Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงสร้างอาชีวะ

โครงสร้างอาชีวะ

Published by kitthanachon01, 2021-11-24 11:12:16

Description: โครงสร้างอาชีวะ

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ ง สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

สารบัญ หนา้  สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 1  ขอ้ มูลพืน้ ฐาน 1  การแบ่งสว่ นราชการ 1  ส่วนราชการทจี่ ดั ตงั้ ขนึ้ ตามกฎกระทรวงแบง่ ส่วนราชการสานักงานคณะกรรมการ 2 การอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 4  สว่ นราชการจัดตัง้ ข้ึนตามพระราชบัญญตั ิการอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2551 4  สถาบันการอาชีวศึกษา 4  โครงสรา้ งสถาบนั การอาชวี ศึกษา 8  การแบ่งส่วนราชการของสถาบนั การอาชีวศึกษา 10  อานาจหน้าที่ของสถาบันการอาชีวศึกษา 11  การแบ่งส่วนราชการภายในสถาบันการอาชีวศกึ ษา 12  ตาแหน่งภายในสถาบันการอาชวี ศกึ ษาและวิธีการเข้าสตู่ าแหนง่ 12  ผู้บรหิ ารและสถาบันการอาชีวศกึ ษา 13  การเข้าสตู่ าแหน่งของผ้บู รหิ ารในสถาบันการอาชีวศึกษา 16  กฎหมาย ระเบยี บท่ีเก่ียวข้อง และหนงั สอื ตอบข้อหารือตา่ ง ๆ 19  นโยบายและทิศทางการบริหารงานของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 24  คาบรรยายลักษณะงาน 25 26  สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา 28  นกั บริหารระดับสูง เลขาธิการ รองเลขาธกิ าร 30  นกั บริหารระดับต้น ผู้ชว่ ยเลขาธกิ าร 31  ท่ปี รกึ ษาด้านนโยบายและแผน 32  ท่ีปรกึ ษาด้านมาตรฐานอาชวี ศึกษาชา่ งอุตสาหกรรม 33  ท่ีปรกึ ษาด้านมาตรฐานอาชวี ศึกษาธรุ กิจและบริการ 34  ทป่ี รกึ ษาด้านมาตรฐานอาชีวศกึ ษาเกษตรกรรมและประมง 36  ผ้อู านวยการสานกั 38  กลุม่ พฒั นาระบบบริหาร 43  หน่วยตรวจสอบภายใน 52  สานกั อานวยการ 55  สานกั ความรว่ มมือ 59  สานักตดิ ตามและประเมนิ ผลการอาชวี ศึกษา 63  สานกั นโยบายและแผนการอาชีวศกึ ษา 68  สานกั พัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชวี ศึกษา  สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชพี

สารบญั (ต่อ) หนา้  สานักวิจัยและพฒั นาการอาชีวศึกษา 71  ศูนย์พัฒนา ส่งเสริม ประสานงาน กิจการนักศึกษาและกิจการพเิ ศษ 74  ศนู ย์พฒั นาการศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ 77  ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและกาลงั คนอาชีวศึกษา 79  ศนู ยส์ ง่ เสริมการอาชีวศกึ ษาเอกชน 83  ศูนย์ประสานงานอาชวี ศกึ ษาระหวา่ งประเทศ 86  ศูนย์อาชวี ศกึ ษาทวภิ าคี 87  ภาคผนวก 88  ระเบียบสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 89 วา่ ด้วยการบรหิ ารสถานศกึ ษา พ.ศ. 2552  ระเบียบสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วยการบริหาร 113 อาชีวศกึ ษาจังหวดั และอาชีวศึกษาภาค พ.ศ. 2559

สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 1.ข้อมูลพื้นฐาน ชื่อส่วนราชการ : สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สถานะ : มฐี านะเปน็ นิตบิ ุคคล และเป็นกรมตามกฎหมายว่าดว้ ยระเบยี บบริหารราชการแผ่นดนิ วิสยั ทัศน์ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นผู้นาในการจัดการศึกษาสายอาชีพ เพื่อเป็นพลัง ขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจและสังคม เพ่ิมขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศและภูมภิ าค ภารกิจ จัดและส่งเสริมการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ โดยคานึงถึงคุณภาพและความเป็นเลิศ ทางวชิ าชพี อานาจหน้าท่ี กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 120 ตอนท่ี 63 ก วันท่ี 7กรกฎาคม 2546 กาหนดให้ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษามีภารกิจเกี่ยวกับ การจัดและส่งเสริมการอาชีวศึกษา และการ ฝึกอบรมวชิ าชพี โดยคานึงถงึ คุณภาพและความเปน็ เลิศทางวิชาชีพ และให้มีอานาจหนา้ ที่ ดังน้ี (1) จัดทาขอ้ เสนอแนวนโยบาย แผนพฒั นา มาตรฐานและหลักสตู รการอาชีวศึกษาทกุ ระดับ (2) ดาเนนิ การและประสานงานเก่ียวกับมาตรฐานการอาชวี ศึกษาและวชิ าชีพ (3) กาหนดหลกั เกณฑ์ และวธิ ีการจัดงบประมาณและสนับสนุนทรัพยากร (4) พัฒนาครแู ละบุคลากรการอาชวี ศึกษา (5) สง่ เสรมิ ประสานงานการจัดการอาชวี ศกึ ษาของรัฐและเอกชน รวมท้ังกาหนดหลักเกณฑ์ และรูปแบบความร่วมมอื กับหน่วยงานอ่นื และสถานประกอบการ (6) ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลการจัดการอาชวี ศึกษาทัง้ ภาครฐั และเอกชน (7) จัดระบบ ส่งเสริม และประสานงานเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศและการนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอื่ สารมาใชใ้ นการอาชวี ศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ (8) ดาเนินการเก่ียวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและดาเนินการ ตามที่คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษามอบหมาย (9) ปฏิบัติงานอื่นใดตามท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่และความรับผิดชอบ ของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาหรอื ตามทีร่ ฐั มนตรีหรอื คณะรัฐมนตรีมอบหมาย 2. การแบง่ สว่ นราชการ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แบ่งส่วนราชการใน 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี 2.1 ส่วนราชการท่ีจัดตั้งขึ้นตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546

โครงสรา้ งสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หนา้ ท่ี | 2 2.2 สว่นราชการท่จี ัดตง้ั ขนึ้ ตามพระราชชัญญตั กิ ารอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2551 2.3 ส่วนราชการท่ตี ้ังข้ึนเปน็ การภายใน 2.1 ส่วนราชการที่จดั ตง้ั ข้ึนตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สานักงานคณะกรรมการการ อาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 แบง่ ส่วนราชการของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ออกเป็น 7 สานัก ดังนี้ (1) สานักอานวยการ (2) สานกั ความร่วมมือ (3) สานกั ติดตามและประเมินผลการอาชวี ศกึ ษา (4) สานักนโยบายและแผนการอาชวี ศกึ ษา (5) สานักพฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชวี ศึกษา (6) สานักมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและวชิ าชพี (7) สานกั วิจยั และพัฒนาการอาชีวศกึ ษา มีอานาจหน้าที่ดงั ต่อไปน้ี (1) สานกั อานวยการ มีอานาจหน้าทด่ี งั ตอ่ ไปนี้ (ก) ดาเนินการเก่ียวกับงานช่วยอานวยการและงานเลขานุการของสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา งานเลขานุการของคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประสานราชการ ดาเนินการเกี่ยวกับ การบริหารงานทั่วไป กิจการพิเศษ การประชาสัมพันธ์และงานเผยแพร่การอาชีวศึกษาและฝึกอบรม วชิ าชพี และงานอื่นใดท่ีมิได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการใดในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการ อาชวี ศกึ ษา (ข) พฒั นาระบบงานและการบรหิ ารงานบุคคลของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ค) ดาเนินการเก่ียวกับการเงิน การบัญชี การพัสดุ งานอาคารสถานท่ี งบประมาณและ สินทรัพย์ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กาหนดและตรวจสอบมาตรฐานอาคาร งาน ออกแบบและกอ่ สรา้ ง รวมทั้งการประสานและส่งเสริมการดาเนนิ งานของสถานศึกษา (ง) ดาเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริมวินัยและระบบคุณธรรม กฎหมาย นิติกรรมและสัญญา งานเกย่ี วกบั ความรับผดิ ทางแพง่ อาญา งานคดปี กครอง และงานคดีอน่ื ที่อยใู่ นอานาจหน้าที่ของสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (จ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องหรือท่ีได้รับ มอบหมาย (2) สานกั ความรว่ มมือ มอี านาจหน้าทดี่ ังตอ่ ไปน้ี (ก) พัฒนาระบบ รูปแบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการเก่ียวกับความร่วมมือกับเอกชนในการ จัดการอาชีวศึกษา รวมทงั้ ตดิ ตามและประเมินผล (ข) ส่งเสริมและสนับสนุนเอกชนและสถานประกอบการให้จัดการอาชีวศึกษาให้สอดคล้อง กบั หลักสูตรและมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา รวมท้งั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี (ค) สง่ เสริมและพัฒนาระบบการสนับสนุนทรพั ยากร และการจัดใหม้ ีกองทนุ อาชีวศึกษา (ง) ส่งเสรมิ สนบั สนุน และพฒั นาองคก์ รวิชาชีพ กลมุ่ อาชพี และสมาคมอาชีพ

โครงสรา้ งสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หน้าท่ี | 3 (จ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องหรือท่ีได้รับ มอบหมาย (3) สานักตดิ ตามและประเมินผลการอาชวี ศึกษา มอี านาจหนา้ ทด่ี งั ตอ่ ไปนี้ (ก) ดาเนนิ การเกี่ยวกบั การติดตามและประเมินผลการอาชวี ศึกษาในภาพรวมของประเทศ (ข) ส่งเสริมและประสานงานการติดตามและประเมินผลการอาชีวศึกษาร่วมกับหน่วยงานที่ เก่ยี วขอ้ ง (ค) ให้คาปรกึ ษาแนะนาเพ่อื ปรับปรุงและพฒั นาการบริหารและการจดั การอาชวี ศึกษา (ง) ปฏบิ ัตงิ านร่วมกับหรอื สนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเก่ียวข้อง หรือท่ีได้รับ มอบหมาย (4) สานกั นโยบายและแผนการอาชีวศกึ ษา มีอานาจหน้าท่ดี งั ตอ่ ไปน้ี (ก) จัดทาข้อเสนอนโยบาย แผนยุทธศาสตร์การอาชีวศึกษา และเป้าหมายการผลิตและ พฒั นากาลังคนอาชวี ศึกษา (ข) จัดทาข้อเสนอแนะหลักเกณฑ์เก่ียวกับการสนับสนุนทรัพยากรและงบประมาณเพ่ือการ อาชีวศกึ ษา รวมท้ังการตดิ ตามและประเมินผล (ค) พัฒนาระบบข้อมูลเครือข่ายสารสนเทศและส่งเสริมการนาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอ่ื สารมาใช้ในการบริหารจดั การอาชวี ศกึ ษา (ง) ดาเนินการเกี่ยวกับงานวิเทศสัมพันธ์ การประสานนโยบายและความร่วมมือทางการ อาชวี ศึกษากบั องคก์ รและหนว่ ยงานในและตา่ งประเทศ (จ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เก่ียวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมาย (5) สานกั พฒั นาสมรรถนะครแู ละบคุ ลากรอาชีวศึกษา มีอานาจหน้าท่ีดงั ต่อไปนี้ (ก) จัดทาและประเมินมาตรฐานครูและบุคลากรการอาชีวศึกษา พร้อมท้ังจัดทาข้อเสนอ แผนการพฒั นาสมรรถนะครแู ละบุคลากรการอาชวี ศึกษา (ข) ตดิ ตามและประเมินผลการพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรการอาชวี ศกึ ษา (ค) ดาเนินการฝึกอบรมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งประสานความ ร่วมมือกับภาครัฐและเอกชนในการฝึกอบรมและพัฒนาครู บุคลากรการอาชีวศึกษา และครูฝึกในสถาน ประกอบการด้านอาชีพ (ง) วิจัยและพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมวิชาชีพ ผลิตและบริการ เครื่องจักรกลและเทคโนโลยี พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนการสอนเพ่ือเพ่ิมขีด ความสามารถของครแู ละบุคลากรการอาชีวศกึ ษา (จ) สร้างและพัฒนารูปแบบการฝึกสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา และสร้าง เครือข่ายการฝกึ อบรมวิชาเรียน ครู และบคุ ลากรการอาชวี ศกึ ษา (ฉ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมาย (6) สานักมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและวิชาชีพ มีอานาจหนา้ ทีด่ งั ต่อไปน้ี (ก) วจิ ัยและพัฒนามาตรฐานและหลกั สูตรแกนกลางการอาชีวศึกษาทุกระดับ (ข) วจิ ัยและพัฒนามาตรฐานส่ือตน้ แบบและนวตั กรรมการอาชวี ศึกษา (ค) ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาระบบมาตรฐาน การแนะแนวการอาชีวศึกษา และอาชีพ การกาหนดคุณวุฒิวิชาชีพ มาตรฐานวิชาชีพ การเทียบประสบการณ์และการรบั รองคุณวุฒิวชิ าชีพ

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หนา้ ท่ี | 4 (ง) พัฒนาระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพในสถาบันการอาชีวศึกษา สถานศึกษา รวมท้งั ระบบการเรยี นร้ทู ี่บรู ณาการศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม และการกีฬากับการอาชวี ศกึ ษา (จ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมาย (7) สานักวจิ ยั และพฒั นาการอาชวี ศกึ ษา มอี านาจหนา้ ทด่ี ังตอ่ ไปน้ี (ก) วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ด้านต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการอาชีวศึกษาเพ่ือประกอบการ เสนอแนะแนวนโยบาย แผนงาน โครงการ ความตอ้ งการกาลงั คนดา้ นอาชวี ศึกษาและฝึกอบรมวชิ าชีพ (ข) วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการเรียนการสอน และการบริหารจัดการอาชีวศึกษาของ สถานศึกษา รวมท้ังติดตามและประเมินผล (ค) ส่งเสริม ผลิต พัฒนา และเผยแพร่นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ทางการอาชีวศึกษาและ วิชาชพี เพ่ือพัฒนาเทคโนโลยกี ารอาชีวศกึ ษาและคณุ ภาพของนักเรยี น นกั ศึกษา (ง) รวบรวมการศกึ ษา วเิ คราะห์ สังเคราะห์ จดั ทาสารสนเทศงานการวจิ ัยอาชวี ศึกษา (จ) ปฏบิ ตั งิ านร่วมกับหรือสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ได้รับ มอบหมาย 2.2 สว่ นราชการจดั ตง้ั ขึ้นตามพระราชบัญญตั กิ ารอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2551 สถาบนั การอาชีวศึกษา พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 เป็นกฎหมายเฉพาะในการจัดการอาชีวศึกษา ของประเทศ โดยมีบทบัญญัติให้ การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ ต้องเป็นการจัด การศึกษาในด้านวิชาชีพที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษา แหง่ ชาติ เพื่อผลิตและพฒั นากาลังคนในดา้ นวิชาชพี ระดับฝมี ือ ระดบั เทคนิค และระดับเทคโนโลยี รวมท้ัง เป็นการยกระดับการศึกษาวิชาชีพให้สูงข้ึน เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยนา ความรู้ในทางทฤษฎีอันเป็นสากลและภูมิปัญญาไทยมาพัฒนาผู้รับการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถ ในทางปฏิบัติ และมีสมรรถนะจนสามารถนาไปประกอบอาชีพในลักษณะผู้ปฏิบัติ หรือประกอบอาชีพ โดยอิสระได้ (มาตรา 6) และกาหนดให้จัดการอาชีวศึกษาได้ในสถานศึกษาอาชีวศึกษา และสถาบัน การอาชวี ศึกษา (มาตรา 7) กระทรวงศึกษาธกิ าร ได้มีประกาศเม่ือวันท่ี 26 กุมภาพันธ์2556 และวันที่ 27 กันยายน 2556 ให้สถาบันการอาชีวศึกษาท้ัง 23 สถาบัน เป็นหน่วยงานการศึกษาตามมาตรา 4 (5) แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2547 และท่ีแก้ไขเพิ่มเติมแลว้ โครงสร้างสถาบันการอาชีวศกึ ษา พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 บัญญัติให้จัดต้ังสถาบันการอาชีวศึกษา เพ่ือจัดการศึกษาตามหลักสูตรที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด คือ (1) ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (2) ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง และ (3) ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ (มาตร 9) การจัดตงั้ นัน้ สามารถดาเนนิ การไดโ้ ดยออกเปน็ กฎกระทรวงใน 4 แนวทาง คือ 1. การรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษา เพื่อจัดตั้งเป็นสถาบันเพ่ือการประสานความร่วมมือให้เกิด ประโยชนส์ งู สุดในการใชท้ รัพยากรรว่ มกัน ตามคาแนะนาของคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (ม.13) 2. การแยกสถานศึกษาส่วนใดส่วนหน่ึงจากสถาบันไปรวมกับสถานศึกษาอีกแห่งเพื่อจัดตั้งเป็น สถาบนั ก็ได้ (ม.13 วรรคสอง)

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หนา้ ท่ี | 5 3. จัดตัง้ ข้นึ ใหม่เป็นสถาบนั หากมีความเหมาะสมหรอื จาเปน็ (ม.14) 4. ยกสถานะสถานศึกษาเปน็ สถาบันกไ็ ด้ ปัจจุบันสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้จัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาในแบบท่ี 1 คือ การรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาจานวน 202 แห่ง เพ่ือจัดตั้งเป็นสถาบันการอาชีวศึกษา โดยไม่มีการ ยุ บ เ ลิ ก โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ ก ร อ บ อั ต ร า ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า ท่ี ร ว ม กั น จั ด ตั้ ง เ ป็ น ส ถ า บั น ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า ท้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการประสานความร่วมมือให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการใช้ทรัพยากรร่วมกัน โครงสร้างของสถาบนั การอาชีวศกึ ษาท่จี ดั ตัง้ ขึ้นแสดงในภาพท่ี 1 สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา สถาบันการอาชวี ศกึ ษา สว่ นราชการของสถาบันการอาชีวศกึ ษา สานกั งานผู้อานวยการสถาบนั สานกั พฒั นายุทธศาสตร์ และความรว่ มมอื อาชวี ศกึ ษา สานกั พัฒนากจิ การนักศึกษา และกิจการพเิ ศษ ศนู ย์วจิ ยั และพฒั นา การอาชวี ศึกษา วทิ ยาลัยไม่สงั กัดสถาบนั อาชีวศกึ ษาบัณฑติ วิทยาลยั ในสงั กดั สถาบัน 202 แห่ง (จดั การศึกษา ปวช./ปวส.และ (จดั การศึกษา ปวช / ปวส) รว่ มกนั จัดการศึกษาระดับปริญญา) ภาพที่ 1 รปู แบบการจัดต้ังสถาบนั การอาชีวศึกษาตามมาตรา 13 การจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษาตามมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 ไดอ้ อกเป็นกฎกระทรวงจานวน 2 ฉบับ ดังน้ี 1. กฎกระทรวงการรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพ่ือจัดตั้งสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 ลงวนั ที่ 13 มถิ ุนายน พ.ศ. 2555 ได้จดั ตง้ั สถาบนั การอาชวี ศกึ ษา19 แห่ง ประกอบดว้ ย (1) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 10 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคนนทบุรี วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี วิทยาลัยเทคนิคธัญบุรี วิทยาลัยการอาชีวศึกษา

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา หน้าท่ี | 6 ปทุมธานี วิทยาลัยเทคนิคสระบุรี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสระบุรี วิทยาลัยเทคนิคพระนครศรีอยุธยา วิทยาลยั เทคนิคอตุ สาหกรรมยานยนต์ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือพระนครศรีอยุธยา และวทิ ยาลัยอาชีวศึกษาพระนครศรีอยุธยา (2) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ประกอบด้วยด้วยสถานศึกษาจานวน 7 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคชัยนาท วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี วิทยาลัยอาชีวศึกษาลพบุรี วิทยาลัยเทคนิค สงิ หบ์ ุรี วทิ ยาลยั เทคนิคสิงห์บรุ ี แหง่ ที่ 2 วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาสิงหบ์ รุ ี และวทิ ยาลัยเทคนคิ อา่ งทอง (3) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3 ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 10 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคฉะเชิงเทรา วิทยาลัยเทคนิคจุฬาภรณ์ (ลาดขวาง) วิทยาลัยอาชีวศึกษาฉะเชิงเทรา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ วิทยาลัยเทคนิคนครนายก วิทยาลัยการอาชีพนครนายก วิทยาลัยเทคนิคปราจีนบุรี วิทยาลัยเทคนิคบูรพาปราจีน และวิทยาลัยเทคนิคสระแก้ว (4) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 4 ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 9 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม วิทยาลัยเทคนิคกาญจนบุรี วิทยาลัย อาชีวศึกษากาญจนบุรี วิทยาลัยการอาชีพกาญจนบุรี วิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี วิทยาลัยอาชีวศึกษา สุพรรณบุรี วทิ ยาลัยเทคนคิ ราชบรุ แี ละวทิ ยาลัยเทคนิคโพธาราม (5) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 5 ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 7 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสาคร วิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม วิทยาลัยเทคนิคเพชรบุรี วิทยาลัย อาชีวศึกษาเพชรบุรี วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล วิทยาลัยเทคนิคประจวบคีรีขันธ์ และวิทยาลัย การอาชีพบางสะพาน (6) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 1 ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 11 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคสุราษฎร์ธานี วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุราษฎร์ธานี วิทยาลัยเทคนิคนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคนิคสิชล วิทยาลัยเทคนิคทุ่งสง วิทยาลัยเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมการต่อเรือ นครศรธี รรมราช วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษานครศรีธรรมราช วิทยาลัยศิลปหัตถกรรมนครศรีธรรมราช วิทยาลัย การอาชีพนครศรธี รรมราช วทิ ยาลัยเทคนิคชมุ พร และวทิ ยาลยั เทคนคิ พทั ลงุ (7) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 2 ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 7 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคระนอง วิทยาลัยเทคนิคพังงา วิทยาลัยเทคนิคภูเก็ต วิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต วิทยาลัยเทคนิคกระบ่ี วิทยาลยั เทคนิคตรังและวิทยาลยั การอาชพี ตรงั (8) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 9 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคปัตตานี วิทยาลัยอาชีวศึกษาปัตตานี วิทยาลัยการอาชีพปัตตานี วิทยาลัยประมง ปัตตานี วิทยาลัยเทคนิคยะลา วิทยาลัยอาชีวศึกษายะลา วิทยาลัยเทคนิคหาดใหญ่ วิทยาลัยอาชีวศึกษา สงขลา และวิทยาลัยเทคนคิ สตูล (9) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 9 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคชลบุรี วิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี วิทยาลัยอาชีวศึกษา เทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) วิทยาลัยเทคนิคระยอง วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด วิทยาลัยเทคนิค บา้ นคา่ ย วทิ ยาลยั เทคนคิ จันทบุรี และวทิ ยาลัยเทคนคิ ตราด (10) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ประกอบด้วยสถานศึกษา จานวน 10 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคหนองคาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาหนองคาย วิทยาลัยเทคโนโลยี และอุตสาหกรรมการต่อเรือหนองคาย วิทยาลัยเทคนิคบึงกาฬ วิทยาลัยเทคนิคหนองบัวลาภู วิทยาลัยเทคนิคเลย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเลย วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี และวิทยาลยั เทคนิคกาญจนาภิเษกอดุ รธานี

โครงสร้างสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หน้าที่ | 7 (11) สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 ประกอบด้วยสถานศึกษา จานวน 4 แห่ง คือ วทิ ยาลยั เทคนคิ สกลนคร วทิ ยาลัยเทคโนโลยแี ละการจัดการนครพนม วิทยาลัยเทคนิค บา้ นแพง และวิทยาลยั การอาชพี นวมินทราชินมี ุกดาหาร (12) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 ประกอบด้วยสถานศึกษา จานวน 9 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์ วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม วิทยาลัยเทคนิคขอนแก่น วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น วิทยาลัยการอาชีพขอนแก่น วิทยาลัยเทคนิค ร้อยเอด็ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษารอ้ ยเอ็ด และวิทยาลัยการอาชีพร้อยเอ็ด (13) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 ประกอบด้วยสถานศึกษา จานวน 7 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคอุบลราชธานี วิทยาลัยอาชีวศึกษาอุบลราชธานี วิทยาลัยเทคนิค เดชอดุ ม วิทยาลยั เทคนิคศรีสะเกษ วิทยาลัยการอาชีพศรีสะเกษ วิทยาลัยเทคนิคยโสธร และวิทยาลัยเทคนิค อานาจเจริญ (14) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 ประกอบด้วยสถานศึกษา จานวน 9 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคนครราชสีมา วิทยาลัยอาชีวศึกษานครราชสีมา วิทยาลัยเทคนิค หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี วิทยาลัยเทคนิคชัยภูมิ วิทยาลัยเทคนิคบุรีรัมย์ วทิ ยาลัยเทคนิคคูเมือง วิทยาลัยเทคนคิ สุรนิ ทร์ และวิทยาลัยอาชวี ศึกษาสรุ นิ ทร์ (15) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 1 ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 7 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงใหม่ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคนิคลาพูน วิทยาลัยเทคนิคลาปาง วิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง และวิทยาลัยการอาชีพ นวมนิ ทราชนิ ีแม่ฮ่องสอน (16) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 2 ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 9 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคเชียงราย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกเชียงราย วิทยาลัยเทคนิคพะเยา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพะเยา วิทยาลัยเทคนิคน่าน วิทยาลัยเทคนิคแพร่ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาแพร่และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยแี พร่ (17) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3 ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 8 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลก วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก วิทยาลัยพณิชยการบึงพระพิษณุโลก วิทยาลัยเทคนิคเพชรบูรณ์ วิทยาลัยเทคนิคสุโขทัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุโขทัย วิทยาลัยเทคนิคอุตรดิตถ์ และวิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาอุตรดติ ถ์ (18) สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 4 ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 6 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์ วิทยาลัยอาชีวศึกษานครสวรรค์ วิทยาลัยการอาชีพนครสวรรค์ วิทยาลัยเทคนคิ กาแพงเพชร วิทยาลัยเทคนิคพิจิตร และวิทยาลยั เทคนิคอุทยั ธานี (19) สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร ประกอบด้วยสถานศึกษา จานวน 13 แห่ง คือ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกมหานคร วิทยาลัยเทคนิค ดอนเมือง วิทยาลัยเทคนิคดุสิต วิทยาลัยเทคนิคราชสิทธาราม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเสาวภา วิทยาลัย อาชีวศึกษาธนบุรี วิทยาลัยพณิชยการอินทราชัย วิทยาลัยพณิชยการบางนา วิทยาลัยพณิชยการเชตุพน วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี กาญจนาภิเษกวิทยาลัยช่างทองหลวง และวิทยาลัยการอาชีพกาญจนาภิเษก หนองจอก 2. กฎกระทรวงการรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อจัดต้ังสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร พ.ศ. 2556 ลงวนั ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2556 ประกอบดว้ ย (1) สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคเหนือ ประกอบด้วยสถานศึกษา จานวน 9 แห่ง คือ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตาก วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย วิทยาลัย

โครงสรา้ งสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หน้าท่ี | 8 เกษตรและเทคโนโลยีลาพูน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุโขทัย วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี กาแพงเพชร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพิจิตร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ วิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยนี ครสวรรค์ และวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยอี ุทัยธานี (2) สถาบันการอาชีวศกึ ษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วยสถานศึกษา จานวน 10 แห่ง คือ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีร้อยเอ็ด วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุดรธานี วิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ศรีสะเกษ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยียโสธร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีอุบลราชธานี วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีนครราชสมี า วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยชี ยั ภูมิ และวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยบี รุ รี ัมย์ (3) สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลาง ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 10 แหง่ คือ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีสิงห์บุรี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีกาญจนบุรี วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีชัยนาท วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสุพรรณบุรี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีราชบุรี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชลบุรี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี สระแกว้ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีลพบรุ ี และวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยศี ูนย์ศิลปาชีพบางไทร (4) สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ ประกอบด้วยสถานศึกษาจานวน 12 แห่ง คือ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีชุมพร วิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีสุราษฎร์ธานี วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีระนอง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพังงา วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีกระบี่ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีตรัง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีพัทลุง วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสงขลา วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสตูล วิทยาลัยประมงชุมพร เขตรอดุ มศกั ด์ิ และวทิ ยาลยั ประมงติณสลู านนท์ การแบง่ ส่วนราชการของสถาบนั การอาชีวศึกษา พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 บัญญัติให้สถาบันอาจส่วนราชการออกเป็น (1) สานักงานผู้อานวยการสถาบัน (2) วิทยาลัย (3) สานัก (4) ศูนย์ หรืออาจให้มีส่วนราชการ ที่เรียกช่ืออยา่ งอ่นื ทม่ี ีฐานะเทยี บเท่าวิทยาลัยเปน็ สว่ นราชการของสถาบันอีกก็ได้ โดยโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการภายในสถาบันการอาชีวศึกษาท้ัง 23 แห่งจะมีการ จดั โครงสร้างการแบง่ ส่วนราชการท่เี ปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกัน ดังน้ี (1) สานกั งานผ้อู านวยการสถาบนั (2) สานักพฒั นายทุ ธศาสตร์และความร่วมมอื อาชวี ศกึ ษา (3) สานักพฒั นากจิ การนกั ศึกษาและกจิ การพเิ ศษ (4) ศูนย์วิจัยและพัฒนาการอาชีวศกึ ษา (5) อาชีวศึกษาบัณฑิต (6) วทิ ยาลยั ในสงั กัดสถาบันการอาชวี ศึกษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้เสนอ จัดต้ังส่วนราชการของสถาบัน การอาชีวศึกษาตามกฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่วนราชการของสถาบันการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2555 ลงวันท่ี 16 ตุลาคม 2555 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 129 ตอนท่ี 103 ก ลงวันที่ 31 ตลุ าคม 2555) ดงั ภาพที่ 2

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หนา้ ที่ | 9 สถาบนั การอาชวี ศึกษา สานกั งานผอู้ านวยการสถาบัน สานกั พฒั นายทุ ธศาสตร์ และความร่วมมอื อาชวี ศกึ ษา สานกั พฒั นากจิ การนกั ศึกษา ศนู ยว์ ิจยั และพัฒนา และกิจการพเิ ศษ การอาชวี ศึกษา อาชวี ศกึ ษาบัณฑิต วทิ ยาลยั ในสงั กดั สถาบัน ภาพท่ี 2 โครงสรา้ งส่วนราชการในสงั กัดสถาบันการอาชวี ศกึ ษา ปัจจุบันได้มีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ให้จัดตั้งส่วนราชการสถาบันการอาชีวศึกษา และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว้ จานวน 23 สถาบนั ประกอบดว้ ย 1. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวนั ท่ี 22 พฤศจิกายน 2556 2. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวนั ที่ 22 พฤศจกิ ายน 2556 3. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวันที่ 22 พฤศจกิ ายน 2556 4. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 4 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวันท่ี 22 พฤศจิกายน 2556 5. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 5 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวนั ท่ี 22 พฤศจิกายน 2556 6. สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวันที่ 22 พฤศจกิ ายน 2556 7. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวันท่ี 22 พฤศจิกายน 2556 8. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 1 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวนั ท่ี 22 พฤศจิกายน 2556

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หนา้ ที่ | 10 9. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 2 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวันที่ 22 พฤศจกิ ายน 2556 10. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวนั ท่ี 22 พฤศจกิ ายน 2556 11. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 4 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 131 ตอนพิเศษ 3 ง ลงวนั ท่ี 8 มกราคม 2557 12. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 1 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวันที่ 22 พฤศจกิ ายน 2556 13. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 2 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวนั ที่ 22 พฤศจิกายน 2556 14. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 3 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวันท่ี 22 พฤศจกิ ายน 2556 15. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพเิ ศษ 162 ง ลงวันท่ี 22 พฤศจกิ ายน 2556 16. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวนั ท่ี 22 พฤศจกิ ายน 2556 17. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวนั ท่ี 22 พฤศจกิ ายน 2556 18. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพเิ ศษ 162 ง ลงวันที่ 22 พฤศจกิ ายน 2556 19. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 5 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 130 ตอนพิเศษ 162 ง ลงวันที่ 22 พฤศจกิ ายน 2556 20. สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคเหนือ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 131 ตอนพิเศษ 244 ง ลงวันท่ี 2 ธันวาคม 2557 21. สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 131 ตอนพเิ ศษ 273 ง ลงวันท่ี 30 ธันวาคม 2557 22. สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 132 ตอนพิเศษ 69 ง ลงวันที่ 27 มีนาคม 2558 23. สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคกลาง ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 133 ตอนพิเศษ 59 ง ลงวนั ท่ี 8 มีนาคม 2559 อานาจหน้าทีข่ องสถาบันการอาชีวศกึ ษา พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 บัญญัติให้สถาบันการอาชีวศึกษาเป็น สถาบันอุดมศึกษาด้านวิชาชีพและเทคโนโลยี หากพิจารณาจากวัตถุประสงค์ของการจัดต้ังสถาบันการ อาชีวศึกษา สถาบันการอาชีวศึกษาจึงมีบทบาท ภารกิจ และอานาจหน้าที่ในการจัดการศึกษา ส่งเสริม วิชาการและวิชาชีพช้ันสูงที่ชานาญการปฏิบัติการสอน การวิจัย การถ่ายทอดวิทยาการและ เทคโนโลยี ทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม และอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม รวมทั้งให้บริการวิชาการและ วิชาชีพแก่สังคม (มาตรา 16) โดยมีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็นส่วนราชการในสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (มาตรา 15) ดังภาพที่ 3

โครงสร้างสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา หนา้ ท่ี | 11 สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา นิติบคุ คล สถาบันการอาชวี ศกึ ษา สถานศกึ ษาในสงั กัด สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษา สถาบนั การอาชวี ศึกษา 223 แหง่ ภาพที่ 3 สถานะของสถาบนั การอาชวี ศกึ ษา การแบง่ ส่วนราชการภายในสถาบนั การอาชวี ศึกษา การแบ่งส่วนราชการในระดับต่ากว่า สานัก วิทยาลัย ศูนย์หรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอ่ืน ที่มีฐานะเทียบเท่าวิทยาลัย น้ัน มาตรา 17 วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่แห่งพระราชบัญญัติ การอาชวี ศกึ ษา 2551 กาหนดให้สถาบันการอาชีวศกึ ษาแบ่งส่วนราชการภายใน ดังน้ี 1) สานักงานผู้อานวยการสถาบัน อาจแบ่งส่วนราชการเป็น ฝ่ายหรือหน่วยงานที่เรียกช่ือ อยา่ งอน่ื ทีม่ ีฐานะเทยี บเทา่ ฝา่ ย 2) วิทยาลัย อาจแบ่งส่วนราชการเป็นคณะวิชา ภาควิชา แผนก หรือหน่วยงานท่ีเรียกชื่อ อยา่ งอ่นื ทม่ี ฐี านะเทยี บเทา่ คณะวิชาหรือภาควชิ า 3) สานัก หรือศูนย์ อาจแบ่งส่วนราชการเป็นแผนกหรือหน่วยงานท่ีเรียกช่ืออย่างอื่นที่มีฐานะ เทยี บเท่าแผนกได้ ทั้งนี้ การแบ่งส่วนราชการภายในสถาบันแต่ละแห่ง กฎหมายกาหนดให้ออกเป็นข้อบังคับ ของสถาบนั การอาชวี ศกึ ษา (มาตรา 18 วรรคสอง) ปัจจุบันสถาบันการอาชีวศึกษา 23 แห่งได้มีข้อบังคับการแบ่งส่วนราชการในทิศทาง เดียวกัน โดยออกเป็นข้อบังคับการแบ่งส่วนราชการภายในและได้รับการอนุมัติกรอบอัตรากาลัง ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรา 38 ค. (2) ในระยะเร่ิมแรกจานวน 14 อัตรา ดังโครงสร้างท่ีแสดงในภาพที่ 4

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หนา้ ท่ี | 12 สถาบันการอาชีวศึกษา สานกั งานผู้อานวยการสถาบัน สานักพัฒนายทุ ธศาสตร์ และความร่วมมอื อาชวี ศกึ ษา  กลมุ่ เลขานกุ ารและบรหิ ารงานทว่ั ไป  กลุ่มนติ ิการแบะการบริหารานบุคคล  กลุ่มบริหารยทุ ธศาสตรก์ ารอาชวี ศกึ ษา  กลุ่มการเงนิ  กลุม่ ความร่วมมืออาชวี ศกึ ษา  กลมุ่ การบัญชี  กลุม่ เทคโนโลยีสารสนเทศ  กลมุ่ พัสดแุ ละอาคารสถานท่ี ศูนยว์ ิจัยและพฒั นา สานักพัฒนากิจการนกั ศกึ ษา การอาชีวศึกษา และกจิ การพเิ ศษ  กลมุ่ วิจยั และนวัตกรรมสงิ่ ประดษิ ฐ์  กลุ่มกิจการนักศึกษาและการส่งเสรมิ ศิลปวัตน ธรรม อาชวี ศกึ ษาบัณฑติ วิทยาลยั ในสังกัดสถาบัน  กลุ่มหลักสตู รและมาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา  กลมุ่ วิชาการ  กลมุ่ ทะเบียนและประเมนิ ผล  กล่มุ สนบั สนุนกจิ การวิทยาลัย  คณะวชิ า (เทียบเทา่ แผนก) ภาพท่ี 4 การแบง่ ส่วนราชการภายในสถาบันการอาชีวศกึ ษา ตาแหน่งภายในสถาบนั การอาชีวศึกษาและวธิ กี ารเขา้ สูต่ าแหนง่ 1. ผ้บู ริหารในสถาบนั การอาชวี ศึกษา พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา 2551 กาหนดให้มีการบริหารงานในสถาบัน การอาชีวศึกษาในรูปของสภาสถาบันและผู้บริหารสถาบัน โดยมาตรา 23 กาหนดให้มีคณะกรรมการ สภาสถาบนั แต่ละแหง่ จานวนไมเ่ กิน 14 คน ประกอบดว้ ย (1) นายกสภาสถาบนั ซงึ่ รฐั มนตรีแตง่ ตงั้ โดยคาแนะนาของคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (2) กรรมการสภาสถาบันโดยตาแหนง่ ไดแ้ ก่ ผูอ้ านวยการสถาบัน (3) กรรมการสภาสถาบันจานวนสี่คน ซึ่งเลือกจากบุคคลที่สานักงานคณะกรรมการ การอาชวี ศึกษาเสนอ (4) กรรมการสภาสถาบันจานวนส่ีคน ซ่ึงเลือกจากผู้ดารงตาแหน่งผู้บริหารสถาบันจานวน สองคน และครหู รือคณาจารย์ประจาทม่ี ไิ ดเ้ ป็นผู้บริหารจานวนสองคน (5) กรรมการสภาสถาบันผู้ทรงคุณวุฒิจานวนสี่คน ซึ่งรัฐมนตรีแต่งต้ังจากบุคคลภายนอก สถาบนั โดยคาแนะนาของกรรมการสภาสถาบันตาม (3) และ (4) ในจานวนนี้จะต้องเป็นผู้ทรงคุณวุฒิจาก

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หนา้ ที่ | 13 ภาคเอกชนจานวนหนึ่งคนและจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีสถาบันหรือสถานศึกษาในสังกัดสถาบัน นั้นต้ังอยจู่ านวนหนง่ึ คน นายกสภาสถาบันและกรรมการสภาสถาบันตามมาตรา 23 (3) (4) และ (5) มีวาระ การดารงตาแหนง่ คราวละส่ีปี และจะแตง่ ตั้งหรืออาจได้รับเลอื กใหม่อกี ได้ (มาตรา 24) พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา บัญญัติให้มีผู้บริหารในสถาบันการอาชีวศึกษา ประกอบดว้ ย (1) ผู้อานวยการสถาบัน เปน็ ผูบ้ งั คับบญั ชาและรบั ผิดชอบการบริหารงานของสถาบนั (2) รองผู้อานวยการสถาบันอยา่ งน้อยหนง่ึ คน (3) ผู้ช่วยผู้อานวยการสถาบันหน่ึงคนหรือหลายคน ตามจานวนท่ีสภาสถาบันกาหนด เพื่อทาหน้าทแ่ี ละรับผิดชอบตามที่ผู้อานวยการสถาบันมอบหมาย (4) ผู้อานวยการเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบงานของวิทยาลัย สานัก ศูนย์ หรอื หนว่ ยงานทเ่ี รยี กชอื่ อยา่ งอนื่ ท่ีมีฐานะเทยี บเทา่ วทิ ยาลัย (5) รองผอู้ านวยการ เพอื่ ทาหนา้ ท่ีตามทีผ่ ู้อานวยการมอบหมาย ในระยะเริ่มแรกของการจัดต้ังสถาบันการอาชีวศึกษา สานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษากาหนดให้สถาบันการอาชีวศึกษาทุกแห่งกาหนดกรอบอัตรากาลังผู้บริหารในสถาบัน การอาชวี ศกึ ษา ดงั น้ี ท่ี ตาแหนง่ ผู้บริหาร จานวน (อัตรา) 1 ผอู้ านวยการสถาบนั 1 2 รองผูอ้ านวยการสถาบัน 2 3 ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการสถาบัน 1 การเขา้ สตู่ าแหนง่ ของผบู้ ริหารในสถาบันการอาชีวศึกษา ก. ตาแหนง่ ผู้อานวยการสถาบนั มาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 บัญญัติให้มีผู้อานวยการ สถาบันเป็นผู้บังคับบัญชาและรับผิดชอบการบริหารงานของสถาบัน และ มาตรา 28 กาหนดให้สภา สถาบันสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติตามมาตรา 30 เสนอรัฐมนตรีแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการ สถาบัน ท้ังนี้ ให้คานึงถึงการมีส่วนร่วมของคณาจารย์ และข้าราชการของสถาบัน หลักเกณฑ์และวิธีการ สรรหาบุคคลเพ่ือแต่งตั้งให้เป็นผู้อานวยการสถาบัน กฎหมายบัญญัติให้เป็นไปตามข้อบังคับของสถาบัน (ความในมาตรา 28) โดยผู้อานวยการสถาบันที่ได้รับการคัดเลือกและแต่งต้ังแล้ว จะมีวาระการดารง ตาแหน่งคราวละส่ีปี และอาจได้รับแต่งตั้งใหม่อีกได้ แต่จะดารงตาแหน่งเกินสองวาระติดต่อกันมิได้ โดยผอู้ านวยการสถาบนั การอาชีวศึกษา จะต้องมคี ณุ สมบัติ (มาตรา 30) ดังนี้ (1) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าช้ันปริญญาเอกหรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษา และได้ทา การสอน หรือมีประสบการณ์ด้านบริหารมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา สถาบัน

โครงสร้างสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา หนา้ ที่ | 14 หรือสถาบันอุดมศึกษาอ่ืน หรือเคยดารงตาแหน่งกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนมาแล้วรวมเป็นเวลา ไมน่ ้อยกว่าสองปี หรือ (2) ได้รับปริญญาช้ันใดชั้นหนึ่ง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษา และได้ทาการสอน หรือมีประสบการณ์ด้านการบริหารมาแล้วไม่น้อยกว่าสี่ปีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา สถาบัน หรือ สถาบันอุดมศึกษาอื่น หรือเคยดารงตาแหน่งกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษาอื่นมาแล้ว เป็นเวลาไม่น้อย กว่าส่ีปี พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา มาตรา 35 บัญญัติให้ตาแหน่งผู้อานวยการสถาบันและ ตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถาบนั เป็นตาแหนง่ ท่ีเทียบเท่าตาแหน่งอธิการบดีและตาแหน่งรองอธิการบดีใน หน่วยงานการศึกษาท่ีสอนระดับปริญญาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษา รบั ผดิ ชอบการบริหารงานของสถาบัน เป็นผู้แทนของสถาบันในกิจการท่ัวไป และได้บัญญัติสถานะ ตาแหน่งผู้อานวยการสถาบันว่า เป็นตาแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาหรือบุคลากรทางการศึกษา แล้วแต่ กรณี ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และเป็นตาแหน่งที่เทียบเท่า ตาแหนง่ อธกิ ารบดี ในหน่วยงานการศึกษาทีส่ อนระดับปริญญา ตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา นอกจากนี้กฎหมายได้บัญญัติมิให้ผู้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการสถาบัน รองผู้อานวยการสถาบัน ผู้ช่วยผู้อานวยการสถาบัน ผู้อานวยการวิทยาลัย ผู้อานวยการสานัก ผู้อานวยการศูนย์ และผู้อานวยการหน่วยงานที่เรียกช่ืออย่างอื่นท่ีมีฐานะเทียบเท่าวิทยาลัย จะดารง ตาแหน่งดังกล่าวเกินหน่ึงตาแหน่งในขณะเดียวกันมิได้ ยกเว้นกรณีการรักษาราชการแทนสามารถกระทา ได้แต่ตอ้ งไมเ่ กนิ หน่งึ ร้อยแปดสิบวัน (มาตรา 36) ผู้อานวยการสถาบัน มีสถานะตาแหน่งเป็นผู้บริหารในหน่วยงานการศึกษาที่สอนในระดับ ปริญญา มาได้ทั้งจากข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและจากผู้ซ่ึงไม่เป็นข้าราชการ 1 เป็น ตาแหน่งที่เทียบเท่าอธิการบดี (บริหาร ระดับสูง2) มีสิทธิได้รับเงินประจาตาแหน่ง ตามพระราชกฤษฎีกา การได้รับเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการและผู้บริหารซ่ึงไม่เป็นข้าราชการ พ.ศ. 2538 และท่ีแก้ไข เพิม่ เตมิ 3 เชน่ เดยี วกับผู้ดารงตาแหน่งอธิการบดีในสถาบันอุดมศกึ ษาของรัฐ ในอตั รา ดงั นี้ ก. ผู้อานวยการสถาบัน ท่ีมาจากข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้ได้รับเงินประจา ตาแหน่ง อัตรา 15,000 บาท และเงินค่าตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือนประเภทบริหาร อัตรา 15,000 บาท ข. ผู้อานวยการสถาบัน ท่ีมาจากผู้ที่ไม่เป็นข้าราชการ ให้ได้รับเงินประจาตาแหน่ง อัตรา 30,000 บาท 4 1 อา้ งถงึ ในความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎกี า (คณะที่ 8) ปรากฏในเรื่องเสร็จ ท่ี 995/2556 ส่งมาพร้อม หนงั สือสานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ดว่ นท่ีสดุ ที่ นร 1901/1326 ลงวนั ที่ 14 สงิ หาคม 2556 2 อ้างถึงในบัญชีรายละเอียดการกาหนดเลขตาแหน่งผู้บริหารและอาจารย์ในสถาบันการอาชีวศึกษา ส่งพร้อมหนังสือสานกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/421 ลงวนั ที่ 12 พฤษภาคม 2559 3 อา้ งถึงในหนงั สือคณะกรรมการพิจารณาเงินเดอื นแห่งชาติ ท่ี นร 1008.1/394 ลงวนั ที่ 30 ตลุ าคม 2556 4 อา้ งถึงในบญั ชอี ตั ราเงินประจาตาแหน่งผู้บริหารในมหาวิทยาลัยของรัฐ แนบท้ายพระราชบัญญัติเงินเดือน และเงินประจาตาแหนง่ พ.ศ. 2538 หน้า 18

โครงสรา้ งสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หน้าที่ | 15 ข. ตาแหน่งผ้รู องอานวยการสถาบัน มาตรา 27 แห่งพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 บัญญัติให้มีรองผู้อานวยการ สถาบันอย่างน้อย 1 คน หรือตามจานวนที่สภาสถาบันกาหนด เพื่อทาหน้าที่และรับผิดชอบตามที่ ผู้อานวยการสถาบันมอบหมาย การสรรหารองผู้อานวยการสถาบันน้ัน มาตรา 28 บัญญัติให้สภาสถาบัน เป็นผู้ดาเนินการสรรหาและแต่งต้ังรองผู้อานวยการสถาบันโดยคาแนะนาของผู้อานวยการสถาบันจาก ครู คณาจารย์ผู้มีคุณบัติตามมาตรา 30 โดยรองผู้อานวยการสถาบันจะพ้นจากตาแหน่งเม่ือผู้อานวยการ สถาบนั ตอ้ งพ้นจากตาแหน่ง (มาตรา 29) คุณสมบัติของผู้ดารงตาแหน่งรองผู้อานวยการสถาบัน จะต้องมี คณุ สมบัติ (มาตรา 30) ดังนี้ (1) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าช้ันปริญญาเอกหรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษา และได้ ทาการสอน หรือมีประสบการณ์ด้านบริหารมาแล้วไม่น้อยกว่าสองปีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา สถาบัน หรือสถาบันอุดมศึกษาอื่น หรือเคยดารงตาแหน่งกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนมาแล้วรวมเป็นเวลา ไม่นอ้ ยกวา่ สองปี หรือ (2) ได้รับปริญญาช้ันใดช้ันหนึ่ง หรือเทียบเท่าจากสถาบันอุดมศึกษา และได้ทาการสอน หรือมีประสบการณ์ด้านการบริหารมาแล้วไม่น้อยกว่าสี่ปีในสถานศึกษาอาชีวศึกษา สถาบัน หรือ สถาบันอุดมศึกษาอื่น หรือเคยดารงตาแหน่งกรรมการสภาสถาบันอุดมศึกษาอ่ืนมาแล้ว เป็นเวลาไม่น้อย กวา่ ส่ีปี พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา มาตรา 35 บัญญัติให้ตาแหน่งรองผู้อานวยการสถาบัน เป็นตาแหน่งที่เทียบเท่าตาแหน่งรองอธิการบดีในหน่วยงานการศึกษาท่ีสอนระดับปริญญาตามกฎหมาย วา่ ด้วยระเบยี บขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นอกจากน้ีกฎหมายได้บัญญัติมิให้ผู้ดารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถาบัน จะดารงตาแหน่งผู้บริหารอื่น ๆ ในขณะเดียวกันมิได้ เช่นเดียวกับกรณีตาแหน่ง ผอู้ านวยการสถาบนั (มาตรา 36) รองผู้อานวยการสถาบัน มีสถานะตาแหน่งเป็นผู้บริหารในหน่วยงานการศึกษาที่สอน ในระดับปริญญา มาได้ท้ังจากข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและจากผู้ซ่ึงไม่เป็นข้าราชการ5 เป็นตาแหน่งท่ีเทียบเท่ารองอธิการบดี (บริหาร ระดับต้น6 ) มีสิทธิได้รับเงินประจาตาแหน่ง ตามพระราช กฤษฎีกาการได้รับเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการและผู้บริหารซ่ึงไม่เป็นข้าราชการ พ.ศ. 2538 และ ที่แก้ไขเพม่ิ เติม7 เชน่ เดยี วกบั ผู้ดารงตาแหน่งรองอธิการบดีในสถาบนั อดุ มศึกษาของรฐั ในอัตรา ดังน้ี ก. รองผู้อานวยการสถาบัน ทม่ี าจากข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้ได้รับเงิน ประจาตาแหน่ง อัตรา 10,000 บาท และเงินค่าตอบแทนนอกเหนือจากเงิน เดือนประเภท บริหาร อตั รา 10,000 บาท ข. รองผู้อานวยการสถาบัน ที่มาจากผู้ที่ไม่เป็นข้าราชการ ให้ได้รับเงินประจา ตาแหน่ง อัตรา 20,000 บาท8 5 อ้างถึงในความเหน็ ของคณะกรรมการกฤษฎกี า (คณะที่ 8) ปรากฏในเร่ืองเสร็จ ที่ 995/2556 ส่งมาพร้อม หนังสอื สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ด่วนท่ีสุด ท่ี นร 1901/1326 ลงวนั ท่ี 14 สิงหาคม 2556 6 อ้างถึงในบัญชีรายละเอียดการกาหนดเลขตาแหน่งผู้บริหารและอาจารย์ในสถาบันการอาชีวศึกษา ส่งพรอ้ มหนังสอื สานกั งาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ 0206.3/421 ลงวนั ท่ี 12 พฤษภาคม 2559 7 อ้างถึงในหนงั สอื คณะกรรมการพิจารณาเงนิ เดือนแห่งชาติ ท่ี นร 1008.1/394 ลงวันที่ 30 ตุลาคม 2556 8 อา้ งถงึ ในบัญชีอัตราเงนิ ประจาตาแหน่งผู้บริหารในมหาวิทยาลัยของรัฐ แนบท้ายพระราชบัญญัติเงินเดือน และเงินประจาตาแหนง่ พ.ศ. 2538 หน้า 18

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หน้าที่ | 16 ค. ตาแหนง่ ผู้ชว่ ยผูอ้ านวยการสถาบนั มาตรา 27 แหง่ พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 บัญญัติให้มีผู้ช่วยผู้อานวยการ สถาบันอยา่ งน้อย 1 คนหรือหลายคน ท้ังนี้ตามจานวนท่ีสภาสถาบันกาหนด เพ่ือทาหน้าที่และรับผิดชอบ ตามทผ่ี ู้อานวยการสถาบันมอบหมาย การสรรหาผู้ช่วยผู้อานวยการสถาบันนั้น มาตรา 28 บัญญัติให้สภา สถาบันเป็นผู้ดาเนินการสรรหาและแต่งต้ังผู้ช่วยผู้อานวยการสถาบัน โดยคาแนะนาของผู้อานวยการ สถาบนั จาก ครู คณาจารยผ์ ู้มีคุณบัตติ ามมาตรา 30 โดยผู้ช่วยผู้อานวยการสถาบันจะพ้นจากตาแหน่งเม่ือ ผู้อานวยการสถาบันต้องพ้นจากตาแหน่ง (มาตรา 29) คุณสมบัติของผู้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยผู้อานวยการ สถาบัน จะต้องมีคุณสมบัติ (มาตรา 30 วรรคสอง) คือ ต้องสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาหรือเทียบเท่า จากสถาบนั อดุ มศกึ ษา รวมทั้งมีคณุ สมบตั แิ ละไม่มีลกั ษณะตอ้ งห้ามท่ีกาหนดในข้อบังคับของสถาบัน ผู้ชว่ ยผ้อู านวยการสถาบนั เป็นตาแหน่งผูบ้ รหิ ารในหน่วยงานการศกึ ษาทส่ี อนระดับปริญญา 1และพระราชบญั ญัตกิ ารอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2551 บญั ญตั มิ ใิ ห้ผดู้ ารงตาแหน่งผู้ช่วยผู้อานวยการสถาบัน จะ ดารงตาแหน่งผู้บริหารอื่น ๆ ในขณะเดียวกันมิได้ เช่นเดียวกับกรณีตาแหน่งผู้อานวยการ สถาบัน (มาตรา 36) ผู้ช่วยผู้อานวยการสถาบัน มาได้ท้ังจากข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและจาก ผู้ซึ่งไมเ่ ปน็ ขา้ ราชการ9 เปน็ ตาแหน่งที่เทียบเท่าตาแหน่งประเภทอานวยการ ระดับต้น10 ) มีสิทธิได้รับเงิน ประจาตาแหน่ง ตามพระราชกฤษฎีกาการได้รับเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการและผู้บริหารซึ่งไม่เป็น ข้าราชการ พ.ศ. 2538 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม11 เช่นเดียวกับผู้ดารงตาแหน่งผู้ช่วยอธิการบดี ในสถาบนั อุดมศึกษาของรัฐ ในอัตรา ดงั นี้ ก. ผู้ช่วยผู้อานวยการสถาบัน ที่มาจากข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้ได้รับ เงินประจาตาแหน่ง อัตรา 5,600 บาท และเงินค่าตอบแทนนอกเหนือจากเงินเดือนประเภท บริหาร อตั รา 5,600 บาท ข. ผู้ช่วยผู้อานวยการสถาบัน ที่มาจากผู้ที่ไม่เป็นข้าราชการ ให้ได้รับเงินประจา ตาแหน่ง อัตรา 11,200 บาท12 กฎหมาย ระเบียบที่เกยี่ วข้อง และหนงั สือตอบขอ้ หารอื ต่าง ๆ 1. พระราชบญั ญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 2. พระราชบัญญตั ิเงินเดอื นและเงินประจาตาแหน่ง พ.ศ. 2538 3. พระราชกฤษฎีกาการได้รับเงินประจาตาแหน่งของข้าราชการและผู้บริหารซ่ึงไม่เป็น ขา้ ราชการ พ.ศ. 2538 และที่แก้ไขเพิม่ เตมิ 9 อ้างถึงในความเห็นของคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะท่ี 8) ปรากฏในเรื่องเสร็จ ท่ี 995/2556 ส่งมาพร้อม หนงั สอื สานกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า ดว่ นทสี่ ดุ ที่ นร 1901/1326 ลงวันท่ี 14 สงิ หาคม 2556 10 อ้างถึงในบัญชีรายละเอียดการกาหนดเลขตาแหน่งผู้บริหารและอาจารย์ในสถาบันการอาชีวศึกษา สง่ พร้อมหนังสือสานักงาน ก.ค.ศ. ท่ี ศธ 0206.3/421 ลงวนั ท่ี 12 พฤษภาคม 2559 11 อ้างถงึ ในหนังสือคณะกรรมการพจิ ารณาเงินเดือนแห่งชาติ ที่ นร 1008.1/394 ลงวนั ท่ี 30 ตุลาคม 2556 12 อ้างถงึ ในบัญชอี ตั ราเงินประจาตาแหนง่ ผบู้ รหิ ารในมหาวทิ ยาลัยของรฐั แนบทา้ ยพระราชบัญญัติเงนิ เดือน และเงนิ ประจาตาแหนง่ พ.ศ. 2538 หนา้ 18

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา หนา้ ท่ี | 17 2.3 หน่วยงานท่ีจัดตง้ั ขึน้ เปน็ การภายใน ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า ไ ด้ จั ด ต้ั ง ห น่ ว ย ง า น ภ า ย ใ น ท่ี ไ ม่ ป ร า ก ฏ ในกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการ จานวน 11 หนว่ ยงาน คือ (1) หน่วยศกึ ษานิเทศก์ (2) ศนู ย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชวี ศึกษาภาค (3) ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและกาลงั คนอาชีวศึกษา (4) ศนู ย์พฒั นาการศกึ ษาเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (5) ศูนย์พฒั นาสง่ เสริมประสานงานกิจการนักศกึ ษาและกจิ การพิเศษ (6) ศนู ย์ประสานงานสถาบนั การอาชวี ศึกษา (7) ศนู ยอ์ าชวี ศึกษาทวิภาคี (8) ศูนย์ประสานงานความรว่ มมอื อาชีวศกึ ษาต่างประเทศ (9) กลมุ่ พัฒนาระบบบรหิ าร13 (10) หนว่ ยตรวจสอบภายใน14 (11) ศนู ย์ส่งเสรมิ การอาชวี ศกึ ษาเอกชน (ศอช.)15 (12) อาชวี ศกึ ษาจังหวดั 16 (13) อาชีวศึกษาภาค17 แผนภูมิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ นาเสนอดงั แสดงในภาพท่ี 5 13 และ 14 จดั ตง้ั ข้นึ ตามมติคณะรัฐมนตรี 15 จัดตั้งขึ้นกรณีมีคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 8/2559 เรื่อง การบริหารจัดการรวม สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาภาครัฐและภาคเอกชน ลงวนั ท่ี 12 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2559 16 และ 17 จัดต้ังขึ้นตามระเบียบสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ว่าด้วยการบริหารอาชีวศึกษา จงั หวดั และอาชวี ศกึ ษาภาค พ.ศ. 2559 ลงวันที่ 30 เมษายน 2559

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หนา้ ที่ | 18 แผนภมู ิโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา สานักอานวยการ กลุ่มพฒั นาระบบบริหาร * หนว่ ยตรวจสอบภายใน * สานกั ความรว่ มมือ สานกั นโยบายและแผนการ สานกั วจิ ัยและพัฒนาการ อาชีวศกึ ษา อาชวี ศึกษา สานักพฒั นาสมรรถนะครูและ บุคลากรอาชีวศึกษา สานักติดตามและประเมนิ ผลการ สานกั มาตรฐานการอาชวี ศึกษา อาชวี ศกึ ษา และวชิ าชีพ ศนู ย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและ กาลังคนอาชวี ศึกษา ** ศูนยพ์ ฒั นาการศกึ ษาเขตพฒั นา หน่วยศึกษานเิ ทศก์ ** พเิ ศษเฉพาะกจิ ชายแดนภาคใต้ ศนู ย์พัฒนาสง่ เสรมิ ประสานงาน  ศนู ย์ส่งเสรมิ และพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคเหนือ กจิ การนกั ศกึ ษาและกจิ การพิเศษ **  ศูนย์สง่ เสรมิ และพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคใต้  ศูนย์ส่งเสริมและพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาค ** ศนู ยอ์ าชีวศกึ ษาทวิภาคี ** ศูนย์ประสานงานความร่วมมอื ตะวันออกและกรงุ เทพมหานคร อาชีวศกึ ษาต่างประเทศ ** ศูนยส์ ่งเสริมการอาชีวศกึ ษา  ศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาอาชีวศกึ ษาภาคกลาง เอกชน ** ศนู ย์ประสานงานสถาบนั การ อาชีวศกึ ษา ** อาชีวศกึ ษาภาค : อศภ ++ สถาบนั การอาชวี ศึกษา+ อาชีวศึกษาจงั หวดั : อศจ.++ สถานศกึ ษาสงั กดั สถาบนั กอศ. สถานศึกษาไม่สังกดั สถาบนั กอศ. หมายเหตุ * ตง้ั ขนึ้ ตามมติ ครม. ** หน่วยงานภายใน + ตั้งขน้ึ ตาม พ.ร.บ. การอาชวี ศกึ ษา พ.ศ. 2551 ++ ต้งั ข้นึ ตามระเบยี บ สอศ.ว่าดว้ ยการบรหิ ารอาชีวศกึ ษาจังหวดั และอาชวี ศกึ ษาภาค พ.ศ. 2559 ท่ีมา กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ข้อมูล ณ วนั ท่ี 7 มิถุนายน 2559

โครงสรา้ งสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หนา้ ท่ี | 19 นโยบายและทิศทางการบรหิ ารงานของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา การขับเคลื่อนนโยบายรฐั บาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ และนโยบาย เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ การผลติ และพฒั นากาลงั คนอาชีวศึกษาสสู่ ากล พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๖๙ ดังน้ี 1) ด้านการเพม่ิ ปริมาณผู้เรยี นสายอาชีพ กาหนดเปา้ หมายของการดาเนนิ งานโดย 1.1) รักษาเป้าหมายผู้เรียนในระดับ ปวช. การเพิ่มปริมาณผู้เรียนในระดับ ปวส. 1.2) ลดปัญหาการออกกลางคัน โดยวางเป้าหมายให้ลดลงร้อยละ 5 ด้วยการป้องกัน/ ดูแลรายบุคคล การวิจัยพัฒนา แก้ปัญหารายวิทยาลัย/รายสาขาวิชา การวิเคราะห์แก้ปัญหาเชิงระบบ กลมุ่ เปา้ หมายใน 50 วทิ ยาลยั ทมี่ ีปัญหาการออกกลางคนั สูง 1.3) จดั การเรยี นการสอนในระดบั พ้ืนทแี่ ละภาพรวมตามความต้องการในแต่ละสาขา 1.4) เปิดโอกาสใหน้ กั เรยี นเขา้ เรยี นสายอาชพี ด้วยระบบโควตา้ 1.5) เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายผู้มีส่วนสาคัญต่อการเลือกเรียนอาชีวศึกษาในเชิงรุก ซ่ึงได้แก่ นกั เรยี นและผู้ปกครอง 2) ด้านการขยายโอกาสในการเรยี นอาชวี ศึกษาและการฝึกอบรมวชิ าชีพ 2.1) จัดอาชีวศึกษาครอบคลุมทกุ พืน้ ที่ สาขาอาชีพ การขยายกลุม่ เปา้ หมาย 2.2) จัดต้ังสถาบันการอาชีวศึกษาในรูปแบบกลุ่มจังหวัด ๑๘ กลุ่มจังหวัดและ กรุงเทพมหานคร รวม ๑๙ สถาบัน และสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ภาคละ ๑ แห่ง จานวน ๔ แห่ง รวมทัง้ หมด 23 สถาบนั 2.3) จดั ตง้ั สถานศกึ ษาอาชีวะอาเภอในกล่มุ อาเภอช้นั หน่ึง 2.4) ส่งเสริมการจัดอาชีวะชายแดนใต้สู่สันติสุข ศูนย์ฝึกอบรมอาชีวะ อาชีวะสองระบบ และการจัดหลกั สตู รอาชวี ะทอ้ งถิน่ และสนบั สนุนทนุ การศกึ ษาแก่ผูด้ ้อยโอกาส 2.5) มุ่งผลิตและพัฒนากาลังคนในสาขาท่ีเป็นความต้องการของตลาดแรงงาน สาขา ท่ีเป็นนโยบายรัฐบาล และการเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดยการจัดอาชีวศึกษา เฉพาะทาง อาทิ ปิโตรเคมี การสร้างเกษตรรุ่นใหม่ ครัวไทยสู่ครัวโลกพลังงานทดแทน โลจิสติกส์/รถไฟ ความเรว็ สงู อัญมณี ยานยนต์ ไฟฟา้ อิเล็กทรอนกิ ส์ ท่องเท่ียว/โรงแรม ฯลฯ 2.6) ขยายกลุ่มเป้าหมายอาชีวะในโรงเรียนการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและอาชีวะเพ่ือ คนพิการ อาชีวะวัยแรงงาน อาชีวะสูงวัย อาชีวะเพื่อสตรี อบรมระยะสั้น/ตลาดนัดอาชีพ ศูนย์ซ่อมสร้าง เพ่ือชุมชน เทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพื่อต่อยอดและพัฒนาทักษะทั้ง Upgrade Skills และ Re Skills รว่ มจัดอาชวี ศึกษาในสถานพินิจ เรือนจา คา่ ยทหาร และ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน ฯลฯ 2.7) สนับสนุนให้หน่วยงาน/องค์กร ร่วมจัดอาชีวศึกษาซึ่งได้แก่ สถานประกอบการ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ และภาคเอกชนจากสาขาอาชีพต่างๆ ฯลฯ 2.8) จัดอาชีวะทางเลือก อาชีวะทายาท วิทยาลัยอาชีวศึกษาฐานวิทยาศาสตร์ อาชีวะ อนิ เตอร์ และอาชวี ะเทียบโอนประสบการณ์ 2.9) เพ่ิมช่องทางการเรียนอาชีวศึกษาด้วย อาชีวะทางไกล และเครือข่ายวิทยุ เพือ่ การศึกษาและพัฒนาอาชีพ (R-radio network)

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หนา้ ที่ | 20 3) ยกระดบั คณุ ภาพการจัดอาชวี ศกึ ษา 3.1) ระดับสถานศึกษา และระดับห้องเรียน ส่งเสริมคุณภาพและสร้างความเข้มแข็งใน การพฒั นาและยกระดบั คุณภาพการจดั อาชีวศกึ ษาโดยแนวทางการปฏิบตั ิ ดงั นี้ - พัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง Constructionism, Project Based Learning Authentic Assessment การเพิ่มพูนทักษะประสบการณ์จากการเรียนในสถานท่ีจริง/ สถานการณ์จริง อาทิ Fix It Center และกรณภี ยั พบิ ตั ิ - พฒั นาระบบนิเทศ การจัดการความรู้และถ่ายทอดประสบการณ์จากครูรุ่นพี่สู่ครู รนุ่ ใหม่ (นเิ ทศภายใน) และการนเิ ทศทางไกล - สร้างความเข้มแข็งการประกันคุณภาพภายใน สนับสนุนให้ทุกวิทยาลัยผ่านการ ประเมินคณุ ภาพภายนอกระดบั ดีมาก และเตรียมพร้อมรับการประเมินระดับสากล - ยกระดับคุณภาพสถานศึกษาขนาดเล็ก ให้เป็นตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง ตามความต้องการของพื้นที่ และการใหบ้ ริการกลุม่ เปา้ หมายพิเศษ อาทิ คนพิการ วัยทางาน สงู วยั สตรี ฯลฯ - ใช้ ICT เพื่อการเรียนการสอนสนับสนุนความพร้อมในด้าน Hardware สื่อการเรียนการสอน ส่งเสริมการประกวดสื่อ/สื่อออนไลน์ และจัดต้ังวิทยาลัยต้นแบบการใช้ ICT เพอื่ การเรยี นการสอน - พัฒนาครู สร้างเครือข่ายครู Social Media และ Network สนับสนุนให้ครู ทาวจิ ัยเพื่อพฒั นาคณุ ภาพ - จดั หาส่อื /หนังสือ วัสดุฝึก อปุ กรณก์ ารเรยี นการสอน ท่ที ันสมัยและเพียงพอ 3.2) ระดับผู้เรียน ยกระดับความสามารถของผู้เรียนเพ่ือให้ผู้สาเร็จอาชีวศึกษา มีขีด ความสามารถในการแข่งขันทั้งสมรรถนะหลัก (Core Competency) และสมรรถนะการทางาน ตามตาแหน่งหน้าที่ (Function Competency) โดยใช้ V-NET การประเมินด้านมาตรฐานวิชาชีพ และ การประเมินระดับห้องเรียน สร้างเสริมทักษะอาชีพในอนาคตด้วยกิจกรรมองค์การวิชาชีพ ปลูกฝัง คุณธรรมจริยธรรม วิถีประชาธิปไตย ความมีวินัย เสริมสร้างทักษะชีวิต ความสามารถด้านนวัตกรรม/ ส่ิงประดิษฐ์ การเป็นผู้ประกอบการ พัฒนาทักษะการคิดบ นพื้นฐาน Competency Based Technology Based Green Technology แ ล ะ Creative economy ร ว ม ทั้ ง ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ด้านพฤตกิ รรมและการใชเ้ วลาใหเ้ กดิ ประโยชน์ อาทิ สภุ าพบุรุษอาชีวะ ลกู เสอื กฬี าและการป้องกัน/แก้ไข การทะเลาะววิ าท 3.3) เตรียมผู้เรียนสู่การเป็นประชาคม ASEAN โดยการเพิ่มจานวนสถานศึกษา English Program (EP) Mini English Program (MEP) ทุกจั งห วัด ใช้ หลั กสู ตร/ สื่อ ต่า งป ระ เท ศ สนับสนุนการฝึกงานต่างประเทศ/บริษัทต่างประเทศและในประเทศ ยกระดับทักษะด้านภาษาอังกฤษ ในงานอาชพี สง่ เสรมิ การเรยี นร้ภู าษาประเทศค่คู ้า จัดระบบ Sister School ทกุ ประเทศใน ASEAN 4) ดา้ นการเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การ 4.1) ดา้ นบรหิ ารท่ัวไป ประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการบริหารจัดการ ได้แก่ Web Portal E-office และ Data based รวมทง้ั การปรับภาพลักษณ์เชงิ บวก 4.2) ด้านงบประมาณ ใช้แนวทาง Strategic Performance Based Budgeting: SPBB และ Formula Funding โดยการจัดงบประมาณตามความจาเป็นพ้ืนฐ าน คว ามเสมอภาค

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หน้าท่ี | 21 และตามนโยบายการกระจายอานาจจัดซื้อจัดจ้าง การจัดหางบประมาณค่าสาธารณูปโภคและค่าจ้างครู ใหเ้ พียงพอ 4.3) ด้านบริหารงานบุคคล สร้างเครือข่ายครู/สมาคมวิชาชีพ จัดหาลูกจ้าง พนักงาน ราชการใหเ้ พยี งพอ รวมทั้งการพัฒนาระบบบริหารงานบคุ คลของสถาบันการอาชีวศึกษา 4.4) ด้านการสร้างความร่วมมือทุกภาคส่วนท้ังในประเทศและต่างประเทศ เพื่อพฒั นาการจดั อาชวี ศึกษา ดงั น้ี - องค์การ/สมาคมวิชาชีพ สภาอุตสาหกรรม สภาหอการค้า กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม สถานประกอบการในการจดั อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี การฝกึ งาน ฯลฯ - ประเทศเพอื่ นบา้ น ประเทศในกลมุ่ อาเซียน - องค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ VOCTECH CPSC /APACC SEARCA และ UNIVOC ฯลฯ - ประเทศต่างๆในภูมิภาคของโลก ได้แก่ สาธารณรัฐประชาชนจีน อิสลาเอล ญปี่ ุ่น เดนมาร์ก เยอรมนี ฯลฯ แผนงาน/โครงการ (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559) โครงการตามแผนงานในแผนปฏิบัติราชการสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2559 ดังน้ี 1. โครงการยกระดบั คณุ ภาพการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี 2. โครงการขยายโอกาสการศึกษาวิชาชีพและพัฒนาทักษะวิชาชีพเพื่อเตรียมความพร้อม เข้าสู่ตลาดแรงงาน 3. โครงการพัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4. โครงการเตรียมความพร้อมส่ปู ระชาคมอาเซียน 5. โครงการเสริมสรา้ งคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา 6. โครงการวิทยาลัยเทคโนโลยฐี านวทิ ยาศาสตร์ 7. โครงการความร่วมมือผลิตกาลังคนด้านอาชีวศึกษาตอบสนองภาคการผลิตและบริการ ในสาขาท่ีเป็นความตอ้ งการของประเทศ 8. โครงการจดั ตง้ั สถาบันการอาชวี ศกึ ษา 9. โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 10. โครงการรณรงคป์ ้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ 11. โครงการวจิ ัยและพัฒนาอาชวี ศกึ ษาเพื่อสรา้ งองค์ความร้แู ละนวตั กรรม 12. โครงการเสริมสร้างนวัตกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีส่ิงประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ และหุ่นยนตอ์ าชีวศกึ ษา 13. เงนิ อุดหนนุ นกั เรยี นอาชีวศึกษาเพือ่ แก้ไขปัญหาความยากจนในชนบท 14. เงินอดุ หนนุ ทุนการศกึ ษาเฉลิมราชกุมารี 15. เงินอดุ หนนุ โครงการทางไกลผา่ นดาวเทยี มวงั ไกลกังวล

โครงสรา้ งสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หน้าท่ี | 22 16. เงินอุดหนุนองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อกท.) 17. เงินอุดหนุนกจิ กรรมองคก์ ารวชิ าชีพอตุ สาหกรรม 18. เงินอุดหนุนกิจกรรมองค์การวิชาชีพพาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ อานวยการ และอาชพี เฉพาะทาง 19. เงนิ อุดหนุนค่าอุปกรณก์ ารเรียนของนักเรยี นสายอาชพี อาชีวศกึ ษา 20. โครงการขยายอาชวี ะอาเภอ 21. โครงการส่งเสริมการประกอบอาชีพอสิ ระในกล่มุ ผ้เู รียนอาชีวศึกษา 22. โครงการสร้างเสริมคุณภาพสถานศกึ ษาขนาดเลก็ ให้ไดม้ าตรฐานอาชวี ศึกษา 23. โครงการลดปัญหาการออกกลางคันของผู้เรียนอาชวี ศกึ ษา 24. โครงการสร้างค่านิยมอาชวี ศึกษา 25. โครงการปฏริ ปู การสอนภาษาไทย ประวัติศาสตรห์ น้าที่พลเมอื ง 26. โครงการเพิม่ ขีดความสามารถทางภาษาสาหรบั นักเรียนนกั ศกึ ษาอาชวี ะ 27. โครงการเร่งประสิทธภิ าพการสอนครอู าชีวศกึ ษา 28. โครงการเพ่มิ ประสิทธภิ าพการเรยี นการสอนและการบรหิ ารจดั การอาชวี ศึกษา 29. โครงการเตรียมความพร้อมผู้เรยี นอาชวี ศกึ ษา (Pre.Voc.Ed) 30. เงนิ อุดหนนุ การหารายได้ระหว่างเรยี นของนกั เรยี นนักศึกษาที่ยากจน 31. เงนิ อุดหนนุ ค่าบารงุ สมาชกิ วทิ ยาลัยนกั บริหารการศึกษาชา่ งเทคนิคแผนโคลมั โบ 32. เงนิ อดุ หนุนทุนการศกึ ษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาตรสี ายปฏิบัติการ 33. โครงการผลติ พัฒนา เสรมิ สร้างคณุ ภาพชวี ติ ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา 34. โครงการส่งเสริมการปฏิรูปอาชีวศึกษาเพื่อเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนด้วยคุณภาพ และมาตรฐานให้มีสมรรถนะและความพร้อมเพ่ือเข้าสู่ตลาดแรงงาน 35. โครงการความรว่ มมอื กบั ต่างประเทศเพื่อพัฒนาอาชวี ศึกษาไทยของประเทศไทย 36. โครงการความร่วมมือในการฝึกงานนกั เรียนนกั ศึกษาอาชวี ศึกษาในตา่ งประเทศ 37. โครงการส่งเสริมทักษะวิชาชีพเพ่ือเป็นมืออาชีพและความเป็นเลิศนักศึกษาอาชีวศึกษา เพือ่ สรา้ งทุนปญั ญาชาติ 38. โครงการอาชีวะพัฒนา 39. โครงการอาชวี ศึกษามาตรฐานสากล 40. โครงการจัดหาบุคลากรสนับสนุนเพ่อื คืนครูใหน้ กั เรียน 41. เงินอุดหนุนการฝกึ อบรมเกษตรระยะสน้ั 42. โครงการโรงเรยี นพระราชทานวทิ ยาลยั กาปงเฌอเตียล ราชอาณาจักรกัมพชู า 43. โครงการจัดศนู ย์ฝกึ อบรมอาชีพในสถานศึกษาอาชีวศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพประชาชน 44. โครงการยกระดบั มาตรฐานทักษะพืน้ ฐานอาชพี

โครงสรา้ งสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หน้าท่ี | 23 กรอบอัตรากาลังและงบประมาณท่ีได้รบั การจดั สรร กรอบอัตรากาลังในภาพรวม ของสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (ส่วนกลาง) พนักงาน ลกู จา้ งช่วั คราว ลาดับ หน่วยงาน รวม ขา้ ราชการ ลกู จ้างประจา ราชการ เงิน เงินนอก ที่ (ตาแหน่ง) (อตั รา) (อัตรา) งบประมาณ งบประมาณ (อัตรา) (อัตรา) 1 สว่ นกลาง (ผูบ้ รหิ าร) 9 9 - -- - 2 กล่มุ พฒั นาระบบบริหาร 9 6 - 3- - 3 กลุ่มตรวจสอบภายใน 22 20 1 1 - - 4 สานกั อานวยการ 170 113 29 28 - - 5 สานกั พฒั นาสมรรถนะครู 96 69 21 6- - และบุคลากรอาชีวศึกษา 6 สานกั นโยบายและแผน 58 49 3 6- - การอาชวี ศึกษา 7 สานกั มาตรฐานการ 74 62 5 7- - อาชวี ศึกษาและวิชาชพี 8 สานกั ติดตามและ 37 30 2 5- - ประเมินผลการอาชีวศกึ ษา 9 สานกั ความร่วมมอื 36 31 1 4- - 10 สานักวิจัยและพฒั นา 46 32 6 8- - การอาชีวศึกษา รวม 557 421 68 68 - - ท่มี า กลมุ่ งานจดั การงานบุคคล 1 ขอ้ มูล ณ วันที่ 1 พฤศจกิ ายน 2558 งบประมาณที่ได้รับการจัดสรร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558-2559 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2558 ปงี บประมาณ พ.ศ. 2559 งบรายจา่ ยประจาปี งบบุคลากร (บาท) งบรายจ่ายประจาปี งบบุคลากร (บาท) (บาท) จานวน % (บาท) จานวน % 20,952,036,900 9,290,636,400 44.34 22,289,800,900 9,577,784,400 42.97 ทม่ี า : สานักนโยบายและแผนการอาชวี ศึกษา

คาบรรยายลกั ษณะงาน

โครงสรา้ งสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา หน้าท่ี | 25 สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา มีภารกจิ และอานาจหนา้ ที่ ดังนี้ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจเก่ียวกับการจัดและ สง่ เสรมิ การอาชีวศกึ ษาและการฝึกอบรมวิชาชีพ โดยคานึงถึงคณุ ภาพและความเปน็ เลศิ ทางวิชาชีพ โดยให้ มีอานาจหน้าท่ี ดังตอ่ ไปน้ี 1) จดั ทาข้อเสนอแนวนโยบาย แผนพฒั นามาตรฐานและหลกั สูตรการอาชีวศึกษาทกุ ระดับ 2) ดาเนินการและประสานงานเกย่ี วกับมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ 3) กาหนดหลกั เกณฑ์ และวิธีการจดั งบประมาณและสนบั สนุนทรพั ยากร 4) พัฒนาครูและบคุ ลากรการอาชีวศกึ ษา 5) ส่งเสริมประสานงานการจัดการอาชีวศึกษาของรัฐและเอกชน รวมท้ังกาหนดหลักเกณฑ์ และรปู แบบความร่วมมือกบั หนว่ ยงานอนื่ และสถานประกอบการ 6) ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลการจัดการอาชวี ศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน 7) จัดระบบ ส่งเสริม และประสานงานเครือข่าย ข้อมูลสารสนเทศและการนาเทคโนโลยี สารสนเทศและการสอ่ื สารมาใช้ในการอาชีวศกึ ษาและฝกึ อบรมวิชาชพี 8) ดาเนนิ การเก่ยี วกบั งานเลขานกุ ารของคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและดาเนินการตามที่ คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษามอบหมาย 9) ปฏิบัติงานอ่ืนใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ ของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หรอื ตามทีร่ ัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรมี อบหมาย

โครงสรา้ งสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หนา้ ท่ี | 26 นักบริหารระดบั สูง : เลขาธกิ าร รองเลขาธกิ าร หนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าส่วนราชการที่มีฐานะเป็นกรม กระทรวง หรือตาแหน่งอ่ืนที่มี ลกั ษณะงานบรหิ ารระดับสูง ตามหลกั เกณฑ์และเงื่อนไขท่ี ก.พ. กาหนด โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้าน ตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. ด้านการวางแผน (1) กาหนดทศิ ทาง แนวนโยบาย ประเด็นกลยุทธ์ ความคาดหวังและเปูาหมายความสาเร็จ ของส่วนราชการ วางกรอบความคิดในภาพรวมและส่วนย่อย โดยเช่ือมโยงกับพันธกิจของกระทรวง หรือกรมเพื่อผลกั ดันให้เกิดการเปล่ียนแปลงท้งั ในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลของส่วนราชการ (2) กากับ ติดตาม เร่งรัด การดาเนินงานของส่วนราชการระดับกระทรวงหรือกรม ให้เป็นไปตามทิศทาง แนวนโยบาย กลยุทธ์ที่กาหนดไว้ เพื่อให้การดาเนินงานบรรลุเปูาหมายและ ผลสมั ฤทธต์ิ ามทกี่ าหนดไว้ 2. ด้านบรหิ ารงาน (1) บริหารราชการฐานะหัวหน้าส่วนราชการกรม กระทรวง หรือรองหัวหน้าส่วนราชการ ที่เทียบเท่าระดับกระทรวง เพ่ือแปลงนโยบายของรัฐบาลเป็นแนวทางและแผนบริหารราชการ หรือแผนกลยทุ ธ์การปฏิบัติราชการ ทง้ั ในระยะสั้นและระยะยาว (2) สั่งราชการ มอบหมาย อานวยการ ควบคุม ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข ตัดสินใจ แก้ปัญหา ประเมินผลการปฏิบัติงาน และให้คาปรึกษา แนะนาการปฏิบัติราชการเพี่อให้ผลการปฏิบัติ ราชการบรรลุเปาู หมายและผลสัมฤทธท์ิ ส่ี ว่ นราชการกาหนดไว้ (3) ปรับปรุงแนวทาง มาตรฐาน ระบบงาน กฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ และวิธีการปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ เพื่อการปฏิบัติราชการที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ทันต่อการ เปล่ียนแปลง และตอบสนองต่อความตอ้ งการของประชาชน (4) พิจารณาอนุมตั ิ อนุญาต ดาเนนิ การตา่ ง ๆ ตามภารกจิ ของส่วนราชการ เพ่ือผลสัมฤทธิ์ ภารกจิ ของรัฐ (5) เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการต่าง ๆ ตามที่ได้รับแต่งต้ัง เพ่ือการพิจารณาให้ความเห็น หรือการตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาไดอ้ ย่างถูกต้อง (6) ประสานงานกบั องค์กรภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมในระดับผู้นาที่เก่ียวข้อง เพื่อให้เกิด ความรว่ มมอื หรือแกป้ ญั หาในการปฏบิ ตั ริ าชการ 3. ดา้ นการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล (1) ปกครองบังคับบัญชา กากับดูแล และพัฒนาทรัพยากรบุคคลในส่วนราชการ เพื่อการ บรหิ ารงาน และพฒั นาขีดความสามารถของบคุ ลากรตามหลักคุณธรรม (2) บริหารทรัพยากรบุคคลของส่วนราชการ เพื่อสร้างแรงจูงใจให้แก่ข้าราชการได้อย่าง เป็นธรรม

โครงสรา้ งสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หนา้ ที่ | 27 4. ดา้ นการบริหารทรพั ยากรและงบประมาณ (1) วางแผน ติดตาม ควบคุม และตรวจสอบการใช้งบประมาณและทรัพยากร ของส่วนราชการ เพ่ือให้การปฏิบัติราชการเกิดประสิทธิภาพและความคุ้มค่า บรรลุเปูาหมายและ ผลสัมฤทธ์ิของสว่ นราชการ (2) บริหารงานการคลังและการควบคุมการเบิกจ่ายเงินแผ่นดิน ให้เกิดประสิทธิภาพ และความคมุ้ คา่ และเปน็ ไปตามกฎหมาย กฎ และระเบยี บขอ้ บังคบั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

โครงสรา้ งสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หนา้ ท่ี | 28 นกั บริหารระดบั ต้น : ผู้ช่วยเลขาธกิ าร หนา้ ทีแ่ ละความรับผิดชอบหลกั บริหารงานในฐานะผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มีหน้าท่ีความรับผิดชอบ ในการวางแผน บริหารงาน สั่งการ ริเร่ิมพัฒนาระบบงานหรือโครงการ กากับ ติดตามและประเมินผล โครงการหรืองานตามนโยบายเร่งด่วนท่ีเกี่ยวกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ หรืองานตามที่ได้รับ มอบหมายจากเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รวมทั้งเป็นผู้แทนหน่วยงานในการประสาน ความรว่ มมอื และประชุมช้แี จงเร่อื งที่เก่ยี วข้องกับระบบอาชวี ศกึ ษาของประเทศ 1. ด้านแผนงาน (1) เสนอแนะ ให้คาแนะนา และช่วยเลขาธิการเกี่ยวกับการกาหนดนโยบาย ประเด็น กลยุทธ์ ความคาดหวังและเปูาหมายความสาเร็จของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพ่ือผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสานักงานคณะกรรมการ การอาชวี ศกึ ษา (2) ช่วยเลขาธิการในการกากับ ติดตาม เร่งรัด การดาเนินงานของส่วนราชการ ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ให้เป็นไปตามทิศทาง แนวนโยบาย กลยุทธ์ ทกี่ าหนดไว้ เพ่ือใหก้ ารดาเนินงานบรรลเุ ปูาหมายและผลสัมฤทธิ์ตามทีก่ าหนดไว้ 2. ดา้ นบรหิ ารงาน (1) ช่วยเลขาธิการในการแปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนปฏิบัติราชการ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว อานวยการ ควบคุม ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข ตัดสินใจ แก้ปัญหา ประเมินผลการปฏิบัติงานและให้คาปรึกษาแนะนาการปฏิบัติราชการ เพ่ือให้ผลการปฏิบัติราชการบรรลุ เปูาหมายและผลสมั ฤทธทิ์ ีส่ ว่ นราชการกาหนดไวไ้ ด้ (2) ช่วยเลขาธิการในการบริหาร ควบคุม กากับ ดูแล งานด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ งานการเช่ือมโยงการบริหารงานท่ีมีการบริหารความเสี่ยงที่เกิดจากการบริหารงาน ใน 2 ดา้ น ได้แก่ ดา้ นการบรหิ ารการเงิน งบประมาณ บญั ชี พสั ดุ และดา้ นบริหารงานบุคคล (3) ช่วยบริหารควบคุม กากับ ดูแล ภารกิจสนับสนุนการบริหารราชการประจาทั่วไป งานอานวยการและงานประชาสัมพันธ์เสริมสร้างภาพลักษณ์การอาชีวศึกษา และการจัดตั้งสถาบัน การอาชีวศึกษา รวมทั้งการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันต่อ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยแี ละครอบคลมุ หนว่ ยงานเครือข่าย เป็นต้น โดยดาเนินการในลักษณะแบบ บูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่ังราชการ มอบหมาย อานวยการ ควบคุม ปรับปรุง แก้ไข ตัดสินใจ แก้ปญั หา ประเมนิ ผลการปฏิบัตริ าชการ และให้คาปรึกษาแนะนาการปฏิบัตริ าชการในงานดังกล่าวเพ่ือให้ การปฏบิ ัติราชการบรรลผุ ลสาเร็จตามเปูาหมาย (4) วางแผน กากับ ติดตาม เร่งรัด ตรวจสอบ การดาเนินโครงการหรืองานตามนโยบาย เรง่ ด่วน เช่น งานการขบั เคล่ือนการดาเนนิ งานของสถาบันการอาชีวศึกษา หรืองานตามที่ได้รับมอบหมาย เฉพาะจากเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษาให้เป็นไปตามทิศทางของแนวนโยบาย กลยุทธ์ และแผนงาน เพอื่ ใหก้ ารดาเนนิ งานบรรลผุ ลสมั ฤทธติ์ ามเปาู หมาย

โครงสรา้ งสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หนา้ ที่ | 29 (5) เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการต่าง ๆ ตามที่ได้รับแต่งต้ัง เพ่ือการพิจารณาให้ความเห็น หรอื การตดั สินใจแก้ไขปญั หาในการปฏิบตั ริ าชการใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ (6) ประสานงานกับองค์กรภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมในระดับผู้นาท่ีเก่ียวข้องเพื่อให้เกิด ความรว่ มมือหรอื แกป้ ญั หาในการปฏิบัติราชการใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ (7) ปฏบิ ัติหนา้ ที่อ่ืน ๆ ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมาย 3. ด้านบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล ช่วยเลขาธิการปกครองบังคับบัญชา กากับ ดูแล และพัฒนาทรัพยากรบุคคลเพื่อ การบริหารงานและพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรตามหลักคุณธรรม และช่วยบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคลของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เพ่ือสร้างแรงจูงใจให้แก่ข้าราชการ และบุคลากรในการพฒั นาการอาชีวศกึ ษาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพสูงสดุ 4. ดา้ นบรหิ ารทรัพยากรและงบประมาณ (1) ช่วยวางแผน ติดตาม ควบคุม กากับ การโอน เปล่ียนแปลง ติดตามการใช้งบประมาณ ในสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (2) ชว่ ยเลขาธกิ ารในการบริหารงานการคลัง และการควบคุมการเบิกจ่ายเงินแผ่นดินให้เกิด ประสิทธภิ าพและเปน็ ไปตาม กฎหมาย กฎ และระเบียบข้อบงั คับทเ่ี กย่ี วข้อง

โครงสร้างสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หน้าท่ี | 30 ทปี่ รึกษาดา้ นนโยบายและแผน มหี น้าทแี่ ละความรบั ผิดชอบเกยี่ วกับ (1) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย สภาพปัญหา สาเหตุ แนวทางแก้ไขและแนวโน้มต่าง ๆ เพ่ือเสนอแนะและกาหนดแนวทางในการกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ เปูาหมาย แผนงาน งาน โครงการ และงบประมาณเกี่ยวกับการจัดการอาชีวศึกษาตามประเภทและระดับต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับความ ร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน ความต้องการกาลังคน สภาวะ การว่างงานและการมีงานทาของ ผสู้ าเร็จการศึกษาท้งั ภาครฐั และเอกชน (2) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ระบบ รูปแบบหรือวิธีการใหม่ ๆ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนพัฒนา การจัดการศึกษา การกาหนดแผนงาน งาน โครงการ การจัดทาสถิติ ข้อมูล การรายงานผลและประเมิน ผลงานต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องกับการศึกษาด้านอาชวี ศึกษา เพื่อให้เกิดประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลสงู สดุ (3) ติดตามรายงานผลหรือประเมินผลนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนงาน งาน โครงการทางการ อาชวี ศึกษาด้านตา่ ง ๆ (4) ให้คาปรึกษา แนะนาเผยแพร่ หรือบรรยาย เก่ียวกับนโยบาย ยุทธศาสตร์ เปูาหมาย มาตรการ แผนงาน โครงการจดั การศึกษาและหรือพัฒนาคุณภาพการศึกษา การวางแผนการผลิตและการ ใช้กาลังคนด้านอาชีวศึกษา ระบบหรือกระบวนการ ด้านการวางแผน การรายงานผล ประเมินผล แกผ่ ูบ้ รหิ าร นกั วิชาการ ครู อาจารย์ บคุ ลากร และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกยี่ วขอ้ ง (5) เป็นผู้แทนระดับสูง ร่วมประชุม สัมมนา ประสานงานด้านนโยบาย แผนงาน โครงการ ทางการศกึ ษาด้านอาชวี ศึกษา (6) งานอืน่ ๆ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย

โครงสร้างสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หนา้ ที่ | 31 ทป่ี รึกษาดา้ นมาตรฐานอาชีวศกึ ษาช่างอุตสาหกรรม มีหนา้ ทีแ่ ละความรับผดิ ชอบเก่ียวกับ (1) ศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ยั สภาพปญั หา สาเหตุ แนวทางแก้ไข และแนวโน้มต่าง ๆ เพื่อเสนอแนะ และกาหนดแนวทางในการพัฒนามาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา และวิชาชีพเกี่ยวกับระบบ รูปแบบการจัดการศึกษา การจัดการเรียนการสอน หลักสูตร ทรัพยากร อัตรากาลัง ส่ือ ครุภัณฑ์ อาคารสถานท่ี ระบบ รูปแบบ หลักเกณฑ์วิธีการรับรองและประกันคุณภาพ การบริหารจัดการองค์กรและความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐ เอกชน องค์กร และชุมชน สว่ นทอ้ งถิ่นในรูปแบบตา่ ง ๆ ทางด้านอุตสาหกรรม (2) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ระบบ รูปแบบหรือวิธีการใหม่ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาการจัด การศึกษา มาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ การร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน องค์กรและชุมชน ท้องถิ่น การบริหารจัดการองค์กรและงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาด้านอุตสาหกรรม เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ลสูงสุด (3) ติดตามรายงานผลหรือประเมินผล การพัฒนามาตรฐานอาชีวศึกษาวิชาชีพ การจัดการศึกษา การจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการองค์กร และงานอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดา้ นอตุ สาหกรรม (4) ให้คาปรึกษา แนะนา เผยแพร่หรือบรรยายเกี่ยวกับมาตรฐานการอาชีวศึกษาวิชาชีพ การบริหารจัดการองค์กร ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน องค์กร ชุมชน ส่วนท้องถิ่น การพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอาชีวศึกษา การติดตามรายงานผลและประเมินผล แก่ผู้บริหาร นักวิชาการ ครู อาจารย์ บคุ ลากรและหน่วยงานอน่ื ๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง (5) เป็นผู้แทนระดับสูง ร่วมประชุม สัมมนา ประสานงานด้านมาตรฐานอาชีวศึกษา อุตสาหกรรม (6) งานอ่นื ๆ ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย

โครงสรา้ งสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หน้าที่ | 32 ทปี่ รึกษาดา้ นมาตรฐานอาชวี ศกึ ษาธรุ กิจและบรกิ าร มหี น้าทแ่ี ละความรับผิดชอบเกยี่ วกับ (1) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย สภาพปัญหา สาเหตุ แนวทางแก้ไขและแนวโน้มต่าง ๆ เพ่ือเสนอแนะ และกาหนดแนวทางในการพัฒนามาตรฐานการอาชวี ศกึ ษาและวิชาชีพ เก่ียวกับระบบ รูปแบบการจัดการศึกษา การจัดการเรียนการสอน หลักสูตร ทรัพยากร อัตรากาลัง ส่ือครุภัณฑ์ อาคารสถานท่ี ระบบ รูปแบบ หลักเกณฑ์วิธีการรับรองและประกันคุณภาพ การบริหาร จัดการองค์กรและความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐ เอกชน องค์กร และชุมชน สว่ นท้องถ่ินในรูปแบบต่าง ๆ ดา้ นธรุ กิจและบริการ (2) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ระบบ รูปแบบหรือวิธีการใหม่ เพื่อส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาการจัด การศึกษา มาตรฐานการอาชวี ศึกษาและวิชาชพี การรว่ มมือระหวา่ งภาครัฐ และเอกชนองค์กรและชุมชน ท้องถ่ิน การบริหารจัดการองค์กรและงานอ่ืนท่ีเก่ียวข้องกับการศึกษาด้านธุรกิจและบริการ เพ่ือให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลสูงสดุ (3) ตดิ ตามรายงานผลหรือประเมินผลการพัฒนามาตรฐานอาชีวศึกษาวิชาชีพการจัดการศึกษา การจดั การเรยี นการสอน การบรหิ ารจดั การองคก์ ร และงานอนื่ ๆ ท่ีเกยี่ วข้องดา้ นธุรกจิ และบริการ (4) ให้คาปรึกษา แนะนา เผยแพร่หรือบรรยายเก่ียวกับมาตรฐานการอาชีวศึกษาวิชาชีพ การบริหารจัดการองค์กร ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน องค์กร ชุมชนส่วนท้องถิ่น การพัฒนาคุณภาพ การศึกษาอาชีวศึกษา การติดตามรายงานผลและประเมินผล แก่ผู้บริหาร นักวิชาการ ครู อาจารย์ บคุ ลากร และหนว่ ยงานอนื่ ๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง (5) เป็นผู้แทนระดับสูง ร่วมประชุม สัมมนา ประสานงานด้านมาตรฐานอาชีวศึกษาธุรกิจ และบรกิ าร (6) งานอ่นื ๆ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หน้าที่ | 33 ทป่ี รึกษาด้านมาตรฐานอาชีวศกึ ษาเกษตรกรรมและประมง มีหนา้ ทแ่ี ละความรับผดิ ชอบเก่ียวกบั (1) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย สภาพปัญหา สาเหตุ แนวทางแก้ไขและแนวโน้มต่าง ๆ เพ่ือเสนอแนะ และกาหนดแนวทาง ในการพัฒนามาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพเก่ียวกับระบบ รูปแบบการจัด การศึกษา การจัดการเรียนการสอน หลักสูตร ทรัพยากร อัตรากาลัง ส่ือ ครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ ระบบ รูปแบบหลักเกณฑ์วธิ ีการรบั รองและประกันคณุ ภาพ การบรหิ ารจดั การองค์กรและความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐ เอกชน องค์กรและชุมชนสว่ นทอ้ งถิน่ ในรปู แบบตา่ ง ๆ ด้านเกษตรกรรมและประมง (2) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ระบบ รูปแบบหรือวิธีการใหม่ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาการจัด การศกึ ษา มาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพการร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน องค์กร และชุมชน ทอ้ งถน่ิ การบรหิ ารจัดการองค์กรและงานอ่ืนที่เก่ียวข้องกับการศึกษาด้านเกษตรกรรมและประมง เพื่อให้ เกิดประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลสงู สดุ (3) ติดตามรายงานผลหรือประเมินผลการพัฒนามาตรฐานอาชีวศึกษาและวิชาชีพการจัด การศึกษา การจัดการเรียนการสอน การบริหารจัดการองค์กรและงานอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องด้านเกษตรกรรม และประมง (4) ให้คาปรึกษา แนะนา เผยแพร่หรือบรรยายเกี่ยวกับมาตรฐานการอาชีวศึกษา วิชาชีพ การบริหารจัดการองค์กร ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ เอกชน องค์กรชุมชนส่วนท้องถ่ิน การพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาอาชวี ศึกษา การตดิ ตามรายงานผลและประเมนิ ผล แกผ่ ู้บรหิ าร นกั วิชาการ ครู อาจารย์ บุคลากรและหนว่ ยงานอ่นื ๆ ท่เี ก่ียวข้อง (5) เป็นผู้แทนระดับสูงร่วมประชุม สัมมนาและประสานงานด้านมาตรฐานอาชีวศึกษา เกษตรกรรมและประมง (6) งานอ่ืน ๆ ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย

โครงสร้างสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หน้าท่ี | 34 ผอู้ านวยการสานกั หนา้ ทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือสานัก ในราชการบริหารส่วนกลางและส่วน ภูมิภาค หรือตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานอื่น ท่ีมีลักษณะงานเกี่ยวกับการวางแผน บริหารจัดการ จัดระบบงาน อานวยการ ส่งั ราชการ มอบหมาย กากับ แนะนา ตรวจสอบ ประเมินผลงาน ตัดสินใจ แก้ปัญหาเกี่ยวกับ งานของหน่วยงานที่รับผิดชอบ ซึ่งลักษณะหน้าท่ีความรับผิดชอบและคุณภาพของงานสูงมากเป็นพิเศษ ตามหลักเกณฑ์และเง่ือนไขท่ี ก.พ. กาหนด และปฏิบัติงานอ่ืนตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงาน ทป่ี ฏิบัตใิ นดา้ นต่าง ๆ ดังน้ี 1. ดา้ นแผนงาน (1) วางแผนงาน โครงการ หรือแผนการปฏิบัติงาน รวมท้ังเปูาหมายและผลสัมฤทธ์ิ ของหนว่ ยงาน ใหส้ อดคล้องนโยบายและแผนกลยุทธ์ของส่วนราชการทสี่ ังกดั (2) ติดตาม เร่งรัด การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีมีความหลากหลายและความยุ่งยากซับซ้อน มากให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการ หรือแผนการปฏิบัติงาน ตลอดจนประเมินผลและรายงาน การดาเนินงาน เพือ่ ใหเ้ ป็นไปตามเปูาหมายและผลสัมฤทธข์ิ องหนว่ ยงานตามท่ีกาหนดไว้ (3) บริหารโครงการขนาดใหญ่ โดยมีการบูรณาการแผนงาน กิจกรรม ขั้นตอนสาคัญเพ่ือให้ เป็นไปตามเปูาหมายและผลสัมฤทธิข์ องหน่วยงานตามท่ีกาหนดไว้ 2. ด้านบริหารงาน (1) กาหนดกลยุทธ์ ระบบงานและวิธีการปฏิบัติราชการของหน่วยงานเพื่อเป็นแนวทาง การปฏิบตั ิราชการของเจา้ หนา้ ท่ีในหนว่ ยงานที่รับผิดชอบ (2) มอบหมาย กากับดูแล ตรวจสอบ ติดตาม ให้คาแนะนา ปรับปรุงแก้ไขในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจที่หลากหลายและเบ็ดเสร็จของหน่วยงาน เพ่ือให้การปฏิบัติงานบรรลุเปูาหมาย และผลสัมฤทธิ์ตามท่กี าหนดไว้ (3) วินิจฉัย สั่งการเร่ืองท่ีมีขอบเขตผลกระทบในวงกว้างหรือมีความซับซ้อนของประเด็น ปัญหา ซึ่งต้องพิจารณาอนุมัติ อนุญาตการดาเนินการต่าง ๆ ตามภารกิจที่หน่วยงานรับผิดชอบ เพ่ือให้ บรรลุเปูาหมายและผลสัมฤทธ์ิตามทกี่ าหนดไว้ (4) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ เอกชน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง เพ่อื เกิดความร่วมมอื หรอื บรู ณาการงานใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธ์แิ ละเป็นประโยชนต์ อ่ ประชาชนผรู้ ับบรกิ าร (5) ช้ีแจงข้อเท็จจริง พิจารณาให้ความเห็น ข้อเสนอแนะในท่ีประชุมคณะกรรมการ และคณะทางานต่าง ๆ ทไี่ ด้รับแต่งต้งั หรอื เวทเี จรจาตา่ ง ๆ ในระดับหน่วยงานหรือองค์กร ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ในฐานะเปน็ ผมู้ ีบทบาทหลักเพอ่ื รกั ษาผลประโยชน์ของราชการและประเทศชาติ 3. ด้านการบริหารทรัพยากรบคุ คล (1) จดั ระบบงานและอัตรากาลงั เจ้าหนา้ ทใ่ี นหน่วยงานท่ีมคี วามหลากหลายท้ังในเชิงปริมาณ และคณุ ภาพให้สอดคล้องกับภารกจิ เพ่อื ใหป้ ฏบิ ัตริ าชการเกดิ ประสิทธภิ าพและความคมุ้ ค่า (2) ตดิ ตามและประเมินผลงานของเจา้ หน้าท่ีในบงั คบั บญั ชา เพอื่ ให้การปฏบิ ัติงานสอดคล้อง กับวัตถปุ ระสงค์ของหนว่ ยงาน บรรลุเปูาหมายและผลสัมฤทธ์ิตามท่กี าหนดไว้

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หนา้ ที่ | 35 (3) ให้คาปรึกษาแนะนา ปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีในบังคับบัญชา ให้มีความสามารถและสมรรถนะท่ีเหมาะสมกับงานทป่ี ฏิบตั ิ (4) ปรับปรุงหรือหาแนวทาง วิธีการใหม่ ๆ หรือ กลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลในการ พฒั นา กระตุ้น เร่งเร้าเจา้ หน้าที่ผู้ปฏบิ ตั ิ ในการผลิตผลงาน การบริการ หรือผลการดาเนินงานที่มีคุณภาพ ท่ีดีขน้ึ 4. ดา้ นการบริหารทรัพยากรและงบประมาณ (1) วางแผนการใช้ทรัพยากรและงบประมาณของหน่วยงานท่ีต้องรับผิดชอบสูง เพ่ือให้ สอดคลอ้ งกับนโยบาย พนั ธกจิ และเปน็ ไปตามเปาู หมายของส่วนราชการ (2) ติดตาม ตรวจสอบการใช้ทรัพยากรและงบประมาณในจานวนท่ีสูงมากให้เกิด ประสทิ ธภิ าพ ความคุ้มค่า และเป็นไปตามเปูาหมายและผลสัมฤทธ์ติ ามทกี่ าหนดไว้

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หน้าท่ี | 36 กลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร มอี านาจหน้าท่ี ดงั ต่อไปน้ี (ก) ดาเนินการและประสานงาน ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการปฏิบัติราชการ ตามพระราชกฤษฎีกาการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การมอบอานาจ พ.ศ. 2546 การพัฒนาการปฏิบัติราชการและการจัดทารายงานผลการพัฒนา ประสทิ ธิภาพสว่ นราชการประจาปี (ข) พัฒนา ปรับปรุงโครงสร้างระบบงานและประสิทธิภาพของส่วนราชการ อาทิ การวาง รปู แบบสว่ นราชการ การลดขนั้ ตอน การสร้างตวั ชีว้ ดั ตา่ ง ๆ ในการบรหิ ารและปฏบิ ัตริ าชการ (ค) ส่งเสริมและประสานงานกับส่วนราชการ หน่วยงานที่เก่ียวข้อง เก่ียวกับการกาหนดกรอบ และมาตรฐานอัตรากาลัง การกาหนดตาแหน่ง จัดกลุ่มตาแหน่งของข้าราชการ ลูกจ้างและพนักงานราชการ การเปิดเผยข้อมูลและอานวยความสะดวก ตอบสนองความต้องการของประชาชน การพัฒนาบุคลากร เพือ่ ปรับเปลี่ยนวิธีการปฏิบัตงิ านและทัศนคตขิ องข้าราชการและลกู จา้ ง (ง) ดาเนินการและประสานงานกับสานักงาน ก.พ. สานักงาน ก.พ.ร. สานักงาน ก.ค.ศ. และส่วน ราชการอ่ืน ๆ ในการปฏิบัติงานตามหน้าทแี่ ละขอบเขตความรับผิดชอบ (จ) ปฏบิ ัติงานอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ งหรอื ไดร้ บั มอบหมาย แบ่งงานภายในออกเปน็ 3 งาน ประกอบดว้ ย กกกกกก1. งานบรหิ ารงานทว่ั ไป กกกกกก2. งานพัฒนาโครงสร้างองคก์ ร กกกกกก3. งานพฒั นาสมรรถนะองค์กร มหี นา้ ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี 1. งานบริหารงานท่วั ไป (1) ปฏบิ ตั ิงานสารบรรณ งานธุรการ งานเอกสารงานประชุม และงานบรหิ ารบุคคล (2) ปฏิบัติเก่ียวกับ งานการเงิน การบัญชี งานพัสดุ งานแผนงานและงบประมาณ งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร และการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ (3) ปฏบิ ัติงานอนื่ ๆ ทีเ่ กย่ี วข้องหรือได้รบั มอบหมาย 2. งานพัฒนาโครงสรา้ งองคก์ ร (1) ศึกษา วเิ คราะห์ เสนอแนะ และประสานเก่ียวกับการจัดโครงสร้างขององค์กร การปรับปรุง เปล่ยี นแปลง ตลอดจนการแบ่งส่วนราชการภายในขององคก์ ร (2) ศึกษา วิเคราะห์ เสนอแนะ ประสานเกี่ยวกับการปรับปรุงบทบาทภารกิจขององค์กร และการถา่ ยโอนภารกจิ เปน็ รูปแบบต่าง ๆ (3) งานเลขานุการของคณะกรรมการพัฒนาโครงสร้างระบบราชการ ขององค์กร และคณะทางานแบ่งสว่ นราชการขององค์กร (4) ปฏบิ ตั ิงานอน่ื ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งหรือไดร้ ับมอบหมาย

โครงสรา้ งสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา หน้าที่ | 37 3. งานพฒั นาสมรรถนะองคก์ ร (1) ศึกษา วิเคราะห์ เสนอแนะ ประสาน และจัดทาคารับรองการปฏิบัติราชการ ตลอดจน ถา่ ยทอดตัวชีว้ ดั และเปาู หมายไปยังหน่วยงานภายในระดบั ต่าง ๆ ขององคก์ ร (2) บรหิ ารการจัดการระบบการวัดและประเมินผลการดาเนินงานขององค์กรและหน่วยงาน ในสังกัด (3) ส่งเสริม สนับสนุน ประสานงาน การบริหารการเปล่ียนแปลง การปรับเปลี่ยนกระบวน ทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมท่ีดีของบุคลากรในองค์กร ตลอดจนผลักดันให้องค์กรมีการปฏิบัติงานตาม หลักเกณฑ์และวธิ ีการบรหิ ารกจิ การบา้ นเมืองทด่ี ี (4) ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ท่ีเกยี่ วข้องหรือไดร้ บั มอบหมาย

โครงสรา้ งสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หนา้ ที่ | 38 หนว่ ยตรวจสอบภายใน มีอานาจหน้าท่ี ดงั ต่อไปน้ี (ก) กาหนดเปูาหมาย ทิศทาง ภารกิจ ขอบเขตและแผนการตรวจสอบให้สอดคล้อง กบั เปูาหมาย ภารกจิ และนโยบายของสว่ นราชการ (ข) การตรวจสอบทางการเงิน (Financial Auditing) โดยตรวจสอบความถูกต้อง และเช่ือถือได้ ของข้อมูลและตัวเลขต่าง ๆ ทางการเงิน การบัญชี และรายงานทางการเงิน โดยครอบคลุมถึงการดูแล ปูองกันทรัพย์สิน และประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของงานต่าง ๆ ว่ามีความเพียง พอทจี่ ะมั่นใจวา่ ข้อมูลท่ีบันทึกในบัญชี รายงาน ทะเบียน และเอกสารต่างๆ ถูกต้องและสามารถสอบทาน ไดห้ รอื เพยี งพอทจี่ ะปอู งกันการรวั่ ไหล สญู หายของทรัพยส์ ินต่าง ๆ ได้ (ค) การตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อกาหนด (Compliance Auditing) โดยตรวจสอบ การปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ของส่วนราชการ ให้เป็นไปตามนโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คาสั่ง และมติคณะรฐั มนตรีท่ีเกี่ยวข้อง (ง) การตรวจสอบการดาเนินงาน (Performance Auditing) โดยตรวจสอบผลการดาเนินงาน ตามแผนงาน งาน และโครงการต่าง ๆ ของส่วนราชการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเปูาหมาย หรือมาตรฐานทก่ี าหนดอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุ้มค่า โดยมีผลผลิตและผลลัพธ์เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และเปูาหมาย ซ่ึงวัดจากตัวช้ีวัดท่ีเหมาะสม โดยคานึงถึงความเพียงพอและความมีประสิทธิภาพ ของกจิ กรรม การบริหารความเสยี่ งและการควบคุมภายในของส่วนราชการ (จ) การตรวจสอบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology Auditing) โดยพิสูจน์ ความถูกต้องและเช่ือถือได้ของระบบงาน และข้อมูลที่ได้จากการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ รวมท้ัง ระบบการเขา้ ถงึ ขอ้ มูลในการปรบั ปรงุ แก้ไข และการรกั ษาความปลอดภัยของข้อมลู (ฉ) การตรวจสอบการบริหาร (Management Auditing) โดยตรวจสอบการบริหารงานด้านต่าง ๆ ของส่วนราชการว่า มีระบบการบริหารจัดการเก่ียวกับการวางแผน การควบคุม การประเมินผล การปฏิบัติงานเก่ียวกับการบริหารงบประมาณ การบริหารการเงิน การบริหารพัสดุและทรัพย์สิน รวมท้ัง การบริหารงานด้านต่าง ๆ ท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับภารกิจของส่วนราชการให้เป็นไปตามหลักการ บริหารงานและหลักการกากับดูแลกิจการท่ีดี (Good Governance) ในเร่ืองความเช่ือถือได้ ความรับผดิ ชอบ ความเปน็ ธรรม และความโปรง่ ใส (ช) การตรวจสอบพิเศษ (Special Auditing) โดยตรวจสอบกรณีที่ได้รับมอบหมายจาก ผู้บริหาร หรือกรณีท่ีมีการกระทาที่ส่อไปในทางทุจริต ผิดกฎหมาย หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าจะมีการ กระทาท่ีส่อไปในทางทุจริตหรือประพฤติมิชอบเกิดขึ้น เพื่อให้ได้ข้อมูลเบ้ืองต้นประกอบการพิจารณา ดาเนนิ การของผู้มสี ว่ นเก่ยี วข้องโดยตรงต่อไป (ซ) เป็นมาตรการถ่วงดุลแห่งอานาจ (Check and Balance) โดยส่งเสริมให้การจัดสรรการใช้ ทรพั ยากรขององค์กรเป็นไปอย่างเหมาะสม ตามลาดับความสาคัญ เพื่อให้ได้ผลงานที่เป็นประโยชน์สูงสุด ต่อองคก์ ร (ฌ) ให้สัญญาณเตือนภัยล่วงหน้า (Warning Signals) ของการประพฤติมิชอบหรือการทุจริต ในองคก์ ร ลดโอกาสความร้ายแรงและความเสย่ี งที่อาจเกดิ ขน้ึ รวมทงั้ เพม่ิ โอกาสของความสาเร็จของงาน

โครงสร้างสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หนา้ ท่ี | 39 (ญ) ปฏิบัติงานตรวจสอบ เป็นระบบเครือข่าย โดยประสานเช่ือมโยงกับการตรวจสอบระดับ กระทรวงศึกษาธกิ าร สานกั หน่วยงาน สถานศึกษา และสถาบันการอาชีวศึกษา (ฎ) ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการกากับดูแลท่ีดี โดยให้คาปรึกษาแก่ฝุายบริหารและผู้ปฏิบัติงาน ทุกระดบั รวมทั้งการตอบขอ้ หารอื เกีย่ วกับมาตรการ ระบบ ระเบียบ คูม่ ือและแนวปฏิบตั ิ (ฏ) วิเคราะห์ และติดตามประเมินความเพียงพอ และประสิทธิภาพของระบบ การควบคุม ภายในและการบรหิ ารความเสย่ี งของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (ฐ) รายงานผลการตรวจสอบ และการให้ข้อมูลเชิงวิเคราะห์ ประเมินผล ข้อเสนอแนะ คาปรึกษา ตามแนวทางที่มาตรฐานการตรวจสอบภายในกาหนดไว้ และสามารถนาไปสู่การพัฒนา ปรบั ปรงุ แก้ไขการปฏบิ ัตงิ านใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพยิ่งขนึ้ (ฑ) ประเมินผลการดาเนินงานเกี่ยวกับการเงนิ การคลงั ของสว่ นราชการ (ฒ) ส่งเสริม สนับสนุน และให้บริการทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับงานตรวจสอบภายใน แก่ผู้ปฏิบัติหน้าท่ีตรวจสอบภายใน รวมท้ังการให้ความรู้งานการเงิน บัญชี และพัสดุแก่สถานศึกษาและ สถาบันการอาชีวศึกษา (ณ) พัฒนาการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบภายใน คดิ คน้ วิธีการตรวจสอบ พร้อมท้ังจัดทาคู่มือเอกสาร และเครอื่ งมอื การตรวจสอบ (ด) สนับสนนุ และส่งเสรมิ ใหผ้ ู้ตรวจสอบภายในพัฒนาการปฏิบัติงานให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง และสามารถปฏบิ ัตงิ านไดต้ ามมาตรฐานวิชาชพี (ต) จัดทา Website ให้สาระความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบภายใน ระเบียบ กฎหมาย และแนวทางการปฏบิ ัตงิ าน รวมท้ังตอบขอ้ หารือผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (ถ) ประสานงานกับสานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เพื่อให้เกิดผลงานร่วมที่เป็นประโยชน์สูงสุด ตอ่ ราชการ (ท) ปฏิบัติงานร่วมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนที่เก่ียวข้อง หรือที่ได้รับ มอบหมาย แบ่งงานภายในออกเป็น 4 กลมุ่ ประกอบด้วย 1. กลุ่มบริหารงานทว่ั ไป 2. กลมุ่ ตรวจสอบภายใน 1 3. กลมุ่ ตรวจสอบภายใน 2 4. กลุ่มตรวจสอบภายใน 3 มหี นา้ ที่และความรบั ผดิ ชอบ ดังนี้ กกกกกก1. กล่มุ บริหารงานทั่วไป (1) ดาเนินการและประสานงานเกี่ยวกับงานบริหาร หรือจัดการทั่วไป งานสารบรรณธุรการ การเงิน และงบประมาณ พัสดุ ครุภัณฑ์ พิมพ์เอกสารราชการและวิชาการ งานบุคลากรประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ฝกึ อบรมและพัฒนางาน สถติ ขิ ้อมูล และระบบเครอื ขา่ ยสารสนเทศตา่ ง ๆ (2) วิเคราะห์ รวบรวม ติดตาม รายงานผลการดาเนินงานหรือปฏิบัติงานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม และงบประมาณในภาพรวมของหน่วยงานหรือสานัก ท่ีไม่ได้อยู่ในความรับผิดชอบของ กล่มุ งานใดเป็นการเฉพาะ

โครงสร้างสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หนา้ ที่ | 40 (3) ปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องหรือได้รบั มอบหมาย กกกกกก2. กลมุ่ ตรวจสอบภายใน 1 แบ่งเป็น 2 กล่มุ งาน คือ 2.1 กล่มุ งานตรวจสอบและประเมนิ ผล รับผดิ ชอบงานตรวจสอบการเงิน บญั ชี และพสั ดุหนว่ ยรบั ตรวจของสถานศกึ ษารวม 27 จังหวัด จานวน 142 แหง่ และสถาบนั การอาชีวศึกษา จานวน 6 สถาบัน รวมท้ังสิน้ 148 แหง่ ดังน้ี -สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3 จานวน 21 แห่ง -สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคกลาง 4 จานวน 25 แหง่ -สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคกลาง 5 จานวน 15 แห่ง -สถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 1 จานวน 30 แหง่ -สถาบันการอาชีวศกึ ษาภาคใต้ 2 จานวน 23 แหง่ -สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคใต้ 3 จานวน 25 แห่ง กกกกกกกมีหน้าท่แี ละความรบั ผิดชอบตามรายละเอยี ด ดงั นี้ (1) ศึกษา วิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงเพ่ือวางแผนการตรวจสอบติดตามผลการ ประเมนิ ความเสี่ยงของกจิ กรรมหรือหนว่ ยงาน (2) ตรวจสอบการดาเนินงาน ระบบการดูแลทรัพย์สิน การปฏิบัติงานตามระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศ การบริหารงาน รายงานการเงิน ตรวจสอบกรณพี เิ ศษ และตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย (3) ตรวจสอบการปฏิบัตถิ ูกต้องตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคบั หนังสอื สั่งการ (4) วิเคราะห์ และติดตามประเมินความเพียงพอ และประสิทธิผลของระบบ การควบคุมภายใน และการบริหารความเส่ยี งของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (5) รายงานผลการตรวจสอบ และการให้ข้อมูลเชิงวิเคราะห์ ประเมินผล ข้อเสนอแนะ เพ่ือเสนอสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และติดตามผล การดาเนินการ ตามขอ้ เสนอแนะ (6) ให้คาปรึกษา คาแนะนาการดาเนินงาน และตอบข้อหารือแก่ผู้บริหารและ ผปู้ ฏิบัติงานทกุ ระดับ เพื่อพฒั นาและปรบั ปรุงการดาเนินงาน (7) ปฏบิ ตั งิ านร่วมกนั หรอื สนับสนนุ การปฏิบัติงานของหนว่ ยงานอนื่ รวมทั้งประสานงาน กับส่วนราชการอ่ืนทเี่ กยี่ วขอ้ ง 2.2 กลมุ่ งานพัฒนาระบบการตรวจสอบ (1) ปฏิบัติงานตรวจสอบเป็นระบบเครือข่าย โดยประสานเชื่อมโยงกับสานัก หนว่ ยงาน สถาบันการอาชีวศึกษา และหน่วยรบั ตรวจ (สถานศกึ ษา) (2) พัฒนาการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน คิดค้นวิธีการตรวจสอบ พร้อมทั้งจัดทา คมู่ อื เอกสาร และเครอื่ งมอื การตรวจสอบ (3) กากับ ติดตามการปฏิบัติงาน ให้บริการทางวิชาการ และให้ความรู้งานการเงิน บัญชี และพสั ดุ แกส่ ถานศกึ ษาและสถาบันการอาชีวศึกษา (4) จดั ทา Website ให้สาระความร้ทู ีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั การตรวจสอบภายใน (5) จดั อบรมให้ความรู้เก่ยี วกบั งานตรวจสอบภายใน

โครงสรา้ งสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หน้าท่ี | 41 3. กลุ่มตรวจสอบภายใน 2 แบ่งเป็น 2 กลุ่มงาน คอื 3.1 กลมุ่ งานตรวจสอบและประเมินผล รับผดิ ชอบงานตรวจสอบการเงนิ บญั ชี และพสั ดุหน่วยรับตรวจของสถานศึกษาสถาบัน การอาชีวศึกษา และส่วนการคลังและพัสดุ สานักอานวยการ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รวม 26 จังหวัด จานวน 143 แหง่ และสถาบนั การอาชวี ศึกษา จานวน 7 สถาบนั รวมท้งั ส้นิ 150 แห่ง ดงั นี้ -สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคกลาง 1 จานวน 19 แหง่ -สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคกลาง 2 จานวน 18 แหง่ -สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคเหนอื 1 จานวน 18 แห่ง -สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคเหนอื 2 จานวน 21 แห่ง -สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคเหนือ 3 จานวน 25 แห่ง -สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคเหนอื 4 จานวน 16 แหง่ -สถาบันการอาชวี ศกึ ษากรงุ เทพมหานคร จานวน 21 แห่ง -สว่ นการคลงั และพสั ดุ สานกั อานวยการ จานวน 1 แหง่ กกกกกกกกมีหนา้ ทแ่ี ละความรับผิดชอบตามรายละเอียด ดงั นี้ (1) ศึกษา วิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยง เพื่อวางแผนการตรวจสอบตามผลการประเมิน ความเสีย่ งของกจิ กรรมหรือหนว่ ยงาน (2) ตรวจสอบการดาเนินงาน ระบบการดูแลทรัพย์สิน การปฏิบัติงานตามระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ การบรหิ ารงาน รายงานการเงนิ ตรวจสอบกรณีพิเศษ และตามที่ไดร้ บั มอบหมาย (3) ตรวจสอบการปฏิบตั ถิ ูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคบั หนังสือสงั่ การ (4) รายงานผลการตรวจสอบ และการให้ข้อมูลเชิงวิเคราะห์ ประเมินผล ข้อเสนอแนะ เพื่อเสนอสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และติดตามผลการดาเนินการตาม ข้อเสนอแนะ (5) วิเคราะห์ สอบทาน และประเมินผลระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ ด้วยระบบอิเลก็ ทรอนิคส์ (GFMIS) ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (6) ให้คาปรึกษา คาแนะนาการดาเนินงาน และตอบข้อหารือแก่ผู้บริหาร และผปู้ ฏบิ ัติงานทกุ ระดับ เพอ่ื พัฒนาและปรับปรงุ การดาเนนิ งาน (7) ปฏิบตั ิงานร่วมกนั หรือสนบั สนนุ การปฏิบัตงิ านของหน่วยงานอื่น รวมท้ังประสานงาน กบั ส่วนราชการอน่ื ที่เก่ยี วข้อง 3.2 กล่มุ งานพฒั นาระบบการตรวจสอบ (1) ปฏิบัติงานตรวจสอบเป็นระบบเครือข่าย โดยประสานเชื่อมโยงกับสานัก หนว่ ยงาน สถาบันการอาชีวศึกษาและหนว่ ยรบั ตรวจ (สถานศกึ ษา) (2) พัฒนาการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน คิดค้นวิธีการตรวจสอบ พร้อมท้ังจัดทา คู่มอื เอกสาร และเครอ่ื งมอื การตรวจสอบ (3) กากับ ติดตามการปฏิบัติงาน ให้บริการทางวิชาการ และให้ความรู้งาน การเงนิ บัญชี และพสั ดแุ กส่ ถานศกึ ษาและสถาบนั การอาชีวศกึ ษา (4) จัดทา Website ให้สาระความรูท้ ่ีเกยี่ วข้องกบั การตรวจสอบภายใน (5) จดั อบรมให้ความรูเ้ กย่ี วกับงานตรวจสอบภายใน

โครงสร้างสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หนา้ ท่ี | 42 4. กลุ่มตรวจสอบภายใน 3 แบ่งเปน็ 2 กลุม่ งาน คือ 4.1 กลมุ่ งานตรวจสอบและประเมินผล รับผิดชอบงานตรวจสอบการเงิน บัญชี และพัสดุหน่วยรับตรวจของสถานศึกษา รวม 23 จงั หวัด จานวน 131 แห่ง และสถาบันการอาชวี ศึกษา จานวน 6 สถาบัน รวมทงั้ ส้นิ 137 แหง่ ดังน้ี - สถาบันการอาชวี ศึกษาภาคตะวันออก จานวน 20 แห่ง - สถาบนั การอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ 1 จานวน 20 แหง่ - สถาบนั การอาชีวศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื 2 จานวน 8 แหง่ - สถาบันการอาชวี ศกึ ษาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 3 จานวน 30 แห่ง - สถาบนั การอาชวี ศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 4 จานวน 19 แหง่ - สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 5 จานวน 30 แหง่ มหี น้าทแี่ ละความรับผดิ ชอบตามรายละเอียด ดงั นี้ (1) ศกึ ษา วเิ คราะห์ ประเมินความเสี่ยงเพื่อวางแผนการตรวจสอบตามผลการประเมิน ความเสย่ี งของกจิ กรรมหรือหน่วยงาน (2) ตรวจสอบการดาเนินงาน ระบบการดูแลทรัพย์สิน การปฏิบัติงานตามระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ การบริหารงาน รายงานการเงนิ ตรวจสอบกรณพี ิเศษ และตามท่ีได้รบั มอบหมาย (3) ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิถูกต้องตามกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั หนังสอื ส่ังการ (4) รายงานผลการตรวจสอบ และการให้ข้อมูลเชิงวิเคราะห์ ประเมินผลข้อเสนอแนะ เพอ่ื เสนอสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และตดิ ตามผลการดาเนินการตามขอ้ เสนอแนะ (5) ให้คาปรึกษา คาแนะนาการดาเนินงาน และตอบข้อหารือแก่ผู้บริหารและ ผ้ปู ฏิบัติงานทกุ ระดบั เพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรงุ การดาเนนิ งาน (6) ปฏิบัติงานร่วมกันหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงาน อ่ืน รวมท้ัง ประสานงานกบั สว่ นราชการอน่ื ท่เี ก่ียวข้อง 4.2 กลมุ่ งานพฒั นาระบบการตรวจสอบ (1) ปฏิบัติงานตรวจสอบเป็นระบบเครือข่าย โดยประสานเช่ือมโยงกับสานัก หน่วยงาน สถาบนั การอาชีวศึกษาและหน่วยรบั ตรวจ (สถานศกึ ษา) (2) พัฒนาการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน คิดค้นวิธีการตรวจสอบ พร้อมทั้งจัดทา คมู่ อื เอกสาร และเคร่อื งมอื การตรวจสอบ (3) กากับ ติดตามการปฏิบัติงาน ให้บริการทางวิชาการ และให้ความรู้งานการเงิน บัญชี และพสั ดุ แกส่ ถานศกึ ษาและสถาบันการอาชีวศึกษา (4) จัดทา Website ให้สาระความรทู้ ่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การตรวจสอบภายใน (5) จดั อบรมใหค้ วามร้เู กี่ยวกับงานตรวจสอบภายใน

โครงสร้างสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หนา้ ท่ี | 43 สานักอานวยการ มอี านาจหน้าท่ี ดงั ตอ่ ไปนี้ (ก) ดาเนินการเก่ียวกับงานช่วยอานวยการและงานเลขานุการของสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา ประสานงาน ดาเนินการเกี่ยวกับการบริหารงานทั่วไป การประชาสัมพันธ์และงาน เผยแพร่การอาชีวศกึ ษาและฝึกอบรมวิชาชีพ และงานอื่นใดที่มิได้กาหนดให้เป็นหน้าท่ีของส่วนราชการใด ในสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ข) พัฒนาระบบงานและการบริหารงานบุคคลของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ค) ดาเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การพัสดุ งานอาคารสถานที่ งบประมาณ และ สินทรัพย์ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กาหนดและตรวจสอบมาตรฐานอาคาร งานออกแบบ และกอ่ สรา้ ง รวมทงั้ การประสานและส่งเสริมการดาเนินงานของสถานศกึ ษา (ง) ดาเนินงานเก่ียวกับการส่งเสริมสร้างวินัยและระบบคุณธรรม กฎหมาย นิติกรรมและสัญญา งานเก่ียวกับความรับผดิ ทางแพง่ อาญา งานคดปี กครอง และงานคดอี ่นื ทอี่ ยใู่ นอานาจหน้าท่ีของสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (จ) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องหรือท่ีได้รับ มอบหมาย แบ่งงานภายในออกเปน็ 5 กลมุ่ 1 สว่ น และ 1 ฝา่ ย ประกอบด้วย กกกกกก1. กล่มุ เลขานกุ ารสานกั งาน กกกกกก2. ฝุายบริหารงานทว่ั ไป กกกกกก3. กลุ่มประชาสมั พันธ์ กกกกกก4. ส่วนการคลังและพัสดุ กกกกกก5. กลุ่มมาตรฐานอาคารและส่งิ กอ่ สร้าง กกกกกก6. กลมุ่ บริหารงานบุคคล กกกกกก7. กลมุ่ นติ ิการ

โครงสรา้ งสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หน้าที่ | 44 มีหนา้ ทีแ่ ละความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. กล่มุ เลขานกุ ารสานักงาน (1) ดาเนินการและประสานงานเกี่ยวกับงานเลขานุการของผู้บริหาร อาทิ วิเคราะห์กล่ันกรอง สรปุ เรอื่ ง เพือ่ เสนอต่อผบู้ รหิ าร ตดิ ตามและรายงานผลตามทไี่ ด้ สั่งการ การลงเวลานดั และติดต่อประสานงานกับ บุคคล องค์กรท่ีเก่ียวข้อง ให้เป็นไปตามกาหนดการให้ข้อเสนอแนะเพ่ือผู้บริหารพิจารณาเกี่ยวกับการเชิญ เข้าร่วมเป็นที่ปรึกษา คณะกรรมการ ประธานในพิธีหรือการประชุม ทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งการ จัดทาบนั ทึกร่างโตต้ อบสารแสดงความยินดแี ละขอบคุณในโอกาสตา่ ง ๆ (2) ปฏิบัติงานในฐานะคณะทางานของเลขานุการคณะกรรมการการอาชีวศึกษารับผิดชอบงาน การศึกษา วิเคราะห์ จัดเก็บ รวบรวมข้อมูล ดาเนินการ ประสานงาน ติดตามและรายงานผลงานด้านต่าง ๆ ตามมติท่ปี ระชมุ คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา หรือคณะกรรมการฯมอบหมาย (3) ร่วมดาเนินการและประสานงานกับเลขานุการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และหน่วยงาน เกยี่ วกบั การจัดการประชุม บันทกึ การประชุม เผยแพร่รายงานการประชมุ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ (4) ร่วมดาเนินการและประสานงานในการประชุมผู้บริหารสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศกึ ษา อ.ก.พ. และ อ.ก.ค.ศ. สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ใหเ้ กิดประสทิ ธภิ าพสูงสดุ (5) ปฏบิ ัตงิ านอนื่ ๆ ท่เี กย่ี วข้องหรือได้รับมอบหมาย 2. ฝ่ายบริหารงานทั่วไป (1) ดาเนินการและประสานงานเกี่ยวกับงานบริหารหรือจัดการท่ัวไป งานสารบรรณ ธุรการ การรับและลงทะเบียนรับหนังสือจากหน่วยงานภายนอก ท้ังภาครัฐและเอกชน และสถานศึกษา การจัดทาบันทึกร่างโต้ตอบ ลงทะเบียนการยืม การเก็บรักษา การทาลายเอกสารการออกเลขท่ีคาสั่ง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หนังสือราชการ หนังสือประทับตราแทนการลงนาม รวมถึง บันทึกข้อความและส่งเอกสารหรือหนังสือราชการถึงส่วนราชการหรือหน่วยงานภายนอกสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา การเงินและงบประมาณ พัสดุ ครุภัณฑ์ ยานพาหนะ พิมพ์เอกสารราชการ และวิชาการ งานบุคลากร ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ฝึกอบรมและพัฒนางาน สถิติข้อมูลและระบบ เครอื ขา่ ยสารสนเทศตา่ ง ๆ (2) การออกเลขท่ีคาส่ังสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา คาสั่งของสานักอานวยการ และหนังสือส่งออกของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและสานักอานวยการ หรือผู้รักษาการลงนามแทน และส่งเอกสารหรือหนังสือราชการของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักอานวยการ ถึงส่วนราชการและหนว่ ยงานภายนอกสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา (3) วิเคราะห์ รวบรวม ติดตามรายงานผลการดาเนินงานและหรือปฏิบัติงานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรมและงบประมาณในภาพรวมของสานัก หน่วยงาน ท่ีไม่อยู่ในความรับผิดชอบของ กลุม่ หรือกลุม่ งานใดเปน็ การเฉพาะ (4) ดาเนินการและประสานงานเกี่ยวกับงานศูนย์ข้อมูลข่าวสาร งานสวัสดิการ และงาน มูลนิธิที่จัดตั้งโดยสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พร้อมทั้งงานพิธี งานรัฐพิธี กิจกรรมสาคัญ ของชาติ กิจกรรมสาคญั ของกระทรวงศึกษาธกิ ารและสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (5) งานเอกสารลับและเรื่องร้องเรียน ร้องทุกข์ท่ีไม่อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานใด โดยเฉพาะ (6) ปฏิบตั ิงานอ่ืนๆ ทีเ่ กีย่ วข้องหรือได้รบั มอบหมาย

โครงสร้างสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หนา้ ท่ี | 45 3. กลมุ่ ประชาสัมพันธ์ (1) วเิ คราะห์ ตดิ ตาม ประมวลข้อมูลขา่ วสาร รบั ฟังความคิดเหน็ และสารวจสาธารณมติ (2) พฒั นาระบบ กาหนดกลยทุ ธแ์ ละวิธีการประชาสมั พนั ธ์ (3) ดาเนินการและประสานงานเก่ียวกับการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อการประชาสัมพันธ์และการ สร้างความเขา้ ใจท่ีถูกต้อง เชน่ การแถลงขา่ ว สอื่ มวลชนสัญจร และการประชาสมั พันธ์ในสภาวะวิกฤต (4) สรา้ งเครือข่ายประชาสมั พันธ์กบั หนว่ ยงานและองค์กรตา่ ง ๆ ทั้งภายในและภายนอก (5) จัดให้มีการบริการข้อมูลข่าวสาร ผลงานและกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะกรรมการ การอาชวี ศึกษา และของสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาให้แก่ส่ือมวลชนและสาธารณชนทั่วไป (6) ส่งเสริม สนับสนุน ร่วมมือและให้ข้อเสนอแนะงานประชาสัมพันธ์แก่ภาครัฐภาคเอกชน และหรือหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้อง (7) ผลติ และเผยแพรส่ ่ือประชาสมั พนั ธแ์ ละให้บรกิ ารสื่อทัศนูปกรณ์ (8) ดาเนินการและประสานงานเกี่ยวกับศูนย์วิทยุส่ือสาร ระบบโทรศัพท์กลาง ท้ังภายใน และภายนอกของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (9) ปฏิบัตงิ านอนื่ ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งหรือได้รับมอบหมาย 4. ส่วนการคลงั และพัสดุ แบ่งออกเปน็ 4 กล่มุ งาน คือ 4.1 กลมุ่ งานการคลงั และระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (1) จัดทารายงานฐานะการเงินและงบการเงินในภาพรวมของสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา เพื่อรายงานต่อองค์กรภายนอก พร้อมท้ังสรุปและวิเคราะห์งบการเงินเสนอต่อผู้บริหาร ทกุ ระดบั (2) จดั ทาบัญชตี ้นทนุ ผลผลิต และควบคมุ รายงานงบประมาณการใชจ้ ่ายเงิน (3) พฒั นาระบบบญั ชี ทะเบียนควบคุมตา่ งๆ ใหป้ ฏบิ ัติเปน็ แนวเดยี วกนั (4) ดูแล การบริหารงบประมาณ การเบิกจ่ายงบประมาณและเงินต่างๆ ในส่วน ทเ่ี กย่ี วข้องของสานักงานฯ และสถานศึกษาในระบบ GFMIS (5) ควบคมุ ศูนย์ปฏิบัติการ GFMIS สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ศูนย์ Help Desk และ Call Center ให้ปฏิบัติงานสนับสนุนสถานศึกษาด้านระเบียบต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องกับระบบ Excel Loader และบรหิ ารหอ้ งขา่ วใน www.vec.go.th และ www.boga.go.th เพื่อการประชาสมั พันธ์ (6) ดาเนินการขอทาความตกลงกับกรมบัญชีกลาง สานักงานการตรวจเงินแผ่นดิน และสานักงบประมาณ เพ่ือให้การปฏิบัติงานถูกต้องตามระเบียบ อาทิ การขออนุมัติใช้เงินรายได้และการ เบิกจ่ายเงินรายได้ของสถานศึกษาในสังกัด การปรับปรุงระเบียบและแนวทางในการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบและข้อบังคับท่ีเก่ียวกับการเบิกจ่ายเงินรายได้ของสถานศึกษาของรัฐ ท่ีไม่เป็นนิติบุคคล และระเบียบราชการอื่น ๆ การถอนคืนคา่ ปรับเปน็ รายไดแ้ ละอน่ื ๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง (7) ศึกษาวิเคราะห์ กฎระเบียบวิธีปฏิบัติด้านการคลังและระบบอิเล็กทรอนิกส์เพ่ือให้ การบริหารจดั การเปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ เปาู หมาย และมีประสทิ ธภิ าพสงู ข้นึ (8) จัด รวบรวม องค์ความรู้ท่ีเก่ียวกับงานในหน้าที่ความรับผิดชอบเพ่ือจัดทาเป็นคู่มือ แนวทางหรอื สือ่ ประเภทอ่นื ๆ ในการใหบ้ ริการและเผยแพรส่ สู่ าธารณะ (9) ให้คาปรกึ ษา แนะนา ช้แี จงเกย่ี วกับงานในหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ (10) ปฏิบตั ิงานอื่นๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องหรือไดร้ บั มอบหมาย

โครงสรา้ งสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา หน้าที่ | 46 4.2 กลุ่มงานการเงิน (1) ดาเนินการ ประสานงาน ด้านการเงิน เก่ียวกับการรับจ่ายเงินงบประมาณ เงินนอก งบประมาณ เงินทุน กองทุน มูลนิธิ เงินฌาปนกิจสงเคราะห์และ เงินสวัสดิการต่างๆ การเก็บรักษาเงิน หลกั ฐานแทนตัวเงนิ นาเงนิ สง่ คลงั นาฝากเงนิ เบิกเงนิ โอนเงินงบบุคลากรและเงินอ่ืนๆ จัดทาทะเบียนรับ จา่ ยเงนิ สด เช็ค ใบเสร็จรับเงินและตรวจสอบรายงานเงินคงเหลือประจาวัน พร้อมทั้งติดตามและรายงาน ผล (2) ประสานงานกับธนาคารและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ด้านการเงิน การแจ้งผล การกู้เงิน และติดตามการชาระหนึ้ของการกู้เงิน เพื่อที่อยู่อาศัย โครงการเงินกู้สวัสดิการไม่มีเงินฝากและสินเชื่อ สวัสดกิ ารต่างๆ ใหก้ บั ข้าราชการ ลูกจ้างประจาและพนักงานราชการท้งั ในสว่ นกลางและสว่ นภมู ิภาค (3) ดาเนินการและประสานงานเก่ียวกับการหักและจ่ายหนี้ของข้าราชการและลูกจ้าง ในสงั กดั ทง้ั สว่ นกลางและสว่ นภมู ภิ าค (4) ศึกษา วเิ คราะห์ กฎ ระเบยี บ วธิ ีปฏบิ ัติดา้ นการเงิน เพอื่ ใหก้ ารบริหารจัดการเป็นไปตาม วัตถปุ ระสงค์ เปูาหมายและมีประสทิ ธภิ าพสูงขน้ึ (5) จัด รวบรวม องค์ความรู้ที่เกี่ยวกับงานในหน้าท่ีความรับผิดชอบเพื่อจัดทาเป็นคู่มือ แนวทางหรอื ส่อื ประเภทอนื่ ๆ ในการใหบ้ ริการและเผยแพร่ส่สู าธารณะ (6) ให้คาปรกึ ษา แนะนา ชแ้ี จงเก่ยี วกับงานในหนา้ ท่คี วามรับผิดชอบ (7) ปฏิบัตงิ านอนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วข้องหรอื ได้รบั มอบหมาย 4.3 กลุม่ งานเบกิ จา่ ยงบประมาณ (1) ดาเนินการ ประสานงานด้านงบประมาณเก่ียวกับการเบิกจ่าย การใช้จ่ายเงิน การเบิกเกินจ่ายคืน การเบิกหักผลักส่งเงินงบประมาณ งบบุคลากร งบกลางเงินสวัสดิการ ค่ารักษาพยาบาลการศึกษาบุตร บาเหน็จบานาญ บาเหน็จตกทอด เงินทดแทนต่างๆ งบเงินอุดหนุน งบรายจา่ ยอื่น ๆ รวมทง้ั การกนั เงนิ ขยายเงนิ กันไว้เบกิ จ่ายเหล่อื มปีและการเบกิ เงินงบประมาณแทนกัน (2) จัดเก็บรวบรวมข้อมูลเคลื่อนไหวของเงินรายได้และเงินควบต่าง ๆ ที่จ่ายในลักษณะ เดียวกบั เงินเดอื น อาทิ ยา้ ย บรรจุ แต่งตั้ง ถึงแก่กรรม ลาออก เกษียณ เลื่อนขั้น ปรับระดับ เปลี่ยนแปลง ข้อมูล เพ่ือการลดหย่อนภาษี ข้อมูลส่วนบุคคลให้กับข้าราชการและลูกจ้างประจา ท้ังในส่วนกลางและ ส่วนภมู ิภาค (3) ดาเนินการและประสานงานกับกรมบัญชีกลางในการขอโอนเงินโครงการจ่ายตรง บาเหน็จบานาญ บาเหน็จตกทอดของข้าราชการและลูกจ้างประจาและข้อหารือ ข้อตกลงกับหน่วยงาน ทเี่ กยี่ วขอ้ งเก่ยี วกับการเบิกจา่ ยงบประมาณ ท้ังในส่วนกลางและสว่ นภมู ิภาค (4) สรุประเบียบ หลักเกณฑ์ท่ีเกี่ยวข้อง กาหนดมาตรการประหยัดเสนอผู้บริหารเห็นชอบ และแจง้ เวยี นเพ่ือถอื ปฏิบัติ (5) ศึกษา วิเคราะห์ กฎ ระเบียบ วิธีปฏิบัติด้านการงบประมาณ เพื่อให้การบริหารจัดการ เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ เปูาหมาย และมปี ระสิทธิภาพสูงข้ึน (6) จัด รวบรวม องค์ความรู้ที่เกี่ยวกับงานในหน้าท่ีความรับผิดชอบเพื่อจัดทาเป็นคู่มือ แนวทางหรอื ส่ือประเภทอนื่ ๆ ในการให้บรกิ ารและเผยแพร่สสู่ าธารณะ (7) ให้คาปรึกษา แนะนา ชแ้ี จงเกีย่ วกับงานในหน้าทค่ี วามรับผิดชอบ (8) ปฏิบัตงิ านอ่นื ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ งหรอื ไดร้ บั มอบหมาย

โครงสรา้ งสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา หน้าที่ | 47 4.4 กลุ่มงานพัสดแุ ละสนิ ทรัพย์ (1) ดาเนินการ ประสานงานด้านการพัสดุ เกี่ยวกับการจัดซื้อ จัดหา จัดจ้าง การควบคุม จาหน่ายพัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดินและส่ิงก่อสร้าง การจ้างเหมาบริการ การจัดทาทะเบียนควบคุมและ บารุงรกั ษาพัสดุตา่ ง ๆ ตามกฎ ระเบียบ วิธีปฏบิ ตั ทิ ี่กาหนดไว้ (2) ดาเนินการและประสานงานเกี่ยวกับการขอใช้ที่ดินที่ราชพัสดุและอาคารราชพัสดุ ของสถานศึกษา และการโอนพสั ดุ ครุภณั ฑ์ (3) สร้างข้อมลู หลกั เกยี่ วกบั การบรหิ ารจัดการตามระเบียบพัสดุในระบบอิเล็กทรอนิกส์ (4) ดูแลการใช้ใบเสร็จรับเงินของสถานศึกษา การจัดทาเคร่ืองหมายตอบแทนให้แก่ ผู้ช่วยเหลือราชการ และการขอมโี ทรศัพทเ์ คลอื่ นทขี่ องข้าราชการในสว่ นกลาง (5) ดูแลยานพาหนะและพนักงานขับรถยนต์ การประกันภัยรถยนต์ การจดทะเบียน ต่อทะเบยี นยานพาหนะ (6) ศึกษา วิเคราะห์ กฎ ระเบียบ วิธีปฏิบัติด้านการพัสดุ เพ่ือให้การบริหารจัดการเป็นไป ตามวตั ถุประสงค์ เปาู หมายและมปี ระสทิ ธิภาพสงู ขน้ึ (7) จัด รวบรวม องค์ความรู้ที่เกี่ยวกับงานในหน้าท่ีความรับผิดชอบเพื่อจัดทาเป็นคู่มือ แนวทางหรือสอื่ ประเภทอื่น ๆ ในการใหบ้ รกิ ารและเผยแพรส่ ่สู าธารณะ (8) ให้คาปรึกษา แนะนา ชี้แจงเก่ียวกับงานในหนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบ (9) ปฏิบัติงานอืน่ ๆ ท่ีเก่ยี วข้องหรอื ได้รบั มอบหมาย 5. กลมุ่ มาตรฐานอาคารและส่ิงกอ่ สร้าง แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มงาน คอื 5.1 กลุม่ งานมาตรฐานสถาปตั ยกรรม (1) ดาเนินการ ประสานงานและพฒั นา มาตรฐานงานออกแบบด้านสถาปัตยกรรม (2) จัด รวบรวม องค์ความรทู้ ตี่ รงหรือเกี่ยวกับงานในหน้าท่ีความรับผิดชอบ เพื่อจัดทา เปน็ คมู่ ือ แนวทางหรือสอื่ ประเภทอื่น ๆ ในการใหบ้ รกิ ารและเผยแพร่ส่สู าธารณะ (3) ให้คาปรึกษา แนะนา แก้ไข แบบรปู รายการด้านสถาปตั ยกรรม (4) ปฏบิ ตั งิ านอนื่ ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ งหรอื ไดร้ ับมอบหมาย 5.2 กลุ่มงานมาตรฐานวศิ วกรรม (1) ดาเนินการ ประสานงานและพฒั นา มาตรฐานงานออกแบบดา้ นวศิ วกรรม (2) จดั รวบรวม องค์ความรู้ที่เก่ียวกับงานในหน้าท่ีความรับผิดชอบเพ่ือจัดทาเป็นคู่มือ แนวทางหรือส่ือประเภทอื่น ๆ ในการให้บริการและเผยแพรส่ ู่สาธารณะ (3) ให้คาปรึกษา แนะนา แกไ้ ข แบบรูปรายการด้านวศิ วกรรม (4) ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ที่เกยี่ วข้องหรือได้รบั มอบหมาย 5.3 กล่มุ งานมาตรฐานการกอ่ สร้าง (1) ดาเนินการ ประสานงานและพัฒนาการก่อสร้างอาคารทุกชนิดทุกประเภท ให้เป็นไปตามมาตรฐานอาคารแต่ละประเภท (2) ให้คาปรึกษา แนะนา แก้ไข การก่อสร้างงานทุกประเภทให้สอดคล้องกับมาตรฐาน ที่กาหนด (3) ดูแล ซ่อมบารุงอาคาร สถานท่ี ระบบสาธารณูปโภค และส่ิงแวดล้อมท่ีอยู่ใน สว่ นกลางของสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook