Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชาหลักการเงิน

รายวิชาหลักการเงิน

Published by kitthanachon01, 2021-11-25 13:17:55

Description: เอกสารประกอบการสอน วิชาหลักการเงิน

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการบญั ชีการเงิน ชลธิชา รัมพณีนลิ มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี 2560

2 เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการบัญชกี ารเงนิ ชลธชิ า รัมพณนี ลิ บช.ม.(การบญั ชี) มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอดุ รธานี 2560

ก คานา เอกสารประกอบการสอนวิชาการบัญชีการเงิน(Financial Accounting) รหัส AC10101 เล่มน้ี ข้าพเจ้าเขียนขนึ้ โดยมวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ใช้เป็นเอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชานมี้ ีเน้อื หาเกยี่ วกบั การบัญชกี ารเงิน สาหรับนกั ศกึ ษาในสาขาวิชาคอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ ตามหลักสูตรบริหารธรุ กิจบณั ฑิต เน้ือหาภายในเลม่ ประกอบดว้ ย 9 บท ได้แก่ ความรู้ท่ัวไปเก่ียวกับการบัญชี งบการเงิน สมการบัญชี ผังบัญชี รายการค้า การบนั ทึกบัญชี กระดาษทาการ งบการเงินและรายการปิดบัญชี รายการปรับปรุง การบญั ชเี ก่ียวกับธุรกจิ ซอ้ื มาขายไป สนิ ค้าคงเหลือ การบัญชสี าหรับธรุ กิจอุตสาหกรรม ระบบภาษีมลู ค่าเพม่ิ ท้ายสุดน้ี ข้าพเจ้าขอเทิดทูนพระคณุ ของบิดา มารดา ครูอาจารย์ ขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิท่ีตรวจ ผลงานทางวิชาการ และกรุณาให้คาแนะนาท่ีเป็นประโยชน์และมีคุณค่าย่ิง รวมท้ังขอบคุณครอบครัว ทีเ่ ป็นกาลังใจเสมอมา ขา้ พเจา้ หวังวา่ เอกสารประกอบการสอนเลม่ น้ีจะเปน็ ประโยชน์ต่อนักศึกษาและ บคุ คลทัว่ ไปทม่ี ีความสนใจศกึ ษาเนอื้ หาน้ี ชลธชิ า รมั พณีนิล พฤษภาคม 2560



สารบัญ ค คานา หน้า สารบญั ก สารบญั ตาราง ค สารบัญภาพ ช แผนบรหิ ารการสอนประจาวิชา ซ แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 1 ฌ บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับการบัญชี 1 3 ประวัตแิ ละววิ ัฒนาการของการบญั ชี 3 ประวตั ิความเปน็ มาของการบัญชีไทย 4 ความหมายของการบัญชี 4 วตั ถปุ ระสงค์ของการจดั ทาบัญชี 5 ประโยชนข์ องการจดั ทาบัญชี 5 รปู แบบของการบัญชี 6 ประเภทของธรุ กิจ 8 แม่บทการบัญชี 10 วตั ถุประสงค์ของงบการเงิน 13 บทสรุป 15 แบบฝึกหัดทา้ ยบท 16 เอกสารอ้างองิ 17 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 2 18 บทที่ 2 งบการเงนิ สมการบัญชี และผังบญั ชี 19 ความหมายของงบการเงิน 19 งบดุล หรืองบแสดงฐานะการเงิน 19 รูปแบบของงบดลุ 21 รูปแบบงบกาไรขาดทนุ 26 งบกาไรสะสม 32 สมการบญั ชี 32 ผงั บัญชี 33 บทสรุป 35 แบบฝกึ หัดทา้ ยบท 36 เอกสารอา้ งอิง 41

ง หน้า สารบัญ (ตอ่ ) 42 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 3 43 บทท่ี 3 รายการคา้ และการบันทกึ บญั ชี 43 44 วงจรบญั ชี 47 รายการคา้ และการวิเคราะหร์ ายการค้า 48 หลักการบญั ชคี ู่ 49 สมุดรายวัน 50 สมุดบญั ชีแยกประเภท 60 งบทดลอง 61 บทสรุป 69 แบบฝึกหัดทา้ ยบท 70 เอกสารอา้ งอิง 71 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 4 71 บทท่ี 4 กระดาษทาการ งบการเงิน และรายการปดิ บญั ชี 71 กระดาษทาการ 73 รูปแบบของกระดาษทาการ 73 ขั้นตอนการจัดทากระดาษทาการ 74 ประโยชนข์ องการจัดทากระดาษทาการ 86 การจดั ทางบการเงนิ 87 งบทดลองหลังปิดบัญชี 88 บทสรุป 95 แบบฝึกหัดทา้ ยบท 96 เอกสารอา้ งองิ 97 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 5 97 บทที่ 5 รายการปรับปรงุ 97 ขนั้ ตอนการปรับปรุงรายการในวันสน้ิ งวด 98 ประเภทของรายการปรับปรงุ 110 วิธกี ารบันทึกบัญชเี กยี่ วกบั รายการปรับปรุง 112 การแก้ไขขอ้ ผดิ พลาดทางบญั ชี 113 บทสรปุ 119 แบบฝึกหัดท้ายบท เอกสารอ้างองิ

สารบัญ (ตอ่ ) จ แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 6 บทท่ี 6 การบัญชเี กยี่ วกบั ธุรกจิ ซอ้ื มาขายไป หน้า 120 เอกสารเกย่ี วขอ้ งกบั การซ้อื มาขายไป 121 วิธกี ารทาบัญชีเก่ยี วกับธรุ กจิ ซื้อมาขายไป 121 การบันทกึ บัญชีเกย่ี วกบั การซื้อ - ขายสินค้า 129 วิธีการบนั ทกึ บัญชีแบบสิ้นงวด 132 วิธีคานวณต้นทุนขาย 137 วิธีการบันทกึ บญั ชีแบบต่อเนื่อง 138 การปดิ บัญชี 139 บทสรุป 144 แบบฝึกหดั ท้ายบท 146 เอกสารอ้างองิ 147 แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 7 153 บทท่ี 7 สินค้าคงเหลือ 154 ความหมายของสินค้าคงเหลือ 155 รายการท่ีนบั รวมเปน็ สนิ คา้ คงเหลือ 155 ตน้ ทุนสินคา้ คงเหลือ 155 การตรี าคาสินค้าคงเหลือ 156 การตีราคาสนิ ค้าคงเหลือตามราคาทุน 157 บทสรปุ 158 แบบฝกึ หดั ทา้ ยบท 168 เอกสารอา้ งองิ 169 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 8 173 บทท่ี 8 การบญั ชีสาหรับธุรกิจอุตสาหกรรม 174 ความหมายของธรุ กิจอตุ สาหกรรม 175 ลกั ษณะของธุรกิจอตุ สาหกรรม 175 วงจรต้นทุนการผลติ 175 สินค้าคงเหลอื สาหรบั ธุรกิจอตุ สาหกรรม 175 ต้นทนุ การผลติ 176 การบันทกึ บัญชีสาหรบั ธุรกจิ อตุ สาหกรรม 177 งบการเงินของธุรกจิ อุตสาหกรรม 179 การบัญชแี บบส้นิ งวด 178 186

ฉ หนา้ สารบญั (ตอ่ ) 192 198 การบญั ชแี บบต่อเนือ่ ง 199 บทสรปุ 203 แบบฝึกหดั ท้ายบท 204 เอกสารอา้ งอิง 205 แผนบริหารการสอนประจาบทท่ี 9 205 บทท่ี 9 ระบบภาษีมลู ค่าเพ่ิม 205 ความหมายของภาษีมูลคา่ เพ่ิม 205 ผ้มู หี นา้ ท่ีจดทะเบยี นภาษีมูลค่าเพิ่ม และกาหนดเวลาการจดทะเบยี น 206 วิธีการจดทะเบยี นภาษีมูลค่าเพ่ิม 211 หนา้ ทีข่ องผปู้ ระกอบการจดทะเบยี นภาษีมลู ค่าเพ่ิม 212 อัตราภาษมี ลู ค่าเพิ่ม 217 การคานวณภาษีมูลค่าเพมิ่ 218 บทสรุป 221 แบบฝกึ หัดทา้ ยบท 223 เอกสารอ้างองิ บรรณานกุ รม

สารบัญตาราง ช ตารางท่ี หน้า 1.1 เปรียบเทียบการบญั ชีการเงินและการบญั ชีบริหาร 7 1.2 สรปุ ขอ้ ดขี ้อเสยี แต่ละรูปแบบของธุรกิจ 10 3.1 วเิ คราะห์รายการคา้ ในรูปแบบตารางของร้านตุ๊กตา 46

ซ หน้า สารบัญภาพ 12 ภาพที่ 42 1.1 แม่บทการบญั ชสี าหรับการจดั ทาและนาเสนองบการเงิน 47 3.2 วงจรบญั ชี 98 3.2 สรปุ หลกั การบันทึกบญั ชีตามหลักบญั ชคี ู่ 121 5.1 การบนั ทึกรายการบัญชี 212 6.1 วงจรการดาเนินธุรกจิ ของกจิ การซอ้ื ขายสนิ คา้ 122 6.2 ตัวอย่างใบขอซ้ือสินคา้ 123 6.3 ตวั อยา่ งใบสั่งซ้ือสินค้า 124 6.4 ตวั อย่างบกากบั สินค้า/ใบกากับภาษี 125 6.5 ตวั อยา่ งใบรบั สนิ คา้ 126 6.6 ตวั อย่างใบลดหนี้ 127 6.7 ตวั อยา่ งใบเพิ่มหนี้ 128 6.8 ตัวอยา่ งใบเสร็จรบั เงนิ 176 6.9 ตวั อย่างใบเสรจ็ รับเงิน/ใบกากับภาษี 178 8.1 วงจรต้นทนุ การผลิต 208 8.2 สว่ นประกอบของต้นทุนการผลิต 9.1 ใบกาภาษี/ใบเสรจ็ รับเงินอเิ ล็กทรอนิกส์

ฌ แผนบริหารการสอนประจารายวิชา รายวชิ า การบัญชกี ารเงิน (AC10101) (Financial Accounting) จานวนหนว่ ยกิต 3 หน่วยกติ จานวนชวั่ โมง/สัปดาห์ 3(2-2-5) อาจารย์ผ้สู อน อาจารยช์ ลธชิ า รัมพณนี ลิ คาอธบิ ายรายวชิ า ความหมาย วัตถุประสงค์ และความสาคัญของการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลทางการบัญชี กรอบ แนวคิดสาหรับการรายงานทางการเงิน หลักการและวิธีการบัญชี การจัดทางบการเงินสาหรับธุรกิจ ใหบ้ ริการ ธรุ กจิ ซ้ือขายสินค้า และธรุ กิจอุตสาหกรรม วิธีการบญั ชีเกย่ี วกับระบบภาษีมูลค่าเพิม่ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือศึกษาถึงความหมาย วัตถุประสงค์ ความสาคัญของการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลทาง บัญชี กรอบแนวคดิ สาหรับการรายงานทางการเงิน 2. อธบิ ายถงึ รายละเอียดเก่ยี วกบั หลกั การและวิธีการบัญชใี นหมวดต่าง ๆ 3. เพื่อศึกษาถึงการจัดทางบการเงินและให้ข้อมูลเก่ียวกับฐานะการเงินของกิจการอันเป็น ประโยชน์ตอ่ ผู้ใชง้ บการเงินในการตดั สนิ ใจเชิงเศรษฐกิจ 4. เพ่ือศึกษาถงึ กระบวนการบนั ทึกบัญชีสาหรับธุรกิจให้บริการ ธุรกจิ ซ้อื ขายสนิ คา้ และธุรกิจ อุตสาหกรรม 5. นาสิ่งทเ่ี รยี นไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้ เน้ือหา (4 คาบ) สัปดาห์ที่ 1 ปฐมนเิ ทศเกีย่ วกบั การเรียนการสอน การวัดผลและประเมนิ ผล สัปดาหท์ ี่ 2 (4 คาบ) บทท่ี 1 ความรทู้ ว่ั ไปเก่ยี วกบั การบัญชี ประวัตแิ ละวิวัฒนาการของการบญั ชี ความหมายของการบัญชี วตั ถุประสงคข์ องการจัดทาบัญชี ประโยชน์ของการจดั ทาบัญชี รปู แบบของธุรกจิ ผใู้ ชร้ ายงานทางการเงนิ และความต้องการขอ้ มลู แมบ่ ทการบญั ชี

ญ (8 คาบ) สัปดาหท์ ี่ 3 - 4 (8 คาบ) บทที่ 2 งบการเงนิ สมการบญั ชี และผงั บัญชี ความหมายของงบการเงนิ (8 คาบ) งบดลุ งบกาไรขาดทนุ (4 คาบ) งบกาไรสะสม (4 คาบ) สมการบัญชี ผงั บญั ชี สัปดาห์ท่ี 5 – 6 บทท่ี 3 รายการค้า และการบันทึกบญั ชี วงจรบัญชี รายการคา้ และการวเิ คราะหร์ ายการค้า หลักการบญั ชีคู่ การบันทึกบญั ชีในสมดุ รายวันท่ัวไป การจดั ทาบญั ชแี ยกประเภททัว่ ไป งบทดลอง สปั ดาห์ที่ 7 – 8 บทที่ 4 กระดาษทาการ งบการเงิน และรายการปดิ บญั ชี ความหมายของกระดาษทาการ รปู แบบของกระดาษทาการ ขัน้ ตอนการจัดทากระดาษทาการ ประโยชน์ของการจัดทากระดาษทาการ การจัดทางบการเงิน รายการปิดบัญชี งบทดลองหลังปิดบญั ชี สปั ดาหท์ ่ี 9 วดั ผลระหวา่ งภาคเรียน สปั ดาหท์ ่ี 10 บทท่ี 5 รายการปรับปรุง ขนั้ ตอนการปรบั ปรุงรายการในวันส้นิ งวด ลักษณะของรายการปรบั ปรุง วธิ ีการบันทกึ บญั ชี การแกไ้ ขข้อผิดพลาดทางบญั ชี

สปั ดาหท์ ่ี 11 ฎ บทที่ 6 การบัญชีเกย่ี วกบั ธรุ กจิ ซ้ือมาขายไป (4 คาบ) วงจรการดาเนนิ งานเกีย่ วกับธุรกิจซื้อมาขายไป ความหมายของงบการเงนิ (8 คาบ) ระบบภาษมี ลู ค่าเพ่ิม (4 คาบ) การบันทึกบัญชแี บบสนิ้ งวด (4 คาบ) การบนั ทึกบัญชีแบบต่อเนอ่ื ง (4 คาบ) กระดาษทาการ การจดั ทางบการเงินสาหรับธุรกิจซ้ือมาขายไป การปิดบัญชี สัปดาห์ท่ี 12 บทท่ี 7 สนิ ค้าคงเหลือ ความหมายของสินค้าคงเหลือ รายการท่คี วามถือเป็นสินคา้ คงเหลอื ของกิจการ การวัดมลู คา่ ของสนิ คา้ คงเหลอื การตรี าคาสนิ คา้ คงเหลือโดยวิธีราคาทุน การคานวณตน้ ทุนขายและกาไรข้นั ตน้ สปั ดาหท์ ่ี 13 บทที่ 8 การบัญชสี าหรับธรุ กิจอุตสาหกรรม วงจรตน้ ทุน การบนั ทกึ บญั ชสี าหรับกจิ การผลิตสินคา้ งบตน้ ทุนการผลติ งบการเงินของกจิ การผลติ สินค้า สปั ดาหท์ ี่ 14 – 15 บทท่ี 9 ระบบภาษมี ลู ค่าเพ่มิ ความหมายของภาษีมูลค่าเพ่ิม ผูม้ หี น้าท่ีเสียภาษีมูลค่าเพ่ิม ความรับผิดในการเสียภาษมี ลู ค่าเพ่มิ หนา้ ทขี่ องผู้ประกอบการจดทะเบยี นภาษีมูลคา่ เพ่ิม อตั ราภาษมี ลู ค่าเพิ่ม วธิ กี ารคานวณภาษมี ูลคา่ เพิ่ม วิธีการบันทกึ บญั ชี สปั ดาหท์ ่ี 16 วัดผลปลายภาคเรยี น

ฏ กจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. ปฐมนิเทศเก่ยี วกับการเรียนการสอน การวัดผลและเกณฑก์ ารประเมินผล 2. ผูส้ อนบรรยายประกอบเน้ือหาพร้อมยกตวั อย่างและให้นักศึกษาฝกึ ทาตัวอย่างไปพรอ้ มกัน ระหวา่ งผสู้ อนและผ้เู รียน 3. มอบหมายงาน/ ให้ทาแบบฝกึ หัด 4. ให้นกั ศกึ ษาลงพืน้ ทใ่ี นชมุ ชน เพ่ือฝกึ ทาบัญชีให้วิสาหกิจชุมชนในทอ้ งถิ่น และสอนทาบญั ชี ครวั เรือนให้คนในทอ้ งถิน่ ส่อื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการบญั ชีการเงนิ 2. หนงั สอื ตาราท่เี กยี่ วข้อง 3. Power Point 4. ใบงาน/ แบบฝกึ หัด การวดั และประเมินผล 30 % คะแนนระหวา่ งภาค 10 % ทดสอบระหวา่ งภาคเรียน 10 % เข้าช้นั เรียน 10 % กิจกรรมกลุ่ม/ รายบคุ คล 40 % แบบฝกึ หัด 100 % คะแนนสอบปลายภาค รวม เกณฑ์การประเมนิ ผล เกรด คะแนน เกรด คะแนน F 65-69 C+ 0-49 D 70-74 B 50-54 D+ 75-79 B+ 55-59 C 80-100 A 60-64

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 1 หวั ข้อเน้อื หาประจาบทท่ี 1 ความร้ทู ั่วไปเก่ียวกับการบญั ชี 1. ประวัติและววิ ฒั นาการของการบัญชี 2. ประวัติความเปน็ มาของการบญั ชไี ทย 3. ความหมายของการบัญชี 4. วตั ถุประสงค์ของการจัดทาบญั ชี 5. ประโยชน์ของการจดั ทาบัญชี 6. รูปแบบของการบัญชี 7. ประเภทของธุรกจิ 8. แมบ่ ทการบัญชี 9. วตั ถปุ ระสงคข์ องงบการเงิน วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ 1. เพื่อให้ทราบถึงประวตั ิและวิวัฒนาการของการบัญชไี ด้ 2. เพอ่ื ให้นักศกึ ษาสามารถอธิบายถึงความหมายของการบัญชไี ด้ 3. เพ่ือให้นักศกึ ษาสามารถอธิบายถึงวัตถปุ ระสงค์และประโยชน์ของการจดั ทาบัญชีได้ 4. เพอื่ ใหน้ ักศึกษาสามารถอธิบายถึงรูปแบบของธรุ กจิ ได้ 5. เพื่อให้นักศึกษาสามารถระบกุ ลุ่มผ้ใู ช้รายงานทางการเงนิ และความต้องการข้อมูลเพือ่ ประกอบ การตัดสนิ ใจได้ 6. เพ่อื ให้นักศึกษาสามารถอธิบายถึงความหมายของแม่บทการบญั ชีได้ กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. แบง่ กลุ่มศึกษาเนื้อหาในบทท่ี 1 (โดยจัดกระบวนการเรียนการสอนรปู แบบจิ๊กซอร์) 1.1 จดั ผเู้ รยี นเขา้ กลุ่มคละความสามารถ (เก่ง-กลาง-ออ่ น) กลุ่มละ 4 คน และเรยี กกลมุ่ นวี้ ่า กลุ่มบ้านของเรา (Home Group) 1.2 สมาชิกในกลุม่ บา้ นของเราได้รับมอบหมายใหศ้ กึ ษาเน้ือหาสาระคนละ 1 สว่ น เปรยี บเสมอื น ได้ช้ินส่วนของภาพตดั ต่อคนละ 1 ชิ้น และหาคาตอบในประเดน็ ปัญหาทผี่ ูส้ อนมอบหมายให้ 1.3 สมาชิกในกลมุ่ บา้ นของเรา แยกย้ายไปรวมกับสมาชกิ กลุม่ อื่นที่ไดร้ บั เน้ือหาเดยี วกนั ตั้งเปน็ กลมุ่ ผเู้ ชยี่ วชาญ (Expert Group) ขนึ้ มา โดยรว่ มกนั ทาความเข้าใจในเน้ือหาสาระนน้ั อย่าง ละเอียด และรว่ มกนั อภปิ รายหาคาตอบท่ผี สู้ อนมอบหมายให้ 1.4 สมาชกิ กลมุ่ ผู้เชี่ยวชาญกลับไปสูก่ ลุ่มบ้านของเรา แตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยสอนเพอื่ นในกลุ่มให้ เข้าใจสาระที่ตนได้ศึกษารว่ มกบั กลมุ่ ผเู้ ช่ียวชาญเช่นน้ี สมาชิกทกุ คนกจ็ ะไดเ้ รียนรภู้ าพรวมของสาระทั้งหมด 1.5 ผูเ้ รียนทุกคนทาแบบทดสอบ โดยแต่ละคนจะได้คะแนนเปน็ รายบคุ คล และนาคะแนน ของทุกคนในกลุม่ บ้านของเรามารวมกัน (หาค่าเฉลยี่ ) เปน็ คะแนนกลุ่ม กลุ่มที่คะแนนสูงสุดจะได้รับรางวลั 2. บรรยายสรุป

2 สื่อการเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2. หนงั สือ ตารา และเอกสารทีเ่ กยี่ วข้องกบั หวั ข้อเน้ือหา 3. Power Point Presentation 4. แบบฝกึ หัด การวดั ผลและประเมินผล 1. สังเกตและประเมนิ จากการมสี ว่ นร่วมในกิจกรรม 2. สังเกตและประเมินจากการตั้งประเด็นคาถาม การนาเสนอ การตอบคาถาม 3. ประเมนิ จากการตอบคาถามท้ายบท

บทที่ 1 ความรูท้ ว่ั ไปเก่ียวกบั การบญั ชี เน่ืองจากภาวะปัจจุบันน้ีธุรกิจต้องดาเนินงานภายใต้สภาพการแข่งขันอย่างรุนแรงทางธุรกิจ และมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ธุรกิจอาจจะประสบความสาเร็จหรือล้มเหลวน้ันขึ้นอยู่กับความร่วมมือ จากหน่วยงานย่อยต่างๆ ภายในกิจการ เช่น แผนกบริหาร แผนกบริการ แผนกการผลิต แผนกการเงิน แผนกการบัญชี แผนกทรัพยากรมนุษย์ นอกจากการดาเนินงานภายในกิจการแล้วธุรกิจอาจจะประสบ กับปัญหาภายนอก เช่น ภาวะเศรษฐกิจตกต่า การเมืองและอ่ืนๆ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อธุรกิจเป็นอย่างมาก ดังน้ันในการดาเนินงานการค้าขายในอดีตจึงมีการใช้ระบบการแลกเปลี่ยนส่ิงของกับส่ิงของ ต่อมามี การใช้ระบบเงินตราเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนกันภายในประเทศ และในปัจจุบันน้ีมีการค้าขาย กบั ต่างประเทศทั่วโลกมีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขนึ้ ดังน้ันการจดั ทาบัญชีจึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง ในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่และทาให้เราทราบถึงผลการดาเนินงานของกิจการและ ฐานะของการเงินของกิจการ โดยมีการนาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในธุรกิจ การผ่านระบบทางอินเทอร์เน็ต มาใช้ทาใหก้ ารคา้ ขายสนิ คา้ นน้ั สะดวกรวดเรว็ มากยิง่ ขน้ึ ประวัติและววิ ัฒนาการของการบัญชี การบัญชีได้มีพัฒนาการมาอย่างต่อเน่ืองตามสภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนไป สภาพแวดล้อมที่มี ผลต่อการบัญชี ได้แก่ เศรษฐกิจ กฎหมาย การเมืองและสังคม ซึ่งส่งผลให้หลักการบัญชีหรือมาตรฐาน การบัญชใี นปัจจุบันแตกต่างจากในอดตี ดังน้ันเพ่อื ให้ผู้ศกึ ษาและผปู้ ฏบิ ตั ิงานดา้ นการบัญชไี ดใ้ ช้ข้อมูล ทางการบญั ชที ีส่ อดคล้องกับวตั ถปุ ระสงคข์ องการรายงานทางการเงนิ ในสภาพแวดลอ้ มนัน้ ๆ การศกึ ษาประวตั ิความเป็นมาของการบญั ชีทาให้ผู้ศึกษาเขา้ ใจถึงเหตุผลของการเปลยี่ นแปลง และวิวัฒนาการทางการบัญชี ซึ่งทาให้เกดิ แนวทางในการพฒั นาหลกั การบญั ชีและเปน็ แนวทางในการ แก้ไขปัญหาวิธีปฏิบัติงานทางการบัญชี ซึ่งประวัติความเป็นมาของการบัญชีพอสรุปตามช่วงเวลาของ การเปล่ียนแปลงท่ีสาคัญดงั น้ี (ดวงสมร อรพินท์ และคณะ. 2546: 2) 1. ยุคก่อนระบบบัญชีคู่ (ก่อนคริสตศักราช 3,000 ปี – ศตวรรษที่ 13) จากหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ท่ีมีการค้นพบการบันทกึ ทางการบัญชีมมี าชา้ นานประมาณ 5,000 ปี เปน็ ต้นมา ในสมัย อยี ิปต์ บาบิโลเนีย กรีก โรมัน และยุโรป วิวัฒนาการของการบัญชีเร่ิมจากบันทึกทรัพย์สินในท้องพระคลัง แล้วทารายงานส่งให้พระมหากษัตริย์ ต่อมาจึงมีการบันทกึ รายได้ รายจ่าย ต้นทุน หน้ีสิน โดยมุ่งที่จะ รักษาทรพั ยส์ ิน แต่ยงั ไมม่ ีการหาผลการดาเนินงาน 2. ยุคระบบบัญชีคู่ (ปลายศตวรรษท่ี 13 - 18) ค.ศ.1494 ลูกา ปาชิโอลี (Luca Pacioli) ชาวอิตาลีเขียนหนังสือช่ือ “Summa de Arithmetica Geometria Proportioniet Proportionalita” เปน็ หนังสือทางคณิตศาสตร์แต่ได้กล่าวถึงบัญชที ี่ใช้กนั อยู่ในอิตาลีในขณะน้ันโดยมีการบันทกึ ตามหลักการ ของระบบบญั ชีคู่ กล่าวคือ รายการทางการเงินทเี่ กดิ ขน้ึ มีการบันทกึ ในดา้ นเดบิตและเครดิต โดยจานวนเงิน ด้านเดบติ ต้องเท่ากบั ด้านเครดติ (ลูกา ปาชโิ อลี ได้รับยกย่อมเป็นบิดาแหง่ วชิ าการบัญชี)

4 3. ยุคปัจจบุ ัน (ศตวรรษที่ 19 - ปัจจุบัน) เปน็ ผลจากการปฏิวัติอุตสาหกรรมในสหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกาในศตวรรษท่ี 19 และต้นศตวรรษที่ 20 การขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ซับซ้อนมากน้ี ทาให้เกิดการพัฒนาทางบัญชมี ากข้ึน ทั้งนี้กิจการยังคงใช้ระบบบัญชีคู่มีการวัดผลการดาเนินงานและ จัดทางบการเงินเป็นงวดๆ (Periodicity) บันทึกบัญชีแยกกิจการเป็นหน่วยงานอิสระทางการบัญชี (Accounting Entity) แยกจากผ้เู ปน็ เจา้ ของ ประวตั ิความเป็นมาของการบัญชไี ทย ในสมัยสุโขไทยรัชกาลพอ่ ขุนรามคาแหง ระหว่าง พ.ศ.1820 – 1860 ชาวจีนไดเ้ ข้ามาค้าขาย กบั ประเทศไทยก่อนชาติอ่ืน แต่ความรู้ทางบัญชยี ังไม่เป็นท่ีรจู้ ักกัน พ่อค้าใช้การขีดเขยี นทาสญั ลกั ษณ์ เพ่ือชว่ ยความจาเทา่ นั้น (เบญญาภา โสอบุ ล. 2554: 4) ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการเจริญสมั พันธไมตรีกับชาวยโุ รป ความรูท้ างการบัญชี จึงเร่ิมข้ึนโดยการทาบัญชีเงินสด ซึ่งเก็บจากงวดก่อนมาจนถึงงวดหลัง ปัญหาความยุ่งยากในการ บนั ทึกบัญชีเกิดขน้ึ เพราะประเทศไทยมหี น่วยเงินตรามากเกนิ ไป คอื อัฐ ไฟ เฟือ้ ง สลึง บาท ตาลึง ช่ัง การเขียนหน่วยเงนิ ตรา 7 หนว่ ย กเ็ ขยี นยากทาใหเ้ กิดขอ้ ผดิ พลาดได้งา่ ย ในสมัยรัชกาลท่ี 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ให้เรียบเรียงจัดทาบัญชี เงินพระคลังเป็นหมวดหมู่ และได้เร่มิ มีการศึกษาเร่ืองบัญชีอย่างจริงจัง ในสมัยน้ันได้จ้างชาวต่างชาติ เขา้ มาเปน็ ที่ปรึกษาราชการ ทป่ี รึกษาดา้ นการคลังเปน็ ชาวองั กฤษ การบัญชีทางราชการกเ็ ป็นอังกฤษ ในสมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงคัดเลือกบุตรข้าราชการ ส่งไปเรียนพาณิชย์และบัญชีที่ประเทศอังกฤษ และได้ทรงโปรดให้ตั้งโรงเรียนพาณิชยการขึ้น 2 แห่ง คอื โรงเรยี นพาณิชยการสามพระยา และโรงเรยี นพาณิชยการวดั แก้วฟา้ ในปี พ.ศ.2475 ประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง ซ่ึงมีผลทาให้สภาพแวดล้อม ทางเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป กิจการต้องจัดทาบัญชี เนื่องจากรัฐบาลเริ่มจัดเก็บภาษีเงินได้นิติบุคคล จากกาไรสุทธิ และในปีดังกล่าวได้มีผู้สาเร็จการศึกษาทางการบัญชีจากต่างประเทศ บุคคลเหล่าน้ันมี บทบาทสาคัญต่อวิชาชีพบัญชีของประเทศไทย ซึ่งได้แก่ พระยาไชยยศสมบัติ หลวงดาริอิศรานุวรรต นายจรูญ วมิ ลศิริ นายห้อง บุญนาค ฯลฯ ซ่ึงรวมกลุ่มกัน ณ สานักงานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ซึง่ อยูใ่ นศาลาลูกขนุ ใน ภายในพระบรมมหาราชวงั และมจี ุดมุ่งหมายเพอ่ื ส่งเสริมวิชาชพี สอบบัญชี ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครองปี พ.ศ.2481 ได้มีการต้ังคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ในจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัยและมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในปี พ.ศ.2482 ประเทศไทยได้มีรา่ งพระราชบญั ญัติการบัญชีข้ึนมาเป็นคร้ังแรก ในปี พ.ศ.2491 กลุ่มบคุ คลท่ีประกอบวิชาชีพทางดา้ นการบญั ชีและการสอบบัญชไี ด้รวมกลุ่ม กนั จัดตงั้ สมาคมนักบญั ชแี ละผู้สอบบัญชีรบั อนญุ าตแหง่ ประเทศไทยข้ึนเป็นครงั้ แรก ในปี พ.ศ.2515 คณะปฏิวัติได้มีประกาศคณะปฏิวัติฉบับท่ี 285 เรื่องการวางแนวทาง เก่ยี วกับวิธกี ารปฏบิ ัตกิ ารจดั ทา การเก็บรกั ษาสมดุ บัญชที ่ใี ช้ และบทลงโทษ ในปี พ.ศ.2522 สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยได้ประกาศใช้ มาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 1 ของประเทศไทย ทางสมาคมฯ ได้มีการปรับปรุง แก้ไข และออกฉบับใหม่ เร่อื ยมาจนถึงปจั จุบัน

5 ความหมายของการบัญชี สภาวิชาชีพบัญชีแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (2558: 18) ได้ให้ความหมายของ การบัญชีไว้ว่า การบัญชี คือ ศิลปะของการเก็บรวบรวมบันทึก จาแนก และทาการสรุปผลข้อมูลอัน เก่ียวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงนิ ผลงานข้ันสุดท้ายของการบัญชีก็คือ การให้ข้อมูลทางการเงิน ซงึ่ เปน็ ประโยชน์แกบ่ ุคคลหลายฝา่ ยและผู้ท่สี นใจในกิจกรรมของกิจการ ดวงสมร อรพนิ ท์ (2557: 2) ได้ให้ความหมายของการบัญชีวา่ การบัญชี หมายถึง ศิลปะของ การจัดบันทึกรายการหรือเหตุการณ์ท่ีเก่ียวกับการเงินไว้ในรูปเงินตรา การจัดหมวดหมู่หรือจาแนก ประเภทของรายการเหลา่ นั้น การสรปุ ผลรวมทง้ั การตีความหมายของผลเหลา่ น้ัน ธารี หิรัญรัศมี (2558: 1) ได้ใหค้ วามหมายของการบัญชีวา่ การบัญชี หมายถึง ศิลปะการจด บันทึกรายการหรือเหตุการณ์สาคัญทางการเงินไว้ในรูปเงนิ ตา ตลอดจนการจัดประเภท สรุปผล และ ตคี วามหมายของรายการทจี่ ดบนั ทกึ นน้ั สมาคมผู้สอบบัญชีรับอนุญาตของประเทศสหรัฐอเมรกิ า ได้ใหค้ วามหมายของการบญั ชวี ่า การบญั ชี หมายถึง การจดบันทกึ การจาแนก การสรุปผล และการรายงานเหตกุ ารณ์ท่ีเกี่ยวกับการเงนิ ไว้ในรปู เงินตรา รวมท้ังการตีความหมายของผลลัพธ์ ดงั กลา่ วดว้ ย (สมจติ ร จึงสงวนพรสขุ (2552: 1-2) จากความหมายทกี่ ลา่ วมาขา้ งตน้ นัน้ การบัญชเี กย่ี วขอ้ งกบั ข้ันตอนตา่ งๆ ดงั น้ี 1. การจดบันทึก เป็นการนาเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจท่สี ามารถระบคุ ่าเป็นเงนิ ได้ มาจดบันทึก 2. การจัดหมวดหมู่ เป็นการนาข้อมูลท่ีบันทึกไว้มาจัดหมวดหมู่ในทางบัญชี คือ สินทรัพย์ หน้สี ิน ทนุ รายได้ และค่าใชจ้ า่ ย 3. การสรปุ ผล เป็นการนาเสนอข้อมลู ท่ีไดจ้ ดั หมวดหมมู่ าสรปุ ผลในรปู ของงบการเงนิ 4. การวิเคราะห์และแปลความหมาย เป็นการนาข้อมูลในรายงานทางการเงินมาทาการ วเิ คราะห์ โดยอาจใชเ้ ครอื่ งมือต่างๆ ในการวเิ คราะหเ์ พือ่ ใช้ประกอบการตัดสินใจ วตั ถุประสงค์ของการจดั ทาบัญชี 1. เพ่ือเป็นการจดบันทึกรายการคา้ โดยเรียงลาดบั รายการทีเ่ กิดขึน้ ก่อนหลัง 2. เพอื่ ให้ทราบถงึ ผลการดาเนินงานในรอบระยะเวลาหนึ่งของกจิ การ 3. เพ่อื ให้ทราบถงึ ฐานะทางการเงิน ณ วันใดวันหน่ึงของกิจการ 4. เพื่อป้องกันการทจุ ริตของพนกั งาน 5. เพื่อใชเ้ ป็นเครือ่ งมือในการคานวณภาษแี ละชาระภาษไี ด้อยา่ งถูกต้อง 6. เพ่ือใชเ้ ป็นขอ้ มูลประกอบการตัดสินใจในด้านตา่ งๆ ของผู้บรหิ ารและบุคคลภายนอก เช่น เจา้ หน้ี นกั ลงทนุ เป็นตน้ 7. เพอ่ื ให้เป็นไปตามขอ้ บงั คบั ทางกฎหมาย ประโยชนข์ องการจัดทาบัญชี จากวตั ถุประสงคท์ ี่ได้กลา่ วไปแล้วนนั้ ฝา่ ยบริหารจะนาข้อมูลในงบการเงินไปใชใ้ นการวางแผน ตดั สินใจและควบคุมการดาเนินงานของกิจการ บุคคลภายนอกกิจการจะใชข้ ้อมูลในงบการเงนิ เหลา่ น้ัน เพอ่ื ประโยชน์ตอ่ การตดั สินใจเชิงเศรษฐกิจในลกั ษณะท่แี ตกต่างกนั ตามความต้องการการใชข้ ้อมลู ของ ผใู้ ชง้ บการเงนิ แตล่ ะประเภท จึงมนี กั วิชาการหลายทา่ นช้ใี หเ้ หน็ ถงึ ประโยชน์จากการจัดทาบญั ชีไว้ ดังน้ี

6 สมนึก เอ้ือจริ ะพงษพ์ ันธ์ และคณะ (2552: 30) ไดก้ ลา่ วถงึ ประโยชน์ของการจัดทาบญั ชี ดงั นี้ 1. ทาให้เจ้าของกิจการสามารถควบคุม และดูแลรักษาสินทรัพย์ของกิจการท่ีมีอยู่มิให้เกิด การสูญหายได้ 2. ทาให้ผู้เป็นเจ้าของกิจการสามารถท่ีจะได้รับข้อมูลท่ีเพียงพอเพ่ือนามาใช้ในการบริหารงานให้มี ประสทิ ธิภาพยง่ิ ขนึ้ 3. ทาให้เจา้ ของกจิ การได้ทราบถึงผลการดาเนนิ งาน และฐานะการเงนิ ของกิจการได้อย่างถูกต้อง 4. การจัดทาบัญชีที่ดีจะช่วยป้องกันความผิดพลาดท่ีอาจเกิดจากการบันทึกบัญชีช้าหรือลืม จดบนั ทกึ ได้ 5. ทาให้บุคคลภายนอก เช่น เจ้าหนี้ นักลงทุน สามารถมีข้อมูลทางการเงินเพ่ือใช้ประกอบใน การตดั สนิ ใจได้ จันทนา สาขากร และศิลปะพร ศรีจันเพชร (2556: 1 - 3) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการจัดทา บัญชี ดงั นี้ 1. เพอื่ ใหท้ ราบถึงผลการดาเนินงานและฐานะการเงนิ ของกิจการ 2. เพ่อื เปน็ เครือ่ งมอื ชว่ ยในการวางแผนและการตัดสินใจของธรุ กจิ 3. เพ่ือใช้เป็นหลกั ฐานอ้างองิ ในภายหลัง 4. เพ่อื เป็นเครือ่ งมือในการหาแหล่งเงนิ ทุน 5. เพ่อื ประโยชนใ์ นการเสียภาษีได้อย่างถูกตอ้ ง 6. เพอ่ื ควบคมุ และดแู ลรกั ษาสินทรัพยข์ องกิจการ 7. เพ่ือประโยชนต์ อ่ การตัดสนิ ใจของบคุ คลภายนอก 8. เพอ่ื ให้ถกู ตอ้ งตามกฎหมายวา่ ด้วยการบญั ชี จากท่ีกล่าวมาสามารถสรปุ ประโยชนข์ องการจดั ทาบัญชีดงั น้ี 1. ประโยชน์ภายในกจิ การ 1.1 เพอ่ื ใหท้ ราบผลการดาเนนิ งาน และฐานะการเงนิ ของกิจการ 1.2 เพอื่ ชว่ ยในการบริหารงานเปน็ ข้อมูลในการวางแผน ควบคมุ และตัดสินใจ 2. ประโยชนภ์ ายนอกกิจการ 2.1 เพอ่ื บคุ คลภายนอกไดใ้ ชข้ อ้ มลู ของกิจการในการตัดสนิ ใจ 2.2 เพอื่ เป็นขอ้ มลู ในการเสยี ภาษีอากร รูปแบบของการบัญชี ประเภทของการบัญชีสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ (มหาวิทยาลัยบูรพา เว็บไซต์ http://www.buu.ac.th/2016/) ดังน้ี 1. การบัญชีการเงิน (Financial Accounting ) เป็นบัญชีที่จัดทาข้ึนเพื่อให้ข้อมูลแก่บุคคล ภายนอกกิจการ ซึ่งบุคคลเหล่าน้ีต่างก็ต้องการทราบฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของกิจการ จากงบการเงินที่จัดทาขึ้นภายใต้หลักการบัญชีท่ีรับรองโดยท่ัวไป ท้ังนี้งบการเงินนั้นจะต้องได้รับการ ตรวจสอบจากผ้สู อบบญั ชีรบั อนุญาตด้วย

7 2. การบัญชีบริหาร (Managerial Accounting) เป็นบัญชีที่จัดทาข้ึนเพ่ือให้ข้อมูลเฉพาะ บุคคลภายในกิจการเท่าน้ัน เพื่อประโยชน์ในการวางแผน การควบคุม การประเมินผล ตลอดจนการ ตัดสินใจเกี่ยวกับการดาเนินงานทางธุรกิจ โดยที่ข้อมูลทางด้านการบัญชีบริหารมักเป็นข้อมูลที่เป็น ความลับภายในกิจการ นอกจากน้นั ข้อมูลดงั กล่าวก็ไม่จาเป็นต้องเป็นจานวนเงินก็ได้ รูปแบบรายงาน และหลกั การทใ่ี ชส้ าหรบั การบญั ชีบริหารก็สามารถปรบั เปลยี่ นได้ตามความต้องการของฝ่ายบริหารได้ ตารางที่ 1.1 เปรยี บเทยี บการบญั ชีการเงินและการบญั ชบี ริหาร รายการ การบญั ชกี ารเงนิ การบญั ชบี ริหาร ผ้ใู ชง้ บการเงิน บคุ คลภายนอกองคก์ ร บคุ คลภายในองคก์ ร รปู แบบการ รายงานในรปู งบการเงนิ ไม่มีรูปแบบในการนาเสนอ โดยจะ นาเสนอ ไตรมาสหรือประจาปี นาเสนอตามความต้องการของผู้ใช้ เวลานาเสนอ บ่อยคร้งั ตามความต้องการ วตั ถปุ ระสงค์ - ให้ข้อมลู รายงานทัว่ ไป - ใหข้ อ้ มลู รายงานตาม การนาเสนอ - ถกู บงั คับให้นาเสนอตาม วัตถปุ ระสงค์เฉพาะของผู้ใช้ มาตรฐานวชิ าชพี กฎและข้อบังคบั - ไม่จาเป็นตอ้ งนาเสนอก็ได้ ของหนว่ ยงานกากับ ดแู ล และ กฎหมายท่เี กีย่ วข้อง เน้อื หาในการ - รายงานผลการดาเนนิ งานทั้ง - รายงานผลโดยละเอยี ดเฉพาะเรอ่ื ง นาเสนอ องค์กร ตามความต้องการของผู้ใช้ - ใช้หลักระบบบญั ชีคู่ - ใช้หลักการอืน่ ๆ นอกเหนือจากหลัก - นาเสนอรายงานตามมาตรฐาน ระบบบัญชีคู่ ทรี่ ับรองโดยทว่ั ไป - นาเสนอรายงานตามข้อมลู ท่ี - โดยท่ัวไปนาเสนอข้อมูลในอดีต รวบรวมไดเ้ พื่อสนองความตอ้ งการ - การรวบรวมข้อมลู ท่จี ะ ของผใู้ ช้ นาเสนอรายงานทางการเงิน - โดยทัว่ ไปนาเสนอข้อมูลในอนาคต จะเกย่ี วข้องเฉพาะกบั ขอ้ มูล - การรวบรวมข้อมูลท่ีจะนาเสนอ ทางการบญั ชี รายงานทางการเงนิ จะเกย่ี วข้องกบั ขอ้ มลู หลายดา้ นเชน่ การเงนิ การตลาด วิจยั เศรษฐศาสตร์ กระบวนการ - รายงานการนาเสนอต้อง - รายงานการนาเสนอไมต่ ้อง ได้รับ ตรวจสอบ ได้รบั การตรวจสอบจากผู้สอบ การตรวจสอบจากผ้สู อบบัญชีรับ บัญชรี บั อนุญาต อนญุ าต ที่มา: ศศวิ ิมล มีอาพล (2552: 1-4)

8 ประเภทของธรุ กจิ (Types of Businesses) ลักษณะท่ัวไปของการดาเนนิ ธุรกิจมี 3 ประเภท (ความรู้ทางการบัญชี. เว็บไซต์ http://www. accountclub.net/) ไดแ้ ก่ 1. ธุรกิจบริการ (Service Firms) เป็นธุรกิจที่มีการให้บริการแก่ลูกค้า โดยจะได้รับค่าตอบแทน ในรูปของค่าธรรมเนียมในการให้บริการ การจัดทางบการเงินสาหรับธุรกิจประเภทบริการจะมีความ ยุ่งยากน้อยทสี่ ุดเมือ่ เปรยี บเทยี บกับธุรกิจประเภทอื่น 2. ธุรกิจพาณิชยกรรม หรือ ธุรกิจจาหน่ายสินค้า (Merchandising Firms) เป็นธุรกิจท่ี ซอ้ื สนิ คา้ สาเรจ็ รปู แล้วนาไปจาหน่ายตอ่ ให้แก่ลกู ค้าโดยไมม่ ีการผลิตสินค้าเองแตอ่ ย่างใด ซง่ึ ในการจด ทางบการเงินสาหรับธุรกิจประเภทนี้จะมีความยุ่งยากกว่าธุรกิจบริการ เนื่องจากจะต้องมีข้ันตอนใน การคานวณตน้ ทนุ สนิ ค้าทซี่ ือ้ มาเพิ่มขึน้ จากธุรกจิ บรกิ าร 3. ธุรกิจอุตสาหกรรม หรือ ธุรกิจผลิตสินค้า (Manufacturing Firms) เป็นธุรกิจท่ีซอ้ื วัตถุดิบ มาทาการผลติ โดยผ่านกระบวนการการผลิตเพ่ือแปลสภาพจากวตั ถุดบิ มาเป็นสินค้าสาเรจ็ รูป แล้วนา สินค้าที่ผลติ ไดไ้ ปจาหนา่ ยใหแ้ กล่ ูกค้าตอ่ ไป รปู แบบขององคก์ รธุรกิจ (Forms of Businesses) รปู แบบของธรุ กิจสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 3 ประเภทใหญ่ (สุดาทิพย์ ตันตินิกุลชยั และศักดา หงสท์ อง. 2547: 18 – 19) ดังนี้ 1. กิจการเจ้าของคนเดียว (Single Proprietorship) เป็นกิจการที่มีบุคคลคนเดียวเป็น เจ้าของและนาสินทรัพย์ของตนมาลงทุนในกิจการเพ่ือหากาไร เจ้าของเป็นบุคคลคนเดียวท่ีมีอานาจ จัดการ ควบคุม และตัดสินใจในการดาเนินงานของกิจการ ขนาดของกิจการค่อนข้างเล็ก การจัดตั้ง และเลิกกจิ การกระทาได้สะดวก กาไรจะเป็นของเจ้าของเพยี งบุคคลเดียว ในขณะเดียวกันผูเ้ ปน็ เจา้ ของ จะต้องรับผิดชอบในหน้ีสินท้ังหมดของกิจการเช่นเดียวกัน และโอกาสในด้านการขยายกิจการค่อนข้างช้า การเพิ่มทุนก็ค่อนข้างยากหากเปรียบเทียบกับธุรกิจรูปแบบอ่ืน และเม่ือผู้เป็นเจ้าของธุรกิจเสียชีวิต กิจการนัน้ จะต้องเลิกกจิ การไป 2. ห้างหุ้นส่วน (Partnership) เป็นกิจการท่ีมีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงร่วมลงทุนกัน ซ่ึงจะลงทุนเป็นเงินสด หรือทรพั ย์สนิ อยา่ งอื่น หรือแรงงานก็ได้ ผู้เป็นหุน้ ส่วนจะตกลงทาสญั ญาจดั ต้ัง ห้างหุ้นส่วน สัญญานี้อาจทาด้วยวาจา หรือเป็นลายลักษณ์อักษรก็ได้ ซึ่งเรียกว่า ผู้เป็นหุ้นส่วน ท้ังน้ี ตามกฎหมายห้างหนุ้ สว่ นสามารถแบง่ เป็น 2 ประเภท คอื 2.1 ห้างหุ้นส่วนสามัญ (Unlimited Partnership) เป็นห้างหนุ้ ส่วนท่ผี ู้เป็นหนุ้ ส่วนทนุ คน รับผิดชอบร่วมกันในหน้ีสินท้ังหมดโดยไม่จากัดจานวน ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนมีสทิ ธ์ิจัดการงานแทนห้างได้ จะจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลหรือไม่ก็ได้ ถ้าไม่จดทะเบียนเรียกว่า ห้างหุ้นส่วนสามัญไม่ได้จดเบียน ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนกับห้างหุ้นส่วนจะไม่แยกออกจากกันเม่ือเกิดคดีความข้ึน เจ้าหน้ีจะฟ้องร้อง หุ้นสว่ นคนใดก็ได้ ในกรณีที่หา้ งห้นุ สว่ นสามญั ทไี่ ด้จดทะเบียนเปน็ นติ ิบุคคลเรยี กวา่ หา้ งหุ้นสว่ นสามัญ นิติบุคคล และห้างหุ้นส่วนจะเป็นนิติบุคคลแยกต่างหากจากผู้เป็นหุ้นส่วน เม่ือเกิดคดีความเจ้าหนี้จะ ฟ้องร้องในนามของห้างหุ้นส่วน ในกรณีที่สินทรัพย์ของห้างหุ้นส่วนไม่พอชาระหน้ีจะฟ้องรอ้ งเอาจาก ผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนตอ่ ไป

9 2.2 ห้างหุ้นส่วนจากัด (Limited Partnership) เป็นหา้ งหุ้นสว่ นท่กี ฎหมายบังคับว่าจะต้อง จดทะเบียนเป็นนิติบุคคล และต้องมีคาว่าห้างหุ้นส่วนจากัดประกอบชอื่ ของห้างหุ้นส่วนด้วย และจะต้อง เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ซ่ึงห้างหุ้นส่วนจากัดจะมีผู้เป็นหุ้นส่วนอยู่ 2 ประเภท คือ 1) ผู้เป็นหุ้นส่วน ประเภทจากัดความรับผิดชอบ คือ รับผิดชอบในหนี้สินของห้างไม่เกินกว่าจานวนเงินท่ีตนได้ลงทุนใน ห้างหุ้นส่วน และไม่สามารถลงทุนในรูปของแรงงานได้ 2) ผเู้ ป็นหุ้นส่วนประเภทไมจ่ ากัดความรบั ผิดชอบ คอื ผู้เป็นหุ้นสว่ นประเภทน้ีจะรบั ผดิ ในหนีส้ ินโดยไม่จากดั จานวน ตามกฎหมายกาหนดให้ต้องมีหุ้นสว่ น ประเภทไม่จากัดความรบั ผิดอย่างน้อย 1 คน ท้ังนี้ผู้เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรบั ผิดชอบเท่าน้ัน ท่จี ะมีอานาจในการบริหารหา้ งหุ้นส่วนได้ 3. บริษัทจากัด (Company Limited) เป็นธุรกิจที่มีสถานะเป็นนิติบุคคล คือ ต้องจด ทะเบียนเป็นนติ บิ ุคคลแยกต่างหากจากเจา้ ของ ผ้ทู ี่ลงทนุ ซ้อื หุ้นของบรษิ ัทเรียกว่า ผู้ถอื หนุ้ บริษัทจะมี การแบ่งทุนออกเป็นหุ้น มูลค่าหุ้นละเท่าๆ กัน ผู้ถือหุ้นจะได้รับส่วนแบ่งกาไรในรูปของเงินปันผล และ บริษทั จะต้องมีการประชุมผถู้ ือหุ้นอยา่ งนอ้ ยปลี ะครง้ั ปัจจุบันนี้กฎหมายได้แบ่งบริษัทจากดั ออกเปน็ 2 ประเภท (อรทัย วานชิ ดี. 2545: 49) ดงั น้ี 2.3.1 บริษัทเอกชน จากัด หมายถึง บริษัทประเภทที่จัดต้ังด้วยการแบ่งทุนเป็นหุ้น มมี ูลค่าหุ้นละเท่าๆ กัน ผู้ถอื หุน้ ดังกล่าวต่างรับผิดชอบจากัดเพียงไม่เกินจานวนเงินท่ีตนยังส่งใชไ้ ม่ครบ มูลค่าของห้นุ ที่ตนถือ มูลค่าหุ้นไม่ต่ากว่าหุ้นละ 5 บาท หุ้นนั้นจะแบ่งแยกไมไ่ ด้ ผู้เร่ิมจดั ตั้งบริษัทเอกชน จากัด ต้องมีจานวนตั้งแต่ 7 คนขน้ึ ไป ห้นุ ถอื วา่ เปน็ ห้นุ ทุนของบริษทั เอกชน จากัด เรียกวา่ หุ้นสามญั 2.3.2 บริษัทมหาชน จากัด เป็นบริษัทที่จัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จากัด ฉบับใหม่ พ.ศ.2544 ผู้เร่ิมจัดต้ังมีจานวน 15 คนข้ึนไป หุ้นของบริษัทของบริษัทมหาชน จากัด มี 2 ประเภท คือ หุ้นสามัญ กับ หุ้นบุริมสิทธ์ิ และบริษัทมหาชน จากัด จะต้องเสนอขายหุ้นให้แก่ ประชาชนต้งั แต่ 100 คนขน้ึ ไป กาหนดใหธ้ รุ กิจเปน็ บรษิ ทั มหาชนได้ 3 วิธี (อรทยั วานชิ ดี. 2545: 46) ดังนี้ 2.3.2.1 จดั ตง้ั ใหม่ 2.3.2.2 แปรสภาพจากบริษทั เอกชน จากดั เป็นบริษัทมหาชน 2.3.2.3 ควบบริษัทเอกชน จากัด กับ บริษทั มหาชน

10 ตารางท่ี 1.2 สรุปขอ้ ดขี อ้ เสียแต่ละรปู แบบของธรุ กิจ รปู แบบของธุรกิจ ขอ้ ดี ข้อเสีย 1. กิจการเจา้ ของคนเดยี ว - การจดั ตง้ั และเลิกกิจการทาได - มที ุนจากัด ขยายกิจการได้ยาก สะดวก - เจ้าของบรหิ ารคนเดยี วอาจ - การบรหิ ารงานมีความ ผิดพลาดไดง้ ่าย คลอ่ งตัวสงู และเป็นอิสระ - เจา้ ของเป็นผู้รบั ผดิ ชอบใน - ไม่จาเป็นต้องแสดงผลการ หนสี้ นิ จากดั จานวน ดาเนนิ งานตอ่ สาธารณชน ทาให้ รักษาความลับของกิจการไดด้ ี 2. หา้ งห้นุ สว่ น - การจัดตงั้ ไมย่ ุ่งยาก - ผู้เปน็ หุ้นส่วนบางคนต้อง - สามารถหาทนุ ได้มากกว่า รบั ผดิ ชอบในหนสี้ นิ ของหา้ งโดย กจิ การเจา้ ของคนเดยี ว ไมจ่ ากัดจานวน - ความสามารถในการบรหิ าร - อายุของห้างหุ้นส่วนถกู จากัด ดกี วา่ เนือ่ งจากรวบรวมความรู้ ดว้ ยอายุของผ้เู ปน็ ห้นุ สว่ น ความสามารถของผู้เป็นหุ้นสว่ น 3. บรษิ ทั จากัด - สามารถรวบรวมเงินทนุ ไดเ้ ป็น - ผบู้ รหิ ารไมใ่ ช่เจา้ ของโดยตรง จานวนมากตามต้องการ บางครงั้ อาจขาดความตั้งใจและ - เพิม่ ทุนหรือขยายกิจการไดง้ ่าย ความรับผดิ ชอบ -การบรหิ ารงานมีประสทิ ธิภาพ - มีขอ้ บงั คบั และกฎเกณฑ์ ดกี วา่ ธรุ กิจรูปแบบอ่ืน มากกว่ารูปแบบอ่ืน - ผถู้ ือหนุ้ แตล่ ะคนรับผิดชอบ หน้ีสินเพียงจานวนเงินทีต่ นยัง ส่งใชไ้ มค่ รบเท่านน้ั - สมารถขายหรอื โอนหุ้นได้ ท่มี า: ปิญะธดิ า อมรภิญโญ (2560: 15) แม่บทการบัญชี (Accounting Framework) แม่บทการบัญชี (Accounting Framework) หรือ แม่บทการบัญชีสาหรับการจัดทาและนาเสนอ งบการเงิน (Framework for the Preparation and Presentation of Financial Statements) หมายถึง กรอบหรือแนวคิดพื้นฐานในการจัดทาและนาเสนองบการเงินแก่ผู้ใช้งบการเงินที่เป็นบุคคล ภายนอก (สมาคมนกั บญั ชีและผู้สอบบญั ชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย. 2546: 4) คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชีมีความประสงค์จะใช้แม่บทการบัญชีเป็นเกณฑ์ในการปรับปรุง มาตรฐานการบัญชีท่ีใช้อยู่ในปัจจบุ ัน และพัฒนามาตรฐานการบัญชีทจ่ี ะใช้ในอนาคตให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการบญั ชรี ะหวา่ งประเทศ (International Accounting Standard หรือ IAS)

11 แม่บทการบัญชีไม่ถือว่าเป็นมาตรฐานการบัญชี ดังนั้นหากในกรณีท่ีแม่บทการบัญชีขัดแย้งกับ มาตรฐานการบัญชีฉบับหนึ่ง ผู้จัดทางบการเงินจะต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับน้ัน สามารถ สรปุ ไดด้ งั น้ี 1. วตั ถุประสงคข์ องงบการเงนิ 2. ข้อสมมตุ ิ 3. ข้อจากดั ของขอ้ มลู ทมี่ ีความเก่ยี วข้องกับการตัดสินใจและความเชือ่ ถือได้ 4. ลักษณะเชงิ คณุ ภาพของงบการเงิน แม่บทการบัญชีมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันตามลักษณะของผู้ใช้ (นภาภรณ์ พลนิกรกิจ. 2545: 3) ดังนี้ 1. ใชเ้ ป็นแนวทางในการกาหนดมาตรฐานการบญั ชที จี่ ะออกใหมแ่ ละปรบั ปรงุ มาตรฐานการ บัญชีท่ใี ชอ้ ยูใ่ นปจั จุบัน 2. ใชเ้ ป็นแนวทางในการปรับเปลีย่ นหลักเกณฑ์ในการลดทางเลอื กของวิธีการบันทึกบญั ชที ี่เคย อนญุ าตให้ใชม้ ีความสอดคล้องกันกับการนาเสนองบการเงิน ขอบเขตของแม่บทบัญชีจะครอบคลุมถึงหลักการพื้นฐานในการจัดทาและนาเสนองบการเงนิ ประกอบด้วย วตั ถปุ ระสงค์ของงบการเงิน ลักษณะเชงิ คุณภาพทก่ี าหนดวา่ ข้อมูลในงบการเงนิ มีประโยชน์ คานยิ ม การรับรูแ้ ละการวดั มูลคา่ ขององค์ประกอบของงบการเงนิ และแนวคิดเก่ียวกับทนุ การรักษา ระดบั ทนุ และการวัดมลู ค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน การใหข้ ้อมลู เก่ียวกับฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และการเปล่ยี นแปลงฐานะการเงินของ กิจการจะเปน็ ข้อมูลท่แี สดงอยู่ในงบการเงนิ เพ่ือนาไปประเมินความสามารถของกิจการในรูปแบบต่างๆ ประกอบดว้ ยรายละเอียดดงั นี้

12 ลักษณะของงบการเงนิ วตั ถปุ ระสงค์ ให้ขอ้ มูลทม่ี ีประโยชนต์ ่อการตดั สนิ ใจเชงิ เศรษฐกจิ ข้อสมมุติ เกณฑ์คงค้าง การดาเนินงานต่อเนื่อง ขอ้ จากัด ทันเวลา ความสมดลุ ระหว่างประโยชน์ ความสมดลุ ของ ทไี่ ดร้ บั การตน้ ทุนทเ่ี สียไป ลักษณะเชิงคุณภาพ ลกั ษณะเชิงคณุ ภาพ ถูกต้องและยุตธิ รรมหรือถูกต้องตามควร ลกั ษณะแรก เข้าใจได้ เก่ยี วกับการ เชือ่ ถอื ได้ เปรยี บเทียบได้ ลักษณะรอง ตดั สนิ ใจ นยั สาคัญ ตวั แทนอัน เนอ้ื หาสาคญั ความเปน็ กลาง ความ ความ เทย่ี งธรรม กวา่ รปู แบบ ระมดั ระวงั ครบถว้ น ภาพที่ 1.1 แม่บทการบัญชีสาหรับการจดั ทาและนาเสนองบการเงิน ทีม่ า: สมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรบั อนญุ าตแหง่ ประเทศไทย. (2544: 47) แม่บทการบัญชีเป็นโประโยชน์แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลทางการเงินท่ีบันทึกเหตุการณ์ทาง เศรษฐกิจการค้าในรูปของตวั เงิน โดยมีบุคคลอย่างน้อย 3 ฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องกบั ข้อมูลทางการเงินซง่ึ ได้แก่ (รตั นา เธียรวศิ ิษฏส์ กลุ . 2546: 10 – 11) 1. ผู้ใช้งบการเงินใช้แม่บทการบัญชีในการตีความมาตรฐานการบัญชี เพื่อก่อให้เกิดความ เขา้ ใจขอ้ มูลของงบการเงินท่ีจัดทาภายใต้กรอบของแม่บทการบญั ชี ซึ่งมีผลทาใหเ้ ข้าใจถึงขอบเขตของ ข้อมูลในงบการเงิน และความหมายของข้อมูลในงบการเงินทผ่ี ู้จัดทางบการเงินต้องการที่จะส่อื สาร

13 2. ผู้จดั ทางบการเงนิ สามารถใช้แม่บทการบัญชีในการตคี วามข้อกาหนดในมาตรฐานการบญั ชี เพื่อนาข้อกาหนดดังกล่าวมาปฏิบัติให้ถูกต้องในขณะที่ได้จัดทาและนาเสนองบการเงิน นอกจากน้ีแม่บท การบัญชียังช่วยเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานด้านการบัญชีในเรอ่ื งที่มาตรฐานการบัญชียังไม่ได้มกี าร กาหนดไว้ 3. คณะกรรมการมาตรฐานการบัญชี ใชแ้ ม่บทการบัญชีเป็นแนวทางในการกาหนดมาตรฐาน การบัญชีทปี่ ระกาศใช้จะอยูใ่ นกรอบของแนวคดิ และหลกั การที่แมบ่ ทการบญั ชีได้ระบุไว้เสมอ กลา่ วได้ว่า แม่บทการบัญชีทาให้มาตรฐานการบญั ชมี ีความสอดคลอ้ งกนั และทาใหม้ าตรฐานการบัญชีมคี วามเป็นกลาง สรา้ งความเชือ่ ถอื ใหเ้ กดิ ขึน้ แก่ผ้ใู ช้งบการเงนิ ขอบเขตของแมบ่ ทการบัญชีจะครอบคลุมถึงวัตถุประสงค์ของงบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพ องค์ประกอบของงบการเงินและคานิยาม การรับรู้รายการ การวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน และแนวคดิ เกีย่ วกบั ทุนและการรักษาระดับทนุ วตั ถุประสงค์ของงบการเงนิ งบการเงนิ จัดทาขึ้นโดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหข้ ้อมลู ทมี่ ีประโยชน์ต่อการใช้ในการวางแผนและ ตัดสินใจแก่ผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น ผู้บริหารในองค์กรธุรกิจ เจ้าของกิจการ เจ้าหนี้ ผู้ลงทุน เป็นต้น งบการเงินเป็นรายงานทางการเงินที่แสดงข้อมูลเกี่ยวกับฐานะทางการเงินของกิจการ ผลการ ดาเนินงานและการเปล่ยี นแปลงฐานะทางการเงนิ ของกิจการ 1. ข้อสมมุติในการจัดทางบการเงินและการนาเสนองบการเงินของกิจการให้จัดทาข้ึนภายใต้ ขอ้ สมมุตทิ ีส่ าคัญ (ภาคภมู ิ วณิชธนานนท.์ 2551: 8) ดงั น้ี 1.1 เกณฑ์คงค้าง หมายถึง การรับรู้รายการทางบัญชีให้รับรู้เม่ือมีรายการค้าเกิดข้ึนจริง ตามงวดบัญชี โดยไมค่ านึงถึงวา่ รายการท่ีเกิดข้นึ นนั้ จะมกี ารรับหรือจ่ายเป็นเงินสดหรือไม่ 1.2 การดาเนินงานอยา่ งต่อเน่ือง หมายถึง กิจการจะต้องดาเนินงานตอ่ ไปในอนาคตอยา่ ง ตอ่ เนอ่ื ง โดยไมม่ เี จตนาหรือมคี วามจาเป็นท่จี ะเลกิ กิจการหรือลดขนาดของกิจการลงอยา่ งมีนัยสาคญั 2. ขอ้ จากัดของข้อมูลท่ีมีความเกีย่ วข้องกับการตัดสินใจและความเช่อื ถือได้ ในการจดั ทางบการเงิน และการนาเสนองบการเงนิ ของกจิ การ มขี อ้ จากดั 3 ประการ ดังนี้ 2.1 ทันต่อเวลา หมายถึง ในการจัดทารายงานทางการเงินของกิจการนั้นจะต้องจัดทาข้อมูล ที่มีความเชื่อถือได้และทนั ต่อเวลา เพราะผู้ใช้งบการเงนิ น้ันจะตอ้ งใชข้ ้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ถา้ รายงาน ล่าชา้ ข้อมูลดังกลา่ วอาจไมม่ ปี ระโยชน์ตอ่ การตัดสนิ ใจในคร้ังนั้น ดังนั้นในการจัดทารายงานจึงต้องพจิ ารณา ถึงความต้องการของผู้ใช้รายงานการเงนิ เป็นหลกั 2.2 ความสมดลุ ระหว่างประโยชน์ท่ไี ด้รบั กับต้นทนุ ทเี่ สียไป โดยทัว่ ไปประโยชนท์ ี่ได้รับจาก ข้อมูลทางบัญชีควรมีมากกว่าต้นทุนท่ีใช้ในการจัดหาข้อมูล ในการจัดทางบการเงินของกิจการจาเป็นต้อง ใช้ดุลพินิจในการพิจารณาถงึ ประโยชน์ท่ีได้รับกับต้นทุนที่เสียไป ผู้จดั ทางบการเงินของกิจการต้องจัดทา งบการเงินภายใต้ข้อจากัดในการจัดทางบการเงินและการนาเสนองบการเงินตามที่คณะกรรมการ มาตรฐานการบัญชีได้กาหนดไว้ ดังน้ันในการจัดทางบการเงินและการนาเสนองบการเงินของกิจการจึง ไม่สามารถตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ช้งบการเงนิ ได้ทุกอย่าง

14 2.3 ความสมดุลของลักษณะเชิงคณุ ภาพ ผจู้ ัดทางบการเงินของกิจการจาเป็นตอ้ งใช้ดลุ พินิจ ในการตัดสินใจเลือกความสมดุลระหว่างลักษณะเชิงคุณภาพต่างๆ เพื่อให้งบการเงินที่จัดทาข้ึนบรรลุ วตั ถปุ ระสงคท์ ่กี าหนดไว้ 3. ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน หมายถึง ลักษณะของข้อมูลในงบการเงินมีประโยชน์ ต่อผู้ใช้งบการเงิน โดยข้อมูลในงบการเงินน้ันจะต้องมีความถูกต้องเที่ยงตรงตามลักษณะเชิงคุณภาพ 4 ประการ ดงั นี้ 3.1 ความเข้าใจได้ งบการเงินท่ีจัดทาข้ึนต้องสามารถเข้าใจได้ในทันทีที่ผู้ใช้งบการเงินใช้ ข้อมูลจากงบการเงินน้ัน ภายใต้ข้อสมมุติว่าผู้ใช้งบการเงินมีความรู้เกี่ยวกับธุรกิจ เพราะข้อมูลบางอย่าง มีความยุ่งยากซับซ้อนแต่เป็นข้อมูลท่ีมีความสาคัญต่อการตัดสินใจ ดังน้ันในการนาเสนองบการเงิน อาจใชว้ ธิ กี ารอธิบายเพิ่มเติม หรือแสดงรายละเอยี ดไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงนิ ดว้ ย 3.2 ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต้องเป็นข้อมูลท่ีมีความ เก่ียวข้องกับการตัดสินใจของผู้ใช้ข้อมูลในงบการเงิน และข้อมูลจะต้องช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถ ประเมินเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต รวมทั้งสามารถยืนยันความถูกต้องและข้อผิดพลาด ของผลการประเมินที่ผ่านมาได้ 3.3 ความเช่ือถือได้ ข้อมูลที่ได้จะต้องปราศจากความผิดพลาดอย่างมีนัยสาคัญและไม่มี ความลาเอยี ง ลักษณะของความเชื่อถอื ไดป้ ระกอบดว้ ย 3.3.1 การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม ข้อมูลท่ีแสดงในงบการเงินนั้นจะต้องมีความ เที่ยงธรรม ตรงไปตรงมา เช่น ข้อมูลที่แสดงในงบดุลจะต้องมีสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ เฉพาะรายการทางบัญชีที่เป็นไปตามเกณฑ์การรบั รูปรายการ ณ วันทีเ่ สนอรายงาน 3.3.2 เนื้อหาสาระสาคัญกว่ารูปแบบ ในการบันทึกรายการหรือเหตุการณ์ทางบัญชี จะต้องบันทึกตามเนื้อหาและความเป็นจริงเชิงเศรษฐกิจมิใช่ทาตามรู้แบบที่กฎหมายกาหนดเท่าน้ัน โดยเนอ้ื หาทางบัญชีอาจไมต่ รงกบั รปู แบบทีก่ ฎหมายกาหนด 3.3.3 ความเป็นกลาง ข้อมูลท่ีแสดงในรายงานทางการเงินจะต้องปราศจากความ ลาเอียง และต้องไม่มีวัตถุประสงค์เพ่ือเอาใจหรือใช้ข้อมูลเพ่ือการโน้มน้าวบุคคลบางกลุ่มเพ่ือการ ตดั สินใจของผใู้ ช้งบการเงนิ ใหเ้ ปน็ ไปตามเจตนาของกิจการ 3.3.4 ความระมัดระวัง ในการจัดทาข้อมูลทางบัญชีและการนาเสนอรายงาน ทางการเงินน้ัน บางครั้งอาจเกิดความไม่แน่นอนขึ้นในอนาคต และอาจส่งผลกระทบต่อข้อมูลหรือ รายงานทางการเงินได้ ดังนั้นหลักความระมัดระวังจึงมีความจาเป็นในการประมาณการภายใต้หลักความ ไม่แน่นอน ซ่ึงจะทาให้กิจการไม่แสดงรายการที่เก่ียวข้องกับสินทรัพย์หรือรายได้แสดงจานวนสูงไป และหน้ีสินหรือคา่ ใช้จ่ายแสดงจานวนที่ต่าไป 3.3.5 ความครบถว้ น ในการจัดทาขอ้ มูลและการนาเสนอรายงานทางการเงนิ จะต้อง มีความครบถ้วนสมบูรณ์ และจะต้องอยู่ภายใต้ข้อจากัดของความมีนัยสาคัญ และทาให้ข้อมูลมีความ เกย่ี วข้องกบั การตัดสินใจและนา่ เชอื่ ถือ 3.4 การเปรียบเทียบกันได้ รายงานทางการเงินที่นาเสนอจะต้องสามารถเปรียบเทียบกัน ได้ทง้ั ในรอบระยะเวลาที่แตกต่างกัน และระหวา่ งกิจการกับกิจการอื่นได้ ดังนั้นรายการหรอื เหตุการณ์ ทางบัญชที ม่ี คี วามคล้ายกนั จาเปน็ ตอ้ งปฏิบตั ติ ามมาตรฐานเดยี วกนั อยา่ งสมา่ เสมอ

15 บทสรุป การบัญชีเป็นศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จาแนก และทาสรุปข้อมูลอันเก่ียวกับเหตุการณ์ ทางเศรษฐกิจในรูปตัวเงิน การบัญชีในยุคเทคโนโลยสี ารสนเทศจะต้องอาศัยข้อมูลท่ีถูกต้องเพ่ือให้ข้อมูล แก่ผู้ใช้งบการเงินดา้ นการตัดสนิ ใจ นักบัญชีและผู้จดั ทาบัญชีจะต้องเข้าใจถึงมาตรฐานการรายงานทาง การเงนิ ของไทย ซึ่งใช้กับกจิ การท่ีมีสว่ นได้ส่วนเสียสาธารณะเพ่ือใช้เป็นมาตรฐานในการปฏิบตั ิงานของ ผ้จู ัดทางบการเงิน และแสดงความเห็นของผู้สอบบัญชีอิสระในการทาธุรกิจเพื่อประกอบการตดั สินใจ ประเภทของธุรกิจแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ธุรกิจให้บรกิ าร ธุรกิจซื้อมาขายไป และธรุ กิจอุตสาหกรรม ส่วนรูปแบบของธรุ กิจในปัจจุบันแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ คือ กิจการเจ้าของคนเดียว ห้างหุ้นส่วนและ บริษัทจากดั โดยจะต้องจัดทาบัญชใี ห้เหมาะสมกับธุรกิจและรูปแบบ นอกจากนน้ี กั บัญชีควรปฏบิ ัตติ าม มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่สภาวชิ าชพี บัญชีในพระบรมราชูปถมั ภ์ได้กาหนดไว้ ขอ้ สมมติที่ใช้ ในการจัดทางบการเงนิ ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ไดแ้ ก่ เกณฑ์คงค้าง และการดาเนินงาน ต่อเน่ือง วัตถปุ ระสงค์ของบการเงิน คือ การนาเสนอข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับฐานะทางการเงิน และผลการ ดาเนินงานของกิจการที่มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ ข้อมูลในงบการเงินยังช่วยผู้ใช้งบการเงิน ประเมินความสามารถในการดูแลและความรบั ผิดชอบของผู้บรหิ าร ผู้ใช้รายงานทางการเงนิ ประกอบด้วย ผใู้ ห้กู้ ผู้ขายสินค้าและเจ้าหน้ีอื่น หน่วยงานรฐั บาลและหน่วยงานกากับดแู ลกิจการ แนวทางปฏิบัติงาน ด้านบัญชีตามพระราบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 สาหรับนักบัญชีและผู้ท่ีเกี่ยวข้องโดยท่ัวไปสามารถ ใชเ้ ปน็ แนวทางในการบันทกึ บัญชีและนาเสนองบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพของข้อมูลในงบการเงินแบ่งเป็นลักษณะเชิงคุณภาพพน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ ความ เช่ือถอื ได้ และความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ลักษณะเชิงคุณภาพเสริม ไดแ้ ก่ การเปรียบเทียบกันได้ การยืนยันความถูกต้องได้ ความรวดเร็วทันต่อเวลา และความเข้าใจได้ ข้อควรพิจารณาอื่น ได้แก่ ความมีสาระสาคญั ความระมัดระวัง ความสมดลุ ระหว่างประโยชน์ที่ไดร้ ับกับตน้ ทนุ ท่ีเสยี ไป และการ สร้างความสมดุลระหวา่ งลักษณะเชิงคณุ ภาพ

16 แบบฝกึ หัด ขอ้ 1. ใหน้ ักศึกษาอธิบายถึงประวตั ิของการบัญชี มาพอสังเขป ขอ้ 2. ใหน้ ักศึกษาอธิบายถงึ ความหมายของการบัญชี มาพอสงั เขป ข้อ 3. ให้นักศกึ ษาบอกวัตถุประสงคแ์ ละประโยชนข์ องการจัดทาบญั ชี ข้อ 4. ให้นักศึกษาอธิบายรปู แบบของธุรกิจวา่ มกี ีร่ ปู แบบ อะไรบา้ ง ข้อ 5. ใหน้ ักศึกษาบอกผ้ใู ช้รายงานทางการเงินประกอบดว้ ยอะไรบ้าง ขอ้ 6. ใหน้ กั ศกึ ษาบอกความแตกตา่ งระหว่างการบญั ชีการเงนิ กบั บัญชบี ริหารมาโดยละเอยี ด

17 เอกสารอ้างองิ จันทนา สาขากร และศิลปะพร ศรีจ่ันเพชร. (2552). การบญั ชีขนั้ ตน้ . กรงุ เทพฯ: ทีพีเอ็น เพรส. ดวงสมร อรพินท.์ (2557). การบัญชีการเงิน. (พิมพ์ครั้งท่ี 10) กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์ แหง่ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. ธารี หริ ัญรศั มี และคณะ. (2558). การบัญชเี บอ้ื งตน้ . (พิมพ์ครัง้ ที่ 9). กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. นภาภรณ์ พลนิกรกิจ. (2545). การบัญชกี ารเงนิ . มหาสารคาม. หา้ งห้นุ สว่ นจากัด อภิชาตการพิมพ์. เบญญาภา โสอบุ ล. (2554). วชิ าการบัญชีการเงนิ . คณะวิทยาการจัดการ. มหาวิทยาลัยราชภฏั อดุ รธานี. ปิญะธดิ า อมรภิญโญ. (2560). การบญั ชีการเงนิ . คณะวทิ ยาการจดั การ. มหาวิทยาลยั ราชภฏั อุดรธานี. ภาคภมู ิ วณิชธนานนท์. (2551). การบัญชกี ารเงิน. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์เสมาธรรม. มหาวทิ ยาลยั บูรพา. รตั นา เธยี รวิศิษฏส์ กลุ . (2546). การบัญชกี ารเงิน. กรุงเทพฯ: หา้ งหนุ้ ส่วนจากดั สานกั พิมพ์ฟิสิกส์เซน็ เตอร์. เวบ็ ไซต์ กรมสรรพากร. ความรู้ทางการบัญชี. รูปแบบขององค์กรธรุ กจิ . เว็บไซต์ http://www.Account club.net/ เว็บไซต์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา. http://www.buu.ac.th/2016/. ศศิวมิ ล มีอาพล. (2552). การบญั ชเี พ่ือการจัดการ. (พิมพค์ รง้ั ที่ 22). กรุงเทพฯ: อินโฟไมนงิ่ . สภาวิชาชีพบัญชีแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. แม่บทการบัญชี. (2558). กรุงเทพฯ: บรษิ ัท พี.เอ. ลิฟวิ่ง จากดั . สมจิตร จึงสงวนพรสขุ . (2552). การบัญชี 1. (พมิ พ์ครงั้ ที่ 6). ขอนแกน่ : ภาควิชาการเงนิ และการบัญชี คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . สมนึก เอื้อจิระพงษพ์ นั ธ์ และคณะ. (2552). หลกั การบญั ชขี น้ั ตน้ . กรงุ เทพฯ: สานักพิมพแ์ มคกรอ-ฮลิ . สมาคมนกั บญั ชีและผสู้ อบบญั ชีรบั อนญุ าตแหง่ ประเทศ. (2546). มาตรฐานการบัญชขี องไทยฉบับรวมเล่ม (ปรบั ปรุง พ.ศ.2546) เลม่ 1. (พิมพค์ รั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: บริษทั พ.ี เอ. ลิฟวง่ิ จากดั . สุดาทิพย์ ตันตินิกุลชัย และศักดา หงส์ทอง. (2547). ธุรกิจท่ัวไป. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์เอม พันธ์ จากัด. อรทัย วานชิ ด.ี (2545). ธุรกจิ ทวั่ ไป. กรุงเทพฯ: ประสานมติ ร. Novabizz. รูปแบบขององค์กรธุรกจิ . https://www.novabizz.com/

18 แผนบรหิ ารการสอนประจาบทท่ี 2 หวั ข้อเนอื้ หาประจาบทท่ี 2 งบการเงนิ สมการบัญชี และผังบัญชี 1. ความหมายของงบการเงนิ 2. งบดลุ หรืองบแสดงฐานะการเงิน 3. รูปแบบของงบดุล 4. รปู แบบงบกาไรขาดทนุ 5. งบกาไรสะสม 6. สมการบญั ชี 7. ผังบญั ชี วตั ถปุ ระสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถบอกถงึ ความหมายของงบการเงนิ ได้ 2. สามารถจาแนกรายการในงบการเงินต่างๆ ได้ 3. สามารถจดั ทางบการเงินได้อยา่ งถูกต้อง 4. สามารถอธิบายความหมายของสมการบัญชีได้ 5. สามารถเข้าใจถึงผังบญั ชไี ด้ กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. บรรยาย 2. ฝึกปฏบิ ตั ิโดยยกตัวอยา่ ง 3. ทาแบบฝึกหัดรายบคุ คล สอื่ การเรยี นการสอน 1. เอกสารประการสอน 2. เอกสารตวั อยา่ ง 3. กระดานดา 4. Power Point Presentation 5. แบบฝึกหดั การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. ซกั ถามปัญหานกั ศึกษา เพื่อใหม้ ีความเข้าใจมากยิ่งข้ึน 2. ตรวจสอบความถูกต้องของงบการเงินจากแบบฝึกหัด

บทที่ 2 งบการเงิน สมการบัญชี และผังบัญชี ผู้เป็นเจา้ ของกิจการย่อมตอ้ งการทราบวา่ กิจการของตนมีผลกาไรหรือขาดทุนมากน้อยเพยี งใด กิจการมีเงินเพียงพอกับความต้องการใช้หรือไม่นั้น ข้อมูลต่างๆ เหล่านี้จะสามารถตอบได้ว่า ถา้ มีการ รวบรวมและจดบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบครบถ้วน ดังนั้นงบการเงินจึงเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการ รายงานทางการเงินท่ีประกอบด้วย งบดุล งบกาไรขาดทุน งบกาไรสะสม งบกระแสเงินสด งบแสดง การเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้น หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบประกอบอ่ืน และคาอธิบายที่ทา ให้งบการเงินนั้นสมบูรณข์ ้ึน ความหมายของงบการเงิน งบการเงินตามพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ.2543 หมายถึง รายงานผลการดาเนินงานฐานะ การเงินหรือการเปล่ียนแปลงฐานะการเงินของกิจการ ไม่วา่ จะรายงานโดยงบดุล งบกาไรขาดทุน งบกาไร สะสม งบกระแสเงินสด งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสว่ นของผู้ถือหุ้น งบประกอบหรือหมายเหตุประกอบ งบการเงิน หรอื คาอธบิ ายอื่นซ่งึ ระบไุ ว้ว่าเปน็ สว่ นหนงึ่ ของงบการเงนิ งบดลุ (Balance Sheet) หรอื งบแสดงฐานะการเงิน (Statement of Financial Position) นรีนชุ เมฆวิชัย (2541: 2) ไดใ้ หค้ วามหมายไว้ว่า งบดุล หมายถงึ ข้อมูลทางการบัญชีท่ีนามา จดั ทาเป็นรายงานเพ่ือประโยชนต์ ่อผ้บู รหิ ารของกิจการและบุคคลภายนอก ได้แก่ ขอ้ มลู ท่แี สดงวา่ กจิ การ มีทรัพยากรและสิทธิเรียกร้องอยู่เท่าใด ข้อมูลทั้งสิ้นที่กล่าวน้ีแสดงถึงฐานะการเงินของธุรกิจ งบดุล หมายถึง งบท่แี สดงถึงฐานะทางการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนง่ึ มสี ่วนประกอบดังนี้ 1. สินทรัพย์ (Assets) หมายถึง ทรัพยากรท่ีมีค่าและอยู่ในความควบคุมของกิจการ ซึ่งกิจการ คาดว่าจะได้รบั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรน้ัน ไม่ว่าจะมีตัวตนหรือไม่มีตัวตนก็ได้โดยสินทรัพย์ แบง่ ได้ 2 ประเภท (นรนี ชุ เมฆวชิ ยั (2541: 2 - 3) ดงั น้ี 1.1 สินทรพั ย์หมุนเวียน (Current Assets) หมายถึง เงินสดหรือสินทรัพย์อย่างอ่ืนท่ีมีสภาพ คลอ่ ง สามารถเปล่ยี นค่าเป็นเงินสดได้ง่าย และสามารถใช้ใหห้ มดไปภายในระยะเวลา 1 ปี เชน่ 1.1.1 เงินสดและเงนิ ฝากธนาคาร หมายถึง ธนบตั รและเหรียญกษาปณ์ท่ีกิจการมอี ยู่ เช็คท่ียังมิได้นาฝาก เช็คเดินทาง ดราฟต์ของธนาคาร ธนาณัติ และเงินฝากธนาคารที่ไม่ใช่ประเภท เงินฝากประจา 1.1.2 เงินลงทุนระยะส้นั หมายถึง หลกั ทรพั ย์ท่ีซื้อจากเงินสดท่ีกิจการเหลือใช้ โดยมี วัตถุประสงคเ์ พ่อื หาดอกผลจากเงินลงทุนนนั้ 1.1.3 ลูกหนี้การค้า หมายถึง เงินที่ลูกค้าค้างชาระค่าสินค้าหรือบริการตามการ ดาเนินงานปกตขิ องธุรกจิ 1.1.4 ต๋ัวเงินรับ หมายถึง ตราสารหรือสัญญาอันเป็นลายลักอักษรได้แก่ ต๋ัวแลกเงิน และต๋ัวสัญญาใช้เงิน ซ่ึงผู้จ่ายเงินจานวนหน่ึงให้โดยปราศจากเง่ือนไขในกาหนดเวลาท่ีแน่นอน อาจจะมี ดอกเบีย้ หรอื ไม่มีดอกเบย้ี ก็ได้

20 1.1.5 สินค้าคงเหลือ หมายถึง สนิ ค้าสาเรจ็ รูป งานระหว่างผลติ วัตถดุ บิ 1.1.6 วัสดุสานักงานหรือวัสดุสิ้นเปลือง หมายถึง วัสดุท่ีใช้ในกิจการหรือรา้ นค้าที่ใช้ แล้วหมดไป เชน่ เครือ่ งเขียน กระดาษ แสตมป์ ถงุ 1.1.7 รายได้ค้างรับ หมายถึง รายได้อ่นื ๆ ของกิจการที่เกิดข้ึนแล้วแต่ยังไม่ได้รบั เงิน เชน่ ค่าเช่าค้างรบั ดอกเบี้ยค้างรบั เงินปันผลคา้ งรบั 1.1.8 ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่จ่ายไปก่อนท่ีจะได้รับประโยชน์ ในอนาคต และจะใช้หมดไปในระยะเวลาอันส้ัน เช่น ค่าเบ้ียประกันภัยจ่ายล่วงหน้า ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า ค่าโฆษณาจา่ ยล่วงหน้า 1.2 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non – current Assets) หมายถึง สินทรัพย์ที่มีตัวตน หรือไม่มตี วั ตนท่ีมอี ายุการใชง้ านเกินกว่า 1 ปี 1.2.1 เงนิ ลงทนุ ระยะยาว หมายถงึ เงนิ ลงทุนซอื้ หนุ้ ห้นุ ก้ขู องบริษทั อ่นื เงนิ กใู้ หแ้ กก่ จิ การ 1.2.2 ท่ีดิน อาคาร อุปกรณ์ หรือสินทรัพย์ถาวร หมายถึง สินทรัพย์ท่ีมีตัวตน ทรัพย์สินท่ี มีลักษณะคงทนถาวรมีอายกุ ารใชง้ านเกิน 1 ปี 1.2.3 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน หมายถึง สินทรัพย์ท่ีไม่มีรูปร่างหรือมีตัวตนแต่สามารถมี มลู ค่าในรปู เงินสด เช่น ค่าความนิยม เครอื่ งหมายการค้า สิทธบิ ัตร 1.2.4 สินทรัพย์อ่ืนๆ หมายถึง สินทรัพย์ท่ีใช้ประโยชน์ในการดาเนินงานของกิจการ ท่ไี มไ่ ดน้ บั รวมอยู่ในสนิ ทรพั ย์หมุนเวียนและสินทรพั ยไ์ ม่หมุนเวยี น เชน่ เงินมดั จา ค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี 2. หน้ีสิน (Liabilities) หมายถึง ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการ ภาระผูกพันดังกล่าว เป็นผลของเหตุการณ์ในอดีตซ่งึ การชาระภาระผูกพันนน้ั คาดว่าจะส่งผลให้กิจการสญู เสยี ทรัพย์ยากรที่ มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ โดยหนี้สนิ นัน้ สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท (อรณุ ี ยางธารา. 2557: 8) ดังน้ี 2.1 หน้ีสินหมุนเวียน (Current Liabilities) หมายถึง หน้ีสินท่ีมีระยะเวลาการชาระคืน ภายใน 1 ปี เชน่ 2.1.1 เงนิ เบิกเกินบัญชแี ละเงนิ กยู้ มื จากธนาคาร 2.1.2 เจา้ หนี้การคา้ 2.1.3 ต๋วั เงินจ่าย 2.1.4 ค่าใช้จา่ ยค้างจา่ ย 2.1.5 รายไดร้ ับลว่ งหน้า 2.2 หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non – Current Liabilities) หมายถึง หนี้สินที่มีระยะเวลาชาระเงิน เกนิ กว่า 1 ปี เช่น 2.2.1 หุ้นกู้ 2.2.2 เงนิ กู้ยมื ระยะยาว/เงนิ กจู้ านอง 3. ส่วนของเจา้ ของ (Owners’ Equities) หมายถงึ ส่วนได้เสียคงเหลือในสินทรัพย์ของกิจการ หลงั จากหกั หนี้สนิ ทัง้ หมดออกไปแล้ว ซึง่ สว่ นประกอบของสว่ นของเจา้ ของจะแตกต่างกันออกไปตาม ประเภทธุรกจิ ดังน้ี

21 3.1 กจิ การเจา้ ของคนเดียว ข้อมูลในงบดุลจะปรากฏคาว่า ส่วนของเจ้าของ เชน่ สว่ นของเจา้ ของ ทนุ xxx หกั ถอนใชส้ ว่ นตวั xxx Xxx บวก กาไรสทุ ธิ xxx Xxx 3.2 ห้างห้นุ สว่ น ข้อมูลในงบดุลจะปรากฏคาวา่ สว่ นของผ้เู ปน็ หุ้นส่วน เชน่ ส่วนของผู้เปน็ หุ้นส่วน ทนุ - ก xxx ทนุ - ข xxx กาไรสุทธิที่ยังไม่ไดแ้ บ่ง xxx Xxx 3.3 บริษทั จากัด ข้อมูลในงบดุลจะปรากฏคาวา่ สว่ นของผถู้ อื หุ้น เชน่ สว่ นของผู้ถอื หุ้น ทนุ เรือนหุ้น ทุนจดทะเบยี น xxx ทนุ ท่ีออกและเรยี กชาระแล้ว xxx สว่ นเกินทุน ส่วนเกนิ มลู ค่าห้นุ xxx สว่ นเกินทนุ จากการตีราสนิ ทรัพย์ xxx xxx กาไรสะสม จัดสรรแล้ว xxx สารองตามกฎหมาย xxx xxx xxx สารองอ่ืน xxx ยังไม่ไดจ้ ัดสรร รวมสว่ นของผถู้ ือหุ้น รปู แบบของงบดุล งบดุลมี 2 รูปแบบ (รัตนา เธียรวิศิษฏส์ กุล. 2546: 17) ดงั น้ี 1. แบบบัญชี (Account Form) หรือ แบบตัวที (T-Account) จะแสดงรายการ 2 ด้าน คือ ด้านซ้ายประกอบด้วยสินทรัพย์ ด้านขวาประกอบด้วยหนี้สินและส่วนของเจ้าของ ผลรวมของ ทัง้ สองดา้ นต้องเทา่ กัน ดังนี้

22 ตวั อยา่ งที่ 2.1 งบดลุ (แบบบัญช)ี บรษิ ัท หนึ่งในใจคณุ จากัด งบดุล ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 25xx สินทรัพย์ หนี้สินและสว่ นของผู้ถือหุน้ สนิ ทรพั ยห์ มุนเวียน : หนี้สนิ หมนุ เวียน : xxx เจา้ หนก้ี ารคา้ xxx เงนิ สดและเงนิ ฝากธนาคาร ลูกหนี้การคา้ xxx ต๋ัวเงนิ จา่ ย xxx ต๋ัวเงนิ รับ สินคา้ คงเหลอื xxx เงินก้ยู ืมระยะส้ัน xxx วสั ดุสานกั งาน รายได้คา้ งรบั xxx คา่ ใช้จ่ายค้างจา่ ย xxx คา่ ใชจ้ ่ายล่วงหนา้ รวมสินทรพั ยห์ มุนเวยี น xxx รายไดร้ ับล่วงหน้า xxx xxx รวมหน้สี นิ หมุนเวียน xxx xxx xxx หน้ีสนิ ไม่หมนุ เวยี น : เงนิ กูร้ ะยะยาว xxx สนิ ทรพั ย์ไม่หมนุ เวียน : รวมหนี้สนิ ไมห่ มุนเวยี น xxx ทีด่ ิน xxx รวมหนส้ี นิ ทัง้ ส้นิ xxx อาคาร xxx xxx สว่ นของผ้ถู อื ห้นุ : หกั คา่ เสื่อมราคาสะสม xxx หุน้ สามญั อปุ กรณ์ xxx xxx xxx ส่วนเกนิ มูลคา่ หุ้นสามญั xxx หัก คา่ เสอื่ มราคาสะสม xxx xxx กาไรสะสม xxx รวมสินทรพั ยไ์ ม่หมุนเวยี น xxx รวมสว่ นของผู้ถอื หุ้น xxx รวมสนิ ทรัพย์ทงั้ สน้ิ xxx รวมหน้สี นิ และสว่ นของผู้ถือหุ้น

23 ช่ือกจิ การ.............. งบดลุ ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2557 สนิ ทรัพย์ หนส้ี ินและสว่ นของเจา้ ของ สนิ ทรัพยห์ มุนเวยี น : หน้สี นิ หมนุ เวยี น : 42,000 เงนิ สด 25,000 เจา้ หนี้ 100,000 เงนิ ฝากธนาคาร 74,000 เงินกยู้ ืมระยะสน้ั 35,000 เงนิ ลงทนุ ระยะสั้น 100,000 ตัว๋ เงินจา่ ย 87,000 ลกู หน้ีการคา้ 26,000 เงินเดอื นค้างจา่ ย 26,000 ตว๋ั เงนิ รับ 30,000 255,000 ดอกเบี้ยค้างจา่ ย 290,000 สินทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวยี น : หนีส้ ินไม่หมนุ เวยี น : เงนิ ลงทนุ ระยะยาว 25,000 เงินก้จู านอง 300,000 ทดี่ ินอาคารและ 500,000 รวมหนสี้ นิ 590,000 350,000 สว่ นของเจา้ ของ : อปุ กรณ์(สุทธิ) : 126,000 1,051,000 ทุน – นาย ก 500,000 716,000 ทีด่ ิน 50,000 1,306,000 หกั ถอนใชส้ ่วนตวั 10,000 1,306,000 อาคาร 490,000 อุปกรณ์ บวก กาไรสุทธิ 226,000 รวมสว่ นของ สานักงาน เจ้าของ เครือ่ งตกแตง่ รวมหนีส้ นิ และส่วนของเจ้าของ รวมสนิ ทรัพย์ 2. แบบรายงาน (Report Form) จะแสดงรายการเรียงลาดับลงไปเปน็ ข้ันตอน โดยเรยี งจาก สนิ ทรัพย์ หนีส้ ิน และสว่ นของเจา้ ของ ตามลาดับ และสินทรัพยจ์ ะต้องเท่ากับหนี้สินและส่วนของเจ้าของ เช่นเดียวกบั แบบบญั ชี ดงั น้ี

24 หนว่ ย : บาท ตวั อยา่ งที่ 2.2 งบดุล (แบบรายงาน) xxxx บริษัท หนึ่งในใจคุณ จากัด xxxx งบดลุ xxxx ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 25xx xxxx สนิ ทรัพย์ xxxx xxxx สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวียน : xxxx เงินสดและเงนิ ฝากธนาคาร xxxx ลูกหนี้การค้า ตั๋วเงินรบั xxxx สินคา้ คงเหลือ xxxx วสั ดุสานกั งาน xxxx xxxx รายไดค้ า้ งรับ xxxx ค่าใช้จา่ ยลว่ งหนา้ xxxx xxxx รวมสินทรพั ย์หมุนเวียน xxxx สินทรพั ยไ์ มห่ มุนเวียน : xxxx ทีด่ นิ xxxx อาคาร xxxx หัก คา่ เสื่อมราคาสะสม – อาคาร xxxx อปุ กรณ์ xxxx หกั คา่ เส่ือมราคาสะสม – อปุ กรณ์ xxxx รวมสนิ ทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวยี น xxxx รวมสินทรพั ย์ทั้งสิ้น xxxx xxxx xxxx หนส้ี ินและส่วนของผถู้ ือหนุ้ xxxx หนส้ี นิ หมุนเวียน : เจ้าหน้ีการค้า ตวั๋ เงินจา่ ย เงนิ กูย้ ืมระยะสนั้ คา่ ใชจ้ า่ ยคา้ งจา่ ย รายไดร้ บั ล่วงหนา้ รวมหนี้สนิ หมนุ เวยี น หน้ีสินไมห่ มนุ เวียน : เงนิ กูร้ ะยะยาว รวมหนีส้ นิ ไม่หมนุ เวียน รวมหน้สี นิ ท้งั สน้ิ ส่วนของผูถ้ ือห้นุ : หุ้นสามัญ

25 สว่ นเกินมูลคา่ หุ้นสามญั xxxx กาไรสะสม xxxx รวมสว่ นของผู้ถอื ห้นุ xxxx รวมหนี้สนิ และสว่ นของผถู้ อื หนุ้ xxxx ชือ่ กิจการ.............. งบดลุ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 สินทรัพย์ สินทรพั ย์ สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น : เงินสด 25,000 เงนิ ฝากธนาคาร 74,000 เงินลงทนุ ระยะสัน้ 100,000 ลกู หน้กี ารค้า 26,000 ต๋ัวเงนิ รับ 30,000 255,000 สินทรพั ยไ์ ม่หมนุ เวียน : 25,000 เงนิ ลงทนุ ระยะยาว ที่ดนิ อาคารและอปุ กรณ์(สุทธ)ิ : ทด่ี นิ 500,000 อาคาร 350,000 อปุ กรณส์ านักงาน 126,000 50,000 1,026,000 1,051,000 เครื่องตกแต่ง 1,306,000 รวมสินทรัพย์ หน้สี นิ และสว่ นของเจา้ ของ หนี้สินหมนุ เวยี น : เจา้ หน้ี 42,000 เงินกยู้ ืมระยะสน้ั 100,000 ตัว๋ เงนิ จา่ ย 35,000 เงินเดือนคา้ งจ่าย 87,000 ดอกเบยี้ คา้ งจ่าย 26,000 290,000 หน้สี นิ ไม่หมนุ เวียน : เงนิ กู้จานอง 300,000 รวมหน้ีสนิ 590,000 สว่ นของเจา้ ของ : ทุน – นาย ก 500,000 หัก ถอนใชส้ ่วนตวั 10,000 490,000 บวก กาไรสทุ ธิ 226,000 716,000 รวมหน้ีสินและสว่ นของเจ้าของ 1,306,000

26 รูปแบบงบกาไรขาดทุน (Income Statement or Profit and Loss Statement ) พรสิริ ปุณเกษม และคณะ (2549 : 47) ได้ให้ความหมายของไว้ว้า งบกาไรขาดทุน หมายถึง การรวมรายงานการคา้ ทเี่ กย่ี วกับรายไดแ้ ละค่าใชจ้ า่ ยของบริษัทท่ีเกดิ ขนึ้ ในชว่ งระยะเวลาหน่ึง งบกาไรขาดทุน หมายถึง งบท่ีแสดงถึงผลการดาเนินงานของกิจการสาหรับรอบระยะเวลาบัญชี ใดบญั ชหี นงึ่ ประกอบด้วย 1. รายได้ (Revenues) หมายถึง การเพม่ิ ข้นึ ของประโยชน์เชิงเศรษฐกจิ ในรอบระยะเวลาบัญชี ในรูปกระแสเข้าหรือการเพ่ิมค่าของสินทรัพย์หรือการลดลงของหน้ีสิน อันจะส่งผลให้สว่ นของเจ้าของ เพิม่ ขนึ้ ไดแ้ ก่ รายไดจ้ ากการประกอบธรุ กจิ เช่น รายได้จากการขายสินคา้ รายได้คา่ บริการ รายได้อ่ืนๆ 2. ค่าใช้จ่าย (Expenses) หมายถึง การลดลงของประโยชนเ์ ชิงเศรษฐกิจในระยะเวลาบัญชี ในรูปกระแสออกหรือการลดค่าของสินทรัพย์ หรือการเพ่ิมข้ึนของหนี้สินอันส่งผลให้ส่วนของเจ้าของลดลง ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน เช่น ค่าสาธารณูปโภค ค่าโฆษณา ค่าพาหนะ เงนิ เดือน ค่าใช้จ่าย เบ็ดเตล็ด คา่ ใช้จ่ายอืน่ ๆ ฯลฯ 3. กาไร (ขาดทุน) หมายถึง การเอารายได้หักด้วยค่าใช้จ่าย ผลต่างที่ได้ เช่น ถ้ารายได้มากกว่า เรียกวา่ “กาไร” ถ้าค่าใชจ้ ่ายมากกวา่ เรยี กวา่ “ขาดทนุ ” ตัวอยา่ งที่ 2.3 งบกาไรขาดทนุ (แบบบญั ชี) บรษิ ทั ............................ งบกาไรขาดทนุ สาหรับงวด 1 ปี สน้ิ สดุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25xx ค่าใชจ้ ่าย รายได้ xxx ต้นทุนขาย xxx รายไดจ้ ากการขายและบริการ xxx เงนิ เดือน xxx รายได้อืน่ ๆ ค่าสาธารณปู โภค xxx xxx ค่าเสอ่ื มราคา – อาคาร xxx ค่าเสอ่ื มราคา – อุปกรณ์ xxx คา่ พาหนะ xxx ค่าใชจ้ า่ ยเบ็ดเตลด็ xxx ดอกเบีย้ จา่ ย xxx ภาษเี งินได้ xxx กาไรสุทธิ xxx รวม xxx รวม

บรษิ ัทบก๊ิ & โบว์ จากัด 27 งบกาไรขาดทุน 2,850,000 สาหรับงวด 1 ปี สิ้นสุด วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25xx 30,000 200,000 ตน้ ทุนขาย 1,900,000 ขาย ค่าโฆษณา 74,000 ดอกเบ้ียรับ ________ คา่ เบี้ยประกนั 12,500 เงินปนั ผลรับ 3,080,000 ลขิ สทิ ธติ์ ดั จาหนา่ ย 14,000 ค่าเส่อื มราคา– อาคาร 7,200 คา่ เสือ่ มราคา–อุปกรณ์ 4,000 คา่ สาธารณปู โภค 62,600 เงนิ เดือน 408,000 ดอกเบี้ยจ่าย 20,000 ภาษีเงนิ ได้ 173,310 กาไรสทุ ธิ 404,390 3,080,000

28 ตัวอย่างที่ 2.4 งบกาไรขาดทุน (แบบรายงาน แสดงแบบหลายข้นั ) บริษัท .......................... งบกาไรขาดทนุ สาหรับงวด 1 ปี สน้ิ สดุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25xx ขายสินค้า xxx หกั รบั คืน xxx xxx ส่วนลดจ่าย xxx xxx ขายสุทธิ หัก ตน้ ทุนขาย : xxx xxx สนิ ค้าคงเหลือต้นงวด xxx บวก ซือ้ xxx xxx xxx xxx คา่ ขนส่งเข้า xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx หัก ส่งคืน xxx xxx xxx สว่ นลดรบั xxx xxx xxx สินคา้ ทีม่ ีไวเ้ พื่อขาย หกั สินค้าคงเหลอื ปลายงวด กาไรข้ันตน้ หัก คา่ ใช้จา่ ยในการดาเนนิ งาน : คา่ ใชจ้ ่ายในการขาย คา่ ใชจ้ ่ายในการบรหิ าร กาไรจากการดาเนินงาน บวก รายไดอ้ น่ื ๆ กาไรก่อนหักดอกเบ้ียและภาษีเงนิ ได้ หัก ดอกเบ้ยี จ่าย กาไรก่อนหักภาษเี งินได้ ภาษเี งินได้ กาไรสทุ ธิ

29 บริษัทบิ๊ก & โบว์ จากดั งบกาไรขาดทนุ สาหรบั งวด 1 ปี สิน้ สดุ วันท่ี 31 ธนั วาคม 25xx ขาย 2,850,000 หกั ตน้ ทุนขาย 1,900,000 กาไรขน้ั ต้น หกั คา่ ใชจ้ ่ายในการดาเนินงาน : 950,000 คา่ โฆษณา 74,000 คา่ เบ้ยี ประกัน 12,500 582,300 ลขิ สิทธต์ิ ัดจาหนา่ ย 14,000 367,700 ค่าเสอื่ มราคา – อาคาร 7,200 230,000 คา่ เส่อื มราคา – อปุ กรณ์ 4,000 597,700 คา่ สาธารณปู โภค 62,600 20,000 เงนิ เดอื น 408,000 577,700 กาไรจากการดาเนินงาน 173,310 บวก รายไดอ้ ืน่ ๆ 404,390 ดอกเบ้ยี รบั 30,000 เงนิ ปันผลรับ 200,000 กาไรก่อนหักดอกเบ้ียและภาษีเงนิ ได้ หกั ดอกเบย้ี จ่าย กาไรกอ่ นหักภาษีเงนิ ได้ หกั ภาษเี งนิ ได้ กาไรสุทธิ

30 ตัวอยา่ งที่ 2.5 งบกาไรขาดทุน (แบบรายงาน แสดงแบบขั้นเดียว) บริษทั …………………. งบกาไรขาดทนุ สาหรับงวด 1 ปี สิ้นสุด วันท่ี 31 ธนั วาคม 25xx รายได้ : xxx xxx รายได้คา่ บริการ xxx รายได้อน่ื ๆ xxx xxx xxx ค่าใช้จ่าย : xxx xxx เงนิ เดือน xxx xxx ค่าเสื่อมราคา xxx xxx ค่าสาธารณปู โภค xxx ค่าใช้จา่ ยเบด็ เตล็ด กาไรกอ่ นหักดอกเบยี้ และภาษเี งินได้ หกั ดอกเบ้ียจ่าย กาไรกอ่ นหักภาษเี งินได้ ภาษเี งินได้ กาไรสุทธิ

31 บริษัทบก๊ิ & โบว์ จากดั งบกาไรขาดทุน สาหรับงวด 1 ปี สิน้ สุด วันท่ี 31 ธันวาคม 25xx รายได้ : ขาย 2,850,000 ดอกเบี้ยรับ 30,000 เงินปันผลรับ 200,000 3,080,000 ค่าใช้จา่ ย : ต้นทุนขาย 1,900,000 คา่ โฆษณา 74,000 คา่ เบ้ียประกัน 12,500 ลขิ สทิ ธ์ติ ัดจาหน่าย 14,000 ค่าเสือ่ มราคา – อาคาร 7,200 คา่ เสื่อมราคา – อปุ กรณ์ 4,000 ค่าสาธารณูปโภค 62,600 เงนิ เดือน 408,000 2,482,300 กาไรก่อนหักดอกเบ้ียและภาษเี งินได้ 597,700 หัก ดอกเบย้ี จา่ ย 20,000 กาไรก่อนหักภาษเี งินได้ 577,700 หกั ภาษเี งินได้ 173,310 กาไรสทุ ธิ 404,390

32 งบกาไรสะสม (Retained Earning) งบกาไรสะสม หมายถึง รายงานท่ีแสดงถึงการสะสมของกาไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิสารอง ตามกฎหมายสารองอ่นื ๆ และการจา่ ยเงนิ ปนั ผลของกิจการ (อัมพร เทย่ี งตระกลู และคณะ. 2554: 37) ตัวอยา่ งท่ี 2.6 งบกาไรสะสม (แบบบญั ช)ี บริษทั หน่ึงในสยาม จากดั งบกาไรสะสม สาหรบั งวด 1 ปี สนิ้ สดุ วันท่ี 31 ธันวาคม 25xx จา่ ยเงินปันผล xxx กาไรสะสมยกมา xxx กาไรสะสมยกไป xxx กาไรสทุ ธิประจาปี xxx รวม xxx รวม xxx ตวั อยา่ งท่ี 2.7 งบกาไรสะสม (แบบรายงาน) บรษิ ทั .................. งบกาไรสะสม สาหรบั งวด 1 ปี สน้ิ สดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 25xx กาไรสะสมตน้ งวด xxx บวก กาไรสทุ ธิ xxx หัก เงนิ ปนั ผลจา่ ย xxx กาไรสะสมปลายงวด xxx xxx สมการบัญชี (Accounting equation) เหตุการณท์ างธุรกิจทุกเหตุการณส์ ง่ ผลกระทบต่องบการเงนิ ของกจิ การท้ังสิ้น ดงั น้ันสมการจงึ มี ความสมั พันธ์ระหว่างสนิ ทรัพย์ หนสี้ ิน และสว่ นของเจ้าของ ซึง่ เขยี นในรูปของสมการ (ธารี หิรญั รัศมี. 2558: 53) ดังนี้ สินทรัพย์ = หนสี้ ิน + สว่ นของเจ้าของ ตัวอย่างท่ี 2.8 รายการค้าเจ้าของกิจการนาเงินสดของตนเอง 40,000 บาท และได้กู้เงินจากสถาบัน การเงินอีก 30,000 บาท มาลงทนุ ในกิจการ สามารถเขียนในรปู ของสมการบัญชไี ด้ ดงั น้ี สนิ ทรพั ย์ = หนส้ี นิ + สว่ นของเจ้าของ 7,000 = 30,000 40,000

33 ตัวอย่างที่ 2.9 เม่ือวนั ที่ 31 ธันวาคม 2557 รา้ นนา้ หน่ึง มเี งนิ สด 65,000 บาท อาคาร 500,000 บาท วัสดสุ านักงาน 9,000 บาท อปุ กรณส์ านักงาน 20,000 บาท เจ้าหนีก้ ารค้า 70,000 บาท วิธีทา สินทรัพยท์ ง้ั สนิ้ : เงนิ สด 65,000 บาท วสั ดุสานักงาน 9,000 บาท อปุ กรณ์สานักงาน 20,000 บาท อาคาร 500,000 บาท รวม 594,000 บาท หนีส้ ินท้ังส้ิน : เจ้าหนีก้ ารคา้ 70,000 บาท รวม 70,000 บาท สมการบัญชี : สินทรพั ย์ = หนี้สิน + สว่ นของเจา้ ของ 594,000 = 70,000 + สว่ นของเจ้าของ ดงั นน้ั สว่ นของเจ้าของ = 524,000 บาท ผังบัญชี ผังบัญชี หมายถึง การกาหนดช่ือบัญชีและเลขท่ีบัญชีให้เป็นหมวดหมู่ โดยมีการกาหนดไว้ ล่วงหน้าอย่างเป็นระเบียบและมีหลักเกณฑ์ตามหมวดของการบัญชีแบ่งออกเป็น 5 หมวด (ดวงสมร อรพนิ ท์. 2557 : 50) ดงั นี้ หมวดทข่ี ้ึนดว้ ยเลข 1 สินทรพั ย์ หมวดท่ขี ้นึ ดว้ ยเลข 2 หนี้สนิ หมวดที่ขึ้นด้วยเลข 3 สว่ นของเจ้าของ หมวดท่ขี น้ึ ด้วยเลข 4 รายได้ หมวดที่ขน้ึ ดว้ ยเลข 5 ค่าใชจ้ ่าย ในการกาหนดเลขท่ีบัญชีสามารถกาหนด 2 หลักหรือ 3 หลักก็ได้ ขึ้นอยู่กับในแต่ละหมวดบญั ชี ว่ามีช่ือบัญชีมากน้อยขนาดใดและข้ึนอยู่กบั ประเภทของกจิ การ แตท่ ีน่ ิยมสว่ นใหญ่จะมี 3 หลัก ดงั นี้

34 เลขท่บี ัญชี 101 ชื่อบัญชี 102 หมวดสนิ ทรัพย์ 103 104 เงนิ สด 105 เงนิ ฝากธนาคาร 106 เงินลงทุนระยะส้ัน 107 ตัว๋ เงนิ รบั 108 ลกู หน้ีการค้า 109 วสั ดสุ านกั งาน 110 สินค้าคงเหลอื 111 คา่ ใช้จ่ายจ่ายล่วงหนา้ 112 รายไดค้ า้ งรับ 113 เคร่อื งใช้สานักงาน 114 เคร่อื งตกแต่ง 115 อุปกรณ์สานักงาน รถยนต์ 201 อาคาร 202 ท่ดี นิ 203 หมวดหน้สี นิ 204 เงินเบกิ เกนิ บัญชีธนาคาร 205 เงินกูย้ มื ระยะสัน้ 206 เจา้ หนีก้ ารค้า 301 คา่ ใช้จา่ ยค้างจา่ ย 302 รายไดร้ ับลว่ งหนา้ 303 เงนิ กู้ยมื ระยะยาว 401 หมวดสว่ นของเจา้ ของ 402 ทุน 403 ถอนใชส้ ว่ นตัว กาไรขาดทนุ หมวดรายได้ รายไดจ้ ากการขายสนิ คา้ รายได้คา่ บริการ รายได้อื่น ๆ

35 หมวดค่าใชจ้ า่ ย 501 ซื้อสนิ ค้า 502 ตน้ ทุนขาย 503 เงนิ เดอื น 504 คา่ เช่า 505 คา่ โฆษณา 506 คา่ สาธารณปู โภค 507 ค่าเบี้ยประกนั 508 คา่ พาหนะ 509 คา่ เสือ่ มราคา – เคร่ืองใชส้ านักงาน 510 คา่ เสอื่ มราคา – เครื่องตกแต่ง 511 คา่ เสอ่ื มราคา – อปุ กรณ์สานักงาน 512 คา่ เส่อื มราคา – อาคาร 513 ค่าใชจ้ ่ายเบ็ดเตล็ด 514 ดอกเบย้ี จา่ ย 515 ภาษีเงนิ ได้ บทสรปุ งบการเงนิ เป็นรายงานผลการดาเนนิ งานฐานะการเงินหรือการเปลีย่ นแปลงฐานะการเงินของกิจการ ไม่ว่าจะรายงานโดยงบดุล งบกาไรขาดทุน งบกาไรสะสม งบกระแสเงินสด งบแสดงการเปล่ียนแปลง ส่วนของผ้ถู ือหนุ้ งบประกอบหรือหมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน หรอื คาอธิบายอนื่ ซึ่งระบุไว้ว่าเป็นส่วน หน่งึ ของงบการเงิน งบการเงนิ ประกอบดว้ ยงบดุลหรืองบแสดงฐานะการเงนิ รูปแบบของงบดุล งบกาไร ขาดทนุ และงบกาไรสะสม สมการบัญชี เหตกุ ารณท์ างธุรกิจทกุ เหตุการณส์ ง่ ผลกระทบตอ่ งบการเงนิ ของกิจการทั้งสิน้ ดังน้ันสมการจงึ มีความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสนิ ทรัพย์ หนส้ี นิ และส่วนของเจา้ ของ ซ่ึงเขยี นในรูปของสมการ คอื สินทรัพย์ = หนสี้ ิน + สว่ นของเจา้ ของ ผังบัญชี เป็นการกาหนดชื่อบัญชีและเลขทีบ่ ญั ชีให้เป็นหมวดหมู่ โดยมีการกาหนดไวล้ ่วงหน้า อย่างเปน็ ระเบยี บและมหี ลักเกณฑ์ โดยมหี มวดของการบัญชแี บง่ ออกเปน็ 5 หมวด คอื หมวดสนิ ทรัพย์ หมวดหน้ีสิน หมวดส่วนของเจา้ ของ หมวดรายได้ และหมวดค่าใช้จ่าย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook