Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปฏิจจสมุปบาท สำหรับคนรุ่นใหม่.

ปฏิจจสมุปบาท สำหรับคนรุ่นใหม่.

Published by thiwadon jirapunyo, 2021-09-24 11:52:14

Description: พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวิไล).

Search

Read the Text Version

พระภาสกร ภรู ิวฑฒฺ โน (ภาวิไล) (๔) สัทธาจริต ไดแ ก ผมู ศี รัทธาเปน ความประพฤติปกติ หนักไปทาง มีจิตซาบซึ้งช่ืนบาน นอมใจเล่ือมใสโดยงาย พึงชักนําไปในสิ่งที่ควรแกการ เลื่อมใส และความเชื่อที่มีเหตุผล เชนการใชกรรมฐานในหมวด อนุสติ ๑๐ ใน ๖ ขอตน (คือ พุทธานุสติ ธัมมานุสติ สังฆานุสติ สีลานุสติ จาคานุสติ และเทวตานุสต)ิ เปน เครอ่ื งระลกึ ถึงอยูเนืองๆ (๕) พุทธิจริต หรือ ญาณจริต ไดแก ผูมีความรูเปนความประพฤติ ปกติ หนักไปทางใชความคิดพิจารณา พึงสงเสริมแนะนําใหใชความคิดไป ในทางที่ชอบ เชน ยกองคธรรมมาพิจารณาถึงความเปนไปภายใตกฎไตรลักษณ กรรมฐานที่เหมาะสม คือ มรณสติ (ระลึกถึงความตาย) อุปสมานุสติ (ธรรมเปนที่สงบ มีคุณของนิพพานเปนเครื่องระลึก) จตุธาตุววัฏฐาน (ธาตุ ๔) และ อาหาเรปฏกิ ลู สญั ญา (ความเปน ปฏิกูลในอาหาร) (๖) วิตกจริต ไดแก ผูมีวิตกเปนความประพฤติปกติ หนักไปทาง นึกคิด จับจด ฟุงซาน พึงแกดวยกรรมฐานท่ีสะกดอารมณ เชน เจริญ อานาปานสติ หรอื เพง กสิณ เปนตน กรรมฐาน และขีดข้นั ของผลสําเร็จ รูปกรรมฐาน ๓๖ ในกรรมฐาน ๔๐ นั้น นอกจากจะเหมาะกับ จริต ท่ีตางกันแลว ยังตางกันโดยผลสําเร็จสูงตํ่ามากนอย ที่สามารถทําให เกดิ ขึ้นดวย คือมขี อบเขตในการใหเ กิดสมาธิในระดับตางๆ (ต้ังแตปฏิภาคนิมิต, อุปจารสมาธิ, ปฐมฌาน, ทุติยฌาน, ตติยฌาน จนถึง จตุตถฌาน) โดย ไมเทา เทยี มกัน ดงั ตอ ไปน้ี (๑) กสณิ ๑๐ ยงั ใหถงึ ไดส งู สุด คือ จตุตถฌาน (๒) อสุภะ ๑๐, กายคตาสติ ยังใหถึง ปฐมฌาน (๓) อนุสติ ๑๐ ใน ๖ ขอแรก, อุปสมานุสติ, มรณสติ, อาหาเรปฏิกูลสัญญา, จตุธาตุววัฏฐาน ยังใหถึงไดสูงสุดเพียง อุปจารสมาธิ (๔) อัปปมัญญา ๔ ใน ๓ ขอแรก ยังใหถึง ตติยฌาน (๕) อุเบกขาอัปปมัญญา ยังใหได อุปจารสมาธิ แลว กาวขา มไปสู จตุตถฌาน 36

ปฏิจจสมุปบาท สําหรับคนรนุ ใหม วิปส สนา ๕) วิปสสนา คือ สังขาร สภาพท่ีปรุงแตง อัน ยังภพใหสิ้นไป เปนการฝกอบรมปญ ญา ใหเกดิ ความเห็นแจงรูช ัดตรงตอความเปนจริงของ สภาวธรรม, ปญญาท่ีเห็น ไตรลักษณ อันถอดถอนความหลงผิดรูผิดใน สังขารเสียได ซึ่งสภาวะของจิตในขณะที่ปรุงแตงเปนวิปสสนาน้ัน จิตเปน มหากศุ ลจิต โดยมี รูป-นาม ขันธ ๕ ท้ังภายใน ภายนอก เปนอารมณแก การปฏิบัติวิปสสนา และดําเนินวิปสสนาดวยการ โยนิโสมนสิการ คือการ นกึ คดิ พจิ ารณาไปโดยแยบคาย และ โอปนยิโก นอมเขามาสูใจ จนเหน็ แจง สภาวธรรมอนั เปนไปตามกฎไตรลกั ษณ เปนสําคญั ใน ปฐมเสขสูตร ขทุ กนกิ าย อิติวุตฺตก ขอ ท่ี ๑๙๔ พระผมู ีพระภาคเจา ทรงตรสั เร่ืองโยนโิ สมนสิการ เปน คาถาประพันธว า “ธรรมอยางอื่นอันมีอุปการะมาก เพ่ือบรรลุประโยชนอันสูงสุด แหงภิกษุผูเปนเสขะ เหมือนโยนิโสมนสิการไมมีเลย ภิกษุเร่ิมตั้งไวซึ่ง มนสิการโดยแยบคาย พงึ บรรลุนิพพานอันเปนทส่ี ้ินไปแหงทุกขไ ด” ใน สพั พาสวะสังวรสูตร มัชฌิมนิกาย มูลปณณาสก ขอที่ ๑๑ พระผูมี พระภาคเจาทรงตรสั เรอ่ื งโยนิโสมนสกิ าร เปนปจจัยใหส ้นิ อาสวะไวดังนี้ “ดูกอนภิกษุท้ังหลาย ความสิ้นอาสวะจะมีได แกภิกษุผูรูผูเห็น โยนิโสมนสิการ และอโยนโิ สมนสิการ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุมนสิการโดยไมแยบคาย อาสวะ ท้ังหลายทย่ี งั ไมเกิดยอมเกดิ ขนึ้ ทีเ่ กิดขน้ึ แลว ยอมเจริญ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมื่อภิกษุมนสิการโดยแยบคาย อาสวะ ทัง้ หลายทยี่ ังไมเกิดยอ มไมเ กิดขึน้ และที่เกิดขน้ึ แลว เธอยอ มละเสียได” 37

พระภาสกร ภรู วิ ฑฒฺ โน (ภาวิไล) ใน ปฐมโยนิโสมนสิการ สัมปทาสูตร สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค ขอที่ ๑๓๖ และ ๑๗๒ พระผูมีพระภาคเจาทรงตรัสเร่ืองโยนิโสมนสิการ เปน นิมิตแหง อรยิ มรรคไวด ังนี้ “ดูกอนภิกษุท้ังหลาย เมื่อพระอาทิตยจะขึ้น สิ่งท่ีข้ึนมากอน สิ่งทีเ่ ปน นิมติ มากอน คือแสงเงนิ แสงทอง สิ่งที่เปนเบื้องตน เปนนิมิตมากอน เพื่อความบังเกิดแหง อริยมรรคอันประกอบดวยองค ๘ ของภิกษุ คือความถึงพรอมแหงการ กระทาํ ไวในใจโดยแยบคาย (โยนโิ ส-มนสิการ) ฉนั น้ันเหมอื นกนั ” “ดูกอนภกิ ษทุ ง้ั หลาย เรายังไมเล็งเห็นธรรมอันอื่นแมสักอยางหน่ึง ซ่ึงจะเปนเหตุใหอริยมรรคอันประกอบดวยองค ๘ ที่ยังไมเกิด ยอมเกิดข้ึน หรือที่เกิดขึ้นแลว ยอมถึงความเจริญบริบูรณ เหมือนความถึงพรอม แหง การกระทาํ ไวใ นใจโดยแยบคาย (โยนิโส-มนสิการ) เลย” ใน อวิชชาสูตร อังคุตตรนิกาย ทสกนิปาต ยมกวรรค พระผูมี พระภาคเจาทรงตรัสเรื่อง อาหาร (ปจจัย) ของโยนิโสมนสิการ และ อโยนิโสมนสกิ าร ไว มีความโดยสรุปดงั นี้ การไมคบสัตบุรุษท่ีบริบูรณ ยอมทําให ไมไดฟงพระสัทธรรมที่ บริบูรณๆ ยอมทําให ไมมีศรัทธาที่บริบูรณๆ ยอมทําให อโยนิโสมนสิการ บริบูรณๆ ยอมทําให ไมมีสติสัมปชัญญะท่ีบริบูรณๆ ยอมทําให ไมสํารวม อินทรียท่ีบริบูรณๆ ยอมทําให ทําทุจริต ๓ ท่ีบริบูรณๆ ยอมทําให มนี วิ รณ ๕ ทบ่ี ริบรู ณๆ ยอมทําให อวิชชาบริบูรณ การคบสัตบุรุษท่บี ริบรู ณ ยอมทาํ ให ไดฟง พระสัทธรรมที่บริบูรณๆ ยอมทําให มีศรัทธาบริบูรณๆ ยอมทําให โยนิโสมนสิการบริบูรณๆ ยอมทําใหสติสัมปชัญญะบริบูรณๆ ยอมทําให สํารวมอินทรียบริบูรณๆ ยอมทําให ทําสุจริต ๓ บริบูรณๆ ยอมทําให สติปฏฐาน ๔ บริบูรณๆ ยอม ทําให โพชฌงค ๗ บริบูรณๆ ยอ มทาํ ให วิชชาและวมิ ตุ ตบิ ริบรู ณ 38

ปฏิจจสมุปบาท สําหรับคนรนุ ใหม ใน ปฐมปาสสูตร สังยุตตนิกาย สคาถวรรค ขอ ๔๒๕ พระผูมี พระภาคเจาทรงตรัส ยกยองใหความสําคัญสูงสุดในโยนิโสมนสิการ ไดแก การตรกึ การคดิ ทีแ่ ยบคาย การคิดทฉี่ ลาดไวดังนี้ “ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ความหลุดพนอยางยอดเยี่ยม เราทําให แจง แลว เพราะโยนโิ สมนสกิ าร เพราะโยนิโสสัมมัปปธาน ดูกอนภิกษุท้ังหลาย แมเธอท้ังหลาย ก็จงบรรลุอยางยอดเยี่ยม เพราะโยนิโสมนสิการ เพราะโยนโิ สสมั มปั ปธาน” เปนท่ีรูกันทั่วไปวา อริยมรรคมีองค ๘ คือมัชฌิมาปฏิปทา ทาง สายกลาง อันดําเนินไปสูความพนทุกขน้ัน สามารถสรุปรวมลงในสิกขา ๓ กลาวคือ ศีล สมาธิ และปญญา และเม่ือยนยอลงเปน ๒ แลวก็ไดแก สมถะ และวิปสสนา ฉะนั้นพึงเขาใจวา การเจริญวิปสสนา การเจริญสติปฏฐาน การเจริญอริยมรรคมีองค ๘ การเจริญธัมมวิจยสัมโพชฌงค การบําเพ็ญ ปญ ญาสิกขา การทําปรญิ ญากิจเพื่อรอบรูในอุปาทานขันธ ๕ แมมีพยัญชนะ ตา งกนั แตก ม็ คี วามหมายเหมอื นกนั คอื เปน เรือ่ งของ “วปิ ส สนา” ท้ังสนิ้ วิปส สนาญาณ ๙1 เม่ือเรามาดทู ี่หัวขอและความหมายของ วิปส สนาญาณ ๙ คือ วิปสสนาญาณ ๙ = ญาณในวิปสสนา, ญาณที่นับเขาในวิปสสนา หรือท่ีจัดเปนวิปสสนา เปนความรูที่ทําใหเกิดความเห็นแจง เขาใจสภาวะ ของสิ่งทั้งหลายตามเปนจริง ๑. อุทยัพพยานุปสสนาญาณ = ญาณอนั พจิ ารณาเห็นความเกิด และความดับ โดย พิจารณา ความเกิดขึ้นและดับไปแหงเบญจขันธ จนเห็น ชัดวา (ความเห็นแจงโดยใจ ไมใชการเห็นภาพ) ส่ิงท้ังหลายเกิดข้ึน ครั้นแลว กต็ องดบั ไป ลว นเกดิ ข้ึน แลวกด็ บั ไปทั้งหมด 1 ขุ.ปฏิ. ๓๑/๑/๑ ; วิสุทธ.ิ ๓/๒๖๒-๓๑๙ ; สังคห. ๕๕. 39

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) ๒. ภังคานุปสสนาญาณ = ญาณอันคํานึงเห็นความสลาย เม่ือ เห็นความเกิดดับ เชนนั้นแลว คํานึงเดนชัด ในสวนความดับ อันเปนจุด จบสิ้น กเ็ หน็ วาสังขารทั้งปวง ลวนจะตองสลายไปทัง้ หมด ๓. ภยตูปฏฐานญาณ = ญาณอันพิจารณาเห็นสังขาร ปรากฏ เปนของนากลัว เม่ือ พิจารณาเห็น ความแตกสลายอันมีท่ัวไป แกทุกส่ิง ทุกอยาง เชนน้ันแลว สังขารทั้งปวง ไมวาจะเปนไปในภพใดคติใด ก็ปรากฏ เปน ของนา กลวั เพราะลว นแตจะตองสลายไป ไมปลอดภยั ทงั้ สน้ิ ๔. อาทีนวานุปสสนาญาณ = ญาณอันคํานึงเห็นโทษ เมื่อ พิจารณาเห็น สังขารทั้งปวง ซึ่งลวนตองแตกสลายไป เปนของนากลัว และ ไมปลอดภัยทั้งส้ินแลว ยอม คํานึงเห็น สังขารทั้งปวงนั้นวา เปนโทษ เปนสิ่งที่มคี วามบกพรอง จะตอ งระคนอยูดวยทุกข ๕. นิพพิทานุปสสนาญาณ = ญาณอันคํานึงเห็นดวยความหนาย เม่ือ พิจารณาเห็น สังขาร วาเปนโทษเชนนั้นแลว ยอมเกิดความหนาย ไมเพลินติดใจ ๖. มุญจิตุกัมยตาญาณ = ญาณอันคํานึงดวยใครจะพนไปเสีย เมื่อหนา ยสังขารทงั้ หลายแลว ยอ มปรารถนาท่ีจะพนไปจากสงั ขารเหลานน้ั ๗. ปฏิสังขานุปสสนาญาณ = ญาณอันคํานึงพิจารณาหาทาง พนไปเสีย เม่ือตองการจะพนไปเสีย จึงกลับหันไป ยกเอาสังขารท้ังหลาย ขึ้นมาพิจารณา กําหนดดวยไตรลักษณ เพื่อมองหาอุบายท่ีจะปลดเปลื้อง ออกไป ๘. สังขารุเปกขาญาณ = ญาณอันเปนไปโดยความเปนกลาง ตอ สงั ขาร เมื่อ พิจารณาสังขาร ตอไป ยอมเกิดผล คือ ความรูเห็นสภาวะ ของสังขาร ตามความเปนจริง วามีความเปนอยูเปนไปของมันอยางนั้น เปนธรรมดา จงึ ปลงตกวางใจเปนกลางได ไมยินดียินรายในสังขารทั้งหลาย แตน้ัน มองเห็นนิพพานเปนสันติบท ญาณจึงแลนมุงไปยังนิพพาน เลิกละ ความเกยี่ วเกาะกบั สงั ขารเสยี ได 40

ปฏิจจสมุปบาท สําหรบั คนรนุ ใหม ๙. สัจจานุโลมิกญาณ (อนุโลมญาณ) = ญาณอันเปนไปโดย อนุโลม แกก ารหยงั่ รอู รยิ สัจ เมือ่ วางใจเปนกลาง ไมพะวงตอสังขารท้ังหลาย และญาณแลนตรงสูนิพพานแลว ญาณอันคลอยตอการตรัสรูอริยสัจ ยอมจะ เกิดขน้ึ ในลําดับถัดไป เปน ขัน้ สดุ ทายของวิปส สนาญาณ เราจะเห็นไดวา ญาณทั้งหลายในวิปสสนาญาณน้ัน ลวนแลวแต เปนญาณอันประกอบดวยการ นึก คิด (คํานึง) พิจารณา ท้ังสิ้น ไมใช แตการ เพียรเพง ตามดู รูอยู เฉยๆ เทาน้ัน ฉะนั้นเพ่ือความเขาใจชัดเจน ในเรื่อง “การนึก-คิด-พิจารณา” วาเปนการปฏิบัติ “วิปสสนากัมมัฏฐาน” อยา งไร ขอใหเรามาวเิ คราะหพ ฤติกรรมการทํางานของจิตกันกอน ดงั นี้ การนึก คดิ และพิจารณา จิต คือธาตุรู ธรรมชาติของจิตคือการรู ส่ิงที่ถูกจิตรูเรียกวา อารมณ… โดยธรรมชาติ จิตของเราจะเปนท่ีรวบรวมไวดวยความรู หรือ ขอมูลท่ีจิตเคยรับรูเอาไว อยางมากมายมหาศาล ซึ่งขอมูลในจิตเหลาน้ัน ในภาษาบาลีรวมเรียกวา วิญญาณ ซ่ึงแปลเปน ภาษาไทยวา ความรู และใน ขณะเดียวกัน จิตก็มี กิริยาการรับรู ซึ่งบาลีก็เรียกวา วิญญาณ ดวยเชนกัน ทําหนาที่รูผานชองทาง (อายตนะ) ตางๆ คือ ตา หู จมูก ล้ิน กาย ใจ แลวบันทกึ ตรงเขา สูใ จตลอดเวลา นอกจากนี้ จิตยังมี สัญญา คือ กิริยาความจําไดหมายรู ไดแก ความสามารถในการนึก คือ ดึงขอมูลเกา ที่จิตเคยจดจํา บันทึก บัญญัติ ตีราคา หรอื ใหคุณคาเอาไว ข้ึนมาใหรบั รูใหม แตส่ิงทเี่ กิดขึ้น ไมใชจะเปนเพียงการรับรูเฉยๆ เทานั้น แตจิตจะมี สังขาร คือ กิริยาการปรุงแตง ไดแกการ คิด พิจารณา และตัดสิน ทั้ง วิญญาณ คือขอมูลฝายท่ีมันไดรับเขามาใหม และ สัญญา คือขอมูลเกา ท่ีมันนึกขึ้นมาได จากที่เคยจดจํา บันทึก บัญญัติ ตีราคา ใหคุณคาเอาไวนั้น และเกดิ การตัดสินใหมต อขอ มลู ทัง้ หลายท่เี ขา มาประกอบรว มกัน 41

พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวไิ ล) ทําใหเกิดผลเปน เวทนา คือปฏิกิริยาการเสวยอารมณข้ึน เปน ความพอใจ (สุข) หรือไมพอใจ (ทุกข) หรือเปนกลางๆ ไมสุขไมทุกข ดวย อํานาจปญญาที่รูเทาทัน (อุเบกขา) หรือแมในบางครั้งก็เปนกลาง ดวยยัง ไมรู ยังไมสนใจ ยังตัดสินไมไดวาจะพอใจดีหรือไมพอใจดี (อทุกขมสุข) ในขณะเดียวกัน จิตก็จะบันทึกผลจากการนึกคิดปรุงแตงเหลานี้เขาสูใจ ในฐานะเปนวิญญาณ ความรูใหม ทับถมซอนลงในวิญญาณความรูที่มีอยู แตเ ดิมลงไป อยา งไมรูจกั จบจกั ส้นิ การนึก คือ สัญญา (ความจําไดหมายรู) หรือการระลึกได เปนการเรียกขอมูลความรู ท่ีบันทึกอยูในจิตแตเดิมแลวขึ้นมาใชงาน เพ่ือ ประกอบกับการคิด การพิจารณา ในการตัดสินใจ หรือใหคุณคาคร้ังใหมๆ ท่ีมีตอสิ่งที่รับรูเขามาใหม ทางตา หู จมูก ล้ิน กาย หรือแมแตเพียงเฉพาะ ขอ มลู ความรูท่จี ติ จดจําบันทกึ ไวแ ตเดิมน้ัน การคิด คือ สงั ขาร หรือกิริยาการปรุงแตงของจิต เปนการทํางาน ของจิต ที่มีตอขอมูลที่จิตรับเขามาใหม นํามาประมวลเขากับขอมูลเกาที่มี สัญญา ความจําไดหมายรู ระลึกนึกขึ้นได จนเกิดเปนการตัดสินคุณคาของ สิ่งตางๆ ที่มันไดรับรูมานั้น และในขณะเดียวกัน ผลของการคิด ก็จะกลาย เปนความรใู หมท่บี ันทึกเขา สูใจ ในฐานะวิญญาณความรใู หมของใจ การพิจารณา คือ การคิดตอเน่ือง หรือการคิดหลายๆ ครั้ง หลายๆ ข้ันตอน หลายๆ แงมุม จนเกิดความรูความเขาใจเพิ่มข้ึน หรือ จนกระท่ังเขาใจลึกซ้ึงในสิ่งท่ีพิจารณาน้ัน ซ่ึงตลอดเวลาท่ีมีการพิจารณา ก็ จะตอ งมี สัญญา การดงึ เอาขอ มลู เกา ที่สง่ั สมไวเดมิ ในแงมมุ ตา งๆ มากมาย เขามารวมในการคิดพิจารณาน้ันดวย ในการน้ีอาจเรียกไดวา เปนการเขา “เคลา” อยางลุมลึก กับอารมณของจิต ภาษาบาลีเรียก โยนิโสมนสิการ การพจิ ารณาโดยแยบคาย วิตก เปนภาษาบาลี หมายถึงความตรึก หรือตริ ไดแกการยกจิต ขน้ึ สูอ ารมณ การคิด การดําริ 42

ปฏจิ จสมุปบาท สําหรบั คนรุน ใหม สวนคําวา วิจาร หมายถึงความตรอง การพิจารณาอารมณ การตามฟนอารมณ ฉะน้ัน เมื่อนํามาเปรียบเทียบกัน คําวา วิตกวิจาร นั้น จึงหมายถงึ การ คิด และพจิ ารณา นั่นเอง การเกิดขึ้นของความรู เม่ือมีการนึก คิด และการพิจารณาเกิดข้ึน ผลลัพธท่ีไดออกมา ก็คือความรู แตความรูที่ไดมาน้ัน จะเปนความรูท่ีถูกตองเปน สัมมาทิฏฐิ หรือไมถูกตอง คือเปน มิจฉาทิฏฐิ ก็ข้ึนอยูกับวา ความรูเหลาน้ัน สอดคลอง หรอื ขัดแยง กบั ความเปนจริงที่แทจรงิ ของธรรมชาติ นอกจากนี้ความรูตางๆ ก็มีความเชื่อมโยงระหวางกัน ความรูท่ี เกิดขึ้นใดๆ จึงมักเปนการแทนคาของความรูอีกหลายๆ ประการ ดังเชน ความรูที่เกิดจากการคิดพิจารณา ก็จะเปนผลรวมของความรูท่ีเรานํามา ประกอบในการคิดพิจารณานั้นๆ ยกตัวอยางเชน ถาเราไมเคยเห็นตนกุหลาบ เม่ือมีใครนําเอาตนกุหลาบมาใหพิจารณา เราก็จะพบวา ตนกุหลาบมี องคประกอบตางๆ มีดอก ใบ ก่ิง กาน และหนามแหลมคม ซ่ึงท่ีกลาวมานั้น ก็เปนลักษณะเฉพาะตัวของตนกุหลาบ ฉะน้ันในคราวตอไป เมื่อมีใครพูด ถึงตนกุหลาบ เราจะเขาใจไดทันที เพราะเปนส่ิงท่ีเราเคยพบเห็นและ พิจารณามาแลว โดยไมต องนกึ ภาพดอก ใบ ก่ิง กาน และหนามอันแหลมคม ของมัน ข้ึนมาในใจทั้งหมดอีก ฉะนั้น เม่ือมีใครพูดถึงตนกุหลาบ เราก็ สามารถเขาใจทันที และผานไปสูเรื่องอื่นไดเลย ในจิตของเราจึงเต็มไปดวย วิญญาณ ความรูในลักษณะเชนน้ี คือแตละความรูนั้น ก็จะเปนโยงใยของ ความรูตางๆ หลายๆ ความรู ที่เชื่อมโยงถึงกัน กลาวคือ การท่ีเรากลาววา เรารูชัดเจน หรือรูแจงในเรื่องใดเร่ืองหน่ึง ก็หมายความวา เรารูถึงความ เช่อื มโยงของสง่ิ ที่เรารนู ัน้ กับความรูอน่ื ๆ อกี มากมาย ซ่งึ วิญญาณคือความรู แบบรวบยอดสําเร็จรูปน้ีเอง ท่ีมาทําหนาท่ีเปน สติ และ สัมปชัญญะ คือ ความระลึกและรู (แบบสําเร็จรูปและพรอมใชงาน) ไดอยางทันเวลาทันทวงที ดังคาํ จํากัดความของ สต-ิ สมั ปชัญญะ ตอ ไปนี้ 43

พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) สติ คืออะไร? สติ คือ ความระลึกได, นึกได, ความไมเผลอ, การ คุมใจไวกับกิจ หรือ กุมจิตไวกับส่ิงท่ีเก่ียวของ, จําการท่ีทําและคําท่ีพูดแลว แมนานได สัมปชัญญะ คืออะไร? สัมปชัญญะ คือ ความรูตัวท่ัวพรอม, ความรูตระหนัก, ความรชู ดั เขาใจชัด ซงึ่ สิ่งทีน่ ึกได อีกประการหน่ึงท่ีสําคัญ คือ ความรู ไมวาจะเปนความรูใหม หรือ ความรูเกาท่ีมีอยูเดิมในจิตของเราน้ัน ควรท่ีจะสอดคลอง กลมกลืน และ ไมขัดแยงกันดวย แตถาหากความรูท่ีเรารับเขาไปใหม เกิดไปขัดแยง คือ ไมลงรอยกับความรูท่ีมีอยูแตเดิม แนนอน ความสงสัย งุนงง ไมเขาใจ หรือไมยอมรับก็จะเกิดขึ้น ซ่ึงเราก็จะตองใช สัญญา ความจําไดหมายรู คนหาขอมูลอื่นๆ จากสวนลึกของใจ หรือมี วิญญาณ รับรูขอมูลจาก ภายนอกเขามาใหมทาง อายตนะ คือ ชองทางรับรู เพ่ือเอามาทําหนาที่ เชื่อมตอ ใหระบบความรูของเราที่ถูกรบกวนจนสับสนวุนวายนั้น เขาสูความ เปนอนั หนง่ึ อันเดียวกนั ปญหาอยูท่ี วิญญาณ คือความรูที่เราสะสมไวนั้น จะเปนความรู ที่ถูกตองหรือไมถูกตอง เปนความรูที่สอดคลองกับความเปนจริงในธรรมชาติ หรือเปนความรูที่ขัดแยงกับความจริงของธรรมชาติ ถาความรูเดิมของเรา เปนความรูท่ีผิด และขัดแยงกับธรรมชาติ เราจะทําอยางไรกับสิ่งที่เขามาใหม แนนอนการคัดเลือก ตัดสิน เปรียบเทียบ และพิสูจนทราบในความรูใหม ก็เกิดข้ึน โดยการใช สัญญา ดึงเอาความรูที่มีอยูเดิม ขึ้นมาสอบสวน (โดยทั่วไป เปนการรับรูและจดจําไวท้ังสองกรณี ท้ังความรูท่ีมีอยูเดิม และ ความรูที่เขามาใหม โดยไมทันไดนํามาเปรียบเทียบตัดสิน ฉะน้ันความรู ที่สั่งสมไวในจิตของคนทั่วไป จึงเปนโมหะความหลง เปนความสับสนไมเขาใจ ท่ีคั่งคางอยูในจิต อันเปนปญหาสําคัญ ของมนุษยในยุคสมัยแหงขาวสาร ขอมลู นี)้ 44

ปฏิจจสมปุ บาท สาํ หรบั คนรนุ ใหม การตดั สนิ ใจ เม่ือมีความรูใหมเกิดข้ึน ส่ิงที่จะเกิดข้ึนตามมาก็คือ การตัดสินใจ เพราะมีสัญญา ความจําไดหมายรู ในวิญญาณ ความรูเห็นจดจําท่ีมีอยูเดิม วาส่ิงนี้จะทําใหเกิดความสุข ส่ิงนี้จะทําใหเกิดความทุกข สิ่งใดท่ีทําใหเกิด ความสุข ก็เกิด ราคะ ความกําหนัดยินดีในส่ิงนั้น ครั้นเกิดความกําหนัด ยินดีข้ึนในสิ่งน้ันแลว กามตัณหา ความปรารถนาตองการท่ีจะได ในสิ่ง เหลานั้น ก็จะเกิดตามขึ้นมา เพ่ือหวังมาปรนเปรอตามชองทางรับรู อยางท่ี มันเคยไดรับรู คร้ันเม่ือมีความปรารถนาตองการมากขึ้น คือมันตองการที่ จะไดมาบอยๆ และมากข้ึนๆ จิตจึงเกิด ภวตัณหา ความตองการในความ เปนเจาของ ในความเปนผูมีฐานะ ตําแหนง ยศถาบรรดาศักดิ์ตางๆ อันจะ เอือ้ อํานวยใหไดม าโดยงายซึ่ง กามตณั หา อันเปน ทป่ี รารถนาน้นั ๆ แตถาเกิดรูเห็นวา ใคร หรือสิ่งใด จะทําใหเกิดทุกข หรือเปน อุปสรรคแกการไดมาซ่ึงสิ่งบําเรอกามอันเปนท่ีปรารถนาน้ันๆ หรือขัดขวาง ตอการมีบทบาทฐานะ ในความเปนเจาของ ในความมีฐานะ ความมี ตําแหนง ความมียศถาบรรดาศักดิ์ตางๆ ท่ีตนตองการ ก็จะทําใหเกิด ปฏิฆะ ความครุนขัดใจ ความแคนเคืองข้ึงเคียด และความหมนหมองใจ จนทําใหเกิดความไมพอใจในภพหรือสถานะท่ีเปนอยู จิตจึงเกิด วิภวตัณหา ความทะยานอยากในวิภพ อยากในความไมเปนน่ันเปนนี่ หรืออยากให พรากพนดับสญู ไปเสยี ตราบใดก็ตาม ที่ความรูท่ีเกิดข้ึนมาจากการ นึก คิด พิจารณานั้น ยังเปนสาเหตุใหเกิดการต้ังคุณคาที่ผิด (อวิชชา) ในส่ิงตางๆ กลาวคือ รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัสทั้งหลาย รวมทั้งรูป หรืออรูป อันเปนอารมณ ที่ต้ังของใจใดๆ ที่ใจยังยึดมั่นและใหคุณคาอยู อุปาทาน ความยึดถือในส่ิง เหลาน้ัน ก็จะเกิดข้ึน แลวประมวลกันข้ึนเปน ภพ คือท่ีอยู ที่ยึดเหนี่ยวของใจ ใหติดอยู ขังอยู ยากแกการท่ีจะสละละทิ้งไปได เม่ือมีภพเปนท่ีอยูของใจ ชาติ คือการเกดิ ของใจทย่ี ดึ เหน่ยี วในภพดงั กลาวกห็ นไี มพ น 45

พระภาสกร ภรู ิวฑฒฺ โน (ภาวิไล) แลว ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะทุกข โทมนัส อุปายาส ของ สิ่งที่ใจยึดเหน่ียวเหลานั้นก็ตามมา อันเปนไปตามกฎพระไตรลักษณ ซ่ึงเปน สภาวะทแ่ี ทจ รงิ ของสรรพสง่ิ ทใ่ี จหลงไปยดึ เหนี่ยว ไปใหค ุณคาผิดๆ ท่ีไมมี อยจู รงิ (อวิชชา) ในส่งิ ตางๆ เหลานั้น ท้ังหมดท่ีแสดงมาจนถึงบัดน้ี คือพฤติกรรมการทํางานโดยคราวๆ ของจิต ฉะน้ัน… อะไรเลา… คือการปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน เพื่อการ หลุดพน อะไรเลา… คือส่ิงที่จะเรียกไดวาเปนการบรรลุธรรม จนสามารถ กําจัด ตัดกเิ ลสไดเ ปน สมจุ เฉทปหาน กเ็ พราะวา อวิชชา คือมหาเหตุของกิเลส คือความโลภ โกรธ หลง ซ่ึงครอบคลุมจิตใหเศราหมอง แลวอวิชชาคืออะไร ส่ิงท้ังหลายที่เรียกวา อวิชชา อันเปนเหตุลากจูงเราทั้งหลาย ใหเวียนวายตายเกิดมานานนับภพ นับชาติไมถวนน้ัน ก็คือ การไมรูแจงตามความเปนจริง ของสิ่งที่มีอยู เปนอยู จึงสงผลใหเกิด อุปาทาน ความยึดถือ ความยึดมั่นถือม่ัน การตั้ง คณุ คาทผี่ ดิ ใหก ับสงิ่ ทไี่ มไ ดมคี ุณคา อยา งแทจ รงิ กส็ ่ิงเหลา นีไ้ มใ ชหรอื คือกายภายใน กายภายนอก ที่เราไปตั้งคุณคา ตีราคา วามันเปนท่ีต้ังท่ีมาของความสุข หรือความทุกขประการตางๆ เราสุข เพราะสมหวังในส่ิงที่ปรารถนาที่ใหคุณคาเหลาน้ัน เราทุกข เพราะ ผิดหวัง หรือตองสูญเสียในคุณคาเหลานั้น แลวส่ิงเหลานั้น มันมีคุณคา เชน น้ัน จริงๆ หรือ? หัวขอวิปสสนาท้ังหลาย ท่ีพระศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา ไดทรง แสดงไวใหเราดําเนินจิต นึก คิด พิจารณา คือโยนิโสมนสิการนั้น ก็คือการ เขาไปประจักษใน อุปาทาน คือ คุณคาจอมปลอมทั้งหลายที่เราเคยตั้งไว ทั้งในกายภายใน กายภายนอก ในเวทนาทั้งหลาย ท้ังภายในภายนอก ท่ีนํามาซึ่ง สุข ทุกข หรือความไมสุขไมทุกข ก็เพราะหลงไปผูกติด เชอ่ื มโยง เกี่ยวเน่ืองดว ยกายอนั เราต้งั คณุ คาท่ีผิดไวท งั้ สิน้ 46

ปฏจิ จสมปุ บาท สาํ หรบั คนรนุ ใหม จิตของเราหรือจิตของผูอื่นท้ังปวงก็เชนกัน ความท่ีจิตเหลานั้น หลงไปผูกพันยึดมั่น ใหคุณคาจอมปลอมไวกับกายของตนและกายอ่ืนๆ จึงตองมากระทบกระทัง่ เศราหมอง สั่นสะเทอื นไปตามความกระทบกระท่ัง ทัง้ หลายเหลา นัน้ กธ็ รรมท้งั หลาย คอื ความจริงของธรรมชาติและชีวิต ทั้งที่ เกิดข้ึนแกเราหรือผูอ่ืน รวมทั้งส่ิงอื่นๆ ทั้งหลายภายนอก ก็ลวนเปนธรรม เดียวกัน คือความเปนไปภายใตกฎพระไตรลักษณ อันมีสามัญลักษณะ คือ ความเกิดข้นึ ตั้งอยู และดับไปเชนเดียวกนั กาย เวทนา จิต ธรรม อันเปนหัวขอแหง สติปฏฐาน จึงหมายถึง การที่เราตองเขาไปทําความระลึก (สติ) ใหเห็นถึงภาวะตามความเปนจริง ของ กาย ท้ังหลาย เวทนา ความรูสึกสุข ทุกข ไมสุขไมทุกขทั้งหลาย จิต และอาการอันเน่ืองดวยจิตท้ังหลาย และความเปนไปตาม ธรรม อันสมํ่าเสมอ กนั ของชีวิตทัง้ หลาย ทงั้ ภายในคอื ในกายของเรา ท้ังภายนอกคือในกายของ คนอื่นสัตวอ่ืน เพ่ือเปนการรวบรวมขอมูลท่ีถูกตอง ตรงตามความเปนจริง ของโลกและชีวิต แลวนําไปเปนวัตถุดิบใหแกการปฏิบัติวิปสสนา คือการ นึก คิด และพิจารณาโดยแยบคายไปตามความเปนจริงภายใตกฎไตรลักษณ อันจะสงใหเกิดผลท่ีมุงหวัง คือการที่ใจประจักษแจง ยอมรับความจริงแท ท่ีมีอยปู ระจาํ โลก คอื ความเปนไปตาม กฎไตรลกั ษณ นน้ั น่ันเอง การเขาเผชิญหนากับความเปนจริง และการตีแผความจริงให ปรากฏแกใจ ส่ิงเหลาน้ีคือหนาท่ีของวิปสสนา แลวความจริงเหลานั้นมิใช อะไรอนื่ คอื สภาวะความเปน ไปภายใต กฎไตรลักษณ ไดแก อนิจจัง ความ เปล่ียนแปลง ความคงท่ีอยูไมได ทุกขัง ความที่ไมมีใครจะไปฝนใหเปนไป ดังใจปรารถนาตองการได และความเปน อนัตตา ความหาตัวตนเราเขา ท่ีแทจริงไมได แตเพราะอวิชชา คือการไมรูแจงตามความเปนจริงของสิ่งที่ มีอยูเปนอยู ซ่ึงสงผลใหเกิดการตั้งคุณคาในสิ่งที่ไมมีคุณคาอยางแทจริงนั้น ไดมาปกคลุมปดบังใจของเราไว เราจึงหลงไปยึดติด ใหคุณคา และ ทะยานอยาก ไปในคุณคา เหลา นั้น อยางไมล ืมหูลมื ตา 47

พระภาสกร ภูริวฑฒฺ โน (ภาวิไล) นอกจากนี้พระศาสดายังทรงยํ้าแลวย้ําอีกวา สัจธรรมท่ีพระองค ทรงคนพบ ก็คือ อริยสัจ ๔ ความจริงอันยิ่งแหงชีวิต ๔ ประการ ไดแก ทุกข ความที่ชีวิตเต็มไปดวยความขัดของ ไมเปนไปดังใจปรารถนา สมุทัย สาเหตุแหงทุกข เน่ืองมาจากตัณหาความทะยานอยาก ดวยอํานาจแหง อวชิ ชา นิโรธ ความพนไปจากทุกขอยางสิ้นเชิง คือพระนิพพานนั้นมีอยูจริง และ มรรค หนทางอันจะนําไปสูความพนทุกขได ก็คือมรรคมีองค ๘ ซึง่ สามารถสรุปลงไดใ น ไตรสกิ ขา คอื ศีล สมาธิ และปญญา ฉะนั้นการปฏิบัติ วิปสสนากัมมัฏฐาน (นึก คิด พิจารณา โดย แยบคาย) เพื่อความหลุดพน ตามหลักในทางพระพุทธศาสนา ก็คือการ ปฏิบัติในหลัก ศีล สมาธิ ปญญา โดยมี สติปฏฐาน ๔ เปนกระบวนการ ในการปฏิบัติเพ่ือความหลุดพนท่ีสมบูรณแบบ ดวยการรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริงของโลกและชีวิต แลวนํามาพิสูจนวิเคราะหโดยขบวนการวิปสสนา (นึก คิด พิจารณาโดยแยบคาย) ตีแผความจริงของส่ิงที่มีอยู คือธรรมชาติ นั้นๆ ใหปรากฏแกใจ จนประจักษในความเปนไปของสรรพสิ่ง ที่มีการ เกิดข้ึน ดํารงอยู และแตกดับไป ตามกฎไตรลักษณ ประจักษชัดถึงภาวะ ทุกขท่ีมีอยูประจําชีวิต จนเกิดความหนาย คลายความกําหนัด คลายความ กอดรัดของใจ ท่ีเคยลุมหลง ใหคุณคาผิดๆ ที่ไมมีอยูจริง กับสรรพส่ิง ทั้งหลาย ไมวาจะเปน รูป เสียง กล่ิน รส สัมผัส ทั้งภายในภายนอก ไมวา จะเปนกายของตน หรือกายของใครๆ ใจไดประจักษชัดแลววา คุณคา จอมปลอมเหลานั้นมันมิไดมีอยูจริง หรือมีคาจริงๆ อยางที่เคยหวัง เคยตั้ง ราคาใหกับมัน จิตจึงเปนอิสระ หมดความกังวล ไมยึดเหน่ียว ใหคุณคากับ สิ่งใดๆ อีก นอกจากพระนิพพาน จิตมีนิพพานเปนอารมณ แลวสลัดออก หลุดพน ไปจากสิง่ ที่เกยี่ วเกาะรอยรดั ท้งั หลายท้ังปวง 48

ปฏิจจสมปุ บาท สาํ หรบั คนรนุ ใหม เหตุเพราะตปี ญ ญา ๓ ไมแตก ที่พรรณนามาทั้งหมด เกี่ยวกับการนึก คิด พิจารณา, การเกิดข้ึน ของความรู, การตัดสินใจ และโยงใยมาจนถึงการปฏิบัติวิปสสนา (การนึก คิด พิจารณาอยางถูกตองแยบคาย) ก็เพ่ือจะชี้ใหเห็นวา การเกิดข้ึนของ ความรู หรือปญญาในทางพระพุทธศาสนาน้ัน ตองดําเนินไปตามขั้นตอนท่ี พระพุทธองคไดทรงแสดงไว กลาวคอื “ปญ ญา ๓” อันไดแก สุตมยปญญา ๑ จนิ ตามยปญ ญา ๑ และภาวนามยปญ ญา ๑ ข้ันตอนท่ีเริ่มตนดวย “สุตมยปญญา” การเขาหา “กัลยาณมิตร” อันไดแก พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ครูบาอาจารย ผูมีความรูและ ประสบการณในการปฏิบัติดําเนินมากอน โดยนอมฟง จดจํา หลักธรรม คาํ สงั่ สอนเหลานั้น แลวจึง “โอปนยิโก” คือ นอมนํามานึก คิด พิจารณา ไตรตรอง วิตกวิจาร หาเหตุผล เทียบเคียงกับประสบการณดั้งเดิม อันไดรู ไดเห็น ไดยิน ไดกลิ่น ไดลิ้ม ไดสัมผัสมากอนแลวในสวนของตน ซ่ึงจัดเปน กระบวนการในสว นของ “จนิ ตามยปญญา” ครั้นเม่ือได “โยนิโสมนสิการ” คือ ดําเนินการ นึก คิด พิจารณา ไตรตรองโดยแยบคาย ไปตามคลองธรรมแหงกฎไตรลักษณ หรือ อริยสัจ ๔ (ปฏบิ ตั วิ ิปส สนา) จนเกิดความเห็นแจง ยอมรับ และประจักษใจตอความจริง อนั เปน กฎของธรรมชาติ ที่มีอยูเปนอยูของสรรพส่ิง กลาวคือ รูป-นาม ทั้งปวง วามีธรรมชาติอัน เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบสายตอเน่ืองกันไป ตามเหตุตาม ปจจัยที่เขามาประกอบกันแลวนั้น จิตก็จะเห็นชัดในความเส่ือมสลายของ สรรพสังขาร เห็นสังขารท้ังหลายปรากฏเปนของนากลัว เต็มดวยทุกขโทษ จนเกดิ ความหนา ยใครจะพน ไปเสยี จติ จงึ มาพิจารณาถึงคุณคาผิดๆ ท่ีตนเคยต้ังไวในส่ิงตางๆ อันเปน ตนเหตุของความยินดีพอใจทะยานอยาก ท่ีเปนเหตุลากจูง พาใหไปเวียนวาย ตายเกิด ตอภพตอชาติทุกขทรมานไมร จู กั จบจักส้ิน (เกิดวิปส สนาญาณ ๙) 49

พระภาสกร ภรู วิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) เม่ือน้ันจิตก็จะปลงวาง คลายความยึดถือ คลายความกําหนัดยินดี ท่เี คยมี “อวิชชา” ใหค ณุ คาที่ผดิ ๆ ไวกับส่ิงท่ีไมมีคุณคาแทจริงทั้งหลาย เหลาน้ัน จนบังเกิดเปนผลสําเร็จ คือการละไดซ่ึงอวิชชา ตัณหา และ อุปาทาน… “กิเลส” คอื ความเศราหมองของจิต อันไดแก ความโลภ โกรธ หลง ก็ถูกลบลางทําลายหายสูญไป ดุจแสงอาทิตยสาดสองทําลายรัตติกาล อันมืดมิด… นี้จึงชื่อวาเปน “ภาวนามยปญญา” กลาวคือ ปญญาอันยัง ความสําเร็จใหเกิดขึ้น เพราะผลสําเร็จที่มุงหวังนั้น ก็คือ “ความหลุดพน ของใจ” จากกองกเิ ลสสิ่งเศรา หมองทั้งหลายน้นั นั่นเอง ปญหาสําคัญท่ีเกิดกับนักปฏิบัติในปจจุบัน คือการเขาใจผิดคิดวา “ภาวนามยปญญา” น้ัน เปนปญญาที่เกิดในสมาธิ (สมถะภาวนา) เปนผล ของการบําเพ็ญสมาธิอยางอุกฤษฏเทานั้น แตหาไดเปนเชนนั้นไม เพราะ ตราบใดที่จิตมกี ารกาํ หนดเพง ตามดู รอู ยูเฉยๆ โดยไมมี วิปสสนา คือการ นึก คิด พิจารณา ไตรตรองโดยแยบคาย ไปใน รูป-นาม จนเห็นแจง ไตรลักษณ คือการเกิดดับของรูป-นาม ทั้งหลายทั้งปวงนั้น ตราบนั้น… ภาวนามยปญญา คือปญญาท่ียังความสําเร็จท่ีมุงหวัง คือความรูแจงเห็นจริง ตามกฎไตรลักษณและความหลุดพน ก็เกิดข้ึนไมได มีแตจะเกิดอุปาทาน ความยึดม่ัน สรางภาพข้ึนมาหลอกตนเองวา ตนเห็นการเกิด-ดับ เกิด-ดับ ของ รูป-นาม เปนภาพหลอนใจ ดวยหลงทองจําญาณ ๑๖ มาลวงหนา แลวเพงเขาๆ โดยปรารถนาจะไดรับผลสําเร็จ คือญาณ ๑๖ ที่ตนจดจํา ทองไว จนขึ้นใจแลวน้ัน… จิตจึงหลอกจิต ดวยการสรางภาพข้ึนมา ทําให หลงทางไปเสียนักตอนักแลว เมื่อเริ่มตนมาผิดอยางน้ี แถมยังคอยดักจิต ไมใหนึก คิด พิจารณา ดวยการบริกรรม “คิดหนอๆ” เขาเสียอีก ก็เลย ปวยการท่ีจะกลาวถึงการไดญาณเทียมๆ ในลําดับตอๆ ไป เพราะนั่นก็เปน ภาพลวง ท่ีจิตหลอกจิตตอๆ มา… ญาณ ๑๖ ท่ีเอามาประกาศแตงต้ังกัน และกัน ก็เลยเปนญาณเทียมๆ เปนพระอริยะเทียมๆ พระอรหันตเทียมๆ สดุ ทายกอ็ นจิ จงั ถอยหลงั รูดลงๆ จนตองลาสิกขา สกึ ออกไปมากมาย 50

ปฏจิ จสมุปบาท สาํ หรบั คนรนุ ใหม สภาวธรรมท่ีถูกตองแทจริง คือ เมื่อปหานกิเลสไดแลว ไมวาจะ ทําลายสังโยชน1 (กิเลสที่ผูกมัด รอยรัดใจสัตวไวกับทุกข) ได ๓ อยางบาง (พระโสดาบัน) ๕ อยางบาง (พระอนาคามี) หรือทั้ง ๑๐ อยางบาง (พระ อรหันต ผูตัดกิเลสไดเด็ดขาดหมดส้ิน เปนสมุจเฉทปหาน) จิตของผูนั้นจะ รูชัดดวยตนเองเปนปจจัตตัง วากิเลส คือสังโยชนนั้นๆ ไดส้ินไปจากใจแลว ไมม อี ํานาจเหนอื ใจใหไปกอ เหตรุ อ ยรดั อันเพ่ิมพนู ทุกขเ ชนนั้นอีก ในกรณีของพระอรหันต ทานจะรูชัดแจงแกใจทานวา… โทมนัส คือทุกขทางใจทั้งหลายไดสิ้นไปแลว กิเลส สิ่งอันยังใจใหเศราหมองท้ังปวง ไดปหานไปดวยอริยมรรคมีองค ๘ จนหมดสิ้นแลว ภพชาติส้ินสุดลงแลว กิจเพ่ือกลับมาเวียนวายตายเกิดตอไปอีกไมมี จิตไดปลงวางภาระทุกอยาง ลงเปนอัตโนมัติ จิตจะไมย ดึ มั่นในสภาวธรรมทไี่ ดบรรลุนั้นแตอ ยางใด การปฏิบัติในหลัก สิกขา ๓ คือ ศีล สมาธิ ปญญา โดยมี ศรัทธา (สัทธา) เต็มเปยมไมคลอนแคลน ไมลังเลสงสัยในพระรัตนตรัย มี อธิษฐาน จิตแนว แน มงุ ม่ันเพื่อเปาหมายสูงสุดคือ พระนิพพาน ความหลุดพนจากทุกข อยางแทจริง อีกท้ังยังมี ทาน ที่เปนดุจเสบียงธรรมมาหลอเลี้ยง สนับสนุน ตอปจจัยภายนอก ใหเกิด สัปปายะ ความสะดวกสบายเหมาะสม เกื้อกูลตอ การปฏบิ ตั พิ ัฒนา ทัง้ หมดนี้เปนปจ จยั ทส่ี นับสนนุ ตอการปฏบิ ัติ วปิ สสนา 1 สังโยชน คอื กิเลสทผ่ี กู มดั รอยรดั ใจสัตวไวกับทกุ ข มี ๑๐ อยา ง คอื ก. โอรัมภาคิยสังโยชน คือ สังโยชนเบื้องต่ํา มี ๕ อยาง คือ (๑) สักกายทิฏฐิ ความเห็น วาเปนตัวของตน (๒) วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย (๓) สีลัพพตปรามาส ความถือม่ันศีลพรต (๔) กามราคะ ความตดิ ใจในกาม (๕) ปฏิฆะ ความกระทบกระทั่งใจ ข. อุทธัมภาคิยสังโยชน คือ สังโยชนเบ้ืองสูง มี ๕ อยาง คือ (๖) รูปราคะ ความติดใจรูปธรรมอันประณีต (๗) อรูปราคะ ความติดใจในอรูปธรรม (๘) มานะ ความ ถือวาตัวเปนน่ันเปนนี่ มีตัวตนเปรียบเทียบกับผูอ่ืน (๙) อุทธัจจะ ความฟุงซาน (๑๐) อวิชชา ความไมรจู รงิ หมายเหตุ พระโสดาบัน ละสังโยชน ๓ ขอตนได, พระสกิทาคามี ทําสังโยชนขอ (๔), (๕) ใหเบาบางลงดวย, พระอนาคามี ละสังโยชน ๕ ขอเบ้ืองตํ่า ไดห มด, พระอรหนั ตล ะสงั โยชนไ ดท้ังหมด ทง้ั เบ้อื งต่ําและสูง 51

พระภาสกร ภรู ิวฑฺฒโน (ภาวิไล) วิปสสนาญาณ ๙ และญาณ ๑๖ สรุปก็คือ การพิจารณารูแจง อริยสัจ ๔ สงเคราะหลงในกฎไตรลักษณ พิจารณาองคธรรมนั้นจนจบรอบ โดยการมี สติ สมาธิ และปญญาสมดุลกัน หน่ึงขณะจิตเดียวที่หยั่งถึง และ พิจารณาจบ ก็ไดช่ือวา ไดญาณท้ัง ๑๖ ชั้นครบถวน ไมใชไดกันเปนญาณๆ หรือไดเปนช้ันๆ อยางที่เอามาแตงต้ังกัน เพราะนั่นเปนสัญญาอุปาทาน เปนโมหะความหลงผิด เพราะถาไดสภาวธรรมที่เปนของแทแลว จะตอง เปน ปจ จัตตงั อันสามารถรเู องเหน็ เองไดดวยญาณปญ ญา ไมจําเปนตองให ใครมาชวยตัดสนิ ไมใชการตรกึ เอาตามอาการทีค่ าดหมายแตอ ยา งใด… เพราะฉะน้ัน จึงไมบังควรท่ีจะไปดูถูกดูหมิ่น “จินตามยปญญา” ก็เพราะเหตุวา จินตามยปญญา น้ีแหละ ที่เปนอาการของ “วิปสสนา” การนึก คิด พิจารณาไปตามคลองธรรมแหง กฎไตรลักษณ ที่เปนตัว “เหตุ” อันมี “พละ ๕” คือ ศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และปญญา เปน “ปจจัย” อนั นําไปสผู ลสําเรจ็ กลาวคือ “ภาวนามยปญญา” ในท่ีสดุ อยาลืมวา “ภาวนามยปญญา” คอื ปญญาอันยังผลสําเร็จใหเกิดขึ้น ฉะนั้น ตราบใดที่ยังไมไดรับผลสําเร็จ ปญญาท่ีดําเนินอยูนั้น ก็ลวนแต เปน “สตุ มยปญ ญา” และ “จนิ ตามยปญ ญา” ทัง้ ส้ิน แลวคิด นึก พจิ ารณาอยา งไรเลา จึงเปนวปิ สสนา? จากหนังสือกรรมทีปนี เลมที่ ๒ โดยพระเดชพระคุณหลวงพอ พระพรหมโมลี หนา ๓๓๙-๓๔๐ ไดอา งความไวว า “วิปสสนา” น้ันสําเร็จรูปมาจากอรรถวิเคราะหที่วา ปฺจกฺขนฺเธสุ วิวิเธน อนิจฺจาทิ อากาเรน ปสฺสตีติ วิปสฺสนา ซึ่งแปลเปนใจความวา ปญญาใด ยอมเห็นแจงในอุปาทานขันธทั้ง ๕ ซึ่งมีรูปขันธเปนตน และมี วิญญาณขันธเปนปริโยสาน โดยอาการตางๆ คือ โดยอาการที่ปรากฏเปน อนิจจลักษณ เปนอาทิ ปญญานัน้ เรยี กชื่อวา “วิปส สนา” 52

ปฏจิ จสมุปบาท สําหรบั คนรุน ใหม นอกจากนี้ทานเจา คุณพระพรหมโมลียงั ไดย ํ้าไวอกี วา “บรรดาพระอริยมรรคอันประเสริฐสุดในพระบวรพุทธศาสนา คือ พระโสดาปตติมรรคญาณ พระสกิทาคามิมรรคญาณ พระอนาคามิมรรคญาณ และพระอรหัตมรรคญาณ จักอุบัติข้ึนในขันธสันดานแหงประชาสัตวในโลก ท้ังหลายได ก็โดยการบาํ เพ็ญวิปสสนากรรมฐาน ดวยวิธียึดเอาอุปาทานขันธ ๕ มาเปนอารมณ ตอง ตั้งสติ กําหนด พิจารณา อุปาทานขันธท้ังหลาย โดย กระทําไวในใจ ดวยอุบายอันแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) เพื่อใหเห็น อปุ าทานขนั ธทงั้ หลาย เปนไปโดยอาการแหง ไตรลักษณเทา นัน้ ” ทั้งนี้จึงเปนการยืนยันวา “วิปสสนา” นั้น เปนการนึก คิด และ พิจารณาโดยแยบคาย ไปในขอบเขตของขันธ ๕ ใหเกิดความเห็นแจง ตามความเปนจริง กลาวคือพระไตรลักษณ ที่มีปรากฏอยูแลวเปนธรรมดา ใน “สังขาร” หรือสิ่งทีถ่ กู ปรงุ แตง ข้นึ มาทั้งหลาย แตไ ดถกู ความเห็นผิด คือ “อวิชชา” ครอบงาํ ไว ไมใ หเห็นแจง ตามความเปนจริง วปิ สสนา และเวทนาของวิปสสนา จากท่ีกลา ววา “วปิ ส สนา” คือสังขาร สภาพที่ปรุงแตง อัน ยังภพ ใหสิ้นไป เปนการฝกอบรมปญญา ใหเกิดความเห็นแจงรูชัดตรงตอความ เปนจรงิ ของสภาวธรรม, ปญ ญาทีเ่ ห็นไตรลักษณ อันถอดถอนความหลงผิด รูผิดในสังขารเสียได ซึ่งมี โยนิโสมนสิการ คือการพิจารณาโดยแยบคาย และ โอปนยิโก การนอมเขามาสูใจ จนเห็นแจงสภาวธรรมอันเปนไปตาม กฎไตรลกั ษณ เปนปจ จัยสาํ คญั ทา นอาจารย อบุ าสิกาเพียงเดอื น ธนสารพิพิธ ไดสรุปกระบวนการ ของ “วิปสสนา” ไว ใหชื่อวา “กฎของความสมดุล” โดยมีหลักใหญ ใจความวา คอื … “การคิดใหเปนระเบียบ พิจารณาหาเหตุผลต้ังแตตนจนจบ แลวนอ มลงสูไ ตรลกั ษณ” 53

พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวิไล) โดยอธิบายและช้ีแจงไวว า ๑. การคิดใหเปนระเบียบ หมายถึง เมื่อยกเรื่องใดเรื่องหน่ึง ข้ึนมาเปนองคธรรม ก็ใหนึกคิดพิจารณาเกี่ยวกับเรื่องน้ันเพียงเร่ืองเดียว ตอ เน่อื งไปตง้ั แตต นจนจบ ตัง้ แต (๑) การเกดิ ขน้ึ และเหตปุ จ จยั ทท่ี าํ ใหเ กิดข้นึ (๒) การดาํ เนนิ ท่ีผานมา และเหตปุ จจยั ที่อุปถมั ภก ารดาํ เนินมา (๓) การปรากฏในปจ จุบนั และเหตปุ จจัยทีอ่ ปุ ถัมภการปรากฏในปจจบุ ัน (๔) การดาํ เนินตอไป และเหตุปจ จัยที่อุปถมั ภแ กการดําเนินตอ ไป (๕) การเส่อื มสลาย และเหตปุ จ จัยทเี่ บยี ดเบยี นใหเ ส่อื มสลาย (๖) การสน้ิ สดุ และเหตุปจ จัยที่มาตัดรอนใหเกิดการสนิ้ สดุ (๗) แลว สรุปลงสูไตรลักษณ การนกึ คิด พิจารณาไปตั้งแตตน จนจบเชนน้ี จึงเทากับเปนการจัด ระเบยี บทางความคดิ เปนการทํามรรค คือเสนทางการปฏิบัติเพ่ือความหลุดพน ใหสอดคลอ งพรอ มเพรียง (สมังคี) กันไป ตั้งแตเ รมิ่ ลงมอื ปฏิบัตเิ ลยทีเดยี ว ๒. พิจารณาหาเหตุผลต้ังแตตนจนจบ แลวนอมลงสูไตรลักษณ ก็เชนกัน เปนการนํากฎธรรมชาติ มาตีแผใหใจไดรับรูอยางถองแท ถึงการ ที่วตั ถุธาตุ และสรรพชวี ิตทั้งหลาย ดํารงอยูภายใตก ฎธรรมชาตทิ ั้ง ๔ คือ (๑) กฎธรรมชาติแหงการกระทํา และผลจากการกระทําน้ันๆ ในการพจิ ารณาหาเหตผุ ลตัง้ แตต นจนจบ เรายอมเหน็ ชัดตามความเปนจรงิ วา พฤติกรรมใดๆ ท่ีบุคคล หรือสัตวไดกระทําเอาไว ลวนสงผลตอบสนองตอ บุคคล หรือสตั วท กี่ อ ใหเกดิ พฤติกรรมนั้นๆ เสมอ การกระทําใดๆ ที่ไมเบียดเบียนตอตนเองและผูอื่น ประกอบดวย กุศลคือญาณปญญา ไมประกอบดวยโลภะ โทสะ โมหะแลว ยอมสงผลให ผูกระทํานนั้ ไดรับผลเปนความสขุ 54

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรับคนรนุ ใหม แตการกระทําใดๆ ที่มุงเบียดเบียนตนเองและผูอื่น ท้ังยังไม ประกอบดวยกุศล คือญาณปญญา อีกยังประกอบดวย โลภะ โทสะ โมหะ แลว ยอมสงผลใหผูกระทํานั้นไดรับผลเปนความทุกข น้ีก็คือการพิจารณา บคุ คล หรอื สรรพชีวิตทั้งหลาย ในความเปนไปภายใต กฎแหงกรรม น่นั เอง (๒) กฎธรรมชาติแหงความเปล่ียนแปลง ในการพิจารณาหา เหตุผลต้ังแตตนจนจบ แลวนอมลงสูไตรลักษณ เรายอมเห็น อนิจจตา ความเปนของไมเที่ยง เปล่ียนแปลงอยูเสมอ ไมอาจคงที่อยูได ทุกขตา ความเปนทุกข สภาวะขัดแยงอันเน่ืองดวยความไมเปนไปตามประสงค ตราบใดท่ีบุคคลยงั กอปรดวยความเห็นผิด ปฏิเสธ ไมยอมรับในความเปนจริง ของชีวิตและกฎธรรมชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่งในความเปนอนิจจตา คือ ความเปนของไมเท่ียง ฉะนั้น ปฏิฆะ ความขัดแยง กระทบกระท่ัง เปนทุกข ยอมจะเกิดข้ึนตามมา น้ีก็เพราะมีการเปล่ียนแปลงน่ันเอง อนัตตตา ความ เปนของไมใชตน ในเม่ือสิ่งท้ังปวง มีสภาวะแปรเปล่ียนไปตามกาลเวลา ไมอาจยั่งยืนคงทนอยูได ไมสามารถดํารงอยูเปนที่พ่ึงพิงอิงอาศัยแกเราได สิ่งท้ังปวงจึงปราศจากสาระความมีตัวตน ท้ังหมดนี้เพราะมีการเปลี่ยนแปลง อันมีพื้นฐานมาแตกาลเวลา กลาวคือ อดีต อนาคต และความเชื่อมโยง แหงอดตี และอนาคตน่ันเอง น้ีก็คือการพิจารณาวัตถุธาตุและสรรพชีวิตท้ังหลาย ในความเปน ไปภายใต กฎไตรลกั ษณ น่นั เอง (๓) กฎธรรมชาติแหงความเปนเหตุเปนผล ใหเห็นชัดเจนวา วตั ถุธาตุและสรรพชีวิตท้งั หลาย ลว นอยูภ ายใตกฎของความเปนเหตุเปนผลน้ี ทั้งส้ิน ฉะนั้น ผลใดๆ ที่เกิดปรากฎขึ้นมา จะเกิดข้ึนมาอยางลอยๆ โดยท่ี ไมม ีปมีขลุย ไมไ ด จะตองมีสิ่งหนึ่งส่ิงใดเปนตนเหตุเสมอ ความทุกขก็เชนกัน เปนส่ิงที่อยูภายใตกฎธรรมชาติแหงความเปนเหตุเปนผลน้ีดวย ดังเชนท่ี เราพิจารณาวัตถุธาตุ และสรรพชีวิตท้ังหลาย ในความเปน อริยสัจ ๔ ซึ่งมี ทุกข สมุทัย นิโรธ และมรรค เปน องคแหงเหตุและผลของทุกขน ั่นเอง 55

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) (๔) กฎธรรมชาติแหงผล ท่ีมาแตเหตุและปจจัย ในการพิจารณา หาเหตุผลต้ังแตตนจนจบ แลวนอมลงสูไตรลักษณน้ัน เรายอมเห็นชัดแจงวา ผลใดๆ ท่ีเกิดข้ึนนั้น มิใชมีเพียงแตเหตุเทาน้ันที่ยังใหเกิดผลข้ึน แตยังมี ปจ จัยอีกมากมายท่เี ขาประกอบรว มดวย จึงจะยังผลจําเพาะน้ันๆ ใหเกิดขึ้นได ฉะน้ันอีกนัยหนึ่ง สรรพส่ิงท้ังหลายจึงเปนปจจัยแกกันและกัน รวมกันให เกิดข้ึน รวมกันใหต้ังอยู รวมกันใหแตกดับไป นี้ก็คือการพิจารณาวัตถุธาตุ และสรรพชวี ติ ท้ังหลาย ในความเปนไปภายใตก ฎ ปจ จยาการ อาการที่เปน ปจจัยแกก ันและกันนั่นเอง ๓. การคิดท่ีเปนระเบียบ พิจารณาหาเหตุผลต้ังแตตนจนจบ แลวนอมลงสูไตรลักษณ เปนทั้งการทํา สมถกรรมฐาน และวิปสสนา กรรมฐาน และดวยเหตุนี้ ทานพระอาจารยนพพร อาทิจฺจวํโส จึงไดใหช่ือ การปฏิบัติตาม “กฎของความสมดุล” ท่ีมีลักษณะเปนทั้งการทําสมถะ และวิปส สนาไปพรอมๆ กนั น้ีวา เปนการปฏิบตั แิ บบ “วปิ ส สนาในฌาน” กรรมฐาน (กัมมัฏฐาน) หมายถึง อารมณเปนที่ต้ังแหงการงาน คือ การเจริญภาวนา, ท่ีตัง้ แหง งานคอื ความเพยี รฝกอบรมจิต, วธิ ฝี กอบรมจิต ภาวนา หมายถึง การเจริญ, การทําใหเกิดมีข้ึน (ผลที่มุงหวัง), การทําใหเ ปนใหม ขี ้นึ , การฝกอบรมพฒั นากาย-ใจ ภาวนา ๒ ไดแ ก (๑) สมถภาวนา หรือ สมถกรรมฐาน คือ การฝกอบรมจิตใหเกิด ความสงบ เปนสมาธิ (๒) วิปสสนาภาวนา หรือ วิปสสนากรรมฐาน คือ การฝกอบรม พัฒนาปญญา ใหเกิดความรูแจงตามเปนจริง เรียกอีกอยางวา เปนการ “เจรญิ ปญ ญา” 56

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรบั คนรุนใหม ภาวนา ๔ ไดแก (๑) กายภาวนา คือ การพัฒนาฝกฝนอบรมกาย (อินทรีย ๕ คือ ตา หู จมูก ลนิ้ กาย) ในการตดิ ตอเกี่ยวขอ งและปฏบิ ตั ิกบั สิ่งท้ังหลายภายนอก ดวยความดีงาม มีคุณประโยชน ไมเกิดโทษ ยังกุศลธรรมใหงอกงาม อกุศลธรรมใหเส่ือมสูญ หรือเปนการ พัฒนาความสัมพันธท่ีสมดุล กับ สงิ่ แวดลอ มทางกายภาพ (๒) สีลภาวนา คือ การพัฒนาความประพฤติ ใหถึงพรอมใน ความเปนปกติ อันเหมาะสมสอดคลองกับสภาวะของตน, การเจริญศีล, การฝกอบรมตนใหตั้งอยูในศีล อยูในระเบียบวินัย ไมเบียดเบียนตนเอง และผอู ื่นใหเดอื ดรอนเสยี หาย เปน เหตใุ หอยรู ว มกบั ผูอ ื่นไดดว ยความดีงาม เก้ือกูล (๓) จิตตภาวนา คือ การเจริญจิต, การฝกฝนอบรมพัฒนาจิตใจ ใหเขม แข็งมนั่ คง และเจริญงอกงามดวยคุณธรรมท้ังหลาย เชน มีเมตตากรุณา ขยันหม่นั เพยี ร อดทน มีสมาธิ สดชื่น เบิกบาน เปน สุขผองใส เปน ตน (๔) ปญญาภาวนา คือ การเจริญปญญา, การฝกฝนอบรมพัฒนา ปญญา ใหเกิดความเห็นแจง รู และเขาใจส่ิงท้ังหลายตามเปนจริง จนเกิด ความเทาทันตอสภาวะการเปลี่ยนแปลงของโลกและชีวิต สามารถชําระจิต ใหเปนอิสระ บริสุทธ์ิ สะอาด ปราศจากกิเลส คือ ส่ิงเศราหมองทั้งหลาย ทั้งปวง จนเปนผูพนไปจากทุกขไดหมดส้ินอยางแทจริง, สามารถแกไข ปญ หาท่เี กิดข้ึนไดด ว ยปญญา จากท่ีกลาววา การคิดท่ีเปนระเบียบ พิจารณาหาเหตุผลต้ังแต ตนจนจบ แลวนอมลงสูไตรลักษณ เปนทั้งการทํา สมถกรรมฐาน และ วปิ ส สนากรรมฐาน (วิปสสนาในฌาน) ไปพรอมๆ กันน้ัน ใหพิจารณาตาม หลกั เกณฑตอ ไปนี้ 57

พระภาสกร ภรู ิวฑฺฒโน (ภาวิไล) คําวา สมถกรรมฐาน คือ การฝกอบรมจิตใหเกิดความสงบ เปนสมาธิ และคําวา วิปสสนากรรมฐาน คือ การเจรญิ ปญญา ฝกอบรมพัฒนาปญญา ใหเกิดความรูแจงตามเปนจริง ดวยการพิจารณาอยางแยบคาย (โยนิโส- มนสิการ) ไปในธรรมทั้งหลาย ท้ังภายในภายนอก แลวจึงนอมเขามาสูตน (โอปนยิโก) จนประจักษแจง และยอมรับสภาวะตามความเปนจริง คือ “กฎธรรมชาติ” ท่มี อี ยูเปนธรรมดา ในธรรม คอื วัตถุธาตุ หรอื สิง่ มชี ีวติ นัน้ ๆ การปฏิบัติธรรมเพ่ือความหลุดพนน้ัน จะตองมีท้ังสมถะและ วิปสสนา สนับสนุนกัน จึงจะทําใหเกิดความสําเร็จได สมถะ เปนการ ตระเตรียมความพรอม กอใหเกิดพละกําลังของใจ ในขณะท่ีวิปสสนานั้น เปนการนํากําลังที่ส่ังสมเอาไว มาใชงานอยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือใหไดผล คือความรูแจง โดยท่ีการปฏิบัติธรรมแบบท่ีนิยมกันมาแตเดิมในภูมิภาคนี้ นักปฏบิ ัตจิ ะตองฝก สมาธิใหเชยี่ วชาญเสียกอน แลวจึงคอยนอมมาพิจารณา ธรรมในภายหลัง คอื อยูในขายตองทาํ สมถะกอ น แลวมาทําวิปส สนาภายหลัง พระอรหนั ต ผูบรรลุเปาหมายสูงสุดในการขจัดทุกข พระอรหันต คือ ผูท่ีบรรลุอรหัตตผลแลว จึงเปนผูควรแกการ เคารพบชู าและรบั ทักษิณา คอื ของทาํ บญุ หรือทานท่ีถวายเพ่ือผลอันเจริญ ในคัมภรี ปรมัตถโชตกิ า จําแนกพระอรหันตไ วเ ปน ๒ ประเภท คอื ๑. สุกขวิปสสก, วิปสสนายานิก, สุทธวิปสสนายานิก (ผูมี วิปสสนาลวนๆ เปนยาน) คือ ผูท่ีบรรลุอรหัตตผล ดวยการเจริญวิปสสนา ลวนๆ แมจะไมไดทําสมถกรรมฐานจนถึงข้ันไดฌานมากอนก็ตาม แตก็ สามารถเจริญวิปสสนา โดยอาศัยเพียงอุปจารสมาธิ ในการพิจารณาธรรมโดย แยบคาย (โยนิโสมนสิการ) และนอมเขามาสูตน (โอปนยิโก) จนประจักษแจง ไตรลักษณ ขจัดกิเลสไดหมดส้ินเปนสมุจเฉทปหาน ถึงความเปนพระอรหันต ซ่ึง ในขณะเม่ือจะสําเร็จอรหัตนั้น จะเปนผูไดปฐมฌาน บาลีเรียกวา ปญญาวิมุต 58

ปฏจิ จสมปุ บาท สําหรับคนรุนใหม ๒. สมถยานิก (ผูมีสมถะเปนยาน) คือ ผูที่บรรลุอรหัตตผล ดวยการ เจริญสมถะจนไดฌานสมาบัติ แลวจึงเจริญวิปสสนาตอจนไดสําเร็จอรหัต บาลเี รยี กวา อภุ โตภาควมิ ตุ หรือ เจโตวมิ ุต สมเด็จพระมหาสมณเจากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงประมวล พระอรหนั ตไวเปน ๔ หมวด ปรากฏในธรรมวภิ าค ปรเิ ฉทที่ ๒ หนา ๔๑ คอื ๑. สกุ ขวิปสสโก ผูเ จรญิ วปิ ส สนาลว น ๒. เตวชิ โช ผไู ดว ิชชา ๓ (ญาณ ๓) คอื (๑) ปพุ เพนวิ าสานสุ สตญิ าณ ระลึกชาตไิ ด (๒) จุตูปปาตญาณ มีทิพพจักขุญาณ เห็นการเวียน วา ยตายเกิดของสตั ว (๓) อาสวกั ขยญาณ มคี วามรูที่ทาํ ใหส ้ินอาสวะ ๓. ฉฬภิญโญ ผไู ดอ ภญิ ญา ๖ ความรูอันย่งิ ยวด คอื (๑) อิทธิวธิ ิ มีความรทู ีท่ าํ ใหแ สดงฤทธติ์ า งๆ ได (๒) ทพิ พโสต มีหูทิพย (๓) เจโตปรยิ ญาณ กาํ หนดใจคนอ่นื ได (๔) ปุพเพนิวาสานสุ สตญิ าณ ระลึกชาติได (๕) ทิพพจกั ขญุ าณ มีตาทิพย (๖) อาสวักขยญาณ มคี วามรูท ่ที ําใหส ้ินอาสวะ ๔. ปฏิสมั ภทิ ัปปตโต ผบู รรลุ ปฏิสมั ภิทา ๔ มปี ญญาแตกฉาน (๑) อัตถปฏิสัมภิทา มีปญญาแตกฉานในอรรถ ปรีชา แจงใน ความหมาย (๒) ธัมมปฏิสัมภิทา มีปญญาแตกฉานในธรรม ปรีชา แจงใน หลักธรรม 59

พระภาสกร ภูรวิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) (๓) นิรุตติปฏิสัมภิทา มีปญญาแตกฉานในนิรุกติ ปรีชาแจงใน ภาษา (๔) ปฏิภาณปฏิสัมภิทา มีปญญาแตกฉานในปฏิภาณ ปรชี าแจงใน ความคดิ จากการจาํ แนกประเภทของพระอรหนั ต ผูบรรลุเปาหมายสูงสุดใน การขจดั ทกุ ขดังทีแ่ สดงมานั้น จึงไดขอสรปุ วา แนวทางทจี่ ะปฏิบัติเพื่อความ หลุดพน จนประจักษแจงไตรลักษณ ขจัดกิเลสไดหมดส้ินเปนสมุจเฉทปหาน ถึงความเปนพระอรหันตนั้น มีไดหลายวิธี เปรียบไดกับบุคคลจะเดินทาง ข้ึนสยู อดเขา ยอมมีหลากหลายวิธีท่ีจะดําเนินไปสูยอดภูเขาน้ัน เชน ตะลุยปา ฝาหนามขามหวย ปนขึ้นทางหนาผาบาง เลาะเลียบไปในทางลาดชันบาง ตดั ถนนขึน้ ไปบา ง ไตข้ึนตามแนวถนนทเี่ ขาตัดลัดทางใหแลว บา ง จนกระท่ัง ข้ึนเฮลิคอปเตอรไปลงที่ยอดเขา หรือข้ึนเครื่องบิน แลวกระโดดรมไปลงที่ ยอดเขากไ็ ด ไมผ ดิ กติกา เพราะทา ยท่ีสดุ กไ็ ปถงึ ยอดเขา เฉกเชนเดียวกัน แตการที่ใครจะสะดวกใชเสนทางสายใดน้ัน ก็ข้ึนอยูกับบุญบารมี และกรรมวิบากท่ีแตละบุคคลไดเคยส่ังสมมา อันจะตกผลึกกลายเปนสันดาน วาสนา และจริต (จริยา) เฉพาะของบุคคลคนน้ันน่ันเอง แตก็เปนการ แนนอนที่ หนทางที่ดําเนินมาน้ัน ยอมมีสวนขัดเกลาฝกฝนใหบุคคลนั้นๆ มีคุณสมบัติพิเศษที่แตกตางกันดวย คนท่ีดําเนินมาในหนทางท่ียากลําบาก กย็ อมมีความแข็งแรงสมบกุ สมบันของรางกาย มากกวาผูท่ีดําเนินมาในทาง ทีเ่ รยี บงาย สรุปคอื มีฤทธ์ิมากกวานั่นเอง ฉะน้ันโดย วิถีของการปฏิบัติเพ่ือความพนทุกข เราสามารถ จําแนกไดเปน ๒ วถิ ี คอื ๑. วิถี เจโตวิมุต หรือ อุภโตภาควิมุต คือทําสมถะกอน แลวคอย นอมมาทําวิปสสนาภายหลัง อันเปนหลักปฏิบัติยอดนิยมในอดีต วิถีนี้ เรยี กในภาษาของนกั ปฏิบตั วิ า วิถี สมาธิ อบรมปญญา 60

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรับคนรนุ ใหม ๒. วิถี ปญญาวิมุต หรือ สุกขวิปสสโก คือ ทําวิปสสนาไปเลย ตั้งแตตน ซ่ึงในขณะที่กําลังดําเนินจิตวิปสสนา ยกจิตข้ึนพิจารณาธรรม ไปตาม “กฎของความสมดุล” คือ การคิดท่ีเปนระเบียบ พิจารณาหา เหตุผลตั้งแตต นจนจบ แลวนอ มลงสไู ตรลกั ษณ นน้ั จะเปน ทงั้ การทําสมถะ และวิปสสนาไปพรอมๆ กัน วิถีน้ี เรียกในภาษาของนักปฏิบัติวา ปญญา อบรมสมาธิ เพราะเม่ือพิจารณาจบจนกระท่ังลงใจแลว จิตจะเขาสูความสงบ แนวแนเปนสมาธิ ดวยอาการพักจิต ๑ และดวยความรูแจมแจงแทงตลอด ไมส งสัยในองคธรรมแลว ๑ เพ่ือเปรียบเทียบใหเกิดความชัดเจน ขอใหดูการเดินฌาน ในแบบ สมถะกรรมฐาน กอ น หลกั การเดินฌานของสมถะกรรมฐาน การเดนิ ฌาน ๑ ถงึ ฌาน ๔ มอี งคประกอบดังนี้ ฌาน ๑ ประกอบดว ยองค ๕ คอื วติ ก วจิ าร ปต ิ สุข เอกัคตา ฌาน ๒ ประกอบดว ยองค ๓ คือ ปติ สขุ เอกคั ตา ฌาน ๓ ประกอบดว ยองค ๒ คอื สุข เอกคั ตา ฌาน ๔ ประกอบดวยองค ๒ คอื เอกัคตา อุเบกขา การเดินฌานแบบสมถะตามแบบฉบับที่แสดงไว เปนการปฏิบัติเพ่ือ ขม กเิ ลส หรือ ระงบั นิวรณ ๕ ซง่ึ มีดงั ตอ ไปนี้ ปฐมฌาน (ฌาน ๑) มีองค ๕ คอื ๑. วิตก (ความตรึก) ทาํ หนาทสี่ งบหรือขม กามฉันท ๒. วจิ าร (ความตรอง) ทาํ หนาทีส่ งบหรอื ขม พยาบาท ๓. ปต ิ ทําหนา ทีส่ งบหรอื ขม ถนี ะมิทธะ ๔. สุข ทาํ หนา ทสี่ งบหรือขม อทุ ธัจจะ ๕. เอกัคตา ทําหนา ท่สี งบหรอื ขม วิจิกิจฉา สวนฌาน ๒, ๓, ๔ เปนผลจากการทํางานของจิตในฌาน ๑ คือ เกดิ สมาธหิ รือความสงบ ฌานของสมถะกรรมฐาน ดําเนนิ ตามหลักการนี้ 61

พระภาสกร ภรู ิวฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) “กฎของความสมดุล” หรอื “วปิ ส สนาในฌาน” การปฏิบัติตาม “กฎของความสมดุล” คือ “การยกหัวขอธรรมะ (องคธ รรม) ขึ้นมา สูการคิดท่ีเปนระเบียบ พิจารณาหาเหตุผลต้ังแตตน จนจบ แลวนอมลงสูไตรลักษณ” (นอมลงสูไตรลักษณ คือการสรุปหัวขอ ลงในกฎไตรลักษณ) ที่วาเปนการปฏิบัติแบบ “วิปสสนาในฌาน” เพราะ เปน ทง้ั การทาํ ทั้งสมถะและวิปสสนาไปพรอมๆ กนั นั้นคืออยางไร พิจารณาองคฌานของ “วิปสสนาในฌาน” จากฌาน ๑ ถึง ฌาน ๔ มอี งคป ระกอบดงั น้ี ฌาน ๑ ประกอบดวยองค ๕ คือ วติ ก วิจาร ปต ิ สขุ เอกัคตา ฌาน ๒ ประกอบดวยองค ๓ คอื ปติ สุข เอกัคตา ฌาน ๓ ประกอบดว ยองค ๒ คือ สขุ เอกคั ตา ฌาน ๔ ประกอบดว ยองค ๒ คอื เอกัคตา อเุ บกขา การเดินฌานแบบวปิ ส สนาในฌาน มีรูปแบบการเดินจติ เพ่ือพจิ ารณาธรรมดงั ตอไปนี้ ฌาน ๑ (ก) ยกหัวขอธรรมะ (องคธรรม) ข้ึนมาพิจารณา คือวิตก หรือความตรึก (ข) ทําการพิจารณาและเกิดความเขาใจ ก็เปน วิจาร หรือ ความตรอง (ค) เม่ือทําการพิจารณาหาเหตุ-ผล แลวนอมลงสูไตรลักษณ และเห็นวาเปนการถูกตอง ก็เกิดปติ-สุข สวนเอกัคตาก็คือ หัวขอธรรมะ ๑ หัวขอ ที่ไดทาํ การพิจารณาแลวนั้น นี่กเ็ ปน ฌาน ๑ ฌาน ๒ เมื่อจิตรับรูหัวขอธรรมะท่ีพิจารณา เห็นแลววาถูกตอง จิตก็จะมีความละเอียดลง เพราะพิจารณาธรรมจบรอบแลว เม่ือเห็นวา ถูกตอง ก็มีความปติ แลวก็เกิดความสุขกับหัวขอธรรมะนั้น หัวขอธรรมะ ๑ หัวขอ กค็ ือ เอกัคตา นกี่ เ็ ปนฌาน ๒ 62

ปฏิจจสมปุ บาท สาํ หรบั คนรนุ ใหม ฌาน ๓ เม่ือจิตเดินเรียบลง จิตจะละเอียดลง ดวยเห็นชัดใน ความถูกตองน้ัน จิตเดินเรียบลงอีก จนปติหายไป (เม่ือมีปติ จิตยังมีคลื่น ส่ันอยู) จึงมีแตความสุขกับหัวขอธรรมะนั้น ก็เปนสุขกับเอกัคตา (สุข-เอกัคตา) หรือทีเ่ รยี กวา ฌาน ๓ ฌาน ๔ จติ เดนิ เรยี บลงอีก ลงสูความละเอียดลึก ความสุขุมคัมภีร ภาพก็เกิดขึน้ กบั หัวขอธรรมะ ท่ีไดพิจารณาแลวน้ันวา ถูกตอง… เปนแนแท จิตก็เหลือเปนหนึ่ง หรือ เอกัคตา กับหัวขอธรรมะน้ัน วาถูกตองแนแลว จิตจงึ วางลงเปน อเุ บกขา ในขณะจิตเดยี วกนั เรยี กวา ฌาน ๔ จะเห็นวา เปนการเดินฌานไปพรอมกับการพิจารณาธรรมนั่นเอง เขียนเปน สตู รไดด ังตอไปนี้ สูตรการเดินฌานแบบ “วปิ สสนาในฌาน” สตู รการเดนิ ฌาน ๑ ถึง ฌาน ๔ แบบ “วิปส สนาในฌาน” ฌาน ๑ มีองค ๕ คอื วติ ก (ความตรึก) ยกหัวขอธรรมะข้ึนมาพิจารณา วิจาร (ความตรอง) ทําการพิจารณา ปติ มคี วามเขาใจ สุข เหน็ วา ถกู ตอ ง เอกคั ตา ในหวั ขอธรรมะนั้น จติ ก็จะเริ่มละเอียดลง แลวก็จะเดนิ ไปสูฌ าน ๒ ฌาน ๒ มอี งค ๓ คือ ปติ ธรรมะทีไ่ ดพิจารณาแลว ถูกตองแนนอน สขุ อิ่มใจ เอกคั ตา ในหวั ขอธรรมะน้นั จิตก็จะละเอียดลงอีก ขณะท่ีสมาธิเพิ่มขึ้นอัตโนมัติ และจิตก็จะ เดินเขาสูฌาน ๓ 63

พระภาสกร ภรู วิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) ฌาน ๓ มอี งค ๒ คือ สขุ เต็มต้ืนในความอ่ิมใจ เอกคั ตา ในหัวขอ ธรรมะน้นั จิตก็จะละเอียดลงๆ ความสุขุมคัมภีรภาพเกิดข้ึน สมาธิละเอียด ทรงตวั เปนฌาน ๔ ฌาน ๔ มอี งค ๒ คอื เอกัคตา หัวขอ ธรรมะนน้ั พิจารณาถกู ตอ งดแี ลว อุเบกขา จติ จึงปลอยวางโดยอตั โนมัติ เมื่อจิตรับทราบแลววา การพิจารณาธรรมะหัวขอน้ันถูกตอง ก็จะ อุเบกขาปลอยวางโดยอัตโนมัติ เปนการพิจารณาธรรมจบ ๑ รอบ สมาธิ ก็จะทรงตัวอยูอยางน้ัน (จิตจะพักในฌาน ๔) จนกวาสมาธิจะถอน หรือ ถอยออกมารับอารมณใหม (หัวขอธรรมใหม) สมาธิจิตก็จะเดินหมุนรอบ หมนุ รอบ อยูอยา งน้นั จนกวาจะเลิกทํากรรมฐาน นี่คือการทํากรรมฐานแบบ “สมถะ + วิปสสนา” หรือ “วิปสสนา + สมถะ” คือ ถาทําเปนและถูกหลัก มันก็ทําอยูดวยกัน แตถาทําไมเปน มันกต็ อ งแยกกนั ทํา นแ่ี หละ คอื การทาํ กรรมฐานแบบ “วปิ ส สนาในฌาน” สูตรเปรยี บเทียบการเดินฌาน แบบสมถะ ปฐมฌานแบบสมถะ “สงบ” นิวรณ ๕ ฌาน ๑ วติ ก (ความตรกึ ) สงบ กามฉนั ทะ วิจาร (ความตรอง) สงบ พยาบาท ปติ สงบ ถนี ะมทิ ธะ สขุ สงบ อุทธัจจะ เอกคั ตา สงบ วิจิกิจฉา 64

ปฏจิ จสมุปบาท สาํ หรบั คนรนุ ใหม แบบวิปส สนาในฌาน ปฐมฌาน แบบวิปสสนาในฌาน “ประหาร” กเิ ลส ฌาน ๑ วิตก (ความตรึก) ยกหัวขอธรรมะข้ึนมาพิจารณา วจิ าร (ความตรอง) ทําการพิจารณาจนจบ ปติ มคี วามเขาใจ สุข เห็นวาถกู ตอง เอกคั ตา ในหัวขอธรรมะนนั้ น่ีคือความแตกตางกัน… ระหวางปฐมฌานของสมถะ และปฐมฌาน ของวิปสสนาในฌาน ปฐมฌานแบบสมถะ “สงบนิวรณ ๕” ปฐมฌาน แบบวิปสสนาในฌาน “ประหารกิเลส” ฉะน้ันการปฏิบัติแบบวิปสสนา ในฌาน ก็คือหลักสูตรโดยตรง… ของพระศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา พระศาสดาของพวกเรานั้นเอง เม่ือไดพิจารณาลงตัวในเร่ืองปฐมฌานหรือฌาน ๑ แลว ตอมาเรา ก็มาพิจารณาถึงลําดับขององคฌานท้ังหมด ต้ังแต ฌาน ๑ ถึง ฌาน ๔ ทั้ง แบบ “สมถะ” และ แบบ “วปิ ส สนาในฌาน” ฌาน ๑ มอี งค ๕ คอื วิตก วจิ าร ปติ สุข เอกคั ตา ฌาน ๒ มอี งค ๓ คือ ปติ สุข เอกคั ตา ฌาน ๓ มีองค ๒ คือ สุข เอกคั ตา ฌาน ๔ มอี งค ๒ คอื เอกัคตา อเุ บกขา ถาจะมาพิจารณาถึงองคฌาน ต้ังแตฌาน ๑ ถึงฌาน ๔ แลว ก็จะ พบวา มี “เอกัคตา” เปนตัวยนื โรง คอื มอี ยใู นฌาน ๑ ถงึ ฌาน ๔ 65

พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวไิ ล) ในวิธีเดินฌานแบบ “สมถะ” ไดใหคําอธิบายเก่ียวกับ “เอกัคตา” ไววา “เปนการรวมจิตเปนหนึ่ง” ในวิธีเดินฌานแบบ “วิปสสนาในฌาน” ต้ังแตฌาน ๑ ถึง ฌาน ๔ ก็มี “เอกัคตา” เปนตัวยืนโรงเชนกัน… โดย ขอใหคําอธิบายเก่ียวกับ “เอกัคตา” ในที่น้ีวา “เปนการพิจารณาธรรม ครง้ั ละ ๑ เรื่อง” ฉะน้นั กม็ าถึงสูตรของ “เอกคั ตา” “เอกัคตา” (สมาธิ) สมถะ (การพจิ ารณา) วปิ ส สนา “การรวมจิตเปน หนง่ึ ” “การคิดคร้ังละ ๑ เร่ือง” (ตามกฎของธรรมชาต)ิ ก็จะเห็นไดวา “เอกัคตา” มีไดเปนกําลัง ๒ หรือ เอกัคตา๒ ฉะนั้น ก็เปน การลงตัวไดว า ทง้ั “สมถะ” และ “วปิ สสนา” สามารถทําพรอมกันได พิจารณาตอไปถึง ฌาน ๒-๓-๔ ก็จะเห็นไดวา เปนฌานเสวยผล คือ ฌาน ๑ เปนฌานท่ีทํางาน ฌาน ๒-๓-๔ เปนฌานเสวยผลของฌาน ๑ ท้ังส้ิน ไมวาจะเปนหลัก “สมถะ” หรือ “วิปสสนาในฌาน” จะเปนการ ตอเนื่องในลักษณะเดียวกันท้ังน้ัน คือ ทําจิตใหเปนสมาธิมากข้ึน มากข้ึน… จนถงึ ฌาน ๔ คือ สงบทสี่ ดุ การเดินฌานแบบ “สมถะ” ฌาน ๑ ทําการระงับนิวรณ ๕ แลวจิตคอยๆ สงบลงๆ เปนสมาธิ เริ่มสงบจากฌาน ๒ จิตเดินเรียบลงเปนฌาน ๓ และสงบสงัดเปนหน่ึง ในฌาน ๔ จึงเปนการทาํ สมาธิเพียงอยา งเดียว 66

ปฏจิ จสมปุ บาท สําหรบั คนรุนใหม การเดินฌานแบบ “วปิ ส สนาในฌาน” ฌาน ๑ ทําการพิจารณาขอธรรมะ เม่ือทําการพิจารณาลงตัวแลว จิตก็จะคอยๆ สงบลงเปนสมาธิ ฌาน ๒ เปนสมาธิแลว จิตสงบเรียบลงๆ เปนฌาน ๓ และจติ รวมเปน หน่งึ ในฌาน ๔ และพักในฌาน ๔ ดังน้ีก็จะเห็นไดชัดเจนวา ในการปฏิบัติแบบนี้ ฌาน ๑ นั้นจะเปน “วิปสสนา” และ ฌานที่เหลือ คือ ฌาน ๒-๓-๔ เปน “สมถะ” จึงเปนการ ทําท้ัง “วิปสสนา” และ “สมถะ” ไปดวยกัน ฉะน้ัน สมถะ คือ การทํา สมาธิ หรือ การสรางพลังใหจิต และ วิปสสนา คือการพิจารณา หรือ การทํางานของจติ เพ่อื ถอดถอนกเิ ลส ในฌาน ๑ ทําการพิจารณาธรรม ก็คือการทํางานของจิต หรือการ ในฌาน ๒ ใชงานทางจิต ในฌาน ๓ ในฌาน ๔ เปนฌานเสวยผลของฌาน ๑ คือเม่ือจิตทํางานเสร็จแลว ก็เริ่มพักในฌาน ๒ (ฌาน ๒ มีองค ๓ คือ ปติ-สุข- เอกัคตา) การที่มี “ปติ” นี้ แสดงถึงความกระเพ่ือม ของคลน่ื จิต คอื อาการทจ่ี ิตยังไมสงบนง่ิ จนถึงท่สี ุด มีองค ๒ คือ ปติหายไป เหลือแตสุข กับเอกัคตา (แสดง ถึงการสงบน่ิงลงอยางมากของคล่ืนจิต การเดินจิตจึงได เรยี บลง เรยี กวา “สขุ ”) จะเหลือเพียงแตเอกัคตา กับอุเบกขา คือจิตจะสงบลง จนถึงที่สุด และพักใน ฌาน ๔ “เอกัคตา” คือหัวขอธรรมะ “อุเบกขา” คือการปลอยวาง ก็เรียกวา เปนการปลอยวาง หัวขอธรรมะ จิตจงึ นิ่งเฉย หรอื “พัก” น่นั เอง ในหลักการปฏิบัติแบบ “วิปสสนาในฌาน” เมื่อปฏิบัติไปแลว ก็จะ พบวา จิตจะมีการทํางานเปนวงจรอยูอยางน้ี คือ พิจารณาธรรมในฌาน ๑ แลว เร่มิ พกั ในฌาน ๒-๓ และพกั สงบในฌาน ๔ 67

พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวิไล) เมื่อพักพอแลว จิตจะถอนออกมารับอารมณใหม (องคธรรม) แลวก็ทําการพิจารณาธรรมในฌาน ๑ และพักในฌาน ๒-๓-๔ เปนวงจรอยู อยา งนี้ จนกวาจะหยุดทาํ กรรมฐาน ถาจะพิจารณาโดยถองแทแลว จะเห็นไดวา การปฏิบัติตามแบบ “วิปส สนาในฌาน” นี้ เปนหลกั การทาํ งานทางจิตท่ีดีที่สุดในโลก เพราะเปน การทําตามหลัก “อิทัปปจยตา” หรือท่ีเรียกกันวา “การทํางานแบบครบวงจร” หรอื ตามระบบ “Q.C.” นน่ั เอง และการปฏิบัติแบบ “วิปสสนาในฌาน” น้ี ก็มิใชหลักปฏิบัติที่ไดคิดขึ้นมาใหม แตนับวาเปนหลักสูตรการปฏิบัติของ พระพุทธเจา พระศาสดาของเราโดยแท… โมทนาสาธุ… โมทนาสาธุ… โมทนาสาธุ… ขอแสดงอรรถาธิบายท้ังหมดท่ีกลาวมาน้ี เปนการช้ีแจงใหเห็นวา การปฏิบัติตาม “กฎของความสมดุล” นั้น มีเหตุผลความเปนมาอยางไร อธิบายไวใหนักปฏิบัติท่ีเปน “ผูรู” ท้ังหลาย ไดเขาใจชัดเจนเทานั้นวา หลักการปฏิบัติแบบน้ี “เปนไปตามคําสอนของพระศาสดา และถูกตอง ตรงตามคําสอนของพระศาสดา” ทัง้ สิน้ !1 1 อุบาสิกาเพียงเดือน ธนสารพิพิธ พิจารณาธรรม ๑๒ เมษายน ๒๕๓๑ เวลา ๒๐.๑๕ น. 68

ปฏจิ จสมุปบาท สาํ หรบั คนรุน ใหม สรปุ การทํางานของจิต จากผัสสะไปสูเวทนา ๑) กามาวจร-ปุญญาภิสังขาร สภาพท่ีปรุงแตงกรรมฝายดี คือ บุญ ที่เปนกามาวจร ไดแก กุศลเจตนา ในกุศลกรรมบถ ๑๐ อันเปนไป ในกามภพ โดยสภาวะของจิต ในขณะท่ีปรุงแตงเปนบุญน้ัน จิตเปน มหากุศลจิต โดยมีกามารมณที่นาปรารถนา คือ กามาวจร-อิฏฐารมณ เปนอารมณเครอื่ งยึดหนว งของจิต เวทนาท่ีเกิดแตจิต อันปรุงแตงเปนบุญน้ี มีไดทั้งที่เปน โสมนัส คือ ความสุขใจ และทเี่ ปน อเุ บกขา คือ ความรสู ึกเฉยๆ ๒) กามาวจร-อปุญญาภิสังขาร สภาพท่ีปรุงแตงกรรมฝายช่ัว คือ บาป ท่เี ปน กามาวจร ซ่ึงบาปเหลานี้ไดแก อกุศลเจตนา ในอกุศลกรรมบถ ๑๐ ทางแหงอกุศลกรรม อันเปนไปในกามภพ โดยสภาวะของจิตในขณะท่ี ปรุงแตงเปนบาปน้ัน จิตเปนไดท้ัง โลภมูลจิต โทสมูลจิต และโมหมูลจิต คือ จิตโลภ จติ โกรธ และจิตหลง โดย 69

พระภาสกร ภรู วิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) ๒.๑) จิตจะเปน โลภมูลจิต คือ จิตโลภ ก็ตอเมื่อมีกามารมณท่ี นาปรารถนา คือ กามาวจร-อิฏฐารมณ เปนอารมณเคร่ืองยึดหนวงของจิต และเวทนาที่เกิดแตจิต อันปรุงแตงเปนบาป ดวยอํานาจจิตโลภน้ี มีไดทั้ง ท่ีเปน โสมนสั คือ ความสุขใจ และทเ่ี ปน อเุ บกขา คอื ความรูส กึ เฉยๆ ๒.๒) จิตจะเปน โทสมูลจิต คือ จิตโกรธ ก็ตอเม่ือมีกามารมณท่ี ไมนาปรารถนา คือ กามาวจร-อนิฏฐารมณ เปนอารมณเคร่ืองยึดหนวง ของจิต ซึ่งเวทนาที่เกิดแตจิต อันปรุงแตงเปนบาป ดวยอํานาจจิตโกรธน้ี มีแตเ ฉพาะท่ีเปน โทมนสั คอื ความทุกขใ จเทา นนั้ หมายเหตุ ท้ังจิตโลภและจิตโกรธ ลวนมี อกุศลเจตสิก กลุมหลงผิด คือ โมจตุกก ๔ ไดแก โมหะ ความหลง อหิริกะ ความไมละอายบาป อโนตตัปปะ ความไมกลัวบาป อุทธัจจะ ความฟุงซาน ซ่ึงเปนเจตสิกท่ีเกิด กบั อกศุ ลจติ ทุกดวง เกดิ รว มดวยทุกครงั้ ๒.๓) จิตจะเปน วิจิกิจฉา-โมหมูลจิต คือ จิตหลง ชนิดคลางแคลง สงสัย (อุเปกฺขาสหคตํ วิจิกิจฺฉาสมฺปยุตฺตํ) ซ่ึงมีความลังเลสงสัยเคลือบแคลง (วิจิกิจฉา) เปนลักษณะ โดยขาดความปลงใจหรือปกใจ (อธิโมกข) ลงใน อารมณนั้น และไมสามารถทําความอิ่มใจ (ปติ) และความพอใจ (ฉันทะ) ในอารมณนั้น จึงในขณะซ่ึงกําลังปรุงแตง (วิตก-วิจาร-วิริยะ) โดยความ ลังเลสงสัยอยูนั้น จิตจึงมีเวทนาเปน อุเบกขา มีความรูสึกเฉยๆ ไมสุข หรือทุกขในอารมณนัน้ ๒.๔) จิตจะเปน อุทธัจจะ-โมหมูลจิต คือ จิตหลง ชนิดฟุงซาน (อเุ ปกขฺ าสหคตํ อทุ ฺธจจฺ สมฺปยตุ ฺตํ) ซ่ึงมีความไมสงบ ซัดสาย หมุนพลานไป เปนลักษณะ แมจะมีความปลงใจหรือปกใจ (อธิโมกข) และไมมีความลังเล สงสัยเคลือบแคลง (วิจิกิจฉา) ในอารมณน้ัน แตไมสามารถทําความอ่ิมใจ (ปติ) และความพอใจ (ฉันทะ) ในอารมณนั้น จึงในขณะซ่ึงกําลังปรุงแตง (วิตก-วิจาร-วิริยะ) โดยความฟุงซานอยูน้ัน จิตจึงมีเวทนาเปน อุเบกขา มีความรูสึกเฉยๆ ไมสขุ หรือทุกขในอารมณน ั้น 70

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรบั คนรุนใหม ๓) อรูปาวจร-อาเนญชาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแตงภพอันมั่นคง ไมหว่ันไหว ไดแก อรูปฌาน การเพงอารมณจนใจแนวแนเปนอัปปนาสมาธิ โดยมี อรูปธรรม เปนอารมณ สภาวะของจิตในขณะที่ปรุงแตงเปน อรูปฌานนัน้ จติ เปน อรปู าวจรกศุ ลจติ โดยมี อรูป ๔ หรืออรูปกรรมฐาน ในกรรมฐาน ๔๐ เปนอารมณเ คร่อื งยดึ หนวงของจิต เวทนาที่เกิดแตจิต อันปรุงแตงเปน อาเนญชา คือภพอันมั่นคง ไมห วัน่ ไหวนี้ จะมเี วทนาเปน อเุ บกขา คอื ความรสู ึกเฉยๆ ท่ีสืบเน่ืองมาแต อุเบกขาเวทนาเดิม อันจิตไดเจริญรูปฌาน ประเภทกสิณ (ยกเวน อากาส- กสิณ และอาโลกกสิณ) จนไดอัปปนาสมาธิ ถึงขั้น จตุตถฌาน คือฌานสี่ (ปญจมฌาน คือฌาน ๕ ในทางพระอภิธรรม) จนคลองแคลวชํานาญแลว จึงกําหนดใจใหละกสิณปฏิภาคนิมิต กาวลวง รูปสัญญา ท่ีไดแลวนั้น มาสู อรูปสญั ญา เอาเปนอารมณเ ครือ่ งยึดหนว งของจิตแทน ๔) รูปาวจร-ปุญญาภิสังขาร สภาพที่ปรุงแตงกรรมฝายดี คือ บุญ ทีเ่ ปน รูปาวจร, สภาพท่ีปรุงแตงภพอันมั่นคง ไมหวั่นไหว ไดแก รูปฌาน ๔, การเพง อารมณจ นใจแนว แนเ ปน อปั ปนาสมาธิ โดยมี รปู ธรรม เปนอารมณ ไดแ ก (๑) ปฐมฌาน คือ ฌานที่ ๑ มอี งค ๕ คอื วติ ก วิจาร ปติ สุข เอกคั ตา (๒) ทตุ ิยฌาน คือ ฌานท่ี ๒ มีองค ๓ คือ ปติ สขุ เอกคั ตา (๓) ตตยิ ฌาน คอื ฌานที่ ๓ มีองค ๒ คอื สขุ เอกคั ตา (๔) จตตุ ถฌาน คือ ฌานที่ ๔ มีองค ๒ คือ อุเบกขา เอกัคตา สภาวะของจิต ขณะท่ปี รุงแตง เปนรปู ฌานนั้น จิตเปน รูปาวจรกุศลจิต โดยมี รปู กรรมฐาน ๓๖ ในกรรมฐาน ๔๐ เปนอารมณเคร่ืองยึดหนวงของจิต รูปกรรมฐาน ๓๖ นี้ ไดแก (๑) กสิณ ๑๐ (๒) อสุภะ ๑๐ (๓) อนุสติ ๑๐ (๔) อัปปมัญญา ๔ (๕) อาหาเรปฏิกูลสัญญา (๖) จตุธาตุววัฏฐาน หรือ ธาตมุ นสกิ าร 71

พระภาสกร ภูรวิ ฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) เวทนาท่เี กดิ แตจิต อนั ปรุงแตงเปน บุญ ที่เปนรูปาวจร คือภพอัน มั่นคงไมหวั่นไหวน้ี จะเปนไปตาม ระดับฌาน คือ สมาธิ ที่รูปกรรมฐาน ชนิดน้นั สามารถนําใหเ ขาถึงได (ตั้งแตปฏภิ าคนิมิต, อุปจารสมาธิ, ปฐมฌาน, ทตุ ิยฌาน, ตติยฌาน จนถงึ จตุตถฌาน) ซึง่ แตกตา งไมเทาเทยี มกัน ดงั ตอ ไปน้ี (๑) กสณิ ๑๐ ยังใหถึงไดส ูงสดุ คือ จตุตถฌาน (๒) อสภุ ะ ๑๐, กายคตาสติ ยงั ใหถงึ ปฐมฌาน (๓) อนุสติ ๑๐ ใน ๖ ขอแรก, อุปสมานุสติ, มรณสติ, อาหาเร- ปฏกิ ูลสญั ญา, จตธุ าตุววัฏฐาน ยงั ใหถงึ ไดสูงสุดเพยี ง อุปจารสมาธิ (๔) อปั ปมัญญา ๔ ใน ๓ ขอ แรก ยงั ใหถึง ตติยฌาน (๕) อุเบกขาอัปปมัญญา ยังใหได อุปจารสมาธิ แลวกาวขามไปสู จตุตถฌาน ๕) วิปสสนา คือ สังขาร สภาพท่ีปรุงแตง อัน ยังภพใหส้ินไป เปนการฝกอบรมปญญา ใหเกิดความเห็นแจง รูชัดตรงตอความเปนจริง ของสภาวธรรม, ปญญาที่เห็น ไตรลักษณ อันถอดถอนความหลงผิดรูผิด ในสังขารเสยี ได ซึ่งสภาวะของจิตในขณะที่ปรุงแตงเปนวิปสสนาน้ัน จิตจะเปน มหากศุ ลจิต โดยมี รูป-นาม ขันธ ๕ ทั้งภายใน ภายนอก เปนอารมณแก การปฏิบัติวิปสสนา และดําเนินวิปสสนาดวยการ โยนิโสมนสิการ คือการ นึกคดิ พิจารณาไปโดยแยบคาย และ โอปนยิโก นอมเขา มาสูใ จ จนเห็นแจง สภาวธรรมอนั เปน ไปตามกฎไตรลักษณ เปนสาํ คญั สวนเวทนา อันเปนผลมาแตการดําเนินวิปสสนานั้น ก็มีลักษณะ เปนเชนเดียวกับเวทนาที่เกิดจากรูปฌาน ดังไดพรรณนาไว ในเร่ืองของ “กฎของความสมดลุ ” และ “วปิ ส สนาในฌาน” กลา วคือ 72

ปฏจิ จสมปุ บาท สําหรับคนรนุ ใหม ฌาน ๑ มีองค ๕ คอื วติ ก (ความตรึก) ยกหวั ขอธรรมะขน้ึ มาพจิ ารณา วิจาร (ความตรอง) ทาํ การพิจารณา ปต ิ มคี วามเขาใจ สุข เห็นวา ถูกตอง เอกัคตา ในหัวขอ ธรรมะน้นั จติ ก็จะเร่ิมละเอียดลง แลวก็จะเดินไปสูฌาน ๒ ฌาน ๒ มอี งค ๓ คอื ปติ ธรรมะท่ีไดพ จิ ารณาแลวถูกตอ งแนน อน สุข อมิ่ ใจ เอกัคตา ในหวั ขอธรรมะนัน้ จิตก็จะละเอียดลงอีก ขณะท่ีสมาธิเพ่ิมข้ึนอัตโนมัติ และจิตก็จะ เดนิ เขาสฌู าน ๓ ฌาน ๓ มอี งค ๒ คือ สขุ เตม็ ต้นื ในความอมิ่ ใจ เอกัคตา ในหัวขอ ธรรมะนนั้ จิตก็จะละเอียดลงๆ ความสุขุมคัมภีรภาพเกิดขึ้น สมาธิละเอียด ทรงตวั เปนฌาน ๔ ฌาน ๔ มีองค ๒ คือ เอกคั ตา หัวขอ ธรรมะนัน้ พิจารณาถกู ตอ งดีแลว อเุ บกขา จิตจึงปลอ ยวางโดยอัตโนมัติ เม่ือจิตรับทราบแลววา การพิจารณาธรรมะหัวขอน้ันถูกตอง ก็จะ อุเบกขาปลงวางโดยอัตโนมัติ เปนการพิจารณาธรรมจบ ๑ รอบ สมาธิก็จะ ทรงตัวอยูอยางน้ัน (จิตจะพักในฌาน ๔) จนกวาสมาธิจะถอน หรือถอย ออกมารับอารมณใหม (หัวขอธรรมใหม) สมาธิจิตก็จะเดินหมุนรอบ หมุนรอบ อยอู ยางน้ัน จนกวา จะเลกิ ทํากรรมฐาน 73

พระภาสกร ภรู ิวฑฺฒโน (ภาวไิ ล) หมายเหตุ ในคัมภีรปรมัตถโชติกา กลาวถึงพระอรหันตประเภท สุกขวิปสสก, วิปสสนายานิก, สุทธวิปสสนายานิก (ผูมีวิปสสนาลวนๆ เปนยาน) คือ ผูท่ีบรรลุอรหัตตผล ดวยการเจริญวิปสสนาลวนๆ แมจะ ไมไดทําสมถกรรมฐาน จนถึงข้ันไดฌานมากอนก็ตาม แตก็สามารถเจริญ วิปสสนาได โดยอาศัยเพียง อุปจารสมาธิ ในการพิจารณาธรรมโดยแยบคาย (โยนิโสมนสิการ) และนอมเขามาสูตน (โอปนยิโก) จนประจักษแจงไตรลักษณ ขจัดกิเลสไดหมดสิ้นเปนสมุจเฉทปหาน ถึงความเปนพระอรหันต บาลีเรียกวา ปญญาวิมุต ซ่ึงมีระบุไววา ในขณะเม่ือจะสําเร็จอรหัตน้ัน จะเปนผูได ปฐมฌาน คือ ฌาน ๑ ซึ่งมีองค ๕ คือ (๑) วิตก ความตรึก (๒) วิจาร ความตรอง (๓) ปติ ความอิ่มใจ (๔) สุข ความสบายใจ (๕) เอกัคตา ความมีอารมณเ ปน หนง่ึ จึงเปนอันวา ขณะท่ีพระอรหันตประเภท สุกขวิปสสก ทานสําเร็จ อรหัตนั้น ทานจะมี ปติ และ สุข (โสมนัส) เปนเวทนา ซ่ึงสอดคลองกับ หลัก โพชฌงค ๗ ธรรมท่ีเปน องคแหงการตรัสรู อันมี ๗ ประการ คือ (๑) สติ ความระลึกได (๒) ธัมมวิจยะ ความเฟนธรรม การศึกษาวิจัย สอดสอง สืบคนไปในธรรม (๓) วิริยะ ความเพียรเพื่อจะละความชั่ว ประพฤติความดี (๔) ปติ ความด่ืมด่ําอิ่มเอมใจ (๕) ปสสัทธิ ความสงบกาย สงบใจ (๖) สมาธิ ความต้ังใจม่ัน มีใจสงบแนวแน และมี (๗) อุเบกขา ความวางใจเปน กลางได เปนผลทสี่ ดุ นอกจากน้ี ยังสอดคลองกับคํากลาวท่ีวา “ไมมีฌาน ไมมีญาณ” หรือ “ไมมีฌาน ไมมีปญญา” ซึ่งหมายความวา การเกิดขึ้นของ วิปสสนาญาณ ความรูแจงชัด ขจัดกิเลสนั้น จะตองมีสมาธิถึงขั้นฌาน (คือ ฌาน ๑ เปนตน ไป) เปน กาํ ลงั สนับสนนุ เสมอ. 74



พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวิไล) (๓) วิภวตัณหา ความทะยานอยากในวิภพ, ความอยากในความ พรากพนไปแหงตัวตน จากความเปนอยางใดอยางหน่ึงอันไมปรารถนา อยากทําลาย อยากใหดับสูญ, ความใครอยากท่ีประกอบดวย วิภวทิฏฐิ (ความเห็นผิดในวิภพ) หรือ อุจเฉททิฏฐิ (ความเห็นวาขาดสูญ เชน เห็นวา คนและสัตวจุติจากอัตภาพน้ีแลวขาดสูญ ซึ่งตรงขามกับ สัสสตทิฏฐิ ดังกลาว มาแลว ) 76

ปฏิจจสมปุ บาท สําหรับคนรนุ ใหม จากเวทนา ไปสตู ัณหา จติ ทํางานอยางไร? เมื่อมีผัสสะ คือความกระทบเกิดขึ้น ระหวางอายตนะในกับอายตนะ ภายนอก (อารมณ) พรอมท้ังเกิดวิญญาณ (จิต) คือความรูแจงอารมณ ขึ้นใน แตละชอ งทางของการรับรู เปนจักขุวิญญาณ คือความรูทางตาบาง โสตวิญญาณ ความรูทางหูบาง ฆานวิญญาณ ความรูทางจมูกบาง ชิวหาวิญญาณ ความรูทาง ลน้ิ บา ง หรือเปนกายวิญญาณ ความรูทางกาย ท่ีมาพรอมกับเวทนาทางกาย (กายสัมผัสสชา เวทนา) เปนความรูสึก สุขกาย (กายิกสุข) หรือ ทุกขกาย (กายิกทุกข) บาง หรือเปนมโนวิญญาณ อันจิตเคยรับรู ปรุงแตง บันทึก และมีสัญญาระลึกข้ึนไดบาง จากนั้น จิตจึงรับชวงเอาวิญญาณ คือความรูนั้น (ซึง่ เปน มโนวิญญาณไปแลว ) เขา สกู ระบวนการปรุงแตง รวมกับอตีตสัญญา ความจําไดหมายรู อันจิตระลึกนึกข้ึนได จากวิญญาณ ความรู ที่จิตเคยรับรู และบันทึกไวแตอดีต อันเนื่องดวยอารมณน้ันๆ นํามาสังขาร ปรุงแตงใหม รวมกัน (ซึ่งมีวิธีการปรุงแตงได ๕ วิธี คือ ปรุงแตงเปนบุญ ๑ ปรุงแตง เปนบาป ๑ ปรุงแตงเปนอรูปฌาน ๑ ปรุงแตงเปนรูปฌาน ๑ และอยาง ยอดเยี่ยม คือปรุงแตงเปนวิปสสนา ๑) จนเกิดมีเวทนา ความรูสึก เปน ความสุขใจ (โสมนัส) ทุกขใจ (โทมนัส) หรือเฉยๆ (อุเบกขา) หรือมีเวทนา ทเี่ กิดแตฌ าน คือความเพง และวปิ ส สนา คือการกระทําใหแจงซ่ึงธรรมชาติ และกฎของธรรมชาติ ท่ีดําเนินจาก ปติ (ความอิ่มใจ) และ สุข (โสมนัส คือความสบายใจ) จนมาส้ินสุดท่ีความรูสึกเฉยๆ (อุเบกขา) อันเน่ืองแต วญิ ญาณทร่ี บั รู และปรงุ แตงมาแลวนนั้ ๆ และ โดยมี เวทนา ความรูสึกท่ีเกิดขึ้นเปนปจจัย ตัณหา ความ ทะยานอยาก หรือ ราคะ ความติดใจในอารมณนั้นๆ จึงเกิดขึ้นตามมา โดยมเี งอื่ นไขดงั ตอไปน้ี 77

พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน (ภาวิไล) ๑. มีเวทนาเปน โสมนสั หรอื อุเบกขา อันเกดิ แต ก. การปรุงแตงเปนบุญ ดวยจิตเปนมหากุศล ใน กามาวจรอิฏฐารมณ คืออารมณทีน่ า ปรารถนาอันมปี รากฏในกามภพ ข. การปรุงแตงเปนบาป ดวยจิตเปนโลภมูลจิต คือ จิตโลภ ใน กามาวจรอิฏฐารมณ คืออารมณท่นี าปรารถนาอนั มีปรากฏในกามภพ ในกรณีทั้งคูน้ี ทั้งโสมนัสเวทนา และอุเบกขาเวทนา จะเปนปจจัย ใหเกิด กามตัณหา ความทะยานอยาก และ กามราคะ ความติดใจ ใน กามาวจรอิฏฐารมณ คืออารมณท่ีนาปรารถนาอันมีปรากฏในกามภพนั้นๆ แลวท้ังกามตัณหาและกามราคะน้ีเอง ก็จะเปนปจจัยใหเกิด ภวตัณหา ความทะยานอยากในภพ คือกามภพ อันไดแก ฐานะ ตําแหนง บทบาท ยศถาบรรดาศกั ด์ิ อันเอ้อื อํานวยตอ การทจี่ ะไดม าโดยงา ย ซ่งึ กามคุณ ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ที่ตนมีความเห็นผิด ต้ังคาต้ังความปรารถนา เอาไวนั้นๆ ติดตามมา ๒. มเี วทนาเปน อุเบกขา อนั เกิดแต ก. การปรุงแตงเปน บาป ดวยจิตเปน วิจิกิจฉาโมหะมูลจิต คือ จิตหลง ชนิดคลางแคลงสงสยั ท่มี อี ารมณเ ปน กามาวจรวจิ ิกิจฉารมณ ข. การปรุงแตง เปน บาป ดวยจิตเปน อุทธัจจะโมหะมูลจิต คือ จิตหลง ชนดิ ฟุงซาน ทมี่ ีอารมณเปน กามาวจรอุทธจั จารมณ ท้งั สองกรณนี ี้ จิตยังไมสามารถทําความอิ่มใจ (ปติ) และความพอใจ (ฉันทะ) ในอารมณน้ัน จึงยังไมเปนปจจัยแกตัณหา คือความทะยานอยาก ใดๆ ได จนกวาจะไดมีการปรุงแตงอารมณน้ันใหม อันยังใหพนไปจาก จิตหลงทัง้ ๒ ประการน้ี 78

ปฏิจจสมุปบาท สาํ หรบั คนรุน ใหม ๓. มีเวทนาเปน โทมนัส อันเกิดแตการปรุงแตงเปนบาป ดวยจิต เปน โทสะมูลจิต คือ จิตโกรธ ในกามาวจรอนิฏฐารมณ คืออารมณที่ไมนา ปรารถนาอันมีปรากฏในกามภพ ในกรณีน้ี โทมนัสเวทนา จะเปนปจจัยใหเกิด วิภวตัณหา ความทะยานอยากในวิภพ, ความอยากในความพรากพนไป แหงตัวตน จากความเปนอยางใดอยางหนึ่งอันไมปรารถนา อยากทําลาย อยากใหดับสูญ แตเมื่อภพ คือความเปนอยางใดอยางหน่ึงอันไมปรารถนา ยังดํารงอยู ไมไดแตกสลายพนไปดังใจปรารถนา จิตจึงมีความ ปฏิฆะ กระทบกระทัง่ ใจ จนเกิด โทสะ ความคิดประทษุ รา ย ติดตามมา ๔. มเี วทนาเปน อุเบกขา อันเกิดแตการปรุงแตงเปนอรูปฌาน ดวยจิต เปน อรูปาวจรกุศลจิต คือ อรูปฌานจิต ซ่ึงมีอรูปกรรมฐาน ๔ ในกรรมฐาน ๔๐ เปนอารมณ ในกรณีนี้ อุเบกขาเวทนา จะเปนปจจัยใหเกิด อรูปราคะ ความ ติดใจในอารมณแหงอรูปฌาน หรือในอรูปธรรม แลวอรูปราคะนี้เอง ก็จะเปน ปจ จยั ใหเ กิด ภวตัณหา ความทะยานอยากในภพ คอื อรูปภพ ติดตามมา ๕. มีเวทนาเปน อุเบกขา อันเกิดแตการปรุงแตงเปนรูปฌาน ดวย จิตเปน รูปาวจรกุศลจิต คือ รูปฌานจิต ซึ่งไดแก กสิณ ๑๐ อานาปานสติ และอุเบกขาอัปปมัญญา รวมเปน รูปกรรมฐาน ๑๒ ในกรรมฐาน ๔๐ ที่สามารถใหผลถึงระดับ ฌาน ๔ อันมีองค ๒ คือ เอกัคตา และอุเบกขา เปนอารมณ ในกรณีน้ี อุเบกขาเวทนา จะเปนปจจัยใหเกิด รูปราคะ ความ ติดใจในอารมณแหงรูปฌาน หรือในรูปธรรม แลวรูปราคะน้ีเอง ก็จะเปน ปจ จยั ใหเกิด ภวตัณหา ความทะยานอยากในภพ คอื รปู ภพ ติดตามมา 79

พระภาสกร ภรู ิวฑฒฺ โน (ภาวไิ ล) ๖. มเี วทนาเปน ปต ิ หรือ สุข หรอื เพียงแนวแนเ ปน สมาธิ อนั เกดิ แตการปรุงแตงเปนรูปฌาน ดวยจิตเปน รูปาวจรกุศลจิต คือ รูปฌานจิต ซึ่งไดแก เมตตาอัปปมัญญา กรุณาอัปปมัญญา มุทิตาอัปปมัญญา ที่สามารถ ใหผลถึงระดับ ฌาน ๓ อนั มีองค ๒ คือ สขุ และเอกัคตา เปน อารมณ หรอื อสุภะ ๑๐ และกายคตาสติ ที่สามารถใหผลถึงระดับ ฌาน ๑ อันมีองค ๕ คือ วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคตา เปนอารมณ หรือ อนุสติ ๘ ใน ๑๐ ขอ คือ พุทธานุสติ ธัมมานุสติ สังฆานุสติ สีลานุสติ จาคานุสติ เทวตานุสติ มรณสติ และอุปสมานุสติ กับอาหาเรปฏิกูลสัญญา และจตุธาตุววัฏฐาน ท่ีสามารถใหผลถึงระดับ อุปจารสมาธิ เปนอารมณ ในกรณีทั้งหมดน้ี คือรวมเปน รูปกรรมฐาน ๒๔ ในกรรมฐาน ๔๐ นั้น เวทนาที่เกิดข้ึน ไมวา จะเปน ปติ หรือ สุข หรือ เพียงแนวแนเปนสมาธิ ก็จะเปนปจจัยใหเกิด รูปราคะ ความติดใจในอารมณแหงรูปฌาน หรือในรูปธรรม แลวรูปราคะ นเี้ อง ก็จะเปนปจจัยใหเกิด ภวตัณหา ความทะยานอยากในภพ คือ รูปภพ ตดิ ตามมา หมายเหตุ “ตัณหา” ความทะยานอยาก มีความหมายใกลเคียง ตอเน่ือง และสามารถใชแทนกัน กับคําวา “ราคะ” อันหมายถึง ความกําหนัด ยินดี ความตดิ ใจ ความยอมใจติดอยใู นอารมณ (อารมณ คือ เคร่ืองยึดหนวง ของจติ ) 80



พระภาสกร ภรู วิ ฑฒฺ โน (ภาวิไล) (๒) ทิฏุปาทาน ความยึดติดถือม่ันในทิฏฐิ, ความยึดติดฝงใจใน ลัทธิ ทฤษฎี และหลักความเช่ือตางๆ คําวา “ทิฏฐิ” ใชโดยทั่วไปหมายถึง ความเห็น ทฤษฎี และ “ความเห็นผิด” (ถาเปนความเห็นถูก หรือความ เห็นชอบ จะใชคําวา “สัมมา” นําหนาเสมอ คือ “สัมมาทิฏฐิ” ในมรรค มีองค ๘), แตในภาษาไทยมกั หมายถงึ การดื้อดงึ ในความเห็น “ทฏิ ฐ”ิ คอื ความเหน็ ผิด เรียกเตม็ ยศวา “มจิ ฉาทิฏฐิ” มี ๒ อยางคือ ๒.๑ สสั สตทฏิ ฐิ ความเหน็ วา เท่ยี ง ๒.๒ อจุ เฉททฏิ ฐิ ความเห็นวาขาดสญู หรืออกี หมวดหน่ึงมี ๓ อยาง คือ ๒.๓ อกริ ิยาทิฏฐิ ความเห็นวา ไมเปน อันทํา ๒.๔ อเหตกุ ทฏิ ฐิ ความเหน็ วา ไมมเี หตุ ๒.๕ นัตถกิ ทฏิ ฐิ ความเห็นวา ไมมี คือถืออะไรเปนหลกั ไมไ ด เชน มารดาบดิ าไมม ี เปนตน (๓) สีลัพพตุปาทาน ความยึดติดถือม่ันในศีลและขอวัตร ดวยอํานาจ กิเลส, ความถือม่ันศีลพรต คือธรรมเนียมที่ประพฤติตามกันมาจนชิน โดย เช่ือวาขลัง เปนเหตุใหงมงาย, คัมภีรธัมมสังคณี แสดงความหมายไว อยา งเดียวกบั สลี พั พตปรามาส “สีลัพพตปรามาส” คือ ความยึดถอื วา บุคคลจะบริสุทธิ์หลุดพนได ดวยศีลและวัตร (คือถือวา เพียงประพฤติศีลและวัตรใหเครงครัด ก็พอท่ีจะ บริสุทธ์ิหลุดพนได ไมตองอาศัย สมาธิ และปญญาก็ตาม ถือศีลและวัตร ทีง่ มงาย หรืออยางงมงายก็ตาม), ความถือศีลพรต โดยสักวาทําตามๆ กันไป อยางงมงาย หรือโดยนิยมวาขลัง วาศักดิ์สิทธ์ิ โดยไมเขาใจความหมายและ ความมุงหมายที่แทจริง, ความเชื่อถือศักดิ์สิทธิ์ ดวยเขาใจวาจะมีไดดวยศีล หรือพรตอยา งน้ี ลวงธรรมดาวิสยั 82

ปฏิจจสมุปบาท สําหรบั คนรนุ ใหม (๔) อัตตวาทุปาทาน การยึดติดถือม่ันใน วาทะวาตน คือความ ยึดถือสําคัญมั่นหมาย วาน่ันน่ีเปนตัวตน เชน มองเห็นเบญจขันธเปนอัตตา, อยางหยาบขึ้นมา เชน ยึดถือมั่นหมายวา น่ีเรา น่ันของเรา จนเปนเหตุให แบงแยกเปน พวกเรา พวกเขา และเกิดความถือพวก “อัตตา” คือ ตัวตน, อาตมัน, ปุถุชนยอมยึดม่ัน มองเห็นขันธ ๕ อยางใดอยางหนึ่ง หรือท้ังหมดเปนอัตตา หรือยึดถือวามีอัตตา เน่ืองดวย ขันธ ๕ โดยอาการอยา งใดอยางหน่งึ “อนตั ตา” แปลวา ไมใ ชอ ัตตา, ไมใ ชต ัวไมใ ชตน “อนัตตลักษณะ” ลักษณะที่เปนอนัตตา, ลักษณะท่ีใหเห็นวา เปน ของมใิ ชตวั ตน โดยอรรถตา งๆ เชน ๑. เปนของสูญ คือ เปนเพียงการประชุมเขาขององคประกอบที่ เปน สว นยอยๆ ท้ังหลาย วางเปลาจากความเปนสตั ว บคุ คล ตัวตน เรา เขา หรอื การสมมติเปนตา งๆ ๒. เปน สภาพหาเจา ของมไิ ด ไมเปนของใครจรงิ ๓. ไมอยูในอํานาจ ไมเปนไปตามความปรารถนา ไมขึ้นกับการ บังคบั บญั ชาของใครๆ ๔. เปนสภาวธรรมท่ีดํารงอยู หรือเปนไปตามธรรมดาของมัน เชน ธรรมทีเ่ ปน สังขตะ คือสังขาร ก็เปน ไปตามเหตปุ จ จัย ข้ึนตอเหตุปจจัย ไมมี อยโู ดยลาํ พงั ตวั แตเ ปน ไปโดยสัมพนั ธอ งิ อาศยั กนั อยกู ับส่ิงอื่นๆ ๕. โดยสภาวะของมันเอง ก็แยงหรือคานตอความเปนอัตตา มีแต ภาวะท่ีตรงขา มกบั ความเปนอตั ตา 83

พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน (ภาวไิ ล) จากตณั หา ไปสูอปุ าทาน จิตทาํ งานอยา งไร? จําแนกเปน ๔ กรณี โดยพิจารณาเช่ือมโยงจากผัสสะ การกระทบ กบั อารมณของจติ คอื 84

ปฏจิ จสมุปบาท สําหรบั คนรนุ ใหม ๑. กรณีที่มีการผัสสะกับ กามาวจรอิฏฐารมณ คือกามารมณที่นา ปรารถนา ไมวา จติ ทีเ่ กิดขนึ้ จะเปนมหากุศลจิต ที่เปนบุญ หรือเปนโลภมูลจิต คือจิตโลภ ที่เปนบาป และไมวาเวทนาที่เกิดขึ้นจะเปนโสมนัสเวทนา คือ ความสุขใจ หรือเปนอุเบกขาเวทนา คือความรูสึกท่ียังเฉยๆ อยู เวทนาท้ังสอง ลักษณะในกรณีนี้ ยอมเปนปจจัยใหเกิดซ่ึง กามตัณหา ความทะยานอยาก ในกาม คือกามคุณ ๕ ไดแก รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส และก็เปนปจจัย ใหเกิดซ่ึง กามราคะ คือความกําหนัดติดใจในกามคุณอีกดวย แลวท้ัง กามตัณหาและกามราคะท่ีเกิดข้ึนน้ี ก็ยังเปนปจจัยตอเน่ืองไปใหเกิด ภวตัณหา ความทะยานอยากในภพ คือกามภพ อันเอื้ออํานวยแกการไดมาโดยงาย ซง่ึ กามวตั ถุ หรือกามคุณทน่ี า ปรารถนา ซึ่งแนนอนเมื่อมี กามตัณหา กามราคะ และภวตัณหาในกามภพ เปนปจจัย กามุปาทาน ความยึดติดถือมั่นในวัตถุกามนั้นๆ ก็จะเกิดขึ้น ตามมา พรอมกับการเพิ่ม ทิฏุปาทาน ความยึดติดถือม่ันในทิฏฐิ คือ ความเห็นวา วัตถุกามน้ันๆ เปนส่ิงที่ดีงาม นําความสุขมาให เปนส่ิงท่ี แนนอนเช่ือถือได เปนกามาวจรอิฏฐารมณ คือกามารมณท่ีนาปรารถนา ยงิ่ ๆ ข้นึ ไป นอกจากนี้ อัตตวาทุปาทาน การยึดติดถือมั่นในวาทะวาตน ก็จะ ไดรับการเสริมแรง ใหถลําลึกยึดแนนลงไปอีก เพราะเหตุสําคัญวา “ตน” นั้นเปน “เจาของ” อารมณ และเวทนาท่ีเกิดขึ้นสืบเน่ืองมาแตอารมณน้ันๆ มิหนําซํ้า ยิ่งมีการปฏิบัติในศีลพรต หรือขอวัตรใดๆ แลว มีสวนใหไดรับ กามาวจรอิฏฐารมณ คือกามารมณที่นาปรารถนาน้ันๆ โดยมีเวทนาเปน โสมนัส หรืออุเบกขาก็ตาม สีลัพพตุปาทาน ความยึดติดถือม่ันในศีลพรต นัน้ ๆ กจ็ ะถกู ตอกย้าํ ใหย ํ่าแย ยดึ ตดิ ยงิ่ ๆ ขน้ึ ไป 85


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook