Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการปฎิบัติงาน ครั้งที่ 3 (นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย)

รายงานผลการปฎิบัติงาน ครั้งที่ 3 (นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย)

Published by kitthanachon01, 2021-08-03 11:11:06

Description: รายงานผลการปฎิบัติงาน รอบที่ 3 ( 11 พฤศจิกายน 2563 - 10 พฤษภาคม 2564

Search

Read the Text Version

1 รายงานผลการปฏิบัตงิ านการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเขม้ ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย ครง้ั ที่ 3 วันท่ี 11 พฤศจกิ ายน 2563 ถึง 10 พฤษภาคม ๒๕๖4 วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว สงั กัดสถาบันวทิ ยาลยั ชุมชน กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. ข้อมูลผรู้ บั การประเมิน ๑.๑ ช่ือ นายกฤษฐนชนม์ นามสกุล หาระไชย ๑.๒ เกิดเมือ่ วันท่ี 19 เดือน มกราคม พ.ศ. 2524 อายุ 40 ปี 4 เดือน ๑.๓ ตำแหนง่ หนา้ ทีใ่ นปัจจบุ ัน ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย สถานทีท่ ำงานศึกษา วิทยาลัยชมุ ชนสระแก้ว ตัง้ อยเู่ ลขที่ - หม่ทู ี่ - ถนน - ตำบล/แขวง ท่าเกษม อำเภอ/เขต เมืองสระแก้ว จังหวัด สระแกว้ รหสั ไปรษณยี ์ 27000 โทรศพั ท์ 037 - 425487 โทรสาร 037 - 425291 e-mail - ๑.๔ ท่ีอยู่ปจั จุบนั 396 หมู่ 8 ถนน - ตำบล/แขวง ทา่ เกวยี น อำเภอ/เขต วฒั นานคร จังหวัด สระแกว้ รหสั ไปรษณยี ์ 27160 โทรศพั ท์ - โทรศพั ท์เคล่ือนท่ี 088-496-7127 โทรสาร - e-mail [email protected] ๑.5 ท่อี ยู่ปัจจุบนั ตามทะเบียนบ้าน 99 หมู่ 14 ถนน - ตำบล/แขวง ชุมชา้ ง อำเภอ/เขต โพนพิสยั จงั หวัด หนองคาย รหสั ไปรษณยี ์ 43120 โทรศัพท์ - โทรศัพทเ์ คลอ่ื นท่ี - โทรสาร - e-mail - 1.6 ใบอนุญาตผู้ประกอบวิชาชีพครู อยรู่ ะหวา่ งการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพครู ๒. ประวตั ิการศกึ ษา วฒุ กิ ารศึกษา วิชาเอก/โท/สาขา ปที ี่สำเรจ็ สถาบนั การศกึ ษา การศึกษา ประกาศนียบตั รวิชาชพี ครู ป.บณั ฑิต 2563 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี ปรญิ ญาโท บธ.ม /การบัญชี 2556 มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพธนบุรี ปรญิ ญาตรี บธ.บ/การบญั ชี 2551 วิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้นั สูง ปวส./ การบัญชี 2548 วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาหนองคาย ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ปวช./พาณชิ ยกรรม 2544 วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาหนองคาย มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ - 2540 โรงเรยี นบา้ นบัว ประถมศึกษา - 2536 โรงเรียนบา้ นบัว รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตำแหนง่ ครผู ูช้ ่วย ผู้รับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแก้ว

2 ๓.ประวัตกิ ารทำงาน (ตั้งแต่เรมิ่ ปฏิบัติงานจนถึงปจั จุบัน) ระยะเวลา ช่ือตำแหน่ง ชอ่ื และท่ีอยู่ ลักษณะงาน/หน้าที่ความรบั ผิดชอบ การทำงาน ครผู ชู้ ่วย สถานทท่ี ำงาน วทิ ยาลัยชมุ ชน - ปฏิบัตงิ านด้านการสอน 11 พ.ย. สระแกว้ - อาจารยป์ ระจำหลกั สตู รสาขาการบญั ชี 2562 - งานสนบั สนนุ การจดั การศึกษา สำนกั งานสถาบัน - วทิ ยาลยั ชุมชน - งานการเงนิ และบญั ชี ปจั จบุ ัน กรุงเทพมหานคร - งานแผนงานและงบประมาณ - งานอื่นทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย 18 ก.พ. นักวิชาการเงนิ 2562 และบญั ชี - ศึกษา วเิ คราะห์ ช่ือบัญชแี ละคำอธบิ ายของผงั ปฏิบัติการ บัญชีระบบ GFMIS และระบบมอื พร้อมทงั้ - Mapping ขอ้ มูลทางบัญชี เงินงบประมาณและเงนิ 10 พ.ย. นอกงบประมาณ 2562 - ตรวจสอบการบันทกึ ขอ้ มลู และประมวลผลตัวเลข ในระบบ GFMIS และระบบมือ - จัดทำบญั ชี และ ทะเบยี นคุมทุกประเภท -จัดทำและตรวจสอบรายงานการเงนิ ประจำเดือน/ ประจำปี ในระบบมือ และระบบ GFMIS ของ สถาบนั วทิ ยาลยั ชุมชน -รวบรวม และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตาม ขอ้ เสนอแนะของ สตง. ของสถาบันวทิ ยาลยั ชมุ ชน ทุกแหง่ -รวบรวม วิเคราะห์ ตรวจสอบขอ้ มูลรายงานทาง การเงินประจำเดอื นของสถาบันวทิ ยาลยั ชมุ ชน รายงานความเคลื่อนไหวทางการเงินท้ังเงนิ งบประมาณและเงินนอกงบประมาณ เสนอผู้บรหิ าร -จดั ทำบัญชตี น้ ทุนต่อหนว่ ยผลติ ในภาพรวม ของ สถาบันวิทยาลยั ชมุ ชน -บันทึกการปรบั ปรุงบัญชี แก้ไขข้อผิดพลาดทาง บญั ชี ในระบบ GFMIS ของสำนกั งานสถาบัน วทิ ยาลัยชมุ ชนและวิทยาลยั ชุมชนทุกแหง่ ทั้งเงนิ งบประมาณและเงินนอกงบประมาณ -ใหค้ ำแนะนำ ปรกึ ษา ตอบปัญหาในระดับเบ้ืองต้น เก่ยี วกับงานการเงนิ และบญั ชีแกบ่ คุ ลากรภายในและ ภายนอก -งานอื่นที่ไดร้ บั มอบหมาย รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหน่งครูผ้ชู ว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว

3 ระยะเวลา ชอ่ื ตำแหน่ง ชอื่ และท่ีอยู่ ลักษณะงาน/หน้าทคี่ วามรับผิดชอบ การทำงาน นายทหารบัญชี สถานท่ีทำงาน - ตรวจสอบการบันทึกขอ้ มลู และประมวลผลตัวเลข 11 เม.ย. กรมขนส่งทหารบก ในระบบ GFMIS และระบบมือ - จดั ทำบัญชี และ 2554 จังหวัด ทะเบยี นคุมทุกประเภท กรงุ เทพมหานคร -จดั ทำและตรวจสอบรายงานการเงนิ ประจำเดอื น/ - ประจำปี ในระบบมือ และระบบ GFMIS ทง้ั เงนิ 17 ก.พ. งบประมาณ และเงนิ ทนุ หมุนเวยี น 2562 -ตรวจสอบ/จดั ทำบัญชขี องสกรณ์ออมทรพั ย์กรม (6 ปี 10 ขนสง่ ทหารบก เดือน) - ตรวจสอบเอกสารการเบิกจ่ายเงินสวสั ดกิ ารเช่น ค่า รักษาพยาบาล ค่าเลา่ เรียน ของกรมขนทางทหารบก รวมท้งั เขตการเบิกจ่าย จำนวน 11 หน่วย - งานอน่ื ที่ไดร้ บั มอบหมาย พ.ค.2547 นกั วิชาการ สำนกั งานตรวจ 1. ให้คำแนะนำในการวางรูปแบบบญั ชี - ตรวจสอบบัญชี บัญชสี หกรณ์ แกส่ หกรณ์และกลุ่มเกษตรกร สระแก้ว จงั หวดั 2. ตรวจสอบ แนะนำการปฏบิ ตั งิ านด้านการเงิน 1 พย สระแกว้ การบัญชี สหกรณ์ แกลุ่มเกษตรกรและเครดิตยูเนยี น 2553 3. ตรวจสอบ แนะนำ ควบคุมภายใน และให้ (ระยะเวลา คำปรึกษาแก่สหกรณ์ แกลุ่มเกษตรกร และเครดิต 6 ปี ) ยูเนยี นใหส้ ามารถจดั ทำบญั ชี และปิดงบการเงินได้ 4. จดั อบรมให้ความรเู้ กยี่ วกบั การออม การจดั ทำ บญั ชี แก่ชุมชน และพนักงานสถาบันเกษตรกร 5. งานพัสดุ สำนักงาน 6. งานอนื่ ทไี่ ดร้ บั มอบหมาย ๔. ความร้คู วามสามารถพเิ ศษ ๑. ดา้ นคอมพวิ เตอร์ ทกั ษะการใช้ใชโ้ ปรแกรมกลุ่ม Microsoft Office ไดเ้ ป็นอย่างดี 2. ด้านการเงินการบญั ชี ทักษะการตรวจสอบ การจัดทำงบการเงิน ได้เปน็ อย่างดี 3. ดา้ นงานวิจัย มที กั ษะในการจดั ทำวิจัย การประเมินโครงการ การใชค้ อมพวิ เตอรว์ เิ คราะห์ข้อมูลทางสถิติ 4. ด้านทกั ษะการ บรรยาย ใหค้ วามรู้ ในกจิ กรรมต่าง ๆ เกย่ี วกบั ระเบยี บการเงิน การบัญชี และพสั ดุ รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเข้ม ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย ผ้รู ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสระแกว้

4 ๕. ประวตั กิ ารสอน ๕.๑ เร่มิ สอนครัง้ แรก เม่ือ ๑๘ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓ หลักสูตรอนุปริญญา สาขาการบัญชี สถานศึกษา วิทยาลยั ชุมชนสระแก้ว ตำบล/แขวง ท่าเกษม อำเภอ/เขต เมืองสระแกว้ จังหวัด สระแกว้ รหสั ไปรษณีย์ 27000 โทรศัพท์ - โทรสาร - สังกัด สถาบันวิทยาลัยชุมชน กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม ๕.๒ ปัจจบุ ัน ศึกษาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑิตวิชาชีพครู จงั หวดั ปทมุ ธานี สถานศึกษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี โทรสาร - ตำบล/แขวง คลองหก อำเภอ/เขต คลองหลวง รหสั ไปรษณยี ์ 12110 โทรศพั ท์ - ๕.3 ฝกึ สอนระดับ ประกาศนยี บตั รวิชาชพี และประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้ันสงู สถานศกึ ษา วิทยาลัยเทคนคิ สระแกว้ ตำบล/แขวง วฒั นานคร อำเภอ/เขต วฒั นานคร จังหวัด สระแก้ว รหัสไปรษณยี ์ 27160 โทรศัพท์ - โทรสาร - สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา สงั กดั กระทรวงศึกษาธิการ ทำการฝึกสอนสอนรวมเป็นเวลา 1 ปีการศกึ ษา รายวชิ าที่ทำการฝกึ สอน ประจำปกี ารศึกษา 2563 ปีการศึกษา/ ระดบั การศึกษา รหสั วิชา ชอ่ื รายวิชา กลมุ่ /ห้อง ภาคเรียน 2 1/2563 ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ 20001- ธุรกิจและการเป็น 1 ชัน้ ปีท่ี 1 1003 ผู้ประกอบการ 4 2/2563 กฎหมายธรุ กิจ 4 ประกาศนียบัตรวชิ าชพี 30001- 2 ชนั้ สูง ชนั้ ปีท่ี 1 1055 การบัญชีภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคล 2 ธรรมดา ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ 20201- ช้ันปีที่ 2 2005 การบัญชรี ่วมคา้ และระบบ ใบสำคัญ ประกาศนียบัตรวชิ าชพี 2201- ชน้ั ปีที่ 3 2104 กระบวนการจดั ทำบัญชี ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ 2201- การบญั ชีร่วมคา้ และฝากขาย ชน้ั ปที ี่ 3 2008 ประกาศนยี บตั รวิชาชพี 20201- ชน้ั ปที ี่ 2 2104 รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเขม้ ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย ผู้รับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว

5 ๖. งานที่ได้รับมอบหมาย/หนา้ ท่พี ิเศษ นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย ตำแหน่งครูผู้ช่วย ปฏิบัติการสอนระดับอุดมศึกษาที่ต่ำกว่าปริญญา (อนปุ รญิ ญา) วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว สังกดั สถาบนั วิทยาลัยชุมชน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ยึดหลักการปฏิบัติตนแก่ศิษย์ โดยให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาโดยเท่าเทียมกันเมื่อนักศึกษามี ปัญหาด้านการเรียนสามารถขอคำแนะนำ ได้ตลอดเวลา รับผิดชอบต่อการสอน สอนนักศึกษาให้สามารถมี ความรู้ ความสามารถตามมาตรฐาน การเรียนรู้และคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ โดยสรรหากระบวนการเรียนการ สอนทห่ี ลากหลายเพ่ือให้นักศึกษาสามารถเรียนรแู้ ละมีความรดู้ ี ทักษะเยี่ยม เป่ียมดว้ ยคณุ ธรรม จริยธรรมที่ พึงประสงค์ ใช้ความรัก ความเมตตาในการสอนเสมอ ยึดหลักความเท่าเทียมและความเสมอภาคของผู้เรียนทุก คน ติดต่อกับผู้ปกครองในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับนักศึกษาจนสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และได้รับมอบหมาย ปฏิบตั ิหนา้ ท่ี ดังนี้ ๑. ด้านงานสอน 1.1 งานสอนหลกั สุตรอนุปรญิ ญา • การส่งเสรมิ การเรียนรู้ พฒั นาผ้เู รียน ปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบพัสดขุ องสถานศึกษา พัฒนาตนเองและวิชาชีพประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง บุคคลในชุมชน และสถานประกอบการเพ่ือ รว่ มกนั พฒั นาผ้เู รียน การบริการสงั คมดา้ นวิชาการและด้านวิชาชีพและปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนตามท่ีได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ดิ ังน้คี อื ๑) ปฏิบัตงิ านเกีย่ วกบั การจดั การเรียนการสอน และสง่ เสริมการเรียนรูข้ องผเู้ รยี น ดว้ ยวธิ กี ารทีห่ ลากหลายโดยเนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำคญั ๒) จัดอบรมสง่ั สอน และจดั กิจกรรมเพือ่ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลกั ษณะท่ีพึ่งประสงค์ ๓) ปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบพัสดขุ องสถานศกึ ษา ๔) ปฏิบตั ิงานเกย่ี วกบั การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผเู้ รียน ๕) ประสานความรว่ มมอื กับผ้ปู กครองและบคุ คลในชมุ ชนและสถานประกอบการ เพอ่ื ร่วมกันพัฒนาผู้เรยี นตามศกั ยภาพ ๖) ทำนบุ ำรุง ส่งเสริมศลิ ปวัฒนธรรม แหลง่ เรยี นรแู้ ละภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน ๗) ศกึ ษาวเิ คราะห์ วจิ ัย และประเมนิ พัฒนาการของผู้เรยี นเพ่อื นำมาพัฒนาการ เรียนการสอนใหม้ ีประสทิ ธิภาพย่งิ ข้นึ ซึ่งมีข้อปฏบิ ตั ติ นดงั ต่อไปน้ี ๑. มจี รรยาบรรณในการปฏิบตั ิงานและปฏิบัตติ นอย่างเครง่ ครัด ความสามารถ ๒. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม สจุ ริต ยุติธรรม และจรงิ ใจ ๓. มีทักษะและเทคนิคในการถ่ายทอดวิชาความรู้ให้แก่ผู้เรียนอย่างเต็มกำลังและ ๔. ไม่ดุดา่ กลา่ วคำหยาบคาย ข่มขู่ดถู กู หรอื เหยยี ดหยามผู้เรยี นท้งั ตอ่ หนา้ และ ลบั หลัง ๕. ใช้ถ้อยคำและวาจาท่สี ุขภาพเรียบร้อยแกผ่ ู้เรียนอยา่ งเสมอตน้ เสมอปลาย รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหน่งครูผ้ชู ่วย ผรู้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแกว้

6 ๖. ไมเ่ ลอื กผู้เรียน เพราะจะทำให้ผู้เรียนเกดิ ความรูส้ ึกท่ไี ม่ดี ๗. ตรวจเช็กอุปกรณก์ ารสอนก่อนสอนทกุ ครั้ง ๘. ไม่ควรให้ผเู้ รียนเกิดความรู้สึกท้อแท้ หดหูใ่ จ วิตกกงั วลขณะกำลังเรยี นหรือเรียนจบแลว้ ๙. ไม่ละลาบละลว้ งเรือ่ งส่วนตวั ของผ้เู รียนขณะทำการสอน ๑๐. ไม่ฉกฉวยโอกาสพูดจาแทะโลมหรือเกี้ยวพาราสีผู้เรียนเพื่อหวังผลประโยชน์ ตนเอง เกินอำนาจหน้าทีใ่ นการสอนของครูทีด่ ที ่ีพงึ มตี ่อผ้เู รยี น ๑๑. ห้ามครูผู้ใดทำการล่วงเกินผู้เรียนขณะกำลังสอนหรือช่วยเกินขอบเขตของครูท่ี พึงกระทำ ๑๒. ห้ามครสู ูบบหุ รี่ ด่มื สุรา เปิดวิทยุดงั เกินไปขณะทำการสอน ๑๓. ครูผู้สอนไมส่ มควรใชโ้ ทรศพั ท์โดยไมจ่ ำเปน็ ขณะสอน ๑๔. เป็นผู้ที่ตรงต่อเวลา รักษาเวลา มีกาลเทศะ มีความรับผิดชอบ ไม่โกหกและ รู้จกั แยกแยะว่าส่งิ ใดควรกระทำ สิ่งใดไมค่ วรกระทำบนพืน้ ฐานของความถกู ต้องและศลี ธรรมอนั ดงี าน ๑๕. ทำงานดว้ ยความรักงาน จะทำงานด้วยความสนุกและมีความสุขกบั การทำงานมี สมาธิในการทำงานไม่เครียดและวติ กกงั วลจนเกินไป ๑๖. ครูตอ้ งรักศกั ดิศ์ รแี ละเกยี รตขิ องความเปน็ ครู ๑๗. รว่ มมือรว่ มใจกันทำงานเพอ่ื สรา้ งภาพพจน์ท่ีดใี หแ้ ก่ตนเองและสำนักงาน ๑๘. มีความรัก ความสามัคคี ไม่เห็นแก่ตัว ไม่คิดร้าย เบียดเบียนหรือเอารัดเอา เปรียบผู้อน่ื มีสมั พันธภาพท่ีดี รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเราถนอมนำ้ ใจ ๑๙. หลกี เลยี่ งอบายมขุ ยาเสพตดิ การพนัน ส่งิ ไมด่ ีทั้งปวง ๒๐. พยายามทำหน้าทขี่ องตนใหด้ ีท่สี ดุ รูจ้ กั แกไ้ ข ปรับปรุง และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ 1.2 การฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี /การฝกึ งาน • การนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณว์ ิชาชีพ 1.3 งานทีป่ รกึ ษา 1.3.1 การดูแลและแกไ้ ขปญั หาความประพฤตินกั ศึกษา ข้าพเจ้าใช้วิธีการดูแลและแก้ไขปัญหาความประพฤติ นักศึกษา ที่สอนในห้องเรียน โดยทำการศึกษาพฤติกรรมของนักศีกษาเป็นรายบุคคล โดยวิธีการสังเกตพฤติกรรมที่อยู่ในห้องเรียน เมือ่ นกั ศึกษาประสบปญั หากจ็ ะเรยี กนักศกึ ษามาให้คำปรึกษาและชว่ ยเหลอื ปัญหาที่เกิดขน้ึ ใหก้ ับนักศึกษาต่อไป 1.3.๒ การจดั ระบบดูแลชว่ ยเหลือนักศึกษา ข้าพเจา้ จดั ระบบดแู ลช่วยเหลอื นักศึกษา โดยการตดิ ตอ่ ประสานงาน สอบถามนักศกึ ษา รายบุคคลผ่านระบบออนไลน์ (Line) เพื่อทำการเก็บข้อมูลพื้นฐานของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ หากนักศึกษามี ปัญหาในด้านต่าง ๆ ครูสามารถทราบรายละเอียดของนักศึกษารายบุคคล และแก้ปัญหาอย่างทันท่วงที นอกจากน้ันแล้วกย็ งั มีการออกเยี่ยมบ้านนักศึกษาในทีป่ รกึ ษา เพ่อื สรา้ งความสัมพนั ธท์ ่ีดรี ะหวา่ งวิทยาลัยชุมชน สระแก้วกับบา้ นและยงั เป็นการเก็บประวตั ิ ดา้ นครอบครัวของนกั ศึกษาอีกดว้ ย รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตำแหน่งครูผู้ช่วย ผู้รับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแกว้

7 1.3.3 การดแู ลควบคมุ การเขา้ รว่ มกจิ กรรม ข้าพเจ้าทำการดูแลควบคุมการทำกิจกรรมของวิทยาลัยชุมชนสระแก้วโดยเป็นครูที่ ปรึกษานักศึกษาระดับอนุปริญญา สาขาการบัญชี กลุ่ม 12-13 ก็จะลงไปปฏิบัติหน้าที่ทำกิจกรรม Homeroom กับนกั ศึกษาในที่ปรึกษา เพอื่ สอบถามถึงปัญหาและสาเหตุที่เกิดขน้ึ กับนักศึกษาแตล่ ะคน หากพบ ปัญหาจะได้ช่วยเหลือ และให้คำปรึกษาอย่างทันท่วงทีและเป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับ นกั ศึกษาและใหท้ ำกจิ กรรมบำเพ็ญประโยชนเ์ พอ่ื ปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมท่ีไม่พึงประสงค์ต่อไป 2. ดา้ นฝึกอบรม • การฝกึ อบรมตามหลักสูตรของวิทยาลยั ชุมชนเพอ่ื พฒั นาอาชพี และพันาคุณภาพชีวิต 3. ด้านวชิ าการ • งานพัฒนาหลกั สตู ร/ปรับปรุงหลักสตู รทไ่ี ด้รบั ความเหน็ ชอบจากสภาวิทยาลยั ชุมชน • งานผลิตผลงานทางวิชาการ โดยการจัดทำเอกสารที่เรียบเรียงขึ้นเอง ใช้ประกอบการ สอนรายวชิ าใดรายวชิ าหนง่ึ ตามหลักสูตรของวิทยาลยั ชุมชน สะท้อนให้เห็นเนื้อหาวิชา และวิธีการสอนอย่างเปน็ ระบบ และจัดพิมพเื ปน็ เอกสาร • งานอาจารย์ประจำหลกั สูตรตามเกณฑ์มาตรฐาน 4. ด้านงานสนับสนนุ การจัดการศึกษา • งานสนบั สนุนบริการวิทยาลยั ชุชมนสระแก้ว • หัวหน้างานการเงิน งานบัญชี และพัสดุ • หัวหน้างานแผนงานและงบประมาณ • นิเทศและติดตามผลการดำเนินงานของหนว่ ยจดั การศึกษา 5. ด้านงานวิจยั • งานวิจัยที่เป็นงานพัฒนาการเรียนการสอนหรืองานวิจัยชุมชนที่ได้รับความเห็นชอบ จากกรรมการสภาวชิ าการ และเสร็จสน้ิ สมบูรณ์ 6. ปฎิบตั ิหนา้ ทอ่ี ่ืน ๆ ตามที่ผู้บังคบั บญั ชามอบหมาย รายงานผลการปฏบิ ัติงาน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตำแหนง่ ครผู ชู้ ว่ ย ผูร้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสระแกว้

8 รายงานผลการปฏิบัตงิ านการเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย ครั้งท่ี 3 วนั ท่ี 11 พฤศจิกายน 2563 ถึง 10 พฤษภาคม 2564 วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว สงั กัดสถาบนั วิทยาลัยชุมชน กระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม องคป์ ระกอบท่ี ๑ การประเมินผลการปฏบิ ัตติ น รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเข้ม ตำแหน่งครูผ้ชู ่วย ผ้รู บั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลยั ชุมชนสระแก้ว

9 เกณฑ์การประเมนิ : ๑.วนิ ัยและการรักษาวนิ ยั เกณฑก์ ารประเมิน บนั ทึกผลการปฏบิ ัติงาน หลกั ฐาน/แหลง่ ขอ้ มูล ๑.วินยั และการรักษาวินยั ข้าพเจ้าแสดงออกทางอารมณ์ กริยา • พฤติกรรม ๑.๑ การแสดงออกทางอารมณ์ ท่าทาง และการสื่อสารได้เหมาะสมกับ • สอบสมั ภาษณ์ครู ผู้บริหาร กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้ กาลเทศะตอ่ ผเู้ รยี น เชน่ เหมาะสมกบั กาลเทศะต่อผู้เรียน • การพูดจาไพเราะประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ ลกู ศิษย์ • ยึดหลักคำสอนทาง พระพุทธศาสนาในการดำเนิน ชีวิต โดยหมั่นสวดมนต์และนั่ง สมาธิทำจิตใจให้สงบ เพื่อให้ ขา้ พเจา้ สามารถควบคุมอารมณ์ ของตนเองได้เปน็ อย่างดี ๑.๒ การแสดงออกทางอารมณ์ ข้าพเจ้าแสดงออกทางอารมณ์ • สมดุ ลงเวลาการปฏบิ ัตงิ าน กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้ กริยา ท่าทาง และการสื่อสารได้ • สมุดบนั ทกึ การเข้าสอน เ ห ม า ะ ส ม ก ั บ ก า ล เ ท ศ ะ ต่ อ เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาเพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมงาน ผู้ปกครอง และบุคคลอื่น • สอบสัมภาษณ์ครู ผบู้ ริหาร ผู้ปกครอง และบคุ คลอ่ืน เช่น • พฤติกรรม • การพูดจาไพเราะ • มีสัมมาคารวะอ่อนน้อมถ่อม • เชือ่ ฟังและปฏิบตั ิตามคำส่ังของ ผู้บังคบั บญั ชา ๑.๓ การมีเจตคติเชิงบวกกับ ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเป็นผู้มีคุณธรรม • สอบสมั ภาษณ์ครู ผบู้ รหิ าร ประเทศชาติ จรยิ ธรรม เพือ่ การเป็นครูทปี่ ระกอบด้วย • พฤติกรรม คุณงามและความดี ซึ่งกระทำด้วยความ สำนึกในจติ ใจ เชน่ • ความเสียสละ มนี ำ้ ใจ • ความเกรงใจ • ความยตุ ธิ รรม • ความเห็นอกเหน็ ใจ • การมมี ารยาททง่ี ดงาม รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม ตำแหน่งครผู ู้ชว่ ย ผู้รับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว

10 เกณฑก์ ารประเมนิ บนั ทกึ ผลการปฏบิ ัติงาน หลักฐาน/แหลง่ ข้อมลู • ความรักและความเมตตาต่อ ศิษย์เพื่อเป็นกำลังสำคัญในการ ขับเคลื่อนระบบการศึกษาให้มี คุณภาพและพัฒนา ประเทศชาติให้มีความ เจริญก้าวหน้า ๑.๔ การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้าพเจ้าปฏิบัติตนตามกฎหมาย • สอบสมั ภาษณ์ครู ผู้บริหาร หลกั เกณฑ์ที่เกย่ี วข้องกับความเป็น ระเบียบแบบแผน หลักเกณฑ์และวิธี • สังเกตพฤติกรรม ข้าราชการ ปฏิบัติราชการ โดยเป็นบุคคลที่เคารพ และปฏิบัติตามกฎหมาย รักษาระเบียบ วินัยของทางราชการ กระทำตนเป็น แบบอย่างที่ดี มีหลักในการปฏิบัติหน้าที่ ของครอู ยา่ งชดั เจนยตุ ธิ รรม ๑.๕ การปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ข้าพเจ้าปฏิบัติตนตามกฎหมายและ • สอบสมั ภาษณ์ครู ผบู้ รหิ าร หลกั เกณฑท์ เี่ กีย่ วข้องกับความเป็น กระทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อตนเอง • สังเกตพฤตกิ รรม ขา้ ราชการครู และสังคมโดยใชเ้ หตผุ ลและวจิ ารณญาณ ในการตัดสินใจเลือกปฏบิ ัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย จนบรรลุเป้าหมายหน้าท่ี ข้าราชการ ในฐานะเป็นพลเมืองที่ดี ยึด มั่นในหลักศีลธรรมและคุณธรรมทาง พระพทุ ธศาสนาในการช่วยเหลอื ผ้อู น่ื ๑.๖ การปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย ขา้ พเจ้ารกั ษาวนิ ยั ท่ีเป็นข้อห้ามและข้อ • สมดุ ลงเวลาการปฏิบตั ิงาน ข้อปฏิบัติอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ โดย • สมดุ บนั ทกึ การเข้าสอน ศึกษาพระราชบัญญัติ ระเบียบ • สอบสมั ภาษณ์ครู ผบู้ ริหาร ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ เพื่อเตือนตนมิให้กระทำ • พฤติกรรมการมาทำงาน อยา่ งสม่ำเสมอ ความผิดทางวนิ ัยราชการ รายงานผลการปฏบิ ัติงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเขม้ ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสระแก้ว

11 กจิ กรรมวนิ ยั และการรกั ษาวินัย รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเข้ม ตำแหน่งครูผชู้ ่วย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแก้ว

12 เกณฑก์ ารประเมิน : 2. คุณธรรม จรยิ ธรรม เกณฑ์การประเมิน บันทึกผลการปฏิบตั ิงาน หลักฐาน/แหล่งข้อมลู ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อ ๒. คุณธรรม จรยิ ธรรม การเป็นครูที่ประกอบด้วยคุณงามและความดี ซึ่ง • พฤติกรรม ๒.๑ การปฏบิ ัตติ นตามหลัก กระทำด้วยความสำนึกในจิตใจ การเป็นครูนั้น ถือ • ภาพกิจกรรม ศาสนาทีน่ ับถืออยา่ ง ว ่ า เ ป ็ น ผ ู ้ ท ำ ค ุ ณ ป ร ะ โ ย ช น ์ อ ย ่ า ง ย อ ด เ ย ี ่ ย ม แ ก่ เครง่ ครดั ประเทศชาติ เพราะครูคือแม่พิมพ์ของชาติ เป็น แม่แบบที่สำคัญยิ่ง ดังเป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า ครู แปลว่า ผู้หนัก หมายถึงหนักทุกสิ่งทุกอย่าง เริ่มต้น จากภาระงานที่จะต้องเตรียมตัวอย่างหนักเพื่อการ สอนให้นักเรียนได้เข้าใจ หนักในการเป็นภาระให้ นักเรียนได้ปรึกษาเกี่ยวกับการดำเนินชีวิต หนักใน การสอนซ่อม สอนเสริม เพ่อื ให้นกั เรียนท่ีเรียนไม่ทัน เพื่อนได้เรียนทันคนอื่น นักเรียนที่เรียนเก่งให้ได้รับ การพัฒนาส่งเสริมให้สูงขึ้น หนักในการควบคุมดูแล ความปลอดภยั ความประพฤติใหน้ ักเรยี นไดร้ ับความ ปลอดภัยและมีความประพฤติดี หนักในการทุ่มเท เวลาให้กับการสอน หนักในการเสียสละทรัพย์ ส่วนตัวให้กับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน หนัก ในการจัดทำข้อมูลต่าง ๆ เพื่อส่งหน่วยงานระดับ เหนือขึ้นไป หรือหน่วยงานอื่นที่ขอความร่วมมือมา หนักในการจัดทำแผนการสอน หรือแผนการจัดการ เรียนรู้ จึงได้นำคุระรรมสำหรับครูมาใช้ในการ ดำเนนิ ชีวิต • หลกั ธรรมสำหรบั การครองตน • หลักธรรมสำหรับการครองคน • หลกั ธรรมสำหรับการครองงาน ๒.๒ การเข้าร่วม ส่งเสริม ขา้ พเจา้ ดำรงตนตามหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา • สอบสมั ภาษณ์ครู สนบั สนุนศาสนกจิ ของ และปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจน ผ้บู รหิ าร ศาสนาที่นบั ถืออย่าง ค่านิยมของสังคม ทำให้ข้าพเจ้าสามารถอยู่ร่วมกับ • สงั เกตพฤติกรรม สม่ำเสมอ ผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสขุ • ภาพกจิ กรรม รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเข้ม ตำแหน่งครูผ้ชู ่วย ผู้รับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแก้ว

13 เกณฑก์ ารประเมิน บันทกึ ผลการปฏบิ ัติงาน หลักฐาน/แหล่งขอ้ มลู ๒.๓ การเหน็ ความสำคญั ข้าพเจ้ามีความยินดีให้ความร่วมมือกับผู้ปกครอง • สอบสัมภาษณ์ครู เข้ารว่ ม สง่ เสรมิ สนบั สนุน และชุมชนในกิจกรรมต่างๆ ที่ชุมชนจัดขึ้นที่เป็นวัน ผบู้ ริหาร เคารพกจิ กรรมท่แี สดงถึง สำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา จารีตประเพณี วฒั นธรรม • ทำบญุ ตักบาตร • สงั เกตพฤตกิ รรม ท้องถิน่ หรอื ชมุ ชน • ปิดทองฯลฯ • ภาพกจิ กรรม ๒.๔ การเห็นความสำคญั ข้าพเจ้าเคารพธงชาติและร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง • สอบสัมภาษณ์ครู เข้าร่วม สง่ เสริม สนบั สนุน ทุกเช้ามิได้ขาด จนเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาของ ผ้บู รหิ าร กจิ กรรมท่ีแสดงถงึ จารีต นักศึกษาและเพื่อนร่วมงาน แต่งกายชุดพื้นเมือง • สงั เกตพฤตกิ รรม ประเพณี วัฒนธรรมของ รกั ษาขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย ชาติ • ภาพกจิ กรรม ๒.๕ การมจี ิตบรกิ ารและจติ ข้าพเจ้าให้มีความเต็มใจที่จะให้บริการแก่ • สอบสมั ภาษณ์ครู สาธารณะ ผู้ปกครองนักศึกษาที่มาติดต่อราชการกับทาง ผู้บรหิ าร โรงเรียนด้วยความเต็มใจและมีจิตอาสาในการ • สังเกตพฤตกิ รรม ร่วมงานกบั ทางชมุ ชน • ภาพกจิ กรรม ๒.๖ การต่อต้านการกระทำ ข้าพเจ้ายึดมั่นในหลักธรรมคำสอนของ • สอบสมั ภาษณ์ครู ของบุคคลหรอื กลมุ่ บุคคลท่ี พระพุทธศาสนาและเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ศิษย์ ผู้บริหาร ส่งผลต่อความมนั่ คงของ เพื่อนร่วมงาน และบุคคลอื่นๆ ดำรงชีพตามสาย ชาติหรือผลกระทบเชงิ ลบ กลาง • สงั เกตพฤตกิ รรม ต่อสงั คมโดยรวม • ภาพกจิ กรรม รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตำแหน่งครูผู้ชว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแกว้

14 กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเข้ม ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว

15 กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเข้ม ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว

16 กิจกรรมคุณธรรม จริยธรรม รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเข้ม ตำแหนง่ ครผู ูช้ ว่ ย ผ้รู ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว

17 เกณฑ์การประเมิน : ๓. จรรยาบรรณวิชาชพี ครู เกณฑก์ ารประเมนิ บันทึกผลการปฏบิ ตั ิงาน หลักฐาน/แหลง่ ขอ้ มูล ๓. จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเหมาะสมกับความ • ภาพกิจกรรม ๓.๑ การพัฒนาวิชาชีพและ เป็นครู ตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู และ • บันทกึ ข้อความรายงานผล บคุ ลิกภาพอยา่ งต่อเน่ือง มีการพัฒนาตนจนเป็นที่ยอมรับใน การเขา้ ร่วมกจิ กรรม สถานศึกษา ว่าเป็นผู้ที่ประพฤติปฏิบัติ • คำสงั่ ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี ตนตามจรรยาบรรณวชิ าชีพ • สอบสมั ภาษณ์ครู ผู้บริหาร ๓.๒ การมีวิสัยทัศน์ รู้และเข้าใจ มุ่งหวังความเจริญก้าวหน้าโดย • ภาพกิจกรรม สนใจ ติดตามความเปลี่ยนแปลง กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงาน และ ด้านวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม การศึกษาต่อ โดยมีการติดตามข่าวการ • สงั เกตพฤติกรรม การเมอื งของไทย และนานาชาตใิ น เคลื่อนไหวทางการศึกษาในเรื่อง ปัจจบุ นั ความก้าวหน้าในวิชาชีพอยู่เสมอ เพ่ือ จะได้นำมาวางแผนและปรับตัว เพื่อ ความก้าวหน้าในวชิ าชพี ๓.๓ การไม่อาศัยวิชาชีพแสวงหา ข้าพเจ้าเห็นคุณค่าและความสำคัญ • สอบสมั ภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร ผลประโยชนท์ ่ีไม่ถูกต้อง ของการเป็นครูที่ดีอยู่เสมอ โดยมีความ นักศึกษา ผ้ปู กครอง รักและศรัทธาในวิชาชีพครู พึงกระทำ เพื่อนรว่ มงาน ตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีต่อศิษย์ทั้ง • สงั เกตพฤตกิ รรม ทางตรงและทางอ้อม ๓.๔ การมุ่งมั่นต่อการพัฒนา ข้าพเจ้ามุ่งมั่นในการทำงาน โดยไม่มี • สอบสมั ภาษณ์ครู ผู้บริหาร ความรคู้ วามสามารถของผู้เรียน ความยอ่ ทอ้ ต่อปญั หาและอปุ สรรค ท่ี นักศึกษา ผ้ปู กครอง เกิดขึ้น เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนด เพื่อนรว่ มงาน ไว้ • สังเกตพฤติกรรม รายงานผลการปฏิบตั งิ าน การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเขม้ ตำแหนง่ ครูผูช้ ว่ ย ผู้รบั การประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแกว้

18 เกณฑ์การประเมนิ บันทึกผลการปฏิบัติงาน หลักฐาน/แหลง่ ขอ้ มูล ๓.๕ การให้ความสำคัญต่อการเข้า ข้าพเจ้าเข้าร่วมการประชุม/การ • สรปุ รายงานผลการเขา้ ร่วม ร่วม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่ อบรม ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา กจิ กรรมการอบรมตา่ งๆ เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครูอย่าง อยู่เสมอ เมื่อเสร็จสิ้นการจัดกิจกรรม สมำ่ เสมอ ข้าพเจ้าทำการบันทึกและสรปุ ผลการเข้า • ภาพกจิ กรรม รว่ มกิจกรรม นำความรู้ทไี่ ด้รบั มาพัฒนา ตนเองและผู้เรียน และรายงานผลให้ • บนั ทกึ ข้อความรายงานผล การเขา้ รว่ มกิจกรรม ผ้บู รหิ ารรับทราบอยูเ่ สมอ ๓.๖ รัก เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลือ ข้าพเจ้ามีความรักและศรัทธาใน • สอบสัมภาษณ์ครู ผูบ้ รหิ าร สง่ เสริม สนับสนุน ให้บริการผ้เู รียน วิชาชีพครู พึงกระทำตนให้เป็น นักศกึ ษา ผ้ปู กครอง ทุกคน ดว้ ยความเสมอภาค แบบอย่างที่ดีต่อศิษย์ทั้งทางตรงและ เพื่อนร่วมงาน ทางอ้อม ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ • สังเกตพฤตกิ รรม ศิษย์เสมอมา ๓.๗ การประพฤติปฏิบัติตนเป็นที่ ขา้ พเจ้าดำรงตนด้วยความสุภาพอ่อน • สอบสัมภาษณ์ครู ผู้บริหาร ยอมรับของผู้เรียน ผู้บริหาร เพื่อน น้อม สำรวมในกิริยามารยาท และการ นักศึกษา ผู้ปกครอง รว่ มงาน ผปู้ กครอง ชมุ ชน แสดงออกด้วยปิยวาจา แต่งกายสะอาด เพือ่ นรว่ มงาน เรียบร้อย และถูกกาลเทศะ • สงั เกตพฤตกิ รรม ๓.๘ การไม่ปฏิบัติตนที่ส่งผลเชิง ข้าพเจ้าปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณ • สอบสมั ภาษณ์ครู ผูบ้ รหิ าร ลบต่อกายและใจของนกั ศกึ ษา วิชาชพี ครูอย่างเคร่งครดั นักศกึ ษา ผู้ปกครอง เพือ่ นร่วมงาน • สงั เกตพฤติกรรม ๓.๙ การทำงานกับผู้อื่นได้โดยยึด ข้าพเจ้าปฏิบัติงานต่างๆ ที่ทาง • สอบสัมภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร หลักความสามัคคี เกื้อกูลซึ่งกัน โรงเรียนมอบหมาย ให้ความร่วมมือกับ นักศกึ ษา ผปู้ กครอง และกัน คณะครู ในการทำกิจกรรมต่างๆ ทั้งใน เพอื่ นรว่ มงาน และนอกสถานศกึ ษาด้วยความเตม็ ใจ • สงั เกตพฤตกิ รรม รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเข้ม ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย ผ้รู ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแกว้

19 เกณฑก์ ารประเมิน บนั ทกึ ผลการปฏบิ ัติงาน หลกั ฐาน/แหล่งขอ้ มูล ๓.๑๐ การใช้ความรู้ความสามารถ ข้าพเจ้าตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ในการ • สอบสมั ภาษณ์ครู ผ้บู รหิ าร ท่มี อี ยู่ นำให้เกดิ ความเปลย่ี นแปลง ถ่ายทอดความรู้ ทักษะที่ตนเองมีให้กับ นักศกึ ษา ผปู้ กครอง ในทางพัฒนาให้กับผเู้ รียน โรงเรียน นักศึกษาโดยมิได้ปิดบัง พยายามศึกษา เพือ่ นร่วมงาน หรือชุมชนในด้านใดด้านหนึ่ง(ด้าน ค้นคว้า หาความรู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒนา • สงั เกตพฤตกิ รรม การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ภูมิ ตนเอง ติดตามข่าวสาร และเข้าอบรม ปัญญา และสิ่งแวดลอ้ ม) เทคนคิ ใหม่ๆ นำมาช่วยพฒั นาการเรียน การสอน ให้กับนักศึกษาเพื่อให้ นักศึกษาเป็นบุคคลที่มีความรู้ ทักษะ และทันต่อเหตุการณ์ สามารถนำความรู้ ที่ได้ไปพัฒนาชมุ ชนและทอ้ งถน่ิ ๓.๑๑ การยึดมั่นในการปกครอง ข้าพเจ้ามีความจงรักภักดี ต่อ • สอบสมั ภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี สถาบันชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ นกั ศกึ ษา ผู้ปกครอง พระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ย ึ ด ม ั ่ น ใ น ก า ร ป ก ค ร อ ง ร ะ บ อ บ เพื่อนรว่ มงาน ประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์ • สังเกตพฤตกิ รรม เปน็ ประมขุ ประพฤติตนใหเ้ ป็นสมาชิกที่ ดีของสังคมและมีจิตสาธารณะมีความ รับผิดชอบต่อสังคม โดยช่วยเหลือเพื่อน ร่วมงานโดยไม่หวังผลประโยชน์และส่ิง ตอบแทนใดๆท้งั ส้ิน รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย ผู้รบั การประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลยั ชุมชนสระแกว้

20 กจิ กรรมจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเข้ม ตำแหน่งครผู ชู้ ่วย ผู้รับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลยั ชมุ ชนสระแกว้

21 กิจกรรมจรรยาบรรณวิชาชพี ครู รายงานผลการปฏิบัตงิ าน การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอย่างเขม้ ตำแหน่งครูผชู้ ่วย ผู้รบั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแก้ว

22 กิจกรรมจรรยาบรรณวิชาชพี ครู รายงานผลการปฏิบตั งิ าน การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ ตำแหนง่ ครผู ้ชู ่วย ผรู้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลยั ชมุ ชนสระแก้ว

23 การอบรมพฒั นาทักษะวชิ าชพี ครู รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ ตำแหน่งครูผ้ชู ว่ ย ผรู้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลยั ชุมชนสระแก้ว

24 บทความ จดั การเรยี นการสอนอยา่ งไรในสถานการณโ์ ควดิ -19 : จากบทเรยี นต่างประเทศสกู่ ารจัดการเรยี นร้ขู องไทย แหลง่ ท่ีมา ; https://tdri.or.th/2020/05/examples-of-teaching-and-learning-in-covid-19- pandemic/ ; ภษู ิมา ภญิ โญสนิ วัฒน์ ในสถานการณ์โควดิ -19 ระบาด เราควรเปลยี่ นให้ทุกๆทกี่ ลายเป็นโรงเรยี น เพราะการเรยี นรยู้ งั ตอ้ ง ดำเนนิ อย่แู ม้นักเรยี นไมส่ ามารถไปโรงเรยี นตามปกติ ในหลายประเทศที่ประกาศมาตรการปดิ โรงเรียน รัฐบาล มักจะออกมาตรการด้านการเรยี นรู้มารองรบั ด้วยการเรยี นทางไกลรูปแบบต่างๆ โดยพจิ ารณาจากเง่ือนไข ความพร้อมด้านอปุ กรณ์ ความพร้อมของพ่อแม่ และความพรอ้ มตามช่วงวยั ของเด็ก สำหรบั ประเทศไทย ความท้าทายในการเปลย่ี นครงั้ นไ้ี ม่ใช่แคก่ ารแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้าใน สถานการณ์โควิด-19 เทา่ นน้ั แต่ควรเปน็ การ “เปลี่ยนวิกฤตใิ หเ้ ป็นโอกาส” ในการพฒั นาคุณภาพการเรยี น การสอนใหด้ ีกวา่ เดิม ดงั นัน้ มาตรการการเรยี นรู้ของไทยจึงไมค่ วรปรบั แค่กระบวนการเรียนรูใ้ นหอ้ งเรียน แต่ ต้องปรับใหญ่ทัง้ ระบบการเรยี นรทู้ ีต่ อ้ งสอดคล้องกนั และเช่ือมโยงกับการเรียนรู้ของเด็ก โดยควรดำเนินการ ดงั น้ี 1. กระชับหลักสตู ร ปรับให้สอดคล้องกบั สถานการณโ์ ควดิ -19 และส่อื สารใหผ้ ้เู ก่ียวข้องทกุ ภาค สว่ นทราบ หลกั สูตรการศกึ ษาพน้ื ฐานของไทยในปัจจบุ นั เน้นเนอื้ หามาก ครจู ำเปน็ ต้องใชเ้ วลาเยอะเพื่อสอน ได้ครบถ้วน และไม่เอ้ือใหน้ กั เรียนมีสว่ นรว่ ม (Active Learning) เท่าที่ควร และหากยังใชห้ ลกั สูตรเดมิ ในการ เรยี นการสอนภายใตส้ ถานการณ์โควดิ -19 ครูจะตอ้ งใชเ้ วลาสอนมากขน้ึ เพอื่ สอนให้ครบถ้วน การปรับ หลักสตู รใหก้ ระชับควบค่ไู ปกับจัดลำดบั ความสำคัญ รวมทั้งผอ่ นคลายตวั ชวี้ ดั เรื่องโครงสร้างเวลาเรยี นจะ สามารถชว่ ยลดความกดดัน โดยยงั คงคุณภาพขน้ั ตำ่ ไว้ได้ ตัวอยา่ งของ มลรฐั Alberta ประเทศแคนาดา ได้ กระชบั หลกั สตู รโดยเน้นเนอ้ื หาจำเปน็ ตามมาตรฐานของแต่ละช่วงวยั เพ่ือใหค้ รูสามารถนำไปวางแผนการสอน และใช้เวลาได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งออกคู่มือหลักสตู รฉบับยอ่ สำหรบั ผู้ปกครอง เพอ่ื ส่ือสารใหเ้ ขา้ ใจถงึ หลักสตู รทเี่ ปลยี่ นแปลงไป หลกั สูตรแกนกลางไทยจดั ประเภทตวั ชีว้ ัดแลว้ แต่ต้องเพ่มิ ความชัดเจนในการส่ือสารแก่ครแู ละ ผปู้ กครอง หลกั สตู รแกนกลางของไทยกำหนดตวั ชี้วดั “ต้องร”ู้ และ “ควรร”ู้ ในแต่ละสาระวิชาแล้ว แต่ต้อง เพ่ิมความชัดเจน โดยระบเุ นอื้ หาจำเปน็ ของแตล่ ะชว่ งวยั และเปดิ ใหค้ รูมีอสิ ระในการจดั การเรยี นรู้เนื้อหาส่วน อื่นๆ ตามความเหมาะสม ในขณะเดียวกนั กระทรวงศึกษาธกิ ารควรใหศ้ ึกษานเิ ทศกท์ ำหน้าทเี่ ป็นโคช้ ให้แก่ครู โดยให้คำแนะนำในการเลือกตัวช้ีวัดและเน้อื หานอกเหนอื จากสว่ นทีจ่ ำเปน็ เพื่อให้เหมาะกับบรบิ ทและ สถานการณ์ของพ้นื ที่ อีกทั้งกระทรวงศกึ ษาธกิ ารควรออกคู่มอื หลักสูตรฉบับย่อสำหรบั ผู้ปกครอง เพ่ือให้ ผปู้ กครองเข้าใจบทบาทใหม่ และสามารถตดิ ตามการเรยี นรขู้ องเด็กได้ นอกจากนี้ โรงเรียนต้องไม่ละเลยการให้ความรู้แก่นกั เรยี นแตล่ ะชว่ งวัยในการป้องกนั ตนเองจากโรค ระบาด ซงึ่ องค์กรอนามัยโลกไดจ้ ดั ทำค่มู ือไว้แลว้ รายงานผลการปฏบิ ัติงาน การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตำแหน่งครูผชู้ ่วย ผู้รับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลยั ชมุ ชนสระแก้ว

25 2. เพิ่มความยดื หยนุ่ ของโครงสร้างเวลาเรยี นและความหลากหลายของรูปแบบการเรยี นรู้ ความ ยดื หยนุ่ ในการใชเ้ วลาและการเลือกรปู แบบการเรียนจะทำใหค้ รสู ามารถออกแบบหน่วยการเรียนร้ทู ีเ่ หมาะสม และสง่ เสรมิ การเรียนรู้รายบุคคล (personalized learning) ได้ ดงั ตัวอย่างของมลรัฐ Alberta ประเทศ แคนาดา ซงึ่ มแี นวทางสนับสนนุ ให้ครจู ัดการเรยี นรดู้ ้วยแบบผสมผสาน (blended learning) โดยแนะนำการ กำหนดจำนวนชวั่ โมงการเรียนรู้รปู แบบตา่ งๆ ได้แก่ ช่ัวโมงเรียนรู้ผ่านจอสำหรบั เดก็ แตล่ ะชว่ งวยั โดยคำนึงถงึ พัฒนาการด้านรา่ งกาย (ปัญหาดา้ นสายตา) และพัฒนาการดา้ นสงั คม (ปฏิสมั พนั ธ์กับผอู้ ื่น) ชว่ั โมงการเรียนร้ดู ว้ ยตนเองท่ีบ้านจากการทำใบงาน ช้นิ งาน ค้นควา้ ด้วยตัวเอง และ ชว่ั โมงท่ีครูและนักเรยี นทำกิจกรรมเรยี นรูร้ ่วมกนั สว่ นในกรณขี องสหรัฐอเมริกา พบว่า ให้ความสำคัญต่อการตอบสนองของผเู้ รียนแต่ละคนแตกตา่ งกนั โดย จัดทำฐานข้อมลู ของส่ือการเรียนรตู้ ่างๆ ท่คี รแู ละนกั เรียนสามารถเข้าถงึ ไดอ้ ย่างอสิ ระโดยไมเ่ สียค่าใช้จา่ ย นอกจากน้ี ยังเปิดช่องใหห้ นว่ ยงานอ่ืนๆ และแหลง่ เรียนรใู้ นพื้นที่ เช่น พิพิธภณั ฑ์ หอ้ งสมดุ ชุมชน เข้ามามสี ่วน รว่ มในการสนับสนนุ การเรียนรขู้ องเด็ก ในขณะท่นี วิ ซีแลนด์เตรยี มชุดการเรียนรู้พื้นฐานให้นักเรยี น ซึง่ ประกอบด้วยค่มู ือออนไลน์ และชดุ การเรยี นรู้ (ส่อื แห้ง) เพ่ือใหน้ กั เรียนทุกคนทัง้ ท่สี ามารถเข้าถึงและไม่ สามารถเขา้ ถงึ ระบบเรยี นออนไลน์สามารถใช้เรยี นรู้ได้ ในกรณขี องไทย แมห้ ลกั สูตรแกนกลางของไทยเปิดให้มีความยืดหยนุ่ ในการกำหนดชว่ั โมงเรยี น แต่ก็ ยังมีข้อกำหนดเกย่ี วกับโครงสร้างเวลาเรยี นท่คี ่อนข้างแข็งตัว ดงั น้ันหากกระทรวงศกึ ษาธิการช่วยผ่อนคลาย โครงสร้างเวลาเรยี นลง และเปดิ ช่องทางการสอ่ื สารให้ครไู ด้สอบถามข้อสงสยั กจ็ ะชว่ ยสรา้ งความม่ันใจใหแ้ ก่ ครอู อกแบบการเรยี นรู้อยา่ งยืดหยุ่น นอกจากน้ี กระทรวงศกึ ษาธิการยงั สามารถเปิดใหเ้ อกชน และภาค ประชาสังคม ท่ีมีความเชี่ยวชาญดา้ นระบบการเรียนรแู้ ละส่ือการเรยี นรู้ เข้ามามีส่วนร่วมพัฒนา แลกเปล่ียน เครอ่ื งมือและเทคนิคใหมๆ่ ซึ่งจะช่วยเพมิ่ ทางเลือกที่หลากหลายและเหมาะสมกบั เด็กมากข้ึน 3. ออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ และสอนอย่างมีแผนท่เี หมาะสม ในสถานการณ์ทีเ่ ปล่ียนไป ครจู ะต้อง เตรยี มความพร้อมก่อนการสอนแบบใหม่ วิธกี ารหน่ึงคอื การออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ ซ่ึงจะนำไปสู่การ จัดการเรียนรฐู้ านสมรรถนะหลังการระบาดของโควิดสิ้นสดุ ลง ทัง้ น้ีควรเริม่ ต้นโดยการจัดกลมุ่ ตัวชีว้ ัดให้เป็น หนว่ ยการเรยี นรู้ ซึง่ จะทำใหแ้ ผนการเรียนรมู้ คี วามยดื หยุ่นตามสถานการณก์ ารระบาด เชน่ ครูสามารถ ออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้หน่วยละ 2 สปั ดาห์ เพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกับระยะเวลาการประเมินสถานการณ์การ ระบาด ทั้งน้ี หากครูสามารถออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้แต่ละหนว่ ยใหร้ ้อยเรียงกันอย่างเป็นระบบท้ังเทอม หรือท้งั ปี กจ็ ะช่วยให้นักเรยี นสามารถพัฒนาตนเองตามศักยภาพได้ดีย่งิ ขน้ึ และได้พัฒนาทักษะการเรยี นร้ดู ้วย ตนเอง ซง่ึ เป็นทกั ษะจำเป็นสำหรบั การดำรงชวี ติ ในอนาคต ในทางปฏบิ ตั ิ การจดั หนว่ ยการเรียนรสู้ ามารถจดั ตามเน้ือหาหรือตามประเด็นท่นี ่าสนใจ และยงั สามารถบูรณาการข้ามวชิ าหรือในวชิ าเดียวกนั หลังจากนั้นครคู วรกำหนดคำถามสำคัญของแต่ละหน่วย และ วางแผนการติดตามการเรียนรตู้ ามตัวช้วี ัดด้านความรู้ ทกั ษะ และเจตคติอย่างชัดเจน เลือกสอื่ การเรียนรทู้ ี่ เหมาะสมกบั เดก็ และส่อื สารกับพ่อแม่ให้ทราบถึงบทบาทที่จะเปล่ียนไป รายงานผลการปฏิบตั ิงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหน่งครผู ชู้ ่วย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว

26 เน่อื งจาก การเสริมทักษะออกแบบหน่วยการเรียนรู้ ตง้ั คำถาม เลือกใชส้ ือ่ อยา่ งเหมาะสมจะทำให้ครู ออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ไดม้ ีคุณภาพมากข้นึ ดงั นั้นกระทรวงศกึ ษาธกิ ารควรจะสนับสนุนการเพิ่มทักษะ เหลา่ น้ีตามความต้องการของครใู นแตล่ ะพน้ื ท่ี โดยอาจจะเปิดใหผ้ ้เู ช่ียวชาญในภาครัฐ ภาคเอกชนและประชา สงั คม ชว่ ยพัฒนาศักยภาพครูให้ตรงกบั ทักษะทีต่ ้องการ และสนับสนนุ ให้มกี ารเพิม่ ทกั ษะให้แก่ศึกษานิเทศก์ เพื่อเป็น “โคช้ หนา้ งาน” ใหแ้ ก่ครตู ่อไป 4. ยกระดับการประเมนิ เพอ่ื การพฒั นา (formative assessment) เพ่ือไม่ใหเ้ ดก็ เสยี โอกาสพัฒนา ความรแู้ ละทักษะ เมื่อนักเรยี นไปโรงเรยี นตามปกติไม่ได้ ครกู บั นักเรยี นก็จะมีปฏิสัมพนั ธ์ต่อกนั ลดลง ทำใหค้ รู ไม่สามารถติดตามพัฒนาการของนักเรยี นไดเ้ ต็มท่ี อาจทำใหไ้ มส่ ามารถร้ปู ัญหาของนักเรียนไดท้ ันเวลา โดยเฉพาะความรู้ด้านภาษาและการคำนวณ ซึง่ อาจจะส่งผลเสยี ต่อการเรียนรู้ระยะยาว การประเมนิ เพื่อ พฒั นาจงึ ไมส่ ามารถลดหรือละท้ิงไปได้ท้งั การประเมนิ เพ่ือการเรยี นรู้ (assessment for learning) ของเด็ก เพ่ือให้ครทู ราบถึงกระบวนการเรียนรู้ของเด็ก โดยจะสามารถให้ feedback กบั เด็กและปรับแผนการเรียนรู้ได้ ตรงตามสถานการณ์ และการประเมนิ ซึง่ ทำใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ (assessment as learning) ของเด็ก โดยครูเปดิ โอกาสให้เด็กย้อนคิดถงึ กระบวนการเรยี นของตนเอง กระบวนการน้ีจะทำใหเ้ ดก็ มีความรับผดิ ชอบและเปน็ เจ้าของการเรยี นรู้ของตนเองมากขึน้ รวมถึงเมื่อเด็กเขา้ ใจตนเองกจ็ ะเปน็ โอกาสทจี่ ะวางแผนการเรยี นรู้ของ ตนเองร่วมกบั ผ้ปู กครองและครไู ด้ การประเมนิ เพ่ือพัฒนาทงั้ 2 ลักษณะจงึ ต้องอาศัยการทำงานร่วมกันระหว่างเด็ก ผปู้ กครองและครู มากขึน้ วิธหี นงึ่ ที่ทำได้คอื การประเมินเพือ่ พฒั นาอยา่ งไม่เป็นทางการรายบุคคล (personalized check-ins) เพ่อื ติดตามการเรยี นรู้ สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตของนกั เรยี น โดยใหผ้ ู้ปกครองเข้ามามีสว่ นรว่ มด้วย ในกรณี ของเด็กโต อาจจะเพ่ิมการประเมนิ ตนเองและการประเมนิ เพอื่ น (self & peer assessment) เข้าไปด้วย ซ่ึง จะมีประโยชนใ์ นการชว่ ยฝกึ ทักษะการสะทอ้ นคิดให้เด็กได้อีกทางหน่งึ ดว้ ย การประเมินเพ่ือพฒั นาจะประสบความสำเรจ็ ก็ตอ่ เมื่อมีสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสม คือ (1) มกี ารเสรมิ ศักยภาพครูในการใช้และออกแบบเคร่อื งมือประเมนิ (2) มีการใหเ้ อกชน และภาคประชาสังคม ทมี่ ีความ เชีย่ วชาญด้านการประเมินเข้ามารว่ มพฒั นาเคร่ืองมือการประเมินใหม่ๆ และ (3) มีการเปิดเวที (platform) การแลกเปลยี่ นเรียนรู้ระหวา่ งครูกับผู้เชี่ยวชาญ 5. การประเมนิ เพือ่ รับผดิ รบั ชอบ (assessment for accountability) ยังคงควรไว้ แต่ควรให้ นำ้ หนักการประเมินโอกาสทางการเรียนของเด็ก มากกวา่ การวัดความรดู้ ้วยคะแนนสอบ สถานการณโ์ รค ระบาดในปจั จบุ นั ทำให้ต้องใช้รูปแบบการเรยี นการสอนทีห่ ลากหลาย ดงั นั้น คุณภาพการศึกษาที่เด็กจะไดร้ บั ในแตล่ ะพืน้ ที่จะไม่เหมอื นกัน จงึ ไมส่ ามารถใชค้ ะแนนวัดความรูห้ รอื ทกั ษะแบบเดยี วกนั เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรับผิด รับชอบได้ มิฉะนัน้ ก็อาจส่งผลให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากข้ึน กระทรวงศึกษาธิการจงึ ควรปรบั เกณฑ์ข้อสอบวัด ความรู้ (test-based) มาสูก่ ารให้นำ้ หนักกับตัวชวี้ ดั ทไี่ ม่ใช่ด้านวิชาการ (non-academic measure) มากข้นึ เช่น อตั ราการเข้าเรยี น (attendance rate) หรืออัตราการออกกลางคัน (drop-out rate) เปน็ ต้น โดยการ เกบ็ ข้อมลู ตัวชว้ี ัดเหลา่ น้ที ่ีสามารถใชเ้ ทคโนโลยีเข้ามาชว่ ย เพ่ือลดภาระครู เช่น ใชร้ ะบบ Google Classroom บนั ทึกการใช้งาน ซึ่งจะชว่ ยทำใหเ้ ขตพน้ื ท่ีสามารถตดิ ตามและใหก้ ารสนบั สนุนโรงเรยี นได้ตรงกับความต้องการ มากข้ึนด้วย รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว

27 รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย ผ้รู ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแกว้

28 รายละเอียดของรายวิชา (มอค.3) ------------------------------- หมวดท่ี 1 ข้อมลู ท่วั ไป 1. รหัสและช่อื รายวชิ า บช 1310 การบัญชีชน้ั กลาง 2 2. จำนวนหน่วยกิต 3(2-2-5) 3. หลกั สตู รและประเภทของรายวิชา หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาการบญั ชี 4. อาจารยผ์ ู้สอน นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย, นางสาวกลั ยา นาวาพนม 5. ภาคการศกึ ษา/ชัน้ ปีท่เี รียน ปีการศกึ ษา 2563 ภาคการศกึ ษาที่ 2 6. รายวิชาทตี่ อ้ งเรียนมากอ่ น 7. สถานที่เรียน วิทยาลยั ชมุ สระแกว้ 8. วันทจ่ี ัดทำหรือปรบั ปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลา่ สุด 28 พ.ย. 2563 9. อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบรายวิชา นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย หมวดที่ 2 จดุ มุ่งหมายและวัตถปุ ระสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวชิ า ศึกษาและปฏิบตั ิเกีย่ วกบั การรรู้ ายการ การวัดมลู ค่าหนส้ี นิ หมุนเวียน ประมาณการหนส้ี ิน หนส้ี นิ ทอี่ าจเกิดข้นึ และหน้สี ินไม่ หมุนเวยี น การบญั ชีสว่ นของเจ้าของประเภทหา้ งหุ้นสว่ นจำกัดและบรษิ ัทจำกัด ตงั้ แตก่ ารจดั ตงั้ การดำเนนิ งาน การ เปล่ียนแปลงในสว่ นผถู้ ือหุ้น การจดั สรรกำไร การเลกิ กจิ การ และการชำระบญั ชีการแสดงรายการและเปดิ เผยข้อมลู ในงบ การเงิน รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตำแหน่งครผู ้ชู ว่ ย ผรู้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแกว้

29 2. วัตถุประสงคใ์ นการพัฒนา/ปรับปรุงรายวชิ า 1. เข้าใจเกีย่ วกบั การรับร้รู ายการ การวดั มลู คา่ หนสี้ นิ สว่ นของเจา้ ของประเภทหา้ งห้นุ สว่ นจำกดั และบริษทั จำกดั การแสดง รายการและเปิดเผยข้อมลู ในงบการเงิน ตามมาตรฐานการบญั ชี 2. มีทกั ษะในการบันทกึ บญั ชีและแสดงรายการเปดิ เผยขอ้ มูลในงบการเงนิ เกย่ี วกบั หนสี้ ิน สว่ นของเจา้ ของ ประเภทห้าง หุ้นสว่ นจำกัด และบริษัทจำกดั ตามมาตรฐานการบญั ชี 3. มคี ณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ และมีเจตคตทิ ดี่ ีในการประกอบอาชพี หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนนิ การ 1. คำอธบิ ายรายวชิ า 2. จำนวนชัว่ โมงทใ่ี ชต้ อ่ ภาคการศกึ ษา บรรยาย สอนเสริม การฝกึ ปฏบิ ตั ิ/งานภาคสนาม/ การศกึ ษาด้วยตนเอง การฝกึ งาน 75 32 0 32 3. จำนวนชั่วโมงต่อสปั ดาหท์ อี่ าจารยใ์ หค้ ำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นกั ศกึ ษาเปน็ รายบคุ คล จัดใหน้ กั ศึกษาพบอาจารยเ์ พือ่ ขอคำปรึกษาและแนะนำ สปั ดาหล์ ะ 3 ชัว่ โมง โดยอาจารยจ์ ะแจ้งวนั เวลาให้ทราบภายหลงั หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรยี นร้ขู องนกั ศกึ ษา การพฒั นาการผลการเรียนร้ขู องนักศึกษา 1. คณุ ธรรม จริยธรรมท่ีตอ้ งพัฒนา 1.1 มรี ะเบยี บวินยั ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ (ความรบั ผิดชอบรอง) 1.2 มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและสงั คม (ความรบั ผิดชอบหลกั ) 1.3 มจี รรยาบรรณของผ้ปู ระกอบวชิ าชีพบัญชี (ความรบั ผดิ ชอบรอง) วธิ กี ารสอน 1) บรรยายพร้อมยกตัวอยา่ งกรณศี ึกษา โจทย์พเิ ศษ 2) อภิปลายกลมุ่ 3) กำหนดใหน้ ักศกึ ษาหาตวั อย่างที่เกีย่ วข้อง วธิ ีการประเมนิ ผล 1) พฤติกรรมการเขา้ เรยี น และสง่ งานท่ไี ด้รบั มอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 2) มีการอ้างองิ เอกสารทไี่ ด้นำมาทำรายงาน อย่างถกู ตอ้ งและเหมาะสม 3) ประเมนิ ผลการวเิ คราะห์กรณีศกึ ษา 4) ประเมนิ ผลการนำเสนอรายงานทีม่ อบหมาย รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอย่างเขม้ ตำแหน่งครูผูช้ ่วย ผู้รบั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแกว้

30 2. ความรู้ท่ตี อ้ งพัฒนา 2.1 มีความรูค้ วามเข้าใจแนวคิดทฤษฎี หลกั การและวิธกี ารทางดา้ นบญั ชี (ความรบั ผดิ ชอบรอง) 2.2 มีความรูค้ วามเขา้ ใจแนวคิดทฤษฎี หลักการและวิธกี ารทางด้านบรหิ ารธรุ กจิ (ความรบั ผดิ ชอบรอง) 2.3 มีความรู้ความเขา้ ใจทางดา้ นเทคนิคในการปฏบิ ตั ทิ างดา้ นบญั ชี (ความรบั ผดิ ชอบหลัก) 2.4 สามารถนำความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในการคิดวิเคราะห์และแกป้ ญั หา (ความรบั ผดิ ชอบรอง) วิธกี ารสอน 1) การบรรยาย ยกตัวอย่าง และ การถาม-ตอบในชั้นเรยี น 2) การฝึกหดั แกไ้ ขโจทยป์ ญั หา วธิ กี ารประเมนิ ผล 1) การทดสอบยอ่ ย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค ด้วยข้อสอบทเี่ น้นการวัดหลักการและ ทฤษฏี 2) ประเมนิ จากการนำเสนอผลการค้นควา้ ข้อมลู กรณีศึกษา หรือโจทยพ์ เิ ศษ 3. ทักษะทางปญั ญาทต่ี ้องพัฒนา 3.1 สามารถค้นคว้าข้อมูลหลกั ฐาน แนวคดิ ต่างๆ ในการวเิ คราะหแ์ ละแกป้ ัญหาไดด้ ว้ ยตนเอง (ความรบั ผิดชอบรอง) 3.2 สามารถประยุกตค์ วามรู้ทางดา้ นบญั ชแี ละด้านอนื่ ๆ ที่สมั พันธ์กนั อยา่ งเป็นระบบ มเี หตผุ ลและสรา้ งสรรค์ (ความ รบั ผดิ ชอบหลกั ) 3.3 สามารถคิดวเิ คราะหแ์ ละสงสัยเยีย่ งผ้ปู ระกอบวชิ าชพี บญั ชี (ความรบั ผดิ ชอบรอง) วิธีการสอน 1) การมอบหมายให้นกั ศกึ ษาทำโครงงานพเิ ศษทใ่ี หว้ ิเคราะห์และแกป้ ญั หา และการนำเสนอผลงาน 2) อภปิ ลายกลมุ่ 3) ทำโจทย์พิเศษ 4) การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ วิธีการประเมนิ ผล 1) สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะหส์ ถาณการณ์ หรือวเิ คราะหแ์ นวคิดในการประยกุ ต์ใช้ เทคโนโลยีสานเทศ 2) วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน 3) สงั เกตพฤติกรรมการแกไ้ ขปัญหา 4. ความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบท่ีตอ้ งพัฒนา 4.1 มมี นุษยส์ มั พันธ์ทีด่ ี สามารถทำงานรว่ มกับผู้อื่น และปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรไดเ้ ปน็ อย่าง ดี (ความรบั ผดิ ชอบรอง) 4.2 สามารถให้ความร่วมมอื และอำนวยความสะดวกในการแกไ้ ขปัญหากับ สถานการณ์ตา่ ง ๆ ทัง้ ในบทบาทของผนู้ ำและผรู้ ว่ ม ทีมงาน (ความรบั ผิดชอบหลกั ) 4.3 สามารถพัฒนาความสามารถในการปฏิบัติและรับผดิ ชอบงานของตนเองอย่างตอ่ เนือ่ ง (ความรับผดิ ชอบรอง) รายงานผลการปฏิบตั ิงาน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ ตำแหน่งครผู ชู้ ว่ ย ผ้รู ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแกว้

31 วิธกี ารสอน 1) จัดกจิ กรรมกลุ่มในการวเิ คราะหก์ รณศี ึกษา 2) มอบหมายงานรายกล่มุ และรายบคุ คล 3) การนำเสนอรายงาน วธิ กี ารประเมนิ ผล 1) การประเมินตนเอง และเพอื่ น ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 2) ประเมนิจากรายงนทีน่ ำเสนอพฤตกิ รรมการทำงานเปน็ ทึม 3) ปรเมินจากรายงานการศกึ าดว้ ยตนเอง 5. การวเิ คราะห์เชงิ ตวั เลข การสอื่ สารและการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศทีต่ ้องพฒั นา 5.1 มคี วามสามารถในการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลขเพ่ือการตัดสินใจอย่างสรา้ งสรรค์ ทางดา้ นบญั ชแี ละอน่ื ๆ (ความรบั ผดิ ชอบหลกั ) 5.2 สามารถสอื่ สารอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพทงั้ การพูดและการเขียน รจู้ กั เลือกและใช้ รปู แบบการนำเสนอท่ีเหมาะสมกับปัญหา และสถานการณ์ (ความรบั ผดิ ชอบรอง) 5.3 สามารถเลอื กใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและเทคนิคการส่อื สารทเ่ี หมาะสมในการ เก็บรวบรวมข้อมลู การแปลความหมาย และการส่อื สารสารสนเทศ (ความรบั ผดิ ชอบรอง) วธิ กี ารสอน 1) มอบหมายโจทยพ์ เิ ศษให้ศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง จากเวบ็ ไซตส์ อื่ การสอน E- Learning และทำนายงานโดยเน้นการทำตัวเลข หรือสถติ ิอ้างอิง จากแหลง่ ขอ้ มลู ท่นี ่าเชื่อถือ 2) นำเสนอโดยรปู แบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม วิธกี ารประเมนิ ผล 1) ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสือ่ เทคโนโลยี 2) ประเมนิ จากการมสี ว่ นร่วมในการอภิปลายและวธิ กี ารอภปิ ลาย หมวดท่ี 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สปั ดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด จำนวน กจิ กรรมการเรยี นการสอน ผสู้ อน ท่ี ชัว่ โมง และสอ่ื ทใี่ ช้ 1 ปฐมนิเทศ 4 กิจกรรมการเรียนการสอนบรรยาย อภปิ ราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย 1.1 แจง้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ซกั ถาม ใบงาน รว่ มกนั สรุป ฝกึ ปฏิบตั ิ กัลยา นาวาพนม ของรายวชิ า กรณีศึกษา ยกตวั อย่าง นำเสนอผลงาน 1.2 แจ้งเกณฑ์การวดั ผลและ ตัวอย่าง การประเมนิ ผล สอ่ื ท่ใี ชใ้ นการเรียนการสอน หน่วยที่ 1 ลักษณะทว่ั ไปของ 1. กรณีศึกษา หน้ีสนิ 2. แบบทดสอบ/แบบฝึกทกั ษะ ตอนท่ี 1 ความหมายของ 3. หนงั สือเรียนการบญั ชีชน้ั กลาง 2 รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเข้ม ตำแหน่งครูผู้ชว่ ย ผรู้ บั การประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชุมชนสระแกว้

32 หนส้ี นิ 4. PPT ตอนท่ี 2 ลกั ษณะของหนีส้ นิ 5. Google classroom ตอนท่ี 3 ประเภทของหนีส้ นิ ตอนที่ 4 หลักเกณฑ์การวดั 4 กจิ กรรมการเรียนการสอนบรรยาย อภปิ ราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย มลู คา่ ของหนส้ี ิน ตอนท่ี 5 เงื่อนไขการรบั รู้ ซักถาม ใบงาน ร่วมกันสรปุ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ กลั ยา นาวาพนม หนส้ี นิ ในงบดลุ กรณีศกึ ษา ยกตวั อยา่ ง นำเสนอผลงาน 2 หนว่ ยท่ี 2 หน้ีสินหมุนเวยี น ตอนท่ี 1 ความหมายของ ตวั อย่าง หนี้สนิ หมนุ เวยี น ตอนที่ 2 ประเภทของหนส้ี ิน ส่อื ทีใ่ ชใ้ นการเรียนการสอน หมนุ เวียน ตอนที่ 3 การบันทกึ บญั ชี 1. กรณศี ึกษา เกีย่ วกบั หน้ีสนิ หมุนเวียนท่ี กำหนดมลู คา่ ได้แน่นอน 2. แบบทดสอบ/แบบฝึกทกั ษะ ตอนที่ 4 การบันทึกบัญชี เกยี่ วกบั หนีส้ ินหมุนเวียน 3. หนังสือเรยี นการบญั ชีชั้นกลาง 2 โดยประมาณ 4. PPT 3 หน่วยท่ี 2 หนี้สินหมนุ เวยี น (ต่อ) 5. Google classroom ตอนท่ี 5 การบนั ทกึ บัญชี เก่ียวกับหนสี้ ินหมนุ เวียนท่ี 4 กจิ กรรมการเรียนการสอนบรรยาย อภิปราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย อาจจะเกดิ ขึน้ ตอนที่ 6 การแสดงรายการ ซักถาม ใบงาน รว่ มกันสรปุ ฝกึ ปฏิบัติ กัลยา นาวาพนม หน้สี ินหมุนเวียนในงบดลุ กรณีศกึ ษา ยกตวั อยา่ ง นำเสนอผลงาน 4 หน่วยท่ี 3 หนสี้ ินระยะยาว ตอนท่ี 1 ความหมายและ ตัวอยา่ ง ลักษณะของหนสี้ ินระยะยาว ตอนท่ี 2 ความหมายและ สือ่ ท่ใี ชใ้ นการเรยี นการสอน ลกั ษณะของหุน้ กู้ ตอนท่ี 3 ชนดิ ของหุ้นกู้ 1. กรณศี กึ ษา ตอนที่ 4 การกำหนดราคา จำหนา่ ยหุ้นกู้ 2. แบบทดสอบ/แบบฝึกทกั ษะ ตอนท่ี 5 การบันทกึ บัญชี เกย่ี วกับการจำหนา่ ยหุ้นกู้ 3. หนงั สือเรียนการบญั ชชี น้ั กลาง 2 4. PPT 5. Google classroom 4 กจิ กรรมการเรียนการสอนบรรยาย อภิปราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย ซกั ถาม ใบงาน ร่วมกันสรปุ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ กลั ยา นาวาพนม กรณศี ึกษา ยกตวั อย่าง นำเสนอผลงาน ตัวอย่าง สื่อท่ีใช้ในการเรียนการสอน 1. กรณีศกึ ษา 2. แบบทดสอบ/แบบฝึกทักษะ 3. หนังสือเรยี นการบญั ชีชน้ั กลาง 2 4. PPT 5. Google classroom รายงานผลการปฏิบตั งิ าน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเขม้ ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย ผรู้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแกว้

33 ตอนที่ 6 การจำหนา่ ยห้นุ กู้ พรอ้ มใบสำคญั แสดงสทิ ธิ ซอ้ื หุ้นทนุ ตอนที่ 7 การตัดส่วนลดมูลค่า และสว่ นเกนิ มลู คา่ หุ้นกู้ ตอนที่ 8 คา่ ใช้จา่ ยในการออก หุ้นกู้ 5 หนว่ ยท่ี 3 หนี้สนิ ระยะยาว 4 กจิ กรรมการเรยี นการสอนบรรยาย อภปิ ราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย ตอนท่ี 9 ดอกเบ้ียหุ้นกูค้ ้าง ซักถาม ใบงาน รว่ มกันสรปุ ฝึกปฏิบัติ กลั ยา นาวาพนม จ่าย กรณีศึกษา ยกตวั อยา่ ง นำเสนอผลงาน ตอนที่ 10 การไถ่ถอนหุน้ กเู้ ม่ือ ตวั อย่าง ครบกำหนด ส่ือทใี่ ชใ้ นการเรยี นการสอน ตอนที่ 11 การไถถ่ อนหุ้นกู้ 1. กรณีศกึ ษา ก่อนครบกำหนด 2. แบบทดสอบ/แบบฝกึ ทกั ษะ ตอนที่ 12 การไถ่ถอนหนุ้ กทู้ ่ี 3. หนังสือเรยี นการบญั ชชี ัน้ กลาง 2 ครบกำหนดไถ่ถอนเปน็ งวด ๆ 4. PPT ตอนที่ 13 การไถถ่ อนหุ้นกู้ 5. Google classroom ชนดิ ไถถ่ อนเปน็ งวด ๆกอ่ น ครบกำหนด ตอนท่ี 14 หนส้ี ินระยะยาวอ่นื ๆ ตอนท่ี 15 การแสดงรายการ หน้ีสนิ ระยะยาวในงบดลุ 6 หนว่ ยที่ 4 ลกั ษณะทัว่ ไปของ 4 กจิ กรรมการเรยี นการสอนบรรยาย อภปิ ราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย หา้ งหนุ้ ส่วน ตอนท่ี 1 ความหมายของหา้ ง ซักถาม ใบงาน รว่ มกันสรปุ ฝึกปฏิบัติ กัลยา นาวาพนม หนุ้ สว่ น ตอนท่ี 2 ลักษณะสำคญั ของ กรณีศึกษา ยกตัวอยา่ ง นำเสนอผลงาน ห้างห้นุ สว่ น ตอนท่ี 3 ประเภทของห้าง ตัวอย่าง หนุ้ ส่วน ตอนท่ี 4 ชนิดของผเู้ ปน็ สอื่ ที่ใชใ้ นการเรยี นการสอน หุ้นสว่ น ตอนที่ 5 การจดั ตง้ั และการ 1. กรณศี กึ ษา ดำเนนิ งานของห้างหนุ้ สว่ น ตอนท่ี 6 ขอ้ ดีและข้อเสียของ 2. แบบทดสอบ/แบบฝึกทักษะ การประกอบกิจการแบบห้าง ห้นุ ส่วน 3. หนังสอื เรยี นการบัญชีชน้ั กลาง 2 4. PPT 5. Google classroom รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม ตำแหน่งครผู ูช้ ว่ ย ผู้รบั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแก้ว

34 ตอนที่ 7 สญั ญาการเขา้ เปน็ หนุ้ ส่วน 7 หนว่ ยที่ 5 การบญั ชขี องหา้ ง 4 กิจกรรมการเรยี นการสอนบรรยาย อภปิ ราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย ห้นุ สว่ น ซักถาม ใบงาน รว่ มกันสรปุ ฝึกปฏบิ ตั ิ กลั ยา นาวาพนม ตอนที่ 1 บัญชที ่ีเก่ียวขอ้ งกับผู้ กรณีศึกษา ยกตัวอยา่ ง นำเสนอผลงาน เป็นหนุ้ สว่ น ตวั อย่าง ตอนที่ 2 วิธบี นั ทกึ บัญชสี ่วน สอ่ื ที่ใชใ้ นการเรยี นการสอน ของผู้เป็นหนุ้ สว่ น 1. กรณศี ึกษา ตอนที่ 3 การเปดิ บญั ชีเมื่อ 2. แบบทดสอบ/แบบฝึกทักษะ จัดตั้งห้างหุน้ สว่ น 3. หนังสอื เรียนการบญั ชีชั้นกลาง 2 ตอนท่ี 4 การแบง่ กำไรขาดทนุ 4. PPT ตอนที่ 5 การจัดทำงบการเงนิ 5. Google classroom 8 หน่วยท่ี 6 การเปลยี่ นแปลงใน 4 กจิ กรรมการเรยี นการสอนบรรยาย อภิปราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย สว่ นของผู้เป็นหนุ้ สว่ น ซกั ถาม ใบงาน ร่วมกนั สรปุ ฝึกปฏิบัติ กลั ยา นาวาพนม ตอนที่ 1 การรับหนุ้ ส่วนใหม่ กรณศี ึกษา ยกตัวอย่าง นำเสนอผลงาน ตอนที่ 2 การลาออกของผู้เป็น ตัวอยา่ ง หนุ้ สว่ น สื่อทีใ่ ช้ในการเรยี นการสอน ตอนที่ 3 การถึงแกก่ รรมของผู้ 1. กรณศี ึกษา เปน็ หนุ้ สว่ น 2. แบบทดสอบ/แบบฝกึ ทกั ษะ ทดสอบวดั ประเมนิ ผลกลาง 3. หนงั สือเรียนการบัญชีช้ันกลาง 2 ภาค 4. PPT 5. Google classroom 6. แบบทดสอบกลางภาค 9 หกน่วยที่ 7 การเลกิ กิจการ 4 กจิ กรรมการเรยี นการสอนบรรยาย อภิปราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย ห้างหุ้นส่วน ซกั ถาม ใบงาน รว่ มกนั สรุป ฝกึ ปฏบิ ัติ กัลยา นาวาพนม ตอนที่ 1 สาเหตุของการเลกิ กรณีศึกษา ยกตัวอยา่ ง นำเสนอผลงาน กจิ การหา้ งหุ้นสว่ น ตวั อย่าง ตอนที่ 2 การชำระบัญชเี ลิก ส่อื ที่ใชใ้ นการเรยี นการสอน หา้ งหุ้นส่วน 1. กรณศี กึ ษา ตอนที่ 3 วธิ ีปฏบิ ัตใิ นการชำระ 2. แบบทดสอบ/แบบฝึกทักษะ บัญชี 3. หนังสอื เรยี นการบญั ชีชั้นกลาง 2 ตอนที่ 4 วิธกี ารชำระบญั ชี 4. PPT และการจา่ ยคนื ทนุ 5. Google classroom 10 หน่วยท่ี 8 การจัดตงั้ บริษทั 4 กิจกรรมการเรยี นการสอนบรรยาย อภิปราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย จำกดั ตอนที่ 1 ความหมายของ ซักถาม ใบงาน ร่วมกนั สรปุ ฝกึ ปฏิบัติ กัลยา นาวาพนม บริษัทจำกัด ตอนที่ 2 ประเภทของบรษิ ัท กรณีศึกษา ยกตัวอย่าง นำเสนอผลงาน ตัวอย่าง สอ่ื ที่ใช้ในการเรยี นการสอน รายงานผลการปฏิบตั งิ าน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเข้ม ตำแหน่งครูผชู้ ว่ ย ผู้รับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลัยชุมชนสระแกว้

35 จำกดั 1. กรณีศกึ ษา ตอนที่ 3 การจัดตง้ั 2. แบบทดสอบ/แบบฝึกทักษะ บรษิ ทั เอกชนจำกดั 3. หนังสือเรยี นการบัญชชี ัน้ กลาง 2 ตอนท่ี 4 การจัดตัง้ บรษิ ัท 4. PPT มหาชนจำกดั 5. Google classroom ตอนที่ 5 ทุนของบรษิ ัทจำกัด ตอนท่ี 6 ชนดิ ของหนุ้ ทนุ ตอนท่ี 7 การบันทึกบญั ชี เกยี่ วกับการจดทะเบยี นและ การออกจำหนา่ ยหุ้น ตอนท่ี 8 คา่ ใชจ้ า่ ยในการ ออกจำหนา่ ยหุ้นทุน 11 หนว่ ยที่ 9 การเปลย่ี นแปลงใน 4 กิจกรรมการเรยี นการสอนบรรยาย อภปิ ราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย ส่วนของผู้ถือห้นุ ซกั ถาม ใบงาน รว่ มกันสรุป ฝกึ ปฏบิ ัติ กัลยา นาวาพนม ตอนที่ 1 ความหมายและ กรณศี ึกษา ยกตวั อย่าง นำเสนอผลงาน ส่วนประกอบของผู้ถอื หนุ้ ตัวอยา่ ง ตอนที่ 2 การเพม่ิ ทนุ สอ่ื ที่ใชใ้ นการเรยี นการสอน ตอนที่ 3 หลกั เกณฑ์และ 1. กรณีศกึ ษา วิธกี ารในการลดทนุ 2. แบบทดสอบ/แบบฝึกทักษะ ตอนท่ี 4 สทิ ธใิ นการซื้อหุ้นทุน 3. หนงั สอื เรียนการบัญชชี ั้นกลาง 2 ตอนท่ี 5 หุ้นทุนรับคืนมา 4. PPT ตอนท่ี 6 การไถ่คนื หุน้ 5. Google classroom บุรมิ สิทธิ ตอนที่ 7 การแปลงสภาพหุ้น ทนุ ตอนท่ี 8 การแบ่งแยกหุ้นและ การลดหุ้น ตอนท่ี 9 การตรี าคาสินทรพั ย์ เพ่ิม ตอนที่ 10 การประเมนิ จดั เก็บ ค่าหนุ้ เพิ่มเตมิ 12 หน่วยที่ 9 การเปลยี่ นแปลงใน 4 กจิ กรรมการเรยี นการสอนบรรยาย อภปิ ราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย สว่ นของผู้ถือห้นุ (ตอ่ ) ซักถาม ใบงาน ร่วมกันสรุป ฝึกปฏิบตั ิ กลั ยา นาวาพนม ตอนที่ 1 ความหมายและ กรณศี ึกษา ยกตัวอยา่ ง นำเสนอผลงาน ส่วนประกอบของผู้ถอื หุน้ ตวั อย่าง ตอนที่ 2 การเพ่ิมทนุ สอื่ ทีใ่ ช้ในการเรยี นการสอน ตอนที่ 3 หลักเกณฑแ์ ละ 1. กรณศี ึกษา วิธีการในการลดทุน 2. แบบทดสอบ/แบบฝกึ ทักษะ ตอนท่ี 4 สทิ ธิในการซ้อื หุน้ ทนุ 3. หนังสือเรียนการบัญชชี น้ั กลาง 2 รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเขม้ ตำแหน่งครผู ู้ชว่ ย ผ้รู บั การประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว

36 ตอนท่ี 5 หนุ้ ทนุ รับคืนมา 4. PPT ตอนที่ 6 การไถ่คืนหนุ้ 5. Google classroom บรุ ิมสิทธิ ตอนที่ 7 การแปลงสภาพห้นุ ทนุ ตอนท่ี 8 การแบง่ แยกหุ้นและ การลดหนุ้ ตอนที่ 9 การตรี าคาสินทรัพย์ เพิ่ม ตอนที่ 10 การประเมนิ จัดเกบ็ คา่ หนุ้ เพ่มิ เตมิ 13 หนว่ ยที่ 10 กำไรสะสมและ 4 กิจกรรมการเรียนการสอนบรรยาย อภิปราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย เงนิ ปันผล ซกั ถาม ใบงาน ร่วมกันสรุป ฝึกปฏบิ ตั ิ กัลยา นาวาพนม ตอนที่ 1 ความหมายของกำไร กรณศี กึ ษา ยกตัวอยา่ ง นำเสนอผลงาน สะสม ตัวอย่าง ตอนที่ 2 รายการที่ทำให้กำไร สอ่ื ท่ีใช้ในการเรยี นการสอน สะสมเปล่ียนแปลง 1. กรณีศึกษา ตอนท่ี 3 เงนิ ปันผล 2. แบบทดสอบ/แบบฝึกทกั ษะ ตอนท่ี 4 การจดั สรรกำไร 3. หนังสือเรียนการบญั ชชี ้ันกลาง 2 สะสม 4. PPT ตอนท่ี 5 การจัดทำงบกำไร 5. Google classroom สะสม ตอนท่ี 6 งบกำไรสะสม ตอนที่ 7 งบแสดงการ เปลีย่ นแปลงในสว่ นของผูถ้ อื ห้นุ ตอนที่ 8 การแสดงรายการ สว่ นของผถู้ ือหนุ้ ในงบดุล 14 หน่วยที่ 11 การคำนวณมลู คา่ 4 กจิ กรรมการเรยี นการสอนบรรยาย อภปิ ราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย หุน้ ของบรษิ ทั จำกัด ซกั ถาม ใบงาน ร่วมกันสรุป ฝกึ ปฏบิ ตั ิ กัลยา นาวาพนม ตอนที่ 1 วิธีคำนวณมลู ค่าห้นุ กรณีศึกษา ยกตัวอย่าง นำเสนอผลงาน ของบรษิ ัทจำกดั ตวั อยา่ ง ตอนท่ี 2 ราคาตามบัญชตี อ่ หุ้น สอ่ื ทีใ่ ช้ในการเรยี นการสอน ตอนท่ี 3 กำไรต่อหุ้น 1. กรณศี กึ ษา 2. แบบทดสอบ/แบบฝึกทักษะ 3. หนงั สอื เรียนการบัญชีช้นั กลาง 2 4. PPT 5. Google classroom รายงานผลการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่างเขม้ ตำแหน่งครผู ูช้ ่วย ผู้รบั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแกว้

37 15 soj;pmuj 12 การแกไ้ ข 4 กิจกรรมการเรยี นการสอนบรรยาย อภิปราย กฤษฐนชนม์ หาระไชย ข้อผิดพลาดทางบญั ชี ตอนท่ี 1 ความหมายของ ซกั ถาม ใบงาน ร่วมกนั สรปุ ฝกึ ปฏิบตั ิ กัลยา นาวาพนม ข้อผิดพลาดทางบัญชี ตอนท่ี 2 สาเหตุของ กรณศี ึกษา ยกตวั อย่าง นำเสนอผลงาน ขอ้ ผิดพลาดทางบญั ชี ตอนที่ 3 ลกั ษณะของ ตัวอยา่ ง ขอ้ ผิดพลาดทางบัญชี ตอนท่ี 4 ข้อผดิ พลาดของปี สอื่ ท่ีใชใ้ นการเรียนการสอน ปจั จบุ ัน ตอนท่ี 5 ขอ้ ผดิ พลาดของงวด 1. กรณศี กึ ษา บัญชกี ่อน ตอนที่ 6 กระดาษทำการเพ่อื 2. แบบทดสอบ/แบบฝึกทักษะ ช่วยแก้ไขกำไรสทุ ธิ ตอนท่ี 7 การแกไ้ ขงบการเงิน 3. หนังสือเรยี นการบญั ชชี ้ันกลาง 2 ของงวดบัญชีกอ่ น ๆ 4. PPT 16 สอบวัดประเมนิ ผลปลายภาค 5. Google classroom 4 แบบทดสอบ กฤษฐนชนม์ หาระไชย กัลยา นาวาพนม 2. แผนการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ กจิ กรรมที่ ผลการเรียนรู้ วธิ ีการประเมิน สปั ดาห์ทีป่ ระเมนิ สัดสว่ นของการประเมนิ ผล ปลายภาค 1 หนว่ ยที่ 1 -11 ทดสอบกอ่ นเรียน สอบระหว่าง 1 8 1-7,9-15 16 ภาคเรยี น แบบฝกึ หดั / - 30 % 20 % - 30 % แบบทดสอบ ทดสอบหลังเรยี น สอบปลายภาคเรียน 10 % 2 หนว่ ยท่ี วิเคราะหก์ รณศี กึ ษา ทำใบงาน ตลอดทั้งภาคเรียน 10 % 1,3,4,7,10,11 การนำเสนองานกลุ่ม การ ค้นคว้า การส่งงานตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย 3 หน่วยที่ 1 -11 การเขา้ ชัน้ เรยี น การมสี ว่ นร่วม ตลอดทั้งภาคเรยี น ในการตอบคำถาม การอภปิ ราย การเสนอความคดิ เหน็ ความ รับผิดชอบ ความใฝ่รศู้ ึกษา ค้นควา้ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่างเขม้ ตำแหน่งครผู ชู้ ่วย ผรู้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วทิ ยาลยั ชมุ ชนสระแกว้

38 หมวดที่ 6 ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตำราและเอกสารหลัก ผศ.ดร.นุชจรี พิเชฐกลุ . การบญั ชีชัน้ กลาง 2. ปรบั ปรุง2559. 2. เอกสารและข้อมลู สำคญั - 3. เอกสารและข้อมลู แนะนำ เว็บไซต์ ที่เกยี่ วกับหวั ข้อในประมวลรายวชิ า เช่น Wikipedia คำอธบิ ายศัพท์ หมวดที่ 7 การประเมนิ และปรบั ปรงุ การดำเนนิ การของรายวชิ า 1. กลยุทธ์การประเมนิ ประสิทธิผลของรายวชิ าโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธผิ ลรายวิชาน้ี ทีจ่ ดั ทำโดยนักศึกษา ไดจ้ ดั กิจกรรมในการนำแนวคดิ และความเหน็ จากนกั ศึกษาไดด้ งั นี้ การสนทนากลุม่ ระหว่างผสู้ อนและผู้เรยี น แบบประเมนิ ผ้สู อน และแบบประเมนิ รายวิชา ขอ้ เสนอแนะผ่านเวบ็ บอร์ด ที่ อาจารยผ์ ูส้ อนได้จดั ทำเปน็ ชอ่ งทางการสื่อสารกับนกั ศกึ ษา 2. กลยทุ ธก์ ารประเมนิ การสอน ในการเก็บขอ้ มลู เพอ่ื ประเมนิ การสอน ได้มีกลยุทธิ์ ดังน้ี การสงั เกตการณ์สอนของผูส้ อน ผลการเรยี นของนกั ศึกษา กรทวน สอบผลประเมนิ ความรู้ 3. ปรับปรุงการสอน หลังจากผลการประเมนิการสอนในขอ้ 2 จงึ มกี ารปรับปรงุ การสอน โดยการจดั กจิ กรรมการระดมสมอง และหาขอ้ มลู เพิ่มเตมิ ในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ สมั มนาการจดั การเรียนการสอน การวจิ ัยในและนอกช้ันเรียน 4. ทบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธขิ์ องนกั ศกึ ษาในรายวชิ า ในระหว่างกระบวนการสอนรายวชิ า มกี ารทวนสอบผลสมั ฤทธใ๋ิ นรายหวั ขอ้ ตามท่คี าดหวงั จากการเรียนรูใ้ นวชิ า ไดจ้ าก การสอนยถามนักศกึ ษา หรอื การสมุ่ ตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถงึ พิจารณาจากผลการ ทดสอบยอ่ ยและหลงั การออกผล การเรยี นรายวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรยี นรขู้ องนักศึกษา โดยตรวจสอบขอ้ สอบ รายงาน วธิ กี ารใหค้ ะแนนสอบ และการใหค้ ะแนนความพฤตกิ รรม 5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรบั ปรงุ ประสิทธิผลของรายวชิ า จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธปิ์ ระสทิ ธผิ ลรายวิชา ได้มกี ารวางแผนการปรบั ปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อใหเ้ กิดคณุ ภาพมากขึ้น ดงั น้ี ปรปั บรุงรายวชิ าทกุ 3 ปี หรือตามขอ้ เสนอแนะผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธติ์ ามขอ้ 4 การเปลย่ี นหรือสลับอาจารยผ์ ้สู อน เพอ่ื ให้นกั ศึกษามมี ุมมองในเรอื่ งการประยุกต์ความรู้นีก้ ับปญั หาทม่ี าจากงานวจิ ัยของ อาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเข้ม ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย ผรู้ บั การประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว

39 การรายงานผลการดำเนินการของรายวชิ า (มอค.5) -------------------------------------------- หมวดท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป 1. รหสั และช่อื รายวชิ า บช 1310 การบัญชชี ้นั กลาง 2 2. รายวชิ าทีต่ ้องมาเรียนก่อน (Pre-requisite) (ถา้ ม)ี 3. อาจารย์ผูร้ ับผิดชอบ อาจารย์ผู้สอนและกลมุ่ เรยี น (Section) นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย, นางสาวกัลยา นาวาพนม กลุม่ บัญชี12 4. ภาคการศกึ ษา/ปีการศึกษาทเี่ ปิดสอนรายวชิ า 2/2563 5. สถานท่ีเรยี น วทิ ยาลยั ชมุ ชนสระแก้ว หมวดท่ี 2 การจัดการเรียนการสอนทเี่ ปรียบเทยี บกบั แผนการสอน 1. รายงานชั่วโมงการสอนจริงเทยี บกบั แผนการสอน สัปดาห์ จำนวน จำนวน ระบุสาเหตุทกี่ ารสอนจริงตา่ งจาก ท่ี ชวั่ โมง หัวขอ้ /รายละเอยี ด ชวั่ โมง แผนการสอนหากมคี วามแตกต่าง ทีส่ อนจรงิ เกิน 25% 1 ปฐมนเิ ทศ 44 1.1 แจ้งจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรขู้ องรายวิชา 1.2 แจง้ เกณฑก์ ารวดั ผลและการประเมนิ ผล หน่วยที่ 1 ลักษณะทั่วไปของหนี้สนิ ตอนท่ี 1 ความหมายของหนสี้ นิ ตอนที่ 2 ลกั ษณะของหนี้สนิ ตอนที่ 3 ประเภทของหน้ีสนิ ตอนที่ 4 หลกั เกณฑ์การวดั มลู ค่าของหนี้สิน ตอนที่ 5 เง่อื นไขการรับรหู้ น้สี ินในงบดุล 2 หน่วยที่ 2 หน้สี ินหมุนเวยี น 4 4 ตอนท่ี 1 ความหมายของหนส้ี ินหมุนเวยี น ตอนท่ี 2 ประเภทของหนส้ี นิ หมุนเวียน ตอนที่ 3 การบนั ทกึ บญั ชีเกีย่ วกับหน้สี นิ หมุนเวียนท่ี กำหนดมลู ค่าได้แนน่ อน ตอนที่ 4 การบนั ทึกบญั ชเี ก่ียวกบั หน้สี นิ หมนุ เวียน โดยประมาณ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเขม้ ตำแหน่งครผู ู้ช่วย ผรู้ บั การประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลยั ชุมชนสระแกว้

40 3 หนว่ ยท่ี 2 หนส้ี นิ หมุนเวียน (ตอ่ ) 4 4 ตอนท่ี 5 การบันทกึ บญั ชีเกยี่ วกบั หน้ีสินหมุนเวยี นที่ 4 4 อาจจะเกดิ ขน้ึ ตอนท่ี 6 การแสดงรายการหน้สี นิ หมนุ เวียนในงบดุล 4 4 4 4 4 หน่วยที่ 3 หนี้สินระยะยาว 4 4 ตอนท่ี 1 ความหมายและลักษณะของหน้สี ินระยะ ยาว ตอนท่ี 2 ความหมายและลกั ษณะของห้นุ กู้ ตอนที่ 3 ชนดิ ของหนุ้ กู้ ตอนที่ 4 การกำหนดราคาจำหนา่ ยหนุ้ กู้ ตอนที่ 5 การบันทกึ บญั ชีเกยี่ วกบั การจำหน่ายหุ้นกู้ ตอนท่ี 6 การจำหน่ายหนุ้ กู้พรอ้ มใบสำคัญแสดงสิทธิ ซ้ือหนุ้ ทุน ตอนท่ี 7 การตดั สว่ นลดมลู คา่ และส่วนเกนิ มลู คา่ หุ้น กู้ ตอนที่ 8 ค่าใชจ้ า่ ยในการออกห้นุ กู้ 5 หน่วยที่ 3 หนส้ี นิ ระยะยาว ตอนที่ 9 ดอกเบ้ยี ห้นุ กู้ค้างจ่าย ตอนที่ 10 การไถ่ถอนหุ้นกู้เมื่อครบกำหนด ตอนที่ 11 การไถ่ถอนหนุ้ กกู้ อ่ นครบกำหนด ตอนที่ 12 การไถ่ถอนหุ้นก้ทู คี่ รบกำหนดไถ่ถอนเปน็ งวด ๆ ตอนที่ 13 การไถ่ถอนหนุ้ กชู้ นิดไถถ่ อนเปน็ งวด ๆ กอ่ นครบกำหนด ตอนท่ี 14 หนสี้ ินระยะยาวอืน่ ๆ ตอนที่ 15 การแสดงรายการหนสี้ นิ ระยะยาวในงบดลุ 6 หน่วยท่ี 4 ลักษณะทัว่ ไปของหา้ งหนุ้ ส่วน ตอนท่ี 1 ความหมายของห้างหุน้ สว่ น ตอนท่ี 2 ลกั ษณะสำคญั ของหา้ งหุน้ สว่ น ตอนที่ 3 ประเภทของหา้ งหุ้นสว่ น ตอนท่ี 4 ชนิดของผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วน ตอนที่ 5 การจัดตงั้ และการดำเนินงานของห้าง หนุ้ สว่ น ตอนที่ 6 ขอ้ ดแี ละขอ้ เสยี ของการประกอบกิจการ แบบห้างห้นุ ส่วน ตอนท่ี 7 สญั ญาการเข้าเป็นห้นุ สว่ น 7 หน่วยที่ 5 การบัญชขี องหา้ งหุน้ ส่วน ตอนท่ี 1 บัญชีที่เกย่ี วข้องกับผเู้ ป็นหุ้นส่วน รายงานผลการปฏิบตั งิ าน การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเขม้ ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย ผู้รับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลยั ชมุ ชนสระแกว้

41 ตอนท่ี 2 วธิ ีบันทึกบัญชสี ่วนของผู้เป็นหนุ้ ส่วน 4 4 ตอนที่ 3 การเปิดบญั ชีเม่ือจดั ต้ังหา้ งหนุ้ ส่วน ตอนท่ี 4 การแบง่ กำไรขาดทนุ ตอนท่ี 5 การจัดทำงบการเงนิ 8 หนว่ ยท่ี 6 การเปลยี่ นแปลงในสว่ นของผเู้ ปน็ หนุ้ สว่ น ตอนท่ี 1 การรบั หนุ้ สว่ นใหม่ ตอนที่ 2 การลาออกของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ น ตอนท่ี 3 การถงึ แก่กรรมของผ้เู ป็นหุ้นส่วน ทดสอบวัดประเมินผลกลางภาค 9 หกนว่ ยที่ 7 การเลกิ กจิ การหา้ งห้นุ ส่วน 44 ตอนที่ 1 สาเหตุของการเลกิ กจิ การห้างหนุ้ ส่วน ตอนที่ 2 การชำระบัญชเี ลกิ ห้างหนุ้ สว่ น ตอนท่ี 3 วธิ ปี ฏบิ ตั ใิ นการชำระบญั ชี ตอนท่ี 4 วิธกี ารชำระบัญชแี ละการจ่ายคืนทนุ 10 หน่วยที่ 8 การจัดตัง้ บริษทั จำกดั 4 4 ตอนที่ 1 ความหมายของบรษิ ทั จำกดั ตอนที่ 2 ประเภทของบรษิ ทั จำกดั ตอนท่ี 3 การจดั ตั้งบรษิ ัทเอกชนจำกดั ตอนท่ี 4 การจดั ต้ังบรษิ ัทมหาชนจำกดั ตอนท่ี 5 ทนุ ของบริษัทจำกัด ตอนท่ี 6 ชนิดของหุน้ ทนุ ตอนที่ 7 การบันทึกบญั ชเี กยี่ วกบั การจดทะเบยี น และการออกจำหน่ายห้นุ ตอนท่ี 8 คา่ ใช้จ่ายในการออกจำหนา่ ยหุน้ ทุน 11 หน่วยที่ 9 การเปลยี่ นแปลงในสว่ นของผู้ถือหุ้น 4 4 ตอนท่ี 1 ความหมายและส่วนประกอบของผถู้ ือหุน้ ตอนท่ี 2 การเพม่ิ ทุน ตอนที่ 3 หลักเกณฑ์และวิธีการในการลดทุน ตอนที่ 4 สทิ ธิในการซื้อหุ้นทนุ ตอนที่ 5 หนุ้ ทุนรบั คืนมา ตอนที่ 6 การไถ่คนื หนุ้ บรุ มิ สทิ ธิ ตอนที่ 7 การแปลงสภาพหุ้นทนุ ตอนท่ี 8 การแบง่ แยกหุน้ และการลดหุ้น ตอนที่ 9 การตีราคาสินทรัพยเ์ พิ่ม ตอนท่ี 10 การประเมินจดั เก็บค่าหนุ้ เพ่ิมเตมิ 12 หนว่ ยท่ี 9 การเปลย่ี นแปลงในสว่ นของผถู้ ือห้นุ (ต่อ) 4 4 ตอนท่ี 1 ความหมายและสว่ นประกอบของผูถ้ ือหนุ้ รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเข้ม ตำแหน่งครูผชู้ ่วย ผู้รับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแกว้

42 ตอนที่ 2 การเพ่มิ ทนุ 4 4 ตอนที่ 3 หลกั เกณฑ์และวิธีการในการลดทนุ ตอนท่ี 4 สทิ ธิในการซื้อห้นุ ทนุ 4 4 ตอนท่ี 5 หนุ้ ทนุ รบั คืนมา 4 4 ตอนท่ี 6 การไถ่คนื หุ้นบรุ มิ สิทธิ 4 4 ตอนท่ี 7 การแปลงสภาพหุ้นทุน ตอนท่ี 8 การแบง่ แยกหุ้นและการลดห้นุ ตอนท่ี 9 การตรี าคาสินทรพั ย์เพม่ิ ตอนที่ 10 การประเมนิ จัดเก็บค่าหนุ้ เพ่มิ เตมิ 13 หน่วยท่ี 10 กำไรสะสมและเงินปนั ผล ตอนท่ี 1 ความหมายของกำไรสะสม ตอนที่ 2 รายการทีท่ ำใหก้ ำไรสะสมเปลย่ี นแปลง ตอนที่ 3 เงินปนั ผล ตอนที่ 4 การจัดสรรกำไรสะสม ตอนที่ 5 การจัดทำงบกำไรสะสม ตอนที่ 6 งบกำไรสะสม ตอนที่ 7 งบแสดงการเปลยี่ นแปลงในส่วนของผถู้ ือ หุ้น ตอนท่ี 8 การแสดงรายการสว่ นของผถู้ อื ห้นุ ในงบดลุ 14 หน่วยที่ 11 การคำนวณมลู ค่าหุ้นของบริษทั จำกัด ตอนท่ี 1 วิธีคำนวณมูลค่าหุ้นของบรษิ ัทจำกัด ตอนท่ี 2 ราคาตามบญั ชตี อ่ หนุ้ ตอนที่ 3 กำไรต่อหุน้ 15 soj;pmuj 12 การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดทางบัญชี ตอนที่ 1 ความหมายของข้อผดิ พลาดทางบัญชี ตอนท่ี 2 สาเหตขุ องข้อผดิ พลาดทางบญั ชี ตอนที่ 3 ลักษณะของข้อผดิ พลาดทางบัญชี ตอนท่ี 4 ข้อผดิ พลาดของปปี จั จบุ นั ตอนที่ 5 ข้อผิดพลาดของงวดบญั ชกี อ่ น ตอนท่ี 6 กระดาษทำการเพอื่ ช่วยแก้ไขกำไรสทุ ธิ ตอนที่ 7 การแก้ไขงบการเงนิ ของงวดบัญชีก่อน ๆ 16 สอบวดั ประเมนิ ผลปลายภาค รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตำแหน่งครผู ้ชู ่วย ผรู้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแกว้

43 2. หัวขอ้ ท่สี อนไม่ครอบคลุมตามแผน หวั ข้อทส่ี อนไมค่ รอบคลมุ ตาม นัยสำคัญของหัวขอ้ ท่ีสอนไมค่ รอบคลุม แนวทางชดเชย แผน ตามแผน เนื่องจากสถานการณ์โรคระบาดโควิดไมอ่ าจ มีการจัดการสอนชดเชยออนไลนใ์ นระหวา่ ง หนว่ ยที่ 12 การแกไ้ ขข้อผดิ พลาด ทำการเรยี นการสอนในภาคปกตไิ ด้ ได้ทำ ช่วงเวลา 18.00 -19.30 น. วันจนั ทร์-วนั ศกุ ร์ การสอนผา่ นระบบออนไลน์ จำนวน 4 สปั ดาห์ 3. ประสิทธผิ ลของวธิ สี อนทที่ ำให้เกิดผลการเรียนรูต้ ามทรี่ ะบุในรายละเอียดของรายวิชา มาตรฐานผลการเรียนรู้ กลยทุ ธ์การสอนที่ระบุในรายละเอียด ประสิทธิผล อปุ สรรคของการใช้กลยทุ ธ์ พร้อม รายวิชา มี ไมม่ ี ขอ้ เสนอแนะในการแกไ้ ขในการลดอุปสรรค คุณธรรม จรยิ ธรรม 1) บรรยายพรอ้ มยกตัวอยา่ ง / -ใชเ้ วลานานในการวิเคราะห์ ขอ้ เสนอแนะ กรณศี กึ ษา โจทย์พิเศษ ควบคุม ประเด็นเนือ้ หาทมี่ คี วามสำคัญ ตรง 2) อภปิ ลายกลมุ่ ประเด็น ความรู้ 1) การบรรยาย ยกตัวอย่าง และ การ / - ถาม-ตอบในชน้ั เรยี น 2) การฝึกหัดแกไ้ ขโจทยป์ ญั หา ทักษะทางปญั ญา 1) การมอบหมายใหน้ ักศกึ ษาทำ / -การสะท้อนความคิดเหน็ อาจารย์ผ้สู อนตอ้ ง โครงงานพเิ ศษทใ่ี ห้วเิ คราะหแ์ ละ ควบคมุ เวลาให้เปน็ ไปตามแผนการสอน แกป้ ัญหา และการนำเสนอผลงาน 2) อภปิ ลายกลมุ่ ความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คล 1) จดั กิจกรรมกลุ่มในการวเิ คราะห์ / -ใชเ้ วลาในการวิจารณ์นานเกนิ ไป และความรบั ผดิ ชอบ กรณีศกึ ษา ข้อเสนอแนะ อาจารยผ์ สู้ อนสรปุ ประเดน็ ให้ 2) มอบหมายงานรายกลุ่มและ กระชับ ชดั เจนเรว็ ย่งิ ขึ้น รายบุคคล การวเิ คราะห์เชงิ ตัวเลข 1) มอบหมายโจทย์พเิ ศษใหศ้ ึกษา / นกั ศกึ ษาขาดการวิเคราะห์ การสอ่ื สารและการใช้ คน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง จากเว็บไซตส์ ่อื การ เทคโนโลยีสารสนเทศ สอน E- Learning และทำนายงานโดย เน้นการทำตวั เลข หรือสถิติอา้ งองิ จากแหลง่ ขอ้ มลู ทนี่ า่ เชือ่ ถอื 2) นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยี ทเ่ี หมาะสม 4. หัวข้อการดำเนนิ การปรบั ปรงุ วิธสี อน ปรบั ปรงุ คณุ ภาพเน้อื หาการสอนและกระบวนการเรยี นรู้ โดยปรบั ใหเ้ หมาะสมกบั สถานการณป์ จั จบุ ันทีเ่ กดิ ขึ้น รายงานผลการปฏิบตั ิงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหน่งครผู ้ชู ่วย ผู้รับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแก้ว

44 หมวดท่ี 3 สรุปผลการจดั การเรยี นการสอนของรายวิชา 1. จำนวนนกั ศึกษาทล่ี งทะเบียนเรียน 9 คน 2. จำนวนนกั ศึกษาท่ีคงอยเู่ มอื่ สน้ิ สดุ ภาคการศึกษา (จำนวนนักศกึ ษาที่สอบผา่ นในรายวิชาน)้ี 9 คน 3. จำนวนนกั ศกึ ษาทถ่ี อน (W) - คน 4. การกระจายของระดบั คะแนน(เกรด) ระดับคะแนน (เกรด) จำนวน(คน) รอ้ ยละ A1 11.12 33.33 B+ 3 33.33 B3 22.22 C+ 2 0.00 C0 0.00 0.00 D+ 0 0.00 0.00 D0 F0 ไม่สมบูรณ์ (I) 0 5. ปจั จัยท่ีทำใหร้ ะดบั คะแนนผดิ ปกติ(ถา้ ม)ี - 6. ความคลาดเคลือ่ นจากแผนการประเมนิ ทกี่ ำหนดไว้ในรายละเอียดรายวชิ า 6.1 ความคลาดเคลอื่ นด้านกำหนดเวลาการประเมิน 6.2 ความคลาดเคลือ่ นด้านวธิ กี ารประเมินผลการเรียนรู้(ถา้ ม)ี การทำงานกลมุ่ และผลงานกลุ่ม 7. การทวนสอบผลสัมฤทธ์ขิ องนกั ศกึ ษา นำผลการประเมินเสนอตอ่ คณะกรรมฯ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหน่งครผู ู้ชว่ ย ผู้รบั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว

45 หมวดท่ี 4 ปัญหาและผลกระทบตอ่ การดำเนนิ การ 1. ประเด็นปญั หาด้านทรัพยากรประกอบการเรยี นการสอนและสง่ิ อำนวยความสะดวก ปัญหาในการใช้แหล่งทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน ผลกระทบ -- 2. ประเดน็ ดา้ นการบริหารและองค์กร ผลกระทบตอ่ ผลการเรยี นรู้ของนกั ศกึ ษา ดา้ นการบริหารและองคก์ ร (ถา้ มี) - - หมวดที่ 5 การประเมนิ รายวิชา 1. ผลการประเมนิ รายวิชาโดยนกั ศกึ ษา 1.1 ขอ้ วพิ ากษท์ ีส่ ำคญั จากผลการประเมินโดยนกั ศึกษา รายละเอียดแนบ 1.2 ความเหน็ ของอาจารยผ์ ้สู อนต่อขอ้ วพิ ากษต์ ามขอ้ 1.1 2. ผลการประเมินรายวิชาโดยวธิ ีอื่น 2.1 ขอ้ วพิ ากษท์ ีส่ ำคัญจากผลการประเมนิ โดยวิธีอื่น ในการอภิปรายกล่มุ นักศึกษามสี ว่ นร่วมไมท่ ัว่ ถงึ ทกุ คน 2.2 ความเห็นของอาจารย์ผู้สอนตอ่ ขอ้ วพิ ากษ์ตามขอ้ 2.1 อาจารยก์ ำกบั ควบคุมใหม้ ีการหมนุ เวยี น เปล่ยี นกนั ในโอกาสตอ่ ไป รายงานผลการปฏิบตั ิงาน การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม ตำแหน่งครูผ้ชู ่วย ผรู้ บั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบัญชี วิทยาลัยชมุ ชนสระแก้ว

46 หมวดท่ี 6 แผนการปรับปรงุ 1. ความกา้ วหนา้ ของการปรบั ปรุงการเรียนการสอนตามทีเ่ สนอในรายงานของรายวิชาครง้ั ที่ผ่านมา แผนการปรบั ปรุงท่ีเสนอในภาค/ปีการศกึ ษาคร้งั ทผี่ า่ นมา ผลการดำเนนิ การ -- 2. การดำเนนิ การอนื่ ๆ ในการปรับปรงุ รายวิชา ประชมุ อาจารยผ์ สู้ อน เพอื่ รับทราบรายละเอยี ดของรายวิชา และผลการประเมนิ ภาคการศึกษาทผ่ี า่ นมา ตลอดจนถงึ แผนการดำเนนิ การในภาคการศึกษาตอ่ ไป 3. ขอ้ เสนอแผนการปรับปรุงสำหรบั ภาคการศึกษา/ปีการศึกษาตอ่ ไป ลำดบั ขอ้ เสนอ กำหนดเวลาทแี่ ล้วเสรจ็ ผู้รบั ผดิ ชอบ อาจารยผ์ ้สู อน 1 จดั เตรียมเอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ งไวใ้ ห้ ก่อนเปิดสอนอยา่ งน้อย 1 เพียงพอและเหมาะสมกับสถานการณ์ สัปดาห์ 2 3 4 5 4. ข้อเสนอแนะของอาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบรายวชิ าตอ่ อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตร ควรปรบั ปรุงเครือ่ งมอื ส่อื การสอนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพพรอ้ มใชง้ านได้เสมอ รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ ตำแหนง่ ครผู ู้ชว่ ย ผูร้ ับการประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชุมชนสระแกว้

47 เกณฑก์ ารประเมนิ : ๔. การดำรงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เกณฑก์ ารประเมนิ บันทึกผลการปฏิบตั ิงาน หลักฐาน/แหล่งขอ้ มลู ๔. การดำรงชีวิตตามหลกั ปรัชญา ข้าพเจ้าตระหนักถึงคุณค่าของการ • สอบสมั ภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร ของเศรษฐกจิ พอเพียง ดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ผู้ปกครอง เพอ่ื นร่วมงาน ๔.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ และพยายามน้อมนำหลักปรัชญาของ • ภาพกจิ กรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นชีวิตประจำวนั เพื่อความผาสุกของตนเองในปัจจุบัน และอนาคต • ซึ่งในปัจจุบันได้นำความรู้ เกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมาประยุกต์ใช้ เช่นการ ปลูกผักสวนครัว การเลี้ยงไก่ไข่ ไว้กินเอง การทำไร่นาสวนผสม ๔.๒ มีการนำหลักปรัชญาของ ข้าพเจ้านำหลักปรัชญาเศรษฐกิจ • สอบสัมภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ พ อ เ พ ี ย ง ไ ป ป รั บ พอเพียงมาสอดแทรกในใบงานของ ผู้ปกครอง เพ่ือนร่วมงาน ประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนรูใ้ น นักศึกษา พบว่านักศึกษามีความรู้ความ • สังเกตพฤติกรรม ห้องเรยี น เข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง สามารถนำหลักของความ พอเพียง คือ พอประมาณ มีเหตุผล มี ภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว บนเงื่อนไขของ ความรู้คู่คุณธรรม นักศึกษานำไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เช่น ใน การจัดการเรียนการสอน มอบหมายให้ นักเรียนจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย สำหรับตนเอง และนำไปต่อยอดในการ จดั ทำบัญชคี รวั เรอื น • ให้นักเรียนจัดทำบัญชีรายรับ รายจ่ายของตนเองในรายวิชาที่ สอน หลังจากในแตล่ ะสิ้นเดือน ให้จดั ทำงบรายรบั รายจ่าย และ สิ้นสุดการสอนให้จัดทำการเงิน และสรุปผลรายรับ รายจ่าย เสนอในรูปแบบงบการเงิน รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน การเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเข้ม ตำแหน่งครูผชู้ ว่ ย ผ้รู ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วิทยาลยั ชมุ ชนสระแก้ว

48 เกณฑก์ ารประเมนิ บันทึกผลการปฏิบัติงาน หลักฐาน/แหล่งขอ้ มูล ๔.๓ มีการนำหลักปรัชญาของ ข้าพเจ้าดำเนินชีวิตโดยยึดหลักปรชั ญา • สอบสัมภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ พ อ เ พ ี ย ง ไ ป ป รั บ ของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปน็ แนวทางใน ผู้ปกครอง เพ่อื นร่วมงาน ประยุกต์ใช้กับภารกิจที่ได้รับ การทำงานให้มีประสิทธิภาพ เช่นการ • สงั เกตพฤตกิ รรม มอบหมายอ่นื นำของเหลือใช้มาใช้ประโยชน์ อาทิ ดัดแปลงกล่องกระดาษ A4 ประยุกต์ เป็นที่กล่องสามเหลี่ยมสำหรับเก็บ เอกสารและหนังสือสำคญั ๔.๔ มีการนำหลักปรัชญาของ ข้าพเจ้าดำเนินชีวิตโดยยึดหลัก • สอบสัมภาษณ์ครู ผู้บรหิ าร เ ศ ร ษ ฐ ก ิ จ พ อ เ พ ี ย ง ไ ป ป รั บ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ ผู้ปกครอง เพอ่ื นร่วมงาน ประยุกต์ใช้กับการดำรงชีวิตของ ในหลวง เปน็ แนวทางในการดำเนนิ ชวี ติ • สงั เกตพฤติกรรม ตนเอง เชน่ • การปลกู ผักทานเอง • การจดั ทำบัญชีรายรบั รายจา่ ย ๔.๕ เป็นแบบอย่างในการนำหลัก ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี • สอบสมั ภาษณ์ครู ผ้บู ริหาร ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป แก่ลูกศิษย์ ใช้ชีวิตบนสายกลาง ยึดหลัก ผู้ปกครอง เพอื่ นรว่ มงาน ปรับประยุกต์ใช้กับภารกิจต่างๆ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ใน • สังเกตพฤตกิ รรม หรือการดำรงชวี ิตของตน การดำเนินชีวิตและเป็นผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และใฝ่พฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง เช่น • นำไปถ่ายทอดความรู้เรื่องการ ทำบญั ชีครวั เรอื นใหก้ บั ชาวบ้าน ทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรมโครงการ • มีการปลูกพืชผัก สวนครัว และ ทำแปลงเกษตรเป็นตัวอย่าง ให้กับชาวบ้านในพื้นที่ใกล้เคียง ได้ รายงานผลการปฏิบตั ิงาน การเตรยี มความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหน่งครูผชู้ ว่ ย ผู้รบั การประเมนิ : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลยั ชุมชนสระแกว้

49 กิจกรรมการดำรงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ ตำแหนง่ ครูผู้ช่วย ผรู้ ับการประเมิน : นายกฤษฐนชนม์ หาระไชย สาขาการบญั ชี วทิ ยาลัยชมุ ชนสระแก้ว