน กตัญกู ตเวทติ า บชู า… ซง่ึ … พระคณุ ของ \"พอ \" ภาพ : โยมพอ คอื ศ.กิตติคุณ ดร.ระวี ภาวไิ ล และผูเ ขียน เม่อื กวา สสี่ บิ ปมาแลว 224

ประวัตผิ ูเขยี น ช่อื พระภาสกร ภูรวิ ฑฒฺ โน (ภาวิไล) ชือ่ เดิม นริ นั ดร ภาวไิ ล วัน เดือน ปเ กิด วันพฤหัสบดที ่ี ๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ ณ กรงุ แคนเบอรา ประเทศออสเตรเลยี เปน บุตรของ ศ.ดร.ระวี ภาวิไล และนางอุไรวรรณ ภาวิไล บรรพชา อปุ สมบท พ.ศ. ๒๕๑๕, พ.ศ. ๒๕๑๗ บรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน ณ วัดชลประทานรังสฤษฏ ปากเกรด็ นนทบรุ ี โดยมี พระธรรมโกศาจารย (หลวงพอ ปญ ญานันทภิกขุ) เปน พระอุปช ฌาย วันจันทรที่ ๒๖ กุมภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๓๙ อุปสมบทเปนพระภิกษุ ณ วัดคุณแมจันทร แขวงประเวศ กทม. โดยมี สมเด็จพระญาณวโรดม (ประยูร สนฺตงฺกุโร) วัดเทพศริ นิ ทราวาส กทม. เปนพระอุปช ฌาย 225

การศึกษา สําเร็จการศกึ ษาชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ ๕ (ม.ศ. ๕) พ.ศ. ๒๕๒๒ จากโรงเรยี นสาธิตจุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. ๒๕๒๖ สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาฟสิกส จากคณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณ พ.ศ. ๒๕๔๒ มหาวิทยาลัย สอบไลไ ดน กั ธรรมชั้นเอก สาํ นักเรยี นจงั หวดั เชยี งใหม ประสบการณ กอตั้งและเปนผูจัดการ บริษัทพิคเจอร โพรเจค จํากัด พ.ศ. ๒๕๓๐ ตั้งอยูที่ ถนนเอกมัย แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กทม. ใหบริการ ถา ยภาพบคุ คล และภาพโฆษณา ปจจุบัน พ.ศ. ๒๕๔๔-ปจจุบัน เปนผูอาํ นวยการ ธรรมสถาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม วัดฝายหิน ถนนสุเทพ ตาํ บลสุเทพ อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ๕๐๒๐๐ โทรศัพท 053-943684 E-mail: [email protected] 226

รายนามผรู วมพิมพหนังสอื “ปฏิจจสมปุ บาทสําหรบั คนรนุ ใหม” (ฉบบั พิมพค ร้ังท่ี ๒/๒๕๕๐) ๑) ศ.ดร.คุณหญงิ พยอม สิงหเ สนห  ครอบครวั ๓๐,๐๐๐ บาท ๒) วงศวภิ า เทพหัสดนิ ณ อยุธยา ๒๐,๐๐๐ บาท ๓) โยคียุวพทุ ธฯ ศูนย ๒ /๑๕-๑๗ มิ.ย. ๒๕๕๐ ๑๗,๐๐๐ บาท ๔) เรืออากาศโท เฉลิมกิจ โรจนวิภาค ๑๐,๐๐๐ บาท ๕) อภินันท-ธนพันธ ศิรโิ ยธิพันธ ๘,๐๐๐ บาท ๖) วรชนุ อยูจ ินดา ๗,๐๐๐ บาท ๗) มลู นิธิสขุ ะมงคล ๕,๐๐๐ บาท ๘) ชยั ต้งั จิตชัชวาล ครอบครวั ๕,๐๐๐ บาท ๙) คณะ อ.วีระชาติ ศิรไิ กรวฒั นาวงศ ๔,๑๖๐ บาท ๑๐) ไอยรา ธนาพร, อรวรรณ วงศเมธากูล ๓,๖๐๐ บาท ๑๑) อุทศิ แด Lidwina Burkle และ อัมพร โกเมศ ๓,๖๐๐ บาท รายละ ๓,๐๐๐ บาท ๑) พระศรญี าณโสภณ (รองเจา อาวาสวดั พระรามเกาฯ) ๒) ขนษิ ฐา อัครนธิ ิกลุ ๓) นพ.สเุ ทพ วงศแ พทย ๔) ไฉไล-เคี้ยนหวา ถ่มั , ประไพพรรณ-ทวีป ชาตธิ ํารง ครอบครัว ๕) สุพัฒน- ฐติ ิพันธ- ด.ญ.ประทับใจ- ด.ญ.ณหทยั รัตนศริ ิวไิ ล รายละ ๒,๐๐๐ บาท ๑) อวี าน แวน อูทรฟี ๒) ธนู พุม ประกอบศรี ๓) ปกรณ บรริ าช ๔) สตปย า เพชรรัตน ๕) ชว งโชติ-วรณัน-จรณ-สรญั ญา ทรงเจรญิ ๖) อรทยั สืบทรพั ยอ นนั ต ครอบครัว ๗) พลู ศกั ด์ิ-สชุ าดา ต้ังเธียรกุล ๘) เผา ไทย ปาลกะวงศ ณ อยธุ ยา ๙) สรนิ ยา เชย่ี วพิมลพร ครอบครวั ๑๐) คณะเจาหนา ท่ี ยุวพุทธกิ สมาคมฯ ศูนย ๑, ๓. ๑๑) อรพนิ ท ตระกลู ชวนดี ๑๒) บรรจง-สวุ ัฒน- ศุภสิ รา-ด.ช.ปราชญ อมฤตกลุ รายละ ๑,๕๐๐ บาท ๑) ไมตรี-อญั ชลี-นิกร วรี ะนิติกุล, ลว้ั อภชิ าติกติ ติกร บุตรธิดา รายละ ๑,๐๐๐ บาท ๑) อุบาสกิ าเพียงเดือน ธนสารพพิ ิธ ๒) ธชธร-รงุ นภา- ด.ช.กฤติน-ด.ญ.ปทิตตา ๓) สุทธิลักษณ- ศรีสนทิ บริราช ๔) ดุจใจ-ชัยชนะ กรกจิ สุวรรณ ๕) นพ.ธนพ ศรสี ุวรรณ ๖) สวุ ัฒน โชติวรรณ ๗) กฤตยิ า ถาวร 227

๘) นพ.ศภุ นมิ ิตร ทฆี ชุณหเถยี ร ครอบครัว ๙) วรวทิ ย- เนตรชนก-ด.ญ.ภทั รภา สขุ เอ่ยี ม ๑๐) แมชปี ยอภิรวี อภไิ กรสวสั ด์ิ ๑๑) ถวิล-พัชรพร ฉันทาวรานรุ กั ษ ๑๒) จิตเกษม ณ ระนอง ๑๓) อรุณีย กาญจนสริ ภิ กั ดี ๑๔) พญ.นรลี กั ขณ พิทักษด าํ รงวงศ ครอบครัว ๑๕) บษุ กร และเพ่อื น แมค็ เคมซพั พลาย บจก. ๑๖) มานพ-สุจันทร-ด.ญ.สุพิชชา ขนั ตี ๑๗) ศริ พิ ร ทองตระกูล ๑๘) บุญชวย ปญญาไชย ครอบครัว ๑๙) ศริ ินทรท ิพย เมธยานันท ๒๐) ณรงค ศริ ลิ กั ษณ ๒๑) อโณทยั คุณาพรไพโรจน, วุฒพิ ร ทักษณิ วราจาร ๒๒) ทิพวรรณ นา ประเสรฐิ , เพญ็ พรรณ แซนา ลูกหลาน รายละ ๗๐๐ บาท ๑) ประพมิ พร นันตร ตั น, ธนสิทธ์-ิ ยวุ รนิ ทร จรญู ชัยพงศ ครอบครัว, จารวุ ัทฒ รักศักด์สิ กลุ รายละ ๕๐๐ บาท ๑) พระเกยี รติณรงค กติ ฺตวิ ฑฒฺ โน นาจารย ๒) ณิรสิ รา รัตนโชติ, รกิ าร ไพรัชเวสส ๓) นภิ า วรพันธ ๔) เฉลมิ ลกั ษณ ครี วี งศ ๕) สุดธดิ า แกว ขจร ๖) สมใจ ศริ ะกมล ๗) มชี ยั วีระไวทยะ, ทิพยอ รณุ จันทรศรีชัน้ , พบิ ูลยอ ฑั ฒ หฤหรรษปราการ, อศั จรรยรัก ราํ่ รวยมหาทรัพย ครอบครวั ๘) มนัสพร กาญจนสริ ภิ กั ดี ๙) สมพล-จริ วดี กาญจนสิรภิ ักดี ๑๐) พรทพิ ย กาญจนสริ ภิ กั ดี ๑๑) ไทยแหอวนอุตสาหกรรม บจก. ๑๒) รสสคุ นธ อยูสมบูรณ ๑๓) ราตรี เลขาวิจติ ร ๑๔) ทศวัฒน หอมแกนจันทร ๑๕) อนสุ รณ ศรีวะโร ๑๖) พนั สทิ ธิ-์ ศิริพรรณ-พาสนิ -พาสรี ี ธนสนิ ๑๗) ไตรรัตนจ ิวเวลรี่ & คาเฟ, หสน.ไตรรตั นา : โปรง นภา อคั รชิโนเรศ, ภาณวุ ัฒน - จุฑามาศ พนั ธุทอง, ศุภฤกษ ตาลเงิน, สายสุนีย ลาพงิ ค ๑๘) ศกั ดา ศรสี ุขคํา ๑๙) สัญชัย - พรรวี ภมรานนท รายละ ๓๐๐ บาท ๑) สําราญ ดา นศริ กิ ุล รายละ ๒๐๐ บาท ๑) สุรนาท บรู ณพงษ ๒) ยุทธพล ดํารงชื่นสกุล ครอบครวั ๓) จิรสุตา อมรินทรแ สงเพญ็ ๔) พ.ต.อ.ฉกาจ มาลารักษ ครอบครัว ๕) สมกมล โกมทุ แดง ๖) ขาวกลา สใุ จ ๗) โสภณา ณ ระนอง ๘) ชาญศลิ ป ชาวยอง ๙) จนิ ดา เลศิ ศริ ิวรกลุ ๑๐) ประยรู อาทิ ๑๑) วรการ-ธาตรี-ผอ งพรรณ ศิริมังฆศรี ๑๒) ร.ต.อ.สมชาย พมุ พวง ๑๓) อาริยา ศลิ าโกศล ๑๔) ปานจิตต วาฤทธ์ิ 228

รายละ ๑๐๐ บาท ๑) พาณี ศิรประภา ๒) อนกุ ฤษณ อนุกูลสวัสดิ์ ๓) ภมู ิธนิศวร อินตะ ปญญา ครอบครวั ๔) ปยะนุช ปยะตระกูล ๕) นภาพรรณ วงษต ะลา ๖) วฒั นพงศ สุทธภักดิ์ ๗) จนิ ตนา วงศตะ ๘) นนั ทมนัส ชิตทะวงศ ๙) นนทธิดา เลก็ เลศิ ศิริวงศ ๑๐) คมสันต์ิ บญุ ชุมใจ ๑๑) วุฒิพงษ ไชยเสน ๑๒) เปรมสิริ เจริญผล ๑๓) กฤษณา ปลมื้ สติ ครอบครัว ๑๔) มณีนุช ณรงคแ สง ๑๕) อมั รา เช้อื พูล ๑๖) บงกช กวิ ฒั นา ๑๗) คณิต วรวรรณธนะชัย ครอบครัว ๑๘) เอมอร เจริญวราวงศ ๑๙) ผไู มประสงคออกนาม รายยอย ปญญาภะระโน (สวัสดวิ์ งษพ ร)-วชิรปญโญ (รุงเกยี รต)ิ และคณะ ๒๕๐, ธัญวฒั น แสงสุวรรณ-วิลาวลั ย ปน ทอง ๒๒๐, ดวงฤดี-วิกรม-ไกรวนิ เจือจาน ๑๖๐, วันชัย เช่ียวชาญธนกิจ-มลั ลิกา ทพิ ยมณี ๑๕๐, มานิตย ปญ ญารัตน ๑๒๐, เพ่ิมพงศ เรืองใจ ๙๐, พัทยา สิงหกี ๕๐, พงศจักร พงษวุฒิกลุ ๔๐, ฐิตมิ า คําขนั ตี ๒๐, ประจมิ จนั ตะเภา ๒๐ โอนจาก กองทุนธรรมวหิ าร ๒๕๕๐ ๑ มกราคม-๑๑ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๐ รงุ รัก ศิริเวช, เทพรตั น อึ้งเศรษฐพันธ, น.พ.ไพบูลย- ปราณี สมานโสตถวิ งศ ครอบครัว ๒,๐๐๐, มาริษา หัสแดง ๑,๘๖๐, จริ ัฐ ลิม้ ปยวรรณ ๑,๘๖๐, กัญจนณ าภทั ร สกุลสุขเสฏฐี - พิเชฏฐ ชัยยงั ๑๐๐. คาพิมพ ๑๙๘,๐๐๐ บาท ยอดเงินสมทบรว มพมิ พ ๑๙๘,๐๐๐ บาท 229

เปนสุขเพราะศลี ทา นทีป่ ระสงคความเจริญในชวี ติ พึงดํารงชีวิตใหเปนปกติ ดว ยการมี เจตนาแนวแน วริ ัตริ ักษาศลี ๕ โดยสมาทานรักษาดวยตนเองทุกเชา -คาํ่ เม่ือต่นื นอนตอนเชาและกอ นเขานอน และระหวา งวนั ก็ใหมใี จจดจอ อยกู ับศลี คอย ตรวจดูวาตนไดเผอเรอลว งศลี ขอใดบา งหรือไม ถาไม กโ็ มทนาสาธกุ ับตนเองทไ่ี ด รกั ษาศีลไวเปน อนั ดี ถาระลกึ ไดว า ทาํ ผดิ ศีลไป ใหข ออโหสกิ รรมตอ ผูไดร ับความ เดือดรอนเสียหายจากการกระทําของเราดว ยความสํานกึ ผดิ แลวทบทวนสมาทาน ศีลใหมทัง้ ๕ ขอ ทกุ ครั้งไป บทสมาทานศีล ๕ (ยอ) พทุ โธ ธัมโม สงั โฆ ศลี ขอ ๑ ไมฆ าสัตว, ศลี ขอ ๓ ไมป ระพฤติผิดในกาม, ศีลขอ ๒ ไมลักทรัพย, ศลี ขอ ๔ ไมพดู เท็จ, ศลี ขอ ๕ ไมดม่ื สรุ าและของมึนเมา บดั น้ี ขา พเจา ตั้งใจรักษาศลี แลว บดั นี้ ขา พเจา คือผูม ีศีล ดวยอาํ นาจศลี น้ี ขอใหข าพเจา (อธษิ ฐานตามสมควร) เพย้ี ง ! เชน …จงเดินทางโดยสวสั ดิภาพ …จงไดร ับความสาํ เรจ็ ในการตดิ ตอ …จงขายดบิ ขายดมี กี าํ ไรในการคา …จงเปน ผถู งึ พรอ มดวยสติปญ ญา รูเทาทันกเิ ลส ตณั หา อุปาทาน ทั้ง ภายนอกและภายใน ใหมกี าํ ลงั ใจในการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ในธรรมอันเปนกุศล ทงั้ ปวง ขอใหอปุ สรรค เพทภยั อนั ตราย และหมมู ารทั้งหลาย จงคล่ีคลาย สลายไป ดวยอํานาจศีล อนั ขาพเจาไดบําเพญ็ แลว ณ บัดนี้ เทอญ. พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) ๒๔ เมษายน ๒๕๔๙ 230




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook