Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุขศึกษา พลศึกษา ทช31002

สุขศึกษา พลศึกษา ทช31002

Published by clube.indy, 2020-04-18 01:16:26

Description: สุขศึกษา พลศึกษา ทช31002

Search

Read the Text Version

หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดาเนินชีวติ รายวชิ า สุขศึกษา พลศึกษา (ทช ) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ) หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั พืนฐาน พุทธศกั ราช สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ห้ามจาหน่าย หนงั สือเรียนเล่มนีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพือการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาดบั ที /

หนังสือเรียนสาระทกั ษะการดาเนนิ ชีวิต ) รายวชิ า สุขศึกษา พลศึกษา (ทช ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ลิขสิทธิเป็นของ สานกั งาน กศน. สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาดบั ที /

คาํ นาํ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 เมอื่ วนั ท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑแ ละวธิ ีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปน หลักสูตรท่ีพฒั นาขน้ึ ตามหลักปรชั ญาและ ความเชอื่ พ้ืนฐานในการจดั การศึกษานอกโรงเรียนที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมกี ารเรียนรูและสง่ั สม ความรแู ละประสบการณอ ยา งตอ เนื่อง ในปง บประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดก ําหนดแผนยุทธศาสตรใ นการขับเคลื่อนนโยบาย ทางการศกึ ษาเพือ่ เพิม่ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขง ขันใหประชาชนไดม ีอาชพี ทสี่ ามารถสราง รายไดท่ีม่ังคั่งและม่ันคง เปนบุคลากรท่ีมีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึก รับผิดชอบตอ ตนเองและผูอน่ื สํานกั งาน กศน. จึงไดพ จิ ารณาทบทวนหลกั การ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการ เรียนรูที่คาดหวัง และเน้อื หาสาระ ทง้ั 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ใหม ีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซ่ึงสง ผลใหต อ งปรับปรุงหนังสือเรยี น โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเนือ้ หาสาระเกย่ี วกบั อาชพี คุณธรรม จริยธรรมและการเตรยี มพรอ ม เพอ่ื เขา สปู ระชาคมอาเซียน ในรายวชิ าท่ีมคี วามเกยี่ วของสมั พันธกัน แต ยงั คงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควา ความรูดวยตนเอง ปฏิบัติ กิจกรรม ทาํ แบบฝกหดั เพื่อทดสอบความรคู วามเขา ใจ มีการอภิปรายแลกเปลย่ี นเรยี นรูก บั กลุม หรือ ศึกษาเพิ่มเตมิ จากภูมปิ ญ ญาทอ งถ่นิ แหลง การเรียนรูแ ละสอ่ื อืน่ การปรับปรุงหนังสือเรียนในคร้ังนี้ ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ สาขาวชิ า และผูเ กีย่ วของในการจัดการเรียนการสอนที่ศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อ ตา ง ๆ มาเรยี บเรยี งเน้ือหาใหค รบถว นสอดคลองกบั มาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวช้วี ัดและกรอบ เนอ้ื หาสาระของรายวิชา สาํ นกั งาน กศน.ขอขอบคณุ ผมู ีสว นเกยี่ วของทกุ ทานไว ณ โอกาสนี้ และหวงั วา หนงั สือเรียน ชุดนี้จะเปนประโยชนแ กผ ูเ รียน ครู ผูส อน และผเู ก่ยี วของในทกุ ระดับ หากมีขอ เสนอแนะ ประการใด สาํ นักงาน กศน. ขอนอมรบั ดวยความขอบคณุ ยง่ิ

สารบญั หนา คํานํา 1 คาํ แนะนําการใชแบบเรยี น 2 โครงสรางรายวิชา 5 บทท่ี 1 การทาํ งานของระบบในรา งกาย 11 13 เร่อื งที่ 1 การทาํ งานของระบบยอยอาหาร 16 เรื่องที่ 2 การทํางานของระบบขับถาย 24 เรอ่ื งที่ 3 การทาํ งานของระบบประสาท 28 เรอ่ื งท่ี 4 การทาํ งานของระบบสืบพนั ธุ 29 เรอ่ื งที่ 5 การทาํ งานของระบบตอ มไรท อ 30 เรอ่ื งท่ี 6 การดูแลรกั ษาระบบของรา งกายท่สี ําคญั 34 บทที่ 2 ปญหาเพศศึกษา 35 เร่อื งที่ 1 ทักษะการจดั การปญ หาทางเพศ 37 เร่อื งท่ี 2 ปญหาทางเพศในเดก็ และวัยรนุ 43 เรื่องท่ี 3 การจัดการกบั อารมณ และความตอ งการทางเพศ 44 เรื่องที่ 4 ความเชอ่ื ทผ่ี ดิ ๆ ทางเพศ 50 เรื่องที่ 5 กฎหมายท่เี ก่ียวขอ งกับการละเมดิ ทางเพศ 54 บทที่ 3 อาหารและโภชนาการ 62 เรอ่ื งที่ 1 โรคขาดสารอาหาร 63 เรอ่ื งที่ 2 การสุขาภิบาลอาหาร 67 เร่อื งที่ 3 การจดั โปรแกรมอาหารใหเหมาะสมกับบุคคลในครอบครวั 77 บทที่ 4 การเสรมิ สรางสุขภาพ 78 เรื่องที่ 1 การรวมกลุม เพอ่ื เสรมิ สรางสุขภาพในชมุ ชน 80 เรอ่ื งท่ี 2 การออกกาํ ลงั กายเพื่อสุขภาพ บทท่ี 5 โรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม เรอ่ื งท่ี 1 โรคทถ่ี ายทอดทางพันธกุ รรม เรื่องท่ี 2 โรคทางพนั ธุกรรมทสี่ าํ คัญ

บทที่ 6 ความปลอดภยั จากการใชย า 87 เรอ่ื งท่ี 1 หลกั การและวธิ กี ารใชย าทถี่ ูกตอ ง 88 เรอ่ื งที่ 2 อนั ตรายจากการใชยา 90 เรื่องท่ี 3 ความเชอื่ เก่ยี วกับการใชยา 96 บทท่ี 7 ผลกระทบจากสารเสพติด 101 เรอ่ื งท่ี 1 ปญ หาการแพรระบาดของสารเสพติดในปจ จุบนั 102 เรอ่ื งที่ 2 แนวทางการปองกนั การแพรร ะบาดของสารเสพติด 105 เร่ืองที่ 3 กฎหมายทีเ่ กีย่ วกบั สารเสพตดิ 108 บทท่ี 8 ทักษะชีวิตเพอื่ สุขภาพจิต 112 เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คญั ของทกั ษะชวี ิต 113 เร่ืองที่ 2 ทักษะการตระหนกั ในการรูต น 115 เรื่องท่ี 3 ทักษะการจัดการกบั อารมณ 118 เรื่องที่ 4 ทักษะการจดั การความเครียด 120 บทที่ 9 อาชีพจาํ หนา ยอาหารสาํ เร็จรูปตามสขุ าภบิ าล 123 เร่อื งท่ี 1 การถนอมอาหารโดยใชความรอ นสงู 124 เรอื่ งท่ี 2 การถนอมอาหารโดยใชค วามเย็น 128 เร่อื งที่ 3 การถนอมอาหารโดยการทาํ แหง 129 เรื่องที่ 4 การถนอมอาหารโดยการหมักดอง 132 เรื่องที่ 5 การถนอมอาหารโดยการใชรังสี 132 เรื่องท่ี 6 อาชีพจําหนา ยอาหารสาํ เร็จรปู ตามหลกั สขุ าภิบาล 135 เรื่องที่ 7 การจัดตกแตงรา นและการจดั สนิ คา อาหารสาํ เรจ็ รปู ตามหลกั สขุ าภิบาล 136 เรือ่ งท่ี 8 พฤตกิ รรมผูบรโิ ภคกับชองทางการจาํ หนายอาหารสําเร็จรปู 140 เรื่องท่ี 9 การบริหารจดั การธรุ กิจ 143 เรื่องท่ี 10 การกาํ หนดราคาขาย 144 เรื่องที่ 11 คุณธรรมในการประกอบอาชีพ 145 เรื่องที่ 12 หนว ยงานสงเสรมิ และสนบั สนนุ ในประเทศไทย 146 บรรณานกุ รม

คําแนะนาํ การใชหนงั สอื เรียน หนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา รหัส ทช 31002 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เปนหนังสือเรียนที่จัดทําขึ้น สําหรับผูเรียนท่ีเปนนักศึกษาการศึกษา นอกระบบในการศึกษาหนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนินชีวิต รายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา ผูเรียน ควรปฏบิ ัตดิ งั น้ี 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขา ใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวังและ ขอบขา ยเน้อื หาของรายวชิ านนั้ ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนดแลว ตรวจสอบกบั แนวคาํ ตอบของกิจกรรม ถา ผเู รยี นตอบผิดควรกลับไปศกึ ษาและทําความเขาใจในเนือ้ หา น้นั ใหมใ หเขาใจ กอ นท่ีจะศกึ ษาเรือ่ งตอ ๆ ไป 3. ปฏิบตั กิ จิ กรรมทายเร่ืองของแตละเรื่อง เพ่ือเปน การสรุปความรู ความเขาใจของเน้ือหาใน เรื่องนนั้ ๆ อกี ครัง้ และการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมของแตล ะเนื้อหา แตละเรื่อง ผเู รียนสามารถนาํ ไปตรวจสอบกับ ครูและเพ่อื น ๆ ที่รว มเรียนในรายวิชาและระดับเดียวกนั ได 4. หนงั สือเรยี นเลม น้ีมี 9 บท บทท่ี 1 เร่อื ง การทํางานของระบบในรา งกาย บทที่ 2 เรื่อง ปญหาเพศศึกษา บทที่ 3 เรอ่ื ง อาหารและโภชนาการ บทที่ 4 เรื่อง การเสรมิ สรางสขุ ภาพ บทที่ 5 เรอ่ื ง โรคที่ถายทอดทางพันธกุ รรม บทที่ 6 เรอ่ื ง ปลอดภัยจากการใชย า บทที่ 7 เรอ่ื ง ผลกระทบจากสารเสพติด บทที่ 8 เรอ่ื ง ทกั ษะชวี ติ เพอื่ สขุ ภาพชวี ิต บทท่ี 9 อาชพี จําหนา ยอาหารสาํ เร็จรูปตามสขุ าภิบาล

โครงสรางรายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทช31002) สาระสาํ คญั ศึกษา ฝก ปฏบิ ัติ และประยุกตใชเก่ียวกับสขุ ศกึ ษา พลศึกษา เร่ืองเกย่ี วกับระบบตาง ๆ ของรา งกาย เปาหมายชีวิต ปญหาเกี่ยวกับเพศศกึ ษา อาหารและโภชนาการ เสริมสรางสุขภาพ โรคท่ีถายทอดทาง พันธุกรรม ปลอดภัยจากการใชยา ผลกระทบจากสารเสพติด อันตรายรอบตัว และทักษะชีวิต เพือ่ สุขภาพจติ เพอ่ื ใชประโยชนใ นการวางแผนพฒั นาสุขภาพของตนเองและครอบครวั นาํ ไปประยกุ ตใช ในชีวิตประจําวนั ในการดาํ เนนิ ชวี ติ ของตนเอง และครอบครวั ไดอ ยา งเหมาะสม ปลอดภัย ผลการเรยี นทค่ี าดหวงั 1. อธิบายการทํางานของระบบตา ง ๆ ในรา งกายไดถกู ตอ ง 2. วางแผนเปาหมายชวี ติ ตลอดจนเรอ่ื งปญ หาเกย่ี วกบั เพศศกึ ษาได 3. เรียนรูเรื่องการวางแผนในการสรางเสริมสขุ ภาพเกีย่ วกับอาหาร 4. อธิบายถึงโรคที่ถายทอดทางพนั ธุกรรมได 5. วางแผนปอ งกนั เกี่ยวกับอุบตั เิ หตุ อบุ ัติภยั ไดอ ยางถกู ตอ ง 6. มีความรูใ นการพัฒนาทักษะชวี ิตใหด ไี ด ขอบขายเน้ือหา บทที่ 1 เรื่อง การทาํ งานของระบบในรางกาย บทท่ี 2 เร่อื ง ปญ หาเพศศึกษา บทที่ 3 เรื่อง อาหารและโภชนาการ บทที่ 4 เรอ่ื ง การเสรมิ สรา งสขุ ภาพ บทท่ี 5 เรอื่ ง โรคทถ่ี า ยทอดทางพนั ธุกรรม บทที่ 6 เรือ่ ง ความปลอดภัยจากการใชย า บทที่ 7 เรอ่ื ง ผลกระทบจากสารเสพติด บทที่ 8 เรื่อง ทกั ษะชีวิตเพือ่ สขุ ภาพจติ บทที่ 9 อาชพี จาํ หนา ยอาหารสําเรจ็ รูปตามสุขาภบิ าล

1 บทท่ี 1 การทาํ งานของระบบในรา งกาย สาระสําคญั พัฒนาการของมนุษยจ ะเกิดการเจริญเติบโตอยา งเปนปกติ หากการทํางานของระบบตาง ๆ ในรา งกายเปนไปอยา งราบร่ืนไมเ จ็บปวย จึงจําเปนตองเรียนรูถึงกระบวนการทํางาน การปองกนั และ การดูแลรกั ษาใหร ะบบตา ง ๆ เปนไปอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ผลการเรียนรทู ่คี าดหวงั 1. เขา ใจการทาํ งานของระบบตางๆ ในรา งกาย 1.1. การทํางานของระบบยอ ยอาหาร 1.2. การทํางานของระบบขบั ถา ย 1.3. การทาํ งานของระบบประสาท 1.4. การทํางานของระบบสบื พันธุ 1.5. การทาํ งานของระบบตอ มไรท อ 2. สามารถดแู ลรักษาปอ งกันความผิดปกติของระบบอวัยวะสําคญั 5 ระบบ รวมทั้งสรางเสริม และดาํ รงประสทิ ธภิ าพได ขอบขา ยเนือ้ หา เรื่องที่ 1 การทาํ งานของระบบยอยอาหาร เรอ่ื งที่ 2 การทาํ งานของระบบขับถา ย เรอื่ งท่ี 3 การทาํ งานของระบบประสาท เรอ่ื งที่ 4 การทาํ งานของระบบสืบพนั ธุ เรื่องที่ 5 การทาํ งานของระบบตอมไรท อ เร่ืองท่ี 6 การดูแลรกั ษาระบบของรา งกายที่สําคญั

2 การทํางานของระบบตาง ๆ ในรา งกาย การทํางานของระบบอวยั วะตา ง ๆ ภายในรางกาย เปนไปโดยธรรมชาตอิ ยางมีระเบียบและ ประสานสัมพันธก นั โดยอตั โนมัติ จึงเปนเรือ่ งท่ีเราตองศึกษา เรียนรูใหเขาใจเก่ียวกบั วธิ ีการสรางเสริม และการดาํ รงประสทิ ธภิ าพการทาํ งานของระบบอวัยวะเหลา นนั้ ใหใ ชงานไดนานทีส่ ดุ ระบบอวยั วะของรางกาย ทําหนาทีแ่ ตกตา งกนั และประสานกนั อยา งเปน ระบบ ซ่ึงระบบที่สําคัญ ของรางกาย 5 ระบบ มหี นา ที่และอวยั วะทเ่ี กย่ี วของ ดงั นี้ เรือ่ งท่ี 1 การทาํ งานของระบบยอ ยอาหาร มนุษยเปนผูบริโภคโดยการรับประทานอาหารเพ่ือใหรางกายเจริญเติบโต ดํารงอยูไดและ ซอมแซมสวนที่สึกหรอ มนุษยจ งึ มีระบบการยอยอาหารเพ่ือนาํ สารอาหารแรธาตแุ ละน้ําใหเปนพลังงาน เพื่อใชใ นการดํารงชีวิต การยอ ยอาหารเปน กระบวนการเปล่ยี นแปลงสารอาหารทม่ี ีขนาดใหญใหเลก็ ลงจนรางกายดดู ซึม ไปใชไ ด การยอ ยอาหารมี 3 ข้ันตอน คือ 1) การยอยอาหารในปาก เปนกระบวนการยอ ยอาหารในสวนแรก อวัยวะที่เกี่ยวขอ งกบั การยอย อาหาร ไดแก ฟนและตอมนํ้าลาย ทางเดินอาหารเริ่มตั้งแตปาก มีฟนทําหนา ทบ่ี ดอาหาร ตอมน้ําลาย จะหลัง่ นํา้ ลายมาเพ่อื ยอยแปง ในน้าํ ลายมีเมือกชว ยในการหลอล่ืนอาหารใหก ลืนไดสะดวก การหลัง่ น้ําลาย อาศัยรสและกลน่ิ อาหาร เมอ่ื อาหารถกู บดเคี้ยวในปากแลว จะเขา สูหลอดอาหารโดยการกลืน 2) การยอ ยอาหารในกระเพาะอาหาร เปนอวัยวะท่อี ยูต อ จากหลอดอาหาร ใตก ระบงั ลมดา นซาย ดา นลางติดกับลาํ ไสเลก็ มลี ักษณะเปนกระพุงรูปตวั เจ (J) ผนงั กน้ั เปน กลามเน้ือเรียบ ยืดหดไดดี การยอย ในกระเพาะอาหาร ผนงั กระเพาะอาหารมกี ลา มเนอ้ื แข็งแรง ยืดหยุนและขยายความจไุ ดถงึ 1,000 – 1,200 ลูกบาศกเซนตเิ มตร มกี ลา มเนอื้ หรู ูด 2 แหง คือ กลา มเน้อื หูรูดทีต่ อ กับหลอดอาหารและกลา มเนื้อหูรูดท่ี ตอกับลําไสเลก็ ผนังดานในของกระเพาะอาหารมีตอมสรางเอนไซมส ําหรับยอ ยอาหาร เม่ืออาหารเคล่ือน ลงสกู ระเพาะอาหารจะกระตนุ ใหมีการหลั่งเอนไซมออกมา ซ่ึงประกอบดวย กรดไฮโดรคอลิก (HCL) ชว ยเปลย่ี นเพปซโิ นเจนและไทรเรนนิน จากผนังกระเพาะใหเปนเพปซนิ และเรนนิน พรอมท่จี ะทํางาน ชว ยยอยโปรตนี นอกจากนีย้ ังสรางนาํ้ เมือกมฤี ทธ์ิเปนดาง (base) เคลือบกระเพาะอาหาร กรดในกระเพาะ อาหารจะทาํ ลายแบคทีเรียที่ติดมากบั อาหาร อาหารจะอยูใ นกระเพาะอาหารประมาณ 30 นาที ถงึ 3 ชวั่ โมง ขึ้นอยกู บั ชนดิ ของอาหาร โปรตนี จะถูกยอยในกระเพาะอาหารโดยเอนไซมเพปซิน กระเพาะอาหารมีการ ดูดซึมสารบางสวนได เชน สามารถดูดซมึ แอลกอฮอลไดด ถี งึ รอ ยละ 30-40

3 3) การยอ ยอาหารในลาํ ไส ลําไสเ ลก็ อยูตอจากกระเพาะอาหาร มีลักษณะเปนทอท่ีขดซอนกัน ไปมาในชองทอง ยาวประมาณ 5-7 เมตร ลําไสเ ลก็ จะผลิตเอนไซมเพ่ือยอยโปรตีน คารโ บไฮเดรตและ ไขมนั การยอ ยอาหารในลําไสเล็ก อาหารจะเคลอ่ื นจากกระเพาะอาหารผา นกลา มเนอื้ หรู ดู เขาสูล าํ ไสเ ลก็ การยอยอาหารในลําไสเ ลก็ เกิดจากการทาํ งานของอวัยวะ 3 ชนดิ คือ ตับออน ผนังลําไสเ ล็กและตับจะหลั่ง สารออกมาทาํ งานรว มกนั ตับออ น (Pancreas) ทาํ หนาทส่ี รา งฮอรโ มนควบคุมระดบั น้ําตาลในเลอื ดและเอนไซมในการยอ ย อาหาร เอนไซมท ส่ี รา งขึน้ จะอยใู นรปู ท่ียังทํางานไมได ตองอาศัยเอนไซมจากลําไสเปล่ียนสภาพท่ีพรอม จะทํางานได ซงึ่ เปน เอนไซมสําหรบั ยอยโปรตนี นอกจากนน้ั ยังสรางเอนไซมสําหรับยอยคารโ บไฮเดรต และไขมันอีกดวย นอกจากนี้ยงั สรา งสารโซเดยี มไฮโดรเจนคารบอเนตมฤี ทธ์เิ ปน (base) เพ่ือลดความเปน กรดจากกระเพาะอาหาร ผนงั ลาํ ไสเล็ก จะผลติ เอนไซมเ พอ่ื ยอยโปรตีน คารโบไฮเดรตและไขมนั ลําไสเล็กแบงออกเปน 3 สวน คือ - ลาํ ไสเ ล็กสว นตน หรอื เรียกวา ดูโอดนิ มั (Duodenum) - ลาํ ไสเ ล็กสวนกลาง หรือ เรยี กวา เจจนู มั (Jejunum) - ลาํ ไสเ ลก็ สว นปลาย หรอื เรียกวา ไอเลยี ม (Ileum) ตับ (Liver) ทําหนา ท่ีสรา งนํ้าดเี กบ็ ไวใ นถุงน้าํ ดี นาํ้ ดีมีสว นประกอบสําคัญ คือ นาํ้ ดชี วยใหไ ขมนั แตกตวั และละลายน้าํ ได ทําใหเ อนไซมลิเพสจากตับออนและลําไสเ ล็กยอยไขมันใหเปน กรดไขมันและ กลเี ซอรอล การดดู ซึม ลาํ ไสเ ปนบรเิ วณที่มกี ารดดู ซึมไดดที ีส่ ุด ผนงั ดา นในลําไสเลก็ เปน คล่นื และมีสวนยน่ื ออกมาเปน ปมุ เลก็ ๆ จาํ นวนมากเรยี กวา วลิ ลัส (villus) ท่ผี ิวดานนอกของเซลลวิลลัสมีสวนท่ีย่ืนออกไป อีก เรียกวา ไมโครวลิ ไล (microvilli) เพ่อื เพ่ิมพ้ืนทใ่ี นการดูดซึม ภายในวลิ ลัสแตละอันมีเสนเลือดและเสน นา้ํ เหลอื ง ซ่ึงจะรบั อาหารท่ยี อ ยแลวทซี่ ึมผา นผนงั บลุ ําไสเ ล็กเขามา

4 สารอาหารเกือบทกุ ชนิดรวมทงั้ วิตามินหลายชนิดจะถูกดูดซึมที่บริเวณดโู อดินัม สําหรับลําไส เล็กสว นเจจนู ัมจะดดู ซมึ อาหารพวกไขมัน สวนของไอเลยี มดูดซึมวติ ามนิ บี 12 และเกลอื น้าํ ดี สารอาหาร สว นใหญแ ละนํา้ จะเขา สูเ สน เลือดฝอย โมโนแซก็ คาไรด กรดอะมโิ นและกรดไขมันจะเขาสเู สนเลือดฝอย เขาสูเ สนเวน (vein) ผา นตับกอนเขาสูหวั ใจ โมโนแซก็ คาไรดที่ถกู ดูดซึมถา มมี ากเกินความตองการจะถูก สังเคราะหใหเปนไกลโคเจนเก็บไวท ีต่ บั และกลามเนื้อ ไกลโคเจนในตบั อาจเปล่ียนกลบั ไปเปนกลูโคสได อกี กลโู คสก็จะนํามาสลายใชใ นกิจกรรมตาง ๆ ของเซลล สวนไขมันจะเขาไปในกระแสเลือดถูกนําไปใชในดานตาง ๆ ใชเปนแหลงพลังงานซ่ึงเปน สว นประกอบของเยือ่ หมุ เซลลแ ละโครงสรา งอื่นๆ ของเซลล บางสวนเปลี่ยนไปเปนกลโู คส ไกลโคเจน และกรดอะมิโนบางชนดิ สว นที่เหลือจะเก็บสะสมไวในเซลลท่ีเก็บไขมัน ซึ่งมีอยูท ่ัวรางกายใตผิวหนัง หนาทอง สะโพกและตนขา อาจสะสมท่ีอวัยวะอืน่ ๆ อีก เชน ไต หัวใจ เปนตน ทาํ ใหป ระสิทธิภาพ ของการทาํ งานของอวัยวะเหลาน้ลี ดลง กรดอะมิโนท่ีไดรบั จากอาหาร จะถูกนําไปสรางเปนโปรตนี ใหมเ พื่อใชเ ปนสว นประกอบของ เซลลเนื้อเยอื่ ตาง ๆ ทาํ ใหร า งกายเจริญเตบิ โตหรอื มีการสรางเซลลใ หม รา งกายจะนําไขมันและโปรตีนมา ใชเ ปนแหลงพลงั งานไดในกรณที ่รี า งกายขาดคารโ บไฮเดรต โปรตนี ทเี่ กนิ ความตอ งการของรา งกายจะถกู ตับเปล่ียนใหเ ปน ไขมันสะสมไวใ นเนือ้ เยื่อ การเปลย่ี นโปรตนี ใหเปน ไขมนั จะมกี ารปลอ ยกรดอะมโิ นบาง ชนดิ ทเี่ ปน อนั ตรายตอตับและไต ในกรณีทขี่ าดอาหารพวกโปรตนี จงึ เปน ปญ หาทีส่ ําคัญอยางยิง่ เน่ืองจาก การเปลย่ี นแปลงกระบวนการทางเคมี เซลลต องใชเอนไซมซึ่งเปน โปรตีน ทั้งสน้ิ อาหารทเี่ หลือจากการยอ ยและดดู ซึมแลว จะผา นเขา สูลาํ ไสใ หญ เซลลท ่บี ุผนงั ลาํ ไสใหญสามารถ ดูดนํา้ แรธาตุและวติ ามนิ จากกากอาหารเขากระแสเลือด กากอาหารจะผานไปถงึ ไสตรง (rectum) ทา ยสุด ของไสตรงคือ ทวารหนักเปนกลามเนื้อหูรูดที่แข็งแรงมาก ทําหนาที่บีบตัวชวยในการขับถาย จาก การศึกษาพบวา อาหารทรี่ ับประทานเขาไปจะไปถึงบรเิ วณไสต รงในชั่วโมงท่ี 12 กากอาหารจะอยใู นลาํ ไส ตรงจนกวา จะเตม็ จงึ จะเกิดการปวดอุจจาระ และขับถา ยออกไปตามปกติ ภาพลาํ ไสใ หญ

5 เร่อื งที่ 2 การทํางานของระบบขบั ถาย ระบบขบั ถาย การขบั ถายเปน กระบวนการกําจัดของเสียทร่ี างกายไมตองการออกมาภายนอกรางกาย เรียกวา การขบั ถา ยของเสีย อวยั วะที่เกี่ยวของกับการกําจัดของเสีย ไดแก ปอด ผิวหนัง กระเพาะปสสาวะ และ ลาํ ไสใ หญ เปนตน ปอด เปน อวยั วะหนง่ึ ในรา งกายทม่ี คี วามสาํ คญั อยา งยงิ่ ในสัตวมีกระดูกสันหลัง ใชในการหายใจ หนาท่หี ลกั ของปอดก็คือการแลกเปลี่ยนกาซออกซิเจนจากส่ิงแวดลอมเขา สูระบบเลือดในรางกาย และ แลกเปลีย่ นเอากาซคารบ อนไดออกไซดอ อกจากระบบเลอื ดออกสูสิ่งแวดลอม ทํางานโดยการประกอบ กันข้ึนของเซลลเปนจํานวนลานเซลล ซ่ึงเซลลที่วาน้ีมีลักษณะเล็กและบางเรียงตัวประกอบกันเปนถุง เหมือนลกู โปง ซึง่ ในถงุ ลกู โปง นเี้ องที่มีการแลกเปล่ียนกาซตาง ๆ เกดิ ขึ้น นอกจากการทํางานแลกเปล่ียน กา ซแลว ปอดยังทําหนาทอี่ นื่ ๆ อกี คาํ วาปอดในภาษาองั กฤษ ใชค าํ วา lung มนษุ ยม ปี อดอยใู นทรวงอก มสี องขา ง คอื ขวาและซาย ปอดมีลักษณะนิม่ รา งกายจึงมกี ระดูกซ่โี ครงคอยปกปอ งปอดไวอีกชนั้ หนงึ่ ปอดแตล ะขางจะมีถงุ บาง ๆ 2 ช้ันหมุ อยู เรียกวา เยอ่ื หุมปอด เย่อื หุมปอดทเ่ี ปน ถงุ บาง ๆ 2 ชั้นนี้เรยี กวา เย่ือหุมปอดช้นั ใน และเยื่อหุม ปอดช้ันนอก เย่ือหุมปอดช้ันในจะแนบติดไปกับผิวของปอด สวนเยื่อหุมปอดชัน้ นอกจะแนบติดไปกบั ชอ งทรวงอกระหวา งเย่ือหมุ ปอด 2 ช้ันบาง ๆ นี้จะมชี องวาง เรยี กวา ชองเยือ่ หุม ในชองเย่ือหุม ปอดจะมี ของเหลวคอยหลอ ลืน่ อยู เรียกวา ของเหลวเย่ือหุมปอด ของเหลวน้จี ะชวยใหเยื่อหุมปอดแตล ะชัน้ สไลด ไปมาระหวางกันไดโ ดยไมเสียดสกี นั และของเหลวเยื่อหุมปอดก็ยงั ชวยยึดเยื่อหุม ปอดทั้งสองชน้ั ไวไ มใ ห แยกจากกันโดยงาย ปอดขางซา ยนน้ั มีขนาดเล็กกวา ปอดขา งขวา เพราะปอดขางซายตองเวน ทีเ่ อาไวใ ห หัวใจอยูในทรวงอกดว ย การทาํ งานของปอด การแลกเปล่ียนกาซและการใชออกซิเจน เมื่อเราหายใจเขา อากาศภายนอกจะเขาสูอวัยวะของ ระบบหายใจไปยงั ถุงลมในปอดที่ผนงั ของถุงลมมหี ลอดเลอื ดแดงฝอยติดอยู ดงั นั้น อากาศจึงมีโอกาส ใกลช ิดกับเม็ดเลือดแดงมาก ออกซิเจนก็จะผา นผนังน้ีเขาสูเม็ดเลือดแดง และคารบอนไดออกไซดก ็จะ ออกจากเม็ดเลือดผานผนงั ออกมาสูถ งุ ลม ปกตใิ นอากาศจะมีออกซเิ จนอยูรอยละ 20 แตอ ากาศท่ีเราหายใจ มอี อกซิเจนอยูรอ ยละ 13 การกาํ จัดของเสยี ทางปอด การกาํ จัดของเสยี ทางปอด กาํ จดั ออกมาในรูปของนํ้าและกา ซคารบอนไดออกไซด ซง่ึ เปนผลท่ี ไดจากกระบวนการหายใจ โดยนํ้าและกา ซคารบอนไดออกไซดแพรออกจากเซลลเขาสูหลอดเลือดและ เลอื ดจะทําหนา ท่ีลําเลียงไปยงั ปอด แลวแพรเขาสูถุงลมท่ีปอด หลังจากนั้นจึงเคล่อื นผา นหลอดลมแลว ออกจากรา ยกายทางจมกู ซึ่งเรยี กวา กระบวนการ Metabolism

6 7. ผวิ หนงั ผวิ หนงั ของคนเปนเนื้อเย่ือท่ีอยูช น้ั นอกสดุ ทีห่ อหุม รางกายเอาไว ผิวหนังของผูใ หญคนหน่ึง มีเน้ือท่ปี ระมาณ 3,000 ตารางนิ้ว ผิวหนังตามสวนตาง ๆ ของรา งกาย จะหนาประมาณ 14 มิลลิเมตร แตกตางกนั ไปตามอวัยวะ และบริเวณที่ถูกเสียดสี เชน ผิวหนังท่ีศอกและเขา จะหนากวาผิวหนงั ท่ีแขน และขา โครงสรา งของผวิ หนัง ผวิ หนังของคนเราแบงออกไดเ ปน 2 ชั้น คอื หนงั กําพรา และหนงั แท 1. หนงั กําพรา (Epidemis) เปน ผิวหนังทีอ่ ยูชั้นบนสุด มีลักษณะบางมาก ประกอบไป ดว ยเซลล เรียงซอนกันเปนชั้น ๆ โดยเร่ิมตน จากเซลลช ัน้ ในสุด ติดกับหนังแท ซ่ึงจะแบงตัวเติบโตขนึ้ แลว คอย ๆ เลื่อนมาทดแทนเซลลทีอ่ ยูช้ันบนจนถึงชน้ั บนสุด แลว ก็กลายเปนขไ้ี คลหลดุ ออกไป นอกจากนี้ ในชั้นหนังกําพรายงั มเี ซลล เรียกวา เมลานิน ปะปนอยดู ว ย เมลานินมมี าก หรอื นอยขึน้ อยกู ับบคุ คลและเชื้อชาติ จึงทําใหส ีผวิ ของคนแตกตางกันไป ในช้ันของหนังกําพรา ไมมี หลอดเลือด เสนประสาท และตอ มตา ง ๆ นอกจากเปนทางผา นของรเู หงอื่ เสนขนและไขมันเทา นนั้ 2. หนังแท (Dermis) เปน ผวิ หนงั ทอี่ ยชู ้ันลา ง ถดั จากหนังกาํ พรา และหนากวา หนังกําพรา มาก ผวิ หนงั ชน้ั น้ีประกอบไปดว ยเนอื้ เยอ่ื คอลลาเจน (Collagen) และอีลาสตนิ (Elastin) หลอดเลือดฝอย เสน ประสาท กลา มเนอื้ เกาะเสน ขน ตอ มไขมัน ตอ มเหงอ่ื และมีขุมขนกระจายอยทู ัว่ ไป หนา ท่ขี องผิวหนัง 1. ปองกนั และปกปด อวยั วะภายในไมใ หไ ดรบั อันตราย 2. ปองกนั เชอื้ โรคไมใหเขา สูรางกายโดยงาย 3. ขับถายของเสยี ออกจากรางกาย โดยตอ มเหงือ่ ทาํ หนา ท่ี ขับเหงือ่ ออกมา 4. ชวยรกั ษาอณุ หภมู ิของรางกายใหค งท่ี โดยระบบหลอดเลือดฝอยและการระเหยของเหงอื่ 5. รับความรูส กึ สมั ผัส เชน รอน หนาว เจบ็ ฯลฯ 6. ชว ยสรา งวิตามนิ ดีใหแกรางกาย โดยแสงแดดจะเปลย่ี นไขมันชนิดหน่งึ ทีผ่ ิวหนังใหเ ปน วติ ามินดีได 7. ขับไขมนั ออกมาหลอเลีย้ งเสนผม และขน ใหเงางามอยเู สมอและไมแ หง

7 การดูแลรักษาผวิ หนัง ทกุ คนยอ มมีความตองการมีผิวหนังทส่ี วยงาม สะอาด ไมเ ปน โรคและไมเห่ียวยนเกิน กวาวยั ฉะนน้ั จงึ ควรดูแลรกั ษาผิวหนงั ตัวเอง ดงั นี้ 1. อาบน้ําชาํ ระรา งกายใหสะอาดอยเู สมอ โดย 1.1 อาบน้าํ อยางนอ ยวันละ 2 ครัง้ ในเวลาเชา และเย็น เพอื่ ชวยชําระลา งคราบ เหงื่อไคลและความสกปรกออกไป 1.2 ฟอกตัวดว ยสบูที่มีฤทธเ์ิ ปน ดา งออน ๆ 1.3 ทาํ ความสะอาดใหทั่ว โดยเฉพาะบริเวณใตร ักแร ขาหนบี ขอพบั อวัยวะเพศ งา มนิ้วมือ น้ิวเทา ใตคางและหลงั ใบหู เพราะเปนท่อี บั และเกบ็ ความชื้น อยูไดน าน 1.4 ในขณะอาบน้ํา ควรใชน ิ้วมอื หรือฝา มือ ถตู วั แรง ๆ เพ่ือชวยใหรางกายสะอาด และยังชว ยใหการหมุนเวียนของเลือดดีขึ้น 1.5 เม่อื อาบนาํ้ เสร็จ ควรใชผาเชด็ ตัวทส่ี ะอาด เชด็ ตวั ใหแ หง แลวจึงคอ ยสวมเส้อื ผา 2. หลงั อาบนํ้า ควรใสเสื้อผาที่สะอาด และเหมาะสมกับอากาศและงานท่ีปฏบิ ัติ เชน ถาอากาศรอนก็ควรใสเ ส้อื ผาบาง เพอื่ ไมใ หเหงือ่ ออกมาก เปน ตน 3. กินอาหารใหถูกตองและครบถวนตามหลักโภชนาการ โดยเฉพาะอาหารท่ีมี วติ ามินเอ เชน พวกนํ้ามนั ตบั ปลา ตับสัตว เนย นม ไขแดง เครื่องในสัตว มะเขือเทศ มะละกอ รวมทั้งพืชใบเขียวและใบเหลือง วิตามินเอจะชวยใหผิวหนังชุมชื้น ไมเปน สะเก็ด ทําใหเลบ็ ไมเ ปราะและยังทําใหเ สนผมไมรวงงายอีกดว ย 4. ดื่มนา้ํ มาก ๆ เพ่อื ทําใหผ วิ หนังเปลงปล่ัง 5. ออกกาํ ลังกายสมา่ํ เสมอ เพอ่ื ชว ยใหก ารหมุนเวยี นของเลอื ดดีขนึ้ 6. ควรใหผ วิ หนงั ไดร ับแสงแดดสม่าํ เสมอ โดยเฉพาะเวลาเชา ซึง่ แดดไมจ ดั เกนิ ไป และ พยายามหลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดจา เพราะจะทําใหผ วิ หนังเกรียมและกรา นดํา 7. ระมดั ระวงั ในการใชเ ครือ่ งสาํ อาง เพราะอาจเกิดอาการแพหรือทําใหผิวหนังอักเสบ เปนอนั ตรายตอผิวหนังได หากเกดิ อาการแพต องเลิกใชเครอ่ื งสําอางชนดิ นน้ั ทนั ที 8. เม่ือมีสิ่งผดิ ปกตใิ ด ๆ เกดิ ขน้ึ กบั ผิวหนัง ควรปรกึ ษาแพทย

8 ระบบขบั ถา ยปส สาวะ อวัยวะทเ่ี ก่ยี วของกบั ระบบขับถา ยปสสาวะมี ดงั น้ี 1. ไต (Kidneys) มอี ยู 2 ขา ง รูปรา งคลา ยเมลด็ ถ่วั แดง อยทู างดางหลังของชองทองบรเิ วณเอว ไตขางขวามกั จะอยตู ่ํากวา ขางซายเล็กนอย ในไตจะมหี ลอดไต (Nephron หรือ Kidney Tubule) ประมาณ 1 ลานหลอด ทาํ หนา ทก่ี รองปสสาวะออกจากเลอื ด ดงั น้นั ไตจึงเปน อวัยวะสาํ คัญทใ่ี ชเปน โรงงานสําหรับ ขับถา ยปสสาวะดว ยการกรองของเสีย เชน ยูเรีย (Urea) เกลือแร และนาํ้ ออกจากเลือดที่ไหลผานเขา มาให เปน นา้ํ ปส สาวะแลว ไหลผานกรวยไตลงสทู อไตเขาไปเก็บไวที่กระเพาะปสสาวะ 2. กรวยไต (Pelvis) คอื ชอ งกลวงภายในทม่ี รี ปู รางเหมอื นกรวย สว นของกน กรวยจะติดตอกับ กานกรวย ซ่ึงกา นกรวยกค็ อื ทอไตนน่ั เอง 3. ทอไต (Ureter) มีลกั ษณะเปนทอออกมาจากไตท้ัง 2 ขาง เช่ือมตอกับกระเพาะปสสาวะ ยาวประมาณ 10 – 12 นิ้ว จะเปนทางผา นของปส สาวะจากไตไปสกู ระเพาะปส สาวะ 4. กระเพาะปส สาวะ (Urinary Bladder) เปนที่รองรบั นาํ้ ปสสาวะจากไตท่ผี านมาทางทอไต สามารถขยายได ขับปสสาวะไดประมาณ 1 ลิตร แตถาเกิน 700 ซีซี (ลูกบาศกเซนติเมตร) อาจเปน อันตรายได เมอ่ื มนี ้าํ ปสสาวะมาอยูใ นกระเพาะปสสาวะมากขึ้นจะรูสกึ ปวดปสสาวะ 5. ทอปสสาวะ (Urethra) เปนทอ ท่ตี อจากกระเพาะปส สาวะไปสูอ วยั วะเพศ ซึ่งของเพศชายจะ ผา นอยกู ลางองคชาต ซ่ึงทอ นี้จะเปนทางผานของปสสาวะเพื่อที่จะไหลออกสูภายนอก ปลายทอ จงึ เปน ทางออกของปส สาวะ ทอปสสาวะของเพศชายยาว 20 เซนตเิ มตร ของเพศหญิงยาว 4 เซนติเมตร

9 กระบวนการขบั ถายปส สาวะ กระบวนการทํางานในรางกายของคนเราจะทําใหเกิดของเสียตาง ๆ ออกจากเซลลเขาสูหลอด เลือด เชน ยูเรีย (Uria) แอมโมเนีย (Ammonia) กรดยูริก (Uric Acid) เปนตน แลวเลือดพรอมของเสีย ดงั กลาว จะไหลเวียนมาทีไ่ ต ในวันหนึ่ง ๆ จะมเี ลอื ดไหลผานไตเปนจํานวนมาก โดยเลือดจะไหลเวยี นสู หลอดเลือดยอ ยท่ีอยูในไต ไตจะทาํ หนา ที่กรองของเสียท่ีอยูในเลอื ด รวมท้งั นา้ํ บางสวนแลว ขบั ลงสูทอไต ซง่ึ เราเรียกน้ําและของเสียที่ถูกขบั ออกมานี้วา “นํา้ ปส สาวะ” เม่ือมนี ้าํ ปสสาวะผานเขา มา ทอ ไตจะบบี ตัว เปน ระยะๆ เพอ่ื ใหน้ําปสสาวะลงสกู ระเพาะปสสาวะทีละหยด จนมีนํ้าปสสาวะอยูใ นกระเพาะปส สาวะ ประมาณ 200 – 250 ซซี ี กระเพาะปส สาวะจะหดตวั ทําใหรูสกึ เรมิ่ ปวดปสสาวะ ถา มีปริมาณนาํ้ ปสสาวะ มากกวานี้จะปวดปสสาวะมากข้นึ หลังจากนน้ั น้าํ ปส สาวะจะถูกขับผานทอปสสาวะออกจากรางกายทาง ปลายทอปส สาวะ ในแตล ะวันรางกายจะขบั นา้ํ ปสสาวะออกมาประมาณ 1 – 1.5 ลติ ร แตท ้ังนี้ข้ึนอยกู ับ ปรมิ าณนา้ํ ทเ่ี ขา สูรางกาย จากอาหารและน้ําด่มื ดวยวา มีมากนอ ยเพยี งใด ถา มปี รมิ าณนํ้ามากน้ําปส สาวะก็ จะมีมาก ทําใหต องปสสาวะบอยครง้ั แตถ า ปริมาณนา้ํ เขา สูรา งกายนอยหรือถกู ขับออกทางเหงื่อมากแลว จะทาํ ใหนาํ้ ปส สาวะมนี อยลงดว ย การเสริมสรา งและดํารงประสิทธภิ าพการทํางานของระบบขับถายปสสาวะ 1. ดมื่ นาํ้ สะอาดมากๆ อยางนอ ยวนั ละ 6 – 8 แกว จะชวยใหร ะบบขบั ถายปสสาวะดีขึน้ 2. ควรปองกันการเปนน่ิวในระบบทางเดนิ ปส สาวะโดยหลีกเล่ียงการรับประทานผักท่ีมสี าร ออกซาเลต (Oxalate) สงู เชน หนอไม ชะพลู ผักแพรว ผักกระโดน เปนตน เพราะผักพวกนี้จะทําใหเกดิ การสะสมสารแคลเซียมออกซาเลต (Calcium Oxalate) ในไตและกระเพาะปสสาวะได แตควร รับประทานอาหารประเภทเนื้อสตั ว นม ไข ถ่วั ตาง ๆ เพราะอาหารพวกน้ีมสี ารฟอสเฟต (Phosphate) สูง จะชว ยลดอตั ราของการเกดิ นิว่ ในระบบทางเดินปสสาวะได เชน นิ่วในไต น่ิวในทอไต น่ิวในกระเพาะ ปสสาวะ เปน ตน 3. ไมควรกลั้นปสสาวะไวนานจนเกินไป เพราะอาจทําใหเกิดการติดเช้ือในระบบทางเดิน ปส สาวะได 4. เม่อื มีอาการผิดปกตเิ กี่ยวกบั ระบบทางเดนิ ปสสาวะควรรีบปรกึ ษาแพทย ระบบขับถายของเสยี ทางลาํ ไสใหญ รางกายมนุษยมีกลไกตาง ๆ คลา ยเครอ่ื งยนต รางกายตองใชพลังงาน การเผาผลาญพลังงานจะ เกดิ ของเสีย ซง่ึ ของเสียทร่ี า งกายตอ งกําจัดออกไปมอี ยู 2 ประเภท 1. สารทเ่ี ปนพษิ ตอรา งกาย 2. สารทม่ี ีปริมาณมากเกนิ ความตองการ

10 ระบบการขับถาย เปน ระบบที่รางกายขับถายของเสยี ออกไป ของเสยี ในรูปแกส คือ ลมหายใจ ของเหลว คือ เหงื่อและปส สาวะของเสียในรปู ของแข็งคืออจุ จาระ เชน - อวยั วะที่เก่ยี วของกบั การขบั ถายของเสยี ในรูปของแข็ง คอื ลําไสใ หญ (ดรู ะบบยอย อาหาร) - อวยั วะทีเ่ กย่ี วของกบั การขับถายของเสยี ในรูปของแกส คอื ปอด (ดูระบบหายใจ) - อวยั วะทีเ่ กย่ี วขอ งกับการขับถายของเสียในรูปของเหลว คือ ไตและผวิ หนัง - อวัยวะท่ีเกี่ยวของกบั การขับถา ยของเสียในรูปปสสาวะ คือ ไต หลอดไตและ กระเพาะปส สาวะ - อวยั วะที่เกีย่ วขอ งกับการขับถายของเสียในรูปเหง่อื คอื ผวิ หนัง ซง่ึ มตี อ มเหงื่ออยใู น ผิวหนงั ทาํ หนา ทข่ี บั เหง่อื การยอ ยอาหารจะสิน้ สุดลงบริเวณรอยตอ ระหวางลาํ ไสเล็กกับลําไสใหญ ลําไสใหญย าว ประมาณ 5 ฟุต ภายในมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 2.5 น้ิว เน่ืองจากอาหารท่ีลาํ ไสเลก็ ยอยแลว จะเปน ของเหลว หนาทีข่ องลําไสใหญค ร่งึ แรก คือ ดดู ซมึ ของเหลว นํา้ เกลือแรและนํ้าตาลกลโู คสที่ยังเหลืออยู ในกากอาหาร สว นลาํ ไสใหญครึง่ หลังจะเปนทพ่ี ักกากอาหารซง่ึ มีลกั ษณะกึง่ ของแข็ง ลําไสใ หญ จะขับเมือกออกมาหลอลื่นเพื่อใหอจุ จาระเคล่ือนไปตามลําไสใหญไดงายขึ้น ถาลําไสใหญดูดนํ้ามาก เกนิ ไป เนื่องจากการอาหารตกคา งอยใู นลาํ ไสใ หญหลายวนั จะทาํ ใหก ากอาหารแข็ง เกิดความลําบาก ในการขับถา ย ซ่ึงเรียกวา ทองผูก โดยปกติกากอาหารผานเขาสูลาํ ไสใ หญประมาณวันละ 300 - 500 ลกู บาศกเ ซนตเิ มตร ซึ่งจะทาํ ใหเ กิดอุจจาระประมาณวนั ละ 150 กรัม สาเหตขุ องอาการทอ งผกู 1. กนิ อาหารทม่ี ีกากอาหารนอ ย 2. กินอาหารรสจัด 3. การถา ยอจุ จาระไมเปนเวลาหรือกลนั้ อจุ จาระตดิ ตอกนั หลายวนั 4. ดม่ื น้าํ ชา กาแฟ มากเกินไป 5. สบู บหุ รจี่ ัดเกินไป 6. เกดิ ความเครยี ด หรือความกงั วลมาก

11 เร่อื งที่ 3 การทาํ งานของระบบประสาท ระบบประสาท ระบบประสาท (Nervous System) การทํางานของระบบประสาทเปนกระบวนการท่ีสลับซับซอนมาก และเปนระบบท่ีมี ความสัมพนั ธก ับการทํางานของระบบกลา มเนอื้ เพอ่ื ใหร า งกายสามารถปรบั ตวั ใหเ ขากับสภาพแวดลอม ทงั้ ภายในภายนอกรา งกาย ระบบประสาทนส้ี ามารถแบงแยกออก 3 สว น ดงั นี้ 1) ระบบประสาทสว นกลาง (Central nervous system : CNS) ระบบสวนน้ี ประกอบดว ย สมอง และไขสนั หลัง (Brain and Spinal cord) ซึง่ มหี นา ทด่ี งั ตอไปน้ี หนา ที่ของสมอง 1) ควบคมุ ความจําความคดิ การใชไ หวพรบิ 2) ควบคมุ การเคล่ือนไหวของกลา มเนอื้ โดยศูนยค วบคุมสมองดานซา ยจะไป ควบคุมการ ทาํ งานของกลามเนอื้ ดานขวาของรางกาย สว นศนู ยค วบคุมสมองดานขวาทาํ หนา ท่คี วบคมุ การทาํ งานของ กลามเนอื้ ดา นซายของรางกาย 3) ควบคมุ การพูด การมองเหน็ การไดยิน 4) ควบคมุ การเผาผลาญอาหาร ความหวิ ความกระหาย 5) ควบคมุ การกลอกลูกตา การปด เปด มา นตา 6) ควบคมุ การทํางานของกลามเนื้อใหทํางานสัมพนั ธกนั และชว ยการทรงตวั 7) ควบคมุ กระบวนการหายใจ การเตนของหวั ใจ การหดตวั และขยายตัวของเสน เลอื ด 8) สําหรบั หนาทขี่ องระบบประสาทที่มีตอ การออกกาํ ลังกาย ตอ งอาศยั สมองสว นกลางโดย สมองจะทาํ หนาที่นึกคิดท่จี ะออกกําลังกาย แลว ออกคาํ ส่ังสง ไปยังสมองเรียกวา Association motor areas เพือ่ วางแผนจดั ลาํ ดับการเคล่อื นไหว แลว จึงสงคําส่ังตอไปยงั ประสาทกลไก (Motor area) ซ่ึงเปนศูนยท่ี จะสงคาํ สงั่ ลงไปสูไ ขสันหลงั หนา ที่ของไขสันหลงั 1) ทําหนาท่ีสงกระแสประสาทไปยังสมอง เพือ่ ตีความและสัง่ การ และในขณะเดยี วกันกร็ ับ พลงั ประสาทจากสมองซ่ึงเปน คาํ ส่ังไปสูอวัยวะตาง ๆ 2) เปนศนู ยกลางของปฏิกิริยาสะทอ น (Reflex reaction) คือ สามารถที่จะทาํ งานไดทนั ที เพอ่ื ปอ งกนั และหลีกเล่ียงอันตรายท่ีอาจจะเกิดข้นึ กบั รางกาย เชน เมื่อเดนิ ไปเหยยี บหนามท่ีแหลมคมเทา จะยกหนที ันทโี ดยไมตอ งรอคําสง่ั จากสมอง 3) ควบคมุ การเจรญิ เติบโตของอวยั วะตางๆ ทม่ี ีเสนประสาทไขสันหลังไปสูอวัยวะตา ง ๆ ซ่งึ หนา ท่ีนีเ้ รียกวา ทรอพฟค ฟงช่ัน (Trophic function)

12 1) ระบบประสาทสวนปลาย (Peripheral nervous system : PNS) ระบบประสาทสวนปลาย เปน สว นทแี่ ยกออกมาจากระบบประสาทสว นกลาง คอื สวนทแี่ ยกออกมาจากสมองเรียกวา เสนประสาท สมอง (Cranial nerve) และสวนท่ีแยกออกมาจากไขสันหลัง เรียกวา เสน ประสาทไขสนั หลัง (Spinal nerve) ถาหากเสน ประสาทไขสนั หลังบรเิ วณใดไดรบั อนั ตราย จะสงผลตอการเคล่ือนไหวและความรูสึกของ อวยั วะทเ่ี สนประสาทไขสันหลงั ไปถึง ตัวอยางเชน เสนประสาทไขสันหลังบริเวณเอวและบริเวณกน ไดรับอนั ตราย จะมีผลตอ อวัยวะสว นลา ง คือ ขาเกือบทัง้ หมดอาจจะมีอาการของอัมพาตหมดความรูสกึ และเคลื่อนไหวไมได 2) ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic nervous system : ANS) ระบบประสาทอตั โนมตั สิ ว น ใหญจ ะทําหนาทีค่ วบคุมการทาํ งานของอวัยวะภายในและทํางานอยูนอกอาํ นาจจิตใจ แบงการทํางานได ออกเปน 2 กลมุ ดงั น้ี 1) ซมิ พาเทตกิ (Sympathetic divison) ทําหนาท่ีเรงการทาํ งานของอวยั วะภายในใหทํางาน เร็ว หนักและแรงข้ึน รวมทั้งควบคุมการแสดงทางอารมณมีผลทําใหหัวใจเตน เร็วขึ้น ความดันเลือด เพ่ิมข้ึน ตอ มตา งๆ ทาํ งานเพิม่ ขึ้น รวมทั้งงานที่ตอ งทาํ ในทันทีทันใด เชน ภาวะของความกลัว ตกใจ โกรธ และความเจ็บปวด หรอื เปน การกระทําเพื่อความปลอดภยั ของรา งกายในภาวะฉุกเฉิน ประสาทสว นนอ้ี อก จากเสน ประสาทไขสนั หลงั บริเวณอกและบรเิ วณเอว 2) พาราซิมพาเทตกิ (Parasympathetic divison) โดยปกติแลว ประสาทกลุมนจี้ ะทําหนา ที่ร้ัง การทํางานของอวัยวะภายใน หรือจะทํางานในชวงท่ีรางกายมีการพักผอน ประสาทสวนนี้มาจาก เสนประสาทกนกบและจากสมอง ในการทํางานท้ัง 2 กลมุ จะทํางานไปพรอม ๆ กัน ถากลุมหนึ่งทํางานมาก อีกกลมุ หนึ่งจะ ทาํ งานนอยลงสลบั กนั ไปและบางทีชว ยกันทาํ งาน เชน ควบคุมระดับน้ําในรา งกาย ควบคุมอุณหภูมิของ รา งกายใหอยูในระดบั ปกติ รวมทงั้ ควบคมุ การทาํ งานของอวัยวะภายในและตอมตาง ๆ ใหท ํางานอยางมี ประสิทธิภาพและเหมาะสม

13 เร่อื งที่ 4 การทาํ งานของระบบสบื พนั ธุ ระบบสืบพนั ธุ การสบื พันธุเ ปนสง่ิ ทที่ าํ ใหมนษุ ยด ํารงเผาพนั ธอุ ยูได ซึง่ ตอ งอาศัยองคประกอบสําคัญ เชน เพศชายและเพศหญิง แตล ะเพศจะมโี ครงสรางของเพศ และการสบื พันธซุ ง่ึ แตกตา งกนั 1) ระบบสบื พนั ธุของเพศชาย อวัยวะสืบพันธุข องเพศชายสว นใหญจะอยูภ ายนอกลําตวั ประกอบดว ยสวนทส่ี าํ คัญ ๆ ดงั น้ี 1.1 ลงึ คหรือองคชาต (Penis) เปน อวัยวะสบื พันธขุ องเพศชาย รูปทรงกระบอก อยูดานหนา ของหัวเหนา บริเวณดานหนาตอนบนถึงอัณฑะ มีลักษณะยื่นออกมา ประกอบดวยกลา มเน้ือท่ีเหนียว แตม ลี กั ษณะนุม และอวัยวะสวนน้ีสามารถยดื และหดได โดยท่ัวไปแลวลึงคจะมขี นาดปกติยาวประมาณ 5 – 6 เซนติเมตร และมีเสนผานศูนยกลางประมาณ 2.5 เซนติเมตร ท่ีบริเวณตอนปลายลึงคจะมี เสนประสาทและหลอดเลือดมาเล้ยี งอยูเปน จาํ นวนมาก จึงทาํ ใหร ูสกึ ไวตอการสัมผัส เมอ่ื มีความตองการ ทางเพศเกดิ ขึ้น ลงึ คจะแขง็ ตวั และเพ่ิมขนาดขึ้นประมาณเทา ตวั เนอ่ื งมาจากการไหลค่ังของเลือดที่บรเิ วณ น้มี มี าก และในขณะท่ีลึงคแ ข็งตัวนน้ั จะพบวา ตอมเล็ก ๆ ทอี่ ยูในทอปสสาวะจะผลิตน้ําเมือกเหนยี ว ๆ ออกมา เพอ่ื ชวยในการหลอ ลน่ื และทาํ ใหต วั อสุจิสามารถไหลผานออกสูภายนอกได 1.2 อณั ฑะ (Testis) ประกอบดว ย ถุงอัณฑะ เปนถุงที่หอ หุมตอ มอัณฑะไว มีลักษณะเปน ผิวหนังบาง ๆ สคี ลาํ้ และมีรอยยน ถุงอณั ฑะจะหอ ยติดอยกู ับกลา มเน้อื ชนิดหน่งึ และจะหดหรือหยอนตัว เมอ่ื อณุ หภูมขิ องอากาศเปล่ยี นแปลง เพอ่ื ชว ยรักษาอณุ หภูมิภายในถุงอณั ฑะใหเหมาะสมกับการสรา งตัว อสุจิ ตอมอัณฑะมีอยู 2 ขาง ทําหนาที่ผลิตเซลลสืบพันธุเพศชายหรือเชื้ออสุจิ (Sperm) มีลักษณะรูปราง คลายกบั ไขไกฟองเลก็ ๆ มีความยาวประมาณ 4 เซนติเมตร หนาประมาณ 2 – 3 เซนติเมตร และหนักประมาณ 15 - 30 กรมั โดยปกติแลว ตอมอัณฑะขางซา ยจะใหญก วาตอ มอัณฑะขา งขวาเล็กนอย ตอมอณั ฑะทั้งสอง จะบรรจอุ ยภู ายในถงุ อณั ฑะ (Scrotum) ภายในลกู อัณฑะจะมหี ลอดเลก็ ๆ จาํ นวนมาก ขดเรียงกันอยเู ปน ตอน ๆ เรียกวา หลอดสราง เชื้ออสจุ ิ (Seminiferous tubules) มหี นา ทผี่ ลิตฮอรโ มนเพศชายและตวั อสุจิ สว นท่ดี านหลังของตอมอณั ฑะ แตล ะขา ง จะมกี ลมุ ของหลอดเล็ก ๆ อกี มากมายขดไปขดมา ซงึ่ เรียกวา หลอดเก็บตัวอสุจิหรือกลุมหลอด อสจุ ิ (Epididymis) ซง่ึ ทําหนา ทีเ่ กบ็ เชอ้ื อสุจิชว่ั คราว เพือ่ ใหเชอ้ื อสจุ ิเจริญเตบิ โตไดเต็มที่ 1.3 ทอนาํ ตัวอสุจิ (Vas deferens) อยเู หนอื อัณฑะ เปนทอยาวประมาณ 18 นิว้ ฟตุ ซ่งึ ตอมา จากทอพกั ตัวอสจุ ิ ทอน้ีจะเปน ชองทางใหตัวอสุจิ (Sprem) ไหลผา นจากทอ พักตวั อสจุ ิไปยงั ทอของถุงเก็บ อสจุ ิ 1.4 ทอพักตัวอสุจิ (Epidymis) อยูเหนือทอนําตัวอสุจิ ทอนี้มีลกั ษณะคลายรูปดวงจนั ทร ครึ่งซกี ซึง่ หอ ยอยูติดกับตอ มอัณฑะสว นบนคอ นขางจะใหญเ รียกวา หัว(Head) และจากสวนหัวจะเปนตัว(Body) และเปนหาง (Tail) นอกจากน้ี ทอน้ียังประกอบดวยทอที่คดเคี้ยวจํานวนมาก เม่ือตัวอสุจิถูกสรา งข้ึน มาแลว จะถูกสง เขา สูทอนี้ เพ่ือเตรยี มท่ีจะออกมาสทู อ ปส สาวะ

14 1.5 ตอ มลกู หมาก (Prostate gland) มลี ักษณะคลา ยลูกหมาก เปนตอ มที่หุมสวนแรกของ ทอ ปส สาวะไวและอยูใตกระเพาะปส สาวะ ตอมนท้ี ําหนาทีห่ ลั่งของเหลวทม่ี ีลกั ษณะคลายนม มีฤทธเ์ิ ปน ดางอยา งออ น ซึ่งขบั ออกไปผสมกับน้ําอสุจิที่ถกู ฉีดเขามาในทอปสสาวะ ของเหลวดังกลา วนี้จะเขาไป ทําลายฤทธิ์กรดจากนํา้ เมอื กในชอ งคลอดเพศหญิง เพอื่ ปอ งกันไมใหต ัวอสจุ ิถกู ทําลายดว ยสภาพความเปน กรดและเพ่อื ใหเ กดิ การปฏสิ นธขิ ้ึน เซลลสืบพันธุเพศชายซง่ึ เรยี กวา “ตัวอสุจิหรือสเปรม” น้ัน จะถูกสรางข้นึ ในทอผลิตตัวอสุจิ (Seminiferous tubules) ของตอมอัณฑะ ตัวอสุจิ มีรูปรางลักษณะคลายลูกออดหรือลูกกบแรกเกิด ประกอบดวยสวนหัวซ่ึงมีขนาดโต สวนคอคอดเล็กกวาสวนหัวมาก และสวนของหางเล็กยาวเรียว ซงึ่ ใชใ นการแหวกวา ยไปมา มีขนาดลาํ ตัวยาวประมาณ 0.05 มลิ ลิเมตร ซึ่งมีขนาดเล็กกวาไขข องเพศหญิง หลายหมื่นเทา หลงั จากตวั อสุจถิ ูกสรา งขึ้นในทอผลิตตวั อสจุ ิแลวจะฝงตัวอยูในทอพักตัวอสุจิจนกวา จะ เจริญเต็มที่ ตอจากนน้ั จะเคลอ่ื นท่ีไปยงั ถงุ เกบ็ ตัวอสุจิ ในระยะน้ีตอมลูกหมากและตอมอื่น ๆ จะชวยกัน ผลิตและสงของเหลวมาเลย้ี งตัวอสุจิ และจะสะสมไวจนถงึ ระดับหนง่ึ ถาหากไมมีการระบายออกดวยการ มีเพศสัมพนั ธ รา งกายกจ็ ะระบายออกมาเอง โดยใหน าํ้ อสจุ เิ คลื่อนออกมาตามทอปส สาวะในขณะท่ีกําลัง นอนอยู ซึง่ เปน การลดปริมาณน้ําอสุจใิ หนอยลงตามธรรมชาติ ตวั อสุจปิ ระกอบดวยสวนหวั ที่มนี ิวเคลยี สอยูเ ปนท่เี ก็บสารพนั ธกุ รรม ปลายสุดของหัวมีเอนไซม ยอยผนังเซลลไ ขหรอื เจาะไขเพอ่ื ผสมพนั ธุ ถดั จากหัวเปนสวนของหางใชในการเคลื่อนทขี่ องตวั อสจุ ิ

15 2) ระบบสืบพนั ธขุ องเพศหญงิ อวยั วะสืบพันธขุ องเพศหญงิ สวนใหญจะอยูภายในลําตวั ประกอบดว ยสวนทส่ี ําคญั ๆ ดงั น้ี 2.1 ชอ งคลอด (Vagina) อยสู วนลา งของทอง มลี กั ษณะเปนโพรงซ่ึงมีความยาว 3 – 4 นวิ้ ฟตุ ผนงั ดา นหนาของชองคลอดจะตดิ อยูก บั กระเพาะปสสาวะ สวนผนงั ดานหลังจะติดกับสวน ปลายของลําไสใหญ ซึ่งอยูใกลทวารหนัก ท่ีชองคลอดนั้นมีเสนประสาทมาเล้ียงเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะอยา งย่งิ ทีบ่ รเิ วณรอบรเู ปดชองคลอด นอกจากน้ี รูเปดของทอปสสาวะในเพศหญงิ น้ันจะเปด ตรงเหนอื ชอ งคลอดขนึ้ ไปเล็กนอ ย 2.2 คลิทอริส (Clitoris) เปนปุมเล็ก ๆ ซ่ึงอยูบนสุดของรูเปดชองคลอด มีลักษณะ เหมือนกับลึงค (Penis) ของเพศชายเกือบทกุ อยาง แตขนาดเลก็ กวาและแตกตางกันตรงที่วาทอ ปส สาวะ ของเพศหญิงจะไมผานผา กลางคลติ อริสเหมือนกับในลึงค ประกอบดวยหลอดเลือดและเสนประสาท ตางๆ มาเลีย้ งมากมายเปน เน้ือเยอ่ื ทีย่ ืดไดห ดไดแ ละไวตอความรสู กึ ทางเพศ ซ่งึ เปรยี บไดก ับปลายลึงคข อง เพศชาย 2.3 มดลกู (Uterus) เปนอวัยวะท่ปี ระกอบดวยกลามเนื้อ และมลี กั ษณะภายในกลวง มีผนงั หนาอยูระหวางกระเพาะปสสาวะซึง่ อยขู างหนา และสว นปลายลําไสใหญ (อยูใกลท วารหนัก) ซึ่งอยูขาง หลงั ไขจ ะเคลื่อนตัวลงมาตามทอ รังไข เขา ไปในโพรงของมดลูก ถาไขไ ดผ สมกับอสุจิแลวจะมาฝงตัวอยู ในผนงั ของมดลกู ทห่ี นาและมเี ลอื ดมาเล้ียงเปน จํานวนมาก ไขจ ะเจริญเตบิ โตเปนตัวออนตรงบริเวณนี้ 2.4 รังไข (Ovary) มีอยู 2 ตอม ซึ่งอยูในโพรงของอุงเชิงกราน มีรปู รางคอนขางกลมเล็ก มนี า้ํ หนักประมาณ 2 – 3 กรัม ขณะทีย่ ังเปนตัวออนตอมรังไขจ ะเจริญเติบโตในโพรงของชอ งทองและเมอ่ื คลอดออกมาบางสว นจะอยใู นชองทอ ง และบางสว นจะอยูในอุง เชิงกราน ตอมาจะคอย ๆ เคล่อื นลดลงต่ําลง มาอยใู นองุ เชงิ กราน นอกจากน้ี ตอ มรังไขจะหลง่ั ฮอรโ มนเพศหญิงออกมาทําใหไ ขสุก และเกดิ การตกไข 2.5 ทอนําไข (Fallopain tubes) ภายหลงั ที่ไขหลุดออกจากสว นทห่ี อ หุม (Follicle) แลวไข จะผา นเขา สูทอรังไข ทอนี้ยาวประมาณ 6 – 7 เซนตเิ มตร ปลายขางหนงึ่ มีลักษณะคลายกรวยซ่ึงอยูใกลกับ รงั ไข สว นปลายอกี ขา งหนึ่งนั้นจะเรยี วเล็กลงและไปติดกับมดลูก ทอ รังไขจะทําหนาท่ีนําไขเ ขาสมู ดลูก โดยอาศัยการพดั โบกของขนท่ปี ากทอ (Fimbriated end of tube) ซึ่งทาํ หนา ท่ีคลายกับนิ้วมอื จับไขใสไป ในทอ รงั ไขและอาศัยการหดตวั ของกลามเนอื้ เรยี บ

16 เซลลสืบพันธุเพศหญิงหรือไขนั้น สรางโดยรังไข ไขจะเร่ิมสุกโดยการกระตุนของฮอรโมนจากตอม พิทอู ิทารี เพื่อเตรยี มที่จะสืบพันธุตอไป รังไขแตละขางจะผลิตไขสลับกันขางละประมาณ 28 – 30 วัน โดยผลิตครั้งละ 1 ใบ เม่ือไขสุกจะหลุดออกจากรังไขมาตามทอรังไข ในระยะน้ผี นังมดลกู จะมีเลือด มาหลอ เลย้ี งเยื่อบุมดลูกมากขึ้น เพอื่ เตรยี มรอรับไขท ่จี ะไดรับการผสมแลว จะมาฝงตัวลงท่เี ยอื่ บุมดลกู ตรง ผนังมดลกู นี้และเจริญเติบโตเปนทารก แตถ า ไขไมไ ดร ับการผสมจากตัวอสุจิ ไขจะสลายตัวไปพรอมกับ เย่ือบมุ ดลกู และจะออกมาพรอมกบั เลือด เรยี กวา ประจําเดือน เรอื่ งที่ 5 การทํางานของระบบตอ มไรทอ ระบบตอ มไรทอ ในรางกายของมนุษยมตี อมในรางกาย 2 ประเภท คือ 1) ตอ มมีทอ (Exocrine gland) เปนตอมที่สรา งสารเคมีออกมาแลวสงไปยังตําแหนงออกฤทธ์ิ โดยอาศัยทอลําเลียงของตอมโดยเฉพาะ เชน ตอมน้ําลาย ตอมสรางเอนไซมยอยอาหาร ตอมน้ําตา ตอ มสรางเมือก ตอมเหงอื่ ฯลฯ 2) ตอมไรทอ (Endocrine gland) เปนตอ มท่ีสรางสารเคมีขึ้นมาแลวสงไปออกฤทธิ์ยังอวัยวะ เปา หมาย โดยอาศัยระบบหมนุ เวียนเลือด เนื่องจากไมม ีทอลําเลยี งของตอ มโดยเฉพาะ สารเคมีน้ีเรียกวา ฮอรโ มน ซึง่ อาจเปน สารประเภทกรดอะมิโน สเตรอยด ตอมไรทอ มอี ยหู ลายตอมกระจายอยใู นตําแหนงตางๆ ทว่ั รางกาย ฮอรโมนทผ่ี ลติ ขึ้นจากตอม ไรทอมีหลายชนิด แตละชนิดทํางานแตกตางกัน โดยจะควบคุมการทํางานของอวัยวะตาง ๆ อยาง เฉพาะเจาะจง เพื่อใหเกิดการเจริญเติบโต กระตุนหรือยบั ยง้ั การทํางาน ฮอรโมนสามารถออกฤทธไ์ิ ด โดยใชปริมาณเพียงเลก็ นอย ตอมไรทอ ท่ีสาํ คญั มี 7 ตอ ม ไดแก 2.1 ตอมใตส มอง (Pituitary gland) ตาํ แหนงที่อยู ตอมใตสมองเปนตอมไรทอ อยูตรงกลางสวนลางของสมอง (hypophysis) ตอมนี้ขับสารท่ีมลี ักษณะขุนขาวคลายเสมหะ จึงเรียกวา ตอ ม พิทูอิตารี (pituitary gland) ตอมใตส มอง ประกอบดวยเซลลท ่มี ีรูปรา งแตกตางกันมากชนดิ ที่สดุ ขนาดและลักษณะท่วั ไป ตอมใตสมองของเพศชายหนักประมาณ 0.5 – 0.6 กรัม ของ เพศหญงิ หนกั กวาเล็กนอย คอื ประมาณ 0.6 – 0.7 กรมั หรือบางรายอาจหนักถงึ 1 กรัม

17 ตอมใตสมอง แบงออกเปน 3 สว น คือ ตอ มใตสมองสวนหนา (anterior lobe) ตอมใตส มอง สวนกลาง (intermediate lobe) และตอมใตส มองสว นหลัง (posterior lobe) ตอมใตส มองทั้งสามสว นน้ี ตา งกนั ทโี่ ครงสรา ง และการผลติ ฮอรโมน ฮอรโมนที่ผลติ จากตอ มใตสมองมีหนาท่ีควบคุมการเจริญเติบโตของรา งกาย การทํางานของ ตอ มไทรอยด ตอมหมวกไต การทาํ งานของไต และระบบสบื พันธุ 2.1 ตอ มไทรอยด (thyroid) ตอมไทรอยดมีลกั ษณะเปนพู 2 พู อยูสองขา งของคอหอย โดยมีเย่ือบาง ๆ เชื่อมติดตอ ถึงกัน ได ตอมน้ีถอื ไดวา เปนตอมไรทอท่ีใหญท ่ีสดุ ในรางกาย มีเสนเลือดมาหลอเลี้ยงมากทส่ี ุดมีนํา้ หนักของ ตอ มประมาณ 15 – 20 กรัม ตอมไทรอยดมเี สน เลือดมาเลย้ี งมากมาย ตอมไทรอยดผลิตฮอรโมนทสี่ าํ คญั ไดแก 1) ฮอรโมนไธรอกซิน (thyroxin hormone) ทาํ หนา ที่ควบคมุ การเผาผลาญสารอาหารกระตุน การเปลีย่ นไกลโคเจนไปเปนกลูโคสและเพิ่มการนํากลูโคสเขาสูเซลลบทุ างเดินอาหาร จงึ เปนตัวเพิ่มระดับ นา้ํ ตาลกลโู คสในเลือด ความผดิ ปกตเิ กีย่ วกบั ระดับฮอรโมนไธรอกซนิ (1) คอหอยพอกธรรมดา (Simple goiter) เปนลักษณะที่เกิดข้นึ โดยตอมขยายใหญ เน่อื งจากตอ มใตสมองสว นหนา สรา ง ไทรอยดสตมิ เู ลตงิ ฮอรโ มน ( thyroid-stimulating hormone ) เรยี กยอ ๆ วา TSH ทําหนา ทกี่ ระตนุ ตอ มไทรอยดใ หหล่งั ออรโมนเปนปกติ) มากระตนุ ตอมไทรอยดมาก เกนิ ไป โดยท่ีตอ มนไ้ี มสามารถสรางไธรอกซนิ ออกไปยับยัง้ การหลงั่ TSH จากตอมใตสมองได (2) คอหอยพอกเปนพษิ (Toxic goiter) เกดิ ขน้ึ เนื่องจากตอ มไทรอยดส รางฮอรโมนมาก เกนิ ไป เพราะเกดิ ภาวะเน้ืองอกของตอ ม (3) คอหอยพอกและตาโปน (Exophthalmic goiter) เกดิ ขึ้นเน่อื งจากตอมไทรอยดสราง ฮอรโ มนมากผดิ ปกติ เพราะไดร ับการกระตุนจาก TSH ไทรอยดส ตมิ ูเลติง ฮอรโมน (thyroid-stimulating hormone เรียกยอ ๆ วา TSH) มากเกนิ ไปหรือภาวะเนือ้ งอกของตอมก็ได คนปวยจะมีอัตราการเผาผลาญ สารอาหารในรางกายสงู รางกายออ นเพลียนาํ้ หนกั ลดทั้งๆทีก่ นิ จุ หายใจแรงและเร็ว ตอบสนองตอสิ่งเราไดไ ว

18 อาจเกดิ อาการตาโปน (exophthalmos) จากการเพม่ิ ปริมาณของนํา้ และเนือ้ เยอ่ื ทีอ่ ยหู ลังลกู ตา โรคน้พี บใน หญงิ มากกวาในชาย (4) ครติ นิ ิซมึ (Cretinnism) เปน ความผดิ ปกตขิ องรา งกายทีเ่ กดิ จากตอ มไทรอยดฝ อ ใน วัยเด็ก หรือพิการตั้งแตกําเนดิ ทําใหการเจรญิ เติบโตของกระดูกลดลง รา งกายเตี้ย แคระแกร็น การ เจริญเติบโตทางจิตใจชาลงมภี าวะปญ ญาออน พุงย่ืน ผวิ หยาบแหง ผมบาง (5) มกิ ซดี มี า (Myxedema) เกิดขนึ้ ในผใู หญ เน่ืองจากตอ มไทรอยดห ล่ังฮอรโ มนออกมา นอยกวาปกติ ผูปวยจะมอี าการสําคัญ คือ การเจริญทั้งทางรางกายและจติ ใจ ชาลง มีอาการชกั ผิวแหง หยาบเหลือง หัวใจ ไตทํางานชาลง เกิดอาการเฉื่อยชา ซึม ความจําเสอ่ื ม ไขมันมาก รางกายออนแอ ติดเชอื้ งาย โรคนพี้ บในเพศหญงิ มากกวา เพศชาย 2) ฮอรโมนแคลซิโทนิน (Calcitonin) เปนฮอรโมนอีกชนิดหนึ่งท่ีมาจากตอมไทรอยด ทําหนาท่ีลดระดับแคลเซียมในเลือดท่ีสูงเกินปกติใหเ ขาสรู ะดับปกติโดยดึงแคลเซียมสวนเกนิ ไปไวที่ กระดูก ดังน้ันระดับแคลเซียมในเลือดจึงเปนส่งิ ควบคุมการหล่ังฮอรโมนน้ีและฮอรโมนนี้จะทํางาน รว มกับฮอรโ มนจากตอ มพาราไธรอยดแ ละวิตามนิ ดี 2.2 ตอ มพาราไธรอยด (parathyroid gland) ตอมพาราไธรอยดเปนตอมไรทอ ท่ีมนี ้ําหนักนอ ยมาก ติดอยูกับเนื้อของตอมไธรอยดทาง ดา นหลัง ในคนมีขา งละ 2 ตอม มลี กั ษณะรูปรา งเปน รูปไขข นาดเล็กมีสนี ํ้าตาลแดงหรือนํา้ ตาลปนเหลือง มีน้าํ หนกั รวมท้งั 4 ตอ ม ประมาณ 0.03 – 0.05 กรัม ฮอรโมนท่สี าํ คญั ที่สรา งจากตอมน้ี คือ พาราธอรโมน (Parathormone) ฮอรโมนนท้ี ําหนาท่ี รกั ษาสมดลุ ของแคลเซยี ม และฟอสฟอรัสในรา งกายใหคงท่ี โดยทํางานรวมกับแคลซโิ ตนนิ เน่ืองจาก ระดับแคลเซยี มในเลอื ดมคี วามสาํ คญั มาก เพราะจาํ เปนตอการทํางานของกลามเน้ือประสาทและการเตน ของหัวใจ ดงั น้นั ตอมพาราธอรโมนจึงจดั เปนตอมไรทอท่ีมคี วามจําเปน ตอ ชีวติ 2.3 ตอ มหมวกไต (adrenal gland) ตอ มหมวกไต อยเู หนอื ไตท้ัง 2 ขา ง ลักษณะตอ มทางขวาเปนรูปสามเหล่ยี ม สวนทางซา ยเปน รปู พระจันทรค รงึ่ เสี้ยว ตอมน้ีประกอบดว ยเน้ือเยื่อ 2 ชนิด คือ อะดรีนัลคอรเทกซ (adrenal cortex) เปน เนื้อเยื่อชนั้ นอกเจริญมาจากเน้ือเยื่อชั้นมีโซเดิรม (Mesoderm) และอะดีนลั เมดุลลา (adrenal medulla) เน้ือเย่ือชนั้ ในเจริญมาจากสวนเนอื้ เย่อื ชน้ั นวิ รลั เอกโตเดิรม (neural ectoderm) ดังน้ัน การทํางานของ ตอมหมวกไตช้นั เมดุลลาจึงเกย่ี วของกับระบบประสาทซมิ พาเธตกิ ซ่ึงผลติ ฮอรโมนชนิดตา ง ๆ ดังน้ี

19 1) อะดรนี ลั คอรเทกซ ฮอรโ มนจากอะดรนี ัล คอรเ ทกซ ปจจุบันนีพ้ บวา อะดรนี ัล คอรเ ทกซ เปน ตอมไรท อ ทสี่ ามารถสรา งฮอรโมนไดม ากท่ีสุดกวา 50 ชนิด ฮอรโมนท่ีผลิตขึ้นแบงออกเปน 3 กลุม ตามหนาท่ี คือ (1) ฮอรโมนกลูโคคอรตคิ อยด (Glucocorticoid) ทําหนา ที่ควบคุมเมตาบอลิซึมของ คารโ บไฮเดรตเปน สําคญั นอกจากนี้ยังควบคมุ เมตาบอลิซมึ ของโปรตีนและไขมัน รวมท้ังสมดลุ เกลือแร ดวยแตเปนหนาที่รอง การมีฮอรโมนกลูโคคอรติคอนดนี้มากเกินไป ทาํ ใหเกิดโรคคูชช่ิง (Cushind’s syndrome) โรคนีจ้ ะทาํ ใหห นากลมคลายพระจันทร (moon face) บริเวณตน คอมีหนอกยืน่ ออกมา (buffalo hump) อาการเชนนี้อาจพบไดในผูปวยท่ีไดรับการรักษาดวยยาที่มีคอรตโคสเตรอยดเปนสวนผสม เพื่อปอ งกนั อาการแพหรอื อกั เสบติดตอ กันเปน ระยะเวลานาน (2) ฮอรโ มนมิเนราโลคอรต คิ อยด (Mineralocorticiod) ทําหนา ที่ควบคุมสมดุลของนํ้า และเกลือแรในรางกาย ฮอรโ มนท่สี ําคัญ คอื อัลโคสเตอโรน ซึง่ ควบคมุ การทาํ งานของไตในการดูดนํ้า และโซเดยี มเขา สูเสน เลือด ทั้งยังควบคมุ สมดลุ ของความเขม ขนของฟอสเฟตในรา งกายดว ย (3) ฮอรโมนเพศ(Adrenalsexhormone) สรา งฮอรโ มนหลายชนดิ เชน แอนโดรเจน เอสโตรเจนแตม ีปริมาณเล็กนอย เม่อื เทียบกบั ฮอรโมนเพศจากอณั ฑะและไข 3) อะดรีนลั เมดลั ลา ฮอรโมนจากอะดรนี ัลเมดลั ลา ประกอบดวยฮอรโมนสาํ คัญ 2 ชนดิ คอื อะด รนี ัลนาลีนหรอื เอปเ นฟรนิ และนอรอะดรีนาลนิ หรือนอรเ อปเ นฟริน ปกติฮอรโ มนจาก อะดรีนลั เมดลั ลาจะเปนอะดรีนาลนิ ประมาณรอ ยละ 70 และนอรอ ะดรีนาลนิ เพียงรอยละ 10 ในผูใหญจ ะ พบฮอรโ มนทั้งสองชนดิ แตใ นเด็กจะมีเฉพาะนอรอ ะดรนี าลินเทา นน้ั (1) อะดรนี าลินฮอรโมน (Adrenalin hormone) หรือฮอรโมนเอปเนฟริน (Epinephrine) ฮอรโ มนอะดรีนาลินเปนฮอรโมนที่หล่ังออกมาแลวมีผลใหนา้ํ ตาลในเลือดเพ่มิ มากข้ึน นอกจากนย้ี ัง กระตนุ ใหหัวใจเตนเรว็ ความดันเลอื ดสูง ทําใหเ สนเลอื ดอารเ ตอรีขนาดเล็กท่ีอวัยวะตา ง ๆ ขยายตัว สวน เสน เลือดอารเตอรขี นาดเลก็ ทีบ่ ริเวณผิวหนงั และชอ งทองหดตัว (2) นอรอ ะดรีนาลินฮอรโมน (Noradrenalin hormone) หรอื ฮอรโมนนอรเ อปเนฟริน (noepinephrine) ฮอรโ มนนอรอ ะดรนี าลนิ จะแสดงผลตอรางกายคลายกบั ผลของอะดรนี าลินฮอรโมน แต อะดรีนาลินฮอรโมนมผี ลดีกวา โดยฮอรโ มนชนิดน้จี ะหลั่งออกมาจากปลายเสน ประสาทซิมพาเทติกได อกี ดวยฮอรโ มนนจี้ ะทาํ ใหความดนั เลือดสูงข้นึ ทําใหหลอดเลือดอารเตอรีท่ไี ปเลี้ยงอวยั วะภายในตาง ๆ บบี ตวั 2.4 ตบั ออน ภายในเน้ือเยื่อตับออนจะมีไอสเลตออฟแลงเกอรฮานสเ ปนตอมเล็ก ๆ ประมาณ 2,500,000 ตอม หรือมีจาํ นวนประมาณรอ ยละ 1 ของเน้ือเยื่อตับออนทัง้ หมด ฮอรโมนผลิตจาก ไอสเ ลตออฟแลงเกอรฮานสท่สี าํ คัญ 2 ชนิดคือ

20 1) อินซูลิน (Insulin) สรางมาจากเบตาเซลลทีบ่ ริเวณสวนกลางของไอสเ ลตออฟแลงเกอร ฮานส หนา ทสี่ ําคัญของฮอรโ มนนี้ คือ รักษาระดับน้าํ ตาลในเลอื ดใหเปนปกติ เม่ือรางกายมีน้าํ ตาลในเลอื ด สงู อนิ ซูลินจะหลง่ั ออกมามากเพือ่ กระตนุ เซลลตับ และเซลลก ลามเนื้อนาํ กลูโคสเขาไปในเซลลม ากข้ึน และเปล่ยี นกลโู คสใหเ ปนไกลโคเจนเพื่อเกบ็ สะสมไว นอกจากน้ีอนิ ซูลนิ ยงั กระตุนใหเซลลทั่วรางกายมี การใชก ลูโคสมากขึ้น ทาํ ใหระดับนา้ํ ตาลในเลอื ดลดลงสูร ะดบั ปกติ ถากลมุ เซลลทีส่ รา งอินซูลินถกู ทําลาย ระดบั นํ้าตาลในเลือดจะสงู กวา ปกตทิ ําใหเ ปน โรคเบาหวาน 2) กลูคากอน (Glucagon) เปน ฮอรโมนทีส่ รา งจากแอลฟาเซลล ซึ่งเปนเซลลอีกประเภทหน่ึง ของไอสเลตออฟแลงเกอรฮ านส กลูคากอนจะไปกระตนุ การสลายตัวของไกลโคเจนจากตับและกลา มเนือ้ ใหน า้ํ ตาลกลโู คสปลอยออกมาในเลือดทาํ ใหเ ลือดมกี ลโู คสเพิม่ ข้ึน 2.5 รังไข (Ovaries) ตอ มอวัยวะสบื พนั ธขุ องเพศหญงิ ซึง่ อยูที่รงั ไขจะสรางฮอรโ มนท่ีสําคัญคือ เอสโตรเจน (estrogens) และโปรเจสเตอโรน (progesterrone) ฮอรโ มนเอสโตรเจน มีหนาทสี่ ําคญั ในการควบคมุ ลักษณะของเพศหญงิ คือ ลกั ษณะการมี เสียงแหลม สะโพกผาย การขยายใหญของอวัยวะเพศและเตา นม การมีขนข้ึนตามอวัยวะเพศและรักแร นอกจากนย้ี งั มสี วนในการควบคมุ การเปล่ยี นแปลงท่ีรงั ไขแ ละเย่ือบมุ ดลูกอกี ดว ย ฮอรโมนโปรเจสเตอโรน เปนฮอรโมนท่ีสรางจากสวนของอวัยวะเพศ คือ คอรป ส ลูเตียม และบางสว นสรา งมาจากรกเม่อื มีครรภ นอกจากนี้ยังสรางมาจากอะดรีนลั คอรเทกซ ไดอีกดว ย ฮอรโมน ชนิดนี้เปนฮอรโมนท่ีสําคัญท่ีสุดในการเตรียมการตั้งครรภ และตลอดระยะเวลาของการตั้งครรภ มบี ทบาทโดยเฉพาะตอเยื่อบมุ ดลกู ทาํ ใหมกี ารเปลี่ยนแปลงท่รี งั ไขและมดลูกการทํางานของฮอรโมนเพศ น้ียังอยูภายใตการควบคุมของฮอรโมน ฟอลลิเคลิ สตมิ ิวเลดิง ฮอรโ มน (follicle stmulating hormone เรียกยอ ๆ วา FSH ) และ ลูนไิ นซงิ ฮอรโ มน ( luteinging hormone เรียกยอ ๆ วา LH ) จากตอมใตสมอง สว นหนา อกี ดว ย 2.6 อณั ฑะ (Testis) ตอมอวัยวะสบื พนั ธุของเพศชายซึ่งอยูท ่อี ัณฑะจะสรา งฮอรโมนที่สําคัญทสี่ ุด คือ เทสโตสเตอโรน (testosterone) ซึ่งจะสรางข้ึนเมื่อเร่ิมวัยหนุม โดยกลุมเซลลอินเตอรสติเซียล สตมิ ิวเลติง ฮอรโมน ( interstitial cell stimulating hormone เรยี กยอ ๆ วา ICSH) จะไดรับการกระตนุ จาก ฮอรโมนจากตอมใตส มองสวนหนา คือ LH หรอื ICSH นอกจากสรางเทสโทสเตอโรนแลวยังพบวา อินเตอรเซลลสติเซยี ลยงั สามารถสรา งฮอรโ มนเพศหญิง คอื เอสโตรเจน (estrogen) ไดอกี ดว ย ฮอรโมนนท้ี ําหนาท่ีควบคุมลักษณะท่ีสองของเพศชาย (secondary sex characteristic) ซึ่งมี ลักษณะสําคัญ คอื เสียงแตก นมขึ้นพาน ลูกกระเดือกแหลม มีหนวดขึ้นบริเวณริมฝปาก มขี นขน้ึ บริเวณ หนา แขง รักแรและอวยั วะเพศ กระดูกหัวไหลกวางและกลามเนอ้ื ตามแขน ขา เตบิ โตแข็งแรงมากกวาเพศ ตรงขา ม

21 ความผดิ ปกติเกย่ี วกบั ฮอรโมน ท่ีพบมีดังนี้ (1) ถาตัดอณั ฑะออก นอกจากจะเปนหมนั แลว ยังมีผลใหลักษณะตางๆ ท่ีเก่ียวกับเพศไม เจริญเหมอื นปกติ (2) ถา ระดับฮอรโ มนสูงหรือสรา งฮอรโมนกอนถึงวยั หนุม มาก เนอ่ื งจากมีเน้อื งอกท่ีอัณฑะ จะทําใหเกิดการเติบโตทางเพศกอนเวลาอันสมควร (percocious puberty) ไมวาจะเปนลักษณะทางเพศ และอวยั วะสืบพนั ธุ

22 ตอมไรท อตาง ๆ ทีส่ าํ คญั พรอ มช่อื ฮอรโมนและหนา ที่ ตอมไรทอ หนาท่ี ตอมใตส มอง ไธโรโทรฟน (Thyrotrophin) ควบคุมการทํางานของตอ มไทรอยด ควบคมุ ปริมาณสารจากตอมหมวกไต คอรด โิ คโทรฟน (Corticotrophin) ควบคมุ สารตอ มอวัยวะเพศ โกนาโดโทรฟน (Gonadotrophin) โกรทฮอรโ มน (Growth hormone) ควบคุมการเจริญเติบโตของรา งกาย ควบคมุ ปริมาณน้าํ ท่ีขับออกจากไต วาโซเปรซซิน (Vasopressin) กระตนุ การสรางน้าํ นม โปรแลกตนิ (Prolactin) กระตนุ การหดตัวของกลา มเนื้อมดลกู ขณะเดก็ เกิด ออกซโิ ตซิน (Oxytocin) ตอ มไทรอยด หลั่งฮอรโ มน ไธรอกซิน (Thyroxin) ควบคมุ อัตราการเปลยี่ นอาหารเปนความรอนและพลังงานใน การควบคุมการเจริญเติบโตตามปกติ และการทํางานของ ระบบ ตอ มพาราไธรอยด หล่งั ฮอรโ มน พาราธอรโ มน (Parathormone) กระตุนใหก ระดูกปลอยแคลเซียมออกมาและควบคมุ ระดับ ของแคลเซียมในเลือด ตอมหมวกไต ประกอบดว ยสว น คอรเทกซ (cortex) และเมดลุ ลา ผลิตจากสวนเมดลุ ลา ฮอรโ มนนี้จะเพิ่มกาํ ลงั ใหกับระบบ ประสาทซิมพาเธติก ในการรับความรสู กึ กลวั โกรธ และ (medulla) หลงั่ ฮอรโ มน ต่ืนเตน อะดรีนาลนิ และนอรอะดรนี าลนิ สารสเตอรอย (steroid) ผลติ จากคอรเ ทกซ ชว ยในการปอ งกัน การตกใจ (Adrenalin and Noradrenalin) คอรตโิ ซน (Cortisone) สวนคอรเ ทกซ ชว ยควบคุมสมดุลเกลือแรต า ง ๆ และนา้ํ ในรางกาย อัลโดสเตอโรน (Aldosterone) ตับออ น อนิ ซูลิน (Insulin) ควบคุมการใชน ้ําตาลของรา งกาย รังไข (ตอมอวยั วะสบื พนั ธเุ พศหญงิ ) ควบคมุ ลักษณะเพศหญงิ ตอนวยั รนุ หยุดการเจริญของกระดูก เอสโตรเจน (estrogen) และกระตุนมดลูกรับการตกไข เตรียมมดลกู สาํ หรับการตัง้ ครรภระหวางต้งั ครรภรกจะผลติ ฮอรโมน โปรเจสเตอโรน (progesterone)

23 ตอ มไรท อ หนา ที่ อัณฑะ (ตอ มของอวยั วะสืบพนั ธุเพศชาย) สาํ หรบั การเจรญิ ของทารกและปรับตวั แมสําหรับการต้งั ครรภ เทสโตสเตอโรน (testosterone) ควบคุมลกั ษณะเพศชายตอนวยั รุน ตารางสรุปหนา ท่ีและอวัยวะทีเ่ กยี่ วขอ งของระบบตา งๆ ในรางกาย ระบบ หนา ท่ี อวยั วะที่เก่ียวของ ระบบหอ หมุ รา งกาย หอหมุ และปกปองรางกาย ผวิ หนงั ขน เลบ็ ระบบยอยอาหาร ยอยอาหารจนสามารถดูดซึมเขา ปาก ฟน ลิ้น ตอมน้ําลาย หลอดอาหาร รางกาย กระเพาะอาหาร ลาํ ไสใ หญ ทวารหนัก ตบั ตับออ น ถุงน้าํ ดี ระบบตอมไรทอ ผลิตฮอรโ มน ตอมใตสมอง ตอ มไทรอยด ตอมหมวกไต รังไข อณั ฑะ ระบบไหลเวียนเลือด ลําเลียงกาซ สารอาหาร ของเสีย หัวใจ เสนเลือด มาม ทอนํ้าเหลือง ตอม และน้าํ เหลือง ฮอรโมนและสารเคมีเขาและออก นา้ํ เหลือง จากรา งกาย ระบบประสาท รับและสงความรูสึก ควบคุมการ สมอง เสนประสาท อวัยวะรับความรูสึก ทาํ งานของอวยั วะตางๆ ไดแก ตา หู จมกู ปาก ลิ้น ฟน ผิวหนงั ระบบหายใจ รบั ออกซิเจนเขาสูร า งกายและปลอย จมูก หลอดลม ปอด คา ร บอน ได อ อกไซด ออก จาก รางกาย ระบบกลามเนื้อ การ เคลื่ อนไหวทั้งภายในและ กลาม เนื้ อตางๆ เชน ก ลา มเ นื้อ เรียบ ภายนอกรา งกาย กลามเน้อื ลาย กลา มเนอ้ื หวั ใจ ระบบโครงกระดกู เปน โครงสรา งใหกับรา งกาย กระดูกช้ินตา งๆ ท่ีประกอบเปนแกนกลาง และระบบของรางกาย ระบบโครงกระดูก รวมกับระบบกลามเนอื้ เรียกวา “ระบบเคล่ือนไหว” ระบบสบื พนั ธุ ผลติ เซลลส บื พันธแุ ละควบคุมกลไก อัณฑะ ตอ มลูกหมาก รงั ไข มดลูก สืบพนั ธุ อวัยวะเพศ ระบบขบั ถา ย กําจัดและกรองของเสียออกจาก ปอด ไต ทอไต กระเพาะปสสาวะ ผวิ หนัง รางกาย ลําไสใ หญ

24 กจิ กรรม 1. ดวู ีดที ัศนในแผน VCD เรื่องการทาํ งานของระบบอวัยวะตา งๆ ของรางกาย และสรุป สาระสาํ คญั จากเนื้อเรอ่ื ง ประมาณ 10 บรรทดั 2. จงอธิบายการทาํ งานของระบบตา งๆ ในรางกาย ที่สาํ คัญตอรางกายตามลาํ ดับมา 3 ระบบ พรอ มบอกเหตุผลวาเพราะเหตุใดจึงมคี วามสําคัญ เรอ่ื งที่ 6 การดูแลรกั ษาระบบของรางกายท่สี าํ คัญ ระบบตางๆ ของรางกายทีท่ าํ งานปกติ จะทําใหม นุษยดํารงชีวิตอยูไดอยางมีความสขุ หากระบบ ของรางกายระบบใดระบบหน่งึ ทํางานผดิ ปกตไิ ปจะทาํ ใหรา งกายเกดิ เจ็บปวย มคี วามทุกขท รมาน และไม สามารถประกอบภารกจิ ตา ง ๆ ไดอยางเตม็ ความสามารถ ดงั นั้น ทกุ คนควรพยายามบํารงุ รกั ษาสขุ ภาพให แข็งแรงสมบรู ณอยเู สมอ วิธีการดูแลรกั ษาระบบของรา งกายทสี่ ําคัญ มีดงั น้ี 1. ระบบยอยอาหาร 1.1 รับประทานอาหารทสี่ ะอาดและมีคุณคา ทางโภชนาการ 1.2 หลีกเลี่ยงการรบั ประทานอาหารรสจดั และรอ นเกินไป 1.3 เค้ียวอาหารใหละเอียด 1.4 ดมื่ น้าํ ใหเพียงพอ อยางนอยวนั ละ 6 – 8 แกว 1.5 ไมอ อกกําลังกายหรือทาํ งานหนักทันทีหลงั รับประทานอาหารเสรจ็ ใหมๆ 1.6 พักผอนใหเ พยี งพอ 1.7 ขับถายใหเ ปน เวลาทกุ วัน 1.8 หลีกเลยี่ งปจ จยั ทที่ ําใหเกดิ ความเครียด 1.9 ทําจิตใจใหราเรงิ แจมใสอยเู สมอ 1.10ออกกาํ ลังกายสมํา่ เสมอ 2. ระบบขบั ถาย 2.1 รบั ประทานอาหารที่สะอาดและมคี ณุ คา ทางโภชนาการ 2.2 ไมรับประทานอาหารท่ีมรี สจัด 2.3 รับประทานผกั และผลไมห รอื อาหารท่ีมกี ากอาหารอยางสม่ําเสมอ 2.4 รับประทานนํา้ ใหเพียงพอ อยา งนอ ยวนั ละ 6 – 8 แกว 2.5 ออกกาํ ลงั กายอยา งสม่ําเสมอ 2.6 พักผอนใหเพียงพอ 2.7 หลีกเลยี่ งสิ่งทท่ี าํ ใหเกดิ ความเครียด

25 2.8 รักษาความสะอาดของรา งกายอยตู ลอดเวลา 2.9 ขบั ถายใหเ ปน ปกติทุกวนั 2.10 ทาํ จิตใจใหร าเริงแจมใสอยเู สมอ 3. ระบบประสาท 3.1 รับประทานอาหารประเภททชี่ วยสง เสริมและบํารงุ ประสาท อาหารทม่ี ีวติ ามินบีมาก ๆ เชน ขาวซอมมอื รําขาว ไข ตับ ยีสต ผกั สีเขียว ผลไมส ด และน้ําผลไม เปนตน ควร หลีกเล่ยี งอาหารประเภทแอลกอฮอล ชา กาแฟ เปน ตน 3.2 พักผอนใหเพียงพอกับความตองการของรางกายแตละวัย ไมเครงเครียดหรือกังวล เกนิ ไป ควรหลีกเล่ียงจากสถานการณทที่ ําใหไ มสบายใจ 3.3 ออกกาํ ลังกายสมํา่ เสมอ ซงึ่ เปน หนทางทีด่ ใี นการผอนคลาย 3.4 ไมควรใชอ วัยวะตา ง ๆ ของรางกายมากเกินไป อาจทําใหประสาทสวนนั้นทาํ งานหนัก เกนิ ไป เชน การทาํ งานหนา จอคอมพวิ เตอรน านเกนิ ไป อาจทําใหป ระสาทตาเสือ่ มได เปน ตน 3.5 ควรหมั่นฝกการใชสมองแกปญหาบอย ๆ เปนการเพิ่มพนู สติปญญาและปอ งกันโรค ความจําเสื่อมหรอื สมองเสื่อม 4. ระบบสืบพันธุ 4.1 เพศชาย 1) อาบนํ้าอยา งนอยวันละ 2 ครงั้ และใชสบูฟอกชําระลางรางกายและอวัยวะสืบพันธุ ใหสะอาด เชด็ ตัวใหแหง 2) สวมเส้ือผาใหสะอาด โดยเฉพาะกางเกงในตองสะอาด สวมใสสบายไมรัดแนน เกนิ ไป 3) ไมใ ชส วมหรอื ทถ่ี ายปสสาวะท่ีผดิ สขุ ลักษณะ 4) ไมเที่ยวสาํ สอน หรือรว มประเวณีกบั หญงิ ขายบรกิ ารทางเพศ 5) หากสงสยั วา จะเปนกามโรค หรือมคี วามผดิ ปกติเกี่ยวกับอวยั วะสบื พนั ธตุ อ งรบี ไป ปรึกษาแพทย ไมค วรซ้อื ยารบั ประทานเพอื่ รักษาโรคดว ยตนเอง 6) ไมควรใชยาหรือสารเคมีตา งๆ ชวยในการกระตุนความรสู ึกทางเพศ ซ่ึงอาจเปน อันตรายได 7) ไมหมกมุนหรือหักโหมเก่ียวกับการมีเพศสัมพันธมากเกินไป เพราะอาจเปน อันตรายตอ สขุ ภาพทง้ั ทางรางกายและจิตใจ ควรทํากจิ กรรมนันทนาการ การเลนกีฬาหรอื งานอดเิ รกอ่นื ๆ เพ่อื เปน การเบนความสนใจไปสูกิจกรรมอนื่ แทน 8) ระวงั อยา ใหอวัยวะสืบพนั ธถุ กู กระทบกระแทกแรงๆ เพราะจะทาํ ใหช้ําและเกิดการ อักเสบเปนอนั ตรายได

26 4.1. เพศหญิง 1) รักษาความสะอาดอวัยวะเพศอยา งสมา่ํ เสมอ โดยเฉพาะเวลาอาบน้ํา ควรสนใจทํา ความสะอาดเปนพิเศษ เชน ลาง เช็ดใหแหง โดยเฉพาะในชว งท่ีมีประจําเดือน ควรใชนํ้าอุนทําความ สะอาดสว นทเ่ี ปรอะเปอ นเลอื ด เปน ตน 2) หลังจากการปส สาวะและอุจจาระเสรจ็ ทกุ คร้งั ควรใชนาํ้ ลางและเช็ดใหส ะอาด 3) ควรสวมเสื้อผาท่ีสะอาดรัดกุม กางเกงในตองสะอาด สวมใสสบาย ไมอ ับหรอื รัด แนน เกินไป และควรเปล่ยี นทกุ วัน 4) รักนวลสงวนตวั ไมค วรมเี พศสมั พันธกอ นแตง งาน 5) ไมค วรใชย ากระตนุ หรือยาปลุกประสาทกบั อวัยวะเพศ 6) การใชส ว มหรอื ที่ถา ยปสสาวะอุจจาระทุกครงั้ จะตองคาํ นงึ ถงึ ความสะอาดและ ถูกสขุ ลกั ษณะ 7) ควรออกกําลงั กายหรอื ทํางานอดเิ รกเพอื่ เบนความสนใจของตนเองไปในทางอ่ืน 8) ขณะมปี ระจาํ เดอื นควรใชผ า อนามยั อยา งเพียงพอและควรเปลีย่ นใหบ อยตามสมควร อยาปลอ ยไวนานเกินไป 9) ในชวงมีประจําเดอื น ไมควรออกกําลังกายประเภทท่ีผาดโผนและรุนแรง แตการ ออกกําลังกายเพยี งเบาๆ จะชว ยบรรเทาอาการเจบ็ ปวดหรืออาการอึดอดั ลงได และควรพักผอนนอนหลับ ใหเพียงพอ ทาํ จิตใจใหแ จมใส 10) ควรจดบนั ทกึ การมีประจําเดือนไวทกุ ๆ เดือน การทปี่ ระจําเดือนมาเร็วหรือชาบา ง เล็กนอ ยไมถือเปนการผิดปกติแตอ ยางไร แตถ า มปี ระจาํ เดือนเร็วหรือชา กวา ปกตมิ ากกวา 7 – 8 วันขนึ้ ไป ควรปรึกษาแพทย 11) ในชว งทม่ี ปี ระจําเดอื น ถามอี าการปวดท่ที องนอย อาจใชก ระเปานา้ํ รอนหรือผาหม มาวางทีท่ อ งนอยเพื่อใหความอบอุน และอาจรับประทานยาแกป วดไดต ามสมควร 12) ถามอี าการผิดปกติในชวงที่มปี ระจําเดือน เชน มอี าการปวดมาก มีเลือดออกมาก หรือมเี ลอื ดไหลออกในชวงท่ไี มมีประจําเดอื น ควรรบี ปรึกษาแพทยทนั ที 13) ระวังอยาใหอ วัยวะสืบพันธุถูกกระทบกระแทกแรงๆ เพราะจะทําใหช ํ้า เกิดการ อักเสบและเปนอันตรายได 14) ถาหากมีการเปลีย่ นแปลงที่ผดิ ปกติของอวัยวะเพศ หรือสงสยั วาจะเปนกามโรค ควรรบี ไปรบั การตรวจและปรึกษาแพทยท ันที 5. ระบบตอมไรทอ 5.1 รบั ประทานอาหารที่สะอาดและมีคุณคา ทางโภชนาการ 5.2 ด่ืมน้าํ สะอาดใหเพียงพอ 5.3 ออกกําลังกายอยา งสมาํ่ เสมอ

27 5.4 พักผอ นใหเพยี งพอ 5.5 หลีกเล่ยี งส่งิ ท่กี อใหเ กิดความเครียด 5.6 หลีกเลย่ี งจากสภาพแวดลอมท่อี ยูอาศยั ที่สกปรกและอยใู นชมุ ชนแออัด 5.7 เมื่อเกดิ อาการเจบ็ คอหรอื ตอ มทอนซลิ อักเสบตอ งรีบไปใหแ พทยตรวจรักษา 5.8 เมือ่ รูสึกตัววาเหนอ่ื ย ออนเพลีย และเจ็บหนาอก โดยมีอาการเชนนี้อยูนาน ควรไปให แพทยต รวจดอู าการ เพราะหัวใจอาจผิดปกติได กิจกรรม 1. จงสรุปความสําคัญและอธิบายการทํางานของระบบอวัยวะในรางกาย 4 ระบบ พรอม แผนภาพประกอบ 2. การดูแลรักษาระบบยอ ยอาหารควรทําอยางไร เพราะอะไร จงอธิบายพรอมใหเ หตผุ ล

28 บทที่ 2 ปญหาเพศศึกษา สาระสาํ คญั มีความรูความเขาใจเก่ียวกับปญหาทางเพศ มีทักษะในการส่ือสารและตอรองเพ่ือทําความ ชวยเหลือเกยี่ วกับปญหาทางเพศได สามารถอธิบายวธิ กี ารจัดการกับอารมณและความตองการทางเพศได อยางเหมาะสม เขา ใจถึงความเชื่อท่ีผดิ เกย่ี วกับเรื่องเพศที่สงผลตอสุขภาพทางเพศ ตลอดจนเรยี นรูถึง กฎหมายท่ีเก่ียวขอ งกบั การลวงละเมิดทางเพศและกฎหมายคุมครองเดก็ และสตรี ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวงั 1. เรยี นรูทักษะการส่อื สารและตอ รองเพอื่ ขอความชวยเหลอื เก่ียวกบั ปญ หาทางเพศได 2. เรยี นรูก ารจัดการกบั อารมณแ ละความตอ งการกบั ปญหาทางเพศไดอยางเหมาะสม 3. เรียนรแู ละสามารถวิเคราะหค วามเชื่อเรือ่ งเพศทส่ี ง ผลตอ ปญหาทางเพศไดอ ยางเหมาะสม 4. เรียนรแู ละสามารถวิเคราะหอทิ ธิพลสอ่ื ทส่ี ง ผลใหเ กิดปญ หาทางเพศได 5. อธิบายกฎหมายท่เี ก่ียวขอ งกบั การลวงละเมิดทางเพศไดอยางถูกตอ ง ขอบขายเน้ือหา เรอ่ื งท่ี 1 ทกั ษะการจดั การปญหาทางเพศ เรอ่ื งท่ี 2 ปญ หาทางเพศในเดก็ และวยั รุน เรอื่ งที่ 3 การจัดการกบั อารมณแ ละความตองการทางเพศ เร่อื งท่ี 4 ความเช่อื ที่ผดิ ๆ ทางเพศ เรอ่ื งที่ 5 กฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ งกับการละเมดิ ทางเพศ

29 เรือ่ งที่ 1 ทกั ษะการจดั การปญหาทางเพศ พัฒนาการเรื่องเพศในเด็กและวัยรุน เก่ียวของกับชีวิต ต้ังแตเด็กจนโต การท่ีบุคคลไดเรียนรู ธรรมชาติ ความเปน จริงทางเพศ จะชวยใหม คี วามรู มีทัศนคติ สามารถปรับตัวตามพัฒนาการของชวี ิต อยา งเหมาะสม และมีพฤติกรรมถูกตองในเร่อื งเพศ สามารถสอนไดต งั้ แตเดก็ ยังเลก็ สอดแทรกไปกับการ สง เสริมพัฒนาการดา นอื่นๆ พอ แมค วรเปน ผสู อนเบอื้ งตน เมอื่ เขา สูโรงเรยี น ครชู วยสอนใหสอดคลองไป กับท่ีบา น เมอ่ื เด็กเร่ิมเขาสวู ยั รนุ ควรสงเสรมิ ใหเดก็ เรียนรูพ ฒั นาการทางเพศที่ถูกตองและรวู ิธีจัดการกับ อารมณความตองการทางเพศเพือ่ ปองกนั ปญ หาทางเพศท่อี าจเกิดตามมา พัฒนาทางเพศกบั การพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ พัฒนาการทางเพศ เปน สว นหน่งึ ของพัฒนาการบคุ ลกิ ภาพที่เกดิ ขึน้ ตง้ั แตเด็กและมคี วามตอเนอ่ื ง ไปจนพัฒนาการเต็มท่ีในวัยรุน หลังจากน้ันจะเปนสวนหน่ึงของบุคลิกภาพที่ติดตัวตลอดชีวิต โดยเม่ือส้นิ สดุ วยั รุน จะมีการเปล่ียนแปลงตอไปน้ี 1. มคี วามรเู รอ่ื งเพศตามวยั และพฒั นาการทางเพศ ตงั้ แตก ารเปลย่ี นแปลงของรางกายไปตามวัย จิตใจ อารมณและสงั คม ทงั้ ตนเองและผูอื่น และเรยี นรูค วามแตกตางกันระหวา งเพศ 2. มีเอกลักษณทางเพศของตนเอง ไดแก การรับรูเพศตนเอง บทบาททางเพศและพฤตกิ รรมทาง เพศ มคี วามพงึ พอใจทางเพศหรือความรสู กึ ทางเพศตอเพศตรงขามหรือตอเพศเดยี วกนั 3. มพี ฤตกิ รรมการรักษาสขุ ภาพทางเพศ การรูจกั รางกายและอวัยวะเพศของตนเอง ดูแลรักษา ทําความสะอาด ปองกนั การบาดเจ็บ การตดิ เชื้อ การถูกลวงละเมดิ ทางเพศและการปอ งกันพฤติกรรมเส่ยี ง ทางเพศ 4. มีทักษะในการสรางความสัมพันธกับผูท่ีจะเปนคูครอง การเลือกคูครอง การรักษา ความสัมพันธใหยาวนานการแกไขปญหาตาง ๆ ในชีวิตรวมกันมีทักษะในการสื่อสารและ การมคี วามสมั พันธทางเพศกบั คูครองอยา งมีความสขุ มกี ารวางแผนชีวิตและครอบครัวท่เี หมาะสม 5. เขาใจบทบาทในครอบครวั ไดแก บทบาทและหนาท่สี าํ หรบั การเปนลูก การเปนพ่ี – นอง และสมาชกิ คนหนง่ึ ในครอบครัว หนาที่และความรับผิดชอบการเปนพอแมท่ีถูกตองตามกฎหมาย และ ขนบธรรมเนยี มประเพณแี ละศลี ธรรมของสงั คมทีอ่ ยู 6. มีทัศนคตทิ างเพศที่ถูกตอง ภูมิใจ พอใจในเพศของตนเอง ไมรังเกียจหรือปด บัง ปดกั้นการ เรียนรูท างเพศที่เหมาะสม รูจักควบคมุ พฤติกรรมทางเพศใหแสดงออกถกู ตอง ใหเกียรติผูอน่ื ไมลวง ละเมดิ ทางเพศตอผอู นื่ ยบั ย้งั ใจตนเองไมใ หม เี พศสัมพันธกอ นวัยอันควร

30 เรือ่ งท่ี 2 ปญ หาทางเพศในเดก็ และวัยรุน ปญหาทางเพศในเด็กและวัยรนุ แบงตามประเภทตางๆ ไดด ังนี้ 1. ความผดิ ปกติในเอกลกั ษณทางเพศ เดก็ มพี ฤตกิ รรมผดิ เพศ เด็กรูสึกวา ตนเองเปน เพศตรงขา มกับเพศทางรางกายมาตั้งแตเดก็ และมี พฤตกิ รรมทางเพศเปน แบบเดยี วกบั เพศตรงขา ม ไดแก ท การแตง กายชอบแตงกายผิดเพศ เด็กชายชอบสวมกระโปรงและรงั เกียจกางเกง เด็กหญิง รังเกียจกระโปรงแตชอบสวมกางเกง เดก็ ชายชอบแตงหนาทาปาก ชอบดแู มแตง ตัวและเลยี นแบบแม ท การเลน มกั เลนเลยี นแบบเพศตรงขา ม หรือชอบเลน กับเพศตรงขาม เด็กชายมกั ไมชอบ เลน รุนแรงชอบเลน กับผหู ญิงและมักเขากลุมเพศตรงขา มเสมอ เปนตน ท จนิ ตนาการวาตนเองเปนเพศตรงขามเสมอแมใ นการเลนสมมตุ ิกม็ ักสมมุตติ นเองเปน เพศ ตรงขา มเดก็ ชายอาจจติ นาการวาตัวเองเปนนางฟา หรอื เจา หญงิ เปน ตน ท พฤติกรรมทางเพศ เด็กไมพ อใจในอวยั วะเพศของตนเอง บางคนรูสึกรังเกียจหรือแสรง ทาํ เปนไมมอี วัยวะเพศหรอื ตองการกําจดั อวัยวะเพศออกไป เด็กหญิงจะยนื ปส สาวะ เด็กชายจะนั่งถา ย ปส สาวะเลยี นแบบพฤตกิ รรมทางเพศของเพศตรงขามโดยตง้ั ใจและไมไ ดต ้ังใจ อาการตา ง ๆ เหลา น้ีเกิดขึน้ แลว ดําเนินอยา งตอเน่ือง เด็กอาจถูกลอเลียน ถกู กดี กนั ออกจากกลุม เพ่ือนเพศเดยี วกัน เด็กมักพอใจในการเขา ไปอยกู บั กลุมเพื่อนตางเพศ และถา ยทอดพฤตกิ รรมของเพศตรง ขามทีละนอ ย ๆ จนกลายเปน บคุ ลกิ ภาพของตนเอง เมื่อเขาสูวัยรุน เด็กมีความรูสึกไมสบายใจเก่ียวกับเพศของ ตนเองมากข้ึน และตองการ เปล่ียนแปลงเพศตนเอง จนกลายเปนบคุ ลกิ ภาพของตนเอง 2. รักรวมเพศ (Homosexualism) อาการ เริม่ เห็นชัดเจนตอนเขา วัยรนุ เมื่อเร่มิ มคี วามรูสกึ ทางเพศ ทําใหเกดิ ความพึงพอใจทางเพศ (sexual orientation) โดยมีความรสู ึกทางเพศ ความตองการทางเพศ อารมณเ พศกับเพศเดยี วกัน รกั รวมเพศยังรูจกั เพศตนเองตรงตามที่รางกายเปน รกั รวมเพศชายบอกตนเองวาเปนเพศชาย รกั รว มเพศทเ่ี ปนหญงิ บอกเพศตนเองวา เปน เพศหญิง การแสดงออกวาชอบเพศเดียวกัน มีท้ังแสดงออกชดั เจนและไมช ดั เจน กิริยาทาทางและการแสดงออกภายนอก มีทง้ั ท่แี สดงออกชัดเจนและไมแสดงออก ขึ้นอยูกับ บุคลกิ ของผูน้นั และการยอมรับของสังคม ชายชอบชาย เรียกวา เกย (gay) หรือตดุ แตว เกยย งั มปี ระเภทยอ ย เปน เกยคิง และเกยควีน เกยคิง แสดงบทบาทภายนอกเปน ชาย การแสดงออกทางเพศ (gender role) ไมคอ ยเปน หญงิ จึงดูภายนอกเหมือน ผชู ายปกตธิ รรมดา แตเ กยค วนี แสดงออกเปนเพศหญงิ เชน กิริยาทา ทาง คาํ พดู ความสนใจ กจิ กรรมตาง ๆ ความชอบตาง ๆ เปน หญงิ

31 หญิงชอบหญิง เรียกวา เลสเบี้ยน (lesbianism) การแสดงออกมี 2 แบบเชน เดียวกบั เกย เรียกวา ทอมและด้ี ดี้แสดงออกเหมือนผหู ญิงทัว่ ไป แตทอมแสดงออก (gender role) เปนชาย เชน ตัดผมส้ัน สวมกางเกงไมสวมกระโปรง ในกลุมรักรวมเพศ ยังมีประเภทยอยอีกประเภทหน่งึ ท่ีมคี วามพึงพอใจทางเพศไดท้ังสองเพศ เรียกวา ไบเซกซวล (bisexualism) มีความรูส กึ ทางเพศและการตอบสนองทางเพศไดท ั้งสองเพศ สาเหตุ ปจ จบุ นั มีหลักฐานสนบั สนุนวา สาเหตุมีหลายประการประกอบกนั ท้ังสาเหตทุ างรางกาย พนั ธกุ รรม การเล้ยี งดู และสงิ่ แวดลอมภายนอก การชวยเหลอื พฤตกิ รรมรกั รว มเพศเมือ่ พบในวยั เด็ก สามารถเปลีย่ นแปลงได โดยการแนะนําการ เลย้ี งดู ใหพอ แมเ พศเดยี วกันใกลชดิ มากข้นึ พอแมเ พศตรงขา มสนิทสนมนอ ยลง เพอ่ื ใหเกิดการถา ยทอด แบบอยางทางเพศทีถ่ ูกเพศ แตตองใหมีความสัมพันธดีๆ ตอกัน สงเสรมิ กจิ กรรมเหมาะสมกับเพศ เด็กชาย ใหเ ลนกฬี าสงเสริมความแข็งแรงทางกาย ใหเดก็ อยูในกลุม เพ่อื การเรียนรเู พศเดยี วกนั ถา รวู า เปน รกั รว มเพศตอนวยั รุน ไมสามารถเปลี่ยนแปลงแกไขได การชวยเหลอื ทาํ ไดเพียงให คําปรึกษาแนะนาํ ในการดําเนินชีวติ แบบรักรว มเพศอยางไร จึงจะเกิดปญ หานอยท่ีสุด และใหค ําแนะนํา พอแมเพ่อื ใหทําใจยอมรับสภาวการณน้ี โดยยังมีความสัมพันธท่ดี ีกบั ลกู ตอไป การปอ งกนั การเลย้ี งดู เริ่มตง้ั แตเลก็ พอ แมม คี วามสัมพนั ธท่ีดีตอกนั พอหรือแมทีเ่ พศเดยี วกันกับเด็ก ควรมีความสมั พนั ธท ่ดี กี บั เด็ก และควรแนะนําเกี่ยวกบั การคบเพื่อน รวมท้ังสง เสรมิ กจิ กรรมใหตรงตามเพศ 3. พฤตกิ รรมกระตนุ ตนเองทางเพศในเด็ก และการเลนอวัยวะเพศตนเอง อาการ กระตนุ ตนเองทางเพศ เชน นอนคว่ําถไู ถอวัยวะเพศกบั หมอนหรอื พืน้ สาเหตุ เด็กเหงา ถูกทอดทิ้ง มโี รคทางอารมณ เด็กมักคน พบดวยความบังเอิญ เม่ือถูกกระตุนหรือ กระตุนตนเองท่ีอวยั วะเพศแลว เกิดความรสู กึ เสียว พอใจกบั ความรสู ึกนั้น เด็กจะทําซํ้าในทส่ี ุดติดเปนนสิ ยั การชวยเหลอื 1. หยุดพฤติกรรมนั้นอยางสงบ เชน จับมือเด็กออก ใหเด็กนอนหงาย บอกเด็กสั้นๆ วา “หนไู มเลนอยา งนัน้ ” พรอ มใหเหตผุ ลทเี่ หมาะสมจูงใจ 2. เบ่ยี งเบนความสนใจ ใหเด็กเปลี่ยนทาทาง ชวนพูดคุย 3. หากจิ กรรมทดแทน ใหเ ดก็ ไดเ คล่ือนไหว เพลิดเพลนิ สนกุ สนานกับกิจกรรมและสงั คม 4. อยาใหเ ดก็ เหงา ถกู ทอดท้ิงหรืออยูตามลําพัง เดก็ อาจกลับมากระตุนตนเองอกี 5. งดเวน ความกา วรา วรนุ แรง การหามดวยทาท่ีนา กลวั เกนิ ไปอาจทาํ ใหเดก็ กลัวฝงใจมที ัศนคติ ดานลบตอเร่ืองทางเพศ อาจกลายเปนเกบ็ กดทางเพศ หรือขาดความสุขทางเพศในวยั ผูใหญ

32 4. พฤตกิ รรมกระตนุ ตนเองทางเพศในวัยรนุ หรือการสาํ เรจ็ ความใครด ว ยตวั เอง(Masturbation) สาเหตุ พฤติกรรมกระตุนตนเองทางเพศในวัยรนุ เปนเรอ่ื งปกติ ไมมอี ันตราย ยอมรับไดถา เหมาะสมไมมากเกินไปหรือหมกมุนมาก พบไดบอยในเด็กที่มีปญหาทางจิตใจ ปญญาออน เหงา กามวปิ ริตทางเพศ และสงิ่ แวดลอ มมีการกระตุนหรอื ยว่ั ยทุ างเพศมากเกินไป การชวยเหลอื ใหค วามรูเร่ืองเพศทถ่ี กู ตอง ใหก าํ หนดการสําเร็จความใครดว ยตัวเองใหพ อดีไม มากเกินไป ลดสง่ิ กระตนุ ทางเพศไมเหมาะสม ใชกิจกรรมเบนความสนใจ เพิ่มการออกกําลังกาย ฝกให เดก็ มกี ารควบคมุ พฤตกิ รรมใหพ อควร 5. พฤติกรรมทางเพศทว่ี ิปริต (Paraphilias) อาการ ผูปวยไมส ามารถเกดิ อารมณเ พศไดก ับสิง่ กระตนุ ทางเพศปกติ มคี วามรสู ึกทางเพศได เม่อื มีการกระตนุ ทางเพศทแ่ี ปลกประหลาดพสิ ดาร ทีไ่ มมีในคนปกติ ทาํ ใหเ กดิ พฤติกรรมใชสิง่ ผดิ ธรรมชาตกิ ระตุน ตนเองทางเพศ มีหลายประเภทแยกตามสิง่ ที่กระตุนใหเกดิ ความรสู ึกทางเพศ ประเภทของ Paraphilia 1. เกิดความรสู กึ ทางเพศจากการสมั ผัส ลบู คลํา สูดดมเส้อื ผา ชุดชน้ั ใน Fetishism 2. เกิดความรสู ึกทางเพศจากการโชวอวัยวะเพศตนเอง Exhibitionism 3. เกิดความรูสึกทางเพศจากการไดถูไถ สมั ผสั ภายนอก Frotteurism 4. เกดิ ความรูสกึ ทางเพศจากการแอบดู Voyeurism 5. เกดิ ความรสู กึ ทางเพศทําใหผูอน่ื เจบ็ ปวด ดว ยการทาํ รา ยรางกาย หรือคําพูด Sadism 6. เกิดความรสู กึ ทางเพศจากการทําตนเอง หรือใหผูอื่นทําใหตนเองเจบ็ ปวด ดวยการทํารา ย รางกายหรือคําพูด Masochism 7. เกิดความรูสึกทางเพศกบั เด็ก (Pedophilia) 8. เกดิ ความรสู กึ ทางเพศกบั สตั ว (Zoophilia) 9. เกดิ ความรูสกึ ทางเพศจากการแตง กายผิดเพศ (Transvestism) สาเหตุท่ีกอ ใหเ กดิ ความผิดปกตทิ างเพศ คือ 1. การเลย้ี งดูและพอแมป ลกู ฝงทศั นคติไมดีตอเรือ่ งทางเพศท่ีพอ แมป ลูกฝง เด็ก ทาํ ใหเ ด็กเรียนรู วาเร่ืองเพศเปน เร่ืองตองหาม ตองปด บัง เลวรายหรอื เปนบาป เดก็ จะเก็บกดเร่ืองเพศ ทําใหปด กั้นการ ตอบสนองทางเพศกบั ตวั กระตุนทางเพศปกติ 2. การเรยี นรู เม่ือเดก็ เรมิ่ มคี วามรสู ึกทางเพศ แตไมส ามารถแสดงออกทางเพศไดตามปกติ เด็ก จะแสวงหาหรอื เรียนรดู ว ยตวั เองวา เม่อื ใชต ัวกระตุน บางอยา งทําใหเกดิ ความรูสึกทางเพศได จะเกดิ การ เรียนรูแ บบเปนเงอื่ นไขและเปนแรงเสรมิ ใหมีพฤติกรรมกระตุน ตวั เองทางเพศดว ยสิ่งกระตนุ น้ันอีก

33 การชวยเหลือ ใชห ลกั การชว ยเหลอื แบบพฤติกรรมบําบดั ดังน้ี 1. การจัดการสิ่งแวดลอม กําจัดส่ิงกระตุนเดิมท่ีไมเหมาะสมใหหมด หากิจกรรมทดแทน เบี่ยงเบนความสนใจ อยาใหเด็กเหงาอยูคนเดียวตามลาํ พัง ปรับเปล่ียนทัศนคติทางเพศในครอบครัว ใหเ หน็ วา เรอ่ื งเพศไมใชเร่ืองตองหาม สามารถพดู คุยเรยี นรูได พอ แมควรสอนเร่ืองเพศกับลูก 2. ฝกการรูตัวเองและควบคุมตนเองทางเพศ ใหรูวามีอารมณเพศเม่ือใด โดยสิ่งกระตุนใด พยายามหา มใจตนเองทจ่ี ะใชส ง่ิ กระตนุ เดิมทีผ่ ดิ ธรรมชาติ 3. ฝกการสรา งอารมณเพศกับตวั กระตนุ ตามปกติ เชน รูปโป – เปลอื ย แนะนําการสําเรจ็ ความ ใครท ถ่ี ูกตอ ง 4. บันทึกพฤติกรรมเมื่อยังไมสามารถหยุดพฤติกรรมได สังเกตความถี่หาง เหตุกระตุน การยับยัง้ ใจตนเอง ใหร างวลั ตนเองเม่อื พฤตกิ รรมลดลง การปองกัน การใหความรเู รอ่ื งเพศทถ่ี กู ตองต้งั แตเดก็ ดว ยทัศนคติทด่ี ี 6. เพศสมั พันธใ นวัยรุน ลักษณะปญหา มพี ฤติกรรมทางเพศตอกันอยา งไมเหมาะสม มเี พศสมั พนั ธก ันกอ นวัยอันควร สาเหตุ 1. เด็กขาดความรกั ความอบอุนใจจากครอบครัว 2. เดก็ ขาดความรสู ึกเห็นคณุ คา ตนเอง ไมประสบความสาํ เรจ็ ดานการเรียน แสวงหาการยอมรับ หาความสุขและความพงึ พอใจจากแฟน เพศสัมพนั ธและกิจกรรมทมี่ คี วามเส่ยี งตาง ๆ 3. เด็กขาดความรูและความเขาใจทางเพศ ความตระหนักตอปญหาที่ตามมาหลังการมี เพศสมั พันธ การปองกันตัวของเดก็ ขาดทักษะในการปองกันตนเองเรือ่ งเพศ ขาดทกั ษะในการจดั การกับ อารมณท างเพศ 4. ความรูและทัศนคติทางเพศของพอแมที่ไมเขาใจ ปดกั้นการอธิบายเร่ืองเกี่ยวกับเพศ ทาํ ใหเด็กแสวงหาเองจากเพอ่ื น 5. อิทธิพลจากกลุมเพอื่ น รบั รูทศั นคติที่ไมควบคุมเร่ืองเพศ เห็นวาการมีเพศสัมพันธเปนเรื่อง ธรรมดา ไมเกดิ ปญหาหรอื ความเสีย่ ง 6. มกี ารกระตนุ ทางเพศ ไดแก ตัวอยางจากพอแม ภายในครอบครวั เพือ่ น ส่ือย่ัวยทุ างเพศตา ง ๆ ท่เี ปนแบบอยา งไมดีทางเพศ การปอ งกนั การปองกนั การมีเพศสัมพันธในวัยรุน แบงเปน ระดบั ตาง ๆ ดังนี้ 1. การปอ งกันระดับตนกอนเกิดปญหา ไดแก ลดปจจัยเสี่ยงตางๆ การเลี้ยงดูโดยครอบครัว สรางความรักความอบอุนในบาน สรางคุณคา ในตวั เอง ใหค วามรูและทัศนคติทางเพศทีด่ ี มแี บบอยา งทีด่ ี

34 2. การปอ งกนั ระดับที่ 2 หาทางปองกันหรอื ลดการมีเพศสมั พนั ธในวัยรนุ ท่ีมีความเสี่ยงอยูแลว โดยการสรา งความตระหนักในการไมมีเพศสัมพนั ธในวัยเรยี นหรอื กอ นการแตง งาน หาทาง เบนความสนใจวยั รนุ ไปสูกิจกรรมสรางสรรค ใชพลงั งานทางเพศที่มีมากไปในดานท่เี หมาะสม 3. การปองกันระดับท่ี 3 ในวยั รุนทห่ี ยดุ การมีเพศสมั พันธไ มไ ด ปองกันปญหาที่เกิดจากการมี เพศสมั พันธ ปอ งกันการต้งั ครรภและโรคติดตอทางเพศ โดยการใหค วามรูทางเพศ เบี่ยงเบนความสนใจ หากจิ กรรมทดแทน เรือ่ งท่ี 3 การจัดการกบั อารมณแ ละความตองการทางเพศ ถึงแมวาอารมณท างเพศเปนเพียงอารมณหนึ่ง ซ่ึงเมือ่ เกิดขนึ้ แลวหายไปได แตถ าหากไมรูจัก จดั การกบั อารมณเพศแลว อาจจะทําใหเกิดการกระทาํ ที่ไมถ ูกตอ งกอใหเ กดิ ความเสยี หายเดือดรอนแกตนเอง และผูอน่ื ดงั นนั้ ผเู รยี นควรจะไดเรียนรถู ึงวธิ กี ารจัดการกบั อารมณท างเพศอยา งเหมาะสม ไมตกเปน ทาสของ อารมณเพศ ซงึ่ การจัดการกับอารมณท างเพศอาจแบงตามความรนุ แรงไดเ ปน 3 ระดบั ดังนี้ ระดับที่ 1 การควบคุมอารมณท างเพศ อาจทําได 2 วิธี คอื 1. การควบคมุ จติ ใจตนเอง พยายามขมใจตนเองมิใหเ กิดอารมณท างเพศไดห รอื ถา เกดิ อารมณท างเพศใหพยายามขมใจไว เพือ่ ใหอารมณทางเพศคอ ย ๆ ลดลงจนสูสภาพอารมณท ่ปี กติ 2. การหลีกเล่ียงจากสิ่งเรา ส่ิงเราภายนอกที่ยั่วยุอารมณทางเพศหรือยั่วกิเลสยอมทําใหเกิด อารมณทางเพศได ดงั นัน้ การตดั ไฟเสียแตตนลม คือ หลีกเลี่ยงจากสิ่งเรา เหลา น้ันเสียจะชว ยใหไมเ กิด อารมณไ ด เชน ไมดูส่อื ลามกตา ง ๆ ไมเท่ยี วกลางคนื เปน ตน ระดับที่ 2 การเบยี่ งเบนอารมณทางเพศ ถาเกิดอารมณทางเพศจนไมอ าจควบคุมไดควรใชว ิธีการเบี่ยงเบนใหไ ปสนใจสิ่งอนื่ แทนที่จะ หมกมนุ อยูกบั อารมณท างเพศ เชน ไปออกกําลงั กาย ประกอบกิจกรรมนนั ทนาการตางๆ ใหสนุกสนาน เพลดิ เพลิน ไปทํางานตา งๆ เพือ่ ใหจิตใจมุงที่งาน ไปพดู คยุ สนทนากบั คนอืน่ เปน ตน ระดับท่ี 3 การปลดปลอยหรือระบายอารมณท างเพศ ถาเกิดอารมณทางเพศระดับมากจนเบี่ยงเบนไมได หรือสถานการณน้ันอาจทําใหไ มม ีโอกาส เบี่ยงเบน อารมณทางเพศก็ปลดปลอย หรือระบายอารมณทางเพศดวยวิธีการที่เหมาะสมกับสภาพของ วัยรนุ ซ่งึ สามารถทําได 2 ประการ คือ 1. โดยการฝนนนั่ ก็คอื การฝน เปย ก (Wet Dream) ในเพศชาย ซงึ่ การฝนนเ้ี ราไมส ามารถบงั คับให ฝน หรอื ไมใหฝน ได แตจะเกิดข้ึนเองเม่อื เราสนใจหรือมีความรูสกึ ในทางเพศมากจนเกินไปหรอื อาจเกิด การสะสมของนํา้ อสจุ ิมีมากจนลน ถงุ เกบ็ นาํ้ อสุจิ ธรรมชาติจะระบายน้ําอสุจอิ อกมาโดยการใหฝน เกย่ี วกับ เรื่องเพศจนถงึ จดุ สดุ ยอด และมกี ารหลั่งน้าํ อสุจอิ อกมา 2. การสาํ เร็จความใครดวยตนเองหรืออาจเรียกอกี อยา งหน่งึ วาการชวยเหลอื ตวั เอง(Masturbation) ทําไดท้งั ผูหญงิ และผูช าย ซ่งึ ผูชายแทบทุกคนมักมีประสบการณในเร่ืองนแี้ ตผ ูหญงิ นนั้ มีเปนบางคนท่มี ี

35 ประสบการณใ นเร่ืองนี้ การสําเรจ็ ความใครด ว ยตนเองเปน เรื่องธรรมชาติของคนเรา เม่ือเกิดอารมณทาง เพศจนหยุดยงั้ ไมไ ด เพราะการสําเร็จความใครดวยตนเองไมทําใหตนเองและผูอ ื่นเดือดรอ น แตไมค วร กระทาํ บอ ยนัก เรอ่ื งที่ 4 ความเชอ่ื ท่ีผิดๆ ทางเพศ ความคดิ ผิด ๆ นน้ั ความจริงเปน แคค วามคดิ เทานัน้ ถา ยงั ไมไ ดก ระทํา ยอ มไมถอื วาเปน ความผิด เพราะการกระทาํ ยังไมเ กิดขึน้ โดยเฉพาะความเชอื่ ผิด ๆ เกีย่ วกับเรื่องเพศนนั้ ถาคิดใหม ทําใหมเสีย ก็จะ ไมเกิดผลรา ยในการดาํ เนินชวี ิตประจําวนั เรื่องราวเก่ียวกับเพศไดรบั การปกปด มานานแลว จนขา วลอื และ ความเชือ่ ผิด ๆ แตโบราณ ยังคงไดร ับการร่าํ ลือตอ เนอ่ื งยาวนานมาจนถงึ ยุคปจ จุบนั ตอไปน้ีเปนความเชอ่ื ผิด ๆ ความเขา ใจผดิ ๆ ทางเพศ ทอ่ี งคก ารอนามัยโลกไดต พี มิ พไว มีดังน้ี 1. ผูชายไมควรแสดงอารมณแ ละความรูสึกเกยี่ วกับความรกั เพราะคํารา่ํ ลอื ที่วา ผูช ายไมควรแสดงอารมณแ ละความรสู กึ เกยี่ วกับความรักให ออกนอกหนา ไมอ ยา งนนั้ จะไมเปนชายสมชาย ผูช ายจึงแสดงออกถึงความรกั ผานการมีเพศสัมพันธ จน เหมอื นวาผูชายเกดิ มาเพื่อจะมเี ซก็ ส ทงั้ ๆ ทีต่ อ งการจะระบายความรกั ออกไปเทา นน้ั เอง แทจรงิ แลว ผูชาย สามารถจะแสดงอารมณรกั ออกมาทางสีหนาแววตา การกระทําอะไรตอ มิอะไรไดเชน ผูหญิง และการมี เพศสัมพันธก็เปนสวนหน่งึ ของการบอกรักดวยภาษากายเทาน้ัน การแสดงความรักท่ีซาบซึ้งแบบอ่ืน ผชู ายทาํ ไดเ ชน เดียวกบั หญิงและหญงิ ก็ตอ งการดว ย 2. การถกู เนือ้ ตอ งตัวจะนําไปสกู ารมีเซ็กส เพราะความเชื่อท่ีวา ถาผูหญิงยอมใหผูชายถูกเนื้อตองตัวแลว แสดงวาตัวเองมใี จกับเขา เขาจึงพยายามตอ ไปที่จะมสี มั พันธสวาทที่ลึกซง้ึ กวานัน้ กับเธอ เปนความเขาใจผิดแท ๆ เพราะบางคร้งั ผูห ญิงแคตอ งการความอบอนุ และประทับใจกบั แฟนของเธอเทานัน้ โดยไมไ ดค ิดอะไรเลยเถดิ ไป ขนาดนนั้ เลย การจับมือกนั การโอบกอดสัมผัสกายของกันและกนั แทท ีจ่ รงิ เปนการถายทอดความรักท่ี บริสุทธ์ิ ทสี่ ามารถจะสมั ผสั จบั ตองได โดยไมจ าํ เปนจะตอ งมกี ารรวมรกั กันตอ ไปเลย และไมควรทฝี่ ายใด ฝายหน่ึง จะกดดันใหอีกฝายตองมเี ซก็ สดว ย 3. การมเี พศสมั พันธท่รี ุนแรงจะนําไปสกู ารสขุ สมทีม่ ากกวา เปน ความเขา ใจผดิ กนั มานานนักแลววา ผชู ายท่มี ีพละกําลังมาก ๆ จะสามารถมเี พศสัมพันธ กับหญิงสาวไดรวดเรว็ รนุ แรงและทําใหเธอไปถงึ จุดสุดยอดไดง าย รวมท้ังมีความเขาใจผดิ เสมอ ๆ วา อาวธุ ประจํากายของฝา ยชายท่ีใหญเทานน้ั ทจ่ี ะทาํ ใหผ ูห ญิงมีความสขุ ได แทจ รงิ แลวการมีสมั พันธสวาทที่ อบอนุ เนนิ่ นานเขา ใจกัน ชวยกนั ประคับประคองนาวารักใหผ านคลน่ื ลมมรสมุ สวาทจนบรรลุถงึ ฝงฝน ตางหาก ทน่ี าํ ความสุขสมมาสคู นทง้ั สองไดม ากกวา สมั พนั ธส วาทจงึ ควรทจ่ี ะเกิดขนึ้ ในบรรยากาศท่ีแสน จะผอนคลายและโรแมนติก

36 4. การมีความสัมพันธทางเพศกค็ ือการรวมรัก เปน ความเขา ใจผิดอยางย่งิ และสมควรไดร ับการแกไขใหถูกตองเพราะเซ็กสก็คอื การรวมรกั การแสดงความรักผา นภาษากาย เปนสัมผัสรักทค่ี นสองคนถายทอดใหแ กกนั จากการสัมผัสทางผวิ กาย สว นไหนกไ็ ด ไมใชเ ฉพาะสวนน้ันเทา นัน้ 5. ผูชายควรเปน ผนู าํ ในการรว มรัก เรือ่ งนย้ี ังคงเปน ความเช่ือผิด ๆ ไมว ารักผหู ญิงหรือผชู ายทมี่ หี วั อนุรกั ษน ิยม มักจะคิดเสมอ ๆ วาการจะมีอะไรกันนั้นผูชายตองเปนคนกระทําและผูหญิงเปนฝายรองรับการกระทําน้ัน แทจริงแลว การรวมรัก เปน กระบวนการทีค่ นสองคนสามารถปรบั เปลี่ยนเปนฝา ยนํา ในการกระทําไดโดยเสมอภาค ซง่ึ กนั และกนั 6. ผูห ญิงไมค วรจะเปนฝายเร่มิ ตน กอน ตามที่เลาแจงแถลงไขในขอท่ีผานมาจะเห็นไดวา เซ็กสเปนการส่ือสาร 2 ทางระหวาง คน 2 คน ทจี่ ะรว มมอื กันบรรเลงบทเพลงแหง ความพศิ วาส ซ่ึงตองผลดั กันนําผลัดกันตามและตอ งชว ยกนั โล ชวยกันพายนาวารักไปยังจุดหมายปลายทางแหง ความสุขสมรวมกัน 7. ผชู ายนกึ ถงึ แตเร่ืองเซก็ สตลอดเวลา มคี ํากลาวผิด ๆ ทพ่ี ดู กนั ตอเนื่องมาวา ผูชายนึกถึงแตเ รื่องของการมีเพศสัมพันธท่ีเรยี กกัน สั้นๆ วา เซ็กส อยตู ลอด ทงั้ ๆ ทคี่ วามเปน จรงิ คือ ผชู ายไมไ ดคิดถึงเรอื่ งเซ็กสอยูตลอดเวลา เขาคิดถึงเรื่อง อ่ืนอยูเหมือนกัน ไมวาจะเปนเร่ืองงาน เรื่องครอบครัว เพียงแตผูชายพรอมจะมีเซ็กสเสมอและไมได หมายความวา เมือ่ เขาพรอ มท่ีจะมีเซก็ สแ ลว เขาจําเปน จะตอ งมีเสมอไป 8. ผหู ญงิ ตอ งพรอ มเสมอท่จี ะมเี ซก็ สเ ม่ือสามตี องการ ที่จรงิ ในยคุ น้ีไมม คี วามจําเปนแบบนน้ั เลย ในอดตี อาจจะใชแตไ มใชใ นยคุ ไอทีแบบน้ีทผี่ ูชาย และผูหญงิ เทา เทยี มกนั และการจะมีเซ็กสกนั กเ็ ปนกจิ กรรมรว มท่คี นสองคนจะตอ งใจตรงกันกอน ไมใช แคฝา ยใดฝา ยหนึ่งตอ งการแลวอีกฝา ยจะตองยอม 9. เซ็กส เปนเร่อื งธรรมชาติไมต องเรยี นรู ผเู ฒา ผแู กมกั จะพยายามพดู เสมอ ๆ วา เพศศึกษาไมส ําคัญ ทําไมรุนกอน ๆ ไมตองเตรียมตัว ในการเรยี นรูเลย ก็สามารถทจ่ี ะมีเซ็กสกนั จนมีลกู เตม็ บานมหี ลานเตม็ เมืองได การเตรยี มตัวท่ีดียอมมีชยั ไปกวา ครงึ่ เรอ่ื งราวเกีย่ วกับความสมั พนั ธข องคนสองคนกเ็ ชนกัน สามารถเรียนรวู ิธกี ารทจ่ี ะเพิม่ ความสุข ใหแ กก ันและกนั ไดกอ นทีจ่ ะเกิดเหตุการณนัน้ อทิ ธพิ ลของสอ่ื ตอ ปญหาทางเพศ ปจจุบันส่ือมีอิทธิพลตอการดาํ เนนิ ชีวิตของทุกคนเทียบทุกดานรวมถึงดานปญหาทางเพศดว ย เพราะสื่อมผี ลตอพฤติกรรมการตดั สินใจของคนในสังคม ทกุ คนจงึ ตอ งบรโิ ภคขา วสารอยูต ลอดเวลา เชน การชมรายการขาวทางทีวีทกุ เชา การอา นหนงั สือพิมพ หรือเลนอินเตอรเนต็ ซ่ึงบางคนอาจจะใชบริการ

37 รบั ขาวสารทาง SMS เปน ตน สื่อจึงกลายเปนส่งิ ท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ ความคดิ และความรูสึกและการตัดสินใจท่ี สาํ คัญของคนในสงั คมอยา งหลกี เลยี่ งไมไ ด จากปจจัยดงั กลา วอทิ ธพิ ลของสอื่ จงึ ยอมที่จะกอ ใหเ กิดการเปลีย่ นแปลงไดใ นทกุ ๆ ภาคสว นของ สังคมไมวาจะเปน สังคมเมอื งหรอื แมแตในสงั คมชนบทก็ตาม ซงึ่ การเปลย่ี นแปลงนั้นยอมทีจ่ ะเกิดขึ้นได ทั้งทางทดี่ ีขน้ึ และทางท่แี ยล ง และส่ิงสาํ คัญสือ่ คอื ส่งิ ทม่ี อี ิทธพิ ลโดยตรงตอทกุ ๆ คนในสังคมไมวาจะเด็ก วัยรุนหรือกระท่ังผูใหญ อิทธิพลของส่ือที่นับวันจะรุนแรงมากขึ้น ไมวาจากสภาพเศรษฐกิจ การเปลีย่ นแปลงของสังคม เน่ืองมาจากความพยายามในการพัฒนาประเทศใหมคี วามเจริญกา วหนาใน ดานตาง ๆ เพื่อใหทัดเทียมกับนานาประเทศ กอใหเ กิดวัฒนธรรมที่หล่ังไหลเขามาในประเทศไทย โดยผานส่ือ ท้ังวทิ ยุ โทรทศั น ส่งิ พิมพและอินเตอรเน็ต ส่ือจึงกลายเปน สิ่งทมี่ ีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิต และนําพาไปสูป ญ หาและผลกระทบหลาย ๆ ดาน ของชีวติ แบบเดิม ๆ ของสังคมไทยใหเปลีย่ นแปลงไป ซ่ึงลวนมาจากการรับส่ือและอิทธิพลสื่อยังทําใหเกิดพฤติกรรมเลียนแบบ เชน ขาวอาชญากรรม ขาวสงคราม ภาพยนตรหรือละครทีเ่ นือ้ หารนุ แรง ตอสกู นั ตลอดจนส่ือลามกอนาจาร ซ่ึงสงผลใหเด็กและ คนท่ีรับส่ือจิตนาการตามและเกิดการเลียนแบบ โดยจะเห็นไดบอยคร้ังจากการท่ีเด็กหรือคนที่กอ อาชญากรรมหลายคดี โดยบอกวา เลียนแบบมาจากหนัง จากสื่อตาง ๆ แมกระทั่งการแตง กายตามแฟชั่น ของวยั รุน การกออาชญากรรม การกอมอ็ บ การใชความรุนแรงในการแกปญหา ความรนุ แรงทางเพศ ท่ีเกดิ ขน้ึ อยูใ นสังคมไทยขณะน้สี ว นใหญเ ปน ผลมาจากอทิ ธพิ ลของส่อื ส่ือมวลชนจงึ มีความสําคญั อยา งยิ่งตอการเขาไปมีบทบาทและมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตของ คนในสังคม มีการเปลยี่ นแปลงเกดิ ขึ้นตลอดเวลา บางสงิ่ เปล่ียนแปลงอยางรวดเรว็ แตบางส่ิงคอย ๆ จางหายไปทีละเลก็ ละนอย จนหมดไปในทสี่ ดุ เชน การที่ประเทศกาวหนา ทางเทคโนโลยีการสอ่ื สารทํา ใหขนบธรรมเนียมวฒั นธรรมคนไทย ท้ังสังคมเมืองและสังคมชนบท มกี ารเปลยี่ นแปลงอยา งรวดเร็ว แตจากการท่เี ราไมส ามารถปฏเิ สธการรับขาวสาร ความบันเทิงจากสอื่ ได แตเราสามารถเลอื กรบั สือ่ ทีด่ ี มปี ระโยชนไมรนุ แรง และไมผ ดิ ธรรมนองคลองธรรมได เร่ืองที่ 5 กฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ งกับการละเมิดทางเพศ คดคี วามผดิ เกีย่ วกบั เพศ โดยเฉพาะความผิดฐานขมขืนกระทาํ ชาํ เรา ถือเปน ความผดิ ท่ีรุนแรงและ เปนท่ีหวาดกลวั ของผูหญิงจํานวนมาก รวมท้ังผูปกครองของเด็ก ไมวาจะเปนเด็กหญิงหรือเด็กชาย ยงิ่ ปจ จบุ ันจากขอ มูลสถติ ิตาง ๆ ทําใหเราเห็นกนั แลววา การลวงละเมิดทางเพศนั้นสามารถเกิดข้ึนไดกับ คนทุกเพศ ทุกวยั กฎหมายท่บี ัญญัตไิ วเ พ่ือคมุ ครองผหู ญิงและผูเ สียหายจากการลวงละเมดิ ทางเพศ มีบญั ญตั อิ ยูในลกั ษณะความผดิ เกย่ี วกบั เพศ ดังน้ี มาตรา 276 ผใู ดขมขนื กระทําชาํ เราหญิงซง่ึ มิใชภริยาตน โดยขูเข็ญประการใด ๆ โดยใชกาํ ลงั ประทุษรา ย โดยหญงิ อยูในภาวะทไี่ มส ามารถขดั ขืนได หรือโดยทําใหหญิงเขาใจผดิ คิดวาตนเปนบุคคล อื่น ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตส่ีปถึงยี่สิบปและปรับตั้งแตแปดพันบาทถึงสี่หมนื่ บาท ถาการกระทํา

38 ความผดิ ตามวรรคแรกได กระทําโดยมีหรือใชอาวุธปนหรือวัตถรุ ะเบิด หรือโดยรว มกระทาํ ความผิด ดวยกัน อันมีลักษณะเปนการโทรมหญิงตองระวางโทษจําคุกตั้งแตส ิบหาปถึงยี่สิบปและปรับต้ังแต สามหม่นื ถงึ ส่หี ม่นื บาท หรอื จาํ คุกตลอดชวี ิต มาตรา 277 ผูใ ดกระทําชําเราเดก็ หญงิ อายไุ มเกินสิบหาป ซ่งึ มิใชภ ริยาตน โดยเดก็ หญิงน้ันจะ ยินยอมหรือไมก ็ตาม ตอ งระวางโทษจําคุกตั้งแตส่ปี ถ งึ ยีส่ ิบปและปรับตง้ั แตแปดพนั บาทถึงสหี่ มน่ื บาท ถา การกระทาํ ความผดิ ตามวรรคแรกเปน การกระทาํ แกเดก็ หญิงอายยุ งั ไมถ ึงสิบสามป ตองระวางโทษจําคุก ตง้ั แตเจ็ดปถึงย่ีสบิ ปแ ละปรับตง้ั แตหน่ึงหมื่นสี่พนั บาทถึงส่ีหมนื่ บาท หรือจาํ คุกตลอดชีวิต ถาการกระทํา ความผดิ ตามวรรคแรกหรือวรรคสองไดกระทําโดยรวมกระทาํ ความผิดดวยกันอันมีลักษณะเปนการ โทรมหญงิ และเดก็ หญงิ นั้นไมย ินยอม หรือไดกระทําโดยมอี าวธุ ปนและวตั ถรุ ะเบิด หรอื โดยใชอ าวุธ ตอ ง ระวางโทษจําคุกตลอดชีวิต ความผิดตามทีบ่ ญั ญัตไิ วใ นวรรคแรก ถาเปน การกระทําท่ีชายกระทํากับหญิง อายตุ ่าํ กวา สบิ สามป แตยังไมเกินสิบหาป โดยเด็กหญงิ น้ันยนิ ยอมและภายหลงั ศาลอนุญาตใหชายและ หญิงนน้ั สมรสกนั ผูกระทาํ ผดิ ไมตองรบั โทษ ถาศาลอนญุ าตใหสมรสในระหวา งที่ผกู ระทําผิดกําลงั รับโทษในความผิดนัน้ อยู ใหศาลปลอยผกู ระทําผิดน้นั ไป มาตรา 277 ทวิ ถา การกระทําความผิดตามมาตรา 276 วรรคแรก หรอื มาตรา 277 วรรคแรก หรือ วรรคสอง เปน เหตใุ หผถู ูกกระทํา (1) รับอันตรายสาหัส ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกต้ังแตสิบหาปถึงยี่สิบปและปรับตั้งแต สามหมนื่ บาทถึงสี่หมน่ื บาท หรอื จาํ คกุ ตลอดชีวิต (2) ถงึ แกความตาย ผูกระทาํ ตอ งระวางโทษประหารชีวิต หรือจาํ คุกตลอดชีวิต มาตรา 277 ตรี ถา การกระทาํ ความผิดมาตรา 276 วรรคสองหรอื มาตรา 277 วรรคสาม เปน เหตุให ผถู ูกกระทํา (1) รบั อนั ตรายสาหัส ผกู ระทําตองระวางโทษประหารชีวติ หรอื จําคกุ ตลอดชวี ิต (2) ถงึ แกความตาย ผูก ระทําตอ งระวางโทษประหารชีวติ โดยสรปุ การจะมคี วามผดิ ฐานกระทําชาํ เราได ตอ งมีองคประกอบความผดิ ดังนี้ 1. กระทําชําเราหญงิ อน่ื ที่มใิ ชภ รรยาตน 2. เปนการขม ขนื บงั คบั ใจ โดยมีการขูเ ขญ็ หรอื ใชก ําลงั ประทุษรา ย หรือปลอมตัวเปนคนอ่ืนที่ หญงิ ชอบและหญงิ ไมสามารถขัดขืนได 3. โดยเจตนา ขอสังเกต กระทําชําเรา = ทาํ ใหของลับของชายลวงลํ้าเขา ไปในของลับของหญงิ ไมวา จะลวงลาํ้ เขาไป เล็กนอ ยเพียงใดกต็ ามและไมว าจะสาํ เร็จความใครห รือไมกต็ าม การขม ขืน = ขม ขืนใจโดยท่หี ญิงไมส มัครใจ

39 การขมขืนภรรยาของตนเองโดยทจ่ี ดทะเบียนสมรสแลวไมเ ปน ความผิด การรวมเพศโดยท่ีผูหญิงยนิ ยอมไมเปนความผดิ แตถาหญิงน้ันอายุไมเกนิ 13 ป แมย ินยอมก็มี ความผิด การขมขนื กระทาํ ชําเราผูทีอ่ ยูภายในปกครองของตนเอง เชน บุตร หลาน ลูกศิษยท่ีอยใู นความ ดแู ล ตองรบั โทษหนกั ขึ้น มาตรา 278 ผูใดกระทําอนาจารแกบุคคลอายุกวาสิบหาป โดยขูเข็ญดวยประการใด ๆ โดยใชกาํ ลังประทษุ รา ย โดยบุคคลนั้นอยูในภาวะท่ไี มส ามารถขัดขืนไดหรอื โดยทําใหบคุ คลนน้ั เขา ใจผิด วาตนเปน บุคคลอ่นื ตอ งระวางโทษจําคกุ ไมเ กินสิบป หรอื ปรบั ไมเกินสองหมนื่ บาท หรือทงั้ จําทัง้ ปรบั มาตรา 279 ผูใดกระทําอนาจารแกเด็กอายไุ มเกินสิบหาป โดยเด็กนั้นจะยนิ ยอมหรือไมกต็ าม ตองระวางโทษจําคุกไมเกนิ สิบป หรอื ปรับไมเ กินสองหมื่นบาท หรอื ทัง้ จําทง้ั ปรับ ถาการกระทําความผิด ตามวรรคแรก ผกู ระทาํ ไดก ระทาํ โดยขูเข็ญดว ยประการใด ๆ โดยใชกําลังประทุษรา ยโดยเดก็ นน้ั อยูใน ภาวะท่ีไมสามารถขัดขืนได หรอื โดยทาํ ใหเ ดก็ น้ันเขาใจผิดวา ตนเปนบุคคลอ่ืน ตอ งระวางโทษจําคุก ไมเ กินสบิ หา ป หรือปรับไมเกนิ สามหมืน่ บาท หรอื ทงั้ จําทง้ั ปรบั มาตรา 280 ถา การกระทําความผดิ ตามมาตรา 278 หรือ มาตรา 279 เปนเหตใุ หผ ถู กู กระทาํ (1) รบั อันตรายสาหัส ผกู ระทําตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตง้ั แตห าปถ งึ ย่ีสบิ ปแ ละปรับตง้ั แตห น่งึ หมื่น บาทถึงสี่หมนื่ บาท (2) ถงึ แกความตาย ผูกระทําตอ งระวางโทษประหารชวี ติ หรอื จาํ คกุ ตลอดชีวิต การจะมีความผิดฐานทาํ อนาจารได ตองมอี งคประกอบ คือ 1 ทําอนาจารแกบ คุ คลอายเุ กินกวา 13 ป 2 มกี ารขมขู ประทษุ รา ย จนไมสามารถขดั ขืนได หรอื ทาํ ใหเขาใจวา เราเปน คนอนื่ 3 โดยเจตนา ขอ สังเกต อนาจาร = การทําหยาบชาลามกใหเปน ทอ่ี ับอายโดยที่หญิงไมสมคั รใจ หรอื โดยการปลอมตัวเปน สามีหรือคนรัก การทาํ อนาจารกับเด็กอายุไมเกนิ 13 ป แมเด็กยินยอมก็เปนความผิด ถา ทําอนาจารกับ บคุ คลใดแลวบุคคลน้นั ไดรับอนั ตรายหรอื ถึงแกค วามตายตอ งไดร ับโทษหนกั ขน้ึ การทําอนาจารไมจําเปนตองทํากับหญิงเสมอไป การทําอนาจารกับชายก็ถือเปนความผิด เชนเดยี วกนั ไมว า ผูก ระทาํ จะเปน หญงิ หรือชายก็ตาม ความผิดท้ังการขมขืนกระทําชําเราและการกระทํา อนาจารน้ี ผูกระทําจะไดรับโทษหนกั ขนึ้ กวาท่กี ําหนดไวอีก 1 ใน 3 หากเปน การกระทาํ ผิดแก 1. ผูสบื สันดาน ไดแ ก บุตร หลาน เหลน ล่อื (ลกู ของหลาน) ที่ชอบดว ยกฎหมาย 2. ศิษยซึ่งอยใู นความดูแล ซง่ึ ไมใ ชเฉพาะครูทมี่ หี นาทสี่ อนอยางเดยี ว ตองมีหนา ทด่ี ูแลดวย

40 3. ผอู ยูใ นความควบคมุ ตามหนาท่รี าชการ 4. ผอู ยใู นความปกครอง ในความพิทกั ษ หรือในความอนบุ าลตามกฎหมาย นอกจากน้ี ยังมมี าตราอนื่ ๆ ทเี่ ก่ยี วของอีก ไดแ ก มาตรา 282 ผใู ดเพ่อื สนองความใครของผูอน่ื เปนธุระจัดหา ลอไป หรอื พาไปเพื่อการอนาจาร ซึง่ ชายหรอื หญงิ แมผ ูนนั้ จะยนิ ยอมก็ตาม ตองระวางโทษจาํ คกุ ตงั้ แตหนึ่งปถ ึงสบิ ปและปรบั ตง้ั แต สองพันบาทถงึ สองหมน่ื บาท ถาการกระทาํ ความผิดตามวรรคแรกเปนการกระทาํ แกบ ุคคลอายเุ กินสิบหา ป แตยงั ไมเกินสิบแปดป ผูกระทาํ ตอ งระวางโทษจาํ คุกต้ังแตสามปถงึ สิบหาปและปรับตง้ั แตหกพนั บาท ถึงสามหม่ืนบาท ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรกเปนการกระทําแกเด็กอายุยังไมเกินสิบหาป ผูกระทําตองระวางโทษจําคกุ ต้ังแตหาปถ ึงย่ีสิบปแ ละปรบั ต้ังแตหน่ึงหมื่นบาทถึงส่ีหมนื่ บาท ผูใดเพื่อ สนองความใครข องผอู ่นื รับตัวบุคคลซึ่งผูจัดหา ลอ ไป หรือพาไปตามวรรคแรก วรรคสอง หรือวรรคสาม หรือสนับสนนุ ในการกระทําความผิดดังกลาวตองระวางโทษตามท่บี ญั ญัตไิ วในวรรคแรก วรรคสอง หรอื วรรคสาม แลว แตกรณี มาตรา 283 ผใู ดเพอื่ สนองความใครข องผอู ื่น เปนธุระจัดหา ลอ ไป หรือพาไปเพอ่ื การอนาจาร ซง่ึ ชายหรอื หญงิ โดยใชอ บุ ายหลอกลวง ขูเข็ญ ใชก าํ ลังประทุษราย ใชอาํ นาจครอบงําผิดคลองธรรม หรอื ใชวิธีขมขืนใจดว ยประการอื่นใด ตองระวางโทษจาํ คกุ ตัง้ แตห าปถึงย่ีสบิ ปและปรับต้ังแตหน่ึงหมนื่ บาท ถงึ สี่หม่นื บาท ถาการกระทาํ ตามความผิดตามวรรคแรก เปนการกระทําแกบ คุ คลอายุเกินสิบหาปแตยังไม เกนิ สบิ แปดป ผกู ระทําตอ งระวางโทษจําคกุ ต้ังแตเจ็ดปถงึ ยสี่ ิบปแ ละปรับตง้ั แตห นึ่งหมน่ื ส่พี นั บาทถึง สห่ี มื่นบาท หรอื จําคกุ ตลอดชวี ติ ถาการกระทําผิดตามวรรคแรกเปน การกระทาํ แกเด็กอายยุ งั ไมเกนิ สบิ หา ป ผูกระทาํ ตองระวางโทษจําคกุ ตั้งแตสิบปถ ึงยีส่ บิ ปและปรบั ตง้ั แตสองหม่ืนบาทถึงสหี่ มืน่ บาท หรือจําคกุ ตลอดชวี ิต หรือประหารชีวติ ผูใ ดเพอ่ื สนองความใครของผูอืน่ รับตวั บคุ คลซ่งึ มีผูจดั หา ลอไป หรอื พาไป ตามวรรคแรก วรรคสอง หรือวรรคสาม หรือสนับสนุนในการกระทําความผิดดังกลาว ตอ งระวางโทษ ตามท่บี ัญญตั ไิ วใ นวรรคแรก วรรคสอง หรอื วรรคสามแลว แตกรณี มาตรา 283 ทวิ ผูใดพาบคุ คลอายเุ กนิ สบิ หาปแตย งั ไมเกินสิบแปดปไปเพื่อการอนาจาร แมผนู ้นั จะยินยอมก็ตาม ตอ งระวางโทษจาํ คุกไมเ กนิ หา ปหรือปรับไมเ กินหน่ึงหมืน่ บาทหรือทง้ั จําทั้งปรบั ถาการ กระทาํ ความผิดตามวรรคแรก เปน การกระทาํ แกเด็กอายุยงั ไมเ กินสิบหาป ผกู ระทําตองระวางโทษจาํ คุก ไมเกนิ เจด็ ปหรอื ปรบั ไมเ กนิ หน่ึงหมนื่ สพ่ี ันบาท หรือทงั้ จําทั้งปรับ ผใู ดซอ นเรนบุคคลซ่งึ ถูกพาไปตามวรรค แรกหรือวรรคสอง ตองระวางโทษตามท่ีบัญญัติในวรรคแรกหรือวรรคสองแลว แตกรณี ความผิดตาม วรรคแรกและวรรคสาม เฉพาะกรณที ก่ี ระทําแกบ คุ คลอายุเกินสบิ หา ป เปนความผิดอนั ยอมความได มาตรา 284 ผูใดพาผูอ่ืนไปเพื่อการอนาจาร โดยใชอุบายหลอกลวง ขูเข็ญ ใชกําลังประทุษราย ใชอํานาจครอบงํา ผดิ คลองธรรมหรือใชวธิ ีขมขนื ใจดวยประการอนื่ ใด ตองระวางโทษจาํ คุกตงั้ แตหนง่ึ ป

41 ถึงสิบปและปรบั ต้ังแตส องพันบาทถึงหนึ่งหมน่ื บาท ผูใดซอนเรนบุคคลซึ่งเปนผูถูกพาไปตามวรรคแรก ตอ งระวางโทษเชนเดียวกบั ผพู าไปนน้ั ความผดิ ตามมาตราน้ี เปน ความผิดอันยอมความได มาตรา 317 ผูใดปราศจากเหตุอนั สมควรพรากเด็กอายุยังไมเกินสบิ หาปไปเสียจากบดิ ามารดา ผูปกครอง หรอื ผดู แู ล ตอ งระวางโทษจําคุกต้งั แตส ามปถงึ สบิ หาปแ ละปรบั ตั้งแตหา พันบาทถึงสามหมื่นบาท ผูใดโดยทุจริต ซื้อ จําหนาย หรือรับตัวเด็กซ่ึงถูกพรากตามวรรคแรก ตองระวางโทษเชนเดียวกับ ผพู รากนัน้ ถาความผดิ ตามมาตราน้ไี ดกระทําเพ่อื หากําไร หรือเพื่อการอนาจาร ผูกระทาํ ตองระวางโทษ จาํ คกุ ตัง้ แตหาปถ งึ ยี่สบิ ปแ ละปรับตง้ั แตหน่ึงหมนื่ บาทถึงส่ีหม่ืนบาท มาตรา 318 ผูใดพรากผูเยาวอายุกวาสิบหาปแตยังไมเกินสิบแปดปไปเสียจากบิดามารดา ผปู กครอง หรอื ผูดูแล โดยผูเยาวนน้ั ไมเต็มใจไปดว ย ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตง้ั แตส องปถึงสิบปแ ละปรบั ตั้ง แตส่พี ันบาทถงึ สองหม่ืนบาท ผูใ ดโดยทจุ ริต ซอื้ จาํ หนา ย หรอื รับตัวผเู ยาว ซง่ึ ถูกพรากตามวรรคแรกตอง ระวางโทษเชนเดยี วกับผพู รากน้ันถาความผดิ ตามมาตราน้ีไดกระทําเพ่ือหากําไร หรอื เพือ่ การอนาจาร ผกู ระทําตอ งระวางโทษจาํ คุกตง้ั แตส ามปถงึ สบิ หา ปและปรบั ต้งั แตหา พนั บาทถงึ สามหมื่นบาท มาตรา 319 ผูใดพรากผูเยาวอายุกวาสิบหาปแตยังไมเกินสิบแปดปไปเสียจากบิดามารดา ผปู กครองหรือผดู ูแลเพื่อหากาํ ไรหรอื เพ่ือการอนาจาร โดยผูเยาวน้นั เต็มใจไปดวย ตอ งระวางโทษจําคุก ตัง้ แตส องปถ ึงสิบปแ ละปรับต้งั แตส พ่ี ันบาทถึงสองหมื่นบาท ผูใดกระทําทุจริต ซอื้ จาํ หนา ย หรือรับตัว ผเู ยาวซึง่ ถกู พรากตามวรรคแรกตอ งระวางโทษเชนเดยี วกับผูพรากนั้นผูใดจะมีความผิดฐานพรากผูเยาว ความผดิ นั้นจะตองประกอบดวย 1. มีการพรากบุคคลไปจากการดูแลของบิดามารดา ผดู ูแล หรือผปู กครอง 2. บคุ คลทถี่ ูกพรากจะเตม็ ใจหรือไมก ต็ าม 3. ปราศจากเหตุผลอันสมควร 4. โดยเจตนา ขอ สังเกต การพรากผเู ยาว = การเอาตวั เดก็ ท่อี ายุยังไมค รบบรรลุนิติภาวะไปจากความดูแลของบิดามารดา ผปู กครอง หรอื ผดู ูแลไมวา เดก็ นัน้ จะเตม็ ใจหรอื ไมก ต็ าม การพรากผเู ยาวอายไุ มเกนิ 13 ป แตไ มเ กิน 18 ป โดยผเู ยาวไมเต็มใจเปนความผดิ ผูท่รี ับซื้อหรอื ขายตัวเดก็ ทพ่ี รากฯ ตองรบั โทษเชนเดียวกบั ผพู ราก ผูท ่ีพรากฯ หรอื รับซื้อเดก็ ท่ถี กู พรากฯ ไปเปนโสเภณี เปน เมยี นอ ยของคนอื่น หรอื เพ่อื ขมขืนตองรับโทษหนักขนึ้ การพรากผูเ ยาวอายุเกนิ 13 ป แตไมเ กนิ 18 ป แมผ ูเยาวจะเต็มใจไปดวย ถานําไปเพ่ือการอนาจาร หรอื คา กาํ ไรเปน ความผดิ เชน พาไปขม ขนื พาไปเปนโสเภณี เปน ตน

42 คําแนะนาํ ในการไปติดตอสถานตี าํ รวจ การแจง ความตา ง ๆ เพื่อความสะดวก รวดเรว็ และถูกตองตามกฎหมายและระเบียบของทางราชการ เม่ือทานไปติดตอ ที่สถานีตํารวจ ทานควรเตรียมเอกสารท่ีจําเปนติดตัวไปดวย คือ บัตรประจําตัวประชาชน หรือหลกั ฐานตา ง ๆ ทเี่ กยี่ วกับเรอ่ื งท่ีจะแจง โดยนาํ ไปแสดงตอ เจา หนาทต่ี ํารวจ เชน เสอ้ื ผาของผู ถูกขม ขนื ที่มีคราบอสจุ ิ หรอื รอยเปอนอยางอน่ื อนั เกดิ จากการขมขนื และสิง่ ของตาง ๆ ของผูต องหาท่ีตก อยใู นท่เี กดิ เหตุ ทะเบียนบานของผูเสยี หาย รูปถา ย หรือทีอ่ ยูข องผูตองหาตลอดจนหลกั ฐานอื่น ๆ (ถา มี) การแจงพรากผเู ยาว หลกั ฐานตา ง ๆ ควรนําไปแสดงตอ เจาหนาท่ีตํารวจคอื สจู ิบตั รของผเู ยาว ทะเบยี น บา นของผูเยาว รปู ถา ยผูเ ยาวใบสําคญั อนื่ ๆ ทเ่ี กี่ยวกับผูเยาว (ถามี) หมายเหตุ ในการไปแจงความหรือรองทกุ ขตอพนักงานสอบสวนน้ัน นอกจากนําหลักฐานไป แสดงแลว ถาทา นสามารถพาพยานบคุ คลทร่ี ูเห็นหรือเกย่ี วของกบั เหตุการณไ ปพบเจาพนกั งานสอบสวน ดว ยจะเปนประโยชนแกท า นและพนกั งานสอบสวนเปน อยา งมาก เพราะจะสามารถดาํ เนินเรอื่ งของทาน ใหแลว เสรจ็ ไดเร็วขึน้ กจิ กรรม อธบิ ายคําถามตอ ไปนี้ในชนั้ เรียน 1. พฒั นาการทางเพศมกี ่ีขั้นตอน อะไรบาง 2. อารมณท างเพศอาจแบง ตามความรุนแรงไดเปน 3 ระดบั มีอะไรบา ง 3. มีวิธีจัดการอารมณท างเพศอยางไรบาง 4. การจะมีความผิดฐานทาํ อนาจารได ตองมอี งคป ระกอบอะไรบาง 5. ตามขอ กฎหมายการพรากผเู ยาวห มายถึงอะไร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook