144 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) Tungkawachara S. Chemical and 17. Shao JH, Zou YF, Xu XL, Wu JQ, Zhou GH. biochemical changes of hybrid catfish fillet Evaluation of structural changes in raw and stored at 4°C and its gel properties. J Food heated meat batters prepared with different chemistry. 2007;103:420–27. lipids using Raman spectroscopy. J Food Res Int. 2011;44(9):2955–61. 11. Kongpan O, Kongrat W, Siripornkitti W, Piriyangkun P. Aquaculture processing. 18. Somboonpanyakul P, Barbut S, Jantawat P, Bangkok: Fisheries Industrial Technology Chinprahast N. Textural and sensory Quality Research and Development Division, of poultry meat batters containing malva Department of Fisheries; 2015. Thai. nut gums, salt and phosphate. J LWT food science and technology. 2007;40(3):498–505. 12. Feng T, Ye R, Zhuang H, Rong Z, Fang Z, Wang Y, et al. Physicochemical properties 19. Prerdpornpan N. physicochemical property of and sensory evaluation of Mesona Blumes protein from small scale mud carp (Cirrhina gum/rice starch mixed gels as fat-substitutes microlepis) [master’s thesis]. Bangkok: in Chinese Cantonese-style sausage. J Food Kasetsart University. 2007. Thai. Res Int. 2013;50:85-93. 20. Lichanporn I, Nanthachai N, Tanganurat P, 13. Sukhasem S, Klinkajorn S. [Stabilizer agent Singkhum A, Kromnongpai P. [Effect of pectin from malva nut (scaphium scaphigerunm) in from watermelon rind on quality of roselle food products]. Thai Agricultural Research (Hibiscus sabdariffa L.) jam]. Research Journal Journal. 2017;35(1):14-30. Thai. Rajamangala University of Technology Thanyaburi. 2020;19(1):64-3. Thai. 14. Supamit W, Phusri P, Penroj P. Rheological Properties of malva nut gum. In: Proceeding 21. Juthong T, Singthong J, Boonyaputthipong of the 8th Agro Industry Symposium; 2006 W. Using Mhakjong (Scaphium macropodum) Jun 15 – 16; BITEC International Convention gel as fat replacer in Thai emulsiontype pork Center, Bang Na, Bangkok. 2006. p. 169-80. Thai. sausage (Moo Yo). Food Innovation Asia 2007 “Q” Food for Good Life; 2007 Jun 14–15; 15. Klinsukon M, Somboonpanyakul P, BITEC, Bangna, Bangkok. 2007. Laohakunjit N. [Extraction and chemical compositions of gum from malva nut seeds]. 22. Theprugsa P, Onwan N, Tongtangwong U. Agricultural Science Journal. 2009;40 [Using of scaphium macropodum beaum as (3 Suppl):333-6. Thai. fat replacer in Moo Yaw]. Food Journal. 2006;36(3):238–46. Thai. 16. Tan FJ, Liao FY, Jhan YJ, Liu DC. Effect of replacing pork backfat with yam (Dioscorea alata) on quality characteristics of Chinese sausage. J Food Engineering. 2007;79:858-63.
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 145 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) การจดั การกระบวนการฉีดพลาสตกิ กรณศี กึ ษา โรงงานผลิตชนิ้ สว นไฟฟาประเภทโคมไฟ Management of Plastic Injection Processes: A Case Study of Electric Lamp Manufacturing กนกพร พมุ แยม วรรณลักษณ เหลา ทวที รัพย และ สุพชิ ชา ชีวพฤกษ* Kanokporn Pumyaem, Wannalak Laotaweesub and Supitcha Cheevapruk* วิทยาลัยเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา พระนครเหนอื กรงุ เทพมหานคร 10800 College of Industrial Technology, King Mongkut's University of Technology North Bangkok, Bangkok 10800, THAILAND *Corresponding author e-mail: [email protected] ARTICLE INFO ABSTRACT Article history: The product quality inspection is processes of inspecting Received: 24 June, 2020 and controlling quality of the product by specifying waste Revised: 1 September, 2020 controlling standards for controlling waste proportion. When wastes Accepted: 18 January, 2021 exceeded the waste controlling standard, the inefficient process in Available online: 28 April, 2021 production must be improved. This research collected data on 2 DOI: 10.14456/rj-rmutt.2021.14 product groups which are clear plastic products with waste Keywords: waste reduction, controlling standard of less than 3 and coloured plastic products injection adjustment, plastic with waste controlling standard of less than 7%. Both groups are the injection process main production line of the company. The researcher applied 7 Wastes Theory and Quality Control Tools for data collection then analysed the root causes of the waste that occurring in the production line in order to highlight the actual waste proportion in the production line as well as set the policy for encountering excess waste by applying ECRS concept, which consisted of Eliminate, Combine, Rearrange, and Simplify, as a production processes improving guideline. After improving the production processes, the machine set up time in chasing processes reduced from average of 25 minutes to 15 minutes. Moreover, after rearranging injection
146 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) moulding machines into each product line, the waste in the injection moulding was reduced by 45.08 in clear plastic product and 60.17% in general products which resulting in the total waste proportion was being within the waste controlling standard limit. บทคดั ยอ คำสำคัญ: การลดของเสีย งานปรับฉีด กระบวนการฉีด ช้นิ งานพลาสตกิ การวิเคราะหหาสาเหตุขอบกพรองและความ ผิดพลาดของผลิตภัณฑ เปนกระบวนการตรวจสอบและ บทนำ ควบคุมคุณภาพของสินคา ดวยการกำหนดเกณฑควบคุม สัดสวนของเสีย หากเกิดของเสียเกินคาควบคุม จากการวิเคราะหอุตสาหกรรมพลาสติกไทย จำเปนตองทำการปรับปรุงกระบวนการผลิตในขั้นตอนที่ ภายในป 2562 คาดวาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑพลาสติก มี ขาดประสิทธิภาพ ในงานวิจัยนี้ทำการเก็บขอมูล อัตราการเติบโต ใกลเ คียงกบั ปท ีผ่ านมาอยูท่ี 32 เปอรเซ็นต ผลิตภัณฑ 2 กลุม คือกลุมผลิตภัณฑพลาสติกสีใสคา จากป 2561 โดยความตองการบริโภคสินคาดานอาหาร ควบคุมของเสียไมเกิน 3 เปอรเซ็นต และกลุมผลิตภัณฑ และเครื่องดื่มภายในประเทศที่มีปริมาณเพิ่มขึ้น ทำใหการ พลาสติกสีทั่วไปคาควบคุมของเสียไมเกิน 7 เปอรเซ็นต ผลิตผลิตภัณฑจากพลาสติกยังคงมีความสำคัญอยูใน ทั้งสองกลุมงานเปนกลุมผลิตภัณฑหลักที่บริษัทตัวอยาง ปจจุบัน (1) สถานประกอบมีความพยายามที่จะพัฒนา ทำการผลิต จากทฤษฎคี วามสญู เปลา 7 ประการและการ อุตสาหกรรมและเพม่ิ ศักยภาพในกระบวนการผลิตใหสงู ขนึ้ นำเครื่องมือควบคุมคุณภาพ (Qc Tools) มาใชการเก็บ เพื่อสรางความพึงพอใจใหกับลูกคาจึงมุงเนนคุณภาพใน รวบรวมขอมูล ทำการวิเคราะหหาสาเหตุปญหาของเสีย ดานความสอดคลองในกระบวนการผลิต คุณภาพในดานน้ี ที่เกิดขึ้นในสภาพการทำงานจริง เพื่อใหเห็นสัดสวน จะสงผลกระทบโดยตรงตอตนทุนการผลิต เนื่องจากใน เปอรเซ็นตของเสียที่ชัดเจน พรอมวางมาตรการแกไข กรณที ีผ่ ลิตผดิ พลาด จะตองมีการผลิตซ้ำ เพอื่ ใหผลิตภัณฑ ปญหาและเสนอแนวทางการปรับปรุงกระบวนการผลิต ครบตามจำนวนที่ตอ งการผลติ จะตอ งเสียคาใชจ า ยเพ่ิมข้ึน ดวยหลักการลดความสูญเสียตามแนวคิด ECRS ซึ่ง ในการผลติ จึงเปนผลทำใหก ระทบโดยตรงตอตน ทุน (2) ป ร ะ ก อ บ ด ว ย การกำจ ัด(Eliminate) การรวมกัน (Combine) การจัดใหม (Rearrange) และ การทำใหงาย กรณีโรงงานที่ศึกษาเปนโรงงานที่มีการผลิต (Simplify) ภายหลงั การปรบั ปรงุ การผลิตพบวาระยะเวลา แบบหมุนเวียนเปลี่ยนผลิตภัณฑอยูตลอด ไมมีการผลิตท่ี ในการตั้งเครื่องกอนเริ่มการผลิต ในขั้นตอนการไล ตายตัว และผลิตตามคำสั่งซื้อของลูกคาโดยโรงงานมีการ กระบอก เวลากอ นปรบั ปรุงอยทู ่ี 25 นาที หลงั ปรับปรงุ ใช กำหนดคาควบคุมของเสีย ไดแกก ลุมงานพลาสติกสีทั่วไป ระยะเวลา 15 นาที และจากการจัดกลุมเครื่องฉีด ของเสียไดไมเกิน 7 เปอรเซ็นต และกลุมงานพลาสติก พลาสติกตามกลุมผลิตภัณฑ พบวากลุมงานฉีดผลิตภัณฑ สีใส ของเสียไมเกิน 3 เปอรเซ็นต เมื่อมีการผลิตแบบ พลาสติกสีใสของเสียลดลง 45.08 เปอรเซ็นต และกลุม หมุนเวียนในแตละสัปดาหไมคงที่ทำใหการใชงานเครื่อง ผลติ ภณั ฑงานสที ่ัวไปของเสยี ลดลง 60.17 เปอรเซน็ ต ซึ่ง ฉีดพลาสติกมีการใชงานที่ไมเหมาะสมกับกลุมงานเชน สงผลใหปรมิ าณของเสยี อยใู นเกณฑค วบคุมทีก่ ำหนด การใชเครื่องฉีดพลาสติกตัวเดียวกัน แตเม็ดพลาสติกสีที่ ใชในกระบวนการผลิตตางกัน ทำใหผลิตภัณฑที่มีการสั่ง ผลิต เกิดขอบกพรองในตัวผลิตภัณฑซึ่งสงผลกระทบตอ องคกรในดานตนทุนแสดงไวใ นตารางที่ 1
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 147 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ตารางที่ 1 ของเสยี แตล ะประเภททงั้ กลมุ งานพลาสตกิ สีใสและกลุม งานพลาสตกิ สีทั่วไป ประเภทของเสยี ของเสีย(ชนิ้ ) งานสีใส งานสที ัว่ ไป ปรับฉดี 50,201 23,788 26,413 จดุ ดำ/จดุ สี 9,900 6,879 3,021 ฉีดชิ้นงานไมเ ตม็ 10,255 5,128 5,127 คราบไฟเบอร 8,907 2,100 6,807 ยน/ยบุ 13,400 10,304 3,096 สตี าง 9,693 4,356 5,337 รปู ที่ 1 แผนภมู แิ สดงเปอรเซน็ ตข องเสยี ทเี่ กินคาควบคมุ วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั รูปที่ 1 จะเห็นไดวาตั้งแตเดือนมกราคม- ศึกษากระบวนการฉีดช้ินงานพลาสตกิ มิถุนายนกลุมงานทั้งสองมีของเสียเกินคาควบคุม 3 เปอรเซ็นต และ 7 เปอรเซ็นต ผูวิจัยจึงมีความสนใจ ก า ร ข ึ ้ น ร ู ป พ ล า ส ต ิ ก เ พ ื ่ อ น ำ ไ ป ใ ช ง า น มี ท่ีจะศึกษาหลักการของความสูญเปลา 7 ประการ หลากหลายวิธี เชน การโดยการขึ้นรูปที่นิยมใชผลิต (7 Waste) (5) โดยมุงเนนความสูญเปลาอันเนื่องมาจาก สวนประกอบประเภทเครื่องใชไฟฟา คือ การขึ้นรูปดวย การผลิตของเสียทำการวิเคราะหหาสาเหตุโดยเลือกใช การฉีด กระบวนการเริ่มจากการใหความรอนกับเม็ด กราฟแทง (Graph) ในการแสดงของเสียพรอมเสนอ พลาสติกจนหลอมละลายแลวจึงฉีดเขาสูแมพิมพ จากน้ัน แนวทางการแกไขปญหาโดยปรับปรุงขั้นตอน ทำการปลดช้นิ งานออกจากแมพิมพถือวา เสรจ็ ส้ินในเเตละ กระบวนการฉีดพลาสติกทขี่ าดประสิทธิภาพเปนแนวทาง ค ร ั ้ ง ท ี ่ ม ี ก า ร ฉ ี ด พ ล า ส ต ิ ก จ ะ ต อ ง มี ก า ร ป ร ั บ ตั้ ง ค า เพิ่มประสิทธิภาพแกโรงงานอุตสาหกรรมโดยนําหลักการ พารามิเตอรของเครื่องฉีด ไดแก ความเร็ว ความดัน ECRS ในเรื่องของการจัดใหม (Rearrange) และการทำ อุณหภูมิ และเวลา ใหมีความเหมาะสมและสัมพันธกัน ใหงาย (Simplify) (7) มาปรับใชในการพัฒนาอยาง โดยผูที่มีความเชี่ยวชาญ เพื่อปองกันขอผิดพลาดที่อาจ ตอเนื่องเพื่อใหไดมาซึ่งความเปนเลิศทางกระบวนการ เกดิ ข้นึ (9) ผลิตถอื เปน ความสำเรจ็ ในทุกอตุ สาหกรรม (8) ในการวิเคราะหหาสาเหตุของปญหาผูวิจัยได แบงขนั้ ตอนวธิ ีการดำเนินการไว 5 ข้ันตอน ดงั ตอไปน้ี 1. ศกึ ษากระบวนการฉีดชิน้ งานพลาสตกิ การขึ้นรูปพลาสติกเพื่อใชประโยชนมีหลายวิธี เชน การขึ้นรูปที่ใชผลิตสวนประกอบประเภท เครื่องใชไฟฟา คือ การขึ้นรูปดวยการฉีด กระบวนการ เริ่มจากการใหความรอนกบั เม็ดพลาสติกจนหลอมละลาย แลวจึงฉีดเขาสูแมพิมพ จากนั้นทำการปลดชิ้นงานออก จากแมพิมพถือวาเสร็จสิ้นในเเตละครั้งที่มีการฉีด พลาสติกจะตองมีการปรับตั้งคาพารามิเตอรของ เครื่องฉีด ไดแก ความเร็ว ความคัน อุณหภูมิ และเวลา ใหมีความเหมาะสมและสัมพันธกัน เพื่อปองกัน
148 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ขอผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น (9) โดยไดแสดงกระบวนการ พลาสติก ถาหากผลิตภัณฑเกิดขอบกพรองจะถือวาเปน ฉดี ขึน้ รูป ไวด งั รปู ท่ี 2 งานเสยี ท่ีเกิดจากงานปรบั ฉดี ทันที รปู ท่ี 2 กระบวนการฉดี ขน้ึ รปู (Injection Molding) (9) 3.2 ของเสียที่เกิดจากการไลกระบอก หมายถึง ของเสียที่เกิดขึ้นในชวงระยะเวลาการไลกระบอกเครื่อง รปู ที่ 3 ตัวอยา งผลิตภณั ฑทบี่ รษิ ทั ทำการผลติ ในปจจุบัน ฉีดพลาสติก กอนทำการใชงานเครื่องฉีด หมายถึง เม็ด 2. ศึกษาสภาพการผลติ ปจจุบัน พลาสติกที่ใชในการไลกระบอก เมื่อเกิดการใหความรอน โรงงานกรณีศึกษารับผลิตสินคา ชุดอุปกรณ จะหลอมเหลวกลายเปนกอนพลาสติกที่ไมสามารถใช ประโยชนไ ด อิเล็กทรอนิกส และชิ้นงานพลาสติกประเภทตาง ๆ เชน โคมไฟ ชิ้นสวนประกอบยอ ย อีกทั้งรับเขียนแบบแมพิมพ ของเสียทเ่ี กดิ จากงานปรับฉดี ทใี่ ชใ นการผลิต สวนดานการผลติ ผลิตภัณฑจ ะหมนุ เวยี น โดยผลติ ภณั ฑที่ผลติ แสดงดงั รูปท่ี 3 ตารางที่ 2 ขอมูลของเสียที่เกิดจากงานปรับฉีดในกลุม 3. เกบ็ รวบรวมขอมูลขอเสยี ที่เกดิ จากงานปรับฉีด งานพลาสติกสีใสและกลมุ งานพลาสติกสีทั่วไป จากการเก็บขอมูลในเดือนมกราคม-มิถุนายน พ.ศ. 2562 พบของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต มี เดอื น จำนวนผลติ (ชน้ิ ) ของเสีย(ชิ้น) อัตรางานเสยี เกินคาควบคมุ ท่ีโรงงานไดกำหนดทั้งกลุมงาน พลาสติกสีใส ของเสียไมเกิน 3 เปอรเซ็นตและกลุมงาน มกราคม 197,499 7,900 พลาสติกสีทวั่ ไป ของเสียไมเกนิ 7 เปอรเซ็นตโดยของเสียท่ี พบ ผูวิจยั ไดจำแนกเปน 2 กลุม ดังน้ี กุมภาพนั ธ 211,154 9,941 3.1 ของเสียที่เกิดจากงานปรับฉีด หมายถึง ผลิตภัณฑที่ทดลองฉีดหลังจากทำการปรับตั้งเครื่องฉีด มนี าคม 247,714 5,901 เมษายน 179,439 7,370 พฤษภาคม 177,347 10,000 มถิ นุ ายน 151,852 9,089 จากตารางที่ 2 แสดงจำนวนของเสียที่เกิดจาก งานปรับฉีด จะเห็นไดวาของเสียที่เกิดจากงานปรับฉีดมี อัตรางานเสียเกิดขึ้นตั้งแตเดือนมกราคม-เดือนมิถุนายน มีอัตรางานเสียเพิ่มขึ้นตลอดระยะเวลาทั้ง 6 เดือน ผูวิจัย จึงไดเก็บลักษณะของเสียที่เกิดจากงานปรับฉีดที่มี ลักษณะงานเสียแตกตางกันไป ทั้งกลุมงานพลาสติกสีใส และกลุม งานพลาสติกสีท่ัวไป ไวด ังรปู ที่ 4 ของเสียจากการไลก ระบอก จากตารางที่ 3 แสดงขอมูลของเสียที่เกิดจาก การไลกระบอก ผูวิจัยไดทำการสอบถามพนักงานภายใน โรงงาน ในเร่ืองของการไลก ระบอก พบวา การไลก ระบอก เคร่ืองฉีดพลาสติก เปน ส่งิ ท่ตี องกระทำทุกครง้ั กอ นการใช งาน เนื่องจากเครอ่ื งฉดี ทกุ เครื่อง มีการข้ึนรปู ผลติ ภณั ฑท ่ี แตกตางกันแลวแตคำสั่งซื้อจากลูกคาวาตองการใหขึ้น ผลิตภัณฑใด เม็ดพลาสติกที่มีสีแตกตางกันในกรณีที่ตอง เปลี่ยนการขึ้นรูปผลิตภัณฑชิ้นใหม โรงงานไมสามารถที่
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 149 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) จะดำเนินการฉีดไดทันที เพราะตองทำการไลกระบอก สีใสและกลุมงานพลาสติกสีทั่วไป มีลักษณะดังรูปที่ 5 เมด็ พลาสติกเดิมท่คี างอยใู นกระบอกฉีดกอ น โดยของเสีย และ 6 ที่พบจากการไลกระบอกจะจำแนกเปนกลุมงานพลาสตกิ 4. ทำการวิเคราะหหาสาเหตุของเสียจากงาน ปรับฉีด รปู ท่ี 4 ของเสียที่เกิดจากงานปรับฉีด ตารางที่ 3 ของเสียทีเ่ กิดจากการไลกระบอก เดอื น จำนวนการผลติ เม็ดพลาสติกท่ใี ช ไลก ระบอก งานเสยี หนวย:ชิน้ หนวย:มลิ ลิกรัม หนวย:มลิ ลิกรัม หนว ย:ชิน้ มกราคม 197,499 2,333,900 201,152 7,900 1,900,455 109,500 9,941 กมุ ภาพนั ธ 211,154 900,000 157,254 5,901 1,500,780 987,560 7,370 มีนาคม 247,714 1,678,900 290,870 10,000 8,50,780 196,004 9,089 เมษายน 179,439 พฤษภาคม 177,347 มถิ ุนายน 151,825 รปู ที่ 5 ของเสียจากการไลก ระบอกพลาสติกท่วั ไป รูปท่ี 6 ของเสยี จากการไลกระบอกพลาสติกสีใส
150 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ตารางที่ 4 การจับเวลาของเสียจากการไลกระบอกกลุม งานพลาสตกิ สีท่ัวไป ลักษณะของเสียและระยะเวลาในการไลกระบอก รปู ท่ี 7 แผนภมู แิ สดงสัดสว นของเสียจากงานปรับฉีด 1:00 นาที 1:30 นาที 1:40 นาที จากรูปที่ 7 จะเห็นไดวามีของเสียจากงานปรับ 2:16 นาที 6:00 นาที 11:40 นาที ฉดี มแี นวโนม ของเสยี เพิ่มข้ึนในทุกเดือน เน่อื งจากโรงงาน มีการเปลี่ยนผลิตภัณฑตามปริมาณการสั่งผลิตของลูกคา ตารางที่ 5 การจับเวลาของเสียจากการไลกระบอกกลุม ดังนั้นการวางแผนผลิตจึงมีการเปลี่ยนแปลงทุกสัปดาห พลาสตกิ งานสใี ส โดยโรงงานจะมีการจัดทำแผนการฉีดลวงหนา 1 สัปดาห ซึ่งไมไดมีการกำหนดเครื่องฉีดพลาสติกตามกลุมงานท่ี ลกั ษณะของเสียและระยะเวลาในการไลก ระบอก ตองการฉีดเปนสาเหตุใหพนักงานตองทำการไลกระบอก เครื่องฉีดพลาสติกทุกวัน โดยกอนการใชงานจะตองมี 2:15 นาที 2:25 นาที 2:40 นาที ข้ันตอนการทำงานของพนกั งาน ดงั ตอ ไปนี้ 3:16 นาที 4:00 นาที 7:24 นาที 1. ขั้นตอนการปรับตัง้ แมพมิ พ 2. ขัน้ ตอนการปรบั ตง้ั คา พารามเิ ตอร การไลกระบอก 3. ข้นั ตอนการไลก ระบอก 4. ขน้ั ตอนการทดลองฉดี ชน้ิ งาน จากการศึกษากระบวนการไลกระบอก โรงงาน จากขั้นตอนดังกลาวพบขั้นตอนที่เปนสาเหตุ ไมมีคูมือที่ใชในการไลกระบอก พนักงานใชความ ทำใหเกิดของเสยี คือ ขั้นตอนของการไลก ระบอกเน่ืองจาก เคยชินและความรูสึกในการไลกระบอกเครื่องฉีดพลาสติก ขั้นตอนนี้เปนการไลเม็ดพลาสติกและผงสีที่ตกคางอยูใน ดังนั้นปริมาณเม็ดพลาสติกที่ใชในการไลกระบอกในแตละ กระบอกฉีดพลาสติก หากพนักงานไลก ระบอกฉีดไมส ะอาด วันจะมีปริมาณไมเทากัน ขั้นตอนการไลกระบอกจะ ก็จะสงผลใหชวงทดลองฉีดผลิตภัณฑ เกิดชิ้นงานที่มี เริ่มตนหลังจากการปรับตั้งเครื่องฉีด โดยระยะเวลาการไล ขอบกพรอ ง เชน คราบเปรอะเปอ น คราบไฟเบอร แตก ยน กระบอกจะขึ้นอยูกับผลิตภัณฑเดิมที่คางในกระบอกวา ยุบ หด จุดดำ จุดสี พนักงานจะทำการลงบันทึกโดยระบุ เปนพลาสติกสีทั่วไปหรือพลาสติกสีใส หากตองการขึ้น เปนของเสียที่เกิดจากงานปรับฉีดทั้งหมด โดยผลิตภัณฑ ตองผานการตรวจสอบจากพนักงาน จึงจะนับชิ้นงานนั้น เปนผลิตภัณฑงานดีและทำการฉีดตอ ไปจนครบจำนวนการ สั่งผลิต แตหากพบชิ้นงานที่เกิดขอบกพรองระหวางวันจะ ถูกบันทึกตามลักษณะที่เสียและไมมีการลงบันทึกวาเปน งานปรบั ฉดี
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 151 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ผลิตภัณฑชิ้นใหมที่เปนกลุมงานพลาสติกสีใส อาจจะตอง พลาสติกสีทั่วไปที่เปนงานสีดำ และโซนสุดทาย จะเปน ใชระยะเวลาในการไลกระบอกมากกวาการขึ้นผลิตภัณฑ เคร่ืองฉดี พลาสติก M6 M7 จะทำการฉีดพลาสติกในกลุม ชิ้นใหมที่เปนพลาสติกสีทั่วไป การที่ไมใชเครื่องฉีดใหตรง งานสีทั่วไปเหมือนกันแตจะมีความแตกตางกันในเรื่อง กับประเภทของกลุมงานจะทำใหระยะเวลาในการไล ของสพี ิเศษ (เขียวนีออน ชมพเู รอื งแสง เหลอื งนีออน) ซึ่ง กระบอกเพิ่มขึ้น ผูวิจัยจึงไดทำการสำรวจวิธีการไล งานในกลมุ นี้มักพบไมม าก กระบอกและจับเวลาที่ใชในการไลกระบอก ไวดังตารางที่ 4 และตารางที่ 5 2. การทำแผนเปรียบเทียบของเสียที่เกิดจาก การไลกระบอกโดยระบุระยะเวลา และลักษณะเพื่อเปน 5. นำเสนอแนวทางการแกไ ขปญหา คูมือในการไลกระบอกและงายตอการศึกษาและนำไป 1. เสนอแนวทางโดยกำหนดการใชเครื่องฉีด พัฒนาในการอบรมพนักงานที่ยังไมมีความเชี่ยวชาญใน พลาสติกใหตรงกับกลุมผลิตภัณฑจากสภาพปจจุบัน การไลกระบอกไดแนวทางการแกไขนี้ ไดนําเทคนิค โรงงานมีเครื่องฉีดพลาสติกมีจำนวน 20 เครื่องแตเปดใช ECRS มาชวยลดความสูญเปลาในกระบวนการผลิต งานตอวันวนั ละ 8 เครอื่ งตามปรมิ าณการสง่ั ผลติ ในแตละ เพื่อใหการดําเนินงานหรือการปฏิบัติงานเปนไปอยางมี สัปดาห โรงงานไมไดมีการกำหนดการใชเครื่องฉีดกับ ประสิทธิภาพ โดยหลักการ ECRS ประกอบดวย 1. การ ประเภทกลุมงานทำใหไมสามารถควบคุมของเสียได จึง กําจัด (Eliminate) เปนการกําจัดความสูญเปลาที่ไม นำเสนอแผนผังจำลองการใชงานเครื่องฉีด ไดกำหนด จําเปน หรือไมมีประโยชนออกไปจากกระบวนการ เชน กลุมงานออกเปน 2 กลุม คือกลุมงานพลาสติกสีใส และ ความสูญเปลาจากการผลิตของเสีย 2. การรวมกัน พลาสตกิ สที ั่วไปโดยทำแผนภาพจำลองไวด งั รูปที่ 8 (Combine) เปนการลดขั้นตอนของกระบวนการทำงาน ที่ไมจาํ เปนลง เชน จากเดิมมี 6 ขน้ั ตอน หลงั จากปรับปรุง รปู ท่ี 8 แสดงแผนผังการจดั กลุม เคร่อื งฉดี ลดเหลือ 5 ขั้นตอน เปนวิธีการที่ชวยประหยัดเวลาชวยให จากรูปที่ 9 แสดงเครื่องฉีดพลาสติกจำนวน รอบเวลาในการผลติ เร็วขนึ้ 8 เคร่ืองที่โรงงานไดทำการเปดใชง านในแตละวันจึงไดทำ 3. การจัดเรียงใหม (Rearrange) หากพบวามี การกำหนดการใชเครื่องฉีดพลาสติกโดยแนวทางการ วิธีการทำงานแบบเดิม ที่ทำใหเกิดความสูญเปลาเกิดข้ึน แกไขนี้ตองคำนึงถึงปริมาณการสั่งผลิตผลิตภัณฑของ ก็จะมีการปรับเปลี่ยน เชน การปรับเปลี่ยนแผนการจัด ลูกคาและวันสงสินคา โดยแบงแยกเปน 3 โซน ไดแก เครอ่ื งฉดี พลาสติก โซนที่ 1 จะเปนเครื่องฉีดพลาสติก M1 M2 M5 จะทำ การฉีดพลาสตกิ ในกลุมงานพลาสตกิ สีใส โซนท่ี 2 จะเปน 4. การทำใหงาย (Simplify) เปนการปรับปรุง เครื่องฉีดพลาสติก M3 M4 M8 จะทำการฉีดกลุมงาน วิธีการทำงานใหเกิดความสะดวกตอผูปฏิบัติงานใหมาก ขึ้นกวาเดิม (10) การสรางอุปกรณเครื่องมือเพื่อชวยให การทำงานงา ยและสะดวกรวดเร็วมากย่ิงข้ึน โดยผูวิจัยได แสดงวิธีการจัดทำแผนเปรียบเทียบของเสีย ไวดังรูปที่ 9 และ 10
152 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) รปู ที่ 9 แผนผงั แสดงขัน้ ตอนการทำแผน เปรยี บเทยี บ ผลการศึกษาและอภปิ รายผล รปู ท่ี 10 แผนเปรียบเทียบของเสียกลุมงานพลาสติกสีใส จากแนวทางการแกไข ผูวิจัยไดอภิปรายผลไว และกลุมงานพลาสติกสีทวั่ ไป ดงั นี้ แผนภมู ิแสดงการปรียบเทียบสดั สวนของเสยี ทเ่ี กดิ จากงานปรบั ฉีด 1. การนำเสนอใหมีการระบุเครื่องฉีดพลาสติก กอนและหลงั ปรับปรุง ใหตรงกับประเภทของกลุมงานทั้งกลุมงานพลาสติกสีใส และกลุมงานพลาสติกสีทั่วไป ผลพบวาของเสียที่เกิดจาก 25,000 กอนปรับปรุง งานปรับฉีดมีของเสียลดลงทั้งกลุมงานพลาสติกสีใสและ กลุมงานพลาสติกสีทั่วไป เมื่อเครื่องฉีดไมไดมีการ ํจานวนช้ินงาน 20,000 ปนเปอ นจากเม็ดพลาสติกตางชนิดกนั จงึ ทำใหผลิตภัณฑที่ ถกู ฉีดทดลองเกดิ ขอบกพรองนอยลง จากเดมิ ดงั รูปท่ี 11 15,000 หลงั ปรบั ปรุง จากรูปที่ 11 พบวากอนทำการปรับปรุงมีการ 10,000 กอนปรบั ปรงุ ผลิตผลิตภัณฑ ทั้งหมด จำนวน 317,400 ช้นิ พบผลติ ภณั ฑ 5,000 หลังปรบั ปรงุ ที่เสียจากงานปรับฉีด จำนวน 22,414 ชิ้น คิดเปน 7.06 เปอรเซ็นตของงานทผี่ ลิตทั้งหมด โดยของเสยี จากงาน 0 กลุมงานสใี ส กลุม งานสที ั่วไป ปรับฉีด แบงเปนกลุมงานพลาสติกสีใสจำนวน 1,985 ช้ิน 1,985 20,429 และ กลมุ งานพลาสตกิ สที วั่ ไปจำนวน 20,459 ชิ้น กอ นปรับปรงุ หลังปรับปรุง 1,090 8,136 หลงั ปรบั ปรงุ ผูวจิ ัยไดทำการระบุเคร่อื งฉีดใหตรง เปอรเซน็ ตท่ลี ดลง กับประเภทของงานโดยกลุมงานพลาสติกสีใสไดถูกระบุให 45.08% 60.17% ฉีดในเครื่องฉีดหมายเลข 1 2 5 และกลุมงานพลาสติกสี ทั่วไป ระบุใหฉีด เครื่องฉีดหมายเลข 3 4 8 แตกลุมงานที่ รปู ที่ 11 การเปรียบเทียบสัดสวนของเสียที่ เกิดจากงาน ไมพบในเดือนที่ทำการแกไขปรับปรุง คือกลุมงานพลาสตกิ ปรบั ฉดี กอ นและหลงั ปรับปรุง สีทั่วไป ที่เปนสี ตลอดระยะเวลาเก็บผล 1 เดือนพบวาของ เสียที่เกิดจากการปรับฉีดหลังปรับปรุงมีของเสียเพียง 9,226 ช้ิน คิดเปน 6.21 เปอรเซ็นตข องผลิตภัณฑท ี่ทำการ ผลิต แบงเปนกลุมงานพลาสติกสีใส 1,090 ชิ้น คิดเปน 11.80 เปอรเซ็นตของจำนวนชิ้นงานที่เสีย และเมื่อเทียบ กับกอนปรับปรุงสามารถลดของเสียในกลุมงานพลาสติกสี ใสไดถ งึ 45.08 เปอรเ ซ็นตแ ละ ผลิตภัณฑกลุมงานพลาสตกิ สีทั่วไป ของเสีย 8,136 ชิ้น คิดเปน 88.18 เปอรเซ็นตของ จำนวนชิ้นงานที่เสียและเมื่อเทียบกับกอนปรับปรุง สามารถลดของเสียในกลุมงานพลาสติกสีทั่วไปไดถึง 60.17 เปอรเซน็ ต จากผลดังกลาวจะเห็นไดวาวิธีการที่ไดเสนอให มีการจัดกลุมเครื่องฉีดใหตรงกับประเภทของกลุมงาน เปนการลดความสูญเสียในกระบวนการฉีดพลาสติกใน
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 153 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) เรื่องของการผลิตของเสีย (Defect) (11) อันเนื่องมาจาก แผนภูมิแสดงการเปรยี บเทยี บเมด็ พลาสติกทใี่ ชในการไลก ระบอก การใชงานเครื่องจักรไมเหมาะสมซึ่งความสูญเสียน้ี กอ น-หลังปรบั ปรงุ สามารถสงผลกระทบตอผูประกอบการในดานของตนทุน ทางวัตถุดิบในการผลิตซ้ำและระยะเวลาที่ตองเสียไปใน กอนปรับปรุง การผลิตซ้ำ หากโรงงานสามารถควบคุมของเสียให เกดิ ขึ้นนอยท่ีสดุ ไดและมีเปอรเซน็ ตของเสียอยูในเกณฑท่ี 80,000 กำหนด ก็จะเปนแนวในการพัฒนาในเรื่องของ กระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพในอุตสาหกรรม 70,000 พลาสติกตอไป และยังสามารถนำไปปรับใชกับ อุตสาหกรรมแขนงตาง ๆ ได ผูวิจัยไดเก็บภาพเพื่อแสดง ิมล ิลก ัรม 60,000 หลงั ปรับปรุง ใหเห็นถึงความแตกตางของปริมาณของเสียเปรียบเทียบ 50,000 กอนปรับปรงุ ของเสียสะสมภายในระยะ เวลา 1 สปั ดาห ไวดังตารางท่ี 6 40,000 ตารางท่ี 6 ของเสยี สะสมภายในระยะเวลา 1 สปั ดาห 30,000 หลังปรับปรงุ ของเสียทสี่ ะสมภายในระยะ 1 สปั ดาหก อ นปรบั ปรงุ 20,000 วันท่ี 1 วนั ที่ 3 วนั ที่ 5 ของเสียทส่ี ะสมภายในระยะ 1 สปั ดาหห ลงั ปรบั ปรุง 10,000 วันที่ 1 วันท่ี 3 วนั ที่ 5 0 เม็ดพลาสติกสีทว่ั ไป เม็ดพลาสติกสีใส 2. การทำแผนเปรียบเทียบของเสียที่เกิดจาก การไลกระบอกพบวาพนักงานใชระยะเวลาในการไล กอ นปรับปรุง 25,524 75,148 กระบอกนอยลงหลังจากไดดูแผนเปรียบเทียบที่ไดจัดทำ ขึ้นและการใชเม็ดพลาสติกในการไลกระบอกลดนอยลง หลงั ปรบั ปรุง 12,178 33,401 ดังรปู ท่ี 12 เปอรเซ็นตท ี่ลดลง 52.28% 55.55% รูปที่ 12 การเปรียบเทียบสัดสวนเม็ดพลาสติกที่ใชใน การไลกระบอกกอน-หลังปรับปรงุ แสดงปริมาณเม็ดพลาสติกที่ใชไลกระบอกกอน ปรับปรุง และ หลังปรับปรุง โดยกอนปรับปรุงมีการ ใชเม็ดพลาสติกในการผลิต จำนวน 13,549,162 มิลลิกรัม นำไปใชในการไลกระบอกเครื่องฉีดจำนวน 100,672 มิลลิกรัม คิดเปน 0.74 เปอรเซ็นตของเม็ด พลาสติกที่ใชในการผลิต โดยแบงเปนเม็ดพลาสติก สีใส 25,524 มิลลิกรัม และเม็ดพลาสติกสีทั่วไป 75,118 มิลลิกรัมจากระยะเวลาในการเก็บผล พบวาเม็ด พลาสติกสีทั่วไปมีปริมาณการใชไลกระบอกมากกวาเม็ด พลาสติกสีใสเพราะมีการสั่งผลิตในกลุมงานพลาสติกสี ทั่วไปมากกวากลุมงานพลาสติกสีใส โดยงานทั้ง 2 กลุมนี้ จำเปนตองมีการไลกระบอกทุกครั้ง ทำใหมีการสูญเสยี เม็ด พลาสติกไปในการไลก ระบอก หลงั ทำการปรบั ปรงุ ผลพบวาหลังทำการปรับปรุงมีการใชเม็ด พลาสติกในการผลิตจำนวน 6,221,968 มิลลิกรัม ถูก นำไปใชในใชในการไลกระบอกเครื่องฉีด 45,579 มิลลิกรัม คิดเปน 0.73 เปอรเซ็นตของเม็ดพลาสติกที่ใชในการผลิต แบงเปนเม็ดพลาสติกสีใส หลังทำการปรับปรุงใชไปเพียง 12,178 มิลลิกรัมและเมื่อเทียบกับกอนปรับปรุงใชเม็ด พลาสติกสีใสไป 25,524 มิลลิกรัม เทียบเปนสัดสวนท่ี ลดลงไปถึง 52.28 เปอรเซ็นต และเม็ดพลาสติกสีทั่วไป หลังปรับปรุงใชเพียง 33,401 มิลลิกรัม เมื่อเทียบกับกอน ปรับปรุง 75,148 มิลลิกรัม เทียบเปนสัดสวนที่ลดลงไปถึง 55.55 เปอรเ ซน็ ตการลดของเสียในกระบวนการผลิตท่ีนยิ ม ใชกันในอุตสาหกรรมกันอยางแพรหลาย ซึ่งพื้นฐานสาเหตุ
154 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ของความผิดพลาดจนเกิดของเสีย อีกประการหนึ่งนั้นคือ จากตารางที่ 7 แสดงการลักษณะของเสยี ที่เกิด ความผิดพลาดของพนักงาน (Human Error) ถาหาก จากการไลกระบอกและระยะเวลาที่ใชในการไลกระบอก พนักงานเกิดความเขาใจในสิ่งที่ผิดพลาดในเรื่องของ ผูวิจัยไดทำการเก็บผลกอนปรับปรุงโดยพนักงานใช ขอบกพรองและสาเหตุที่สัมพันธกัน และเขาใจกลไกลการ ระยะเวลาในชวงไลกระบอก 26:18 นาที ซึ่งโรงงานจะมี ปองกันความผิดพลาดที่เกิดขึ้น จะทำโรงงานมีขั้นตอนใน นโยบายในการปรับตั้งเครื่องจักรและทำการทดลองฉีด การปรับปรุงประสิทธิภาพไดดีมากขึ้น พรอมทั้งเปนการ ผลิตภัณฑ โดยมีระยะเวลาที่กำหนดคือ 30 นาที น่ัน พัฒนาบุคลากรใหม ๆ ภายในโรงงาน วิธีการที่ไดนำเสนอ หมายถึง ระยะเวลา 08:30-09:00 นาที จึงเริ่มฉีด ในการจัดทำแผนเปรยี บเทียบของเสยี สามารถนำไปพฒั นา ผลิตภัณฑ และหลังปรับปรุงใชระยะเวลา 15 นาที ตอไปในการใชขอมูลสวนดังกลาวนำไปจัดทำเปนคูมือ จำนวนครั้งการไลกระบอกลดนอยลงเหลือเพียง 4 คร้ัง เพื่อใหผูประกอบการไดนำไปใช ในการอบรมแกพนักงงาน นอกจากนี้ กลุมงานพลาสติกสีทั่วไป พนักงานก็ไดใช ของโรงงานตอ ไป นอกจากจะสามารภควบคมุ ของเสียท่ีเกดิ ระยะเวลาในการไลก ระบอกนอ ยลง เชนกนั จากการผลิตไดแลว เรายังสามารถพัฒนาศักยภาพของ พนกั งาน ในการทำงานใหเ กิดประโยชนส ูงสดุ อกี ดวย ตารางที่ 8 ลักษณะของเสยี ทเ่ี กิดจากการไลก ระบอก ตารางท่ี 7 ลกั ษณะของเสยี ทเี่ กิดจากการไลกระบอกสีใส กอนปรบั ปรงุ กอ นปรบั ปรงุ ใชระยะเวลา 21:20 นาที จำนวนครงั้ ทไี่ ลกระบอก 6 ครงั้ ใชระยะเวลา 26:18 นาที จำนวนครง้ั ทไี่ ลกระบอก 6 ครงั้ ใชร ะยะเวลา 15:00 นาที จำนวนคร้ังท่ีไลกระบอก 4 ครง้ั ใชร ะยะเวลา 12:80 นาที จำนวนคร้งั ท่ีไลกระบอก 4 ครงั้ จากตารางท่ี 8 แสดงการลักษณะของเสยี ที่เกิด จากการไลกระบอกและระยะเวลาที่ใชในการไลกระบอก โดยระยะเวลา กอนทำการปรับปรุงใชเวลา 20:10 นาที
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 155 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) และหลังปรับปรุงใชระยะเวลา 12:80 นาที จำนวนครั้ง ใหพนักงานไดใชสังเกตลักษณะของเสียที่ออกมาจากการ การไลก ระบอกลดนอยลงเหลือเพียง 4 ครั้ง ไลกระบอกทจ่ี ะสามารถบง บอกความพรอมในการทำงาน ของเครื่องฉีดพลาสตกิ ดว ยวิธีการนี้ไดนำหลัก ECRS เปน สรปุ ผล ขั้นตอนการปรับปรุงประสิทธิภาพของงานใหดีขึ้นโดย เลือกใชหลักการทำใหงาย (Simplify) โดยการสราง จากการศึกษาปญหาตั้งแตเดือนมกราคม อุปกรณที่ชวยใหงายขึ้นตอการทำงาน นั้นคือแผน ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2562 พบวา มีของเสียที่เกิดจากงาน เปรียบเทียบ ผลพบวาพนักงานสามารถใชระยะเวลาใน ปรับฉีดในข้ันตอนการไลก ระบอก มปี รมิ าณมาก ผลิตภัณฑ การไลกระบอกไดเร็วขึน้ จากกอนปรับปรุงอยูที่ 20-25 นาที เสียเกินคาควบคุม โดยผูวิจัยใชกราฟในการเปรียบเทียบ หลังปรับปรุงใชระยะเวลา 10 - 15 นาที สงผลใหเร่ิม สัดสวนของเสีย โดยสามารถจำแนกของเสียได 2 แบบ คือ ผลิตไดเ รว็ ข้ึนจากเดิมเปนเวลา 10 นาที ของเสียที่เกิดจากงานปรับฉีด คือ ผลิตภัณฑที่ทำการ ทดลองฉีดหลังปรับตั้งเครื่องฉีด และของเสียที่เกิดจากการ กิตตกิ รรมประกาศ ไลกระบอก คือ เม็ดพลาสติกที่ใชไลกระบอกเม่ือ หลอมเหลวจะกลายเปนกอนพลาสติกแข็งที่ไมสามารถใช ขอขอบคุณ บริษัท บีทีพี อุตสาหกรรม จำกัด ประโยชนได ผลการดำเนินการแกไ ขปญ หาดังน้ี และพนักงานฝายผลิตของบริษัททุกทาน ที่ใหความ อนุเคราะหขอมูลและทดลองปรับปรุงการผลิตตามแผน 1. เมื่อทำการระบุเครื่องฉีดพลาสติกใหตรงกับ งานวจิ ยั นี้ ประเภทของกลุมผลิตภัณฑ พบวาของเสียจากงานปรับ ฉีด หลังทำการปรับปรุง ของเสียมีสัดสวนลดลง จากของ เอกสารอา งอิง เสียรวมจำนวน 9,226 ชิ้นแบงเปนของเสียที่เกิดจากงาน ปรับฉีดในกลุมงานพลาสติกสีใสจำนวน 1,090 ชิ้นและ 1. Center for Business and Economic Research for กลุมงานพลาสติกสีทั่วไปจำนวน 8,136 ชิ้น จากขอมูล Plastic Industry Foundations. Plastic industry ดังกลาวคิดเปนเปอรเซ็นตของเสียที่ลดลงทั้งกลุม 2018-2019 [Internet]. 2018 [cited 2018 Dec 12]. พลาสติกสีใสและสีท่ัวไปลดลงไป 58.83 เปอรเซ็นต โดย Availability from: https://www.gsb.or.th/ กลุมงานพลาสติกสีใสลดลงไป 45.08 เปอรเซ็นต และ getattachment/52ccb027-2b2c-4930-bf0c- กลุมงานทั่วไปลดลงไป 60.17 เปอรเซ็นตนอกจากนั้นผล 87da88b0976a/plastic_61_62.aspx. Thai. ที่ไดตามมาคือการใชเม็ดพลาสติกในการไลกระบอกลด นอยลง เพราะไมไดมีการปรับเปลีย่ นเครื่องฉีด ทำใหการ 2. Srirattanaphan N. Waste Reduction in Forming ไลกระบอกงายขึ้น กอนทำการปรับปรุงการไลกระบอก Foam Car Seat Process: Case Study at an ใชเม็ดพลาสติกสีใสไปทั้งหมด 21,324 มิลลิกรัม และ Example Factory [master’s thesis]. Pathumthani: หลังปรับปรุงใชไป 12,178 มิลลิกรัม คิดเปนเปอรเซ็นต Rajamangala University of Technology การใชเม็ดพลาสติกลดลง 52.28 เปอรเซ็นต และ Thanyaburi; 2016. Thai. พลาสติกสีท่ัวไปใชเม็ดพลาสติก 75,148 มิลลิกรัม หลัง ปรับปรุงใชเม็ดพลาสติก33,401 มิลลิกรัม คิดเปน 3. Nakayoshi N. Waste reduction in the เปอรเ ซน็ ตก ารใชเ ม็ดพลาสตกิ ลดลง 55.55 เปอรเ ซ็นต production process to zero. 6th ed. Bangkok: Technology Promotion Association (Thailand- 2. ในการจัดทำแผนเปรียบเทียบของเสียที่เกิด Japan); 2009. Thai. จากการไลกระบอกโดยมีการระบุระยะเวลาและอุณหภูมิ
156 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) 4. Thamchaisopit P. Efficience Enhancement of 11. Homsri P, kongtana j. [ Defects Reduction in Production Process for Electronic Industry by the process of automotive injection plastic Using Lean Manufacturing [master’s thesis]. part by using Design of Experiment (DOE)]. Chon Buri: Burapha University; 2016. Thai. Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi. 2016;16(6):11-28. Thai. 5. Chearatharavanich P, Wattanasangsut A, Teekasap S, Saelem S. [Quality control tools application for waste reduction in voice coil production line]. Kasetsart University Kamphaeng Saen. 2006;4(1):101-9. Thai. 6. Poonsawat. ( Increasing Work Efficiency of Export Document Department: A Case Study of Agent Liner in Laem Chabang Zone [master’s thesis]. Chon Buri: Burapha University; 2016. Thai. 7. Sunarak T. Improving the efficiency of production line: A case study of magnetic coil production line [master’s thesis]. Bangkok: Mahanakorn University of Technology; 2016. Thai. 8. Ridkheaw P. [Design of experiment to reduce Waste in chrome coated mirror]. Journal of Engineering, RMUTT. 2012;10(1):25-32. Thai. 9. Phuengsook P, Rungruang-Anan W. [Defect reduction in injection process a case study of a washing machine by design of experiment]. Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi. 2012;10(1):33-9. Thai. 10. Wajanawichakon K. [ Waste reduction for efficiency improvement in broom production processes: A case study of community enterprise Bung Wai, Ubon Ratchathani]. UBU Engineering Journal. 2020;13(1):141-51. Thai.
157 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) การพฒั นาระบบแสดงผลภาพเพอื่ วเิ คราะหป์ ริมาณฝนุ่ อนภุ าคขนาดเล็ก 2.5 ไมโครเมตร (PM2.5) ในเขตพ้ืนทกี่ รุงเทพมหานคร Development of Data Visualization for Particulate Matter 2.5 micrometers Analysis in Bangkok วันมงคล พิกุลแย้ม1 ปราลี มณรี ตั น์1 และ นเิ วศ จริ ะวิชติ ชัย2* Wunmongkol Pikulyam1, Paralee Maneerat1 and Nivet Chirawichitchai2* 1คณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ ถนนพหลโยธนิ เขตจตจุ ัตร กรุงเทพมหานคร 2คณะวศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันการจัดการปญั ญาภวิ ัฒน์ ถนนแจง้ วฒั นะ เขตปากเกรด็ นนทบรุ ี 1School of Information Technology, Sripatum University, Phahon Yothin, Chatuchak, Bangkok 10900, THAILAND 2Faculty of Engineering and Technology, Panyapiwat Institute of Management, Chaengwattana Pakkred, Nonthaburi 11120, THAILAND *Corresponding author e-mail: [email protected] ARTICLE INFO ABSTRACT Article history: Annual data of the Pollution Control Department of PM dust Received: 4 August, 2020 2.5 is an increase in volumes indicating problem air quality. The Revised: 7 September, 2020 problem is different and more complex. Therefore, it has to be Accepted: 30 October, 2020 analyzed to identify the cause in order to resolve the problem more Available online: 31 May, 2021 precisely and efficiently. This research purposes data analytics and DOI: 10.14456/rj-rmutt.2021.15 visualization system for particle dust particle size determination of Keywords: data analytics, data 2.5 micrometers (PM2.5) in Bangkok using visualization technique visualization, PM2.5 with R programming language and Mysql database. The system can display quantitative information that can be measured in many forms such as numbers, diagrams and graphs as well as being interesting, easy to understand, and provide clarity in analysis. The implementation of this research has collected data from the Pollution Control Department and the Bangkok PM 2 . 5 database, which monitors the air quality of Thailand to assess the situation of air quality and alert the case of pollution exceeding the standard.
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 158 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) The experimental and evaluation of satisfaction by user found that users were satisfied with the program at a good level. The system was analyzed to support the work of data analytic and visualization for users effectively. บทคดั ย่อ คำสำคัญ: การวิเคราะห์ข้อมูล การแสดงผลภาพ ฝนุ่ อนุภาคขนาดเล็ก 2.5 ไมโครเมตร ข้อมูลของกรมควบค ุมมลพิษประจำปี สถานการณ์ของปริมาณฝุ่น PM2.5 มีแนวโน้มที่จะมี บทนำ ปริมาณเพิ่มขึ้น ซึ่งแสดงถึงคุณภาพของอากาศที่ยังเป็น ปัญหาที่ต้องแก้ไขอย่างเร่งด่วน เนื่องจากสภาพปัญหาที่ ปัจจุบันมลพิษทางอากาศนับวา่ เปน็ ปัญหาหลกั แตกต่างกันจากเดิมและมีความซับซ้อนมากขึ้น จึงต้อง ท่สี ำคญั ของประเทศไทยและนับวันยิ่งทวคี วามรุนแรงมาก วิเคราะห์ใหท้ ราบสาเหตุทีช่ ัดเจน เพือ่ ทจ่ี ะดำเนนิ การแก้ไข ขึ้น ทางรัฐบาลให้ความสำคัญเป็นอย่างมากและได้ ปัญหาได้อย่างตรงจุดและมีประสิทธิภาพมากขึ้น งานวิจัย ดำเนินการหาวิธีการต่างๆเพื่อที่จะทำการแก้ไขปัญหา นี้ผู้วิจัยได้นำเสนอการพัฒนาระบบแสดงผลภาพเพื่อ ดังกล่าว โดยเฉพาะฝุ่นอนุภาคขนาดเล็กที ่ มี วิเคราะห์ปริมาณฝุ่นอนุภาคขนาดเล็ก 2.5 ไมโครเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 2.5 ไมโครเมตร ซึ่งสาเหตุ (PM2.5) ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยใช้เทคนิคดาต้า ต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดฝุ่นอนุภาคขนาดเล็กที่มีเส้นผ่าน วิชวลไลเซชั่นด้วยภาษา R และใช้ฐานข้อมูล Mysql ศูนย์กลางน้อยกว่า 2.5 ไมโครเมตร นั้นเกิดจากการเผา สามารถแสดงข้อมูลในเชิงปริมาณที่วัดได้หลายรูปแบบ ขยะ การเผาป่า การเผาไหม้ไอเสียของเครื่องยนต์จาก เช่น ตัวเลข แผนภาพ และกราฟต่าง ๆ อีกทั้งมีความ รถยนต์หลายประเภท ไอเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม นา่ สนใจ ดูแลว้ เขา้ ใจง่าย และทำให้เกิดความชดั เจนในการ และ การก่อสร้างต่าง ๆ ซึ่งเมื่อฝุ่นอนุภาคขนาดเล็กท่ีมี วิเคราะห์ การดำเนินงานของงานวิจัยนี้ มีการเก็บรวมรวบ เส้นผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า 2.5 ไมโครเมตร ที่เกิดจาก ข้อมูลหลังจากกรมควบคุมมลพิษกับฐานข้อมูล Bangkok สาเหตุต่าง ๆ ทไี่ ด้กลา่ วมานัน้ ฟุ้งกระจายปะปนกับอากาศ PM2.5 ที่ดำเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศของ และมีปริมาณมากเกินค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศ ทำให้ ประเทศไทย เพื่อประเมินสถานการณ์คุณภาพอากาศเฝ้า ประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หายใจเอาฝุ่นอนุภาคขนาด ระวังและแจ้งเตือนกรณีพบปริมาณสารมลพิษเกินค่า เล็กทม่ี เี สน้ ผา่ นศนู ย์กลางน้อยกว่า 2.5 ไมโครเมตร เข้าไป มาตรฐาน ผลการทดสอบประสิทธิภาพความพึงพอใจของ ได้โดยง่าย และเมื่อมีปริมาณฝุ่นอนุภาคขนาดเล็กที่มีเสน้ ผใู้ ชง้ านระบบแสดงผลภาพเพ่ือวเิ คราะห์ปริมาณฝุ่น พบว่า ผ่านศูนย์กลางน้อยกว่า 2.5 ไมโครเมตร เข้าสู่ร่างกายใน ผใู้ ชง้ านมีความพึงพอใจด้านความสามารถของระบบ ความ ปริมาณที่สูงมากจะส่งผลให้เกิดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง เช่น ถูกต้องของระบบ และ การใช้งานของระบบ เพื่อนำไป โรคหลอดเลือดในสมอง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคมะเร็ง วิเคราะห์วิเคราะห์ปริมาณฝุ่นอนุภาคขนาดเล็ก 2.5 อยู่ใน ปอด โรคหัวใจขาดเลือด โรคติดเชื้อเฉียบพลัน ในระบบ ระดับดี จึงสรุปไดว้ ่าระบบงานนี้ สามารถวิเคราะหป์ ริมาณ ทางเดินหายใจส่วนล่าง การรับทราบข้อมูลของคุณภาพ ฝุ่นอนุภาคขนาดเล็กเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้ใช้ อากาศล่วงหนา้ จึงเปน็ ส่งิ ทส่ี ำคญั (1, 2) ระบบได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ในงานวิจัยนี้เป็นการวิเคราะห์วิจัยปริมาณ ฝุ่นอนุภาคขนาดเล็กที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 2.5 ไมโครเมตร ที่เกิดขึ้นในพื้นที่กรุงเทพหานคร ซึ่งเป็น
159 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) มหานครที่มีประชาชนอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากเป็น คำนวณคา่ เพื่อทำการพยากรณก์ ารเกดิ PM2.5 ในงานวิจยั อันดับหนึ่งของประเทศไทย ปัจจุบันกรุงเทพมหานครอยู่ นี้ทำการพัฒนาระบบรับข้อมูลจากเครื่องมือวัดสภาพ ในชว่ งท่ีกำลังพัฒนาเมือง จึงมีการกอ่ สร้างจำนวนมากไม่ อากาศที่ได้มานั้นแล้วทำการเก็บเข้าระบบฐานข้อมูลและ ว่าจะเป็นการสร้างที่อยู่อาศัย การสร้างระบบขนส่ง นำมาคำนวณด้วยโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อทำการ มวลชน ยังมีการคมนาคมคับคั่ง มีการใช้ยานพาหนะ พยากรณค์ า่ ปริมาณ PM2.5 ทจ่ี ะเกดิ ขึน้ และแสดงผลภาพ ส่วนตัวเป็นจำนวนมาก และแนวโนม้ ของการเพิ่มจำนวน เชิงปฏิสัมพันธ์ของ PM2.5 ด้วยเทคโนโลยีวิชวลไลเซช่ัน รถยนต์ส่วนบุคคลประเภทต่าง ๆ มากขึ้นทุกปี ล้วนเป็น (Visualization) จงึ สามารถแสดงข้อมูลในเชงิ ปริมาณท่ีวัด สาเหตหุ ลักที่ทำใหเ้ กิด PM2.5 เป็นฝุ่นที่ก่อปัญหามลพษิ ได้หลายรูปแบบ เช่น ตัวเลข แผนภาพ 2 มิติ 3 มิติ และ ทางอากาศให้กับกรุงเทพมหานคร โดย PM2.5 ได้สะสม กราฟตา่ ง ๆ ที่มีปฏสิ ัมพนั ธ์ตอ่ ผใู้ ชง้ านเปน็ อย่างมากท้ังยัง อยู่ในชั้นบรรยากาศนั้นมีอยู่ในระดับที่เกินค่ามาตรฐาน มีความน่าสนใจ ดูแล้วเข้าใจง่าย และทำให้เกิดความ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนทั้งทางตรงและ ชัดเจน และเป็นการแก้ปัญหาความซำ้ ซอ้ น ลดระยะเวลา ทางออ้ ม การเข้าถึงข้อมูล การสร้างภาพวิชวลไลเซชั่นในประเด็น สำคัญวิธีการให้ปฏิสัมพันธ์กับข้อมูล เทคนิคการสร้าง ตารางที่ 1 ค่าความเข้มข้นของสารมลพิษทางอากาศที่ ภาพวิชวลไลเซชั่นสามารถแบ่งออกเป็นประเภทหรือ หมวดหมูต่ ามชนดิ ข้อมลู ทั้งน้ขี ึน้ อยู่กับปจั จัยในการเลือก เทียบเท่ากบั ค่าดชั นีคุณภาพอากาศ (1, 2) เทคนคิ การสร้างภาพวิชวลไลเซช่ัน จำนวนของแอตทริบิวต์ หรือมิติ ปริมาณข้อมูลหรือจำนวนข้อมูล คุณภาพหรือ QI PM2.5 PM10 หมวดหมูข่ ้อมูล การสร้างภาพวิชวลไลเซชั่น จัดเป็นชนดิ ของงานเปน็ อีกแง่มุมในการพจิ ารณาจำแนกประเภทหรือ (มคก./ลบ.ม.) (มคก./ลบ.ม.) หมวดหมู่ของเทคนิคการสร้างภาพวิชวลไลเซชั่นหรือการ วิเคราะห์ข้อมูลให้บรรลุเป้าหมายด้วยวิธีการนำเสนอ 0 - 25 0 - 25 0 - 50 ข้อมูลเป็นกราฟิก โดยพิจารณาจากงานที่มีความสำคัญ เป็นหลัก รวมถึงการมีปฏิสัมพันธ์ของข้อมูลกันระหว่าง 26 - 50 26 - 37 51 - 80 การวิเคราะหแ์ ละการแสดงผล (3, 4) 51 - 100 38 - 50 81 - 120 เมื่อได้มีการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า งานวจิ ัยของ ฐิฏาพร และคณะ (5) ไดศ้ ึกษาการนำค่าฝุ่น 101 - 200 51 - 90 121 - 180 ละอองขนาดเลก็ PM10 และ PM2.5 เฉลี่ยรายวันทว่ี ัดได้ จากเครื่องวัดฝุ่นละอองขนาดเล็ก Dust DETEC มา มากกวา่ 200 91 ขึ้นไป 181 ข้นึ ไป เปรียบเทียบกับข้อมูลจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ กรมควบคุม พบว่าขอ้ มลู ท่ีไดม้ ีแนวโนม้ ทีใ่ กลเ้ คยี งกนั และ จากข้อมูลของกรมควบคุมมลพิษประจำปี เมื่อนำข้อมูลฝุ่นละอองขนาดเล็กจากเครื่องวัดฝุ่นละออง สถานการณ์ของ PM2.5 มีแนวโน้มที่จะมีปริมาณเพิ่มข้ึน Dust DETEC เปรียบเทียบกับข้อมูลจากกรมควบคุม ซึ่งแสดงถึงคุณภาพของอากาศทีย่ ังเป็นปัญหาที่ต้องแก้ไข มลพิษและปริมาณจุดความร้อน พบว่ามีแนวโน้มเป็นไป อย่างเร่งด่วน ซึ่งมีปัญหาที่แตกต่างกันจากเดิม และมี ในทิศทางเดียวกันคือหากช่วงทีม่ ีปริมาณจุดความร้อนสงู ความซับซ้อน จึงต้องวิเคราะห์ให้ทราบสาเหตุที่ชัดเจน เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขปัญหาได้อย่างตรงจุดและมี ประสิทธิภาพมากขึน้ ในปัจจบุ ันมเี ทคโนโลยที ่ีหลากหลาย เพือ่ ชว่ ยในการเก็บขอ้ มูล ในงานวิจยั นจ้ี ะทำการเกบ็ ข้อมลู จากเครื่องมือวัดสภาพอากาศที่สามารถวัดค่า PM2.5 เครื่องมือวัดสภาพอากาศยังสามารถวัดค่า PM1.0 ค่า แรงลม ค่าความชื้นสัมพัทธ์ และค่าก๊าซต่าง รวมถึง ค่าพารามิเตอร์อน่ื ๆ ทท่ี ้งั หมดทก่ี ล่าวมานั้นล้วนจัดปัจจัย ให้เกดิ ปริมาณฝุน่ PM2.5 เมือ่ นำคา่ พารามิเตอรต์ ่าง ๆ มา
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 160 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) ก็จะส่งผลให้ค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 และ PM10 ภาษา R จัดเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาหนึ่งท่ี สงู ข้ึนตามไปดว้ ย เป็นที่ใช้คำนวณทางสถิติ เพราะเป็นโปรแกรมโอเพนซอรท์ (Open Source) ที่ใช้งานได้ฟรี รองรับระบบปฏิบัติการ งานวิจัยของ อิสระ (6) ได้ศึกษาการกระจาย หลายระบบ ปฏิบตั กิ ารทั้ง Windows Mac OS หรือ Linux ความเข้มข้นฝุ่นละอองเชิงพื้นที่ (Spatial Distribution) โดยการทำงานของ R ท่ีนิยมเนอ่ื งจากมี built-in function ในกรุงเทพมหานคร เป็นประโยชน์ในการประเมิน ทางด้านสถิตที่มีปริมาณมาก รวมถึง สถิติที่ใช้ในการ สถานการณ์คุณภาพอากาศ ดังแสดงในภาพการประเมนิ วเิ คราะหข์ ้อมูลขนาดใหญ่ และมีความสามารถแสดงผลการ PM2.5 เฉลี่ยรายปี 2560 จากโครงการ การจัดทำแผนท่ี ทำงานในรูปแบบกราฟ สามารถประมวลผลได้รวดเร็ว จึง สถานการณ์มลพิษทางอากาศของประเทศไทย ปี 2560 ได้รับความนิยม โดยเฉพาะการใช้งานด้านการวิเคราะห์ โดยใช้ ภาพถ่ายดาวเทียมของกรมควบคมุ มลพิษ จะเหน็ ขอ้ มูล (Data Analytics) (8, 9) ได้ว่าพื้นที่ที่มีความเข้มข้น PM2.5 สูงสุดได้แก่ พื้นที่ใจ กลางกรุงเทพฯ และพื้นที่บริเวณชานเมืองทิศ จากปัญหา การทบทวนทฤษฎีและงานวิจัยท่ี ตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ ในช่วงฤดูลมมรสุม เกี่ยวข้องดังกล่าว จึงเป็นที่มาของงานวิจัยน้ี โดยมี ตะวันออกเฉียงเหนือและฤดูแล้งซึ่งมีการเผาชีวมวล ลม วัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาระบบแสดงผลภาพเพื่อ จากทิศตะวันออกเฉียงเหนือจะพัดพามลพษิ อากาศเขา้ สู่ วิเคราะห์ปริมาณฝุ่นอนุภาคขนาดเล็ก 2.5 ไมโครเมตร กรุงเทพฯและเป็นผลให้ความเข้มข้นมลพิษอากาศสูง (PM2.5) ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และเพื่อทดสอบ ในช่วงเวลาดังกล่าว ประสิทธิภาพและความพึงพอใจ ของผู้ใช้งานระบบ แสดงผลภาพเพื่อวิเคราะห์ปริมาณฝุ่นอนุภาคขนาดเล็ก อนุสรา (7) ได้ศกึ ษาปรมิ าณฝุ่นละอองขนาดไม่ 2.5 ไมโครเมตร (PM2.5) ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร เกิน 2.5 ไมครอน ภายในห้องโดยสารรถโดยสาร เพื่อประโยชน์การใชง้ านด้านการวิเคราะห์ข้อมูล สาธารณะในกรุงเทพฯ พบว่า ระบบขนส่งมวลชนเป็น บริการสาธารณะที่มีความสำคัญในการช่วยให้ประชาชน วิธดี ำเนนิ การวิจยั สามารถเดนิ ทางไปยังท่ตี า่ ง ๆ ไดอ้ ย่างสะดวกสบาย ช่วย ให้ลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล ลดแหล่งระบายมลพิษ วิธีการดำเนินงานของงานวิจัยนี้ มีการเก็บ ส่งผลให้คุณภาพอากาศในเมืองดีขึ้น อนึ่งการปนเปื้อน รวบรวมข้อมูลหลังจากกรมควบคุมมลพิษกับฐาน ของสารมลพิษภายในรถโดยสารสาธารณะอาจเกิดข้ึน ข้อมูล Bangkok PM 2.5 Data - Berkeley Earth (10) จากหลาย ๆ ปัจจัย ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของ ที่ดำเนินการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศของ ผู้โดยสาร การศึกษาครั้งนี้ได้ทำการศึกษาปริมาณฝุ่น ประเทศไทย เพื่อประเมนิ สถานการณ์คณุ ภาพอากาศเฝ้า ละอองขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5 ไมครอน ระวังและแจ้งเตือนกรณีพบปริมาณสารมลพิษเกินค่า (PM2.5) ภายในห้องโดยสารของรถโดยสารสาธารณะ มาตรฐาน ข้อมูลคุณภาพอากาศที่ตรวจวัดได้สามารถ 6 ประเภท ประกอบด้วย รถตู้สาธารณะ รถประจำทาง นำมาศึกษาและวิเคราะห์เชิงลึกได้ ดังนั้นผู้วิจัยจึงเกิด ปรบั อากาศ รถมินิบสั รถไฟฟ้าบที เี อส รถไฟฟา้ เอ็มอาร์ที ความคิดที่จะใช้ข้อมูลที่เก็บได้ในแต่ละวัน จำนวน 365 และรถแท็กซี่ การศึกษาครั้งนี้ใช้เครื่องตรวจวัดปริมาณ วัน ต่อเนื่อง ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ใช้ข้อมูลฝุ่น ฝุ่นแบบต่อเนื่อง (Dusttrak Aerosol Monitor) ในการ ละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน ย้อนหลัง 5 ปี ตรวจวัดปริมาณ PM2.5 การติดตามความเร็วและสภาวะ ตั้งแต่ มกราคม ค.ศ. 2016 –กรกฎาคม ค.ศ. 2020 ได้ การขับขี่ด้วยเครื่องมือตรวจวัดพิกัดทางภูมิศาสตร์ จากการติดตามตรวจวดั สถานการณ์ฝนุ่ ละอองในประเทศ (จีพเี อส) ไทย (1, 2) ซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลวัน เดือน ปี รายวัน
161 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) (เฉล่ยี 24 ชั่วโมง) ข้อมลู ฝุน่ ละอองขนาดเล็กรายวัน จาก การพัฒนาระบบแสดงผลภาพเพื่อวิเคราะห์ปริมาณฝุ่น ข้อมูลสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศกรุงเทพฯ นำเข้า ผู้วิจัยเลือกใช้ภาษา R เนื่องจากเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ ระบบฐานข้อมูล Mysql แยกตามวันและสถานีวัด เพ่ือ ภาษาหนึ่งที่เป็นที่ใช้คำนวณทางสถิติ เพราะเป็น นำมาพัฒนาระบบแสดงผลภาพเพื่อวเิ คราะห์ปริมาณฝุน่ โปรแกรมโอเพนซอร์ท (Open Source) ที่ใช้งานได้ฟรี อนภุ าคขนาดเลก็ 2.5 ไมโครเมตร (PM2.5) และคณุ ภาพ รองรับระบบปฏิบัติการหลายระบบ เป็นเครือ่ งมือในการ อากาศด้วยดาต้าวิชวลไลเซชั่นบนมาตรฐานคุณภาพ วิเคราะห์ปริมาณฝุ่นและคุณภาพอากาศด้วยดาต้าวิชวล อากาศในบรรยากาศประเทศไทย เพื่อให้ทราบถึงปัญหา ไลเซชัน่ บนเวบ็ (รปู ท่ี 1) และเห็นภาพรวมได้ง่ายและมีประสิทธิภาพสูงขึ้น รูปที่ 1 กรอบแนวคิดระบบแสดงผลภาพเพ่อื วิเคราะหป์ ริมาณฝ่นุ อนุภาคขนาดเล็ก 2.5 ไมโครเมตร ผลการศกึ ษาและอภิปรายผล ผลจากวิธีการดำเนินงานของงานวิจัยนี้ มีการ รูปที่ 2 ขอ้ มลู รายวันปริมาณฝุน่ อนภุ าคขนาดเลก็ 2.5 เก็บรวมรวบข้อมูลหลังจากกรมควบคุมมลพิษกับ ฐานข้อมูล Bangkok PM2.5 ที่ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพอากาศของประเทศไทย เพื่อประเมิน สถานการณ์คุณภาพอากาศเฝ้าระวังและแจ้งเตือนกรณี พบปริมาณสารมลพิษเกินค่ามาตรฐาน ข้อมูลคุณภาพ อากาศที่ตรวจวัดได้สามารถนำมาศึกษาและวิเคราะห์ได้ ดังรูปท่ี 2-10
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 162 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) รูปท่ี 3 กราฟ Histogram แสดงค่าเฉลี่ยของข้อมูล รูปท่ี 6 กราฟ Boxplot แสดงค่าเฉลี่ยข้อมูลปริมาณฝนุ่ ปริมาณฝุ่น 2.5 รายวัน 2.5 รายเดอื น ยอ้ นหลงั สามปี รูปที่ 4 กราฟแสดงค่าเฉลี่ยของข้อมูลปริมาณฝุ่น 2.5 รปู ที่ 7 กราฟเส้นแสดงค่าเฉลี่ยข้อมูลปริมาณฝุ่น 2.5 รายช่ัวโมง รายเดอื นยอ้ นหลัง 5 ปี รูปท่ี 5 กราฟเส้นแสดงค่าเฉลี่ยของข้อมูลปริมาณฝุ่น รปู ท่ี 8 กราฟเสน้ แสดงข้อมูลปรมิ าณฝ่นุ PM2.5 รายวัน 2.5 รายชัว่ โมงในหน่ึงวนั ย้อนหลงั
163 Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) รปู ท่ี 9 กราฟ Heatmap แสดงค่าเฉลี่ยข้อมูลปริมาณ ผลการทดลองจากงานวิจัยนี้ผู้วิจัยได้นำเสนอ ฝนุ่ 2.5 เปรียบเทยี บ เดือนและวนั ยอ้ นหลัง การพัฒนาระบบแสดงผลภาพเพื่อวิเคราะห์ปริมาณฝุ่น อนุภาคขนาดเล็ก 2.5 ไมโครเมตร (PM2.5) ในเขตพื้นที่ รปู ที่ 10 กราฟ Heatmap แสดงข้อมูลปริมาณฝุ่น 2.5 กรุงเทพมหานคร โดยใช้เทคนิคดาต้าวิชวลไลเซชั่นด้วย จำแนกตามค่าความเข้มข้นของสารมลพิษทาง ภาษา R และฐานข้อมูล Mysql ผลการทดสอบ อากาศ ย้อนหลัง 5 ปี ประสิทธิภาพความพึงพอใจของผู้ใช้งานระบบแสดงผล ภาพเพื่อวิเคราะห์ปริมาณฝุ่น พบว่า ผู้ใช้งานมีความพึง ตารางที่ 2 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจผใู้ ชง้ าน พอใจด้านความสามารถของระบบ ความถูกต้องของ ระบบ และ การใชง้ านของระบบเพือ่ วิเคราะห์ปริมาณฝุ่น รายการประเมิน Mean S.D. อยู่ในระดับดี (ตารางที่ 2) ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ สุพัฒน์ หวังวงศ์วัฒนา (3) ซึ่งนำเสนอรายงานวิจัย ด้านความสามารถของระบบแสดงผล 4.10 0.65 เกี่ยวกบั มลภาวะของฝุ่น PM 2.5 ทีเ่ กดิ ขนึ้ ใน กทม. และ งานวิจัยของ ฐิฏาพร สุภาษี และคณะ (5) ที่ได้นำเสนอ ภาพเพือ่ วเิ คราะห์ปรมิ าณฝุ่น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ปริมาณฝุ่นละอองเชิงมวล PM2.5 และ PM10 ในบรรยากาศด้วยเครื่องตรวจวัดฝุ่นละออง ด้านความถกู ตอ้ งของระบบแสดงผล 4.20 0.68 ไร้สาย ในประเด็นเรื่องการสร้างมลภาวะและการ แพร่กระจายของฝุ่นที่มีความค่าความเข้มข้นของสาร ภาพเพ่ือวิเคราะหป์ รมิ าณฝุ่น มลพิษทางอากาศ ไม่เท่ากันในแต่ละพื้นที่ ตลอดจน สอดคล้องกับรายงานวิจัย ของกรมควบคุมมลพิษ ดา้ นการใช้งานของระบบแสดงผล 4.10 0.65 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (1, 2) ท่ี นำเสนอเรื่องการข้อมูลคุณภาพอากาศ ตรวจวัดฝุ่น ภาพเพื่อวิเคราะหป์ รมิ าณฝุ่น ละอองในบรรยากาศ และการแพรก่ ระจายในแต่ละพ้นื ท่ี แนวทางการจัดการฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ผลสรปุ การประเมนิ ความพึงพอใจเฉล่ยี 4.13 0.66 ในพืน้ ทก่ี รุงเทพและปริมณฑล สรุปผล ผลจากการทดลองสามารถสรุปได้ว่าระบบการ แสดงผลภาพเพื่อวิเคราะห์ปริมาณฝุ่นอนุภาคขนาดเล็ก 2.5 ไมโครเมตร (PM2.5) ในเขตพน้ื ที่กรุงเทพมหานคร ที่ พัฒนาขึ้นนี้ สามารถวิเคราะห์ปริมาณฝุ่นอนุภาคขนาด เล็กเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของผู้ใช้ระบบได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ง่ายต่อการวิเคราะห์ และแปลผล สามารถ ตอบโจทย์วตั ถปุ ระสงคง์ านวิจยั และสามารถต่อยอดนำไป วเิ คราะห์ปัญหาทางสิ่งแวดลอ้ มดา้ นอ่นื ๆ ได้เปน็ อย่างดี
Research Journal Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Vol 20, Issue 1, 2021 164 ISSN: 1686-8420 (Print), 2651-2289 (Online) เอกสารอา้ งอิง 7. Rodthanee A. Quantities of PM2 . 5 Inside Public Vehicles in Bangkok [master’s thesis]. 1. Pollution Control Department. Thailand Air Bangkok: Silpakorn University; 2015. Thai. Quality Data Report [Internet] . [cited 2020 Aug 10]. Availability from: 8. Sinsomboonthong S. Data Analysis Using R http://www2.pcd.go.th/info_serv/database.h Program. 1st ed. Bangkok: Chulabook; 2562. tml. Thai. Thai. 2. Pollution Control Department. Measurement 9. Janpla S. [Smart University]. Journal of of Particulate Matter [Internet] . [cited 2020 Technology Management Rajabhat Maha Aug 10] . Availability from: Sarakham University. 2019;6(1):147-58. Thai. http://www2.pcd.go.th/info_serv/database.h tml. Thai. 10. Bangkok PM2.5 Data - Berkeley Earth [Internet]. [cited 2020 Aug 10] Availability 3. Wangwongwattana S. Project Origin and from: http://berkeleyearth.lbl.gov/air- Approach to Managing Dust in The Bangkok quality/Maps/cities/Thailand/Bangkok/Bangk Metropolitan Area [Internet]. [cited 2020 Aug ok.txt. 10] . Availability from: http:// www.pcd.go.th/airandsound. Thai. 4. Suwanwattana R, Mungsing S. [Data visualization: basic concept, processes and techniques]. APHEIT Journals. 2015;4(1):73- 83. Thai. 5. Supasri T, Intra P, Jomjunyong S, Sampattagul S. [Evaluation of particulate matter concentration by using a wireless sensor system for continuous monitoring of particulate air pollution in northern of Thailand]. Journal of Innovative Technology Research. 2018;2(1):65-78. Thai. 6. Pollution Control Department. Project to study the origin and management of PM2.5 in the Bangkok Metropolitan Area [Internet]. [cited 2020 Aug 10] Availability from: http://www.http://doh.hpc.go.th/bs/topicDi splay.php?id=243. Thai.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172