พุทธวจน แกก รรม ? โดย ตถาคต ?วนั น้ชี าวพทุ ธ แกกรรมตามใคร?ภกิ ษุ ท. ! เรากลาวซ่ึงเจตนา วา เปนกรรมภิกษุ ท. ! เหตเุ กดิ ของกรรมทง้ั หลายยอมมี เพราะความเกดิ ของผัสสะภิกษุ ท. ! ความดบั แหง กรรมยอมมี เพราะความดบั แหงผสั สะภิกษุ ท. ! มรรคมีองค ๘ นน้ี ่ันเอง เปนกัมมนิโรธคามนิ ีปฏปิ ทาฉกฺก. อํ. ๒๒ / ๔๕๘,๔๖๓ - ๔๖๔ / ๓๓๔.
ในปกหนา “ราหลุ ! กระจกเงามไี วสาํ หรบั ทําอะไร ? “ขาแตพ ระองคผ ูเ จรญิ ! กระจกเงามีไวส าํ หรับสองดู พระเจาขา !”“ราหลุ ! กรรมทัง้ หลาย กเ็ ปนสง่ิ ท่บี ุคคลควรสอดสอ ง พิจารณาดแู ลว ๆ เลา ๆ เสยี กอ น จงึ ทําลงไป ทางกาย, ทางวาจา หรอื ทางใจ ฉันเดียวกับกระจกเงานนั้ เหมอื นกนั .” จฬู ราหุโลวาทสูตร ม.ม. ๑๓/๑๒๓/๑๒๖. ในปกหลงั
พุทธวจนฉบับ๕ แกกรรม ?
พุทธวจน ฉบบั ๕ แกก รรม ?ส่อื ธรรมะนี้ จัดทําเพื่อประโยชนท างการศึกษาสูสาธารณชนเปนธรรมทาน ลิขสิทธ์ิในตนฉบับน้ีไดรับการสงวนไว ไมสงวนสิทธ์ิในการจัดทาํ จากตนฉบับเพ่ือเผยแผในทุกกรณี ในการจัดทําหรือเผยแผ โปรดใชความละเอียดรอบคอบ เพ่ือรักษาความถูกตองของขอมูล ขอคําปรึกษาดานขอมูลในการจัดทาํ เพื่อความสะดวกและประหยัด ตดิ ตอ ไดท ี่ คณุ ศรชา โทร.๐๘๑-๕๑๓-๑๖๑๑ หรอื คุณอารีวรรณ โทร.๐๘๑-๖๖๗-๕๔๕๕ พมิ พครงั้ ท่ี ๑ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๓ จาํ นวน ๑๐,๐๐๐ เลม ศลิ ปกรรม วชิ ชุ เสรมิ สวัสดศิ์ รี ทปี่ รึกษาศลิ ปกรรม จํานงค ศรนี วล, ธนา วาสกิ ศิริ จัดทาํ โดย มูลนิธพิ ทุ ธโฆษณ (เวบไซต www.buddhakos.org) ดาํ เนนิ การพิมพโ ดย บรษิ ทั ควิ พรนิ้ ท แมเนจเมนท จํากัด โทรศพั ท ๐-๒๘๐๐-๒๒๙๒ โทรสาร ๐-๒๘๐๐-๓๖๔๙
คาํ อนโุ มทนา ขออนโุ มทนา ในกุศลเจตนาครง้ั น้ี เปน อยา งย่ิง ที่ไดสรางเหตุปจจัยอันเปนไปเพ่ือความเจริญ และความมีอายุยนื ยาวแหง พทุ ธวจน ดวยการสืบสายถายทอดคาํ สอนที่ออกจากพระโอษฐของพระองคเอง ในสวนของเร่อื งกรรม กับความเขาใจทถ่ี กู ตอง สมดงั พุทธประสงค ทีต่ อ งการใหม ผี ูน ําคําสอนของพระองคไปศึกษาประพฤติปฏิบัติ เพงพิสูจนขออรรถขอธรรม เพ่ือใหเหน็ แจงเปน ปจ จตั ตงั และขยันในการถา ยทอดบอกสอนกนั รนุ ตอรนุ สบื ๆ กนั ไป ดวยเหตุที่ไดกระทาํ มาแลวนี้ ขอจงเปนพลวปจจัยใหผูมีสวนรวมในการทาํ หนังสือและผูที่ไดอานศึกษา พึงไดดวงตาเห็นธรรม สาํ เร็จผลยังพระนิพพาน สมดังความปรารถนาทไี่ ดส รา งมาอยา งดแี ลว ดว ยเทอญ. ขออนโุ มทนา พระคึกฤทธิ์ โสตถฺ ิผโล
คํานาํ ในคร้ังพุทธกาล มีภิกษุอธิบายเกี่ยวกับวิญญาณวาวิญญาณ คือสภาพทรี่ บั รูอารมณตางๆ ได สือ่ สารพูดคุยไดเปนผรู บั ผลของกรรมดีกรรมช่ัว เปนผูทีแ่ ลนไป ทอ งเทีย่ วไป พระพุทธเจา ทรงเรยี กภกิ ษุรปู นั้นมาสอบทันที เมือ่ไดความตรงกันกับท่ีถูกโจทกแลว ทรงตาํ หนิโดยการเรยี กภกิ ษุรปู นว้ี า “โมฆะบรุ ุษ” ซง่ึ แปลตามความหมายวาบคุ คลอันเปลา ไรประโยชน เปนโมฆะ มีไวก เ็ ทา กับไมมีจากนั้น ทรงพยากรณวา การพูดผิดไปจากคาํ ของตถาคตเชน น้ี จะทาํ ใหป ระสพบาปมใิ ชบ ุญเปน อนั มาก คงไมใชเรื่องยากเกินไปนัก ที่จะทําความเขา ใจวาวิญญาณ โดยนัยของขันธห า น้นั ไมใ ชต วั สัตว ไมใ ชบ ุคคลเปน แตเ พยี งสงิ่ ทมี่ ีกรยิ ารไู ด และ เปน ปฏจิ จสมุปปนธรรมคืออาศัยเหตุปจจัยในการเกิดขึ้นมีอยู สวนสัตว บุคคลผทู าํ กรรม รบั กรรมนั้น คอื ขนั ธห าอันประกอบดว ยอปุ าทานปรุงแตง เสรจ็ ไปแลว วาเปนนๆี้ เปน นน้ั ๆ
คําถามก็คือ บุคคลประเภทไหนที่สนใจกรรมวิบากกรรมในขนั ธหา (อนั ไมใชของเรา ไมใชเ ปนเรา ไมใ ชต ัวตนของเรา)น้ี คาํ ตอบกค็ อื บุคคลทีย่ งั มีความเห็นในวญิ ญาณ วา คอืผรู บั รู ผกู ระทาํ ผูรับผลของกรรม คอื ผทู อ งเท่ยี วเวยี นวายไปโดยนยั ลกั ษณะเดยี วกับภกิ ษรุ ปู น้ันในครัง้ พุทธกาล คาํ ถามอาจมีขึ้นอีกวา จะมีบา งไหมบางคน ทไี่ มส นใจไมแยแส ไมอยากรู ในเรื่องของกรรม และวบิ ากของกรรมในแงม ุมตา งๆ ภายใตค วามเหน็ วาใชต วั ตนในอปุ าทานขนั ธไมสนใจ การท่มี ที ี่เปน แลวนี้ วา เกิดจากกรรมน้ีๆ ในภพโนน ๆไมแ ยแส แกกรรมในภพโนนๆ ท่สี งผลอยูนี้ ดว ยกรรมน้นั ๆไมอยากรู วา ทํากรรมแบบนั้นๆ แลว จะไดร บั ผลแบบไหนๆ คําตอบพงึ มวี า ผูถงึ พรอมดว ยทฏิ ฐิ (ทิฏฐสิ มั ปนนะ)มอี ยคู ือเขา สูแ ลวในสัมมัตตนิยาม เขา สแู ลวในระบบท่ีถูกตองเปนผถู ึงแลว ซึ่งกระแส (โสตะ) คือทางอันเปน อรยิ ะ ฐานะท่ีเปน ไปไมได ของผถู งึ พรอ มดว ยทฏิ ฐิ นน่ั คือยึดม่ันความตามเห็นขันธในสวนอดีต (ปุพพันตานุทิฏฐิ)
และยึดม่ันความตามเห็นขันธสวนอนาคต (อปรันตานุทิฏฐิ)พระพุทธเจาทรงยืนยันวา ผูที่ถึงพรอมดวยทิฏฐิแลวน้ี จะมีความรูเขาใจอันพิเศษเฉพาะ ซึ่งหาไมไดในปุถุชนท่ัวไปทุกข จะคอ ยๆ ดบั ไป ในทุกๆ กาวบนหนทาง และเปนผทู ่ีจะไมตกต่ําเปนธรรมดา มีสัมโพธิเปน เบอ้ื งหนาทสี่ ดุ สงั คมพทุ ธในวันน้ี แมจะยังมีความเจริญในระบบธรรมวินัยอยูก็ตาม แตก็ปฏิเสธไมไดวายังมีบุคคลในขาย“โมฆะบุรุษ” ดงั คร้ังพทุ ธกาลนนั้ โมฆะบุรุษน้ี คือผูที่ขับเคล่ือนการกระทําตางๆท่ีออกนอกแนวทางของอริยมรรคมีองค ๘ ไปเร่ือยๆ และนาํ พาโลกไป ดว ยระบบคดิ ที่ปรารภขันธหา โดยความเปน ตนทง้ั หมดนีท้ าํ ขน้ึ ภายใตก ารอา งถึงคาํ สอนของพระพทุ ธเจา เราอาจเคยไดยนิ การอางถงึ พระธรรมคาํ สอนในสวนของศีลธรรม ซึ่งเปนเรอื่ งของขอปฏิบตั ิทไ่ี มเบียดเบยี นอนั นาํ มาซ่งึ วิบากอนั ดตี อตนเอง และหมสู ตั วท้ังหลายโดยรวมอีกท้งั ยังเปนเหตุใหไ ดบังเกิดในภพที่เตม็ ไปดว ยสุขเวทนา
ธรรมะ ในแงมุมระดบั ศลี ธรรมนี้ ไดถ กู เขาใจไปวา เปน เพียงเคร่อื งมือใหไดมาซงึ่ ความสุขมปี ระมาณตา งๆ อันเปน ผลจากการกระทําทดี่ ีน้นั และเพ่ือใหม ีภพตอๆไปที่ดีเทา นัน้ ความเขาใจท่ีคลาดเคล่ือน ตอระบบศีลธรรมน้ีเกดิ จากการไมรูแจง แทงตลอดดว ยดดี วยทฏิ ฐิ ในพทุ ธวจนเรอื่ งทาน ศลี สวรรค เปน เพยี งสวนหนึง่ ในอนุปพุ พิกถา ๕ซ่งึ พระพุทธองคท รงใชแ สดงตอฆราวาส ผูทีย่ งั มีจิตจมอยูในความสุขแบบโลกๆ ยงั ไมพรอ มที่จะเขาถงึ อริยสัจไดท ันทีทานกถา คือ การให การสละ, สลี กถา คอื ระบบศีลธรรม,สคั คกถา คือ สขุ แบบสวรรค, กามาทนี วกถา โทษแหงกามและ เนกขมั มานสิ ังสกถา คือ อานสิ งสแ หง การออกจากกามเมือ่ ผฟู ง มจี ติ ออ นโยน ปลอดนิวรณ นมุ เบาควรแกก ารแลวจงึ ทรงแสดงอริยสัจสี่ อนั เปน จดุ ประสงคห ลักเพียงอนั เดียวของการเทศนาแตละคร้งั ส่ิงที่เกิดขึ้นทุกวันน้ี คือ การตัดทอนคําสอนโดยแยกเนนเวยี นวนอยู เฉพาะเรื่องของทาน ศลี สวรรคยิ่งไปกวานั้น หากบวกเขาไปดวยกับบุคคลที่ยังไมพนการ
ดาํ รงชพี ดว ยมจิ ฉาอาชวี ะแบบของสมณะ คอื เลยี้ งชีพดวยการทํานาย การดูหมอ ดฤู กษ และอื่นๆทงั้ หลายท้ังปวง ท่ีรวมเรียกวาติรัจฉานวิชา ท้ังหมดน้ีจึงเปนเสมือนขบวนการที่ผันแปรธรรมวินัย ใหกลายเปนลัทธิใหมอะไรสักอยางท่ีไมใชพุทธ แตอางความเปน พทุ ธ แลวนาํ พาผูคนทหี่ ลงทางอยูแ ลว ใหย ่ิงผูกตดิ พนั เกยี่ วอยแู ตใ นภพ หนังสือ พุทธวจน ฉบับ แกกรรม โดยพระตถาคต นี้คือการรวมหลักธรรมท่ีพระพุทธเจาทรงตรัสไวเก่ียวกับกรรมโดยผูศึกษาจะสังเกตเห็นไดทันทีคือ ความรูในเร่ืองกรรม วากรรม เปนสิ่งท่ีบุคคลพึงทราบท้ังหมด ๖ แงมุมดวยกันเทานั้นเปนการรูที่จะนําไปสูการหลุดพนจากระบบแหงกรรมท่ีหมูสตั วติดขอ งอยูมานานนบั น้ี อริยมรรคมีองค ๘ คือ หนทางใหถงึ ความดับแหงกรรมโดยตัวของอริยมรรคเอง มแี ลว ซึ่งการสรางวบิ ากอันเปนเลศิมีพรอมแลว ซง่ึ อานสิ งสคอื การนาํ ไปสกู ารสลัดคนื อปุ าทานขนั ธนนั่ คือ การกระทํากรรม เพอื่ ใหระบบกรรมทัง้ หมดท้ังปวงนั้นกลายเปนโมฆะโดยสิ้นเชิง
คณะผจู ดั พมิ พหนังสอื เลมนี้ขอนอบนอ มสักการะ ตอ ตถาคต ผอู รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ และ ภิกษุสาวกในธรรมวินัยน้ี ต้งั แตคร้ังพุทธกาล จนถึงยุคปจ จบุ ัน ที่มสี ว นเกย่ี วขอ งในการสืบทอดพทุ ธวจนคือ ธรรม และวนิ ัย ทที่ รงประกาศไว บริสุทธ์บิ รบิ ูรณด แี ลว คณะศษิ ยพ ระตถาคต มกราคม ๒๕๕๓
สารบญั หนา ๑สิง่ ทต่ี อ งรเู กี่ยวกับ “กรรม” ๒รายละเอียดท่บี ุคคลควรทราบเก่ียวกับเรื่องกรรม ๖เหตเุ กิดแหง “กรรม” วา ดว ยเหตเุ กดิ แหง กรรม ๓ อยาง ๑๑ประเภทของกรรม ๑๒แบง ตามการกระทําและผลทไ่ี ดรับ ๑๗อะไรคอื กรรมเกา และ กรรมใหม ๒๐กายนี้ เปน “กรรมเกา” ๒๒การทาํ กรรมทางใดมโี ทษมากที่สดุ ๒๕หลกั การพจิ ารณาวากรรมชนดิ น้นั ควรทําหรอื ไม ๒๖เม่อื จะกระทํา ๒๗เมือ่ กระทาํ อยู ๒๘เมือ่ กระทาํ แลว
สมั มากัมมันตะ หนาสัมมากัมมันตะโดยปริยายสองอยา ง (โลกยิ ะ-โลกตุ ตระ)วาดวยลักษณะของสมั มากัมมันตะ ๓๑ลักษณะและวิบากแหงสัมมากมั มนั ตะ ๓๒วิบากของผทู ุศลี ๓๔ทคุ ตขิ องผทู ุศลี ๓๖สคุ ติของผูม ศี ลี ๔๐ ๔๓กรรมที่ทาํ ใหสิน้ กรรม (อรยิ มรรคมอี งคแ ปด) ๔๕ทาง ๒ สายท่ไี มค วรเดินอรยิ มรรคมีองคแปด ทางแหง ความส้นิ กรรม ๔๗“สิ้นตณั หา ก็ สน้ิ กรรม” ๔๘ ๕๐ขอควรทราบเพื่อปองกนั ความเขา ใจผดิ เกี่ยวกับเร่ืองกรรม ๕๕ทุกขเ กดิ เพราะมีเหตปุ จ จัยบาปกรรมเกา ไมอ าจสิ้นไดดวยทุกรกริ ิยา ๕๗ความรูสกึ ตางๆ ท่ีเกดิ ข้ึน ไมใ ชผ ลของกรรมเกา ๕๘ ๖๐ ๖๔
ลทั ธคิ วามเชอ่ื ผดิ ๆ เกย่ี วกบั กรรม ๓ แบบ หนาลทั ธิทเี่ ชือ่ วา สุขและทกุ ขเกดิ จากกรรมเกา อยา งเดียวลัทธทิ เ่ี ช่ือวา สขุ และทกุ ขเกิดจากเทพเจา บันดาลให ๗๗ลทั ธทิ ่ีเช่ือวา สขุ และทกุ ขเ กิดข้นึ เองลอยๆ ๗๘ ๘๑ ไมม ีอะไรเปนเหตุ เปน ปจ จัย ๘๓เชอ่ื วา “กรรม” เกดิ ขึน้ เองอนั ตรายอยางยงิ่ ๘๕เรอื่ งเกย่ี วกับ “กรรม” ในเชิงปฏจิ จสมุปบาทปฏิจจสมปุ บาท ในฐานะเปน กฎสงู สุดของธรรมชาติ ๘๙ความเก่ียวของของกิเลส กรรม และวิบากกรรม ๙๐การกระทาํ กรรมที่เปน ไปเพ่ือการสิ้นกรรม ๙๒ผูฉลาดในเรื่องกรรม ๙๕สง่ิ ทท่ี าํ ใหมีภพ ๙๘เหตุเกดิ ของทุกข ๑๐๐ทาํ กรรมอะไรจึงเกดิ มาแบบนี้ ๑๐๑ทําไมคนที่ทาํ บาปกรรมอยา งเดียวกัน ๑๐๓ แตรบั วิบากกรรมตางกัน ๑๐๔
เหตุทท่ี าํ ใหมนุษยเกิดมาแตกตางกนั หนาเกย่ี วกับบรุ พกรรมของการไดลกั ษณะของมหาบุรุษ ๑๑๐ และการบําเพญ็ บารมีในอดีตชาติ ๑๒๔กรรมท่ที ําใหไดร บั ผลเปน ความไมตกตํา่ชนช้ันวรรณะไมใ ชสง่ิ สําคัญ สําคญั ทีก่ ารกระทาํ ๑๓๕บคุ คล ๔ จําพวก ๑๓๗ทําชวั่ ไดชั่ว ๑๔๕ ๑๕๒
๘ พทุ ธวจนแหง ฉนั ทราคะทเ่ี ปน ปจจุบัน เปนอยางนแ้ี ล. ภกิ ษุ ท. ! เหตุ ๓ ประการเหลาน้ีแล เปน ไปเพ่ือความเกดิ ขึ้นพรอ มมูลแหงกรรม. ภกิ ษุ ท. ! (อีกอยางหนึ่ง) เหตุ ๓ ประการนี้เปน ไปเพื่อความเกดิ ข้นึ พรอมแหง กรรม เหตุ ๓ ประการคืออะไรบางเลา ? คือความพอใจ ไมเกิด เพราะปรารภธรรมท้งั หลาย อนั เปน ฐานแหงฉนั ทราคะทเ่ี ปน อดีต ๑, ความพอใจ ไมเ กิด เพราะปรารภธรรมทง้ั หลายอันเปนฐานแหง ฉันทราคะที่เปน อนาคต ๑, ความพอใจ ไมเ กดิ เพราะปรารภธรรมทง้ั หลายอันเปนฐานแหง ฉันทราคะทีเ่ ปนปจ จุบนั ๑. ความพอใจไมเกิดเพราะปรารภธรรมทั้งหลายอนั เปน ฐานแหงฉนั ทราคะทเ่ี ปน อดตี อยา งไร ? คือบคุ คลรูชัดซึ่งวบิ ากอนั ยดื ยาวของธรรม อันเปนฐานแหงฉันทราคะทล่ี วงไปแลว ครน้ั รชู ดั ซงึ่ วิบากอนัยดื ยาวแลว กลับใจเสียจากเร่อื งนนั้ คร้นั กลับใจไดแลวคลายใจออก กเ็ หน็ แจง แทงตลอดดว ยปญญา ความพอใจ
แกก รรม ? ๙ไมเกิด เพราะปรารภธรรมท้ังหลายอันเปนฐานแหงฉันทราคะท่เี ปน อดตี เปน อยา งนี้แล. ความพอใจไมเกิดเพราะปรารภธรรมท้ังหลายอันเปนฐานแหงฉนั ทราคะทเ่ี ปน อนาคตเปน อยา งไรเลา ? คือบคุ คลรชู ัดซึ่งวบิ ากอนั ยดื ยาวของธรรม อันเปนฐานแหงฉันทราคะท่ยี ังไมม าถึง ครั้นรชู ัดซึง่ วิบากอนัยดื ยาวแลว กลับใจเสียจากเร่อื งนัน้ ครั้นกลบั ใจไดแ ลวคลายใจออก ก็เห็นแจง แทงตลอดดว ยปญญา ความพอใจไมเกิดเพราะปรารภธรรมท้ังหลาย อันเปนฐานแหงฉันทราคะทเี่ ปน อนาคต เปน อยางนี้แล. ความพอใจไมเ กดิ เพราะปรารภธรรมทั้งหลาย อนัเปนฐานแหง ฉนั ทราคะทเี่ ปนปจ จบุ ันเปน อยางไรเลา ? คอื บุคคลรชู ัดซ่งึ วิบากอนั ยดื ยาวของธรรม อนั เปนฐานแหง ฉันทราคะท่ีเกดิ ข้ึนจําเพาะหนา คร้ันรูชัดซึ่งวบิ ากอนั ยดื ยาวแลว กลับใจเสียจากเร่ืองนน้ั ครน้ั กลับใจไดแ ลว คลายใจออก กเ็ ห็นแจงแทงตลอดดว ยปญญาความพอใจไมเ กดิ เพราะปรารภธรรมทง้ั หลาย อันเปนฐานแหงฉนั ทราคะท่ีเปน ปจจุบนั เปนอยางน้แี ล.
๑๐ พทุ ธวจน ภกิ ษุ ท. ! เหตุ ๓ ประการเหลา นีแ้ ล เปนไปเพื่อความเกิดขน้ึ พรอ มมลู แหง กรรม. ติก. อ.ํ ๒๐/๓๓๙/๕๕๒.
๑๒ พุทธวจน แบงตามการกระทําและผลทีไ่ ดร บั ภกิ ษุ ท. ! กรรม ๔ อยา งเหลาน้ี เรากระทาํ ใหแจงดว ยปญ ญาอนั ยิง่ เองแลวประกาศใหรทู ่ัวกัน. กรรม ๔ อยาง อยางไรเลา ? ภิกษุ ท. ! กรรมดํา มีวบิ ากดํา ก็มีอยู. ภกิ ษุ ท. ! กรรมขาว มีวบิ ากขาว ก็มอี ยู. ภิกษุ ท. ! กรรมทั้งดาํ ท้ังขาว มีวิบากท้ังดาํทงั้ ขาว กม็ อี ยู. ภกิ ษุ ท. ! กรรมไมดาํ ไมข าว มีวบิ ากไมด ําไมขาว เปนไปเพอ่ื ความสน้ิ กรรม กม็ อี ย.ู ภิกษุ ท. ! กรรมดาํ มีวิบากดํา เปนอยางไรเลา ? ภกิ ษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณนี ้ี ยอ มทาํ ความปรุงแตงทางกาย อันเปนไปกับดวยความเบียดเบียนยอมทาํ ความปรุงแตงทางวาจา อันเปน ไปกับดว ยความเบยี ดเบยี น. ยอ มทาํ ความปรงุ แตง ทางใจ อันเปนไปกบัดวยความเบยี ดเบยี น. คร้ันเขาทําความปรงุ แตง (ท้ังสาม)
แกกรรม ? ๑๓ดังน้ีแลว ยอมเขาถึงโลก อันเปนไปกับดวยความเบียดเบียน ; ผัสสะทั้งหลาย อันเปนไปกับดวยความเบยี ดเบยี น ยอมถูกตองเขาซึ่งเปน ผเู ขา ถงึ โลกอันเปน ไปดวยความเบยี ดเบยี น ; เขาอันผัสสะที่เปนไปกับดวยความเบียดเบยี นถูกตอ งแลว ยอมเสวยเวทนาท่เี ปนไปดว ยความเบยี ดเบยี น อนั เปน ทกุ ขโดยสวนเดยี ว, ดงั เชนพวกสตั วน รก. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกวา กรรมดาํ มีวบิ ากดํา. ภิกษุ ท. ! กรรมขาวมีวิบากขาว เปนอยางไรเลา ? ภิกษุ ท. ! บุคคลบางคนในกรณีน้ี ยอมทําความปรุงแตงทางกาย อันไมเปนไปกับดวยความเบียดเบียน,ยอมทําความปรงุ แตงทางวาจา อันไมเปนไปกับดวยความเบยี ดเบยี น, ยอ มทาํ ความปรุงแตงทางใจ อันไมเปนไปกับดวยความเบียดเบียน, ครั้นเขาทําความปรุงแตง (ท้ังสาม)ดังน้ีแลว ยอมเขาถึงโลก อันไมเปนไปกับดวยความเบียดเบียน ; ผัสสะท้ังหลายที่ไมเปนไปกับดวยความเบียดเบียน ยอมถูกตองเขาผูเขาถึงโลกอันไมเปนไปกับดวยความเบียดเบียน ; เขาอันผัสสะท่ีไมเปนไปกับ
๑๔ พุทธวจนดวยความเบียดเบียนถูกตองแลว ยอมเสวยเวทนาท่ีไมเปน ไปกบั ดว ยความเบียดเบียน อันเปนสุขโดยสวนเดียว,ดังเชนพวกเทพสภุ กิณหา. ภิกษุ ท. ! นี้เรียกวา กรรมขาว มวี ิบากขาว. ภกิ ษุ ท. ! กรรมทง้ั ดําท้ังขาว มวี ิบากทง้ั ดาํ ท้ังขาว เปน อยา งไรเลา ? ภิกษุ ท. ! บคุ คลบางคนในกรณนี ้ี ยอมทําความปรงุ แตงทางกาย อันเปนไปกับดวยความเบยี ดเบยี นบา งไมเปนไปดว ยความเบยี ดเบยี นบา ง, ยอมทาํ ความปรุงแตงทางวาจา อันเปนไปกับดวยความเบียดเบียนบาง ไมเปนไปกับดว ยความเบียดเบียนบา ง, ยอมทําความปรงุ แตงทางใจ อันเปนไปกบั ดว ยความเบยี ดเบยี นบาง ไมเปน ไปกับดวยความเบียดเบียนบาง, ครั้นเขาทาํ ความปรุงแตง(ท้ังสาม) ดังนแ้ี ลว ยอมเขา ถงึ โลกอนั เปนไปกับดว ยความเบียดเบยี นบาง ไมเปนไปดวยความเบียดเบียนบาง;ผสั สะท้ังหลายทเี่ ปน ไปกับดวยความเบยี ดเบยี นบา ง ไมเปน ไปดว ยความเบียดเบยี นบา ง ยอ มถูกตองเขาผูเขา ถึงโลกอันเปน ไปกบั ดวยความเบยี ดเบยี นบา ง ไมเ ปนไปกบั
แกกรรม ? ๑๕ดว ยความเบยี ดเบยี นบา ง; เขาอนั ผสั สะทเี่ ปน ไปกบั ดว ยความเบยี ดเบยี นบา ง ไมเ ปนไปดวยความเบยี ดเบยี นบา งถูกตองแลว ยอมเสวยเวทนาที่เปนไปกับดวยความเบยี ดเบียนบาง ไมเ ปน ไปดวยความเบยี ดเบียนบา ง อันเปน เวทนาทเ่ี ปนสขุ และทกุ ขเ จือกัน, ดังเชน พวกมนษุ ยพวกเทพบางพวก พวกวินบิ าตบางพวก. ภิกษุ ท. ! นีเ้ รียกวา กรรมทงั้ ดําทัง้ ขาว มีวิบากทัง้ ดาํ ทงั้ ขาว. ภกิ ษุ ท. ! กรรมไมดําไมข าว มีวิบากไมด าํ ไมขาว เปนไปเพอ่ื ความสิ้นกรรมน้นั เปนอยางไรเลา ? คือ สมั มาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) สัมมาสงั กัปปะ (ความดําริชอบ) สมั มาวาจา (การพูดจาชอบ) สมั มากัมมันตะ (การทาํ การงานชอบ) สมั มาอาชวี ะ (การเล้ียงชีวิตชอบ) สมั มาวายามะ (ความพากเพียรชอบ) สัมมาสติ (ความระลกึ ชอบ) สัมมาสมาธิ (ความตงั้ ใจมั่นชอบ).
๑๖ พุทธวจน ภิกษุ ท. ! น้ีเรยี กวา กรรมไมด ําไมข าว มีวิบากไมดําไมข าว เปนไปเพื่อความส้ินกรรม. ภกิ ษุ ท. ! เหลาน้แี ล กรรม ๔ อยา ง ท่ีเราทาํ ใหแจงดว ยปญญาอนั ยิง่ เองแลว ประกาศใหร ทู วั่ กัน. จตุกฺก. อ.ํ ๒๑/๓๒๐-๓๒๑/๒๓๗.(ในสูตรนี้ ทรงแสดงกรรมไมดาํ ไมข าว เปน ทส่ี นิ้ กรรมไวด ว ยอรยิ มรรคมีองคแ ปด; ในสูตรอ่ืนทรงแสดงไวดว ย โพชฌงคเจ็ด ก็มี ๒๑/๓๒๒/๒๓๘,แสดงไวด วยเจตนาเปน เคร่ืองละกรรมดาํ กรรมขาวและกรรมทงั้ ดําทัง้ ขาว กม็ ี๒๑/๓๑๘/๒๓๔.)
แกกรรม ? ๑๗ อะไรคือกรรมเกาและกรรมใหม ภิกษุ ท. ! เราจักแสดงซ่งึ กรรมท้งั หลาย ท้งัใหมและเกา (นวปุราณกัมม) กมั มนโิ รธ และกมั มนิโรธ-คามินปี ฏปิ ทา. ..... ภกิ ษุ ท. ! กรรมเกา (ปุราณกัมม) เปนอยางไรเลา ? ภกิ ษุ ท. ! จกั ษุ (ตา) .... โสตะ (หู) .... ฆานะ(จมูก) .... ชิวหา (ลน้ิ ) .... กายะ (กาย) ..... มนะ (ใจ) อนั เธอทงั้ หลาย พึงเหน็ วาเปนปุราณกมั ม (กรรมเกา ) อภสิ งั ขตะ(อันปจจยั ปรุงแตงขึ้น) อภิสัญเจตยิตะ (อนั ปจ จยั ทาํ ใหเกิดความรูสึกข้นึ ) เวทนียะ (มีความรูสกึ ตออารมณได). ภกิ ษุ ท. ! น้เี รียกวา กรรมเกา . ภิกษุ ท. ! กรรมใหม (นวกมั ม) เปนอยางไรเลา ? ภิกษุ ท. ! ขอที่บุคคลกระทาํ กรรมดวยกายดวยวาจา ดวยใจ ในกาลบัดนี้ อันใด, อันนี้เรียกวากรรมใหม ภกิ ษุ ท. ! กัมมนิโรธ (ความดับแหงกรรม) เปนอยางไรเลา ?
๑๘ พุทธวจน ภกิ ษุ ท. ! ขอท่ีบุคคลถูกตองวิมุตติ เพราะความดับแหง กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม อันใด, อนั นี้เรียกวา กัมมนิโรธ. ภกิ ษุ ท. ! กัมมนิโรธคามนิ ปี ฏิปทา (ขอ ปฏิบัติใหถ งึ ความดบั แหงกรรม) เปน อยางไรเลา ? กัมมนโิ รธคามินปี ฏิปทานนั้ คือ อริยอัฏฐังคิกมรรค(อรยิ มรรคมีองคแ ปด) น้ีนนั่ เอง ไดแ ก สัมมาทฏิ ฐิ (ความเหน็ ชอบ) สัมมาสงั กัปปะ (ความดาํ รชิ อบ) สมั มาวาจา(การพดู จาชอบ) สมั มากัมมนั ตะ (การทําการงานชอบ)สมั มาอาชีวะ (การเลย้ี งชีวิตชอบ) สัมมาวายามะ (ความพากเพยี รชอบ) สัมมาสติ (ความระลกึ ชอบ) สมั มาสมาธิ(ความตงั้ ใจมน่ั ชอบ). ภิกษุ ท. ! น้เี รียกวา กมั มนโิ รธคามินปี ฏปิ ทา. ภิกษุ ท. ! ดวยประการดังนแ้ี ล (เปนอันวา) กรรมเกาเราไดแ สดงแลว แกเ ธอทัง้ หลาย กรรมใหม เราก็แสดงแลว ,กมั มนิโรธ เรากไ็ ดแ สดงแลว , กัมมนโิ รธคามนิ ีปฏิปทาเราก็ไดแ สดงแลว. ภิกษุ ท. ! กจิ ใด ท่ศี าสดาผูเ อ็นดู แสวงหา
แกกรรม ? ๑๙ประโยชนเกื้อกลู อาศยั ความเอน็ ดูแลว จะพงึ ทําแกส าวกทง้ั หลาย, กจิ นั้น เราไดทําแลวแกพวกเธอ. ภกิ ษุ ท. ! น่นั โคนไม, นนั่ เรือนวา ง. พวกเธอจงเพยี รเผากเิ ลส, อยาไดป ระมาท, อยาเปน ผูท ่ตี อ งรอ นใจในภายหลงั เลย. น่แี ล เปน วาจาเครื่องพรํ่าสอนของเรา แกเธอทง้ั หลาย. สฬา. ส.ํ ๑๘/๑๖๖/๒๒๗ - ๒๓๑.
๒๐ พุทธวจน กายน้ี เปน “กรรมเกา ” ภกิ ษุ ท. ! กายนี้ ไมใ ชของเธอทัง้ หลาย และท้ังไมใชของบคุ คล เหลา อน่ื . ภิกษุ ท. ! กรรมเกา (กาย) น้ี อนั เธอทงั้ หลายพึงเหน็ วาเปนส่งิ ทปี่ จ จยั ปรงุ แตง ขนึ้ (อภสิ งฺขต), เปน ส่ิงท่ีปจ จัยทําใหเ กดิ ความรูสึกขน้ึ (อภิสฺเจตยิต), เปน ส่ิงท่ีมีความรูสกึ ตออารมณได (เวทนยี ). ภิกษุ ท. ! ในกรณีของกายนนั้ อริยสาวกผไู ดสดับแลว ยอมทาํ ไวในใจโดยแยบคายเปน อยา งดี ซึ่งปฏจิ จสมปุ บาท นั่นเทียว ดังนว้ี า “ดวยอาการอยา งนี้ :เพราะส่ิงนมี้ ,ี ส่งิ นจ้ี ึงมี ; เพราะความเกดิ ขึน้ แหง สิ่งน,ี้สิ่งน้ีจงึ เกิดขน้ึ ; เพราะสง่ิ นไี้ มมี, สงิ่ นจ้ี งึ ไมมี ; เพราะความดบั ไปแหง สง่ิ น้ี , สง่ิ นีจ้ ึงดบั ไป : ขอ นไ้ี ดแกส งิ่เหลา นค้ี อื เพราะมีอวิชชาเปน ปจ จยั จงึ มีสงั ขารทงั้ หลาย ;เพราะมีสังขารเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ ; เพราะมีวญิ ญาณเปนปจ จยั จึงมีนามรปู ; เพราะมีนามรูปเปน
แกก รรม ? ๒๑ปจจัย จึงมีสฬายตนะ ; เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัยจึงมีผัสสะ ; เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา ;เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา ; เพราะมีตัณหาเปน ปจ จยั จึงมอี ุปาทาน ; เพราะมอี ุปาทานเปน ปจ จัยจงึ มีภพ ; เพราะมภี พเปนปจจยั จงึ มชี าติ ; เพราะมชี าติเปนปจจัย ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัสอปุ ายาสทง้ั หลาย จึงเกดิ ข้ึนครบถว น : ความเกดิ ขนึ้พรอ มแหงกองทุกขท้งั ส้นิ นี้ ยอมมี ดว ยอาการอยา งน.ี้ เพราะความจางคลายดับไปโดยไมเหลือแหงอวิชชาน้ัน น่ันเทียว, จึงมีความดับแหงสังขาร, เพราะมีความดับแหงสังขาร จึงมีความดับแหงวิญญาณ ; .....ฯลฯ ..... ฯลฯ ..... ฯลฯ ..... เพราะมีความดับแหงชาติน่ันแล ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัสอุปายาสท้ังหลาย จึงดับสิ้น : ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิน้ น้ี ยอมมี ดวยอาการอยา งนี”้ ดังน้ี แล. นิทาน.ส.ํ ๑๖/๗๗/๑๔๓.
๒๒ พุทธวจน การทาํ กรรมทางใดมโี ทษมากทีส่ ุด ทีฆตปสสีนิครนถไดกราบทูลถามพระผูมีพระภาควา ทานพระโคดม ! พระองคเลายอมบัญญัติทัณฑะ ในการทําบาปกรรม ในการเปน ไปแหงบาปกรรมไวเ ทา ไร ? ทีฆตปสสี ! ตถาคตจะบัญญตั วิ า กรรม ๆ ดังนี้เปน อาจณิ . ทานพระโคดม ! ก็พระองคยอมบญั ญตั กิ รรม ในการทาํ บาปกรรม ในการเปนไปแหงบาปกรรมไวเ ทาไร ? ทฆี ตปส สี ! เรายอ มบญั ญัติกรรม ในการทาํบาปกรรม ในการเปน ไปแหงบาปกรรมไว ๓ ประการคอื กายกรรม ๑ วจกี รรม ๑ มโนกรรม ๑. ทานพระโคดม ! กก็ ายกรรมอยา งหน่ึง วจีกรรมอยา งหน่งึ มโนกรรมอยา งหนึ่ง มใิ ชหรือ ? ทฆี ตปสสี ! กายกรรมอยา งหน่งึ วจีกรรมอยางหน่ึง มโนกรรมอยา งหน่ึง. ทานพระโคดม ! กบ็ รรดากรรมทงั้ ๓ ประการ ทจ่ี าํ แนกออกแลวเปนสวนละอยางตางกัน เหลานี้ กรรมไหน คือ
แกกรรม ? ๒๓กายกรรม วจีกรรม หรือมโนกรรมทพ่ี ระองคบญั ญัติวา มีโทษมากกวาในการทําบาปกรรม ในการเปนไปแหงบาปกรรม ? ทฆี ตปส สี ! บรรดากรรมทงั้ ๓ ประการ ท่ีจําแนกออกแลว เปนสวนละอยางตา งกนั เหลา นี้ เราบญั ญตั ิมโนกรรมวา มีโทษมากกวา ในการทําบาปกรรม ในการเปน ไปแหง บาปกรรม เราจะบญั ญัติกายกรรม วจีกรรมวามีโทษมาก เหมือนมโนกรรมหามิได. ทา นพระโคดม ! พระองคตรัสวามโนกรรมหรือ ? ทีฆตปสสี ! เรากลาววา มโนกรรม. ทานพระโคดม ! พระองคตรสั วามโนกรรมหรอื ? ทีฆตปสสี ! เรากลา ววา มโนกรรม. ทานพระโคดม ! พระองคตรัสวามโนกรรมหรือ ? ทฆี ตปสสี ! เรากลาววา มโนกรรม. ทีฆตปสสีนิครนถใ หพระผูมีพระภาคทรงยืนยนัในเรือ่ งทต่ี รัสนีถ้ งึ ๓ ครง้ั ดวยประการฉะน้ี แลวลุกจากอาสนะเขา ไปหานิครนถน าฏบตุ รถึงทอ่ี ย.ู ม. ม. ๑๓/๕๔/๖๒.
๒๖ พุทธวจน เมอ่ื จะกระทาํ ราหลุ ! เธอใครจ ะทํากรรมใดดว ยกาย พงึพจิ ารณากรรมน้นั เสยี กอ นวา “กายกรรมท่ีเราใครจะกระทาํ น้ี เปนไปเพ่อื เบียดเบยี นตนเองบาง เบยี ดเบียนผูอืน่ บา ง เบียดเบียนทง้ั สองฝา ยบา ง เปนกายกรรมท่ีเปน อกุศล มีทกุ ขเปนกําไร มที ุกขเ ปนวิบาก หรอื ไมหนอ”ดงั น.ี้ ราหุล ! ถา เธอพจิ ารณา รสู ึกอยูดังน้นั ไซร,เธอ ไมพงึ กระทาํ กายกรรมชนดิ น้นั โดยถายเดียว. ราหลุ ! ถา เธอพิจารณา รูสึกอยูดังน้ีวา“กายกรรมท่ีเราใครจ ะกระทาํ น้ี ไมเปน ไปเพ่ือเบียดเบียนตนเองบา ง ไมเ ปนไปเพอื่ เบยี ดเบยี นผูอนื่ บาง ไมเ ปน ไปเพือ่ เบียดเบยี นท้ังสองฝา ยบาง เปนกายกรรมอันเปนกุศล มีสขุ เปน กําไร มีสขุ เปน วบิ าก” ดงั นี,้ ราหุล ! เธอพึงกระทาํ กายกรรมชนิดน้ัน.
๓๒ พทุ ธวจน สัมมากมั มนั ตะโดยปริยายสองอยา ง (โลกยิ ะ – โลกตุ ตระ) ภกิ ษุ ท. ! สมั มากัมมนั ตะ เปน อยางไรเลา ? ภิกษุ ท. ! เรากลาว แมสมั มากมั มนั ตะวา มโี ดยสว นสอง คอื สมั มากัมมันตะ ทีย่ งั เปนไปกบั ดวยอาสวะ(สาสว)เปนสว นแหง บุญ (ปุ ฺ ภาคยิ ) มีอปุ ธิเปน วบิ าก (อปุ ธเิ วปกกฺ )ก็มอี ยู ; สัมมากมั มนั ตะอนั เปน อริยะ (อรยิ ) ไมมีอาสวะ(อนาสว) เปนโลกุตตระ (โลกุตตฺ ร) เปนองคแหง มรรค(มคฺคงฺค) กม็ อี ย.ู ภกิ ษุ ท. ! สัมมากมั มนั ตะ ท่ยี ังเปน ไปกับดว ยอาสวะ (กเิ ลสท่ีหมักหมม) เปนสวนแหงบญุ มอี ปุ ธิ (ส่งิ ที่ยงั ระคนดวยกิเลส) เปน วบิ าก นัน้ เปนอยา งไรเลา ? ภกิ ษุ ท. ! เจตนาเปน เคร่อื งเวน จากการทาํ สัตวมีชีวติ ใหตกลว งไป เจตนาเปนเครอื่ งเวน จากการถือเอา
แกกรรม ? ๓๓สงิ่ ของที่เจาของมิไดให เจตนาเปน เคร่อื งเวนจากการประพฤตผิ ดิ ในกามทัง้ หลาย มอี ย.ู ภกิ ษุ ท. ! นี้คือสัมมากัมมันตะทีย่ งั เปนไปกบัดวยอาสวะ เปน สว นแหง บญุ มีอุปธเิ ปนวิบาก. ภกิ ษุ ท. ! สัมมากมั มันตะ อันเปนอรยิ ะ ไมม ีอาสวะ เปน โลกุตตระ เปนองคแ หงมรรค น้นั เปนอยา งไรเลา ? คือ การงด การเวน การเวนขาด เจตนาเปน เครือ่ งเวนจากกายทจุ รติ ท้งั สาม (ตามทกี่ ลา วแลวขางบน) ของผูมีอรยิ จติ ของผูม อี นาสวจติ (ผูมีจิตท่ไี มมอี าสวะ) ของผูเปนอริยมคั คสมังคี ผเู จริญอยูซง่ึ อรยิ มรรค. ภิกษุ ท. ! นี้คือ สมั มากัมมนั ตะอนั เปน อรยิ ะไมมอี าสวะ เปน โลกุตตระ เปน องคแ หงมรรค. อปุ ร.ิ ม.๑๔/๑๘๔/๒๗๑-๒๗๓.
๓๔ พทุ ธวจน วาดว ยลกั ษณะของสัมมากมั มนั ตะ (ปาณาตปิ าตา เวรมณี) เธอน้ัน ละปาณาติบาตเวนขาดจากปาณาติบาต (ฆาสตั ว) วางทอ นไมแ ละศัสตราเสียแลว มคี วามละอาย ถึงความเอ็นดูกรณุ า หวงัประโยชนเ ก้ือกลู ในบรรดาสตั วท้ังหลาย อย.ู (อทนิ นาทานา เวรมณี) เธอน้นั ละอทนิ นาทานเวนขาดจากอทินนาทาน (ลักทรพั ย) ถือเอาแตของทเี่ ขาใหแลว หวังอยแู ตข องที่เขาให ไมเปนขโมย มตี นเปน คนสะอาดเปนอย.ู (กาเมสมุ ิจฉาจารา เวรมณี - สําหรบั ฆราวาส)เธอนั้น ละการประพฤติผิดในกาม เวนขาดจากการประพฤตผิ ิดในกาม (คือเวน ขาดจากการประพฤติผิด) ในหญิงซึง่ มารดารักษา บดิ ารกั ษา พี่นองชาย พน่ี อ งหญงิหรอื ญาติรกั ษา อันธรรมรักษา เปน หญงิ มีสามี หญงิอยใู นสินไหม โดยทสี่ ุดแมหญิงอันเขาหมนั้ ไว (ดว ยการ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178