94 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) มากกว่าชาที่บรรจุในถุงพลาสติก และถุงอะลูมิเนียม (16) แคโรทีนอยด์ (17) และกลิ่นของเกสรบัวให้เป็น ฟอยล์ ดังนั้นการนำถุงชาเยื่อกระดาษ มาบรรจุในถุง คะแนนตั้งแต่ 1-5 โดย คะแนน 5 หมายถงึ กลิ่นเกสรบัว อะลูมิเนียมฟอยล์และบรรจุในกล่องกระดาษจึงสามารถ มากที่สุด คะแนน 4 หมายถึง กลิ่นเกสรบัวมาก คะแนน ช่วยลดการซึมผา่ นของแสง ก๊าซ ออกซิเจนและความชนื้ 3 หมายถึง กลิ่นเกสรบัวปานกลาง คะแนน 2 หมายถึง สู่ชาได้ ด้วยเหตุน้ีงานวิจัยน้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา กลิ่นเกสรบัวเล็กน้อย คะแนน 1 หมายถึง ไม่มีกลิ่นเกสร ผลของชนิดบรรจุภัณฑ์ต่อคุณภาพทางกายภาพและเคมี บวั จากผู้ทดสอบทไี่ ด้รบั การฝกึ ฝน จำนวน 5 คน ของเกสรบัวหลวง ผลการศึกษาและอภิปรายผล วธิ ีดำเนินการวจิ ัย จากการวิเคราะห์คุณลักษณะทางกายภาพของ 1. การเตรียมเกสรบัวหลวง เกสรบัวหลวงอบแห้งพบว่าค่าความสว่างในเดือนที่ 0 มี ค่าอยู่ในช่วง 39.39-40.38 เมือ่ เก็บรักษาผา่ นไป 3 เดือน นำดอกบัวหลวงสีขาวที่กำลังบาน ขนาดเส้น ค่าความสวา่ งมคี ่าเพม่ิ ขึ้นสงู ในทุกชดุ การทดลองทั้งน้ีอาจ ผ่านศูนย์กลาง 10-15 เซนติเมตร จากสวนบัวในจังหวดั เน่อื งจากความชน้ื ท่เี พม่ิ ข้นึ ดังตารางที่ 4 สง่ ผลใหเ้ กสรบวั นครสวรรค์มาแยกกลีบดอก เลือกส่วนที่เป็นเกสรบัว มา หลวงมีความสว่างมากขึ้นในช่วงแรกโดยการบรรจุใน ทำความสะอาดด้วยการร่อนแผ่นตะแกรงให้เศษละออง บรรจุภัณฑ์ที่ป้องกันการซึมผ่านของไอน้ำได้ดีจะช่วยลด ของเกสรบัวหลวงหลุดออก เกลี่ยใส่ถาดนำเข้าอบที่ การดูดซับความชื้นจากอากาศที่จะทำให้ค่าวอเตอร์ อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส ระยะเวลาประมาณ แอกทิวิตีเพมิ่ ข้ึน (10) หลงั จากน้ันมีค่าลดลงต่ำในเดือนที่ 2-4 ชั่วโมง หรือจนกระทั่งความชื้นไม่เกินร้อยละ 6 6 ซ่ึงแสดงถงึ สที ่เี ขม้ มากขน้ึ โดยในเดือนที่ 2 และ 3 เกสร นำไปใชใ้ นการทดลอง (15) บัวที่บรรจุในถุงแบบต่าง ๆ ไม่มีผลต่อค่าสี และเมื่อเก็บ รักษาผ่านไปจนถึงเดือนที่ 6 พบว่าค่าความสว่างของ 2. ศึกษาชนิดของบรรจุภัณฑ์ต่อคุณภาพของเกสรบัว เกสรบัวหลวงที่บรรจุในถุงอลูมิเนียมฟอยด์มีค่าสูงที่สุด หลวง รองลงมาคือเกสรบัวหลวงที่บรรจุในถุงสุญญากาศ เกสร บัวที่บรรจุในถุงพลาสติกใส + สารดูดซับความชื้น และ นำเกสรบัวหลวงที่ผ่านการอบแห้งบรรจุใน เกสรบัวหลวงที่บรรจุในถุงพลาสติกใส โดยมีค่าเท่ากับ บรรจุภัณฑ์แบ่งออกเป็น 4 สิ่งทดลอง (Treatment) 41.57 37.57 33.94 และ 32.28 (ตารางที่ 1) (รูปที่ 2) จำนวน 3 ซ้ำ/สิ่งทดลอง โดยวางแผนการทดลองแบบสมุ่ การเปลี่ยนแปลงสีที่เกิดขึ้นในเกสรบัวหลวงอาจเกิดจาก อย่างสมบูรณ์ (Completely Randomized Design; ปฏิกิริยาสีน้ำตาลโดยเอนไซม์พอลีฟีนอลออกซิเดส CRD) ดังนี้ สิ่งทดลอง 1 บรรจุในถุงพลาสติกใส (โพลีพอ (Polyphenoloxidase) ของสารประกอบพอลีฟีนอลซ่ึง ไพรีน; PP) ตามที่ใช้ทั่วไป (ชุดควบคุม) สิ่งทดลอง 2 อาจมีหลายปจั จัยรว่ มด้วย ได้แก่ แสง ความชืน้ ในอาหาร บรรจุในถุงพลาสตกิ ใส + สารดดู ซับความชื้น (ซิลิกาเจล) ความชื้นสัมพัทธ์ อุณหภูมิระหว่างการขนส่งและวาง ส่งิ ทดลอง 3 บรรจใุ นถุงสุญญากาศ ส่งิ ทดลอง 4 บรรจุใน จำหน่าย ก๊าซออกซิเจน เวลาและการดูดซับกล่ิน ถุงอลูมิเนียมฟอยด์มีซิบปิด-เปิด หลังจากบรรจุเกสรบัว นอกจากนี้เกสรบัวหลวงอบแห้งที่ผ่านกระบวนการผลิต หลวงในบรรจภุ ณั ฑ์ต่าง ๆ (รปู ที่ 1) แลว้ นำไปเกบ็ รักษาที่ แล้วยังคงมีสารประกอบแคโรทีนอยด์ คลอโรฟิลล์ อุณหภมู ิห้อง (30 องศาเซลเซยี ส ระยะเวลา 6 เดอื น โดย วติ ามินซแี ละกรดไขมันอิสระเหลอื อยรู่ วมถงึ สารประกอบ สุ่มตัวอย่างมาวิเคราะห์ผลทุกเดือนดังนี้ การวัดค่าสี พอลีฟีนอลและเอนไซม์ต่าง ๆ ได้แก่ เอนไซม์เปอร์ Minolta Color Reader CR-10 ความชืน้ สารต้านอนมุ ลู อิสระด้วยวิธี DPPH (2,2-diphenyl-1-picrylhydrazyl)
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 95 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ออกซิเดสและพอลีฟีนอลออกซิเดสทำให้เกิดปฏิกิริยา เดชั่น (Autooxidation) เกิดกลิ่นรสและสีของผลิตภัณฑ์ ทางเคมเี น่ืองจากเอนไซม์เหลา่ นี้และปฏกิ ริ ิยาออโตออกซิ ท่ผี ดิ ปกติ (9) รปู ที่ 1 การบรรจุเกสรบัวหลวงในภาชนะบรรจุชนิดต่าง ๆ การบรรจุในถุงพลาสติกใส (A) การบรรจุในถุงพลาสติกใส + สารดดู ซบั ความช้นื (B) การบรรจใุ นถงุ สุญญากาศ (C) และการบรรจุในถงุ อลูมเิ นียมฟอยด์ (D) รูปท่ี 2 ลักษณะของเกสรบัวหลวงในภาชนะบรรจุชนิดต่าง ๆ ในถุงพลาสติกใส (A) การบรรจุในถุงพลาสติกใส + สาร ดดู ซบั ความชื้น (B), การบรรจใุ นถุงสุญญากาศ (C) และการบรรจุในถงุ อลมู เิ นยี มฟอยด์ (D) ตารางท่ี 1 ค่าสคี วามสวา่ ง (L*) ของเกสรบวั จากการเก็บรักษาในบรรจภุ ณั ฑ์ชนดิ ตา่ ง ๆ ค่าสี L* ตวั อยา่ ง ระยะเวลาเก็บรักษา (เดือน) 0 1 2ns 3ns 4 56 PP bagA-E 40.38aC ±0.50 41.44abC±0.53 43.31B±0.20 46.80A±1.73 41.62cC±0.59 40.95cC±0.04 32.28dD±0.31 PP bag +MA 39.39bD±0.36 41.85abBC±0.04 43.27B±0.55 45.63A±2.02 41.97bcBC±0.10 40.58cCD±0.17 33.94cE±0.03 Vacuum bag 40.38aD±0.20 42.42 aC±0.67 44.06B±0.48 46.13A±0.72 42.26bC±0.03 42.67bC±1.08 37.57bE±0.03 AF bag 40.18aE±0.15 40.93cD±0.67 43.39C±0.20 45.76A±0.40 44.77aB±0.13 43.88aC±0.11 41.57aD±0.63 F-test * * ns ns * ** CV (%) 0.307 0.543 0.227 1.641 1.751 2.156 14.027 หมายเหต:ุ PP = Polypropylene, MA = Moisture absorber, AF= Aluminum foil, ns แสดงถงึ ไมแ่ ตกตา่ งกันอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติ * แสดงถึงแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ, a-d แสดงถงึ ความแตกตา่ งอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติของค่าเฉล่ียในแนวต้ัง (P < 0.05) A-E แสดงถงึ ความแตกตา่ งอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิติของค่าเฉลยี่ ในแนวนอน (P < 0.05)
96 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ตารางท่ี 2 ค่าสแี ดง (a*) ของเกสรบวั จากการเก็บรักษาในบรรจุภณั ฑช์ นดิ ต่าง ๆ ค่าสี a* ตวั อย่าง ระยะเวลาเกบ็ รักษา (เดือน) PP bagA-E 0 1ns 2 3 45 6 PP bag +MA Vacuum bag 11.25abC±0.38 10.75C±0.53 10.37bC±0.59 19.16aA±0.87 7.23bD±0.05 11.08aC±1.04 16.14bB±0.25 AF bag 10.42bB±0.35 11.32B±0.19 11.41bB±0.15 19.40aA±0.52 7.16bC±2.25 10.61abB±0.14 18.41aA±0.43 F-test 11.17abC±0.03 10.70CD±0.15 11.68aC±0.15 17.50bB±1.11 11.14aC±0.05 9.78abD±0.03 18.69aB±0.85 CV (%) 15.42aB±4.61 11.11C±0.79 11.38aC±0.26 18.80abA±0.55 8.26bC±0.12 9.34bC±0.39 17.92aAB±0.10 * ns * * ** * 8.127 0.250 0.356 1.059 3.768 0.926 1.250 หมายเหต:ุ PP = Polypropylene, MA = Moisture absorber, AF= Aluminum foil, ns แสดงถงึ ไม่แตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิ * แสดงถึงแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิ, a-d แสดงถงึ ความแตกต่างอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิติของค่าเฉลย่ี ในแนวต้ัง (P < 0.05) A-E แสดงถึงความแตกต่างอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติของค่าเฉลย่ี ในแนวนอน (P < 0.05) ตารางที่ 3 คา่ สนี ้ำเงนิ (b*) ของเกสรบวั จากการเกบ็ รกั ษาในบรรจุภัณฑช์ นดิ ต่าง ๆ คา่ สี b* ตัวอย่าง ระยะเวลาเก็บรกั ษา (เดอื น) PP bagA-E 0ns 1 2 3ns 4 5 6ns PP bag +MA Vacuum bag 42.37A±0.40 41.74abA±3.05 41.92bA±2.92 27.93C±0.65 26.14aC±0.03 40.92bA±3.24 33.96B±3.06 AF bag 42.43BC±1.16 44.80aA±1.67 44.36abAB±0.66 29.36D±2.00 26.18aE±0.29 41.11bC±1.46 26.14E±0.58 F-test 41.11B±0.35 44.30abAB±0.29 47.24aA±1.02 27.43D±2.13 24.31bD±0.42 48.33aA±5.74 33.96C±0.26 CV (%) 42.37A±0.78 40.78bA±1.79 44.71abA±0.33 27.16B±1.74 23.28cB±0.39 40.50bA±2.13 29.33B±8.19 ns * * ns * * ns 0.742 5.926 5.731 2.978 1.743 20.658 25.952 หมายเหต:ุ PP = Polypropylene, MA = Moisture absorber, AF= Aluminum foil, ns แสดงถึงไม่แตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติ * แสดงถงึ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ, a-d แสดงถงึ ความแตกต่างอยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิตขิ องค่าเฉล่ยี ในแนวต้งั (P < 0.05) A-E แสดงถึงความแตกต่างอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ิของค่าเฉลย่ี ในแนวนอน (P < 0.05) ตารางท่ี 4 ความช้ืนของเกสรบัวจากการเก็บรกั ษาในบรรจภุ ณั ฑ์ชนิดต่าง ๆ ความชน้ื (%) ตวั อยา่ ง ระยะเวลาเก็บรักษา (เดือน) PP bagA-E 0ns 12 3ns 4 5 6ns PP bag +MA Vacuum bag 1.83F±0.01 2.09aE±0.03 2.10aE±0.02 2.37D±0.06 2.59aC±0.00 3.10aB±0.01 4.58A±0.04 AF bag 1.82D±0.01 1.96bCD±0.01 2.04abCD±0.06 2.18C±0.15 2.57bB±0.00 2.83bB±0.05 4.45A±0.40 F-test 1.74C±0.18 1.96bC±0.02 1.96cC±0.02 2.36B±0.20 2.56bcB±0.14 2.57cB±0.06 4.55A±0.46 CV (%) 1.85F±0.02 1.95bE±0.02 1.97bcE±0.01 2.22D±0.11 2.55cB±0.01 2.43dC±0.06 4.05A±0.04 ns ** ns * * ns 0.008 0.004 0.004 0.022 0.000 0.074 0.117 หมายเหตุ: PP = Polypropylene, MA = Moisture absorber, AF= Aluminum foil, ns แสดงถึงไม่แตกตา่ งกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ * แสดงถึงแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิ, a-d แสดงถึงความแตกต่างอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิตขิ องค่าเฉลยี่ ในแนวต้งั (P < 0.05) A-E แสดงถึงความแตกต่างอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ิของค่าเฉลยี่ ในแนวนอน (P < 0.05)
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 97 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ค่า a* หรือค่าสีแดง พบว่าในเดือนที่ 0 มีสีแดง เกสรบัวหลวงหลังการบรรจุในถุงทั้ง 4 ชนิดมี ของเกสรบวั หลวงในถุงอลูมิเนียมฟอยด์มคี ่าสูงสุด เท่ากับ ความชื้นเพิ่มขึ้นเริ่มต้นจากร้อยละ 1.74 เป็น 4.58 ใน 15.42 ไม่แตกต่างจากเกสรบัวหลวงที่บรรจใุ นถุงพลาสติก เดือนสดุ ท้าย โดยในเดือนที่ 0 ความชนื้ ของเกสรบัวหลวง ใส และถุงสุญญากาศซึ่งมีค่าสีแดงเท่ากับ 11.25 และ ในทุกบรรจุภัณฑ์ไม่มีความแตกต่างกัน โดยอยู่ในช่วง 11.17 ตามลำดับ ส่วนค่าสแี ดงของเกสรบัวหลวงบรรจุใน ร้อยละ 1.74-1.85 ในเดือนที่ 1 และ 2 พบว่าความช้ืน ถงุ พลาสตกิ ใส + สารดูดซบั ความช้ืนมีค่าเท่ากบั 10.42 ใน ของเกสรบัวหลวงที่บรรจุในถุงพลาสติกใสมีค่าสูงกว่า เดือนที่ 1-3 พบว่าเกสรบัวหลวงที่บรรจุในภาชนะทั้ง เกสรบัวหลวงบรรจุในถุงพลาสติกใส + สารดูดซับ 4 ชนิดมีค่าสีแดงไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยในเดือนที่ 3 ความช้ืน และถุงสญุ ญากาศ และถงุ อลูมเิ นยี มฟอยด์อย่าง ค่าสีแดงมีค่าสูงสุดอยู่ในช่วง 17.50-19.40 ในเดือนที่ 4 มีนัยสำคัญและเมื่อผ่านไปในเดือนที่ 4 และ 5 พบว่า คา่ สีแดงมคี ่าลดลงและเพ่มิ ขึ้นอกี ครั้งในเดือนที่ 6 โดยคา่ สี ความชื้นของเกสรบัวหลวงบรรจุในถุงพลาสติกใสยังคงมี แดงของเกสรบัวหลวงที่บรรจุในถุงสุญญากาศ เกสรบัวท่ี ความชน้ื สูงกวา่ เกสรบวั ท่ีบรรจุในถุงอกี 3 ชนดิ โดยเกสร บรรจใุ นถุงพลาสตกิ ใส + สารดดู ซับความชน้ื และเกสรบัว บัวหลวงที่บรรจุในถุงอลูมิเนียมฟอยด์มีความชื้นต่ำสุด หลวงที่บรรจุในถุงอลูมิเนียมฟอยด์มีค่าสูงกว่าเกสรบัว และในเดือนสุดท้ายพบว่าเกสรบัวหลวงที่บรรจุในถุง หลวงที่บรรจุในถุงพลาสติกใสอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อลูมิเนียมฟอยด์มีความชื้นต่ำสุด รองลงมาคือเกสรบัว โดยมีค่าเท่ากับ 18.69 18.41 17.92 และ 16.14 (ตาราง หลวงที่บรรจุในถุงพลาสติกใส + สารดูดซับความชื้น ท่ี 2) ท้ังน้เี ป็นไปไดท้ ีป่ รมิ าณแคโรทีนอยด์ในเกสรบวั หลวง เกสรบัวหลวงที่บรรจุในถุงสุญญากาศ ในขณะที่เกสรบัว มีปริมาณลดลงจากการผ่านเขา้ ออกของออกซิเจนจึงส่งผล หลวงที่บรรจุในถุงพลาสติกใสมีความชื้นมากที่สุด ต่อคา่ สแี ดงของเกสรบัวหลวงท่ีบรรจุในถุงพลาสติกใสมีค่า อย่างไรกต็ ามไม่พบความแตกต่างของความช้ืนในภาชนะ น้อยกว่าบรรจุภัณฑ์ที่สามารถป้องกันออกซิเจนได้ดี บรรจุทั้ง 4 ชนิดในเดือนสุดท้ายน้ี (ตารางท่ี 4) บรรจุ โดยเฉพาะอลมู เิ นียมฟอยด์ (18) ภัณฑ์ดัดแปลงสภาพบรรยากาศ (Modified Atmosphere Packaging; MAP) โดยก๊าซภายในบรรจุภัณฑ์มีการ ค่า b* หรือค่าสีเหลืองพบว่ามีแนวโน้มลดลง เปล่ยี นแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาของการบรรจุ ต่ำสุดในเดือนที่ 4 หลังจากนั้นมีค่าเพิ่มขึ้นในเดือนที่ 5 เนื่องจากคุณสมบัติด้านการซึมผ่านของก๊าซของบรรจุ และลดลงในเดือนที่ 6 โดยในเดือนที่ 0 ค่าสีเหลืองของ ภัณฑ์ที่เลือกใช้ (19) โดยเฉพาะการบรรจุเกสรบัวใน เกสรบัวหลวงในทุกบรรจุภณั ฑไ์ ม่มีความแตกต่างกัน โดย ถงุ พลาสตกิ ใส และการบรรจใุ นถุงพลาสตกิ ใสรว่ มกับสาร อยู่ในช่วง 41.41-42.43 ในเดือนที่ 1 และ 2 เกสรบัว ดูดซับความชื้นคุณสมบัติของถุงพลาสตกิ จะยอมให้มีการ หลวงทีบ่ รรจใุ นถุงอลูมเิ นียมฟอยด์ เกสรบวั หลวงบรรจุใน ผ่านเข้าออกของก๊าซออกซิเจน ไอน้ำ จึงทำให้เกสร ถุงพลาสติกใส + สารดูดซับความชื้น และถุงสุญญากาศ บัวหลวงมีความชื้นสูงกว่าการบรรจุในถุงสุญญากาศและ ซึ่งมีค่าสีเหลืองสูงกว่าเกสรบัวหลวงบรรจุในถุงพลาสติก ถุงอลูมิเนียมฟอยด์ที่ความชื้นผ่านเข้าออกได้ยากกว่า ใสตามลำดบั ในเดอื นที่ 5 ค่าสีเหลอื งของเกสรบัวหลวงที่ พลาสติกแต่ละชนิดมีความแตกต่างของคุณสมบัติในการ บรรจใุ นถงุ สญุ ญากาศมีค่าสูงท่ีสุด รองลงมาคอื เกสรบัวที่ ยอมให้มีการซึมผ่านของไอน้ำของฟิล์มพลาสติกแต่ละ บรรจุในถุงพลาสติกใส + สารดูดซับความชื้น เกสรบัว ชนิด (20) โดยคณุ สมบตั ิดังกล่าวจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ หลวงที่บรรจุในถุงพลาสติกใส และเกสรบัวหลวงที่บรรจุ ชนดิ ของฟิลม์ พลาสติกที่เลอื กใช้ ในฟอยดต์ ามลำดับ โดยมคี า่ เทา่ กับ 48.33 41.11 40.92 และ 40.50 (ตารางท่ี 3)
98 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ตารางท่ี 5 สารต้านอนมุ ูลอิสระของเกสรบวั จากการเก็บรักษาในบรรจภุ ัณฑ์ชนดิ ต่าง ๆ ตัวอย่าง สารตา้ นอนุมูลอสิ ระ (%) ระยะเวลาเก็บรักษา (เดือน) 0ns 1ns 2 3 4 5 6 PP bagA-E 64.73A±0.64 59.53B±1.17 55.58aC±0.59 39.48bD±2.06 28.09cF±1.67 33.69cE±0.41 28.09cF±1.67 PP bag +MA 64.18A±0.32 59.76B±2.88 55.70aC±1.72 39.68bD±1.05 31.52bF±2.28 34.81cE±0.63 32.69bEF±0.71 Vacuum bag 64.56A±0.48 59.73B±0.49 53.73bC±1.23 40.46abD±0.76 37.61aE±1.07 41.05aD±0.41 37.61aE±1.07 AF bag 64.41A±0.56 61.52B±0.35 50.87cC±0.59 42.77aD±0.56 32.69bF±0.71 37.27bE±2.22 33.14bF±1.22 F-test ns ns * * * * * CV (%) 0.239 2.517 5.094 2.999 14.478 9.728 13.497 หมายเหตุ: PP = Polypropylene, MA = Moisture absorber, AF= Aluminum foil, ns แสดงถึงไม่แตกตา่ งกันอย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติ * แสดงถึงแตกตา่ งกนั อย่างมนี ัยสำคัญทางสถิติ, a-d แสดงถึงความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตขิ องค่าเฉลีย่ ในแนวตั้ง (P < 0.05) A-E แสดงถึงความแตกต่างอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติของค่าเฉลยี่ ในแนวนอน (P < 0.05) ตารางท่ี 6 แคโรทีนอยด์ของเกสรบวั จากการเก็บรักษาในบรรจภุ ณั ฑ์ชนิดต่าง ๆ แคโรทีนอยด์ (มิลลิกรัม/ลิตร) ตวั อยา่ ง ระยะเวลาเกบ็ รกั ษา (เดอื น) 0 1 2 3 4ns 5 6 PP bagA-E 65.39dA±4.98 65.39dA±0.01 62.55bA±1.12 57.94bB±2.41 47.00C±3.37 37.29cD±0.46 37.68bD±0.95 PP bag +MA 65.40bA±0.01 65.39bA±7.67 65.40aA±3.67 59.84abB±4.70 49.89C±4.44 41.23bD±0.92 35.58cE±0.39 Vacuum bag 65.39cA±0.01 65.93cA±8.03 65.39aA±9.00 62.75abA±1.27 54.08B±8.97 43.78aC±0.50 40.51aC±1.29 AF bag 65.48aA±0.01 65.48aA±0.01 60.68cC±0.57 63.85aB±0.66 52.78D±0.75 40.76bE±1.12 40.00aE±1.21 F-test * * * * ns * * CV (%) 0.001 0.001 4.670 11.415 28.567 6.301 4.989 หมายเหต:ุ PP = Polypropylene, MA = Moisture absorber, AF= Aluminum foil, ns แสดงถึงไมแ่ ตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสำคญั ทางสถติ ิ * แสดงถงึ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ ิ, a-d แสดงถงึ ความแตกต่างอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ิของคา่ เฉลย่ี ในแนวตัง้ (P < 0.05) A-E แสดงถึงความแตกต่างอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถิติของค่าเฉลี่ยในแนวนอน (P < 0.05) ตารางท่ี 7 กลน่ิ ของเกสรบัวจากการเกบ็ รักษาในบรรจภุ ัณฑ์ชนดิ ตา่ ง ๆ กลิน่ (คะแนน) ตวั อยา่ ง ระยะเวลาเกบ็ รกั ษา (เดอื น) 0 1 2 3 4 56 PP bagA-E 5 5 5 3 3 21 PP bag +MA 5 5 5 3 3 2 1 Vacuum bag 5 5 5 5 3 3 3 AF bag 5 5 5 5 3 33 หมายเหตุ: PP = Polypropylene, MA = Moisture absorber, AF= Aluminum foil คะแนน 5 หมายถึง กลน่ิ เกสรบวั มากทีส่ ดุ คะแนน 4 หมายถึง กลน่ิ เกสรบวั มาก คะแนน 3 หมายถึง กลิน่ เกสรบัวปานกลาง คะแนน 2 หมายถึง กลิน่ เกสรบัวเล็กนอ้ ย คะแนน 1 หมายถึง ไม่มกี ลิน่ เกสรบัว
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 99 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) เกสรบัวหลวงหลังการบรรจุในถุงทั้ง 4 ชนิดมี บรรจุในถุงพลาสติกใสมีแคโรทีนอยด์ต่ำสุด ในเดือนท่ี 4 สารต้านอนุมูลอิสระลดลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา ภาชนะบรรจุไม่มีผลต่อปริมาณแคโรทีนอยด์ แต่ในเดือน โดยเดือนที่ 0 และ 1 ภาชนะบรรจุไม่มีผลต่อปริมาณ ที่ 5 และ 6 เกสรบัวหลวงที่บรรจุในถุงสุญญากาศและ สารต้านอนุมูลอิสระ แต่มีผลหลังจากเดือนที่ 2 เป็นต้น ถุงอลูมิเนียมฟอยด์มีปริมาณแคโรทีนอยด์ไม่แตกต่างกัน ไป โดยการบรรจุเกสรบัวหลวงในถุงสุญญากาศช่วย และมีสูงกว่าเกสรบัวหลวงที่บรรจุในถุงพลาสติกใส + ชะลอการลดลงของสารต้านอนุมูลอิสระได้มากกว่า สารดูดซับความชื้น และเกสรบัวหลวงที่บรรจุใน บรรจุในถุงอลูมิเนียมฟอยด์ และบรรจุในถุงพลาสติกใส ถุงพลาสติกใส โดยมีปริมาณแคโรทีนอยด์เท่ากับ 40.51 + สารดูดซับความชื้นเม่ือเปรียบเทียบกับถุงพลาสติกใส 40.00 37.68 และ 35.58 มิลลิกรัม/ลิตร (ตารางที่ 6) ในเดือนสุดท้ายของการเก็บรักษา โดยมีปริมาณเท่ากับ แม้แคโรทีนอยด์ส่วนใหญ่จะอยู่ในผักผลไม้สีเหลือง ส้ม ร้อยละ 37.61 33.14 32.69 และ 28.09 ตามลำดับ แต่ก็ยังสามารถพบทั้งแคโรทีนอยด์ในผักผลไม้สีเขียว (ตารางที่ 5) สารต้านอนุมูลอิสระ เป็นสารที่สามารถ ด้วย (24) แคโรทีนอยด์เป็นทั้งสารต้านอนุมูลอิสระ (25) ชะลอหรือป้องกันปฏิกิริยาออกซิเดชันในร่างกายเช่น และยังช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งหลายชนิด แคโรทีนอยด์ โปรตีน เอนไซม์ และดีเอ็นเอ ดังนั้นการใช้สารที่มี เป็นสารที่ละลายในไขมัน และเป็นรงควัตถุที่พบใน คุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ด้วยวิธี DPPH จะ คลอโรพลาสต์และโครโมพลาสต์ของผลไม้ ดอกไม้ และ ช่วยยับยั้งการเกิดอนุมูลอิสระไม่ให้ทำลายองค์ประกอบ ใบของพืช นอกจากนั้นยังพบได้ในสาหร่ายและจุลชีพที่ ของเซลล์ ในหลายงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์พบว่าสาร สังเคราะห์แสงได้ (26) แคโรทีนเป็นสารโมเลกุลใหญ่มี ต้านอนุมูลอิสระมีบทบาทสำคัญในการลดความเสี่ยง สูตรทางเคมี C40H56 และมีคุณสมบัติเป็นโปรวิตามินเอ จากการเกิดโรคต่าง ๆ เช่น โรคมะเร็ง โรคหายใจ และ และเมื่อแคโรทีนแตกตัวจะได้วิตามินเอ ปฏิกิริยานี้จะ เบาหวาน (21) เกสรบัวหลวงมีสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น เกิดขึ้นภายในตับ แคโรทีนบริสุทธิ์จะมีผลึกเป็นสีแดง ฟีนอลิก และฟลาโวนอยด์ (3, 22) ซึ่งจากงานวิจัยของ ทับทิมไม่ละลายในน้ำแต่ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ Limwachiranon และคณะ (23) พบว่าการศึกษาส่วน จากผลการทดลองเกสรบัวหลวงมีสีเหลืองจึงมีแคโรทีนอยด์ ต่าง ๆ ของบัวหลวงทั้งใบ เมล็ด และดอกมีสาร ค่อนข้างสูงในเดือนที่ 0 หลังจากนั้นมีปริมาณลดลง ประกอบฟีนอลิก จำนวน 12 ชนิด และฟลาโวนอยด์ เนื่องจากแคโรทีนถูกออกซิไดส์ได้ง่ายโดยออกซิเจนใน จำนวน 90 ชนิด ซึ่งสามารถนำไปใช้ในอุตสาหกรรม อากาศ (18) ซึ่งจะเห็นว่าการบรรจุเกสรบัวหลวงในถุง อาหารได้ การใช้ถุงสุญญากาศและถุงอลูมิเนียมฟอยด์ สุญญากาศ และถุงอลูมิเนียมฟอยด์ช่วยรักษาปริมาณแค ช่วยชะลอการสูญเสียสารต้านอนุมูลอิสระไดเ้ นื่องจากถุง โรทีนอยด์ได้ จากการที่ภาชนะบรรจุชนิดนี้ป้องกันก๊าซ ทั้งสองชนิดป้องกันก๊าซออกซิเจนที่ทำให้เกิดการเสื่อม ออกซิเจนผ่านเข้าออกได้ สลายของสารต้านอนุมูลอิสระได้ กลิ่นเกสรบัวหลวงหลังการบรรจุในถุงทั้ง 4 เกสรบัวหลวงหลังการบรรจุในถุงทั้ง 4 ชนิดมี ชนิดมีกลิ่นลดลงจนกระทั่งไม่มีกลิ่นตามระยะเวลาการ ปริมาณแคโรทีนอยด์ลดลงตามระยะเวลาการเก็บรักษา เก็บรักษา โดยเดือนที่ 0-2 ยังคงมีกลิ่นของเกสรบัวแต่ โดยในสองเดือนแรกยังคงมีปริมาณแคโรทีนอยด์สูงอยู่ เมื่อเก็บรักษาผ่านไปในเดือนที่ 3- 6 เกสรบัวหลวงบรรจุ ในช่วง 60.68-65.48 จากนั้นในเดือนที่ 3 พบว่าเกสร ในถุงพลาสติกใส และถุงพลาสติกใส + สารดูดซับ บัวหลวงในถุงอลูมิเนียมฟอยด์มีแคโรทีนอยด์สูงไม่ ความชื้นมีกลิ่นอยู่ในระดับปานกลาง และลดลงจนกระทั่ง แตกต่างจากเกสรบัวหลวงบรรจุในถุงพลาสติกใส + สาร ไม่มีกลิ่นในเดือนสุดท้าย ในขณะเกสรบัวหลวงบรรจุใน ดูดซับความชื้น ถุงสุญญากาศ ในขณะที่เกสรบัวหลวง ถุงสุญญากาศและถุงอลูมิเนียมฟอยด์มีกลิ่นในระดับ
100 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ปานกลางในเดือนสุดท้ายโดยไม่พบกลิ่นผิดปกติในเกสร กิตติกรรมประกาศ บัวหลวงที่บรรจุในถุงทั้ง 4 ชนิด (ตารางที่ 7) จาก งานวิจัยของบุษราคัมและคณะ (27) ได้สกัดน้ำมันหอม ขอขอบคุณคณะเทคโนโลยีการเกษตร ระเหยจากเกสรบัวหลวงราชินีพบว่าองค์ประกอบทาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีที่ได้สนับสนุน เคมีของน้ำมันหอมระเหยที่สกัดด้วยตัวทำละลายและไข เงนิ ทุนงบรายได้ ประจำปี 2563 ในการงานวจิ ยั น้ี เ ย ็ น ไ ด ้ แ ก่ ส า ร 2,3- dihydro-3,5-dihydroxy-6- methylpyran-4-one และ Lidocain ในปริมาณที่ เอกสารอ้างองิ แตกต่างกัน ส่วนน้ำมันหอมระเหยที่สกัดด้วยตัวทำ ละลายและไขร้อนพบเฉพาะสาร Ethyl Palmitate 1. นันทวัน บุณยะประภัศสร. สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (2). องค์ประกอบทางเคมีของเกสรบัวหลวงมีแนวโน้มถูก กรุงเทพฯ: บรษิ ทั ประชาชน จำกดั . 2541. ทำลายได้ง่ายจากปฏิกิริยาออกซิเดชั่น (Oxidative Reaction) เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างก๊าซ 2. ธิดารัตน์ จันทร์ดอน. บัวหลวง...สัญลักษณ์แห่ง ออกซิเจนในบรรยากาศและองค์ประกอบทางเคมี พระพทุ ธศาสนา [อินเตอร์เน็ต]. [สืบค้นเมือ่ วนั ท่ี 27 เหล่านั้น ตัวอย่างเช่น การเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นของ เม.ย. 2562]. จาก: https://bit.ly/39NH8iS สารประกอบฟลาโวนอยด์และวิตามินซี ผลของการ เกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นนำไปสู่การเสื่อมเสียคุณภาพ 3. Jung HA, Kim JE, Chung HY, Choi JS. ด้านกลิ่นรส และคุณค่าทางโภชนาการระหว่างการเก็บ Antioxidant Principles of Nelumbo nucifera รักษา การขนส่งและการวางจำหน่าย ดังนั้นกลิ่นที่ Stamens. Pharm Res. 2003;26(4):279-85. หายไปของเกสรบัวหลวงหลังเก็บรักษาผ่านไป 6 เดือน เมื่อบรรจุในถุงพลาสติกใสอาจเนื่องจากคุณสมบัติ 4. Bhuvana S, Mahesh R, Begum VH. Effect of พลาสติกที่ยอมให้ก๊าซออกซิเจนผ่านได้ และการบรรจุ Nelumbo nucifera flowers on plasma lipids เกสรบัวหลวงในถุงอลูมิเนียมฟอยด์ป้องกันการซึมผ่าน and glucose in young, middle-aged and aged ของก๊าซออกซิเจน ของเหลว ความชื้น รวมทั้งป้องกัน rats. Pharmacology online. 2008;2:863-74. กลิ่นได้ 5. Mukherjee PK, Saha K, Das J, Pal M, Saha BP. สรปุ ผล Studies on the anti-inflammatory activity of rhizomes of Nelumbo nucifera. Planta Med. จากการศึกษาผลของบรรจุภัณฑ์ต่อคุณภาพ 1997;63:367-9. ของเกสรบัวหลวงเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 6 เดือนพบว่าเกสรบัวหลวงที่บรรจุในถุง 6. Ono Y, Hattori E, Fukaya Y, Imai S, Ohizumi สุญญากาศเมื่อเก็บรักษานาน 6 เดือนยังคงมีสีเหลือง Y. Anti-obesity effect of Nelumbo nucifera สารต้านอนุมูลอิสระ และแคโรทีนอยด์สูงกว่าการบรรจุ leaves extract in mice and rats. J เกสรบัวหลวงในถุงอลูมิเนียมฟอยด์ และถุงพลาสติกใส Ethnopharmacology. 2006;106:238–44. ร่วมกับสารดูดซบั ความชนื้ ตามลำดับ ส่วนการบรรจุเกสร บัวหลวงในถุงพลาสติกใสมีสีคล้ำ สารต้านอนุมูลอิสระ 7. Kunanusorn P, Panthong A, Pittayanurak, P, และแคโรทีนอยด์ตำ่ สดุ รวมทั้งไม่มีกลิน่ ของเกสรบัวหลวง Wanauppathamkul S, Nathasaend N, Reutrakul V. Acute and subchronic oral toxicity studies of Nelumbo nucifera stamens
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 101 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) extract in rats. J Ethnopharmacology. 16. บังอร วงศ์รัก, ศิริลักษณ์ ปิยสุวรรณ. ฤทธิ์การต้าน 2011;134:789–95. อนุมูลอิสระของผกั พืน้ บ้าน [โครงการพิเศษปริญญา เ ภ ส ั ช ศ า ส ต ร บ ั ณ ฑ ิ ต ]. ก ร ุ ง เ ท พ ฯ : 8. สุชาดา เลาหศิลป์สมจิตร์. การบรรจุภัณฑ์แอคทีฟ มหาวทิ ยาลัยมหิดล; 2549. สำหรับชาอบแห้ง. วารสารการเกษตรราชภัฎ. 2561;17(1):34-41. 17. Kundu P, Anitha K, Ramani N. Feeding impact of the vegetable mite, Tetranychus 9. Lee J. Green tea: flavor characteristics of a neocaledonicus André (Acari: wide range of teas including brewing, Tetranychidae) on Mentha Rotundifolia L. processing, and storage variations and Int J Recent Sci Res. 2016;7(4):10406-9. consumer acceptance of teas in three countries [Doctor’s thesis]. Kansas: Kansas 18. Dumbravă DG, Moldovan C, Raba D, Popa State University; 2009. MV. Vitamin C. chlorophylls, carotenoids and xanthophylls content in some basil 10. รงุ่ นภา วิสฐิ อุดรการ. การประเมินอายกุ ารเกบ็ รกั ษา (Ocimum basilicum L.) and rosemary ของอาหาร [เอกสารคำสอนวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์]. (Rosmarinus officinalis L.) leaves extracts. J กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์ 2540. Agroaliment Processes Technol. 2012;18(3):253–58. 11. ปุ่น คงเจริญเกียรติ, สมพร คงเจริญเกียรติ. บรรจุ ภณั ฑ์อาหาร. กรงุ เทพฯ: หย่เี ฮง; 2541. 19. Techavuthiporn C, Nakano K, Maezawa S. Prediction of ascorbic acid content in 12. มยุรี ภาคลำเจียก. ฟิล์มพลาสติกที่ใช้ในการบรรจุ broccoli using a model equation of หีบห่ออาหารว่าง. วารสารพลาสติก. 2536;10(3): respiration. Postharvest Biol Technol. 72-5. 2008;47:373-81. 13. งามทิพย์ ภู่วโรดม. การบรรจุอาหาร ( Food 20. Villanueva MJ, Tenorio MD, Sagardoy M, packaging). กรุงเทพฯ: เอส.พี.เอ็ม.; 2550. Redondo A, Saco MD. Physical, chemical histological and microbiological changes in 14. Knack K, Christensen LP. Effect of packing fresh green asparagus (Asparagus officinalis materials and storage time on volatile L.) stored in modified atmosphere packaging. compounds in tea processed from flowers of Food Chem. 2005;91:609-19. black elder (Sambucus nigra L.). Eur Food Res Technol. 2008;227:1259-73. 15. สุรัตน์วดี วงค์คลัง, เลอลักษณ์ เสถียรรัตน์, อรุณพร 21. Chew YL, Lim YY, Omal M, Khoo KS. อิฐรัตน์. การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของบัว Antioxidant activity of three edible หลวง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 2557;45(2 seaweeds from two areas in South East Asia. พเิ ศษ):673-76. J Food Sci Technol. 2008;41(6):1067-72.
102 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) 22. Wu MJ, Wang L, Weng CY, Yen JH. Antioxidant activity of methanol extract of the lotus leaf (Nelumbo nucifera Gaertn.). Am J Chin Med. 2003;31:687-98. 23. Limwachiranon J, Huang H, Shi Z, Li Li Luo Z. Lotus flavonoids and phenolic acids: Health promotion and safe consumption dosages. Compr Rev Food Sci Food Saf. 2018;17:457- 71. 24. More RS, Chaubal SS. Determination of stress and comparison by estimation of chlorophyll-a, b and carotenoid contents among plants growing along Mithi River, Mumbai. International Journal of Scientific & Engineering Research. 2017;8(1):1–8. 25. Klomsakul P, Pumjumpa D, Khunpratum S, Chalopagorn P. Determination of antioxidant property from some medicinal plant extracts from Thailand. Afr J Biotechnol. 2012;11(45):10322–7. 26. Dhir R, Harkess RL, Bi G. Physio- logical responses of Ivy Geranium “Beach” and “Butterfly” to heat stress. J Am Soc Hortic Sci. 2013;138(5):344–9. 27. บุษราคัม สิงห์ชัย, นิศา ตระกูลภักดี, สาวิตรี ทองลิ้ม. น้ำมันหอมระเหยจากเกสรบัวหลวงราชินี. วารสาร วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2560;25(1):27-34.
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 103 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) A Cost-Effective and Environmentally Friendly Approach in Using Green Tea Extracts for The Determination of Iron Ion with PiCOEXPLORER Yaowalak Khanhuathon and Napaporn Wannaprom* Chemistry Program, Faculty of Education, Chiang Rai Rajabhat University, Mueang, Chiang Rai 57100, THAILAND *Corresponding author e-mail: [email protected] ARTICLE INFO ABSTRACT Article history: This research has been developed by using green tea extracts Received: 24 July, 2020 as a green reagent for the determination of iron ion in pharmaceutical Revised: 1 September, 2020 products with PiCOEXPLORER as a detector. PiCOEXPLORER is a Accepted: 6 November, 2020 modern instrument based on the colorimetric system. It is a compact Available online: 13 April, 2021 system and a portable device of a new generation. It is a small size DOI: 10.14456/rj-rmutt.2021.10 colorimeter based on the RGB analysis system which allows displaying Keywords: green analytical RGB intensity and absorbance for each Red (R), Green (G), and Blue (B) method, green reagent, mode. The device is controlled by a program using an application on green tea extracts, a smartphone with either iOS or Android operating systems. This PiCOEXPLORER device, portable device is convenient for on-site micro-scale analysis. Green pharmaceutical products tea extracts can be used as an alternative low cost and easily available reagent for the quantification of iron without purifying extraction before use. Parameters affecting the determination of iron content were optimized. Under the optimum conditions developed herein, the results showed good linearity over a Fe(III) concentration range from 2.5 to 30.0 mg⋅L–1 gave correlation coefficients of 0.9985 (y = 0.0093x– 0.002) with a detection limit (LOD) of 0.5 mg⋅L–1 and quantification limit (LOQ) of 1.3 mg⋅L–1. The repeatability of the proposed method was less than 4 %RSD (n = 7). The proposed method was successfully applied to pharmaceutical products. The results matched well with those obtained from the standard method as compared at a 95% confidence level with the paired t-test. The proposed method is
104 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) common, cost-effective, reduces the sample and reagent consumption, and is an environmentally friendly method. In addition, this device could be used as an alternative tool for spectroscopy study in terms of quantitative analysis instead of using a conventional spectrophotometer. INTRODUCTION small instrument that requires a 30 µL of minimum standard/sample volume per time. The Iron (Fe) is one of the important minerals analysis of samples was measured in a PCR tube. that help in the formation of red blood cells It can be easily controlled by a mobile phone or which is the source of oxygen to feed various parts tablet and the signal of RGB light absorbance was of the body, development of the brain and recorded. Moreover, a calibration graph was regulation of body temperature (1). If the iron constructed and saved in an application on a content is not enough in the body, it can cause mobile phone or tablet and also all data will be disease as iron-deficiency anemia (2). Thus, iron is uploaded to a computer. produced in the form of iron pills to provide enough iron content where is instead of eating. Previous studies have reported on the use Therefore, quality control of antianemic of green reagents for quantitative analysis of metals preparations and quantification of iron content ion. For example, the determination of aluminium containing good accuracy and precision, simple, in pharmaceutical preparations with heartwood fast, and low-cost systems is interested. extracts (11) and the use of tea leaf extract for copper quantification in tap water samples (12). Several methods have been used to Both as mentioned above research was quantify iron ion in pharmaceutical samples used sequential injection system based on consist of UV–Visible spectroscopy (3), flame spectrophotometric as a detector. The atomic absorption spectroscopy (4, 5), inductively spectrophotometric flow injection system using coupled plasma-optical emission spectroscopy green reagent extracted from morinda citrifolia root (6), electrochemical (7, 8), and high-performance for the determination of aluminium in tea (13). liquid chromatography technique (9, 10). These methods can present a high sensitivity, good In this context, we are interested in using accuracy and precision. However, they require green tea extracts as a green reagent for the skillful analysts, large instruments, high prices and determination of iron ion due to in the north of tedious methods. Moreover, these methods use Thailand especially in Chaing Rai province have a large quantities of a hazardous substance that lot of green tea. Green tea contains the lead to environmental contamination and health importance of polyphenolic compounds which effects. PiCOEXPLORER device is a new instrument are catechins, (–)-epigallo-catechin gallate (EGCG), based on the colorimetric system. This device is a and (–)-epicatechin gallate (ECG). These
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 105 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) compounds can be chelated with iron ion to Ca2+ (CaCl2⋅2H2O, RCI Labscan Limited), Ni2+ obtain iron-polyphenolic complexes (14–17). For the determination of iron ion by using green (NiCl2⋅6H2O, QRëC), Mn2+ (MnSO4⋅H2O, QRëC), reagent extracts such as the quantification of iron in pharmaceutical samples using flow injection Cu2+ (CuCl2⋅2H2O, QRëC), Cr2+ (CrCl3⋅6H2O, QRëC), system with green reagent extracts from guava leaf (18) and green tea (19). and Co2+ (CoCl2⋅6H2O, QRëC). Green tea was purchased in local stores that are produced in The aim of this research is the use of the area of Pasang, Maechan, Chiang Rai, green tea extracts as an alternative green reagent Thailand. Green tea extracts were prepared with for the determination of iron ion in 5.00 g of dried green tea in 70.00 mL DI water at pharmaceutical products using the PiCO- 60 °C. The suspension was shaken for 15 min. EXPLORER device as a detector. The proposed Then, the suspension was filtered through a method shows several advantages including piece of No.1 filter paper (Whatman) and finally common, fast analysis, small instrument, cost- adjusted with DI water to a volume of 100.00 ml. effective, environmentally friendly, and reduces The extract was prepared daily. the sample and reagent consumption. Apparatus MATERIALS AND METHODS The device used as a detector in this Reagents and chemicals study was the PiCOEXPLORERTM Model PAS-110 photo absorbance sensor from USHIO Inc., A stock solution of 1000 mg⋅L–1 Fe(III) Japan as shown in Figure 1. A standard method was prepared by dissolving 2.1585 g of based on spectrophotometry using 1,10- ammonium iron(III) sulfate dodecahydrate phenanthroline as reagent was used to compare with the results obtained from the proposed (FeNH4(SO4)⋅12H2O, Univar) in deionized (DI) method. A Thermo Scientific Genesys water containing 1 %v/v concentrated sulfuric 840-208100 UV/Vis spectrophotometer with acid (H2SO4, RCI Labscan Limited) and then quartz cells was used for the detection of the adjusted with DI water to a volume of 250 ml. absorbance of the iron-1,10-phenanthroline For the preparation of acetate buffer solution of complex at 510 nm. pH 5.0 (1.0 M, 1000 mL) was prepared by Sample solutions preparation dissolving 87.83 g of CH3COONa⋅3H2O in DI water containing 20.30 mL of CH3COOH. Fifteen tablets were ground to obtain a powder portion. A powder portion which is The study of interferences that affect containing about 40 mg Fe was precisely the analysis of iron content in a real sample was weighed and mixed with 25.00 mL of DI water done by adding seven cations into Fe(III) and 1.00 mL of concentrated hydrochloric acid (HCl, RCI Labscan Limited). The mixture was solutions including Mg2+ (Mg(NO3)2⋅6H2O, QRëC),
106 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) boiled on a hot plate for 30 min, then let it cool RESULTS AND DISCUSSION down at room temperature, and diluted with DI water to a volume of 500.00 mL. The mixture Optimization was filtered through filter paper (Whatman No.1). The filtrate sample solution was diluted (10 Parameters affecting the analysis of iron times) with DI water and then a 5.00 mL of contents including the concentration of green diluted sample solution was transferred to a tea extracts, extraction time, extraction 25.00 mL. Standard Fe(III) solution was added to temperature, buffer solution (pH), reaction time, each flask to obtain the final added and volume of green tea extracts were concentration of 5.0, 7.5, and 10.0 mg⋅L–1. A 0.25 investigated. All results will be discussed below. mL of hydrogen peroxide (H2O2, Merck) was added to make sure the complete oxidization Effect of the concentration of green tea extracts from Fe(II) to Fe(III) before making the final volume to 25.00 mL with DI water. Figure 2 shows the effects of the concentration of green tea extracts (1, 5, 10, 15, and Determination of iron ion by using PiCOEXPLORER device as a detector 20 %w/v) that interacted with 10 mg⋅L–1 Fe(III). Green tea contains various polyphenolic compounds. The Figure 1 The set-up for determination of iron major polyphenolic compounds are catechins, EGCG ion using green tea as a green reagent and ECG. The polyphenolic compound is their and recorded the absorbance of green capability to reduce and chelate with iron ion and light by PiCOEXPLORER device. to form Fe-polyphenol complexes. Previous studies have been proposed mechanism about the A simple determination of iron ion by complex formations that consist of two steps, firstly PiCOEXPLORER device was set-up as shown in Fe(III) go through an ion-transferring process when Figure 1. Firstly, 25 µL of green tea extracts and forming the complex with low molecular weight 175 µL of standard or sample solution was catechin and EGCG, and then Fe(III) is reduced to added in PCR tube. Then the mixture was Fe(II) and the catechin is oxidized to quinone (14, 16). reacted for 5 min before the absorbance of green This study showed that the absorbance of green light was detected by PiCOEXPLORER device. light enhances to 5 %w/v of green tea extracts concentration after that the absorbance decreases due to the concentration of green tea extracts more than 5 %w/v may contain much caffeine. Caffeine cannot interact with Fe(III) making the detection of absorbance of green light decrease. Therefore, the concentration of green tea extracts at 5 %w/v was chosen as the optimum concentration for further studies.
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 107 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) Figure 2 Absorbance of green light recorded by extraction time slightly increasing for the first 15 PiCOEXPLORER device for the study of min and then decreased. Extraction time over 15 green tea concentration effect in the min making the absorbance of green light range of 1 to 20 %w/v. decreased due to longer extraction time may cause the amount of caffeine more than Figure 3 Absorbance of green light recorded by polyphenolic compounds which are the major PiCOEXPLORER device for the study of compound in green tea (20). An extraction time extraction time effect in the range of 1 of 15 min was chosen because it gave the highest to 30 min. absorbance as shown in Figure 3. Effect of extraction time Effect of extraction temperature The effect of extraction time was also Figure 4 exhibits the effect of the evaluated since a longer extraction time should temperature of the solvent for green tea allow the more polyphenolic compound to be extraction. In this study, an extraction extracted but will also lead to a longer total temperature varied from 40 to 100 °C (40, 60, 80, analysis time. Extraction time varied from 1 to 30 and 100 °C). The result indicating that 60 °C min (1, 5, 10, 15, 20, and 30 min). The results shows the highest absorbance of green light. showed that the absorbance of green light of Therefore extraction temperature at 60 °C was selected. Effect of buffer solution This research has been studying the effect of acetate buffer solution (pH 4–6) and a phosphate buffer solution (pH 7–8) on the formation complex of Fe(III) with green tea extracts. The buffer solution was optimized from weak acidic to weak alkaline buffer solution (pH 4, 5, 6, 7, and 8). Figure 5 displays that acidic buffer solution (pH 5) was a suitable condition for the formation of the complex of Fe(III) with green tea extracts because it gave the highest absorbance of green light. At weak acidic, neutral, and weak alkaline buffer solution (pH 6– 8) the absorbance is decreased due to this buffer solution making the structure of polyphenolic
108 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) compounds change. Therefore an acidic buffer green light is proportional to increasing reaction solution (pH 5) was selected. time and constant at long reaction time. As shown in Figure 6 the signal between a reaction time of 5 and 10 min is not different. Thus to save the analysis time the reaction time of 5 min was chosen. Figure 4 Absorbance of green light recorded by Figure 6 Absorbance of green light recorded by PiCOEXPLORER device for the study of PICOEXPLORER device for the study of extraction temperature effect in the reaction time effect in the range of 1 range of 40 to 100 °C. to 30 min. Figure 5 Absorbance of green light recorded by Effect of the ratio between green tea extracts PiCOEXPLORER device for the study of volume and standard/sample solution volume buffer solution effect in the range of 4 to 8. Owing to the limitation of PCR tube capacity (PCR tube, polypropylene, 200 µL). This Effect of reaction time research uses the ratio between the natural Various reaction times (1, 5, 10, 15, 20, reagent and standard/sample solution in 200 µL as total volume. Figure 7 displays the plot of the 25, and 30 min) were studied. The variation of volume of green tea extracts (25–175 µL) and reaction time indicated that the absorbance of green light intensity. The results indicated that the volume of green tea extracts to standard/sample solution increase but green light intensity decrease. Therefore, the suitable condition of this study is 25:175 µL of the ratio
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 109 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) of green tea extracts and standard/sample concentration ratio is slightly different with solution. standard 10 mg⋅L–1 Fe(III) by showing %RSD less than 3%. In this work, we did not study higher ratios of interference: Fe(III) concentration because pharmaceutical products usually do not contain these studied interfering ions at a higher quantity. Figure 7 Absorbance of green light recorded by Figure 8 The linearity range of Fe(III) standard PiCOEXPLORER device for the study of using green tea extracts as a natural the ratio of the volume of green tea reagent recorded by PiCOEXPLORER extracts and standard/sample solution device effect in the range of 25 to 175 µL. Various parameters were optimized and From all the above results we can optimal conditions as shown in Table 2 were summarize the variable ranges and optimum applied for the studies of analytical characteristics condition for the determination of iron ion using including linearity range, the limit of detection green tea extracts as a green reagent recorded (LOD), the limit of quantitation (LOQ) and by the PiCOEXPLORER device which is a newly determination of iron in pharmaceutical products. developed method as shown in Table 1. As indicated in Table 2, it was found that the Study of interference linearity range of standard of Fe(III) is 2.5 to 30 mg⋅ Interference studies were observed by L–1 (Figure 8), 0.5 mg⋅L–1 of LOD and 1.3 mg⋅L–1 of adding seven cation including Ni2+, Co2+, Cu2+, LOQ, respectively. To provide the reproducibility of the developed method, we studied the Mn2+, Ca2+ and Mg2+ into Fe(III) 10 mg⋅L–1 interaction between green tea extracts with solutions to obtain the last concentration of 1, 5 various concentrations of 5, 10, and 20 mg⋅L–1 of and 10 mg⋅L–1 which concentration ratios of Fe(III):interference ion is 10:1, 2:1 and 1:1, respectively. The absorbance of green light obtained from these solutions was compared with the standard 10 mg⋅L–1 Fe(III). It was found that absorbance of green light of all
110 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) Fe(III) and detected the absorbance of green light deviation (%RSD) of all concentrations are 3.4–4.3, by PICOEXPLORER device (n = 7). Precision, which is an acceptable range. calculated as the percentage of relative standard Table1 Variable ranges and optimum conditions for the determination of iron using green tea extracts as a natural reagent recorded by PICOEXPLORER device. Parameter studied Range studied Optimum level Concentration of green tea extracts 1–20 %w/v 5 %w/v Extraction time 1–30 min 15 min Extraction temperature 40–100 °C 60 °C pH Reaction time 4–8 5 Volume of green tea extracts 1–30 min 5 min 25–175 µL 25 µL Table 2 Study of analytical characteristics obtained from Fe(III) standard solution Parameter studied Fe(III) standard solution Linear regression equation y = 0.0093x–0.002 (R2 = 0.9985) Linear range (mg/L) 2.5–30 %RSD (n = 3) over the linear range 0.0–3.6 LOD (3σ of blank) (mg/L) 0.5 LOQ (10σ of blank) (mg/L) 1.3 Precision (5.0, 10.0 and 20.0mg/L) (n = 7) 4.3, 3.5, 3.4 %RSD Table 3 Determination of iron in pharmaceutical samples by the proposed method and by the standard method based on spectrophotometry system Sample Form of Amount of Fe(II) (mg/tablet) %Deviation No. iron from standard Label Standard Proposed method amount method method 1 Fumarate 100 105±1 102±2 –2.9 2 Fumarate 200 197±6 199±4 1.0 3 Fumarate 200 234±10 231±8 –1.3 4 Sulfate 135 117±3 116±3 –0.9
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 111 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) Application of green tea extracts for the without purifying extraction before use. The determination of iron in pharmaceutical green extract can be classified as a selective products reagent for iron ion assay more than the other studied cation interference at the show on the The pharmaceutical products were iron pills products. This proposed method was purchased from local drug stores in Chiang Rai, successful in the determination of iron in Thailand. The sample preparation procedure was pharmaceutical products and provides an modified from the Association of Official alternative to other methods which is common, Analytical Chemists (AOAC) method (21). A cost-effective, environmentally friendly, high procedure as mentioned above in the part of precision and reduce the sample and reagent experimental, three-drug and vitamin samples consumption. Iron contents were compared with were analyzed using green tea extracts as a green the standard method; the results found both reagent with standard addition method. A graph methods were the non-significant difference at of the standard addition method was established 95% confidence level by the paired t-test. In by plotting the absorbance of green light versus addition, the proposed method can be classified the added concentration of iron. The iron as a micro-scale portable device. contents in samples were evaluated as summarized in Table 3. The standard method ACKNOWLEDGEMENTS based on spectrophotometry system using 1,10- phenanthroline as reagent was used to compare This research was financially supported with the results obtained from the proposed by the Chemistry Program, Faculty of Education, method. It was found that the results from the and Research and Development Institute, Chiang proposed method were in good correlation with Rai Rajabhat University. The authors gratefully the standard method as compared at the 95% acknowledge Prof.Dr. Kate Grudpan, Center of confidence level by the paired t-test (tcal = Excellence for Innovation in Analytical Science and Technology, Chiang Mai University, USHIO 0.4588, tcrit = 4.3026). Inc., and Thai Unique Co., Ltd. for PiCOEXPLORERTM instrumentation support. We CONCLUSIONS would like to thank projects of undergraduate students including Linlada Chaowing, Siriporn PiCOEXPLORER as a modern instrument Bunsinthai, and Warunyou Muangmool. based on a colorimetric system was developed for the 1.3 determination of iron in REFERENCES pharmaceutical products using green tea extracts as a green reagent. Green tea extracts can be 1. Hentze MW, Muckenthaler MU, Galy used as an alternative low cost and easily B, Camaschella C. Two to tango: regulation available reagent for the quantification of iron
112 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) of mammalian iron metabolism. Cell. and sodium ferric gluconate complex. J 2010;142:24–8. Pharm Anal. 2012;2(6):450–3. 2. Clark SF. Iron deficiency anemia. Nutr Clin 9. Khuhawar MY, Lanjwani SN. Liquid Pract. 2008;23:128–41. chromatographic determination of cobalt(II), copper(II) and iron(II) using 2-thiophenal- 3. Melwanki MB, Seetharamappa J, Masti SP. dehyde-4-phenyl-3-thiosemicarbazone as Spectrophotometric determination of iron(III) deri-vatizing reagent. Talanta. 1998;46:485– in ore, pharmaceutical formulations, plants 90. material and foodstuff using piroxicam. Indian J Chem. 2003;42:576–8. 10. Senyuva HZ, Sarica DY, Ozden T. Simultaneous determinationof Fe(II) and 4. Zachariadis GA, Raidou ES, Themelis DG, Fe(III) in pharmaceutical sample by post- Stratis JA. Determination of mineral content column derivatization/HPLC. Turk J Chem. of active dry yeast used in pharmaceutical 2002;26:425–30. formulations. J Pharm Biomed. 2002;28:463– 73. 11. Siriangkhawut W, Khanhuathon Y, Chantiratikul P, Ponhong K, Grudpan K. A 5. Rajbhandari A, Aryal A, Rajbhandari SD. green sequential injection Determination of iron in iron tablets by spectrophotometric approach using natural spectrophotometry and atomic absorption reagent extracts from heartwood of spectroscopy. Int J Pharm. 2013;4(3):435–8. Ceasalpinia Sappan Linn. for determination of aluminium. Anal Sci. 2016;32:329–36. 6. Zachariadis GA, Michos CE. Development of a slurry introduction method for multi- 12. Costa AD, Sulistyarti H, Sabarudin A. Tea element analysis of antibiotics by leaves extract as a natural reagent for inductively coupled plasma atomic emission quantification of copper using sequential spectrometry using various types of spray injection analysis (SIA). ARPN J Eng Appl Sci. chamber and nebulizer configurations. J 2017;12(24):7274–6. Pharm Biomed. 2007;43(3): 951–8. 13. Tontrong S, Khonyoung S, Jakmunee J. Flow 7. Mahmoud WH. Iron ion-selective electrodes injection spectrophotometry using natural for direct potentiometry and reagent from Morinda citrifolia root for potentiotitrimetry in pharmaceuticals. Anal determination of aluminium in tea. Food Chim Acta. 2001;436(2):199–206. Chem. 2012;132(1):624–9. 8. Merli D, Profumo A, Dossi C. An analytical 14. Ryan P, Hynes MJ. The kinetics and method for Fe(II) and Fe(III) determination in mechanisms of the complex formation and pharmaceutical grade iron sucrose complex antioxidant behaviour of the polyphenols
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 113 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) EGCg and ECG with iron(III). J Inorg Biochem. International. 18th ed. vol 1. Gaitherburg: 2007;101(4):585–93. AOAC International; 1995. p. 11. 15. Elhabiri M, Carër C, Marmolle F, Traboulsi H. Complexation of iron(III) by catecholate-type polyphenols. Inorg Chim Acta. 2007;360:353–9. 16. Hynes MJ, Coinceanainn MO. The kinetics and mechanisms of the reaction of iron(III) with gallic acid, gallic acid methyl ester and catechin. J Inorg Biochem. 2001;85(2-3):131– 42. 17. Khokhar S, Apenten RKO. Iron binding characteristics of phenolic compounds: some tentative structure–activity relations. Food Chem. 2003;81:133–40. 18. Settheeworrarit T, Hartwell SK, Lapanat- noppakhun S, Jakmunee J, Christian GD, Grudpan K. Exploiting guava leaf extract as an alternative natural reagent for flow injection determination of iron. Talanta. 2005;68(2):262–7. 19. Pinyou P, Hartwell SK, Jakmunee J, Lapanatnoppakhun S, Grudpan K. Flow injection determination of iron ions with green tea extracts as a natural chromogenic reagent. Anal Sci. 2010;26:619–23. 20. Saklar S, Ertas E, Ozdemir IS, Karadeniz B, Effects of different brewing conditions on catechin content and sensory acceptance in Turkish green tea infusions. J Food Sci Technol. 2015;52(10):6639–46. 21. Cunniff P. Iron in drugs. In: Horwitz W, editor. Official Method of Analysis of AOAC
114 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ลักษณะทางประสาทสัมผัสของขนมปงถั่วเหลืองและขนมปงดอกดาวเรือง (Tagetes erecta L.) Sensory Characteristics of Soybean Breads and Marigold (Tagetes erecta L.) Breads ณัฐกติ ต์ิ แพรศรธี นรักษ นารียา ธนากรวเิ ศษ นรศิ รา เหลอื งประภา กมลเนตร บุญวเิ ทยี น และ ณฐั ธญาณ ศรสี วุ อ* Nattakit Paresithanarak, Nareeya Thanakornvises, Narisara Luengprapha, Kamonnet Boonwitian and Nutthaya Srisuvor* ภาควิชาเทคโนโลยีการอาหารและโภชนาการ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เขตสาทร กรงุ เทพมหานคร 10120 Department of Food Technology and Nutrition, Faculty of Home Economics Technology, Rajamangala University of Technology Krungthep, Sathon, 10120, THAILAND *Corresponding author e-mail: [email protected] ARTICLE INFO ABSTRACT Article history: Bread is a popular food and convenient food that provides Received: 10 August, 2020 high energy from the carbohydrate. Consumers eat it as a substitute Revised: 30 October, 2020 for rice in a meal or as a snack. Supplementing the nutritional values Accepted: 12 November, 2020 or phytochemicals in bread increases the nutritional benefits from the Available online: 28 April, 2021 consumption of bread. The purposes of this research were to study DOI: 10.14456/rj-rmutt.2021.11 the effects of supplementing soybean powder in breads and marigold Keywords: sensory petals in pound breads on the sensory characteristics. The soybean characteristics, bread, powder replaced low-protein wheat flour at the levels of 0 25 and soybean, marigold 50 % (w/w) and marigold petals in the ratios of water: marigold petals as 1: 0, 1: 1, 1: 2 and 1: 3 (by weight) were evaluated using a preference test with a 5-point hedonic scale. The sensory evaluations of the breads supplemented with soybean powder showed that the appearance, color, odor, flavor, taste, texture, and overall liking of the 3 bread recipes were not significantly different (p > 0.05). The pound breads supplemented with marigold petals at the ratios of 1: 0, 1: 1
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 115 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) and 1: 3 had the highest odor (3.8, 3.7, and 4.5 scores, respectively) and texture characteristics (4.4, 4.3, and 3.9 scores, respectively). At the ratio 1: 3 was the highest for flavor (4.2 scores). The supplementation with soybean powder in breads and marigold petals in pound breads did not affect appearance, color, taste, and overall preference (p > 0.05). Therefore, soybean powder and marigold petals can be used in the functional foods to increase the nutritional value and phytochemicals in them. They can be used in other bakery products and commercial foods. บทคัดยอ ในอาหารฟงกชันเพื่อเพิ่มคุณคาทางโภชนาการและ สารพฤกษเคมีใหแกขนมปงโดยสามารถนำไปใชใน ขนมปงเปนอาหารที่นิยมและสามารถ ผลิตภณั ฑเบเกอรีและอาหารทางการคาชนิดอน่ื ได รับประทานไดสะดวก ใหพลังงานสูงจากคารโบไฮเดรต ผูบริโภครับประทานขนมปงแทนขาวในม้ืออาหารหรือเปน คำสำคัญ: ลักษณะทางประสาทสัมผัส ขนมปง ถั่วเหลือง อาหารวาง การเสริมคุณคาทางโภชนาการหรือสาร ดาวเรือง พฤกษเคมีในขนมปงชวยเพิ่มประโยชนทางโภชนาการจาก การบริโภคขนมปง วัตถุประสงคของงานวิจัยนี้ คือ ศึกษา บทนำ ผลของการเสริมผงถั่วเหลืองในขนมปงและกลีบดาวเรือง ในขนมปงปอนดที่มีตอลักษณะทางประสาทสัมผัส โดย ในปจจุบันขนมปงสามารถหาซื้อรับประทานได ศึกษาผงถั่วเหลืองทดแทนแปงสาลีชนิดโปรตีนต่ำที่ระดับ งาย เปนอาหารที่ใหพลังงานสูง มีสวนประกอบของแปง รอยละ 0 25 และ 50 (โดยน้ำหนัก) และกลีบดาวเรืองใน สาลี ไขมัน ยีสต น้ำตาล และเกลือ (1) แตมีโปรตีน อัตราสวนของน้ำตอกลีบดาวเรืองเทากับ 1: 0 1: 1 1: 2 วิตามิน เกลือแร และใยอาหารนอย ถารับประทานมาก และ 1: 3 (โดยน้ำหนัก) โดยใชวิธีการทดสอบความชอบ อาจสงผลตอระบบการยอยอาหาร และเปนสาเหตุทำให ดวยคะแนนความชอบ 5 ระดับ การประเมินลักษณะทาง เกิดโรคอว น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน หรือ ประสาทสัมผัสของขนมปงเสริมผงถั่วเหลืองพบวา โรคความดันโลหิตสูง (2, 3) ดังนั้นจึงไดมีการวิจัยและ ลักษณะปรากฎ สี กล่นิ กลน่ิ รส รสชาติ ลักษณะเนอ้ื สัมผัส พัฒนาการเสริมวัตถุดิบชนิดอื่นนอกเหนือจาก และความชอบโดยรวมของขนมปงทั้ง 3 สูตร ไมแตกตาง คารโบไฮเดรตลงในเคกและขนมปง ไดแก ถั่วเหลือง กันอยางมีนัยสำคัญ (p > 0.05) ขนมปงปอนดเสริมกลีบ ถั่วขาว เกสรดอกบัวหลวง หรือดอกดาวเรือง เพื่อเพ่ิม ดอกดาวเรืองที่อัตราสวน 1: 0 1: 1 และ 1: 3 มีกลิน่ สูงสุด คุณคาทางโภชนาการและเสนใยอาหารใหแกผลิตภัณฑ (3.8 3.7 และ 4.5 คะแนน ตามลำดับ) และลักษณะเน้ือ (4-8) โดยใชวัตถุดิบที่มีในทองถิ่นมาผลิตเปนอาหารเพ่ือ สัมผัสสูงสุด (4.4 4.3 และ 3.9 คะแนน ตามลำดับ) และ ชวยเพิ่มสารอาหารและสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ อัตราสวน 1: 3 มีกลิ่นรสสูงสุด (4.2 คะแนน) การเสริมผง (Bioactive Compounds) ใหสามารถปองกันการเกิด ถั่วเหลืองในขนมปงและกลีบดาวเรืองในขนมปงปอนดไมมี โรคตาง ๆ และทำใหผลิตภัณฑมีสี กลิ่น และรสชาติที่นา ผลตอลักษณะปรากฎ สี รสชาติ และความชอบโดยรวม รับประทานมากขนึ้ (p > 0.05) ดงั นน้ั สามารถใชผงถว่ั เหลอื งและกลบี ดาวเรือง
116 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ถั่วเหลือง (Soybean) มีโปรตีนมากกวารอยละ ตานอนุมูลอิสระและสารตานจลุ ินทรีย มีฤทธิ์ชวยตานการ 50 เปนโปรตีนที่ยอยงาย มีกรดอะมิโนที่จำเปน เกิดโรคเบาหวาน (14-17) มนุษยไมสามารถสรางสารลูทีน (Essential Amino Acids) มคี ารไบไฮเดรต ไขมนั วติ ามนิ และซีแซนทีนซึ่งเปนสารสีเหลืองที่มีอยูมากบริเวณจอ ซี ฟอสฟอรัส แมกนเี ซียม เหล็ก และใยอาหาร นอกจากน้ี ประสาทตาเองไดจำเปนตองไดรับจากอาหารซึ่งชวย ยังมีไอโซฟลาโวน (Isoflavone) ในปริมาณสูง (1 กรัมตอ ปองกันเซลลไมใหไดรับอันตรายจากอนุมลู อิสระ ดาวเรือง กิโลกรัม) ไดแก เดดซีน (Daidzein) และจีนิสทีน ที่มีสีเหลืองเขมจะมีลูทีนมาก ชวยลดความเสี่ยงของการ (Genistein) ที่ชวยปรับสมดุลฮอรโมนเอสโตรเจน เปนโรคตอกระจกและจอประสาทตาเสื่อม (14) มีการนำ (Estrogen) เปนสารตานอนุมูลอิสระ ชวยปองกันการติด ดาวเรืองมาสกัดทำสีผสมอาหารและน้ำมันหอมระเหย เชอ้ื ปอ งกันการเกดิ โรคมะเรง็ เตา นม มะเรง็ ปอด ลด LDL หรือนำมาทำขนมเคกดาวเรืองโดยนำดอกดาวเรืองไป และเพิ่ม HDL คอเลสเตอรอล ปองกันการเกิดโรคหัวใจ ทำใหสุกกอนซึ่งจะชวยเพิ่มการออกฤทธิ์ของลูทีน (6, 7) และโรคเบาหวานชนิดที่ 2 (8, 9) ชวยใหเสนผมเปนเงา ดอกและรากดาวเรืองมีรสขมและเผ็ดเล็กนอย มีฤทธิ์เปน งาม ปองกันการเกิดฝาและริ้วรอยบนผิวหนัง ถั่วเหลือง ยาเย็น ออกฤทธิ์ตอปอด และชวยดับพิษรอนในตับ มีเลซิทิน (Lecithin) ที่ชวยลดคอเลสเตอรอลในเลือด ดอกดาวเรือง 3-10 กรัม ตมกับน้ำชวยแกอาการเวียน โครงสรางของเลซิทินมีโคลีน (Choline) ที่จำเปนตอการ ศีรษะ ขับละลายเสมหะ แกไขในเด็กที่มีอาการชัก สรางสารสื่อประสาทของสมอง ไดแก แอซีทิลโคลีน ดอกแหง 10-15 กรัม ตมกับน้ำชวยแกอาการเจ็บ บวม (Acetylcholine) หากรางกายไดรับเลซิทินในปริมาณ และปวดตา ดอกสด 10-15 ดอก ตมกับน้ำผสมน้ำตาล มากจะชวยปองกันอาการผิดปกติของระบบประสาทบาง ชวยแกอาการไอหวัด ไอกรน ไอเรื้อรัง และมีฤทธิ์เปนยา ประเภทได ถั่วเหลืองมีซาโปนิน (Saponin) ที่ชวยตาน ขับลม (12, 18) การเกิดโรคอวน และเสริมสรางตับใหแขง็ แรง ผงถั่วเหลือง (Soybean Powder) เปนผลิตภัณฑที่ไดจากการนำ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อประเมินลักษณะ ถั่วเหลืองมาลาง ทำใหแหงโดยคั่วหรืออบใหสุก บดให ทางประสาทสมั ผัสของขนมปงเสริมถั่วเหลืองและขนมปง ละเอียด และนำไปรอน (10) ผงถั่วเหลือง 100 กรัม ให ปอนดเสริมกลีบดอกดาวเรืองทางดานลักษณะปรากฏ สี พลังงาน 417 กิโลแคลอรี หากรบั ประทานวันละ 16 กรัม กลิ่น กลิ่นรส รสชาติ ลักษณะเนื้อสัมผัส และความชอบ จะทำใหเกิดผลดีตอสุขภาพ ความงาม และควบคุม โดยรวม โดยใชวัตถุดิบทางการเกษตรมาเพิ่มมูลคา และ นำ้ หนกั ได (11) เพิ่มคุณคาทางโภชนาการ เสนใยอาหาร และสารออก ฤทธิ์ทางชีวภาพใหกับขนมปง ซึ่งเปนทางเลือกใหมใหกับ ดาวเรือง (Marigold) มีชื่อวิทยาศาสตรวา ผูบรโิ ภคทกุ เพศทกุ วัย Tagetes erecta L. เปนสมุนไพรที่ชวยบำรุงสายตา (12, 13) มีสารใหสีในกลุมแคโรทีนอยด ไดแก ลูทีน วิธีดำเนนิ การวิจัย (Lutein) และซีแซนทีน (Zeaxanthin) พบประมาณ รอยละ 80 และ 5 ตามลำดับ เปนสารที่ไมสามารถ 1. วัตถุดิบ เปลี่ยนเปนวิตามินเอในรางกายได (Non-Provitamin a Carotenoids) เ ร ี ย ก ส า ร น ี ้ ว า แ ซ น โ ท ฟ ล ล แปงขนมปง (บริษัท ยูไนเต็ดฟลาวมิลล จำกัด (Xanthophylls) นอกจากน้ยี งั พบสารในกลมุ ฟลาโวนอยด (มหาชน)) แปง เคก (บรษิ ัท ยเู อฟเอม็ ฟูดเซ็นเตอร จำกัด) (Flavonoids) เทอรปนอยด (Terpenoids) ฟนอลิก ถั่วเหลืองผงอบสุก (บริษัท บานธัญญาทิพย ออรการนิค แอนดเฮสทตี้ฟูด จำกัด) นมถั่วเหลืองพาสเจอไรซสูตร (Phenolic) และเบตาแคโรทีน (β-carotene) เปนสาร หวานนอย (บรษิ ัท โทฟุซัง จำกดั ) ยสี ตแหงสำเร็จรูปชนิด
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 117 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ห ว า น (Hangzhou Bake Biotechnology co., Ltd) แปงขนมปง แปงเคก ผงถั่วเหลือง ยีสต และผงฟู ใน ผงฟูสูตรดับเบิลแอ็คติง (Unilever Food Solutions) เครื่องผสมอาหาร (5K5SSWH, KitchenAid, USA) ผสม น้ำตาลทราย (บริษัท น้ำตาลมิตรผล จำกัด) เนยสดชนิด น้ำตาลทราย นมถั่วเหลือง และไข ใหละลายดี จากนั้นเท จืด (บริษัท มะลิ กรุป 1962 จำกัด) นมขนจืด (บริษัท ลงในสวนผสมของแปง ตีใหเขากัน ใสเนยสดและเกลือ เอฟแอนด เอ็นแดรีส (ประเทศไทย) จำกัด) เกลือ (บริษัท ผสมใหเปนเนื้อเดียวกันจนไมติดภาชนะ จากนั้นตัด อุตสาหกรรมเกลือบริสุทธิ์ จำกัด) และไขไก (บริษัท แบงเปนกอน ๆ ละ 25 กรัม นวดและขึ้นรูปเปนกอนโด เกษมชัยฟูด จำกัด) ซื้อจากหางสรรพสินคา แขวงทุง และบมในตูหมักแปง (L800V, Piron, Italy) ที่อุณหภูมิ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร และซื้อดอก 40 องศาเซลเซียส เปนเวลา 40 นาที หรือจนมีปริมาตร ดาวเรืองจากตลาด ซอยสวนพลู เขตสาทร กรงุ เทพมหานคร เพิ่มขึ้นเปน 2 เทา (4, 19) วางโดลงในถาดที่ทาเนย จากนั้นผสมนมขนจืด ไข และน้ำ ทาลงบนโดแลวนำเขา 2. การผลติ ขนมปง ถวั่ เหลอื ง เตาอบ (K341, Shinelong, Chaina) ควบคุมไฟบนและ ลางที่อุณหภูมิ 160 และ 170 องศาเซลเซียส ตามลำดับ ชั่งสวนผสมของขนมปงถั่วเหลืองในตารางที่ 1 เปนเวลา 10 นาที หรือจนสุก แลวนำออกจากเตา ทิ้งให โดยศึกษาปริมาณของผงถั่วเหลืองทดแทนแปงสาลีชนิด เยน็ และบรรจุลงในบรรจุภณั ฑ โปรตนี ต่ำทร่ี ะดับรอยละ 0 25 และ 50 โดยนำ้ หนกั ผสม ตารางที่ 1 สวนประกอบของขนมปงถัว่ เหลือง (19) สว นประกอบ (กรมั ) ปรมิ าณผงถ่วั เหลืองทดแทนแปง สาลีชนิดโปรตนี ตำ่ (รอยละ) 0 25 50 แปง ขนมปง 400 400 400 แปงเคก 200 150 100 ผงถวั่ เหลือง - 50 100 ยีสตแหง 10 10 10 ผงฟู 5 5 5 น้ำตาลทราย 120 120 120 เกลอื 5 5 5 น้ำสะอาด 100 100 100 นมถ่วั เหลอื ง 100 100 100 ไขไ ก 100 100 100 เนยสด 100 100 100 รวม 1,140 1,140 1,140 3. การผลติ ขนมปง ปอนดด อกดาวเรอื ง และใสกลีบดาวเรืองสดที่ลางน้ำสะอาด 0 50 100 และ 150 กรัม ตามลำดบั ตม เปนเวลา 2 นาที กรอง และพักไว ชั่งสวนผสมของขนมปงดอกดาวเรอื งในตารางที่ 2 จากนั้นผสมแปงขนมปง แปงเคก และยีสต ลงในเครื่อง โดยศึกษาอัตราสวนของน้ำตอกลีบดาวเรืองเทากับ 1: 0 ผสมอาหาร (5K5SSWH, KitchenAid, USA) ตีใหเขากัน 1: 1 1: 2 และ 1: 3 โดยใชน้ำสะอาด 50 กรมั ตม ใหเ ดือด
118 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ผสมน้ำตาลทราย น้ำสกัดกลีบดาวเรือง นมขนจืด และไข ชอบมาก 4 หมายถึง ชอบ 3 หมายถึง รูสึกเฉย ๆ 2 คนจนละลาย แลวเทลงในสวนผสมของแปง ตีใหเขากัน หมายถึง ไมชอบ และ 1 หมายถึง ไมชอบมาก ผูทดสอบ ใสเ นยสด และเกลอื ตีใหเ ขากนั ดจี นไมตดิ ภาชนะ จากนั้น ชิม ไดแก นักศึกษา และอาจารย สาขาวิชาธุรกิจอาหาร นำกลีบดาวเรืองที่ตมสุกแลวใสลงในสวนผสมทั้งหมด ตี คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ใหเขากัน (6, 19) และนำมาขึ้นรูปเปนกอนโด และคลุม ราชมงคลกรงุ เทพ จำนวน 40 คน ดวยผาขาวบางที่ชื้นเล็กนอย พักทิ้งไว 40-50 นาที แบง โดออกเปนกอนใหมีน้ำหนักเทา ๆ กัน นวดไลอากาศ พัก 5. การวเิ คราะหท างสถติ ิ ตออีก 10 นาที ไลอากาศดวยไมคลึงแปง และแบงโด ออกเปนกอนใหมีน้ำหนักเทากัน วางลงในพิมพที่ทาเนย วางแผนการทดลองแบบสุมในบล็อกสมบูรณ แลว คลุมดวยผาขาวบางที่ชื้นเล็กนอย และพักโดจนมี (Randomized Complete Block Design) โดยใชวิธีการ ปริมาตรเพิ่มขึ้นประมาณ 2 เทา (4) จากนั้นผสมนมขน สุมตัวอยางแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จืด ไข และน้ำ ทาลงบนโดกอนนำเขาอบที่อุณหภูมิ วิเคราะหความแปรปรวนโดยใช Analysis of Variance 170 องศาเซลเซียส จนสุกดี (ประมาณ 30-35 นาที) นำ (One Way ANOVA) ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ย ออกจากเตา พกั ทง้ิ ไว และตดั เสิรฟ ดวยวิธี Duncan’s Multiple Range Test ที่ระดับความ เชอื่ มัน่ รอยละ 95 ตารางที่ 2 สวนประกอบของขนมปงดอกดาวเรือง (19) ผลการศึกษาและอภิปรายผล สวนประกอบ อตั ราสว นน้ำ: กลีบดาวเรือง ผลการประเมินลักษณะทางประสาทสัมผัสของ (กรมั ) 1: 0 1: 1 1: 2 1: 3 ขนมปงเสรมิ ผงถว่ั เหลืองทดแทนแปง สาลชี นดิ โปรตีนต่ำที่ ระดับรอยละ 0 25 และ 50 โดยน้ำหนัก ดังแสดงในรูปที่ แปงขนมปง 200 200 200 200 1 จากผลการประเมินลักษณะทางประสาทสัมผัสพบวา ขนมปงเสริมผงถั่วเหลืองที่ระดับรอยละ 0 25 และ 50 แปง เคก 100 100 100 100 โดยน้ำหนัก ไดรับความชอบทางดานลักษณะปรากฎ สี กลิ่น กลิ่นรส รสชาติ ลักษณะเนื้อสัมผัส และความชอบ ยีสตแ หง 5555 โดยรวม ไมแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญ (p > 0.05) เนื่องจากน้ำหนักของผงถั่วเหลืองในขนมปงทั้ง 3 สูตร มี นำ้ ตาลทราย 60 60 60 60 นอยกวาน้ำหนักของแปงสาลีที่ใชในสวนผสม ไดแก แปง ขนมปง และแปง เคก จึงทำใหผูท ดสอบชิมไมส ามารถแยก เกลอื 2.5 2.5 2.5 2.5 ความแตกตางทางดานลักษณะทางประสาทสัมผัสของ ขนมปงทั้ง 3 สูตรได ดังนั้นการเสริมผงถั่วเหลืองใน นำ้ สะอาด 50 50 50 50 ขนมปงจึงเลือกใชผงถั่วเหลืองทดแทนแปงสาลีชนิด โปรตีนต่ำในปริมาณรอยละ 50 โดยน้ำหนัก เนื่องจากไม กลีบดาวเรอื ง 0 50 100 150 มีผลตอลักษณะทางประสาทสัมผัส และการเสริมผง ถั่วเหลืองในปริมาณมากขึ้นชวยเพิ่มปริมาณสารอาหาร นมขน จดื 50 50 50 50 ไฟโตอีสโตรเจน (Phytoestrogen) และกากใยอาหาร ใหแกขนมปง ซึ่งทำใหผูบริโภคที่ไมไดรับสารอาหาร ไขไ ก 50 50 50 50 เนยสด 50 50 50 50 4. การประเมินลักษณะทางประสาทสมั ผสั ประเมินลักษณะทางประสาทสัมผัสทางดาน ลักษณะปรากฏ สี กลิ่น กลิ่นรส รสชาติ ลักษณะเน้ือ สัมผัส และความชอบโดยรวม โดยวิธีการทดสอบ ความชอบ (Preference Test) ดวยคะแนนความชอบ 5 ระดับ (5-Point hedonic scale) ไดแก 5 หมายถึง
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 119 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) เพียงพอโดยเฉพาะโปรตีนในการบริโภคขนมปงแทน นำเขาจากตางประเทศไดมากขึ้นจะชวยลดตนทุนในการ อาหาร 1 มื้อ สามารถไดรับโปรตีนจากถั่วเหลืองที่มี ผลิตขนมปง และชวยลดการนำเขาแปงสาลีจาก คุณคาทางโภชนาการสูงใกลเคียงกับโปรตีนจากเนื้อสัตว ตางประเทศไดมากขึ้น จากผลการประเมินลักษณะทาง และไข ซึ่งถั่วเหลืองเปนโปรตีนจากพืชที่ยอยงาย ชวยใน ประสาทสัมผัสของขนมปงที่เสริมผงถั่วเหลืองทดแทน การเจริญเตบิ โตและซอ มแซมสวนท่ีสึกหรอของรางกาย มี แปงสาลีชนิดโปรตีนต่ำพบวา สามารถเสริมผงถั่วเหลือง กรดอะมิโนที่จำเปนครบถวนตอการเสริมสรางโปรตีน ไดในปรมิ าณมากกวารอ ยละ 50 โดยนำ้ หนัก โดยไมสง ผล ชนิดตาง ๆ ในรางกาย อีกทั้งมีกรดไขมันที่จำเปน กระทบตอลักษณะทางประสาทสัมผัสของผูบริโภค และ (Essential Fatty Acids) วิตามิน เกลือแร และกากใย เพื่อเพิ่มคุณคาทางโภชนาการ กากใยอาหาร และสาร อาหาร (8) รวมทั้งสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ ไดแก ออกฤทธิ์ที่สำคัญทางชีวภาพของถั่วเหลือง ซึ่งจะชวย ไอโซฟลาโวน และลิกแนน (Lignans) ซึ่งเปนสารตาน ปองกันการเกิดโรคเรื้อรังตาง ๆ และกอใหเกิดประโยชน อนมุ ลู อิสระทีช่ ว ยปองกันการเกิดโรคตา ง ๆ ใหแกรางกาย ตอรางกาย แตทั้งนี้ตองขึ้นอยูกับความตองการและ (9) แตทั้งนี้ปริมาณการใชผงถั่วเหลืองเสริมลงในอาหาร ความชอบของผูบรโิ ภค ไดมีการวจิ ัยและพัฒนาผลิตภัณฑ ควรคำนึงถึงผลตอสุขภาพ และปริมาณการใชตาม ทาขนมปงที่ทำจากถั่วเหลืองซึ่งสามารถใชปริมาณถั่ว ขอกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เหลืองในสูตรทาขนมปงไดสูงถึงรอยละ 75 โดยน้ำหนัก กระทรวงสาธารณสขุ มรี ายงานวา การบริโภคผงถวั่ เหลือง และพบวาผลิตภัณฑทาขนมปงที่ทำจากถั่วเหลืองบดรส วันละ 16 กรัม ชวยทำใหเกิดผลดีตอสุขภาพ ความงาม ช็อกโกแลต รสนมกลิ่นนมเนย และรสนมกลิ่นวานิลลา และชวยควบคุมน้ำหนักได (11) ถานำผงถั่วเหลืองที่เปน ไดร ับความชอบจากผูบ รโิ ภคมากกวาผลิตภัณฑท าขนมปง วัตถุดิบเหลือทิ้งทางการเกษตรมาทดแทนแปงสาลีที่ ท่ีทำจากถ่วั ลสิ งบดอยางมนี ัยสำคัญ (20) รอยละ 0 รอยละ 25 รอยละ 50 ns ns ns ns ns ns คะแนน คะแนน 134025......000000 ns ns ns ns ns ns ns ns ns ns ns ns ns ns ns ลักษณะปรากฎ สี กล่ิน กล่ินรส รสชาติ ลกั ษณะเนือ้ สมั ผสั ความชอบโดยรวม รปู ที่ 1 ผลการประเมนิ ลักษณะทางประสาทสัมผัสของขนมปง ถัว่ เหลอื ง อัตราสว น 1:0 อตั ราสว น 1:1 อตั ราสว น 1:2 อตั ราสวน 1:3 5.0 ns ns ns ns ns ns ns ns a a b a b b b a ns ns ns ns a a b ab ns ns ns ns 4.0 3.0 2.0 1.0 0.0 ลกั ษณะปรากฎ สี กลิ่น กล่ินรส รสชาติ ลักษณะเนอื้ สมั ผัส ความชอบโดยรวม รปู ที่ 2 ผลการประเมนิ ลักษณะทางประสาทสมั ผัสของขนมปงปอนดดอกดาวเรือง
120 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ผลการประเมินลักษณะทางประสาทสัมผัสของ สรปุ ผล ขนมปงปอนดเสริมกลีบดาวเรืองที่อัตราสวนของน้ำตอ กลีบดาวเรืองเทากับ 1: 0 1: 1 1: 2 และ 1: 3 ดังแสดง การเสริมผงถั่วเหลืองทดแทนแปงสาลีชนิด ในรูปที่ 2 ผลการประเมินลักษณะทางประสาทสัมผัส โปรตีนต่ำที่ระดับรอยละ 50 โดยน้ำหนัก ไมมีผลกระทบ พบวา ขนมปงปอนดเสริมกลีบดาวเรืองที่อัตราสวน 1: 1 ตอลักษณะทางประสาทสัมผัส และการเสริมกลีบ และ 1: 3 ไดรับความชอบทางดานกลิ่นสูงสุด (3.7 และ ดาวเรืองในขนมปงปอนดที่อัตราสวนน้ำตอกลีบดาวเรือง 4.5 คะแนน ตามลำดับ) และลักษณะเนื้อสัมผัสสูงสุด 1: 0 1: 1 และ 1: 3 ไดรับความชอบทางดานกลิ่นและ (4.3 และ 3.9 คะแนน ตามลำดับ) (p ≤ 0.05) และไม ลักษณะเนื้อสัมผัสสูงที่สุด และอัตราสวน 1: 3 ไดรับ แตกตางจากขนมปงปอนดที่ไมใสกลีบดาวเรือง (1: 0) ซึ่ง ความชอบทางดานกลิ่นรสสูงสุด ในอนาคตควรมี สามารถอธิบายไดวา ผูทดสอบชิมใหคะแนนแบงออกเปน การศึกษาปริมาณและความเสถียรของสารออกฤทธิ์ทาง 2 กลุม ไดแก กลุมที่ชอบกลิ่นและลักษณะเนื้อสัมผัสของ ชีวภาพที่เสริมลงในขนมปงทั้งในระหวางการแปรรูปและ ขนมปงปอนดที่เสริมกลีบดาวเรืองในปริมาณนอย (1: 1) การเกบ็ รักษาเพอ่ื ใหเกดิ ประโยชนต อผูบ ริโภคสูงสุด และกลุมที่ชอบกลิ่นและลักษณะเนื้อสัมผัสของขนมปง ปอนดที่เสริมกลีบดาวเรืองในปริมาณมาก (1: 3) และยัง เอกสารอา งอิง พบวาขนมปงปอนดเสริมกลีบดาวเรืองที่อัตราสวน 1: 3 ไดรับความชอบทางดานกลิ่นรสมากที่สุด (4.2 คะแนน) 1. Luangsakul N, Nualkaekul S. Cooking bible: เนื่องจากมีการใชกลีบดาวเรืองในปริมาณมากสงผลทำให Bakery. 5th ed. Bangkok: Amarin Printing & ผูบริโภคไดกลิ่นหอมและรสชาติของกลีบดาวเรืองชัดเจน Publishing Public; 2018. Thai. มากที่สุด นอกจากนี้ผูทดสอบชิมชอบขนมปงเสริมกลีบ ดาวเรืองทั้ง 3 อัตราสวนไมแตกตางกันทางดานลักษณะ 2. Vos MB, Kaar JL, Welsh JA, Horn LVV, Feig DI, ปรากฏ สี รสชาติ และความชอบโดยรวม (p > 0.05) Anderson CAM, et al. Added sugars and เนื่องจากปริมาณกลีบดาวเรืองทั้ง 3 สูตรที่ผานการตม cardiovascular disease risk in children: A แลวอาจไมเพียงพอที่จะทำใหผูทดสอบชิมสามารถแยก scientific statement from the American heart ความแตกตางทางดานลักษณะปรากฏ สี และรสชาติ association. Circ. 2017;135(19):e1017-34. ของขนมปงไดอยางชัดเจน ดังนั้นการเสริมกลีบดาวเรือง เพื่อใหผูบริโภคไดรับสารสี กลิ่น รสชาติ เสนใยอาหาร 3. Picincu A. Does Sugar Turn into Fat? และสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพมากที่สุด รวมทั้งไดรับการ [Internet]. n.p: Livestrong; 2019 [updated 19 ยอมรับทางประสาทสัมผัส จึงควรเสริมกลีบดาวเรืองใน Nov 09; cited 20 Apr 02]. Availability from: ปริมาณที่มากขึ้นเพื่อใหเกิดประโยชนของสารพฤกษเคมี https://www.livestrong.com/article/408673- ที่มีตอรางกายใหมากที่สุดโดยที่ผูบริโภคยังใหการยอมรับ does-sugar-turn-into-fat/ ทางประสาทสัมผัส ในอนาคตควรมีการหาปริมาณ สารพฤกษเคมีและวิธีการที่จะทำใหสารพฤกษเคมีใน 4. Manantapong K, Songpranam P, Kamdaen ขนมปงมีความเสถียรทั้งในระหวางการแปรรูปและการ O. [Development from pollen of lotus for เกบ็ รักษา bread]. Pathum Thani: Rajamangala University of Technology Thanyaburi; 2011, 125353. Thai. 5. Meemuk W, Kanchana R, Oupathumpanont, O. [Development of bread with kidney bean
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 121 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) product by apply of design of experiments]. [Internet]. Bangkok: Tencent; 2019 [updated J Eng RMUTT. 2012;10(2):13-21. Thai. 19 Oct 20; cited 20 Apr 02]. Availability from: https://www.sanook.com/women/151953/. 6. Voicetv. Handing out recipes of marigold Thai. cake, herbal dessert for nurturing eyes [Internet]. Bangkok: Voicetv; 2017 [updated 12. Thiengburanathum W. Dictionary of Thai 17 Jun 23; cited 20 Apr 12]. Availability from: Herbs. 5 th ed. Bangkok: Ruamsarn; 1 9 9 9 . https://www.voicetv.co.th/read/5 0 1 2 5 3 . Thai. Thai. 13. Ruangrungsi N, Mangalakup T. Thai Herbs. Vol 7. Sentangsedtee Online. Marigold cake is 1. Bangkok: Than Printing; 2004. Thai. delicious too and it helps nourish the eyes [Internet]. Bangkok: Matichon; 2017 [updated 14. Chainok K. Marigolds...yellow flowers are 21 Mar 07; Cited 2020 Apr 12]. Availability from: good for the eyes [Internet]. Bangkok: https://www.sentangsedtee.com/exclusive/art MedHerb Guru; 2018 [cited 2020 Apr 03]. icle_36118. Thai. Availability from: http://medherbguru.gpo.or.th /articles/d59_marigold.pdf. Thai. 8. Adelakun OE, Duodu KG, Buys E, Olanipekun BF. Potential use of soybean flour 15. Wang W, Xu H, Chen H, Tai K, Liu F, Gao Y. In (glycinemax) in food fortification. In: El- vitro antioxidant, anti-diabetic and Shcmy HA, editor. Soybean-Bio-Active antillipemic potentials of quercetagetin Compounds. Rijeka, Croatia: InTech; 2013. p. extracted from marigold (Tagetes erecta L.) 513-20. inflorescence residues. J Food Sci Tech. 2016;53(6):2614-24. 9. Fuentes E, Guzmán L, Carrasco G, Leiva E, Moore-Carrasco R, Palomo I. Food, nutrition 16. Ayub MA, Hussain AI, Hanif MA, Chatha SAS, and health. In: El-Shemy HA, editor. Kamal GM, Shahid M, et al. Variation in Soybean-Bio-Active Compounds. Rijeka, phenolic profile, β-carotene and flavonoid Croatia: InTech; 2013. p. 521-46. contents, biological activities of two tagetes species from Pakistani flora. Chem Biodivers. 10. Thai Community Product Standard. (TCPS. 2017;14(6):e1600463-70. 6 8 8 / 2 5 4 7 ) . Soybean Powder [Internet]. Bangkok: Thai Industrial Standards Institute; 17. Saani M, Lawrence R, Lawrence K. Evaluation 2004 [cited 20 Apr 02]. Availability from: of pigments from methanolic extract of http://tcps.tisi.go.th/pub/tcps6 8 8 _4 7 . pdf. Tagetes erecta and Beta vulgaris as Thai. antioxidant and antibacterial agent. Nat Prod Res. 2018;32(10):1208-11. 11. Anngle. How to make “Kinako”, many useful soybean powder for both health and beauty 18. Boonvorapat V. Encyclopedia of Thai- Chinese Herbs are Frequently Used in
122 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) Thailand. Bangkok: Association of Traditional Chinese Medicine in Thailand; 2011. Thai. 19. Wangyao P. Bakery Recipes, Palace People (Wangyao). Bangkok: Rajamangala Institution of Technology, Technical Krungthep Campus; n.d. Thai. 20. Charoenkulsak W. Accarabovon W. [Development of soy spread] [bachelor’s thesis]. Bangkok: Mahidol University; 2 0 0 5 . Thai.
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 123 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) In Vitro Self and Cross Pollinated Seed Culture of Nymphaea rubra ‘Maeploi’, A Night – Blooming Tropical Waterlily Hybrid (Nymphaeaceae) from Thailand Itsaraphong Khaenthong1*, Ngarmnij Chuenboonngarm2 and Atchara Muengkrut2 1Division of Building and Site Administration, Office of the President, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thanyaburi, Pathumthani 12110, THAILAND 2Department of Plant Science, Faculty of Science, Mahidol University, Phayathai Campus, Ratchathewi, Bangkok 10400, THAILAND *Corresponding Author E-mail: [email protected] ARTICLE INFO ABSTRACT Article history: This research was aimed to develop culture medium enhanc- Received: 29 May, 2020 ing the germination of self and cross-pollinated seeds in Nymphaea Revised: 21 July, 2020 rubra ‘Maeploi’ and Nymphaea pubescens Willd. The self-pollinated Accepted: 6 November, 2020 seeds of N. rubra ‘Maeploi’ were investigated for surface sterilization Available online: 28 April, 2021 method, seed culture medium and light conditions. The self-polli- DOI: 10.14456/rj-rmutt.2021.12 nated seeds were surface sterilization with 20% (v/v) sodium hypo- Keywords: Nymphaeaceae, chlorite (NaOCl) at various times (5, 10, 15 and 20 min), followed by interspecific hybridization, the second surface sterilization with NaOCl at different concentra- hand pollination, germination, tions (5 , 10, 15 and 20% (v/v)) for 10 min. MS medium at different ex situ conservation strengths (MS, 1/2MS, 1/4MS, 1/8MS) was also studied to rescue the cross-pollinated seeds, compared to control. The results showed that the fruit set percentages of N. pubescens x N. rubra ‘Maeploi’ and N. rubra ‘Maeploi’ x N. pubescens were low at 5% and 3.33%, respec- tively. The N. rubra ‘Maeploi’ self-pollinated seeds were soaked with 20% (v/v) NaOCl for 5 min, followed by the sterilization with 5% (v/v) NaOCl for 10 min showed without the microbial contamination. More- over, the suitable medium for N. rubra ‘Maeploi’ self-pollinated seeds was 1/8MS semi solid medium under dark condition. The ger- minated seedlings were developed shoots (6 0 %), immature leaves (51.67%), and roots (48.33%) after 4 weeks of culture. Germination
124 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) percentages of N. rubra ‘Maeploi’ and N. pubescens self-pollinated seeds cultured on 1/8MS were 51.67 higher than those of cross-polli- nated seeds of N. pubescens x N. rubra ‘Maeploi’ and N. rubra ‘Maeploi’ x N. pubescens (35 and 31.67%, respectively). INTRODUCTION Willd., a beautiful night-blooming tropical waterlily with the white flowers and yellow stamen, which Nymphaea is the largest genus of is beyond to be its unique characteristics. It has waterlilies that classified into the family been reported that the ethanolic extract of its Nymphaeaceae, which consists of two groups: flowers could induce apoptosis in human cervical Apocarpiae and Syncarpiae, (1-4). The Apocarpiae and breast carcinoma cells in vitro, and there- group contains three subgenera, especially fore, this plant species was used as a medicinal Anecphya (an Australian tropical waterlily) , plant for cancer therapy with anti-proliferation Confluentes (an Australian tropical waterlily) and activity ( 6) . These two waterlily species have Brachyceras ( a day-blooming tropical waterlily) . been chosen because they are tropical potted In the Syncarpiae group also consists of three aquatic plants and used as ornamental waterlilies subgenera, such as Hydrocallis (a night-blooming for building decoration and water gardening (7). tropical waterlily), Lotos (a night-blooming tropical In order to conserve this natural waterlily hybrid waterlily) and Nymphaea (a hardy waterlily) (3). for genetic resource and to produce a mass The members of this genus are approximately 50 numbers of germinated seedlings of the in- species which are widely distributed in both terspecific waterlily hybrids, the both of self and tropical and temperate areas (1; 5) for example, cross pollination were investigated. However, the Nymphaea rubra Roxb. ex Andrews and N. report on seed culture under aseptic technique of pubescens Willd., which are classified into the these two waterlily species is still limited. subgenus Lotos. They are a night-blooming tropical waterlily and their flowers are opened during Hence, factors affecting on fertilization, 07.00 p.m. to 10.00 a.m.) in the Thai climate (3). fruit setting and germination of cross-pollinated N. rubra ‘Maeploi’ is a Thai waterlily hybrid cultivar seeds between N. rubra ‘Maeploi’ and N. in the nature that registered to the international pubescens were observed for the interspecific waterlily and water gardening society (IWGS) by waterlily hybrid production. The main goal of this Dr. Slearmlarp Wasuwat in 2002 (Figure 1A). This study was aimed to develop the culture waterlily cultivar has the light brown on adaxial medium for increasing the germination and side and dark green on abaxial side of leaf. Its survival percentage of self-pollinated seeds of dark pink flowers like a ruby which are smaller N. rubra ‘Maeploi’ and N. pubescens, and cross- size than its related waterlily species, especially pollinated seeds between N. rubra ‘Maeploi’ N. rubra Roxb. ex Andrews. For N. pubescens and N. pubescens. According to the results from
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 125 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) this study will be used as an effective procedure sixty flower blooms. Fruit set percentages of self for further studies and research involved in in and cross pollination were monitored and vitro and ex vitro propagation, varietal improvement recorded after hand pollination for one week. and ex situ conservation of a night-blooming tropical waterlilies and several aquatic plants. Experiment II: Surface sterilization on self-pollinated seeds of N. rubra ‘Maeploi’ MATERIALS AND METHODS Self-pollinated seeds of N. rubra Experiment I: Self and cross pollination ‘Maeploi’ (Figure 1E) were pre-sterilized by mild detergent and then dipped into 70% ethanol for Self-pollination of N. rubra ‘Maeploi’, N. 60 seconds before sterilization with sterilizing pubescens, and cross pollination between N. reagent. The first surface sterilization was examined rubra ‘Maeploi’ and N. pubescens (N. pubescens by 20% (v/v) sodium hypochlorite (NaOCl) solution x N. rubra ‘Maeploi’ and N. rubra ‘Maeploi’ x N. in various soaking times (5, 10, 15, and 20 min). pubescens) were performed by hand pollination Regarding to the second surface sterilization was that is described as conventional breeding. The studied at different concentrations (5%, 10%, vigorous parental plants of two selected waterlily 15%, and 20% (v/v)) of NaOCl solution for 10 min. species were collected at lotus museum, Division Seeds were cultured on semi solid Murashige of Building and Site Administration, Office of the and Skoog (MS) (8) medium without plant growth President, Rajamangala University of Technology regulators (PGRs) and then incubated at 25 ± 2 °C, Thanyaburi (RMUTT), Pathum Thani, Thailand, under the cool white fluorescent light at intensity which were used as plant materials in this study of 37 µmol/m2/s for 16 hours per day. Each (Figure 1A-B). Because of the receptivity of stigma treatment contained six replications and each former their stamen within the same flower on replication had ten seeds. Contamination and the first day (1st day) blooming, therefore, the 1st seed germination percentages were recorded day blooming flowers were only used as the after four weeks of culture. female parent plant (seed plant) while the sec- ond day ( 2nd day) or the third day ( 3rd day) Experiment III: Culture medium development for blooming flowers were used as male parent seed culture of N. rubra ‘Maeploi’ plants (pollen plant). To cross pollinate these two selected waterlily species, the pollen grains In case of culture medium development, were collected from one flower and then taken self-pollinated seeds of N. rubra cv ‘Maeploi’, to deposit them into the nectar or stigmatic fluid 0.2 – 0.3 cm in diameter were cultured on different on the center of stigma of a first day bloom, strengths of MS semi-solid medium: MS, 1/2MS, following by reciprocal cross pollination. Each 1/4MS and 1/8MS, pH at 5.6 – 5.8 and then pollination of self and interspecific cross in N. rubra maintained under the same light condition in ‘Maeploi’ and N. pubescens was performed by experiment II, when compared to dark condition. Six replications were performed with ten seeds
126 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) per replication. Seed germination percentage, The results showed that fruit set seedling survival percentage, shoot formation, percentage of self-pollinated flowers of N. rubra leaf formation and root formation were recorded ‘Maeploi’ and N. pubescens were 1.67 and 11.17%, after four weeks of culture. respectively. Whereas, the cross-pollinated flowers of N. pubescens x N. rubra ‘Maeploi’ and N. rubra Experiment IV: In vitro culture of cross-pollinated ‘Maeploi’ x N. pubescens resulted in 5% and N. rubra ‘Maeploi’ seeds 3.33% of fruit set ( Table 1) . This data indicated that fertilization processes rarely occurred in Self and cross-pollinated seeds of two both self and cross pollinations of these two selected waterlily species were obtained from Nymphaea species. Thus, the self and cross the experiment I. The sample seeds were surface barriers in the same species or interspecific sterilized using the suitable procedures from the hybridizations, including the pre- and post-fertiliza- experiment II, cultured on the suitable strength tion incompatibility of self and cross pollination of MS semi-solid medium from experiment III, are required for further investigation. compared to the control. The experiment was also taken to place under the standard culture Previous study, Sun et al. (21) reported conditions that consisted of incubation temperature the pollen viability, pollen germinability and time at 25 ± 2 °C, under the cool white fluorescent after pollination (hour, h) influenced on self and lamps originating the light intensity of approximately cross-pollination of four tropical waterlilies, es- 37 µmol/m2/s for 16 hours photoperiod. Each pecially N. odorata ‘Peter Slocum’, N. colorata, N. treatment was performed with six replications micrantha and N. gigantea. The results showed and ten seeds per replication. Seed germination that the highest number of germinated pollen percentage, seedling survival percentage, shoot grains on stigmas in the self-pollinated N. odo- formation, leaf formation and root formation rata ‘Peter Slocum’ was peaked at 12 hours af- were also monitored and recorded after four ter pollination (HAP). At the same time, the self- weeks of culture. pollination of N. odorata ‘Peter Slocum’ gave a high percentage ( 81.2%) of normal embryos. Data collection and statistical analysis Whereas, the normal embryos and seeds were not produced from the N. odorata ‘Peter All experiments were arranged by a Slocum’ x N. micrantha, N. odorata ‘Peter Slocum’ completely randomized design (CRD). The data x N. colorata and N. odorata ‘Peter Slocum’ x N. were statistically subjected to a one-way analysis gigantea crosses. From the results suggested that of variance (ANOVA, F-test) using SPSS version pre- and post-fertilization barriers existed 22.0. The means ± standard error (SE) were together in these crosses, which may be the compared by using Duncan’s multiple range test main causes resulting in the failure and embryo (DMRT) with the level of significance at 5%. abortion of interspecific hybridizations in waterlily RESULTS AND DISCUSSION
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 127 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ( 21) . Like the low seed set in some crosses be- in Ziziphus spina [christti] seeds has been tween Nymphaea ‘Fen Zhuang’, Nymphaea ‘Bai investigated in vitro. The experiment revealed Lu’ and Nymphaea ‘Hong Ying’ was from the that the surface sterilization with 4% NaOCl for low pollen viability, low pistil receptivity and 20 min, followed by dipping seeds in 2% benomyl embryo abortion ( 22) . In another plant species, for 5 min and then rinsed with distilled water was hand pollination in Oxalis corymbosa for eval- the best sterilization treatment for culturing Z. uating the flower characteristics in sample popula- spina [christti] seeds, when compared to other tion. The resulted showed that some sample sterilization treatments. Seeds tested in each populations were not produced seeds after fer- treatment were aseptically cultured on agar- tilization that caused from limitations of pollen solidified MS medium in culture tubes. However, transfer. Almost cross-pollinated seeds were less this sterilization treatment also gave the highest germination and also failed to grow in early de- number of the germination of sterilized seeds velopment of embryos and seedlings, which indi- in Z. spina [christti] ( 24) . Moreover, sodium cated that the embryo rescue or embryonic cul- hypochlorite was used as media sterilant in the ture are necessary (10). production of sugarcane plantlets at commercial scale, which was the total active chlorine According to surface sterilization of self- concentration at 0.002% in the culture medium (25). pollinated N. rubra ‘Maeploi’ seeds, the sample On the other hand, in vitro surface sterilization seeds were soaked in 20% (v/v) NaOCl for 5 min, of Nymphaea gigantea ‘Atrans’ hybrid seeds followed by the sterilization with 5% (v/v) NaOCl have been previous studied. This waterlily hybrid for 10 min showed without the microbial cultivar was from the cross pollination between contamination and the highest seed germination N. gigantea var. violacea and N. gigantea percentage of approximately 5% after four weeks ‘Atrans’. Regarding to break the seed dormancy of culture (Table 2). This sterilizing treatment and in vitro culture of Nymphaea gigantea could inhibit the microbial contamination and ‘Atrans’ hybrid seeds, some selected surface maintain the clean culture in the long period of sterilization procedures were also investigated. cultivation time. In preparation of plant tissues The sample seeds were soaked in 70% (v/v) eth- and explants before culturing, the selected anol (EtOH) for 30 seconds, followed by a two- explants must have to be rendered aseptic step procedure: 7.5% and 4% (v/v) hydrogen per- techniques, especially surface sterilization. The oxide (H2O2) for 5 min in each step and then various dilutions ( 10-30% v/v) of Clorox® or rinsed thrice in sterile distilled water for 5 commercial bleach containing sodium hypochlorite, min, respectively. From the results showed (5.25% w/v NaOCl) often used as the active ingredient that without the microbial contamination and and disinfectant for removal microorganisms (23). gave the highest percentage of surface sterilization Likewise, the ability of sodium hypochlorite (NaOCl) to inhibit the growth of microbial contaminants
128 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) (100%) of 60 days-stored seeds after two weeks Nymphaea species germinated well on 1/8MS of culture, compared to the others (26). culture medium and self-pollinated seeds could germinate and growth better than cross-pollinated After the four weeks of in vitro culture, one. This may be because Nymphaea seeds self-pollinated N. rubra ‘Maeploi’ seeds cultured required low concentraions of MS medium. on 1/8MS semi solid medium and incubation under Buitendijk et al. (11) denoted that the interspecific dark condition gave the highest germination per- hybridization in Alstroemeria spp. was also found centage (75%) and survival percentage (75%). Most the problems about early growth and develop- of the germinated seedlings produced shoots ment of hybrids, which known as post- (60%) , immature leaves (51.67%) and roots fertilization barriers. The developmental rate of (48.33%), respectively (Table 3). However, the im- hybrid seedlings was gradually decreased after 18 mature leaves of germinated seedlings formed un- days of fertilization. On the other hand, Liu et al. der dark condition were pale yellow when com- (12) studied on culture medium used for embryo pared to those of germinated seedlings grown un- rescue of Leucadendron hybrids after the der light condition (Figure 1 F-G). Culture medium interspecific hybridization. MS medium containing is an important factor affecting on growth and de- 2% (w/v) sucrose and 3.0 g/L Phytogel was suitable velopment of cultured explants (i.e. seeds, shoot culture medium for accelerating growth and tips, dormant buds, plant meristematic tissues and development of the interspecific hybrid embryos callus). Application of culture medium depends on and seedlings in this plant genus. Manzur et al. (13) many factors, especially plant species, plant organs reported that Capsicum spp. seeds culture on half and tissues. In various plant tissue culture media, strength MS (1/2MS) agar medium containing MS ( Murashige and Skoog) basal 4% (w/v) sucrose gave the highest germination rate medium is widely used in plant tissue culture, that used to rescue the hybrid embryos. which is attainably enrich in both macro and Bodhipadma et al. (18) reported that the suitable micronutrients (17). Many culture media have been culture medium and condition used for in vitro leaf examined in both seed and tissue culture but not induction in Nymphaea nouchali var. versicolor all of them were effective to use, depending on ‘Bua Phuean’ tuberous rhizomes, it was found in plant species and other factors. The highest germi- explant cultured on MS semi-solid medium nation percentages of N. rubra ‘Maeploi’ and N. supplemented with 2.5 mg/L BAP and 0.1% pubescens self-pollinated seeds were at 51.67% activated charcoal under light condition for four on 1/8MS culture medium whilst the germination weeks of culture. However, more related studies percentages of N. pubescens x N. rubra ‘Maeploi’ and database of in vitro propagation and and N. rubra ‘Maeploi’ x N. pubescens cross-polli- improvement of lotuses and waterlilies are nated seeds were at 35% and 31.67% on 1/8MS needed. In addition, this study was to develop the culture medium, respectively (Table 4). The results suitable culture medium used for enhancing the showed that the interspecific hybrid seeds of
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 129 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) seed germination and produce vigorous seedlings techniques are also important and necessary for of self and cross-pollinated seeds of N. rubra developing the plant variety production, ‘Maeploi’. Moreover, these practical treatments hybridization and other breeding programs that provide basic information for future research and applied to precise any quantitative and qualitative studies on the ex situ conservation, propagation trait of interests, for example; the application of and improvement of tropical night-blooming plant genomic selection and deoxyribonucleic acid waterlilies and their hybrids. For further studies, (DNA) marker selection (14). the biotechnological approaches and molecular Figure 1 Interspecific hybridization of two selected Nymphaea species, (A) Nymphaea rubra ‘Maeploi’ (black scale bar = 2 cm), (B) Nymphaea pubescens Willd. (black scale bar = 2 cm), (C) N. rubra ‘Maeploi’ seed pod (black scale bar = 2 cm), (D) N. pubescens Willd. seed pod (black scale bar = 2 cm), (E) self-pollinated N. rubra ‘Maeploi’ seeds, (F) self-pollinated N. rubra ‘Maeploi’ seedlings cultured on one-eighth strength MS (1/8MS) semi-solid medium under light condition (white scale bar = 1 cm), (G) self-pollinated N. rubra ‘Maeploi’ seedlings cultured on 1/8MS semi-solid medium under dark condition (white scale bar = 1 cm), (H) cross-pollinated seedlings between N. pubescens and N. rubra ‘Maeploi’ cultured on 1/8MS semi-solid medium under light condition, (I) cross-pollinated seedlings between N. rubra ‘Maeploi’ and N. pubescens cultured on 1/8MS semi-solid medium under light condition. Table 1 Fruit set percentages of self and cross-pollination of two selected Nymphaea species.
130 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) Treatment Fruit set (%) Self-pollination of N. rubra ‘Maeploi’ 1.67 ± 1.67b N. pubescens x N. rubra ‘Maeploi’ 5.00 ± 2.84ab N. rubra ‘Maeploi’ x N. pubescens 3.33 ± 2.34ab Self-pollination of N. pubescens 11.17 ± 4.18a Value presented as mean ± SE; different letters within a column that indicate significant differences at p = 0.05 according to analysis of variance (ANOVA, F-test). Table 2 Utilization of NaOCl for surface sterilization of self-pollinated N. rubra ‘Maeploi’ seeds. 1st surface sterilization 2nd surface sterilization Contamination (%) Seed germination (%) NaOCl (% V/V) Time NaOCl (% V/V) Time 20 5 - - 0.00 ± 0.00b 5.00 ± 2.84a 20 10 - - 3.33 ± 2.34b 3.33 ± 2.34a 20 15 - - 0.00 ± 0.00b 1.67 ± 1.67a 3.33 ± 2.34a 20 20 - - 0.00 ± 0.00b 5.00 ± 2.84a 20 5 5 10 0.00 ± 0.00b 20 10 10 10 0.00 ± 0.00b 1.67 ± 1.67a 20 15 15 10 0.00 ± 0.00b 3.33 ± 2.34a 20 20 20 10 16.67 ± 4.85a 6.67 ± 3.25a Value presented as mean ± SE; different letters within a column that indicate significant differences at p = 0.05 according to analysis of variance (ANOVA, F-test). Table 3 Effects of different MS medium strengths on germination and early development of self-pollinated N. rubra ‘Maeploi’ seedlings after 4 weeks of culture. MS Condition Germination Survival Shoot formation Leaf formation Root formation medium (%) (%) (%) (%) (%) 1 Light 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00d 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00c 1 Dark 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00d 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00c 1/2 Light 35.00 ± 6.21b 35.00 ±6.21b 23.33 ± 5.51c 21.67 ± 0.05b 21.67 ± 5.36b 1/2 Dark 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00d 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00c 1/4 Light 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00d 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00c 1/4 Dark 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00d 0.00 ± 0.00c 0.00 ± 0.00c 1/8 Light 43.33 ± 6.45b 43.33 ±6.45b 43.33 ± 6.45b 43.33 ± 0.07a 43.33 ± 6.45a 1/8 Dark 75.00 ± 5.64a 75.00 ± 5.64a 60.00 ± 6.38a 51.67 ± 0.07a 48.33 ± 6.51a Value presented as mean ± SE; different letters within a column that indicate significant differences at p = 0.05 according to analysis of variance (ANOVA, F-test). Table 4 In vitro culture of self and cross-pollinated seeds of two selected Nymphaea species on
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 131 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) 1/8 MS medium, compared to control after 4 weeks of culture. Treatment Germination Survival Shoot Leaf Root Hand pollination MS medium percentage Percentage formation formation formation (%) (%) (%) (%) (%) (Self) N. rubra ‘Maeploi’ Full MS 5.00 ± 2.84c 5.00 ± 2.84c 1.67 ± 1.67c 1.67 ± 1.67c 0.00 ± 0.00c (Self) N. rubra ‘Maeploi’ 1/8 MS 51.67 ± 6.51a 51.67 ± 6.51a 50.00 ± 6.51a 50.00 ± 6.51a 43.33 ± 6.45a (Cross) N. pubescens x Full MS 13.33 ± 4.43c 13.33 ± 4.43c 1.67 ± 1.67c 1.67 ± 1.67c 1.67 ± 1.67c N. rubra ‘Maeploi’ (Cross) N. pubescens x 1/8 MS 35.00 ± 6.21b 35.00 ± 6.21b 28.33 ± 5.87b 28.33 ± 5.87b 25.00 ± 5.64b N. rubra ‘Maeploi’ (Cross) N. rubra ‘Maeploi’ Full MS 6.67 ± 3.25c 3.33 ± 2.34c 1.67 ± 1.67c 1.67 ± 1.67c 1.67 ± 1.67c x N. pubescens (Cross) N. rubra ‘Maeploi’ 1/8 MS 31.67 ± 6.06b 31.67 ± 6.06b 25.00 ± 5.64b 25.00 ± 5.64b 25.00 ± 5.64b x N. pubescens (Self) N. pubescens Full MS 11.67 ± 4.18c 11.67 ± 4.18c 1.67 ± 1.67c 1.67 ± 1.67c 0.00 ± 0.00c (Self) N. pubescens 1/8 MS 51.67 ± 6.51a 51.67 ± 6.51a 45.00 ± 6.48a 45.00 ± 6.48a 43.33 ± 6.45a Value presented as mean ± SE; different letters within a column that indicate significant differences at p = 0.05 according to analysis of variance (ANOVA, F-test). CONCLUSIONS (RSPG) (Contract number; IRF01166103 (RSPG)) and Institute of Research and Development, Ra- Low fruit set percentages were obtained jamangala University of Technology Thanyaburi from self and cross pollination of N. rubra (RMUTT), Pathumthani, Thailand. ‘Maeploi’ and N. pubescens. Using 20% (v/v) NaOCl for 5 min followed by 5% (v/v) NaOCl REFERRENCES for 10 min was the optimum for seed surface sterilization. One-eighth strength MS (1/8MS) 1. Borsch T, Hilu KW, Wiersema JH, LÖhne C, semi-solid medium was suitable for in vitro Barthlott W, Wildes V. Phylogeny of Nymphaea culture of self-pollinated N. rubra ‘Maeploi’ (Nymphaeaceae): evidence from substitutions seeds and cross-pollinated seeds between N. and microstructural changes in the chloroplast rubra ‘Maeploi’ and N. pubescens. trnT-trnF Region. Int J Plant Sci 2007;168(5): 639–71. ACKNOWLEDGEMENTS 2. Anon. Genera of Nymphaeaceae, This research was partially supported by Germplasm Resources Information Network a grant from the annual budget expenditures for [Internet]. GRIN Taxonomy for Plants; 2008 fiscal year 2018, following the Plant Genetic Con- [updated on 2008 Feb 17]. Availability from: servation Project Under the Royal initiative of Her www.ars-grin.gov Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn
132 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) 3. Songpanich P, Hongtrakul V. Intersubgeneric 10. Tsai MY, Chen SH, Kao WY. Floral morphs cross in Nymphaea spp. L. to develop a blue and seed production from hand-pollination hardy waterlily. Sci Hortic Amsterdam. in a population of Oxalis corymbosa in 2010;124:475-81. Taiwan. Flora. 2017;226:89-95. 4. Eiad-thong W. Phylogenetic relationship of 11. Buitendijk JH, Pinsonneaux N, Donk ACV, the genus Nymphaea. Proceedings of Lotus Ramanna MS, Lammeren AAMV. Embryo rescue park in Thai Culture. 2013 Dec 18; Office of by half-ovule culture for the production of Agricultural Museum and Culture, Kasetsart interspecific hybrids in Alstroemeria. Sci University, Bangkok, Thailand: 2013. Hortic Amsterdam. 1995;64:65-75. 5. Pooma R. Concise Encyclopedia of Plants in 12. Liu H, Yan G, Sedgley R. Interspecific hybrid- Thailand, Commemorate the 60th Birthday ization in the genus Leucadendron through Anniversary of Her Royal Highness Princess embryo rescue. S Afr J Bot. 2006;72(3):416- Maha Chakri Sirindhorn. Bangkok: The Forest 20. Herbarium (BKF); 2016. p. 517. 13. Manzur JP, Penella C, Burruezo AR. Effect of 6. Selvakumari E, Shantha S, Purushoth PT, the genotype, developmental stage and me- Sreenathkumar C. Antiproliferation activity dium composition on the in vitro culture ef- of ethanolic flower extract from Nymphaea ficiency of immature zygotic embryos from pubescens Willd. against human cervical and genus Capsicum. Sci Hortic Amsterdam. breast carcinoma in vitro. International Re- 2013;161:181-7. search Journal of Pharmacy. 2012;3(1):124– 5. 14. Srinives P, Tanya P, Somta P. Science in plant breeding and the importance to humanity. 7. Wasuwat S. Ornamental Waterlilies in Thai- Thailand Advanced Institute of Science and land. Bangkok: Nation Book Publishing; 2005. Technology. 2015;1(1):46-64. p. 192. 15. Khan S, Al-Qurainy F, Nadeem M. Biotechno- 8. Murashige T, Skoog FA. Revised medium for logical approaches for conservation and im- rapid growth and bio-assays with tobacco tis- provement of rare and endangered plants of sue cultures. Plant Physiol. 1962;15:473-97. Saudi Arabia. Saudi J Biol Sci. 2012;19( 1) :1- 11. 9. Sehrawat N, Jaiwal PK, Bhat KV, Tomooka N, Kaga A, Yadav M. Breeding mediated 16. Dubranszki J, da Silva JAT. Micropropagation improvement of mungbean (Vigna radiate of apple-A review. Biotechnol Adv. (L.) Wilczek) for salt tolerance. Thai Journal 2010;28(4):462-88. of Agricultural Science. 2014;47(2):109-14.
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 133 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) 17. Paul S, Kumaria S, Tandon P. An effective nu- 24. Ahmadi E, Nasr SMH, Jalilvand H, Savadkoohi trient medium for asymbiotic seed germina- SK. Contamination control of microbe tion and large-scale in vitro regeneration of Ziziphus spina [christti] seed in vitro culture. Dendrobium hookerianum, a threatened or- Trees. 2012;26:1299-304. chid of northeast India. AoB Plants. 2011;2012(plr032):1-7. 25. Sawant RA, Tawar PN. Use of Sodium hypochlorite as media sterilant in sugarcane 18. Bodhipadma K, Noichinda S, Wachirabongkoth micropropagation at commercial scale. P, Pukpoomin E, Punnakanta L, Nathalang K. Sugar Tech. 2011;13(1):27-35. In Vitro Propagation of Nymphaea nouchali var. versicolor ‘Bua Phuean’. The Journal of 26. Noimai Y. [Effects of plant growth regulators Applied Science. 2011;10(2):7-11. on seed germination treatment of Nymphaea gigantea ‘Atrans’ hybrid in vitro conditions]. 19. Songpanich P, Hongtrakul V. Nymphaea Research Journal Rajamangala University of ‘Siam Blue Hardy’: The world’s first blue Technology Thanyaburi. 2018;17( 2) :54-64. hardy waterlily. Thai Agricultural Research Thai. Journal. 2009;27(1):68-81. 20. Songpanich P. Hardy waterlily (Nymphaea sp.) hybridization. The Water Garden Journal. 2009;24(3):10-5. 21. Sun C, Ma Z, Zhang Z, Sun G, Dai Z. Factors influencing cross barriers in interspecific hybridizations of water lily. J Amer Soc Hort Sci. 2018;143(2):130-5. 22. Sun CQ, Ma ZH, Sun GS, Dai ZL, Teng NJ, Pan YP. Cellular mechanisms of reproductive barriers in some crosses of water lily ( Nymphaea spp.) cultivars. Hort Science. 2015;50(1):30-5. 23. Kumar PP, Loh CS. Plant tissue culture for biotechnology. In: Altman A, Hasegawa PM, editor. Chapter number 9. Plant Biotechnol- ogy and Agriculture. Prospects for the 21st Century. 1st ed. United States of America: Academic Press; 2012. p. 586.
134 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ผลของผงวุนลูกสำรองตอคุณสมบัติทางกายภาพ ทางเคมี และทางประสาทสัมผัสของ กุนเชยี งปลาดุก Effect of Malva Nut Gum Powder on Physical, Chemical and Sensorial Properties of Catfish Chinese Sausage อัญชลินทร สิงหค ำ Unchalin Singkhum สาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อ.ธญั บรุ ี จ.ปทุมธานี 12110 Division of Food Science and Technology, Faculty of Agricultural Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Thanyaburi, Pathumthani 12110, THAILAND *Corresponding author e-mail: [email protected] ARTICLE INFO ABSTRACT Article history: The purposes of this research were to study the effects of Received: 7 August, 2020 crude malva nut gum powder and fat on physicochemical properties Revised: 22 September, 2020 and sensory evaluation of catfish chinese sausage. The suitable ratio Accepted: 6 November, 2020 of crude malva nut gum powder and fat of 0:10 (control), 3: 7, 5: 5, Available online: 28 April, 2021 7: 3 and 10: 0 (w/w) were studied. The results indicated that addition DOI: 10.14456/rj-rmutt.2021.13 of crude malva nut gum powder increased hardness, cohesiveness, Keywords: gumminess, chewiness, water activity, total ash, total protein, crude catfish Chinese sausage, fiber and carbohydrate contents but decreased adhesiveness, redness malva nut gum powder, (a* ), moisture and crude fat contents (P ≤ 0. 05) , while no significant consumer acceptance difference in springiness, lightness (L*), yellowness (b*) (P > 0.05) was observed. Sensory evaluation results showed that an addition of crude malva nut gum powder decreased color, odor, texture and acceptability scores ( P ≤ 0. 05) , while there was no significant difference in taste score ( P > 0. 05). The ratios of 3: 7 catfish Chinese sausage obtained similar sensory scores to that of 0: 1 (control) . Therefore, the optimum ratio of malva nut gum powder and fat was
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 135 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) 3: 7 or 90 grams of crude malva nut gum powder and 210 grams of fat per batch. บทคัดยอ บทนำ งานวจิ ัยนมี้ วี ตั ถุประสงคเพื่อศึกษาผลของผงวุน ชนิดและปริมาณอาหารที่บริโภคเขาไปใน ลูกสำรองทดแทนไขมันตอคุณสมบัติทางกายภาพ เคมี รางกายในแตละวันเปนปจจัยสำคัญที่สงผลตอสุขภาพ และคุณภาพทางประสาทสัมผัสของกุนเชียงปลาดุก โดย และการเกิดโรคตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับโรคทางโภชนาการ ใชผงวุนลูกสำรองทดแทนไขมันหมู ในอัตราสวนท่ี ในแตละวันหากรางกายรับประทานอาหารประเภทไขมัน แตกตางกัน ดังนี้คือ 0 ตอ 10, 3 ตอ 7, 5 ตอ 5, 7 ตอ มากกวารอยละ 30 ของพลังงานทั้งหมดที่รางกายไดรับ 3 และ 10 ตอ 0 ตามลำดับ ผลการศึกษาพบวา เมื่อเพิ่ม ในแตละวัน อาจทำใหม โี อกาสเปน โรคทางโภชนาการเกิน ปริมาณของผงวุนลูกสำรองมากขึ้นและลดปริมาณการใช ได เชน โรคอวน โรคไขมันในเสนเลือดสูง โรคหัวใจขาด ไขมันลงในสวนผสมมีผลตอคาความแข็ง ความสามารถ เลือด เปนตน อาหารบางชนิดจึงมีการปรับเปลี่ยน เกาะตัวรวมกัน การทนตอการเคี้ยว ความเหนียวคลาย สวนผสมหรือกรรมวิธีการผลิตเพื่อใหลดปริมาณไขมันลง ยาง คากิจกรรมของน้ำ ปริมาณเถา โปรตีน เสนใย และ ลักษณะเนื้อสัมผัสหรือรสชาติอาหารที่ไดไมเปนท่ี คารโบไฮเดรตมีแนวโนมเพิ่มขึ้น คาความสามารถในการ พึงพอใจของผูบริโภค เชน อาหารที่ลักษณะเนื้อสัมผัส เกาะติดผิววัสดุ คาความเปนสีแดง (a*) ปริมาณไขมันมี แขง็ กระดา ง ไมช มุ น้ำ มรี สชาตแิ ตกตา งจากรสดงั้ เดิมของ แนวโนมลดลง (P ≤ 0.05) แตไมมีผลตอคาความยืดหยุน อาหารชนิดนั้นมากเกินไป ดังนั้นในปจจุบันจึงมีการ คาความความสวาง (L*) คาความเปนสีเหลือง (b*) พัฒนาผลิตภัณฑอาหารท่ีมีการลดไขมันและหาสวนผสม (P > 0.05) ผลประเมินการยอมรับทางประสาทสัมผัส อื่นมาทดแทนโดยใหผลิตภัณฑมีลักษณะทางประสาท พบวาเมื่อเพิ่มปริมาณของผงวุนลูกสำรองและลดปริมาณ สมั ผัสในทกุ ดานใกลเ คียงกบั ผลิตภัณฑเ ดิมใหม ากทสี่ ุด การใชไขมันลงในสวนผสมมีผลตอคาคะแนนความชอบ ดานสี กลิ่น เนื้อสัมผัส และความชอบโดยรวมของ ปลาเชียง หรือกุนเชียงปลา คือ ไสกรอกชนิด กุนเชียงปลาดุก (P ≤ 0.05) ในขณะที่คาคะแนน หนึ่งที่ทำจากเนื้อปลา เชน ปลายี่สก ปลานวลจันทร ความชอบดานรสชาตไิ มแตกตางกัน (P > 0.05) โดยสูตร ปลาดุก ปลานิล ปลาสลิด ปลากราย ปลาอินทรีย และ อัตราสวน 3 ตอ 7 ไดคะแนนความชอบในทุกดาน ปลาทรายแดง และมันสัตว เชน มันหมู มันปลา เปนตน ใกลเคียงกับอัตราสวน 0 ตอ 10 (สูตรควบคุม) ดังน้ัน นํามาบดหยาบผสมเครื่องปรุงรส เชน น้ำตาล เกลือ และ อัตราสวนที่เหมาะสมของการใชผงวุนลูกสำรองทดแทน สวนประกอบอื่น เชน เครื่องเทศ สมุนไพร ซีอิ๊ว นําไป ไขมันหมูในกุนเชียงปลาดุกคือ 3:7 หรือใชปริมาณกัม บรรจุไสแลวนำไปทำแหงโดยใชลมรอนหรือตากใหแหง ลกู สำรอง 90 กรมั มันหมู 210 กรมั ตอ 1 สตู รการผลิต โดยใชพลังงานแสงอาทิตยตอไป ผลิตภัณฑที่ดีตองมีเน้ือ สัมผัสที่แนน คงรูป มีความนุมพอเหมาะ ไมแข็งกระดาง คำสำคัญ: กุนเชียงปลาดุก ผงลูกสำรอง การยอมรับของ หรือยุย เนื้อปลาและไขมันผสมกันอยางทั่วถึง ไมรวมกัน ผบู ริโภค เปนกอน ไมมีน้ำมันไหลออกมาภายนอก อาจมีโพรง อากาศเล็กนอย มีสีสม่ำเสมอตลอดทั้งชิ้น ไมมีกลิ่นท่ี ผิดปกติเชน กลิ่นอับ กลิ่นคาว กลิ่นหืน (1) ไขมันเปน สวนผสมที่มีประโยชนในกุนเชียงปลา เพราะชวยเพิ่ม
136 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) รสชาติ ชวยกักเก็บกลิ่นรส เพิ่มความชุมฉ่ำใหผลิตภัณฑ ในผลิตภัณฑแปรรูปเน้ือสัตวหลายประเภท เชน หมูยอ ในมาตรฐานผลิตภณั ฑช ุมชนของกุนเชียงปลากำหนดใหมี และไสกรอก โดยงานวิจัยศศิพร (6) ไดศึกษาการใช ไขมันในผลิตภัณฑ ไมเกินรอยละ 30 ดังนั้นผลิตภัณฑ ประโยชนจากเนื้อลูกสำรองในผลิตภัณฑไกยอไขมันต่ำที่ กุนเชียงปลาจึงจัดเปนอาหารที่มีไขมันเปนองคประกอบ ใชเนื้อลูกสำรองทดแทนอินนูลีน โดยแปรอัตราสวนของ คอนขางสูง โดยเฉพาะไขมันจากสุกรมีกรดไขมันอิ่มตัว เนื้อสำรองตออินนูลีนเปน 0 ตอ 3 (สูตรควบคุม), 1 ตอ และคอเลสเทอรอลในปริมาณทส่ี งู และมเี สน ใยอาหารต่ำ 2, 2 ตอ 1 และ 3 ตอ 0 ตามลำดับ พบวา เมื่ออัตราสวน สงผลใหเมื่อบริโภคการรับประทานในปริมาณมาก และ ของเนื้อสำรองเพิ่มขึ้นมีผลตอปริมาณความชื้น เถาและ เปนประจำอาจกอใหเกิดโรคตางๆตามมา เชน เสี่ยงตอ ความสามารถในการอุมน้ำเพิ่มมากขึ้นในขณะที่คาสีมี การเปนโรคไขมันอุดตนั ในเสนเลือดหรือโรคหัวใจ รวมถึง แนวโนมที่ลดลง และภูธฤทธิ์ และเสาวภา (7) ได การเปนสาเหตุของการเกิดโรคอวน (2) การศึกษาคุณภาพและการยอมรับของผูบริโภคตอไส กรอกแฟรงคเ ฟอรเตอรที่ใชล ูกสำรองเปนองคป ระกอบใน การลดปริมาณไขมันในผลิตภัณฑกุนเชียงปลา อัตราสวนรอ ยละ 25 และ 50 ของไขมนั หมู พบวา สแี ละ ทำใหก ล่ิน รส และลกั ษณะเนอื้ สมั ผสั ไมเ ปน ทีย่ อมรบั ของ รสชาติของไสก รอกผูบริโภคใหก าร ยอมรบั ในระดบั ดีถึงดี ผูบริโภค ผลิตภัณฑกุนเชียงปลาท่ีใชน้ำมนั พชื แทนการใช มาก แสดงถึงการใชลูกสำรองทดแทนไขมันสุกรในสูตร ไขมันจากสัตว มีผลตอระบบอิมัลชันของผลิตภัณฑ การผลิตที่ไมมีผลตอเรื่องของรสชาติและสีของผลิตภัณฑ น้ำมันเกิดการแยกชั้นออกมาในระหวางการวางจำหนาย และสามารถ เก็บรักษาไดเปนระยะเวลานานโดยที่อัตรา หรือเก็บรักษา ดังนั้นการพัฒนาผลิตภัณฑโดยใชสาร การสูญเสียน้ำหนักอยูในระดับต่ำ จากคุณสมบัติของลูก ทดแทนไขมันจึงเปนวิธีการหนึ่งที่นำมาปรับปรุงคุณภาพ สำรองท่ีทำใหอาหารมีความขนหนืด เพิ่มความสามารถ ของผลิตภัณฑ ใหมีเนื้อสัมผัสที่นุมมากขึ้นและไมมีการ ในการอุมน้ำ และสามารถใชทดแทนไขมันในผลิตภัณฑ เปลี่ยนแปลงในระหวางการเก็บรักษา สารทดแทนไขมัน แปรรูปเนื้อสัตวได ดังน้ันงานวิจัยนี้จึงตองการศึกษา มีหลายชนิด โดยทั่วไปสารทดแทนไขมันจําแนกตาม ปริมาณการใชผงวุนลูกสำรองเปนสารทดแทนไขมันที่มี แหลงที่มาออกเปน 3 แหลง คือกลุมที่มาจากโปรตีน ผลตอคุณภาพทางเคมี ทางกายภาพและทางประสาท ไขมัน และคารโ บไฮเดรต (3) สัมผสั ของกุนเชียงปลาดุก ลูกสำรอง ชื่อทางวิทยาศาสตรวา Scaphium วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย scaphigerum (G.Don) Guib.& Planoh. ชื่อสามัญวา Malva Nut เมล็ดสำรองมีรูปกลมรีหัว ทายมน มีสี 1.วธิ ีการเตรยี มผงวนุ ลกู สำรอง น้ำตาล ผิวขรุขระ เปลือกหุมเม็ดชั้นนอกมีสารเมือก จำนวนมาก สามารถพองตัวในน้ำ มีลักษณะคลา ยวุนโดย ลูกสำรองแหงคดั เกรดพิเศษจากกลุมผูผลติ พชื ขยายใหญกวาขนาดเดิมเกือบ 10 เทา จัดเปนสาร สมุนไพรบานเกาะลอย อ. แกงหางแมว จ. จันทบุรี การ ทดแทนไขมันที่มาจากคารโบไฮเดรต ท่ีมลี ักษณะเปนเสน เตรียมไดผงวุนลูกสำรองดัดแปลงกรรมวิธีจากงานวิจัย ใยชนิดที่ละลายน้ำ เปนสารเมือกประเภทมิวซิเลจ ที่ ของบงกชมาศ (8) นำลูกสำรองแชในน้ำกลั่น อัตราสวน สามารถพองตัวไดดีในน้ำ (4) และมีความสามารถในการ ลูกสำรองตอน้ำ คือ 1 ตอ 8 โดยน้ำหนักตอปริมาตร ท่ี ดูดซับน้ำถึง 40-45 มล/ก. แลวเกิดโครงสรางคลายเจล อุณหภูมิหอง นาน 24 ชั่วโมง จากนั้นแยกเมล็ด เปลือก เจลหรือวุนไดโดยไมตองอาศัยความรอน และมีลักษณะ และเสนใยออก กรองผานตะแกรงขนาด 40 เมช นำวุน ยืดหยุนคลายไขมัน (5) มีการนำลูกสำรองมาแปรรูปเปน สำรองที่กรองไดไปทำใหแหงโดยใชตูอบลมรอน ท่ี ผลิตภณั ฑเ คร่ืองดม่ื และนำมาเปนสว นผสมทดแทนไขมัน อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส นาน 20 ชั่วโมง หรือจนแหง
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 137 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) สนิท จากนั้นนำไปบดดวยเครื่องบดสมุนไพร รอนผาน ไสคอลลาเจนขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.5 เซนติเมตร ตะแกรงขนาด 50 เมช จะผงวุนลูกสำรองเพื่อใชใน ข้นั ตอนตอไป อบในตูอบลมรอน ที่อุณหภูมิ 100 ±2 องศาเซลเซียส 2. การวิเคราะหองคป ระกอบทางเคมขี องผงวุนลกู สำรอง นาน 5 ชั่วโมง บรรจุในถุงพลาสติกชนิดพอลิเอทิลีน นําผงวุนลูกสำรองจากขั้นตอนที่ 1 มา เทเรฟทาเลตในสภาวะสุญญากาศ เก็บที่อุณหภูมิ วิเคราะหองคประกอบทางเคมีพื้นฐาน ไดแก ปริมาณ ความชื้น เถา โปรตีน ไขมัน เสนใย และ คารโบไฮเดรต 4±1 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง เพื่อนำไปทดลองใน ตามวิธี AOAC (9) และทางดานกายภาพ ไดแก คา กิจกรรมของน้ำ (Water activity; aw) ดวยเครื่อง ข้นั ตอนตอ ไป Water activity meter (model, Company, City/ State, Country) 3.2 การใชผงวุนลูกสำรองทดแทนไขมันใน 3. การศึกษาผลของการใชผงวุนลูกสำรองเพื่อทดแทน กุนเชยี งปลาดุก ไขมันท่ีมีผลตอคณุ ภาพของกุนเชียงปลาดุก นำผงวนุ ลกู สำรองทดแทนไขมันในกนุ เชียงปลา 3.1 การเตรียมวัตถุดิบและการผลิตกุนเชียง ปลาดกุ ดุกในอัตราสวนของผงวุนลูกสำรองตอไขมันโดยน้ำหนัก 1. การเตรียมเนื้อปลาดุก ดัดแปลงจากวิธีการ ดังน้ี 0 ตอ 10, 3 ตอ 7, 5 ตอ 5, 7 ตอ 3 และ 10 ตอ 0 ของ Chomnawang และคณะ (10) นำปลาดุกมาขังใน ถัง 2 คืน (ประมาณ 48 ชั่วโมง) เพื่อใหปลาขับถายของ ตามลำดับ มีวางแผนการทดลองแบบสุมอยางสมบูรณ เสียออกและกำจัดกลิ่นโคลนจากบอเพาะเลี้ยงทำการทำ ความสะอาด แลเ อาเฉพาะเน้อื ทีต่ ดิ กับหนงั แลวแยกหนงั (Completely Randomized Design; CRD) จำนวน 3 ซ้ำ ออกจากเนื้ออีกครั้งสวนไขมันปลาที่อยูพื้นทองแยกออก ห่นั เน้อื ปลาดุกเปนชิน้ เล็ก ๆ บรรจใุ นถุงพลาสติกชนิดพอ โดยสว นผสมของกุนเชียงปลาดุกแตละส่ิงทดลองแสดงดัง ลิเอทิลีนเทเรฟทาเลตในสภาวะสุญญากาศ เก็บท่ี อณุ หภมู ิ 4 ±1 องศาเซลเซียส ตารางที่ 1 2. กรรมวิธีการผลิตกุนเชียงปลาดุก ดัดแปลง ตารางที่ 1 สวนผสมของกุนเชียงปลาดกุ จากวิธีของอรวรรณ และคณะ(11) นำเนื้อปลาดุกมาบด ปนผสมกับเกลือนาน 3 นาที เติมสวนผสมที่เปนของแหง สวนผสม 1 ส่ิงทดลอง (รอ ยละ) 5 (แปงมันสำปะหลัง น้ำตาลทราย ผงเพรค รีกัลเบส 234 พริกไทย ผงพะโล และสารทดแทนไขมัน) ปนผสมกัน นาน 5 นาทีเติมสวนผสมที่เปนของเหลว (น้ำมันพืช ซีอ๊ิว 1. เนอื้ ปลาดุก 60.39 60.39 60.39 60.39 60.39 ขาว และน้ำ) ผสมกันนาน 5 นาที บรรจุถุงแบบ สุญญากาศ เก็บในตูเย็น นาน 48 ชั่วโมง นำมาบรรจุใน 2. แปงมนั 3.97 3.97 3.97 3.97 3.97 3. ผงเพรค 0.02 0.02 0.02 0.02 0.02 4. รีกัสเบส 0.19 0.19 0.19 0.19 0.19 5. น้ำตาล 18.12 18.12 18.12 18.12 18.12 6. ซีอ๊วิ ขาว 0.60 0.60 0.60 0.60 0.60 7. พริกไทย 0.97 0.97 0.97 0.97 0.97 8. เกลือ 1.60 1.60 1.60 1.60 1.60 9. น้ำ 4.14 4.14 4.14 4.14 4.14 10. มันหมู 10.00 7.00 5.00 3.00 - 11. ผงวุนสำรอง - 3.00 5.00 7.00 10.00 4. การวิเคราะหคุณภาพทางกายภาพ ทางเคมี และการ ประเมนิ คณุ ภาพทางประสาทสัมผัสของกุนเชยี งปลาดุก การวิเคราะหคุณภาพทางกายภาพ ทางเคมี และการประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสของกุนเชียง ป ล า ด ุ ก ภ า ย ห ล ั ง จ า ก ก า ร เ ก ็ บ ร ั ก ษ า ผ ล ิ ต ภ ั ณ ฑ ที่ อณุ หภูมิหอ งเปน เวลา 1 วนั ดงั น้ี
138 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) 4.1 วิเคราะหคาลักษณะทางเนื้อสัมผัส ห่ัน ผลการศกึ ษาและอภิปรายผล ตัวอยางกุนเชียงปลาดุกกอนทอดหนา 0.5 เซนติเมตร นำไปวัดคาความแข็ง (Hardness) ความสามารถเกาะตัว 1. ลักษณะปรากฏและคุณสมบัติทางเคมีของผงวุนลูก รวมกัน (Cohesiveness) ความสามารถในการเกาะติด สำรอง ผิววัสดุ (Adhesiveness) ความยืดหยุน (Springiness) การทนตอการเค้ยี ว (Chewiness) ความเหนียวคลายยาง เมือ่ นำลูกสำรองไปแชน ำ้ กลัน่ ทีอ่ ุณหภมู ิหองเปน (Gumminess) โดยใชเ ครือ่ ง Texture Analyzer (TX.XT เวลา 24 ชัว่ โมง จากนัน้ นำมาแยกเมล็ด เปลอื ก และเสนใย plus stable micro system, Company, City/State, ออก นำวนุ สำรองทไ่ี ดไปทำแหง ดว ยเครอ่ื งทำแหงแบบถาด England) หัววัด (TPA) ทรงกระบอกขนาดเสนผาน แลวนำไปบดเปนผง จะไดผงวุนลูกสำรอง มีสีน้ำตาลเขม ศ ู น ย ก ล า ง ข น า ด 50 ม ิ ล ล ิ เ ม ต ร DIA (Cylinder ออกดำ ไมมีรสชาติ (รูปที่ 1) เมื่อนำไปวิเคราะห aluminum) โดยดัดแปลงจากวิธขี อง Feng (12) องคประกอบทางเคมีพื้นฐาน พบวา ผงวุนลูกสำรองที่ไดมี ปริมาณความชื้น เถา โปรตีน ไขมัน เสนใย และ 4.2 คาสี วิเคราะหคาสีตามระบบ CIE (L*, a*, คารโบไฮเดรต รอ ยละ 9.52, 4.81, 3.92, 0.48, 31.22 และ b*) ดวยเครื่องวัดสี (Color Meter Chroma, CR200, 50.05 โดยนำ้ หนัก ตามลำดบั สว นคากจิ กรรมของนำ้ มีคา Company, City/Province, Japan) กำหนดใหคา L* เทากับ 0.845 ดังนั้นผงสำรองจึงมีปริมาณคารโบไฮเดรต คอื คาความสวา ง a* คอื คา ความเปนสีแดงหรือสีเขียว b* มากกวาสารอาหารชนิดอื่น สอดคลองกับงานวิจัยของ คอื คา ความเปนสเี หลอื งหรอื สีน้ำเงนิ สุปรียา และศภุ มาศ (13) ทนี่ ำผลสำรองไปแชน้ำใหเ กดิ การ พองตัวและนำไปอบแหงดวยตูอบลมรอนที่อุณหภูมิ 4.3 คากิจกรรมของน้ำตัวอยาง (Water 70 องศาเซลเซียส พบวามีปริมาณความชื้น เถา โปรตีน activity; aw) ดวยเครอ่ื ง water activity meter ไขมนั เสนใย และคารโ บไฮเดรตรอยละ 13.21, 6.20, 4.05, 0.38, 11.10 และ 65.06 ตามลำดับ และในงานวิจัย 4.4 วิเคราะหองคประกอบเบื้องตนของอาหาร ของวรัญญา และคณะ (14) ที่ไดศึกษาองคประกอบทางเคมี (Proximate analysis) ไดแ ก ปรมิ าณความชืน้ เถา โปรตีน ของผลสำรองแหง พบวาผงสำรองทีส่ กดั ดวยน้ำ แลวอบแหง ไขมัน เสนใย และ คารโ บไฮเดรต ตามวธิ ี AOAC (6) มีปริมาณความช้ืนรอยละ 15.31 น้ำมันรอ ยละ 0.41 โปรตนี รอยละ 3.75 เถา รอยละ 5.84 และใยอาหารที่บริโภคได 4.5 การประเมินความชอบทางประสาทสัมผัส (Dietary Fiber) รอยละ 76.45 และกัมจากเมล็ดสํารองที่ ใชผูทดสอบที่ไมผานการฝกฝน จำนวน 30 คน อายุ สกัดดวย โซเดียมไฮดรอกไซดรอยละ 0.05 จะมีปริมาณ ระหวาง 20-40 ป การเตรียมตัวอยางกุนเชียงเพื่อ เสนใยหยาบ โปรตีน เถา และคารโบไฮเดรต รอยละ 45.2, ทดสอบชิมทำไดโดยนํากุนเชียงปลาดุกมาตมใน 4.9, 1.4 และ 38.9และมีปริมาณน้ำตาลทั้งหมดรอยละ น้ำเดือดนาน 2 นาที นําไปทอดในน้ำมันพืชที่อุณหภูมิ 32.3 โดยน้ำหนัก (15) ดังนั้นผงสำรองจัดเปนพืชสมุนไพร 150±5 องศาเซลเซียส นาน 1 นาที หั่นหนา 0.5 ที่มีคารโบไฮเดรตในปริมาณสูงเมื่อละลายลายน้ำจึง เซนติเมตร ประเมินความชอบดานสี กลิ่น รสชาติ เน้ือ สามารถดูดน้ำไดรวดเรว็ และเกิดการพองตวั สัมผัส และความชอบโดยรวม ใหคะแนนแบบ 9-Point hedonic scale 1-9 คะแนน (9 คะแนน คือ ชอบมาก 2. คุณสมบัติทางกายภาพของกุนเชียงปลาดุกที่มีการใช ที่สุด และ 1 คะแนน คือ ไมชอบมากที่สุด) ในระหวาง ผงวุนลกู ลูกสำรองทดแทนไขมนั การประเมิน ผูทดสอบตองบวนปากดวยน้ำอุน และเวน ระยะระหวางตัวอยาง 2 นาที (เวนระยะเทา ๆ กันในทุก เมื่อนำผงวุนลูกสำรองไปทดแทนไขมันใน ตัวอยา ง) กอนทดสอบตัวอยางตอ ไป (3) กุนเชียงปลาดุกในอัตราสวนของผงวุนลูกสำรองตอไขมัน
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 139 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) โดยน้ำหนักดังนี้ 0 ตอ 10, 3 ตอ 7, 5 ตอ 5, 7 ตอ 3 กรอกเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ชนิดของปลามีผลตอลักษณะ และ 10 ตอ 0 ตามลำดับ และนำไปสังเกตลักษณะ เนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑ กุนเชียงที่ผลิตจากปลาน้ำจืด ปรากฏของกุนเชียงปลาดุกทั้ง 5 สิ่งทดลอง โดยใช ปลาเนื้อขาว ที่มีไขมันต่ำ เชน ปลายี่สก ปลาทับทิม ปลา ประสาทสัมผัสทั้งหา พบวากุนเชียงปลาดุกที่ใชผงวุนลูก ชอน และปลานวลจันทรเทศ จะเกิดเจลไดชากวาปลา สำรองทดแทนไขมันในในอัตราสวน 3 ตอ 7, 5 ตอ 5, 7 เนื้อแดง เพราะโปรตีนแอคโตไมโอซินมีความคงตัวตอ ตอ 3 และ 10 ตอ 0 ผลิตภณั ฑก นุ เชยี งปลาดุกมีสีน้ำตาล ความรอนมากกวา ทำใหเกิดการสรางพันธะระหวาง และสีน้ำตาลดำมากขึ้นตามปริมาณผงวุนลูกสำรองท่ี โมเลกุล เกิดเปนโครงสรางหรือรางแหสามมิติของโปรตีน เพิ่มขึ้นในสวนผสม มีกลิ่นเครื่องเทศและกลิ่นปลา ไดชากวา และมีความทนตอปฏิกิริยาโมโดริ (Modori) รสชาติกลมกลอมและหวาน เนื้อสัมผัสเหนียว รวน นุม หรือการสลายโครงสรางของเจลเมื่อใหความรอนท่ี และแขง็ ตามลำดบั (รปู ท่ี 2) 60-70 องศาเซลเซียส ลักษณะเจลของปลาเนื้อแดงที่ เกิดขึ้นจึงมีความแข็งกระดางกวา และกุนเชียงปลาที่ใช เนื้อสัมผัสของกุนเชียงปลาดุกที่ใชผงวุนลูก ปลาเนื้อขาวมีผลใหเนื้อสัมผัสของผลิตภัณฑมีความ สำรองทดแทนไขมันในอตั ราสว นแตกตา งกนั (ตารางที่ 2) เหนยี วนุมนอยกวาการใชป ลาเนอ้ื แดงเปน สว นผสม (19) พบวา การทดแทนไขมันโดยใชผ งวุน จากลูกสำรองมีผลตอ คา ความแข็ง ความสามารถเกาะตัวรวมกนั ความสามารถ จากการวิเคราะหคากิจกรรมของน้ำ (ตารางท่ี 3) ในการเกาะติดผิววัสดุ การทนตอการเคี้ยว และความ ของกุนเชียงปลาดุกที่ใชกัมจากลูกสำรองทดแทนไขมัน เหนียวคลายยางท่ีแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ พบวาการทดแทนไขมันโดยใชผงวุนลูกสำรองใน (P ≤ 0.05) โดยคาลกั ษณะเน้อื สมั ผัสในทุกดา นมแี นวโนม อัตราสวนที่แตกตางกันมีผลตอคากิจกรรมของน้ำ เพิ่มมากขึ้น เมื่อผลิตภัณฑมีการทดแทนไขมันจากผงวุน แตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (P ≤ 0.05) โดยคา ลูกสำรองเพิ่มมากขึ้นทำใหลักษณะของผลิตภัณฑแข็ง กิจกรรมของนำ้ มแี นวโนมเพิ่มมากขึ้นแตยังอยูในชวงท่ไี ด ม า ก ข ึ ้ น ท ั ้ ง น ี ้ เ น ื ่ อ ง จ า ก ไ ข ม ั น ม ี ค ว า ม ส ั ม พ ั น ธ กั บ มาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนที่กำหนดวากุนเชียงปลาเปน ลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ เชน ความฉ่ำน้ำและ อาหารประเภทกึ่งแหง (Intermediated Moisture ลักษณะเนื้อสัมผัส คาความเหนียวของกุนเชียง ชวยทำ Food) มีคากิจกรรมของน้ำ ในชวง 0.60-0.85 และตอง ใหเนื้อสัมผัสนุมไมแข็งกระดาง เพิ่มกลิ่นรส และความ มีคากิจกรรมของน้ำนอยกวา 0.86 (1, 20) อรอ ยของอาหาร (16) นอกจากน้ีกมั จากลกู สำรองจดั เปน คารโบไฮเดรตที่ละลายน้ำ (Water-soluble Dietary คาสีของกุนเชียงปลาดุกทั้ง 5 สิ่งทดลอง แสดง Fiber) มีสารเมือก และมิวซิเลจสูง ซึ่งมีคุณสมบัติพองตวั ในตารางที่ 3 พบวาคาความสวาง (L*) และคาความเปน ไดดี เมื่อสัมผัสน้ำจะละลายเกิดเปนสารขนหนืดที่ทำให สีเหลือง (b*) ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทาง เกิดความขนหนืดของอาหารหรือใสในในสวนผสมเพิ่ม สถิติ (P > 0.05) โดยกุนเชียง ปลาดุกที่มีการใชผงวุน ลกู มากขึ้นจะดูดน้ำในผลิตภัณฑมากขึ้นสงผลใหผลิตภัณฑมี สำรองทดแทนไขมันในอัตราสวน 0 ตอ 10, 3 ตอ 7, 5 ลักษณะแนนและแข็งมากขึ้น (17) จากงานวิจัยของ ตอ 5, 7 ตอ 3 และ 10 ตอ 0 มีคาความสวาง (L*) เทา กับ Somboonpanyakul และคณะ (18) ไดศึกษาผลการ 45.97, 39.73, 39.10, 40.83, และ 39.07 ตามลำดับ เติมกัมจากลูกสำรองที่ยังไมผานการทำใหบริสุทธท์ิ ี่ และมีคาความสีเหลือง (b*) เทากับ 29.87, 27.27, รอยละ 0.2 ในไสกรอกแฟรงคเฟอรเตอร พบวาจะชวย 32.47,40.67 และ 30.37 ตามลำดับ แตมีความแตกตาง ลดการสูญเสียหลังการทำใหสุก และทำใหคา กันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติตอคาความเปนสีแดง (a*) ความสามารถเกาะตัวรวมกัน การทนตอการเคี้ยวของไส (P ≤ 0.05) การทดแทนผงวุนลูกสำรองในปริมาณเพ่ิม มากขึ้นมีผลตอทำใหผลิตภัณฑมีสีคล้ำมากขึ้น ทั้งนี้เปน
140 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) เพราะกัมสำรองมีสีน้ำตาลเขมเมื่อนำไปทดแทนไขมันทีม่ ี รอยละ 0 (สตู รควบคมุ ) 25 50 75 และ 100 โดยน้ำหนัก สขี าวสงผลตอ สีผลติ ภณั ฑกุนเชยี งท่ีมสี นี ำ้ ตาลเขมมากข้ึน จากผลการทดลอง พบวาระดับของเจลสดจากลูกสำรอง สอดคลองกับการทดลองของ Juthong และคณะ (21) ที่เพิ่มขึ้นมีผลตอคาความสวาง (L*) และคาความเปนสี ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการใชเจลสดจากลูกสำรอง แดง (a*) แตไมมีผลตอคาความสวาง (L*) คาความเปนสี เพื่อทดแทนไขมันในผลิตภัณฑหมูยอ โดยระดับของ แดง (a*) และคาความเปนสีเหลือง (b*) หลังจากการ เจลสดจากลูกสำรองท่ใี ชในการเปน สารทดแทนไขมนั คือ เก็บรกั ษานาน 9 วนั (ก) (ข) (ค) รูปท่ี 1 ลูกสำรองและผงวนุ จากลูกสำรอง (ก) ลูกสำรอง (ข) ลูกสำรองท่ีแชนำ้ เปน เวลา 24 ชว่ั โมง (ค) ผงวุนจากลกู สำรอง (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) รปู ที่ 2 ลักษณะของกนุ เชยี งปลาดุกที่มีการใชผงวนุ ลูกสำรองทดแทนไขมนั ที่อตั ราสว น 0 ตอ 10, 3 ตอ 7, 5 ตอ 5, 7 ตอ 3 และ 10 ตอ 0 โดยนำ้ หนกั ตามลำดบั ตารางท่ี 2 ลักษณะเนื้อสัมผสั ของกนุ เชยี งปลาดุกทม่ี ีการใชผงวุนลูกสำรองทดแทนไขมนั อตั ราสว น Hardness ลกั ษณะเนื้อสัมผัส Guminess Chewiness ผงวุนลูกสำรอง (N) (N) (Nmm) Cohesiveness Adhesiveness Springinessns ตอไขมัน (N) (mm) (โดยน้ำหนัก) 0:10 1731.66 ±0.13d 1490.60±0.46c -3.67±0.15a 1.42±0.37 305.09±0.53c 433.19±0.19b 3:7 2099.80±0.12c 1840.53±0.31bc -2.59±0.38a 1.46±0.25 350.03±0.47bc 512.16±0.17b 5:5 2487.83±0.27b 2065.22±0.17b -1.64±0.38a 1.41±0.22 356.46±0.37bc 502.13±0.15b 7:3 2594.08±0.23b 1984.38±0.21b -5.43±0.61a 1.39±0.21 366.04±0.28b 509.95±0.21b 10:0 3657.71±0.29a 2719.28±0.19a -24.07±0.68b 1.42±0.22 489.64±0.29a 695.52±0.19a หมายเหตุ: ns หมายถึง ไมม คี วามแตกตา งกันอยางมนี ยั สำคญั ทางสถิตขิ องคาเฉลยี่ ในแนวตงั้ (P > 0.05) a-d หมายถึง อักษรที่แตกตา งกันแสดงถงึ ความแตกตางกนั อยา งมนี ัยสำคัญทางสถติ ขิ องคา เฉลี่ยในแนวตั้ง (P ≤ 0.05)
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 141 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ตารางท่ี 3 คา กิจกรรมของน้ำ และคาสขี องกุนเชียงปลาดุกทีม่ ีการใชผ งวนุ ลูกสำรองทดแทนไขมนั อตั ราสวนผงวนุ ลกู สำรอง คา กจิ กรรม คา สี ตอ ไขมัน (โดยน้ำหนัก) ของนำ้ คา ความสวา ง (L*)ns คาความเปนสีแดง(a*) คา ความเปนสเี หลอื ง (b*)ns 0: 10 0.79±0.13b 45.97±0.31 -13.43±0.19ab 29.87±0.11 3: 7 0.84±0.12a 39.73±0.15 -13.57±0.15ab 27.27±0.19 5: 5 0.84±0.19a 39.10±0.19 -15.87±0.21c 32.47±0.19 7: 3 0.81±0.10a 40.83±0.61 -15.53±0.20bc 40.67±0.17 10: 0 0.85±0.16a 39.07±0.23 -12.10±0.28a 30.37±0.13 หมายเหต:ุ ns หมายถึงไมม ีความแตกตา งกันอยา งมีนัยสำคัญทางสถิติของคา เฉลย่ี ในแนวตัง้ (P > 0.05) a-c หมายถงึ อักษรที่แตกตา งกันแสดงถึงความแตกตางกันอยางมนี ัยสำคัญทางสถิติของคา เฉลยี่ ในแนวตงั้ (P ≤ 0.05) ตารางที่ 4 องคประกอบทางเคมีพ้ืนฐานของกุนเชียงปลาดุกที่มกี ารใชผ งวุนลูกสำรองทดแทนไขมัน อัตราสว นผงวนุ ลกู ความช้ืน การวิเคราะหค ณุ สมบตั ิทางเคมี(รอ ยละ) คารโ บไฮเดรต สำรองตอไขมนั เถา โปรตนี ไขมนั เสนใย (โดยนำ้ หนัก) 0:10 27.70±0.04a 1.96±0.05c 25.77±0.10d 24.13±0.17a 0.73±0.10d 19.71±0.14cd 3:7 28.29±0.07a 3.23±0.11b 27.38±0.17c 19.70±0.17b 1.21±0.15c 20.19±0.18c 5:5 28.39±0.27a 4.38±0.06a 28.01±0.15b 19.49±0.17b 1.49±0.12b 18.24±0.17d 7:3 25.95±0.34b 4.56±0.08a 27.55±0.13bc 16.76±0.17c 1.77±0.19a 23.41±0.11b 10:0 22.72±0.11c 4.67±0.07a 29.58±0.18a 12.69±0.17d 1.87±0.15a 28.51±0.12a หมายเหต:ุ a, d หมายถงึ อกั ษรที่แตกตา งกนั แสดงถึงความแตกตางกันอยางมีนัยสำคญั ทางสถิติของคาเฉลี่ยในแนวต้งั (P ≤ 0.05) ตารางที่ 5 คะแนนความชอบเฉลี่ยจากการทดสอบทางประสาทสัมผัสของกุนเชียงปลาดุกที่มีการใชผงวุนลูกสำรอง ทดแทนไขมัน อตั ราสวนผงวนุ ลกู สำรอง คะแนนความชอบทางประสาทสมั ผัส ตอ ไขมนั (โดยน้ำหนัก) สี กล่นิ รสชาติns เน้ือสัมผัส ความชอบโดยรวม 0:10 7.07±1.61a 6.80±1.41ab 6.53±1.25 6.80±1.29ab 6.73±1.22b 3:7 6.70±1.31ab 7.13±1.38a 6.97±1.48 7.20±1.40a 7.37±1.49a 5:5 6.63±1.41ab 6.80±1.53ab 6.70±1.61 6.77±1.50ab 6.83±1.47b 7:3 6.70±1.39ab 6.60±1.27ab 6.60±1.53 6.47±1.48b 6.67±1.41b 10:0 6.43±1.37b 6.57±1.25b 6.67±1.56 6.70±1.40ab 6.73±1.44b หมายเหตุ: ns หมายถึงไมม คี วามแตกตางกนั อยา งมีนยั สำคญั ทางสถติ ขิ องคา เฉล่ียในแนวตัง้ (P > 0.05) a-b หมายถึง อักษรทแี่ ตกตา งกนั แสดงถงึ ความแตกตางกันอยา งมีนัยสำคญั ทางสถติ ขิ องคาเฉลยี่ ในแนวตง้ั (P ≤ 0.05) จากการวิเคราะหองคประกอบทางเคมีพื้นฐาน กันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (P ≤ 0.05) (ตารางที่ 4) ของผลิตภัณฑกุนเชียงปลาดุกพบวา การทดแทนไขมัน โดยการเพิ่มกัมลูกสำรองทดแทนมากขึ้นในขณะที่ โดยใชผงวุนจลูกสำรองมีผลตอปริมาณความชื้น เถา ปริมาณไขมันลดลงสงผลใหปริมาณเถา โปรตีน เสนใย โปรตีน ไขมัน เสนใย และคารโบไฮเดรตอยางที่แตกตาง และคารโบไฮเดรตในผลิตภัณฑมีแนวโนมที่เพิ่มขึ้น ซ่ึง
142 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ใหผลตรงกันขามกับปริมาณความชื้น และไขมันใน ความชอบของผูทดสอบชิม ซึ่งในงานวิจัยของ ผลิตภัณฑมีแนวโนมที่ลดลง ทั้งนี้เปนในผลสำรองแหง Somboonpanyakul และคณะ (18) ไดศึกษาผลการ อุดมไปดวย ใยอาหาร เถา ไขมัน และโปรตีน รอยละ เติมกัมจากลูกสำรองที่มีตอลักษณะทางประสาทสัมผัส 76.45 5.84 0.41 และ 3.75 (14) องคประกอบที่สำคัญ ของไสกรอกแฟรงคเฟอรเตอร พบวาไสกรอกที่เติมกัม ในลูกสำรองไดแก น้ำตาลอะราบิโนส น้ำตาลกาแลคโตส จากลูกสำรองในปรมิ าณรอยละ 0.2 มีคะแนนการยอมรับ น้ำตาลแรมโนส น้ำตาลกลูโคส น้ำตาลไซโลสและน้ำตาล สูงสุด ในขณะที่งานวิจัยของ ภูธฤทธิ์ และเสาวภา (7) ท่ี แมนโนส (18) จะเห็นไดวาลูกสำรองมีคุณคาทาง ศึกษาคุณภาพและการยอมรับของผูบริโภคตอไส โภชนาการสูง อุดมไปดวยเสนใยหรือใยอาหาร ปริมาณ กรอกแฟรงคเฟอรเตอรท่ีใชล ูกสำรองเปนองคประกอบใน โปรตีนสูง และปริมาณไขมันต่ำ ดังนั้นเมื่อนำไปทดแทน อัตราสวนรอยละ 25 และ 50 ของไขมันหมู พบวาสีและ ไขมันในผลิตภัณฑจึงสงผลใหผลิตภัณฑกุนเชียงปลาดุกมี รสชาติของไสกรอกผูบริโภคใหการยอมรับในระดับดีถึงดี ปริมาณโปรตีน เสนใยสูงไปดวย นอกจากนี้ลูกสำรองมี มาก และงานวิจัยของประภาศรี และคณะ (22) ที่ศึกษา คุณสมบัตใิ นการดูดนำ้ กลบั และเปนนำ้ ท่มี าจากสวนผสม การใชลูกสำรองทดแทนไขมันในผลิตภัณฑหมูยอ พบวา และกักเกบ็ ไวในโครงสรางไดมากทำใหผลติ ภัณฑกุนเชียง การใชลูกสำรองทดแทนไขมันในอัตราสวนปริมาณลูก มีลักษณะแหง ความชื้นลดต่ำลงตามปริมาณผงวุนที่มาก สำรองตอไขมันเปน 2 ตอ 1 ผูบริโภคใหคะแนน ขึ้นแตปริมาณสวนผสมคงเดิมทุกสูตรการผลิต มีการ ความชอบโดยรวมสูงกวาสูตรควบคุม ไดคาคะแนน ปรับเปลย่ี นพียงปริมาณไขมันเทา นั้น ทั้งนเี้ น่ืองจากไขมัน ความชอบโดยรวมสูงที่สุด 6.97 คะแนน ปริมาณลูก ทำหนาที่ปรับลักษณะเนื้อสัมผัสใหออนนิ่มลง ในขณะที่ สำรองที่เพิ่มขึ้นมีผลตอคาคะแนนความชอบของ ปริมาณไขมันที่ใชลดลง สงผลใหปริมาณน้ำที่มาจาก ผูทดสอบชิมทั้งนี้เน่ืองจากลูกสำรองมีสีน้ำตาลเขมเม่ือ สวนประกอบของไขมนั ลดลงตามไปดว ย ซง่ึ ปริมาณไขมัน นำไปใสในผลิตภัณฑแปรรูปเนื้อสัตวสีของผลิตภัณฑ เปนไปตามขอกําหนดของมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชนที่ เปลี่ยนไปเปนสีที่ไมคุนชิน คือสีของผลิตภัณฑมีลักษณะ กําหนดใหกุนเชียงปลาตองมีคาโปรตนี ไมน อยกวารอยละ เขมขึ้นไมเปนไปตามธรรมชาติของผลิตภัณฑดั้งเดิม และ 15 ไขมันไมเกินรอยละ 30 และ คากิจกรรมของน้ำตอง ผลิตภัณฑแปรรูปจากเนือ้ สัตวในแตละประเภททีม่ ีการใช นอยกวา 0.85 (1) ประโยชนจากลูกสำรองทดแทนไขมันมีผลตอความชอบ ของผูประเมินความชอบทางประสาทสัมผัส ดังนั้นเม่ือ เมื่อนำผลิตภัณฑกุนเชียงปลาดุกทุกสิ่งทดลอง พิจารณาเลือกใชปริมาณผงวุนลูกสำรองและไขมันหมูที่ ไปทดสอบความชอบทางประสาทสัมผัส พบวา การใชผง เหมาะสมในการผลิตภัณฑกุนเชียงปลาดุก คือ การใชกัม วุนลูกสำรองทดแทนไขมันในผลิตภัณฑท่ีเพ่ิมมากขึ้นมีผล จากลูกสำรองทดแทนไขมันหมูในอัตราสวน 3 ตอ 7 ตอความชอบดานสี กลิ่น เนื้อสัมผัส และความชอบ เนื่องจากมคี า คะแนนความชอบดา นตา ง ๆ ของผูทดสอบ โดยรวมของกลุมตัวแทนผูทดสอบชิมแตกตางกันอยางมี มากทีส่ ุด นัยสำคัญทางสถิติ (P ≤ 0.05) แตไมมีผลตอความชอบ ดานรสชาติ (ตารางที่ 5) โดยผูทดสอบชิมใหคาคะแนน สรุปผล ความชอบดานสี กลิ่น เนื้อสัมผัส และความชอบโดยรวม ในผลิตภัณฑกุนเชียงปลาที่มีการใชผงวุนลูกสำรอง การใชผงวุนลูกสำรองทดแทนไขมันใน ทดแทนไขมันในอัตราสวนรอยละ 3 มากที่สุด มีคา ผลิตภัณฑกุนเชียงปลาดุกที่อัตราสวนผงวุนลูกสำรองตอ คะแนนเทากับ 6.70, 7.13, 7.20 และ 7.37 ตามลำดับ ไขมัน คือ 3 ตอ 7 ซึ่งเปนสูตรที่ผูทดสอบชิมใหการ จะเห็นไดวาการใชลูกสำรองในผลิตภัณฑอาหารมีผลตอ ยอมรับดานสี กลิ่น เนื้อสัมผัส และความชอบโดยรวม
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 143 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) มากที่สุด โดยสูตรที่เหมาะสมนี้มีองคประกอบเบื้องตน Agriculture and Cooperatives; 2561. 59-0803- ของอาหาร คือ ปริมาณความช้ืน เถา โปรตีน ไขมัน เสน 59024. Thai. ใย และคารโบไฮเดรต เทากับรอยละ 28.29, 3.23, 27.38, 1.21 และ 20.19 ตามลำดับ สีน้ำตาลของผงวุน 4. Polsena P. Manual distinguishes between ลูกสำรองเปนปจจัยที่สำคัญที่ผลตอความชอบในทุกดาน reserve and reserve skull. Prachinburi: ของผูทดสอบชิม การเพิ่มปริมาณผงวุนลูกสำรองที่มาก Jetanaromphan LP; 2007. Thai. ขึ้นสีของผลิตภัณฑมีแนวโนมที่เขมข้ึนสงผลตอคะแนน ประเมินที่ลดลงทำใหการเพิ่มปริมาณการใชผงวุน 5. Hengsawadi D. [Healthy dietary fiber]. Food ลูกสำรองเพื่อประโยชนในการทดแทนไขมันมีขอจำกัด Journal. 2002;32(3):157-9. Thai. แนวทางที่สามารถพัฒนาการใชประโยชนจากผงวุน ลกู สำรองมากขนึ้ ในผลติ ภัณฑแ ปรรูปเน้ือสัตว คือ การนำ 6. Rattanasuwan S. Utilization of Malva Nut ผงวุนลูกสำรองไปฟอกสี หรือการเลือกใชในผลิตภัณฑ meat in chicken yor products. In: Proceeding แปรรูปอาหารอื่นที่ลักษณะสีของผลิตภัณฑที่ใกลเคียง The 3rd National Academic Conference of กับสีของผงวุนลูกสำรอง เชน ผลิตภัณฑบราวนี่เคก Phranakhon Rajabhat University on เคกช็อคโกแลต เปน ตน \"Interdisciplinary. Research for Sustainable Development: Thai Wisdom for the กติ ตกิ รรมประกาศ Advancement of ASEAN; 2012 Jul 25; Phranakhon Rajabhat University. Bangkok: ขอขอบคุณสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 2012. p. 61-7. Thai. การอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ที่สนับสนุนหองปฏิบัติการ 7. Vittayaphattananurak Raksasiri B, วิเคราะหอ งคประกอบทางกายภาพ เคมใี นการวจิ ยั ครง้ั นี้ Khiannga S. [Using of malva nut (Scaphium- MacropodumBeaum.) as a fat substitute in เอกสารอา งอิง frankfurter sausage]. Thaksin University Journal. 2012;15(3 Spec No): 157-9. Thai. 1. Thai Industrial Standards Institute. Community Product Standards Fish Sausage (CPS.104/2012). 8. Sopha B. Effect of malva Nut Gum, Salt and Bangkok: Ministry of Industry; 2012. Thai. Phosphate contents on quality characteristics of reduced fat Vienna 2. Rattanapanon N. Food Science of Fat and Sausage preserved by combined hurdle Oil. Bangkok: O.S. Printing House; 2005. Thai. factors [master’s thesis]. Khon Kaen: Khon Kaen University; 2010. Thai. 3. Seesung S, Thanasrisutarat A, Kongrat W. The Effects of Fat Replacers on Physical 9. Association of Official Analytical Chemist Properties of Fish Chinese Sausage from (AOAC). Official Method of Analysis. 16th ed. Freshwater Fish. Bangkok: Fisheries Industrial Arington Virginia: Association of Official Technology Research and Development Analytical Chemist; 1996. Division, Department of Fisheries, Ministry of 10. Chomnawang C, Nantachai K, Yongsawatdigul J, Thawornchinsombut S,
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172