Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชาหลักการเงิน

รายวิชาหลักการเงิน

Published by kitthanachon01, 2021-11-25 13:17:55

Description: เอกสารประกอบการสอน วิชาหลักการเงิน

Search

Read the Text Version

36 แบบฝึกหัด ข้อ 1 สมการบญั ชี คือ ขอ้ 2 งบการเงิน หมายถงึ ประกอบด้วยอะไรบา้ ง ขอ้ 3 ให้ระบุวา่ ชื่อบัญชที ่ใี ห้มาน้ีเปน็ บัญชีในหมวดใด และแสดงอยูใ่ นงบการเงินใด โดยให้ทา เคร่อื งหมาย  ในช่องวา่ งท่ีกาหนดให้ หมวดบญั ชี งบการเงิน ส่วน ชื่อบัญชี สินทรพั ย์ หน้สี นิ ของ รายได้ คา่ ใชจ้ ่าย งบดุล งบกาไร ขาดทุน เจ้าของ เงนิ สด ต๋วั เงินรับ ลูกหนี้ คา่ โฆษณา อาคาร คา่ ใช้จ่ายเบด็ เตลด็ ภาษเี งินได้ ค่าเช่า คา่ เบี้ยประกนั ภัยจา่ ย ล่วงหนา้ สนิ คา้ คงเหลือ ทดี่ ิน ซอ้ื สินคา้ สว่ นลดรบั เครอ่ื งจักร ดอกเบีย้ จา่ ย คา่ เช่ารบั ลว่ งหนา้ คา่ สาธารณูปโภค ถอนใช้สว่ นตวั ห้นุ สามัญ สว่ นลดจ่าย ขายสนิ คา้ รายไดค้ า่ บรกิ าร

37 ขอ้ 4 จงเติมตัวเลขลงในชอ่ งว่างตามสมการบัญชี 25,000 = 20,000 + 32,000 50,000 = + 46,000 70,500 = + 107,000 = 84,000 = 89,000 + 55,000 = 67,000 + 19,000 = 5,500 + 35,200 = 83,000 + 35,500 + ข้อ 5 อู่เจียงการช่าง ไดร้ วบรวมรายละเอียดของสนิ ทรพั ย์ หนี้สนิ และสว่ นของเจา้ ของ ดงั นี้ (ให้นักศึกษาคานวณหาส่วนของเจา้ ของ) เงนิ สด 50,000 เจา้ หน้ีการคา้ 40,000 ลกู หนี้ 15,000 เงนิ กู้ 1,000,000 สนิ คา้ คงเหลือ 62,000 ทีด่ นิ 500,000 อาคาร 400,000 อปุ กรณ์การช่าง 600,000 ข้อ 6 เม่ือวันที่ 31 ธันวาคม 2557 นายบุญชู มีรายการเกี่ยวกบั สนิ ทรัพย์ หน้ีสนิ และส่วนของ เจ้าของ ดังนี้ เงนิ สด 64,900 เงนิ ฝากธนาคาร 183,200 เจา้ หน้ี 40,400 ลกู หนี้ 18,700 รถยนต์ 460,000 อาคาร 875,000 ต๋วั เงนิ จ่าย 210,000 ให้ทา 1. คานวณหาสินทรัพย์ 2. คานวณหาหนส้ี ิน 3. คานวณหาสว่ นของเจา้ ของ 4. งบดุล

38 ข้อ 7 ต่อไปน้ีเปน็ ยอดคงเหลือจากบัญชีต่างๆ ของรา้ นกานดาการช่าง สาหรับงวด 1 ปี สิ้นสุด วันท่ี 31 ธนั วาคม 25xx เงนิ สด 450,000 เงนิ ฝากธนาคาร 650,000 ลกู หน้กี ารคา้ 30,000 วัสดใุ นการซอ่ ม 32,000 เครือ่ งมืออุปกรณ์ในการซ่อม 245,000 เคร่อื งใช้สานักงาน 108,000 เจ้าหนก้ี ารคา้ 200,000 เงนิ กจู้ านอง 250,000 ทนุ – กานดา 300,000 รายไดค้ ่าบริการ 784,000 ค่าเช่า 4,900 ดอกเบย้ี จา่ ย 6,000 คา่ โฆษณา 1,800 ค่าสาธารณูปโภค 4,000 ค่าใช้จา่ ยเบ็ดเตล็ด 2,300 ใหท้ า 1. งบดลุ 2. งบกาไรขาดทนุ ขอ้ 8 ร้านค้าแหง่ หนึง่ มีข้อมูล ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25xx ดังนี้ เงนิ สด 45,000 ตว๋ั เงินรับ 20,000 เงินฝากธนาคาร 150,000 เงนิ กูร้ ะยะส้ัน 70,000 ลกู หน้ี 84,400 ทดี่ ิน 500,000 รายไดร้ บั ล่วงหน้า 52,000 อาคาร 1,000,000 อุปกรณส์ านักงาน 35,000 เงินกู้จานอง 950,000 รถบรรทกุ 240,000 ค่าเบีย้ ประกันจ่ายล่วงหน้า 22,000 วัสดุสานกั งาน 35,000 ค่าเชา่ คา้ งจ่าย 8,300 ลิขสิทธิ์ 100,000 เจ้าหนี้ 13,000 ถอนใชส้ ่วนตัว 5,000 ทุน 90,000 คา่ สาธารณูปโภค 640,000 คา่ เสือ่ มราคา–อุปกรณส์ านักงาน 500,000 ตน้ ทุนขาย 3,900 ค่าเสอื่ มราคา-รถบรรทุก 3,500 คา่ ขนส่ง 4,500 ขายสนิ คา้ 24,000 ดอกเบ้ยี จ่าย 40,000 ให้ทา 1. งบดลุ 1,285,600 สนิ คา้ คงเหลือ 2. งบกาไรขาดทุน

ข้อ 9. บริษัทแหง่ หนึ่ง มขี ้อมูล ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25x1 ดังน้ี 39 เงินสด 800,000 เงนิ ฝากธนาคาร 1,354,000 อาคาร 2,400,000 สินคา้ คงเหลอื ต้นทนุ ขาย 672,240 ลูกหนกี้ ารคา้ 2,755,000 ดอกเบ้ยี จ่าย เงนิ กยู้ ืมระยะยาว 380,000 อปุ กรณ์ 70,000 ค่าไฟฟ้า 500,000 ทุนเรือนหุ้น 450,000 ค่าขนสง่ 25,000 ค่าโทรศัพท์ 2,000,000 ค่าเส่อื มราคา – อาคาร 8,000 ค่าเส่ือมราคา – อุปกรณ์ 18,000 ขายสินคา้ 120,000 เจา้ หน้ี 90,000 ค่าใช้จา่ ยคา้ งจา่ ย 4,975,240 กาไรสะสมต้นงวด 600,000 อตั ราภาษีเงนิ ไดน้ ติ ิบุคคล 15% 12,000 ให้ทา 1. งบกาไรขาดทนุ 1,055,000 2. งบดุล 3. งบกาไรสะสม

40 ข้อ 10 จากงบดลุ ของสานักงานวันเพ็ญจดั หางาน จงเติมตวั เลขท่ีหายไปใหส้ มบูรณ์ สานักงานวันเพ็ญจดั หางาน งบดุล ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x1 สนิ ทรัพย์ หน้ีสินและสว่ นของเจา้ ของ สินทรพั ย์หมุนเวียน : หนสี้ ินหมนุ เวียน : เงินสด 72,000 เงินก้รู ะยะสน้ั 54,000 เงินฝากธนาคาร 111,800 เจ้าหนี้ 20,000 ลกู หน้ี 34,000 คา่ สาธารณูปโภคคา้ งจา่ ย 9,800 ตว๋ั เงินรับ 23,000 หนีส้ นิ ไม่หมุนเวียน : สนิ คา้ คงเหลือ 250,500 เงนิ ก้จู านอง 400,000 สินทรัพย์ไมห่ มุนเวยี น : สว่ นของเจ้าของ : เงินลงทนุ ระยะยาว 200,000 ทุน ท่ีดนิ และอาคาร 500,000 บวก กาไรสุทธิ 95,000 อุปกรณ์สานกั งาน 130,000 หกั ถอนใช้สว่ นตัว 59,100 เครอื่ งตกแตง่ 75,000 รถยนต์ 14,700 รวมสนิ ทรพั ย์ รวมหนี้สินและสว่ นของเจา้ ของ

41 เอกสารอา้ งองิ ดวงสมร อรพินท์. (2557). การบัญชีการเงิน. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ แห่ง จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ธารี หริ ญั รศั มี และคณะ. (2558). การบัญชีเบอ้ื งต้น. (พมิ พ์ครง้ั ท่ี 9). กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นรนี ชุ เมฆวชิ ยั . (2541). การบญั ชกี ารเงิน. มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ. พรสิริ ปณุ เกษม และคณะ (2549). การบญั ชเี งินเงนิ . กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์แมคกรอ-ฮิล. รตั นา เธียรวศิ ิษฏส์ กลุ . (2546). การบญั ชีการเงนิ . กรงุ เทพฯ: สานกั พมิ พท์ อ้ ป จากดั . อัมพร เที่ยงตระกูล และคณะ. (2554). การบัญชีการเงิน. กรงุ เทพฯ: สานักพิมพแ์ มคกรอ-ฮิล. อรุณี ยางธารา. (2557). การบัญชีการเงิน. (พิมพ์ครั้งท่ี 21). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

42 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3 หัวข้อเนอื้ หาประจาบทที่ 3 รายการค้าและการบันทกึ บัญชี 1. วงจรบัญชี 2. รายการคา้ และการวเิ คราะหร์ ายการคา้ 3. หลักการบญั ชีคู่ 4. สมดุ รายวัน 5. สมดุ บญั ชีแยกประเภท 6. งบทดลอง วตั ถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ 1. สามารถวิเคราะหร์ ายการค้าได้ถกู ต้อง 2. สามารถบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป และผ่านรายการไปสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ไดถ้ ูกต้อง 3. สามารถจดั ทางบการเงนิ ไดถ้ กู ต้อง กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. บรรยาย 2. ฝึกปฏิบัติโดยยกตัวอยา่ ง 3. ทาแบบฝกึ หัดรายบุคคล ส่ือการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เอกสารแบบฟอรม์ ประกอบการบนั ทึกบัญชี 3. เอกสารตัวอยา่ ง 4. กระดานดา 5. Power Point Presentation 6. แบบฝกึ หัด การวัดผลและประเมนิ ผล 1. ซักถามปัญหานักศึกษาเพอ่ื ให้มีความเข้าใจมากยิ่งขนึ้ 2. ตรวจสอบความถูกตอ้ งจากแบบฝึกหดั

บทที่ 3 รายการคา้ และการบันทึกบัญชี ในการประกอบธุรกิจทุกประเภทน้ัน ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจประเภทใดก็ตามล้วนแล้วแต่จะต้องมี รายการค้าเกิดข้ึน ดังน้ันทุกธุรกิจจะต้องวิเคราะห์รายการค้า มีการจดบันทึกรายการหรือเหตุการณ์ท่ี เกิดข้ึนลงในสมุดรายวันข้ันต้นและสมุดรายวันข้ันปลาย แล้วนาเสนอข้อมูลโดยการจัดทารายงานทาง การเงินเพ่ือใช้ประกอบการตัดสนิ ใจตอ่ ไป วงจรบญั ชี (The Accounting Cycle) นกั วิชาการไดใ้ ห้ความหมายของวงจรบัญชี (Accounting Cycle) ไวห้ ลายทัศนะดังน้ี สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ และ สมเดช โรจน์คุรีเสถยี ร (2552: 62) ให้ความเห็นว่า วงจรบัญชี หมายถึง ข้ันตอนในการจดบันทึกรายการค้าที่เกิดข้ึนลงในสมุดบัญชีต่างๆ จนถึงการตรวจสอบความ ถกู ต้องในการจดบันทึกบัญชี การปิดบัญชีตลอดจนการจัดทารายงาน เกี่ยวกับผลการดาเนินงานและ ฐานะการเงินของกิจการ สมาคมนกั บัญชแี ละผ้สู อบบญั ชีรบั อนุญาตแห่งประเทศไทย (2538 : 5) กลา่ วไวว้ ่า วงจรบัญชี หมายถงึ ลาดบั ข้ันตอนทางการบญั ชเี ร่ิมจากการบันทกึ รายการบญั ชที เี่ กิดข้ึนจนถงึ การเสนอรายงาน ทางการเงินของรอบระยะเวลาบญั ชหี นึง่ ๆ เบญจมาศ อภิสิทธ์ิภิญโญ (2552 : 256) กล่าวไว้ว่า วงจรบัญชี หมายถึง ขั้นตอนของ กระบวนการทางบัญชีท่ีทาให้ได้มาซ่ึงงบการเงินในรอบระยะเวลาปีบัญชีหนึ่งๆ วงจรบัญชีนั้นจะเร่ิมจาก การวิเคราะห์รายการค้า หรือเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจการบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไป การผ่าน รายการไปยังสมุดบัญชีแยกประเภทท่ัวไป การจัดทางบทดลอง การปรับปรุงและแก้ไขข้อผิดพลาดใน สมุดรายวันท่ัวไปและผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภทท่ีเก่ียวข้อง การจัดทางบทดลองหลังการ ปรับปรุงการจัดทางบการเงิน (งบกาไรขาดทุน งบดุล) การปิดบัญชีในสมุดรายวันท่ัวไปและผ่านบัญชี แยกประเภทที่เกี่ยวข้อง และการจัดทางบทดลองหลังการปิดบัญชีเพื่อหายอดคงเหลือยกไปของ สนิ ทรัพย์ หนี้สิน และสว่ นของเจ้าของและนาไปเปดิ บญั ชใี นปีบญั ชีถดั ไป จากความหมายวงจรบัญชีดังกล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า วงจรบัญชี หมายถึง ข้ันตอนในการจดบันทึก รายการทีเ่ กิดขึ้นในสมุดบญั ชีตา่ งๆ เริ่มตั้งแต่การวิเคราะห์รายการคา้ เพื่อนารายการค้ามาบนั ทึกบัญชี ในสมุดรายการข้ันต้น สมุดรายการขั้นปลาย รายการปรับปรุง งบทดลองสรุปผลการดาเนินงาน และฐานะ ทางการเงนิ ของกจิ การ วงจรบัญชี หมายถึง ขัน้ ตอนท้งั หมดในการทาบัญชี สามารถสรุปเป็นรูปภาพ ดงั น้ี

44 วเิ คราะหร์ ายการค้า จัดทางบทดลองหลังปิดบัญชี บนั ทึกบญั ชีลงในสมดุ รายวนั บนั ทึกรายการปดิ บญั ชใี นสมุดรายวันท่ัวไป ผ่านรายการไปบญั ชีแยก และผ่านรายการไปยังแยกประเภททวั่ ไป ประเภท จัดทางบการเงนิ : งบกาไรขาดทนุ จดั ทางบทดลอง งบดลุ งบกาไรสะสม บนั ทึกรายการปรบั ปรงุ และ จัดทางบทดลองหลงั ปรับปรงุ ผา่ นรายการไปยงั แยกประเภท ภาพที่ 3.1 วงจรบญั ชี ท่มี า: เบญจมาศ อภสิ ิทธ์ภิ ญิ โญ. (2552: 256) รายการค้าและการวเิ คราะหร์ ายการคา้ 1. รายการค้า หมายถึง รายการหรอื เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหวา่ งกิจการกับบุคคลอ่ืนทีม่ ผี ลทา ให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงในสินทรัพย์ หนสี้ นิ และส่วนของเจา้ ของ ที่สามารถวดั มูลค่าเปน็ ตัวเงินไดไ้ มว่ ่า รายการดังกล่าวจะมีการชาระเงินหรือยงั มิได้ชาระเงนิ ก็ตาม (ธารี หริ ญั รัศมี และคณะ. 2558 : 54 - 55) 1.1 เจ้าของกิจการนาเงินสดและสินทรัพยอ์ น่ื มาลงทนุ 1.2 ซ้อื สินทรัพยอ์ น่ื ๆ มาใช้ในกิจการเป็นเงินสดหรือเงินเชอ่ื 1.3 ซ้ือสนิ คา้ เป็นเงนิ สดหรือเงนิ เชอ่ื 1.4 ขายสินค้าเป็นเงนิ สดหรือเงนิ เช่อื 1.5 ขายบริการเปน็ เงินสดหรอื เงินเชื่อ 1.6 รับชาระหน้ี 1.7 จ่ายชาระหนี้ 1.8 กู้เงิน 1.9 เจ้าของกิจการถอนเงินสดไปใชส้ ว่ นตวั 1.10 จ่ายค่าใชจ้ า่ ยต่างๆ

45 2. รายการท่มี ิใชร่ ายการคา้ รายการทไ่ี ม่กอ่ ให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงในสนิ ทรัพย์ หน้ีสิน และ ส่วนของเจ้าของ (วิทยาลัยชุมชนระนอง เว็บไซต์ http://www.rncc.ac.th/Media/acc/sudarat_ 2015/4.pdf : 12082560) เช่น 2.1 การสัง่ ซ้ือสินค้า 2.2 การตอ้ นรับลูกคา้ 2.3 การตกแต่งร้านให้ดสู วยงาม 3.การวเิ คราะห์รายการคา้ เม่ือมรี ายการค้าเกดิ ขึน้ กิจการจะตอ้ งทาการวิเคราะห์รายการค้า เพื่อนารายการทีเ่ กดิ ขนึ้ ไปบนั ทกึ บัญชี โดยหลกั ในการวเิ คราะห์รายการค้าทีเ่ กิดขนึ้ ต้องยึดหลกั สมการบญั ชี ตวั อยา่ งท่ี 3.1 2557 ม.ค. 1 นาย ก นาเงนิ สดมาลงทนุ 80,000 บาท 2 ซอื้ เครื่องตกแตง่ เปน็ เช่ือ 10,000 บาท 6 ได้รบั เงนิ คา่ บริการ 95,000 บาท 14 จา่ ยค่าโฆษณา 5,000 บาท 20 จ่ายชาระหน้ีค่าเครื่องตกแต่งครึ่งหนึ่ง 31 จ่ายเงนิ เดือน 17,000 บาท วเิ คราะหร์ ายการคา้ วนั ที่ 1 มกราคม นาย ก นาเงินสดมาลงทุน 80,000 บาท สนิ ทรพั ย์ = หนสี้ นิ + ส่วนของเจ้าของ เงินสด = - + ทนุ 80,000 = 0 + 80,000 วันที่ 2 มกราคม ซื้อเครอ่ื งตกแต่งเป็นเชือ่ 10,000 บาท สินทรัพย์ = หนี้สิน + สว่ นของเจา้ ของ เงินสด+เครื่องตกแต่ง = เจา้ หน้ี + ทุน 80,000+10,000 = 10,000 + 80,000 วันท่ี 6 มกราคม ได้รับเงนิ คา่ บริการ 95,000 บาท สนิ ทรพั ย์ = หน้สี ิน + สว่ นของเจ้าของ เงนิ สด+เครอื่ งตกแตง่ = เจา้ หน้ี + ทนุ +รายได้คา่ บริการ 175,000+10,000 = 10,000 + 80,000+95,000 วนั ท่ี 14 มกราคม จ่ายค่าโฆษณา 5,000 บาท สินทรัพย์ = หน้ีสนิ + สว่ นของเจ้าของ เงนิ สด+เครอ่ื งตกแต่ง = เจ้าหน้ี + ทนุ +รายได้คา่ บริการ-คา่ โฆษณา 170,000+10,000 = 10,000 + 80,000+95,000-5,000

46 วนั ท่ี 20 มกราคม จ่ายชาระหน้ีค่าเครื่องตกแตง่ คร่ึงหน่ึง สินทรพั ย์ = หน้ีสิน + สว่ นของเจา้ ของ เงนิ สด+เครือ่ งตกแต่ง = เจา้ หนี้ + ทนุ +รายได้ค่าบริการ-ค่าโฆษณา 165,000+10,000 = 5,000 + 80,000+95,000-5,000 วนั ที่ 31 มกราคม จา่ ยเงนิ เดือน 17,000 บาท สนิ ทรัพย์ = หนีส้ ิน + สว่ นของเจ้าของ เงินสด+เครื่องตกแตง่ = เจา้ หนี้ + ทนุ +รายไดค้ ่าบริการ-ค่าโฆษณา-เงนิ เดือน 148,000+10,000 = 5,000 + 80,000+95,000-5,000-17,000 ตารางที่ 3.1 วิเคราะหร์ ายการค้าในรปู แบบตารางของร้านตุ๊กตา หนสี้ ิน สว่ นของเจ้าของ วันที่ รายการคา้ สินทรพั ย์ เพิม่ ลด เพมิ่ ลด เพิม่ ลด ทุน 2557 ตกุ๊ ตานาเงินสดมาลงทนุ เงนิ สด 100,000 ม.ค.1 100,000 บาท 100,000 5 ซอื้ สินคา้ เป็นเชื่อ 40,000 เจ้าหน้ี ซื้อ บาท 40,000 40,000 14 ขายสินค้าเปน็ เงนิ เชือ่ ลกู หนี้ ขาย 60,000 บาท 60,000 60,000 17 ซือ้ อุปกรณ์ 23,000 บาทเป็น อุปกรณ์ เงนิ สด เงนิ สด 23,000 23,000 20 จ่ายค่าเช่า 15,000 บาท เงินสด คา่ เชา่ 15,000 15,000 23 ขายสนิ ค้าเปน็ เงนิ สด เงนิ สด ขาย 100,000 บาท 100,000 100,000 24 นาเงินสดฝากธนาคาร30,000 ธนาคาร เงินสด บาท 30,000 30,000 25 กู้เงนิ จากธนาคาร 50,000 เงนิ สด เงินกู้ บาท 50,000 50,000 31 จ่ายเงนิ เดือน 24,000 บาท ธนาคาร เงินเดอื น ดว้ ยเชค็ 24,000 24,000

47 หลักการบญั ชคี ู่ หลังจากวิเคราะห์รายการค้าเสร็จแล้วจะตอ้ งนารายการค้าท่ีเกิดขึ้นมาบันทึกบัญชีโดยการใช้ หลกั บัญชคี ู่ นกั วชิ าการได้ใหค้ วามหมายของหลกั การบัญชีคู่ (Double Entry) ไว้หลายทศั นะ ดงั นี้ Jerry J. Weygandt et al. (2013 : 52) ให้ความเห็นวา่ เดบิต จะถูกระบุให้อยู่ด้านซ้ายของ บัญชีและเครดิตจะถูกระบุให้อยู่ด้านขวาของบัญชี ตัวย่อของ debit คือ Dr. ตัวย่อของ credit. คือ Cr. ท้ัง 2 คาไม่ได้หมายถึงการเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามท่ีเป็นอยู่ เราใช้คาเดบิตและเครดิตซ้าในข้ึนตอน การบนั ทกึ เพอ่ื อธบิ ายทีร่ ายการทเ่ี กิดขึ้นในทางบัญชี นพิ ันธ์ เห็นโชคชยั ชนะ และคณะ (2554 : 3 - 15) กล่าวไวว้ ่า หลักการบัญชีคู่ หมายถึง หลกั ท่วี ่า ดว้ ยการบนั ทึกบญั ชแี ตล่ ะรายการ โดยยอดรวมทางด้านเดบิตจะต้องเท่ากับยอดรวมทางด้านเครดิตเสมอ วัฒนา ศิวะเก้ือ และคณะ (2556: 48) กล่าวไว้ว่า หลักการบัญชีคู่ หมายถึง รายการค้าทุก รายการท่ีเกิดขึ้นจะต้องนามาลงบัญชี 2 ด้านเสมอ คือ ด้านเดบิตและด้านเครดิต อาจเป็นการเดบิต บัญชีหน่ึงบัญชี และเครดิตบัญชีอีกหน่ึงบัญชี หรืออาจเดบิตบัญชีมากกว่าหน่ึงบัญชีและเครดิตบัญชี มากกว่าหนึ่งบัญชีก็ได้ แต่ข้อสาคัญของหลักการบัญชีคู่อีกประการหนึ่ง คือ การบันทึกรายการค้าทุก รายการ จานวนเงนิ ที่เดบติ บัญชที ุกบัญชีรวมกันจะต้องเทา่ กับจานวนเงินที่เครดติ บัญชที กุ บัญชีรวมกัน จากความหมายหลักการบัญชีคู่ดังกล่าวข้างต้นสรุปได้ว่า หลักการบัญชีคู่ หมายถึง การนา รายการค้าที่เกิดข้ึนทุกรายการมาบันทึกบัญชีซ่ึงทาให้เกิดผลกระทบ 2 ด้านเสมอ คือ ด้านเดบิตและ ดา้ นเครดติ ดังน้ี 1. ด้านเดบิต (Debit) หรือ สามารถใช้ตัวย่อว่า “Dr.” เป็นด้านที่ใช้บันทึกรายการเพิ่มขึ้นของ สินทรัพย์ การลดลงของหน้ีสิน การลดลงของส่วนของเจ้าของ การเพ่ิมข้ึนของคา่ ใช้จ่ายและการลดลง ของรายได้ 2. ด้านเครดิต (Credit) หรือ สามารถใช้ตัวย่อว่า “Cr.” เป็นด้านที่ใช้บันทึกรายการลดลง ของสินทรพั ย์ การเพิ่มขึ้นของหน้ีสิน การเพิ่มข้ึนของส่วนของเจ้าของ การลดลงของคา่ ใช้จา่ ยและการ เพิ่มขนึ้ ของรายได้ วิเคราะหร์ ายการค้า ด้านเดบติ Dr. ด้านเครดิต Cr. 1. สนิ ทรัพย์เพิ่มข้ึน 1. สินทรัพยล์ ดลง 2. หน้สี ินลดลง 2. หนส้ี นิ เพิม่ ขึน้ 3. ส่วนของเจ้าของลดลง 3. สว่ นของเจา้ ของเพมิ่ ข้ึน ภาพที่ 3.2 สรุปหลกั การบันทกึ บัญชีตามหลักบัญชีคู่ ทมี่ า: สมจติ ร จึงสงวนพรสุข, 2552: 3-11

48 สมุดรายวนั (Journal) สมุดบัญชที ่ใี ชส้ าหรับการบันทึกรายการค้าต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนท้ังหมดของกิจการ โดยเรียงลาดับ รายการที่เกิดขึ้นก่อนหลังแล้วจงึ นารายการท่บี ันทึกบัญชแี ล้วผ่านไปยงั บัญชีแยกประเภท (ดวงสมร อรพินท.์ 2557 : 53 - 56) สมุดรายวนั แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สมุดรายวนั เฉพาะ (Special Journal) หมายถึง สมดุ บญั ชีทใี่ ชส้ าหรบั การบันทกึ รายการ ค้าเฉพาะเร่ืองใดเร่ืองหน่ึงของกิจการ โดยแยกตามชนิดของสมุดบัญชี ซึ่งสว่ นใหญ่นิยมใช้สาหรบั กจิ การท่ีมรี ายการคา้ ทเ่ี กดิ ขึน้ จานวนมากและรายการเกดิ ข้ึนซ้าๆ กัน ได้แก่ 1.1 สมุดรายวนั รบั เงิน 1.2 สมดุ รายวนั จา่ ยเงิน 1.3 สมุดรายวันซ้อื 1.4 สมุดรายวนั ขาย 1.5 สมุดรายวนั รบั คืนสินคา้ และส่วนลด 1.6 สมดุ รายวันส่งคืนสินคา้ และสว่ นลด 2. สมุดรายวนั ท่วั ไป (General Journal) หมายถึง สมุดบัญชที ใี่ ชส้ าหรบั การบนั ทกึ รายการ คา้ ทีเ่ กดิ ขึน้ ทุกรายการสาหรับกจิ การที่ไม่มสี มดุ รายวันเฉพาะ และใช้สาหรบั การบันทกึ รายการคา้ ท่ีไม่ สามารถบนั ทึกในสมุดรายวันเฉพาะเลม่ ใดเล่มหนึ่งได้ สาหรับกิจการท่ีไม่มีสมดุ รายวนั เฉพาะใหน้ า รายการทีเ่ กิดขนึ้ มาบนั ทกึ รายการในสมุดรายวันทว่ั ไป 2.1 ประโยชน์ของสมุดรายวนั ท่ัวไป 2.1.1 กจิ การสามารถบันทกึ รายการคา้ ตา่ งๆ ท่เี กิดข้ึนได้ถูกตอ้ งครบถ้วน สะดวก รวดเรว็ และครอบคลุม 2.1.2 ชว่ ยให้กจิ การสามารถวเิ คราะหร์ ายการคา้ ที่จะบนั ทึกบญั ชที างดา้ นเดบติ และ ด้านเครดติ ใหม้ ีความถูกต้องง่ายต่อการตรวจสอบและป้องกนั การผดิ พลาด 2.2 รปู แบบของสมุดรายวันท่ัวไป สมุดรายวันทั่วไป หนา้ ....... พ.ศ................ เลขที่ เดบติ เครดติ เดือน วันท่ี รายการ บัญชี บาท ส.ต. บาท ส.ต.

49 2.3 วิธกี ารบนั ทกึ บญั ชีในสมดุ รายวนั ทวั่ ไป 2.3.1 ช่อง วนั เดอื น ปี ใหล้ งวนั ท่ตี ามรายการค้าที่เกิดขึ้นกอ่ นหลงั 2.3.2 ช่อง รายการ ใชบ้ ันทกึ ชื่อบญั ชีท่เี กิดขึ้นทางดา้ นเดบิตและดา้ นเครดิต 2.3.3 ช่อง เลขที่บญั ชี ลงเลขที่บญั ชีทก่ี าหนดตามผงั บัญชีตามที่จดั ไว้เป็นหมวดหมู่ 2.3.4 ชอ่ ง เดบิต ให้ใสจ่ านวนเงินด้านเดบิต 2.3.5 ช่อง เครดิต ให้ใส่จานวนเงินดา้ นเครดิต 2.4 ขั้นตอนการบันทึกรายการในสมุดรายวันท่วั ไป 2.4.1 บันทึกรายการเปิดบัญชี คือ จะบันทึกเมื่อเร่ิมงวดบัญชีใหม่โดยการนาเอา สินทรัพย์ หนส้ี นิ และสว่ นของเจา้ ของ มาบนั ทึกลงในสมุดรายวนั ทวั่ ไป 2.4.2 บันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้น คือ เมื่อวิเคราะห์รายการค้าที่เกิดขึ้นแล้วจะ บันทึกรายการในสมุดรายวันท่ัวไป โดยเรยี งลาดบั รายการทีเ่ กิดข้นึ ก่อนหลงั 2.4.3 บันทึกรายการปรับปรุง คือ เมื่อสิ้นงวดบัญชีจะต้องมีรายการปรับปรุง เน่ืองจากมีรายการบางรายการเกดิ ขึ้นแลว้ แต่ยังไม่ได้รบั เงินหรือจ่ายเงินให้ถือเป็นรายไดห้ รือค่าใช้จ่าย ของงวดบญั ชีนนั้ 2.4.4 บันทกึ รายการปิดบัญชี คือ เมื่อส้ินงวดบัญชี กจิ การจะต้องปิดบัญชีรายได้ และคา่ ใชจ้ า่ ยเขา้ บญั ชกี าไรขาดทนุ และปดิ บัญชกี าไรขาดทนุ เข้าบญั ชที ุน สมดุ บญั ชีแยกประเภท (Ledger) บัญชีแยกประเภทจัดเป็นสมุดบัญชีขั้นปลาย ใช้สาหรบั การแยกประเภทของรายการคา้ ท่ีเกิดขึ้น ให้เป็นหมวดหมู่ โดยการนาเอารายการค้าท่ีบันทึกรายการในสมุดรายวันมาแยกประเภท เพ่ือความ สะดวกและความถูกต้องในการนาข้อมูลไปใช้ในการนาเสนอข้อมูลเพื่อการสรุปผลการดาเนินงานของ กจิ การและฐานะทางการเงนิ ของกิจการ โดยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนดิ ดังนี้ (พรสริ ิ ปุณเกษม และ คณะ. 2549: 61 - 63) 1. บัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger) คือ เป็นสมุดบัญชีแยกประเภทหลักที่กิจการ จัดทาขึ้น เพราะเป็นที่รวบรวมบัญชีทุกบัญชีที่จัดหมวดหมู่ไว้ตั้งแต่หมวดสินทรัพย์ หมวดหนี้สิน หมวด สว่ นของเจา้ ของ หมวดรายได้ และหมวดคา่ ใช้จา่ ย 2. บัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger) คือ เป็นสมุดบัญชีแยกประเภทท่ีใช้ สาหรับคุมรายละเอียดของบัญชีแยกประเภททั่วไป ซ่ึงจะจัดทาหรือไม่จัดทาก็ได้ แต่ถ้าจัดทาจะช่วยให้ ทราบรายเอยี ดเพม่ิ มากขนึ้ ในการจดั ทาบญั ชแี ยกประเภทย่อยสามารถจัดทาได้ 2 ชนดิ คอื 2.1 บัญชีแยกประเภทย่อยลูกหนี้ 2.2 บญั ชีแยกประเภทยอ่ ยเจา้ หน้ี 3. รูปแบบของบัญชีแยกประเภท ในการจัดทาบัญชีจะบันทึกตามหลักการบัญชีคู่ ดังน้ันใน บัญชีแยกประเภทจะต้องมีด้านเดบิตและด้านเครดิต โดยท่ัวไปรูปแบบของบัญชีแยกประเภทใน กจิ การต่างๆ มี 2 รูปแบบ ดงั นี้

50 3.1 แบบมาตรฐาน (Standard Account Form) หรือ แบบตัว T (T Account Form) บัญชี................ เลขที.่ ........... พ.ศ......... หน้า เดบิต พ.ศ........ หนา้ เครดติ เดอื น วันที่ รายการ บัญชี บาท ส.ต. เดือน วนั ที่ รายการ บญั ชี บาท ส.ต. ชอ่ งต่างๆ สามารถอธิบายการบนั ทกึ รายการได้ ดงั น้ี 3.1.1 วัน เดือน ปี เป็นช่องสาหรับบันทึกวันที่เกิดรายการโดยเรียงลาดับรายการท่ี เกิดขน้ึ กอ่ นและหลัง 3.1.2 รายการ เปน็ ชอ่ งสาหรบั เขียนคาอธิบายรายการโดยการเขยี นช่ือบัญชีตรงกนั ขา้ ม ท่บี นั ทึกบญั ชดี ้านเดบติ หรอื ด้านเครดติ 3.1.3 หนา้ บัญชี เป็นช่องสาหรบั ใสเ่ ลขหน้าบัญชีในสมุดรายวันขั้นต้น 3.1.4 เดบติ และเครดิต ใช้สาหรับใสย่ อดจานวนเงินของรายการค้าท่ีเกิดข้ึน 3.2 แบบแสดงยอดคงเหลือ (Balance Account Form) พ.ศ............. รายการ หน้า เดบติ เครดติ คงเหลอื เดอื น วันที่ บัญชี บาท ส.ต. บาท ส.ต. บาท ส.ต. ชอ่ งตา่ งๆ สามารถอธิบายการบนั ทกึ รายการได้ ดังน้ี 3.2.1 วัน เดือน ปี เป็นช่องสาหรับบันทึกวันท่ีเกิดรายการโดยเรียงลาดับรายการท่ี เกดิ ขน้ึ ก่อนและหลงั 3.2.2 รายการ เปน็ ช่องเขียนคาอธิบายรายการ 3.2.3 หน้าบัญชี เปน็ ช่องสาหรบั ใส่เลขหน้าบญั ชใี นสมุดรายวันข้นั ต้น 3.2.4 เดบิตและเครดิต ใช้สาหรับใส่ยอดจานวนเงินของรายการค้าที่เกิดข้ึน 3.2.5 คงเหลือ ใชส้ าหรับแสดงยอดคงเหลือของบญั ชีแต่ละรายการ งบทดลอง (Trial Balance) งบทดลองจัดทาข้ึนเพ่ือพิสูจน์ยอดบัญชีว่ามีความถูกต้องตามหลักบัญชีคู่หรือไม่ โดยยอดดุล ของบัญชีท่ีปรากฏในงบทดลอง คือ บัญชีสินทรัพย์ และบัญชีคา่ ใช้จ่ายจะแสดงยอดด้านเดบิต ส่วนบัญชี หน้ีสนิ บญั ชีสว่ นของเจ้าของ และบัญชรี ายได้จะแสดงยอดด้านเครดติ ยอดรวมของด้านเดบติ และดา้ นเครดิต จะต้องเท่ากนั (นภาภรณ์ พลนิกรกิจ. 2545: 29 - 31)

51 1. รปู แบบของงบทดลอง ชื่อกิจการ.............................................. งบทดลอง วันที.่ ..........เดือน..............................พ.ศ............... ชอื่ บัญชี เลขที่ เดบิต เครดติ บัญชี บาท ส.ต. บาท ส.ต. ชอ่ งตา่ งๆ สามารถอธิบายการบนั ทกึ รายการได้ดังน้ี 1.1 ชอ่ื กจิ การ 1.2 งบทดลอง 1.3 วนั ท่ี เดือน พ.ศ. ท่จี ัดทางบทดลอง 1.4 ชอื่ บัญชี เป็นช่องสาหรบั ใส่ชือ่ บัญชีทกุ บัญชีท่ีปรากฏในบัญชแี ยกประเภทท่ัวไป 1.5 เลขทีบ่ ญั ชี เปน็ ช่องสาหรับใสเ่ ลขท่บี ญั ชที กี่ าหนดข้ึนตามผงั บัญชี 1.6 เดบติ เป็นช่องสาหรับใส่จานวนเงินทม่ี ียอดดุลด้านเดบิต ไดแ้ ก่ สนิ ทรพั ย์ และ คา่ ใชจ้ า่ ย 1.7 เครดิต เป็นชอ่ งสาหรับใส่จานวนเงินทมี่ ียอดดุลดา้ นเครดติ ไดแ้ ก่ หนี้สิน สว่ นของเจ้าของ และรายได้

52 ตัวอย่างที่ 3.1 การบนั ทึกบัญชี นางอ๋อยมีร้านซัก อบ รดี เส้ือผ้า โดยมีช่อื ว่า “ร้านอ๋อยซักแห้ง” มียอดคงเหลือในบัญชีต่างๆ ในวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2557 ดังนี้ เงินสด 32,450 บาท วัสดสุ านกั งาน 4,320 บาท รถขนสง่ 268,000 บาท เครื่องมอื เคร่อื งใช้ในการซักรีด 50,000 บาท เครือ่ งใช้สานักงาน 24,000 บาท เจา้ หน้ี 10,000 บาท ทนุ – นางอ๋อย 368,770 บาท ในระหวา่ งเดือน มกราคม 2558 มรี ายการค้าเกิดข้นึ ดังนี้ มกราคม 2 จ่ายค่าเช่ารา้ น 1,250 บาท จ่ายค่าโฆษณา 1,000 บาท 3 ซื้อน้ายาซักแห้งเปน็ เงินเช่อื 5,450 บาท 5 รบั เงินคา่ ซักรีดสปั ดาห์นี้ 10,560 บาท 6 ซอ้ื วสั ดุสานกั งาน 2,000 บาท 7 จา่ ยค่าเบ้ยี ประกนั 2,500 บาท 10 จ่ายชาระหนค้ี ร่งึ หนง่ึ เปน็ เงนิ สด 15 จา่ ยคา่ แรงคนงาน 8,000 บาท ไดร้ บั เงนิ คา่ ซกั รดี สปั ดาหน์ ้ี 36,420 บาท 16 จา่ ยคา่ ซอ่ มรถยนต์ 2,540 บาท 18 จา่ ยชาระหนที้ เ่ี หลือท้ังหมด 21 ไดร้ ับเงินคา่ ซักรีดเป็นเงินสด 24,000 และลูกค้าค้างชาระอีก 5,000 บาท 22 ซือ้ นา้ ยาซักแห้งเป็นเงินเชอ่ื 4,800 บาท 24 ได้รับเงนิ ค่าซักรดี อีก 14,200 บาท 29 จา่ ย ค่านา้ คา่ ไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ 6,500 บาท 30 จ่ายค่าแรงคนงาน 8,000 บาท 31 นางอ๋อยถอนเงินสดไปใชส้ ว่ นตัว 10,000 บาท ให้ทา 1. บันทกึ รายในสมดุ รายวนั ทั่วไป 2. ผา่ นรายการไปยังสมดุ บัญชแี ยกประเภททัว่ ไป 3. จดั ทางบทดลอง

53 สมุดรายวนั ทัว่ ไป รว.1 พ.ศ. 2558 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต เดือน วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต. บาท ส.ต. มกราคม 1 เงินสด 101 32,450 - วสั ดสุ านักงาน 103 4,320 - รถขนส่ง 104 268,000 - เครอื่ งมือเครอ่ื งใช้ในการซักรีด 105 50,000 - เครือ่ งใช้สานักงาน 106 24,000 - 10,000 - เจ้าหน้ีการคา้ 201 - ทุน – นางอ๋อย 301 368,770 (บนั ทึกการเปิดบญั ชี) 2 คา่ เช่า 501 1,250 - - เงนิ สด 101 1,250 (จ่ายคา่ เชา่ รา้ น) คา่ โฆษณา 502 1,000 - - เงนิ สด 101 1,000 (จ่ายค่าโฆษณา) 503 5,450 - - 3 ค่าน้ายาซักแห้ง 201 5,450 เจา้ หนก้ี ารคา้ 101 10,560 - - (ซื้อน้ายาซกั แห้งเปน็ เงินเชอื่ ) 401 10,560 5 เงินสด 103 2,000 - - 101 2,000 รายไดจ้ ากการซกั แห้ง 504 2,500 - (ไดร้ ับเงนิ คา่ ซักรีด) 101 - 6 วัสดุสานกั งาน 201 5,450 - 2,500 101 เงนิ สด - 7 (ซอ้ื วสั ดสุ านักงาน) 5,450 คา่ เบี้ยประกนั เงินสด 10 (จา่ ยค่าเบยี้ ประกนั ) เจา้ หน้ีการคา้ เงินสด (จ่ายชาระหนที้ ค่ี า้ งชาระวนั ท่ี 3)

54 สมดุ รายวนั ท่ัวไป รว.2 เครดิต พ.ศ. 2558 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท ส.ต. เดือน วันท่ี บัญชี บาท ส.ต. 8,000 - มกราคม 15 ค่าแรงงาน 505 8,000 - 36,420 - เงินสด 101 36,420 - 2,540 - (จ่ายค่าแรงคนงาน) 2,540 - 10,000 - 16 เงินสด 101 10,000 - รายได้จากการซักแห้ง 401 24,000 - 29,000 - (ไดร้ บั เงินคา่ ซักรีด) 5,000 - 18 ค่าซ่อมแซม 506 4,800 - 101 4,800 - 14,200 - เงนิ สด 14,200 - 6,500 - (จ่ายคา่ ซ่อมรถยนต์) 201 6,500 - 8,000 - เจา้ หนก้ี ารคา้ 101 8,000 - เงนิ สด 10,000 - 21 (จ่ายชาระหน้ีทงั้ หมด) 101 10,000 - เงนิ สด 102 ลูกหนกี้ ารค้า 401 รายไดจ้ ากการซักแห้ง (ได้รับรายไดจ้ ากการซกั รดี ) 503 22 คา่ น้ายาซักแห้ง 201 เจา้ หนกี้ ารค้า (จา่ ยชาระหน้ีทค่ี า้ งชาระวนั ที่ 3) 101 24 เงนิ สด 401 รายไดจ้ ากการซกั แหง้ 507 29 (ได้รับรายไดจ้ ากการซักรีด) 101 ค่านา้ คา่ ไฟ คา่ โทรศพั ท์ เงินสด 505 30 (จ่ายค่านา้ คา่ ไฟ คา่ โทรศัพท)์ 101 คา่ แรงงาน เงินสด 302 31 (จ่ายคา่ แรงคนงาน) 101 ถอนใช้สว่ นตวั เงินสด (นางอ๋อยถอนเงินสดไปใช้สว่ นตวั )

55 บญั ชีเงินสด เลขที่ 101 หน้า เดบิต หน้า เครดิต ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท 2558 ม.ค. 1 ยอดยกมา 2558 รว.1 1,250 - รว.1 32,450 - ม.ค. ค่าเช่า 5 รายไดก้ ารซัก รว.1 10,560 - 2 คา่ โฆษณา รว.1 1,000 - 15 แห้ง รว.2 36,420 - วัสดสุ านกั งาน รว.1 2,000 - 21 รายได้การซัก รว.3 24,000 - 6 ค่าเบ้ยี ประกัน รว.2 2,500 - 24 แหง้ รว.3 14,200 - 7 เจ้าหน้กี ารค้า รว.2 5,450 - 10 คา่ แรงงาน รว.2 8,000 - รายไดก้ ารซัก 15 ค่าซอ่ มแซม รว.2 2,540 - แห้ง 16 เจา้ หนกี้ ารคา้ รว.2 10,000 - รายไดก้ ารซัก 18 ค่าน้าคา่ ไฟ รว.3 6,500 - แหง้ 29 ค่าโทรศพั ท์ คา่ แรงงาน รว.3 8,000 - 60,390 30 ถอนใชส้ ่วนตวั รว.3 10,000 - 31 บัญชลี กู หน้กี ารคา้ เลขที่ 102 ว/ด/ หนา้ เดบิต หนา้ เครดิต ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท 2558 ม.ค. รายได้การซักแห้ง รว.3 5,000 - 1 5,000 บญั ชีวสั ดสุ านักงาน เลขท่ี 103 ว/ด/ หนา้ เดบิต หน้า เครดติ ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท 2558 รว.1 4,320 - ม.ค. ยอดยกมา รว.1 2,000 - 1 เงินสด 6 6,320

56 บญั ชรี ถขนส่ง เลขที่ 104 ว/ด/ หน้า เดบติ หน้า เครดติ ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท 2558 ม.ค. ยอดยกมา รว.1 268,00 - 1 268,000 0 บญั ชเี ครื่องมือเคร่ืองใชใ้ นการซักรดี เลขที่ 105 ว/ด/ หนา้ เดบติ หน้า เครดิต ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท 2558 รว.1 50,00 - ม.ค. ยอดยกมา 0 1 50,000 บญั ชเี คร่อื งใช้สานักงาน เลขท่ี 106 หน้า เดบิต หนา้ เครดติ ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท 2558 รว.1 24,00 - ม.ค. 1 ยอดยกมา 0 24,000 บัญชเี จ้าหนี้การคา้ เลขที่ 201 หน้า เดบติ หน้า เครดิต ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท 2558 รว.1 10,000 - ม.ค. 10 เงินสด 2558 รว.1 5,450 - รว.2 5,450 - ม.ค. 1 ยอดยกมา รว.3 4,800 - 18 เงนิ สด รว.2 10,000 - 3 คา่ นา้ ยาซักแหง้ 22 คา่ นา้ ยาซักแหง้ 4,800

57 หนา้ เดบติ บัญชที ุน -นางออ๋ ย เลขท่ี 301 บัญชี บาท หน้า เครดติ ว/ด/ป รายการ ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท รว.1 368,770 - 2558 ม.ค. 1 ยอดยกมา 368,770 บญั ชถี อนใช้สว่ นตัว เลขที่ 302 หนา้ เดบติ หน้า เครดติ ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท 2558 รว.3 10,000 - ม.ค.1 เงินสด 10,000 บญั ชีรายไดจ้ ากการซักแห้ง เลขท่ี 401 หน้า เดบติ หน้า เครดติ ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท 2558 รว.1 10,560 - ม.ค. 5 เงนิ สด 15 เงินสด รว.2 36,420 - 21 เงนิ สด รว.3 29,000 - 24 เงินสด รว.3 14,200 - 90,180 บัญชคี ่าเชา่ เลขท่ี 501 หนา้ เดบติ หนา้ เครดติ ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท 2558 ม.ค. 2 เงินสด รว.1 1,250 - 1,250

58 บัญชคี า่ โฆษณา เลขท่ี 502 หน้า เดบติ หน้า เครดิต ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท 2558 ม.ค. 2 เงนิ สด รว.1 1,000 - 1,000 บัญชคี ่านา้ ยาซกั แหง้ เลขที่ 503 หนา้ เดบติ หนา้ เครดติ ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท 2558 รว.1 5,450 - ม.ค. 3 เจา้ หนีก้ ารคา้ รว.3 4,800 - 22 เจา้ หนก้ี ารค้า 10,250 บญั ชคี ่าเบย้ี ประกัน เลขท่ี 504 หน้า เดบิต หนา้ เครดิต ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท 2558 รว.2 2,500 - ม.ค. 2 เงนิ สด 2,500 บัญชคี า่ แรงงาน เลขท่ี 505 หน้า เดบิต หน้า เครดิต ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท 2558 รว.2 8,000 - ม.ค. เงนิ สด รว.3 8,000 - 15 เงินสด 30 16,000

59 บญั ชคี ่าซ่อมแซม เลขท่ี 506 หน้า เดบติ หน้า เครดติ ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท 2558 รว.2 2,540 - ม.ค.16 เงนิ สด 2,540 บัญชีคา่ นา้ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ เลขท่ี 507 หน้า เดบติ หน้า เครดิต ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท 2558 รว.3 6,500 - ม.ค.16 เงนิ สด 6,500

60 ช่อื บัญชี ร้านออ๋ ยซกั แหง้ เครดติ เงินสด งบทดลอง บาท ส.ต. ลูกหน้ีการคา้ วัสดุสานักงาน วันที่ 31 เดือน มกราคม พ.ศ.2558 4,800 - รถขนสง่ เลขที่ เดบติ 368,770 - เคร่ืองมือเคร่อื งใชใ้ นการซักรีด บญั ชี บาท ส.ต. 90,180 - เครอื่ งใช้สานกั งาน 101 60,390 - เจ้าหนี้การคา้ 102 5,000 - 463,750 - ทุน – นางอ๋อย 103 6,320 - ถอนใช้ส่วนตวั 104 268,000 - รายได้จากการซักรดี 105 50,000 - ค่าเชา่ รา้ น 106 24,000 - ค่าโฆษณา 201 ค่าน้ายาซกั แห้ง 301 คา่ เบ้ียประกัน 302 10,000 - ค่าแรงงาน 401 คา่ ซอ่ มแซม 501 1,250 - ค่าน้า ค่าไฟ ค่าโทรศพั ท์ 502 1,000 - 503 10,250 - 504 2,500 - 505 16,000 - 506 2,540 - 507 6,500 - 463,750 - บทสรุป วงจรบญั ชี หมายถงึ ข้นั ตอนในการจดบันทึกรายการท่เี กิดข้ึนในสมุดบัญชีตา่ งๆ เร่ิมต้ังแต่การ วเิ คราะห์รายการค้าโดยนารายการค้ามาบันทึกบัญชีในสมุดรายการข้นั ตน้ สมุดรายการขนั้ ปลาย รายการ ปรับปรุง งบทดลองสรุปผลการดาเนินงาน และฐานะทางการเงินของกจิ การ รายการคา้ หมายถงึ รายการทกี่ ่อให้เกดิ การแลกเปลีย่ น หรอื โอนเงนิ หรือส่งิ ท่ีมคี า่ เป็นตัวเงนิ ระหว่างกิจการค้ากับบุคคลอื่น ซึ่งลกั ษณะของรายการค้าจะมอี ยู่เป็นจานวนมากและแตกต่างกนั ออกไป ตามลักษณะของกจิ การคา้ นั้น เชน่ กิจการเจ้าของคนเดียว กิจการห้างหนุ้ สว่ น หรือกจิ การบรษิ ทั จากดั และตามประเภทของธุรกจิ เช่น กจิ การทีท่ าธรุ กิจเกย่ี วกับการขายบริการ กิจการที่ทาธุรกิจเก่ียวกบั การซ้อื - ขายสินค้า หรือกจิ การทท่ี าธรุ กจิ เกยี่ วกบั การผลติ สินคา้ การบญั ชีคู่ หมายถึง การนารายการคา้ ทเ่ี กิดขน้ึ ทกุ รายการมาบนั ทกึ บัญชี โดยทาใหเ้ กิดผลกระทบ 2 ด้านเสมอ คือ ดา้ นเดบติ (Debit) หรอื สามารถใชต้ ัวย่อวา่ “Dr.” เปน็ ด้านที่ใช้บันทึกรายการเพิ่มขน้ึ ของสินทรัพย์ การลดลงของหนี้สิน การลดลงของส่วนของเจา้ ของ การเพ่ิมขึน้ ของคา่ ใชจ้ ่ายและการ ลดลงของรายได้ สว่ นด้านเครดติ (Credit) สามารถใช้ตวั ยอ่ วา่ “Cr.” เปน็ ด้านที่ใชบ้ ันทึกรายการลดลง ของสนิ ทรัพย์ การเพิ่มขน้ึ ของหนีส้ นิ การเพม่ิ ขึ้นของส่วนของเจ้าของ การลดลงของค่าใช้จา่ ยและการ เพิ่มข้นึ ของรายได้

61 แบบฝกึ หดั ขอ้ 1. จงวเิ คราะหร์ ายการค้าต่อไปนีโ้ ดยให้ระบชุ ่ือบญั ชลี งในชอ่ งทีก่ าหนดให้ สนิ ทรัพย์ หน้ีสิน สว่ นของเจา้ ของ ท่ี รายการคา้ เพม่ิ ลด เพิม่ ลด เพิม่ ลด 1 นายบญุ โฮมนาเงินสดมาลงทนุ เงินสด ทุน 2 ซ้อื เคร่ืองตกแต่งเปน็ เงินเชื่อ 3 จ่ายค่าเช่าสานักงานเป็นเงินสด 4 รับเงินสดเปน็ ค่าว่าความ 5 ซอื้ อปุ กรณส์ านักงานเป็นเงนิ สด 6 ส่งบิลเกบ็ เงินจากลูกค้าเปน็ คา่ ว่าความแต่ยัง ไมไ่ ด้รับเงิน 7 นายบุญโฮมถอนเงนิ ไปใชส้ ่วนตัว 8 รบั เงินจากลกู คา้ เปน็ การชาระหน้ี 9 จ่ายค่าไฟฟ้า 10 นาเงินฝากธนาคาร ขอ้ 2. จงวเิ คราะห์รายการคา้ ดังต่อไปน้ี โดยให้ระบุจานวนเงนิ พร้อมท้ังช่อื บญั ชีต่างๆ ท่ีเกิดขน้ึ ในชอ่ งที่กาหนดให้ สนิ ทรพั ย์ หนี้สนิ ส่วนของเจา้ ของ วันที่ รายการคา้ เพม่ิ ลด เพ่มิ ลด เพิม่ ลด ม.ค. 1 นาเงนิ สดมาลงทนุ 100,000 บาท เงินสด ทุน 100,000 100,000 5 ซอ้ื สินค้าเปน็ เชอื่ 40,000 บาท 14 ขายสนิ ค้าเปน็ เงินเชือ่ 60,000 บาท 17 ซื้ออุปกรณ์ 23,000 บาทเปน็ เงินสด 20 จ่ายค่าเช่า 15,000 บาท 23 ขายสินค้าเปน็ เงินสด 100,000 บาท 24 นาเงนิ สดฝากธนาคาร30,000 บาท 25 กเู้ งนิ ธนาคาร 50,000 บาท 31 จา่ ยเงนิ เดือน 24,000 บาท ด้วยเชค็

62 ขอ้ 3. จงวเิ คราะหร์ ายการค้าดังต่อไปนี้ โดยให้ระบุจานวนเงินพร้อมท้ังช่อื บญั ชตี ่างๆ ท่ีเกิดขึ้น ในช่องท่ีกาหนดให้พรอ้ มทง้ั บันทึกบญั ชี สนิ ทรพั ย์ หนีส้ นิ สว่ นของเจ้าของ การบนั ทึกบัญชี รายการคา้ เพม่ิ ลด เพม่ิ ลด เพม่ิ ลด เดบติ เครดติ นาเงนิ สดมาลงทุน เงนิ สด ทุน เงินสด ทุน 60,000 บาท 60,000 60,000 60,000 60,000 นาเงนิ สดฝากธนาคาร 10,000 บาท ซอื้ อปุ กรณส์ านักงาน 19,000 บาท ชาระทันที 9,000 บาท ส่วนทเี หลอื จะ ผอ่ นชาระให้ในภายหลงั จ่ายค่าเช่ารา้ น 7,000 บาท รบั ชาระหนี้ 15,000 บาท รบั เงินสดเปน็ คา่ เสรมิ สวย 9,500 บาท ซือ้ สินค้าเป็นเงินเชอื่ 90,000 บาท จา่ ยชาระหนี้ 3,000 บาท ขายสินค้า 50,000 ไดร้ บั เชค็ ซ้อื เครื่องใชส้ านกั งาน ดว้ ย เช็ค 40,000 บาท จ่ายค่าสาธารณูปโภค 3,000 บาท จา่ ยเงินเดือนพนักงาน 10,000 บาท

63 ขอ้ 4. จงวิเคราะห์รายการคา้ ดงั ต่อไปน้ี โดยให้ระบุจานวนเงนิ พร้อมท้ังชื่อบญั ชตี า่ งๆ ทเ่ี กิดขึ้น ในช่องท่ีกาหนดให้พรอ้ มท้งั บันทกึ บัญชี สนิ ทรพั ย์ หน้สี ิน สว่ นของ การบันทึกบญั ชี รายการคา้ เจา้ ของ เพมิ่ ลด เพิ่ม ลด เพ่มิ ลด เดบติ เครดติ 1. นาเงนิ สด 100,000 บาท อุปกรณอ์ ีก 50,000 บาท มาลงทนุ 2. ซอ้ื วสั ดสุ านกั งานเป็นเงนิ สด 4,000 บาท 3. นาเงินฝากธนาคาร 20,000 บาท 4. ซือ้ เครื่องตกแต่ง 7,500 บาท 5. ออกบลิ เก็บเงนิ คา่ บรกิ าร แตย่ งั ไมไ่ ด้รับเงินจานวน 9,000 บาท 6. ถอนเงินจากธนาคาร 5,500 บาทไปใช้สว่ นตัว 7. รบั ชาระหนี้จากลูกหนี้ครึ่งหน่ึง 8. รับเงินเป็นคา่ บริการจานวน ทงั้ ส้นิ 30,000 บาท 9. จ่ายเงนิ เดอื น 14,300 บาท

64 ข้อ 5. เมอื่ วนั ที่ 1 เมษายน 2558 นายมานะเปดิ สานักงานทนายความในระหวา่ งเดือน เมษายน มรี ายการค้าต่างๆ เกดิ ขนึ้ ดงั น้ี 2558 เมษายน 1 นายมานะได้นาเงนิ สด 100,000 บาท และอุปกรณ์สานักงาน 150,000 บาท 3 มาลงทุนในกจิ การ จา่ ยคา่ เชา่ สานักงานประจาเดือนเมษายน 4,500 บาท 4 ซื้อวัสดสุ านักงานเปน็ เงนิ สด 1,500 บาท 5 นายมานะกเู้ งินจากธนาคาร 1,500,000 บาท 7 ได้รับเงินเป็นค่าธรรมเนยี มในการว่าความ 30,000 บาท 11 ซื้อรถยนต์ 1 คัน ราคา 540,000 บาท จ่ายเป็นเชค็ 200,000 บาท ส่วนท่ีเหลอื คา้ งชาระ 14 นายมานะเงนิ ในบญั ชธี นาคารไปใชส้ ่วนตัว 25,000 บาท 15 จา่ ยเงินเดอื นเลขานุการครึง่ เดอื นแรก 4,500 บาท 18 จ่ายเงินสดชาระหนใี้ ห้เจา้ หนี้ 50,000 บาท 20 จา่ ยค่านา้ มันรถประจาเดือน เมษายน 3,000 บาท 23 ได้ใหบ้ ริการว่าความแกล่ ูกค้าเป็นเงิน 250,000 บาท ไดร้ ับเงินสดเพยี ง 50,000 บาท ส่วนท่เี หลอื ยงั ไม่ได้รบั เงิน 25 ซอื้ อุปกรณ์สานักงานเป็นเงินเช่ือ 12,000 บาท 27 นายมานะนาเงนิ สดมาลงทุนเพ่ิม 50,000 บาท 30 จ่ายเงินเดอื นเลขานุการ 4,500 บาท จา่ ยเงนิ เดือนให้พนกั งานทาความสะอาด 2,500 บาท และจ่ายค่านา้ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ 5,000 บาท ให้ทา 1 บันทกึ รายการในสมุดรายวนั ท่วั ไป 2 ผา่ นรายการไปยงั สมุดบัญชแี ยกประเภททั่วไป 3 จัดทางบทดลอง ขอ้ 6. นายทองก้อนเปิดอู่ซ่อมรถยนต์ มยี อดคงเหลือในบัญชตี า่ งๆ ดังนี้ เงนิ สด 45,000 บาท ลกู หน้ี 9,000 บาท เครื่องมือเครอื่ งใช้ 150,000 บาท อาคาร 200,000 บาท เจ้าหนี้ 15,000 บาท ทุน 389,000 บาท รายการค้าระหวา่ งเดือนธันวาคม มดี ังน้ี 2557 ธ.ค. 1 ซ้อื วสั ดสุ าหรบั ใช้ในการซ่อมรถ 15,000 บาท 3 รบั เงนิ ค่าซ่อมรถ 48,000 บาท 6 จา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายเบ็ดเตล็ด 8,000 บาท 8 รับชาระหน้จี ากลกู หนี้ 4,000 บาท

65 12 จา่ ยค่าพาหนะ 3,200 บาท 14 จ่ายคา่ โทรศพั ท์ 1,400 บาท 17 จา่ ยเงินซอ้ื นามนั เครื่อง 10,000 บาท 19 ได้รับเงินค่าซ่อมรถ 20,000 บาท 23 จ่ายค่านา้ ประปา 1,200 บาท 26 จ่ายเงินเดือนให้ช่างและคนงาน 25,000 บาท 28 ได้รบั เงนิ ค่าซอ่ มรถ 26,000 บาท 29 จ่ายเงินเดอื นให้คนงานอกี 10,000 บาท 30 จา่ ยชาระหนใี้ ห้เจ้าหน้ี 10,000 บาท ให้ทา 1 บันทกึ รายการในสมดุ รายวันทั่วไป 2 ผา่ นรายการไปยังสมุดบัญชีแยกประเภทท่ัวไป 3 จัดทางบทดลอง ขอ้ 7. เมือ่ วนั ที่ 1 มกราคม 2558 นางทองสร้อย เปิดรา้ นตัดเยบ็ เสอื้ ผา้ โดยนาเงินสด 70,000 บาท เงนิ ฝากธนาคาร 70,000 บาท อุปกรณ์ในการตัดเย็บ 35,000 บาท มาลงทุน รายการ คา้ ระหว่างเดือน มดี ังน้ี 2558 มกราคม1 ซือ้ ด้ายและเข็มเยบ็ ผา้ เป็นเงนิ สด 3,400 บาท 2 จ่ายคา่ เชา่ รา้ น 2,500 บาท 3 รับตัดเยบ็ เปน็ เงินสด 19,500 บาท 5 ซอ้ื ชุดรับแขก 1 ชุดเป็นเงิน 18,000 บาท จ่ายเงินสดทันทีครง่ึ หนึ่ง สว่ นที่เหลือค้างชาระ 6 ส่งบิลเกบ็ เงินค่าตัดเย็บเส้ือผ้าใหล้ กู ค้ารายหนึ่งเป็นเงินจานวน 9,500 บาท ยังไม่ไดร้ ับเงิน 7 รบั ตัดเย็บเปน็ เงินสด 5,400 บาท 8 จา่ ยคา่ นา้ คา่ ไฟ 3,600 บาท 10 ถอนเงินสดไปใชส้ ่วนตวั 14,500 บาท 12 จ่ายชาระหนที้ ี่คา้ งชาระท้งั หมด 15 รับคา่ ตัดเย็บเสือ้ ผา้ เปน็ เงนิ สด 8,000 บาท 18 จ่ายค่ารบั รอง 1,400 บาท 21 จ่ายคา่ ใชจ้ า่ ยเบ็ดเตลด็ 2,800 บาท 22 รับชาระหนจี้ ากลกู หน้ที ี่ค้างชาระเม่ือวันท่ี 6 มกราคม 3,500 บาท 24 ซื้อจักเย็บผา้ เพิ่มเป็นเงนิ สด 12,000 บาท 27 จา่ ยคา่ แรงคนงาน 12,000 บาท 31 ค่าโทรศพั ท์ 1,900 บาท ใหท้ า 1 บันทกึ รายการในสมุดรายวันท่วั ไป 2 ผ่านรายการไปยงั สมดุ บญั ชีแยกประเภทท่วั ไป 3 จดั ทางบทดลอง

66 2558 ขอ้ 8. ห้างหุ้นสว่ นนุ่มนิ่ม ไดเ้ ปดิ รา้ นเสริมสวย ช่ือว่า “ นมุ่ น่ิมบวิ ตี้ ” เมอื่ วนั ท่ี 1 มกราคม น.ส.นุ่ม และ น.ส. น่มิ มีสนิ ทรัพยแ์ ละหน้ีสินต่างๆ มาลงทุนคนละครง่ึ ดงั นี้ เงนิ สด 150,000 บาท วัสดุในการเสริมสวย 26,000 บาท อุปกรณ์ในการเสรมิ สวย 70,000 บาท เครอ่ื งตกแต่ง 70,000 บาท อาคาร 1,000,000 บาท ทีด่ ิน 600,000 บาท เงนิ กู้ยมื ระยะยาว 400,000 บาท ในระหวา่ งเดือนมถิ นุ ายน มรี ายการคา้ ต่าง ๆ เกดิ ขึ้นดงั ต่อไปน้ี 2557 ม.ิ ย. 2 จ่ายคา่ โฆษณา 3,500 บาท 4 ซอื้ น้ายาดดั ผมและนา้ ยาสระผม ครีมต่าง ๆ เปน็ เงนิ เช่ือ 9,000 บาท 6 รับรายได้คา่ บริการเสริมสวย 10,000 บาท 8 ซ้ือน้ายาและสมนุ ไพรต่าง ๆ เปน็ เงินสด 13,000 บาท 9 รับรายได้ค่าบริการเสรมิ สวย 7,900 บาท 12 ซอ้ื เครื่องอบตวั 2 เคร่อื ง ๆ ละ 70,000 บาท โดยจา่ ยเงินสดเพียงคร่ึงหนง่ึ 13 จ่ายชาระหนค้ี า่ น้ายาทซ่ี อ้ื มาเมือ่ วนั ท่ี 4 จานวน 5,000 บาท 14 รบั รายได้ค่าบริการเสรมิ ความงาม 18,000 บาท 19 น.ส.นมุ่ นาเครือ่ งตกแต่งมาลงทนุ เพิ่มเติมอกี 14,000 บาท 21 ซือ้ เคร่ืองใช้สานกั งานมูลค่า 26,600 บาท เป็นเงินเชื่อ 23 ส่งบลิ ไปเกบ็ เงินค่าบรกิ ารเสรมิ สวย 12,000 บาท ยังไมไ่ ดร้ ับเงนิ 26 จา่ ยชาระหนค้ี า่ น้ายาทซ่ี อื้ มาเมือ่ วนั ท่ี 4 อีก 2,000 บาท 28 น.ส.นิ่ม นาเงนิ สดของร้านไปซื้อเครื่องออกกาลังกาย 20,000 บาท 30 จา่ ยเงินเดือนพนกั งาน 15,000 บาท จ่ายค่านา้ คา่ ไห ค่าโทรศัพท์ 1,950 บาท ให้ทา 1 บันทกึ รายการในสมุดรายวนั ท่วั ไป 2 ผา่ นรายการไปยังสมดุ บญั ชีแยกประเภทท่ัวไป 3 จัดทางบทดลอง

67 ข้อ 9. นายทองโปลย ไดเ้ ปดิ สานักงานจัดหางาน ชื่อ ทองโปลยจัดหางาน ต้งั แตป่ ี 2550 จนถึงวนั ที่ 31 ธันวาคม 2557 ปรากฏวา่ มสี ินทรพั ย์ หนสี้ ิน และส่วนของเจ้าของดังนี้ สานักงานทองโปลยจดั หางาน งบดลุ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2557 สินทรพั ย์ หนีส้ ินและส่วนของเจา้ ของ สนิ ทรัพยห์ มนุ เวียน : หนส้ี นิ หมนุ เวียน : เงินสด 500 ,000 เจ้าหนี้ 48,200 เงนิ ฝากธนาคาร 210,400 หนส้ี นิ ไมห่ มุนเวียน : ลูกหนี้ 24,000 เงินกูย้ มื ระยะยาว 800,000 ตว๋ั เงินรับ 42,000 ส่วนของเจ้าของ : วสั ดุสานักงาน 5,600 782,000 ทุน–นายทองโปลย 829,000 สินทรัพยไ์ ม่หมุนเวียน : เงินลงทนุ ระยะยาว100,000 อุปกรณ์สานักงาน 125,000 เคร่ืองตกแตง่ 45,200 ยานพาหนะ 625,000 895,200 ________ รวมสนิ ทรัพย์ 1,677,200 รวมหน้ีสนิ และส่วนของเจ้าของ 1,677,200 รายการคา้ ในเดอื นมกราคม 2558 มดี ังนี้ 2558 ม.ค. 2 จ่ายค่าเช่าสานกั งานดว้ ยเช็ค 10,500 บาท 4 จ่ายคา่ โฆษณา 2,500 บาท 6 ได้รับเงนิ คา่ นายหน้าในการจัดหางาน 48,000 บาท 8 จา่ ยคา่ น้ามันเชือ้ เพลงิ 6,000 บาท 9 ส่งบิลไปเกบ็ เงินคา่ นายหน้าในการจดั หาคนงานให้บรษิ ัทแห่งหนง่ึ เป็นเงนิ 8,000 บาท 12 ซือ้ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ใหม่ 1 เครือ่ ง เป็นเงนิ สด 32,000 บาท 13 รบั ชาระหน้จี ากลูกหนที้ สี่ ง่ บลิ ไปเก็บเมอื่ วนั ท่ี 9 14 จา่ ยค่ารบั รองลูกคา้ 500 บาท 19 จ่ายคา่ ใชจ้ า่ ยเบด็ เตล็ด 900 บาท 21 ซ้อื กระดาษและเครอื่ งเขยี นต่าง ๆ 1,200 บาท 22 ได้รับเงินค่านายหน้าในการจดั หางาน 50,000 บาท นาฝากธนาคารทนั ที 23 จา่ ยค่าน้ามนั เช้ือเพลงิ 2,000 บาท 25 จ่ายชาระหน้ีเงนิ กู้ 100,000 พร้อมดอกเบยี้ อีก 5,000 บาท 26 จ่ายค่ารบั รองลูกคา้ 600 บาท และ จ่ายค่าใชจ้ ่ายเบ็ดเตล็ดอกี 300 บาท

68 28 จ่ายค่าสาธารณูปโภค 4,700 บาท 30 ไดร้ บั เงินค่านายหนา้ ในการจัดหาคนงาน 35,000 บาท แลว้ นาไปจา่ ยชาระหน้ีให้เจ้าหน้ี 20,000 บาท 31 จา่ ยเงินเดือนพนกั งาน 15,000 บาท และนายทองโปลยได้ถอนเงินจากบญั ชีธนาคาร ไปใชส้ ่วนตัว 20,000 บาท ให้ทา 1 บันทกึ รายการในสมุดรายวนั ทว่ั ไป 2 ผา่ นรายการไปยงั สมดุ บัญชีแยกประเภททั่วไป 3 จัดทางบทดลอง

69 เอกสารอ้างอิง ดวงสมร อรพินท์ และคณะ. (2557). การบญั ชีการเงนิ . กรงุ เทพฯ: แอคทีฟ พริน้ ท.์ ธารี หิรญั รัศมี และคณะ. (2558). การบัญชีการเงนิ . (พมิ พค์ ร้ังท่ี 4). กรงุ เทพฯ: วทิ ยพฒั น์. นภาภรณ์ พลนิกรกิจ. (2545). การบญั ชีการเงนิ . มหาสารคาม. หา้ งหนุ้ ส่วนจากัด อภิชาตการพมิ พ์. นิพนั ธ์ เหน็ โชยชยั ชนะ และคณะ. (2554). การบัญชขี นั้ ตน้ 2. (พิมพ์ครัง้ ท่ี 5). กรุงเทพฯ: หจก.ทพี ีเอน็ เพรส. เบญมาศ อภิสทิ ธิ์ภิญโญ. (2552). รู้บัญชงี า่ ยนิดเดียว. กรงุ เทพฯ: ส.เอเซยี เพรส. พรสริ ิ ปณุ เกษม และคณะ (2549). การบัญชเี งนิ เงนิ . กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์แมคกรอ-ฮิล. วัฒนา ศิวะเก้ือ และคณะ. (2556). การบัญชีขั้นต้น. (พิมพ์คร้ังท่ี 7). กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. สมจิตร จึงสงวนพรสุข. (2552). การบัญชี 1. (พิมพ์คร้ังท่ี 6). ขอนแก่น: ภาควิชาการเงินและบัญชี คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์ และสมเดช โรจน์ครุ ีเสถียร. (2552). การบัญชีข้ันต้น. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์ แมคกรอ-ฮิล. สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย. (2538). ศพั ทบ์ ญั ชี. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั พี เอ ลฟิ วงิ จากัด. Jerry J. Weygandt, Paul D. kimel and Donald E kieso. (2013) Financial Accounting. 2 nd ed. United States of America : John Wiley & Sons,Inc.

70 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 4 หัวข้อเน้ือหาประจาบทที่ 4 กระดาษทาการ งบการเงิน และรายการปดิ บญั ชี 1. กระดาษทาการ 2. รูปแบบของกระดาษทาการ 3. ข้นั ตอนการจัดทากระดาษทาการ 4. ประโยชนข์ องการจัดทากระดาษทาการ 5. การจดั ทางบการเงิน 6. รายการปดิ บัญชี 7. งบทดลองหลังปดิ บัญชี วตั ถุประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถอธบิ ายความหมายของกระดาษทาการได้ 2. สามารถจัดทากระดาษทาการได้อยา่ งถกู ต้อง 3. สามารถจดั ทางบการเงินได้อยา่ งถูกต้อง กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. บรรยาย 2. ฝึกปฏิบตั ิโดยยกตวั อย่าง 3. ทาแบบฝึกหัดรายบคุ คล ส่ือการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. เอกสารตวั อย่าง 3. กระดานดา 4. Power Point Presentation 5. แบบฝึกหัด การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. ซักถามปัญหานักศึกษา เพื่อให้มีความเขา้ ใจมากย่ิงข้ึน 2. ตรวจสอบความถกู ต้องจากแบบฝกึ หดั

บทที่ 4 กระดาษทาการ งบการเงิน และรายการปดิ บัญชี จากการบันทึกรายการค้าต่างๆ ทีเ่ กิดขึ้นลงในสมุดรายวันทัว่ ไปแล้วจะต้องผ่านรายการไปยัง บัญชีแยกประเภทท่ัวไป ตลอดจนการจัดทางบทดลอง งบกาไรขาดทุน งบดุล ในการจัดทางบต่างๆ น้ัน มคี วามยงุ่ ยากซับซ้อนทาให้มโี อกาสในการจัดทางบการเงินนั้นผิดพลาดเกดิ ขึ้นได้ ผจู้ ดั ทาอาจจะต้องมี การจดั ทากระดาษทาการขึ้นมาก่อน เพ่อื ช่วยในการจัดทางบการเงินไดอ้ ย่างถูกต้องและรวดเรว็ มากขึน้ กระดาษทาการ (Work Sheet) กระดาษทาการไดม้ นี ักวิชาการและหนว่ ยงานให้ความหมายแตกตา่ งกันดังนี้ กฤตติกา แสนโภชน์ (2548: 90) ได้ให้ความหมายไว้ว่า กระดาษทาการ หมายถึง เครื่องมือ นามาใช้ในการจาแนกจานวนเงินของบัญชีต่างๆ ในงบทดลองเพื่อจัดว่าบัญชีใดจานวนเท่าใดท่ีจะ นาไปใชใ้ นการหากาไรหรอื ขาดทุน และบัญชีใดจานวนใดที่จะนาไปแสดงฐานะการเงินของกิจการ กรมสรรพากร ได้ให้ความหมายไว้ว่า กระดาษทาการ หมายถึง หลักฐานที่แสดงถึงการ ปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรองบัญชี หลักฐานท่ีได้รับจากการปฏิบัติงานตรวจสอบและรับรองบัญชี และส่ิงที่ตรวจพบจากการตรวจสอบของผู้สอบบญั ชีภาษอี ากร ซ่งึ ได้แก่ เอกสารท่ีผสู้ อบบัญชภี าษีอากร ได้จัดทาข้ึนเอง เอกสารที่ได้รับมาจากกิจการท่ีทาการตรวจสอบหรือท่ีขอจากบุคคลภายนอกกิจการ ท้งั นี้เพอ่ื ใช้ในการจดั ทารายงานการตรวจสอบและรบั รองบัญชี จากความหมายดังกล่าวสรุปได้ว่า กระดาษทาการ หมายถึง แบบฟอร์มหรือกระดาษร่างท่ีกิจการ จัดทาขึ้นเพ่ือเป็นเครื่องมือช่วยในการจาแนกประเภทบัญชีต่างๆ ในงบทดลองเพ่ือนาไปใช้ในการจัดทา งบกาไรขาดทุนและงบดุลเป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว และไม่ผิดพลาด จะเห็นได้ว่ากระดาษทาการไม่ได้ เปน็ ส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดทาบัญชีแต่เป็นเพียงเคร่ืองมอื ชว่ ย ดังนั้นกิจการจะจัดทาหรอื ไม่จัดทา กระดาษทาการก็ได้ รปู แบบของกระดาษทาการ กระดาษทาการมีหลายรูปแบบขึ้นอยกู่ ับข้อมลู ของกจิ การ และกิจการจะเลือกใช้รูปแบบใดน้ัน ขึ้นอยูก่ ับความต้องการและความจาเป็นท่ีจะต้องใช้ตามจานวนและลักษณะความยงุ่ ยากของรายการ บัญชีทีเ่ กิดข้ึนในแต่ละกจิ การ (รตั นา เธียรวิศษิ ฏ์สกลุ . 2546: 74 – 77) ดังน้ี กระดาษทาการ 6 ช่อง กระดาษทาการ 8 ชอ่ ง กระดาษทาการ 10 ชอ่ ง กระดาษทาการ 12 ชอ่ ง สาหรับในบทน้ผี ู้จัดทาจะกล่าวถงึ การจัดทากระดาษทาการ 6 ชอ่ ง เพอื่ ใหผ้ ้เู รียนสามารถเข้าใจ ไดง้ ่ายและเปน็ รูปแบบที่งา่ ยท่ีสุด ดงั นี้

72 ชอื่ กิจการ....................... กระดาษทาการ สาหรับรอบระยะเวลา.................... เลขที่ งบทดลอง งบกาไรขาดทุน งบดุล ชือ่ บญั ชี บัญชี เดบิต เครดิต เดบติ เครดิต เดบิต เครดิต 1. รูปแบบของกระดาษทาการ 6 ชอ่ ง ประกอบดว้ ยสว่ นตา่ งๆ ดังตอ่ ไปนี้ 1.1 สว่ นหัวของกระดาษทาการมี 3 บรรทดั ประกอบด้วย 1.1.1 บรรทดั ท่ี 1 ชือ่ กจิ การ 1.1.2 บรรทัดที่ 2 คาวา่ “กระดาษทาการ” 1.1.3 บรรทดั ท่ี 3 สาหรับรอบระยะเวลาบญั ชี 1.2 ชอ่ ง ชื่อบัญชี 1.3 ชอ่ ง เลขท่ีบญั ชี 1.4 ช่อง งบทดลอง แบ่งออกเป็น ด้านเดบติ และด้านเครดิต 1.5 ช่อง งบกาไรขาดทุน แบง่ ออกเปน็ เดบติ และเครดติ 1.6 ช่องงบดลุ แบง่ ออกเป็น เดบิตและเครดิต 2. ขนั้ ตอนการจัดทากระดาษทาการ 6 ชอ่ ง สามารถจดั ทาได้ดงั นี้ 2.1 ให้เขียนสว่ นหวั ของกระดาษทาการซง่ึ มี 3 บรรทัด ประกอบด้วย 2.1.1 บรรทัดที่ 1 ให้เขยี นชื่อกิจการ 2.1.2 บรรทดั ท่ี 2 ให้เขยี นคาว่า “กระดาษทาการ” 2.1.3 บรรทดั ที่ 3 ให้เขียนว่า สาหรบั งวดสนิ้ สุดวนั ที่.................. 2.2 ช่องช่ือบญั ชี ให้นาช่ือบัญชตี ่างๆ ที่ปรากฏในบัญชีแยกประเภทหรอื ในงบทดลองทุกบญั ชี มาลงในชอ่ งชื่อบัญชี 2.3 ช่องเลขท่ีบญั ชี ใหใ้ สเ่ ลขท่บี ญั ชีตามทก่ี าหนดในผังบญั ชโี ดยเรียงลาดบั กอ่ นหลงั 2.4 ช่องงบทดลอง ให้นาจานวนเงินคงเหลือที่ตรงกับช่ือท่ีปรากฏในบัญชีแยกประเภทหรือ ในงบทดลองทุกบัญชีมาลงในงบทดลอง โดยยอดคงเหลือแต่ละบัญชีจะมียอดดุลทางด้านเดบิตและเครดิต ตามแตล่ ะบัญชีจะมียอดดลุ คงเหลือ ซึ่งบรรทดั สุดทา้ ยคอื ยอดรวมท้งั สองด้านจะต้องเท่ากนั 2.5 ช่องงบกาไรขาดทุน ให้นาจานวนเงินในหมวดรายได้และหมวดคา่ ใช้จ่ายมาลงในงบกาไร ขาดทุนท่ีมียอดดลุ ไม่เท่ากัน ผลต่างที่ได้ถา้ รายไดม้ ากกว่าถือว่ามีกาไรสุทธิ ถ้าค่าใช้จา่ ยมากกว่าถือว่า ขาดทนุ สทุ ธิ

73 2.6 ช่องงบดุล ให้นาจานวนเงินในหมวดสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ มาลงในงบดุล ยอดดุลทั้งสองด้านจะไม่เท่ากัน ผลต่างท่ีได้จะเท่ากับผลต่างในงบกาไรขาดทุน แต่ยอดผลต่างจะอยู่กัน คนละด้าน ขัน้ ตอนการจัดทากระดาษทาการ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช (2552: 224) กล่าวถงึ ข้ันตอนในการจัดทากระดาษทาการ ดงั นี้ ข้นั ที่ 1 เขียนหัวกระดาษทาการประกอบดว้ ย ชื่อกิจการ บรรทัดที่ 2 คาว่า “กระดาษทาการ” และบรรทัดที่ 3 สาหรับระยะเวลาสิน้ สดุ วันที่ เดือน พ.ศ. อะไร ขั้นที่ 2 นาเอาบัญชตี ่างๆ ที่มยี อดคงเหลือหรอื กรณีทีก่ ิจการทางบทดลองไวแ้ ลว้ บันทกึ ในชอ่ ง ช่ือบัญชีโดยเขียนชอ่ื บัญชี เลขท่ีบญั ชี จานวนเงินท่คี งเหลอื ทางดา้ นเดบิตหรือเครดติ แล้วรวมยอดของ เดบิต เครดติ ของงบทดลองซ่งึ ยอดรวมทั้งสองข้างจะต้องเท่ากนั ข้ันท่ี 3 พิจารณาบัญชตี า่ งๆ ในงบทดลองโดยแบง่ ตามส่วนของบญั ชีดังนี้ - บัญชีต่างๆ ท่ีอยู่ในหมวดสินทรัพย์ โดยนายอดคงเหลือไปแสดงในช่องงบดุลทาง ดา้ นเดบติ - บัญชีต่างๆ ทอี่ ยู่ในหมวดหน้ีสนิ และส่วนของเจ้าของให้นายอดคงเหลือไปแสดงใน ชอ่ งงบดลุ ทางด้านเครดิต - บัญชีถอนใช้ส่วนตัว เนื่องจากเป็นรายการที่ทาให้ทุนลดลง ให้นายอดคงเหลือไป แสดงในชอ่ งงบดุลทางดา้ นเดบิต - บญั ชีหมวดรายได้ ใหน้ ายอดคงเหลือไปแสดงในชอ่ งงบกาไรขาดทุนดา้ นเครดิต - บัญชคี า่ ใช้จา่ ย ให้นายอดคงเหลือไปแสดงในช่องงบกาไรขาดทนุ ดา้ นเดบิต ข้ันที่ 4 เมือ่ นายอดคงเหลอื ของบญั ชตี ่างๆ ไปแสดงในงบกาไรขาดทุน และงบดลุ เรยี บร้อยแล้ว ใหร้ วมยอดในชอ่ งงบกาไรขาดทนุ และงบดลุ ทางด้านเดบิตและเครดิต ขนั้ ท่ี 5 หาผลต่างช่องงบกาไรขาดทุน ถ้ายอดรวมทางด้านเครดิตมากกว่ายอดรวมทางด้านเดบิต ผลต่างคือกาไรสุทธิ ให้เขียนในช่องชื่อบัญชีพร้อมจานวนเงินท่ีเป็นผลต่างในช่องเดบิตของงบกาไรขาดทุน พร้อมท้ังนาผลกาไรนั้นไปปรากฏในช่องเครดติ ของงบดลุ ในบรรทัดเดียวกัน แต่ถ้ายอดรวมทางด้านเดบิต มากกว่าเครดิต ผลต่าง คือ ขาดทุนสุทธิ ให้เขียนในช่องชื่อบัญชีพร้อมจานวนเงนิ ท่ีเป็นผลต่างในช่อง เครดิตของงบกาไรขาดทุน พรอ้ มทัง้ นาผลขาดทนุ น้ันไปปรากฏในชอ่ งเดบิตของงบดุลในบรรทดั เดียวกัน ข้ันที่ 6 รวมยอดช่องเดบิต เครดติ ของงบกาไรขาดทุนและงบดุล ยอดรวมเดบิตและเครดิตของ แตล่ ะงบจะตอ้ งเท่ากัน (มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช, 2552) ประโยชน์ของการจัดทากระดาษทาการ กรมสรรพากรไดก้ ลา่ วถึงประโยชนข์ องการจดั ทากระดาษทาการไว้ คือ เพ่อื เป็นเอกสารหรอื บนั ทกึ ที่ช่วยให้ผู้สอบบัญชีภาษีอากรในการวางแผนและปฏิบัติงาน ตรวจสอบและรับรองบัญชีเพื่อให้บรรลุ วตั ถุประสงค์ รวมถึงช่วยในการควบคุมดูแลและตรวจสอบได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้การบันทึกข้อมูล และหลักฐานท่ีไดร้ บั จากการปฏบิ ัติงานยงั ใชเ้ ปน็ ข้อมูลประกอบการจัดทารายงานการตรวจสอบและรับรอง บัญชีของกิจการท่ีทาการตรวจสอบ และเป็นหลักฐานท่ีแสดงให้เห็นว่าผู้สอบบัญชีภาษีอากรได้มีการ

74 ปฏิบัติงานตามท่ีอธิบดีกรมสรรพากรกาหนดหรือไม่ ดังน้ันกระดาษทาการจึงเป็นส่ิงที่เชื่อมโยงระหว่าง สมุดบัญชีและหลักฐานต่างๆ กับรายงานการตรวจสอบและรับรองบัญชี (เว็บไซต์ http://www.rd.go.th/ publish/22780.0.html 13082560) โดยสรปุ ประโยชนข์ องการจดั ทากระดาษทาการ ดงั น้ี 1. เปน็ เคร่อื งมือชว่ ยในการจาแนกตัวเลขจากงบทดลองเพื่อช่วยในการเตรียมจัดทางบการเงิน 2. ช่วยทาใหเ้ กิดความสะดวกและประหยดั เวลาในการจัดทางบการเงิน 3. ชว่ ยให้งบการเงนิ มคี วามถกู ต้องแมน่ ยามากยง่ิ ขึน้ และปอ้ งกันข้อผิดพลาดของงบการเงนิ 4. ทาให้ทราบถึงผลการดาเนนิ งานของกจิ การวา่ มีผลกาไรสทุ ธิหรือผลขาดทนุ สทุ ธิ 5. ทาใหท้ ราบถงึ ฐานะทางการเงนิ ของกิจการวา่ มีสนิ ทรพั ย์ หน้สี นิ และทนุ เปน็ จานวนเท่าไร การจัดทางบการเงนิ งบการเงินเป็นการสรุปข้อมูลทางการเงนิ ข้ันสุดท้ายของกระบวนการจัดทาบัญชี ซึ่งข้อมูลใน งบการเงินได้มาจากการจดบันทึกรายการค้าต่างๆ ลงในสมุดของกิจการ โดยมีการจัดประเภทและแบ่ง หมวดหมู่ของรายการค้าต่างๆ ท่ีเกิดข้ึน งบการเงินจะจัดทาขึ้นอย่างน้อยปีละ 1 คร้ัง เพ่ือสนองความ ต้องการของข้อมูลของผูใ้ ช้งบการเงินทุกประเภท เน่ืองจากงบการเงินเป็นแหล่งข้อมูลทางการเงินท่สี าคัญ 1. ความหมายของงบการเงิน ตามพระราชบัญญตั กิ ารบญั ชี พ.ศ.2543 ไดก้ ล่าวไว้วา่ งบการเงิน หมายความว่า รายการผลการดาเนินงาน ฐานะการเงินหรือการเปล่ียนแปลง ฐานะ การเงินของกิจการ ไม่วา่ จะรายงานโดยงบดุล งบกาไรขาดทนุ งบกาไรสะสม งบกระแสเงินสด งบแสดง การเปลีย่ นแปลงสว่ นของผู้ถอื หุน้ งบประกอบหรือหมายเหตุประกอบงบการเงนิ หรือคาอธิบายอ่ืนๆ ทรี่ ะบุ ไวว้ ่าเปน็ ส่วนหนึง่ ของงบการเงนิ จากกรอบแนวคิดในการจัดทาและนาเสนองบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน สาหรับกิจการไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ สามารถสรุปความหมายของงบการเงินไว้วา่ งบการเงิน หมายถึง รายงานทางการเงินที่นาเสนอข้อมูลในเรื่องเก่ียวกับผลการดาเนินงานท่ีแสดงในรูปงบกาไรขาดทุน ฐานะ การเงนิ ซงึ่ แสดงในรปู ของงบแสดงฐานะการเงิน เดมิ เรยี กว่า งบดุล 2. วัตถุประสงค์ของบการเงิน มาตรฐานการรายงานทางการเงินสาหรับกิจการท่ีไม่ได้มีส่วน ไดเ้ สียสาธารณะได้กาหนดวัตถุประสงค์ของงบการเงนิ คือ การนาเสนอขอ้ มูลที่เก่ียวข้องกับฐานะการเงิน และผลการดาเนินงานของกิจการท่ีมปี ระโยชน์ตอ่ การตัดสินใจเชงิ เศรษฐกิจ ข้อมูลท่ีมปี ระโยชน์ คือ ข้อมูล ทางการเงินท่ีแสดงผลกระทบของรายการในอดีตท่ีมีต่อฐานะการเงิน และผลการดาเนินงานของกิจการ ที่ช่วยผู้ใช้งบการเงินในการประเมินความสามารถของกิจการท่ีก่อให้เกิดเงินสดและรายการเทียบเท่า เงนิ สดไม่ว่าจะเป็นจานวนเงนิ จังหวะเวลา และความแนน่ อนของกระแสเงนิ สด ขอ้ มูลในงบการเงนิ ยัง ช่วยผใู้ ชง้ บการเงินอ่ืนในการประเมินความสามารถในการดแู ลและความรับผดิ ชอบของผู้บริหารของกจิ การ

75 จากข้อมลู ในบทท่ี 3 ตวั อยา่ งท่ี 3.1 ของร้านอ๋อยซักแหง้ แสดงงบทดลองดงั น้ี รา้ นออ๋ ยซักแห้ง งบทดลอง วันท่ี 31 เดือน มกราคม พ.ศ.2558 ช่อื บัญชี เลขท่ี เดบติ เครดติ เงินสด บญั ชี บาท ส.ต. บาท ส.ต. ลกู หน้กี ารคา้ 101 60,390 - วัสดุสานกั งาน 102 5,000 - 4,800 - รถขนสง่ 103 6,320 - 368,770 - เครื่องมือเคร่อื งใชใ้ นการซกั รดี 104 268,000 - 90,180 - เครื่องใชส้ านักงาน 105 50,000 - เจา้ หนกี้ ารคา้ 106 24,000 - ทุน – นางออ๋ ย 201 ถอนใชส้ ว่ นตวั รายไดจ้ ากการซักรดี 301 คา่ เชา่ ร้าน 302 10,000 - ค่าโฆษณา 401 ค่านา้ ยาซักแห้ง 501 1,250 - คา่ เบี้ยประกัน 502 1,000 - คา่ แรงงาน 503 10,250 - ค่าซ่อมแซม 504 2,500 - คา่ น้า ค่าไฟ คา่ โทรศัพท์ 505 16,000 - 506 2,540 - 507 6,500 - 463,750 - 463,750 -

76 ร้านอ๋อยซักแห้ง กระดาษทาการ สาหรับงวดสิ้นสดุ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2558 ชอื่ บัญชี เลขท่ี งบทดลอง งบกาไรขาดทนุ งบดลุ บัญชี เดบิต เครดติ เดบติ เครดติ เดบติ เครดติ เงินสด 101 60,390 - 60,390 ลกู หน้ี 102 5,000 - 5,000 การค้า 6,320 - 6,320 วสั ดุ 103 268,000 - 268,000 สานักงาน 50,000 - 50,000 รถขนส่ง 104 เคร่ืองมือ เครือ่ งใช้-ใน 105 24,000 - 24,000 การซกั รดี เคร่อื งใช้ 106 4,800 - 4,800 - สานักงาน 10,000 - 368,770 - 90,180 10,000 368,770 - เจ้าหนี้ 201 1,250 - การค้า 1,250 - 90,180 - 1,000 - ทุน – นาง 301 1,000 - 10,250 - ออ๋ ย 10,250 - 2,500 - ถอนใช้ 302 2,500 - 16,000 - ส่วนตวั 16,000 - 2,540 - รายได้จาก 401 2,540 - 6,500 - การซักรดี 6,500 - คา่ เช่าร้าน 501 คา่ โฆษณา 502 คา่ นา้ ยาซัก 503 แห้ง คา่ เบยี้ 504 ประกนั ค่าแรงงาน 505 คา่ ซอ่ มแซม 506 คา่ น้าค่าไฟ 507 ค่าโทรศพั ท์ กาไรสทุ ธิ 463,750 - 463,750 - 40,040 - 90,180 - 423,710 - 373,570 - 50,140 - 50,140 - 90,180 - 90,180 - 423,710 - 423,710 -

77 รา้ นอ๋อยซักแหง้ งบกาไรขาดทุน สาหรบั งวดสิ้นสดุ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2558 รายได้ : 90,180 รายไดจ้ ากการซกั รีด คา่ ใชจ้ ่าย : 1,250 คา่ เชา่ ร้าน 1,000 ค่าโฆษณา 10,250 ค่านา้ ยาซักแหง้ 2,500 ค่าเบีย้ ประกนั 16,000 ค่าแรงงาน 2,540 คา่ ซอ่ มแซม 6,500 40,040 คา่ นา้ ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ 50,140 กาไรสทุ ธิ

78 ร้านอ๋อยซักแห้ง งบดลุ ณ วันที่ 31 มกราคม พ.ศ.2558 สนิ ทรพั ย์หมุนเวียน : สนิ ทรพั ย์ เงินสด ลกู หน้กี ารค้า 60,390 วัสดสุ านักงาน 5,000 6,320 71,710 สินทรพั ยไ์ มห่ มุนเวียน : รถขนส่ง 268,000 342,000 เคร่อื งมือเคร่อื งใชใ้ นการซักรีด 50,000 413710 เคร่ืองใชส้ านักงาน 24,000 รวมสนิ ทรพั ยท์ ง้ั ส้นิ หนี้สนิ หมุนเวยี น : หนี้สนิ และสว่ นของเจา้ ของ เจา้ หนีก้ ารคา้ 4,800 หน้สี นิ ไมห่ มนุ เวียน : - ______ 4,800 รวมหนส้ี นิ สว่ นของเจ้าของ : 368,770 10,000 ทนุ – นางอ๋อย 358,770 หัก ถอนใชส้ ว่ นตวั 50,140 บวก กาไรสุทธิ 408,910 รวมหน้ีสนิ และสว่ นของเจ้าของ 413,710 รายการปิดบญั ชี รายการปิดบัญชีนั้นกิจการมักจะจัดทาขึ้นตอนสิ้นงวดบัญชีอาจจะเป็น 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี แตโ่ ดยท่ัวไปนิยมกาหนดรอบระยะเวลาบัญชีเป็น 1 ปี ตามปีปฏิทินเพ่ือให้ง่ายต่อการชาระภาษี ซงึ่ ในการปิดบัญชีเป็นการโอนปิดบัญชีรายได้และบัญชีค่าใช้จ่ายต่างๆ ของกิจการ เข้าบัญชีกาไรขาดทุน เพื่อแสดงให้เห็นถึงผลการดาเนินงานของกิจการว่ามีผลกาไรหรือขาดทุน และจะทาการโอนปิดบัญชี กาไรขาดทุนเข้าบัญชีทุน และปิดบัญชีถอนใช้ส่วนตัวเข้าบัญชีทุน สาหรับบัญชีประเภทหน้ีสินและทุน จะทาการปิดบัญชโี ดยการโอนเป็นยอดยกไปยกมาเพ่ือคานวณหายอดคงเหลือ

79 หลังจากมีการบันทึกบัญชแี ละจัดทางบทดลองเพื่อการตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึก บญั ชตี ามระบบบญั ชคี ่แู ล้ว ในสิ้นงวดบัญชกี ิจการจะตอ้ งหาผลการดาเนินงานประจางวดนนั้ เพ่ือจะได้ ทราบวา่ ผลการดาเนินงานเป็นกาไรสุทธิหรือขาดทุนสิทธิ ซึ่งบัญชีต่างๆ ได้แก่บัญชีประเภทรายได้และ คา่ ใช้จ่าย พร้อมท้ังบัญชีถอนใช้ส่วนตวั เปน็ บัญชชี ่ัวคราว (Norminal Accounts) และบัญชีที่เปดิ ข้นึ ใหม่ คอื บัญชีกาไรขาดทนุ จะถูกโอนไปบัญชีทนุ ส่วนบัญชีประเภทสินทรัพย์ หน้สี ิน และทนุ เป็นบัญชีท่แี ทจ้ ริง (Real Accounts) จะตอ้ งปิดโดยคานวณหายอดคงเหลือยกไปของแตล่ ะบญั ชีในบัญชีแยกประเภท ณ วันส้ินงวด และบันทึกยอดยกมาเป็นรายการเปิด ณ วันแรกของรอบระยะเวลาบัญชีใหม่ เพ่ือรอการ ดาเนนิ งานตอ่ ไป (ดวงสมร อรพนิ ท์. 2557: 71) หลังจากกิจการได้ทาการปิดบัญชีเพื่อหาผลการดาเนินงานประเภทงวดน้ัน จะต้องเสนอผล การดาเนนิ งานและฐานะการเงินของกิจการ ซ่ึงปกติจะต้องจดั ทาอยา่ งน้อยปลี ะ 1 คร้ัง ดว้ ยการจดั ทา งบการเงนิ ต่อไป การปิดบัญชี (Closing Entries) หมายถึง การโอนยอดดุลของบัญชีประเภทรายได้และบัญชี ประเภทค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นทุกบัญชีไปยังบัญชีท่ีเปิดขึ้นใหม่คือบัญชีกาไรขาดทุน (Profit and Loss Account) ซง่ึ เป็นบญั ชีประเภทส่วนของเจ้าของ (ทุน) และเป็นบัญชชี ่ัวคราว (Norminal Accounts) เพ่ือการหาผลกาไรจากการดาเนนิ งาน และโอนไปยังบญั ชสี ว่ นของเจ้าของ (ทนุ ) ณ วนั สน้ิ งวดบัญชี การปิดบัญชีโดยมีข้ันตอนดาเนินการ 4 ขั้นตอน (นวพร ทองนุช. มหาวิทยาลัยสวนสุนันทา เวบ็ ไซต์ http:// www.teacher.ssru.ac.th/nawaporn_th/) ดงั นี้ จากขอ้ มลู ในบทท่ี 3 ตัวอยา่ ง 3.1 ของรา้ นออ๋ ยซักแห้ง สามารถปิดบญั ชีได้ดังนี้ 1. บนั ทกึ รายการปิดบญั ชีในสมดุ รายวันทัว่ ไป 1.1 โดยการโอนปิดบญั ชรี ายไดเ้ ขา้ บัญชกี าไรขาดทนุ สมดุ รายวันทั่วไป หนา้ ..... พ.ศ. 2558 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ เดือน วันที่ บัญชี บาท ส.ต. บาท ส.ต. มกราคม 31 รายได้จากการซักรดี 90,180 - 90,180 - กาไรขาดทนุ (โอนปดิ บัญชีรายไดเ้ ขา้ บญั ชกี าไร ขาดทนุ )

80 1.2 โอนปิดบญั ชคี า่ ใชจ้ ่ายเข้าบญั ชีกาไรขาดทุน หนา้ ..... สมดุ รายวนั ทั่วไป เครดติ พ.ศ. 2558 รายการ เลขท่ี เดบิต บาท ส.ต. เดอื น วนั ที่ บัญชี บาท ส.ต. 1,250 - มกราคม 31 กาไรขาดทุน 40,040 - 1,000 - คา่ เช่ารา้ น 10,250 - โฆษณา 2,500 - ค่าน้ายาซกั แห้ง 16,000 - คา่ เบี้ยประกนั 2,540 - คา่ แรงงาน 6,500 - ค่าซอ่ มแซม คา่ นา้ คา่ ไฟ คา่ โทรศพั ท์ (โอนปดิ บัญชีคา่ ใช้จา่ ยเข้าบญั ชกี าไร ขาดทนุ ) 1.3 โอนปดิ บัญชกี าไรขาดทุนเขา้ บัญชีทุน หนา้ ..... สมุดรายวันท่วั ไป เครดติ พ.ศ. 2558 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท ส.ต. เดอื น วนั ท่ี กาไรขาดทุน บัญชี บาท ส.ต. 50,140 - มกราคม 31 50,140 - ทนุ – นางออ๋ ย (โอนปดิ บัญชกี าไรขาดทุ นเขา้ บญั ชีทุน) 1.4 โอนปดิ บญั ชถี อนใช้ส่วนตัวเขา้ บัญชที นุ หนา้ ..... สมดุ รายวันทว่ั ไป เครดติ พ.ศ. 2558 รายการ เลขที่ เดบิต บาท ส.ต. เดือน วันท่ี บญั ชี บาท ส.ต. 10,000 - มกราคม 31 ทุน – นางออ๋ ย 10,000 - ถอนใช้ส่วนตวั (โอนปดิ บญั ชีถอนใชส้ ว่ นตวั เขา้ บญั ชี ทนุ )

81 2. ผา่ นรายการปดิ บัญชไี ปยังบัญชีแยกประเภททั่วไป 3. ปดิ บญั ชตี ่างๆ ในสมุดบญั ชีแยกประเภททั่วไปเพื่อหายอดคงเหลือยกไปยกมา บญั ชีเงนิ สด เลขท่ี 101 ว/ด/ หน้า เดบติ ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ บัญชี บาท 2558 2558 รว.1 1,250 - ม.ค.1 ยอดยกมา รว.1 32,450 - ม.ค. 2 ค่าเชา่ รว.1 1,000 - 5 รายได้จากการซกั แห้ง รว.1 10,560 - ค่าโฆษณา รว.1 2,000 - 15 รายได้จากการซักแหง้ รว.2 36,420 - 6 วสั ดสุ านกั งาน รว.2 2,500 - 21 รายได้จากการซกั แหง้ รว.3 24,000 - 7 คา่ เบี้ยประกัน รว.2 5,450 - 24 รายไดจ้ ากการซกั แห้ง รว.3 14,200 - 10 เจ้าหน้กี ารคา้ รว.2 8,000 - 15 ค่าแรงงาน รว.2 2,540 - 16 ค่าซ่อมแซม รว.2 10,000 - 18 เจา้ หน้กี ารคา้ รว.3 6,500 - 29 คา่ น้าคา่ ไฟ รว.3 8,000 - 30 ค่าโทรศพั ท์ รว.3 10,000 - 31 คา่ แรงงาน รว.3 60,390 - ถอนใชส้ ว่ นตัว  117,630 - 117,630 - ยอดยกไป ก.พ.1 ยอดยกมา  60,390 - บญั ชีลูกหน้กี ารคา้ เลขที่ 102 หนา้ เดบติ ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ 2558 บัญชี บาท ม.ค.21 รายได้จากการซักแห้ง 2558  5,000 - รว.3 5,000 - ม.ค. 31 ยอดยกไป ก.พ. 1 ยอดยกมา 5,000 - 5,000 -  5,000 -

82 บัญชีวัสดุสานักงาน เลขที่ 103 หนา้ เดบิต ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ 2558 บญั ชี บาท ม.ค. 1 ยอดยกมา 2558  6,320 - รว.1 4,320 - ม.ค.31 ยอดยกไป 6 เงินสด รว.1 2,000 - 6,320 - 6,320 - ก.พ. 1 ยอดยกมา  6,320 - หนา้ เดบิต บัญชรี ถขนส่ง เลขท่ี 104 บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ บญั ชี บาท 2558 2558  268,000 - ม.ค. 1 ยอดยกมา รว.1 268,000 - ม.ค. 31 ยอดยกไป 268,000 - 268,000 - ก.พ.1 ยอดยกมา  บัญชีเครื่องมือเคร่ืองใช้ในการซกั รีด เลขที่ 105 หนา้ เดบิต ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ หนา้ เครดติ 2558 บัญชี บาท ม.ค. 1 ยอดยกมา 2558  50,000 - รว.1 50,000 - ม.ค.31 ยอดยกไป ก.พ. 1 ยอดยกมา 50,000 - 50,000 -  50,000 -

83 บัญชีเคร่ืองใชส้ านักงาน เลขท่ี 106 หนา้ เดบิต ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ 2558 บัญชี บาท ม.ค. 1 ยอดยกมา 2558  50,000 - รว.1 24,000 - ม.ค. 31 ยอดยกไป ก.พ.1 ยอดยกมา 50,000 - 24,000  24,000 บญั ชีเจา้ หน้กี ารค้า เลขที่ 201 หน้า เดบติ ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ 2558 บัญชี บาท 2558 รว.1 10,000 - ม.ค.10 เงินสด รว.2 5,450 - ม.ค. 1 ยอดยกมา รว.1 5,450 - 18 เงนิ สด รว.2 10,000 - 3 ค่าน้ายาซกั แห้ง รว.3 4,800 - 31 ยอดยกไป  4,800 - 22 ค่านา้ ยาซักแห้ง 20,250 - 20,250 -  4,800 - ก.พ. 1 ยอดยกมา บัญชที ุน -นางอ๋อย เลขท่ี 301 หนา้ เดบิต ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ 2558 บญั ชี บาท ม.ค.31 ถอนใช้สว่ นตวั 2558 รว.1 368,770 - รว. 4 10,000 - ม.ค. 1 ยอดยกมา รว. 4 50,140 - ยอดยกไป  408,910 - 31 กาไรขาดทุน 418,910 - 418,910 -  408,910 - ก.พ. 1 ยอดยกมา

84 บญั ชีถอนใช้ส่วนตัว เลขที่ 302 หน้า เดบิต หนา้ เครดติ ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท 2558 ม.ค.31 เงินสด 2558 รว.3 10,000 - ม.ค.31 ทนุ – นางอ๋อย รว. 4 10,000 - 10,000 - 10,000 - บัญชีรายได้จากการซกั แห้ง เลขท่ี 401 หนา้ เดบติ ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ 2558 บญั ชี บาท ม.ค.31 กาไรขาดทุน 2558 รว.1 10,560 - รว. 4 90,180 - ม.ค. 5 เงนิ สด รว.2 36,420 - 15 เงินสด รว.3 29,000 - 21 เงินสด รว.3 14,200 - 24 เงินสด 90,180 - 90,180 - บญั ชีคา่ เชา่ เลขท่ี 501 หนา้ เดบิต ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ 2558 บัญชี บาท ม.ค. 2 เงินสด 2558 รว.4 1,250 - รว.1 1,250 - ม.ค.31 กาไรขาดทุน 1,250 - 1,250 - บัญชีค่าโฆษณา เลขท่ี 502 หนา้ เดบติ ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ 2558 บัญชี บาท ม.ค. 2 เงนิ สด 2558 รว.4 1,000 - รว.1 1,000 - ม.ค. 31 กาไรขาดทนุ 1,000 - 1,000 -

85 บญั ชีคา่ นา้ ยาซักแหง้ เลขที่ 503 หนา้ เดบติ ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ 2558 บญั ชี บาท ม.ค. 3 เจา้ หน้กี ารคา้ 2558 รว.4 10,250 - รว.1 5,450 - ม.ค. 31 กาไรขาดทุน 22 เจ้าหน้ีการคา้ รว.3 4,800 - 10,250 - 10,250 - บัญชีค่าเบย้ี ประกนั เลขท่ี 504 หน้า เดบติ ว/ด/ป รายการ บัญชี บาท ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ 2558 บญั ชี บาท ม.ค. 2 เงนิ สด 2558 รว.4 2,500 - รว.2 2,500 - ม.ค. 31 กาไรขาดทุน 2,500 - 2,500 - บญั ชีคา่ แรงงาน เลขท่ี 505 หนา้ เดบติ ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ หนา้ เครดติ 2558 บญั ชี บาท ม.ค. 15 เงินสด 2558 รว.4 16,000 - รว.2 8,000 - ม.ค. 31 กาไรขาดทุน 30 เงนิ สด รว.3 8,000 - 16,000 - 16,000 - บญั ชคี า่ ซอ่ มแซม เลขที่ 506 หน้า เดบติ ว/ด/ป รายการ บญั ชี บาท ว/ด/ป รายการ หน้า เครดติ 2558 บัญชี บาท ม.ค.16 เงนิ สด 2558 รว.4 2,540 - รว.2 2,540 - ม.ค. 31 กาไรขาดทนุ 2,540 - 2,540 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook