Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 16 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับอุตสาหกรรม

หน่วยที่ 16 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับอุตสาหกรรม

Published by kannika phiosa-ad, 2020-06-08 07:31:01

Description: หน่วยที่ 16 การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับอุตสาหกรรม

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 16 การบญั ชีอุตสาหกรรม โดย ครูกรรณกิ าร์ ผวิ สะอาด

ความรู้เบือ้ งตน้ เกยี่ วกับ กิจการอุตสาหกรรม

สาระการเรยี นรู้ 1. รูปแบบการดาเนนิ ธรุ กิจจาหน่ายสนิ คา้ 2. ลักษณะของกจิ การอุตสาหกรรม 3. ความแตกต่างระหว่างกิจการอุตสาหกรรมและกิจการ ซ้อื ขายสินคา้ 4. องคป์ ระกอบของต้นทุนการผลิต 5. การคานวณตน้ ทนุ สนิ คา้ ท่ผี ลติ เสรจ็ 6. การคานวณตน้ ทนุ ขาย 7. วงจรการผลติ 8. ระบบบญั ชีของกิจการอตุ สาหกรรม 9. ศัพทบ์ ญั ชี

รปู แบบการดาเนนิ ธุรกิจจาหนา่ ยสนิ ค้า ในการประกอบกิจการจาหน่ายสินค้า มีรปู แบบ 2 รปู แบบคือ 1. กิจการซื้อขายสนิ ค้าหรือซอื้ มาขายไป (Merchandising Business) 2. กิจการผลิต หรือกิจการผลิตสนิ ค้าเพือ่ ขายหรือกิจการอตุ สาหกรรม (Manufacturing Business)

ลกั ษณะของกจิ การอตุ สาหกรรม กจิ การอตุ สาหกรรม เป็นกิจการที่ทาการผลิตสนิ คา้ สาเรจ็ รูป เพือ่ จาหนา่ ยเองอาจจัดต้งั ในรูปของ กิจการเจ้าของคนเดยี ว หา้ งหนุ้ ส่วน หรือบรษิ ทั เชน่ โรงงานผลติ เครื่องใชไ้ ฟฟา้ โรงงานประกอบรถยนต์ โรงงานผลติ เคร่อื งดม่ื โรงงานผลิตยารักษาโรค โรงงานผลติ เสื้อผา้ สาเรจ็ รูป กิจการอตุ สาหกรรมจะต้องจัดหาวตั ถดุ ิบมาทาการผลิตสินค้าโดยนาวตั ถุดิบเขา้ สู่1 กระบวนการผลิต ตามข้ันตอน เพือ่ แปรสภาพวัตถุดบิ จนกระท่งั สาเรจ็ เป็นสนิ คา้ เรยี กว่าสินคา้ สาเร็จรปู (Finished Goods) สว่ นสนิ คา้ บางส่วนทผ่ี ลติ ยังไม่เสรจ็ เรียกว่างานระหวา่ งทา (WorkinProcess/WIP) หรอื สินค้าระหว่างผลติ (Goods in Process)

บริษัท โอสถสภา จากัด 1 กระบวนการผลิต (Manufacturing Process) คือการแปรสภาพหรือ เปลีย่ นรูปของวัตถดุ บิ ใหอ้ ย่ใู นรปู ของผลิตภัณฑท์ สี่ ามารถใชป้ ระโยชน์ได้ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การ ตม้ การกลน่ั การหมกั การสกดั การเช่อื ม การอบ การประกอบ การตัดเย็บ เป็นต้น กระบวนการผลติ (Manufacturing Process) คือการแปรสภาพหรือเปลย่ี นรูปของวัตถุดบิ ให้อยใู่ น รูปของผลติ ภณั ฑ์ท่ีสามารถใช้ประโยชน์ได้ ดว้ ยวิธีการต่างๆ เช่น การตม้ การกล่นั การหมัก การ สกดั การเช่อื ม การอบ การประกอบ การตดั เยบ็ เป็นตน้

ความแตกตา่ งระหวา่ งกจิ การอตุ สาหกรรมและกจิ การซ้อื ขายสนิ คา้

องคป์ ระกอบของต้นการผลติ องคป์ ระกอบของตน้ การผลติ (Cost of Manufacturing/ Production Cost) ประกอบด้วยตน้ ทนุ 3ประเภท คือ 01 วตั ถดุ ิบทางตรง 02 ค่าแรงทางตรง 03 ค่าใช้จ่ายการผลติ

วตั ถุดบิ ทางตรง (Direct Materials/DM)หมายถึงวัตถุดบิ หลักทใ่ี ชใ้ นการผลิตสนิ ค้าหรอื ประกอบเป็นสินค้า สามารถระบุไดอ้ ยา่ งชัดเจนว่าใช้ในการผลิตสินคา้ ชนดิ ใดใชใ้ นปริมาณเท่าใด เชน่ - ยางดิบ เป็นวตั ถดุ ิบทางตรง ที่ใช้ในการผลติ ยางรถยนต์ - ผ้า เป็นวตั ถดุ ิบทางตรง ทใ่ี ชใ้ นการผลิตเส้อื ผ้าสาาเร็จรปู - ขา้ วหอมมะลิ เปน็ วัตถุดบิ ทางตรง ท่ใี ช้ในการผลิตข้าวหอมมะลิสาาเร็จรูปกระป๋อง - ปลาซาดีนส์ เปน็ วัตถุดบิ ทางตรง ที่ใช้ในการผลิตปลากระปอ๋ ง - ไมแ้ ปรรปู เป็นวตั ถุดบิ ทางตรง ทใ่ี ช้ในการผลติ เฟอรน์ ิเจอร์ - กระดาษ เปน็ วตั ถุดบิ ทางตรง ทีใ่ ช้ในการผลิตสื่อสง่ิ พมิ พ์ คา่ แรงทางตรง (Direct Labor/DL) หมายถงึ ค่าจา่ ยหรือคา่ ตอบแทนทกี่ จิ การจ่ายใหแ้ กล่ ูกจ้างหรือคนงานที่ทา หนา้ ท่โี ดยตรงกับการผลิตสินคา้ เชน่ - ค่าแรงทจี่ ่ายให้กบั คนงานท่ีทาาหนา้ ท่ีตดั เย็บเส้ือผ้าสาาเรจ็ รูปในกิจการผลติ เส้อื ผ้าสาาเร็จรูป - คา่ แรงทีจ่ ่ายให้กับคนงานท่ที าาหน้าทปี่ ระกอบไมแ้ ปรรูปเป็นเฟอรน์ ิเจอร์ในกจิ การผลติ เฟอร์นเิ จอร์ไม้ - ค่าแรงทจี่ ่ายใหก้ บั คนงานทที่ าหน้าทช่ี าแหละไกเ่ พอ่ื ปรงุ เปน็ ซปุ ไก่ในกิจการผลิตซปุ ไก่สกดั

คา่ ใช้จา่ ยการผลิต (Manufacturing Overhead/OH) หมายถงึ ค่าใช้จา่ ยตา่ งๆ ที่เกย่ี วข้องกับการผลติ สนิ คา้ นอกเหนอื จากวัตถดุ บิ ทางตรงและค่าแรงทางตรงไดแ้ ก่ วัตถุดิบทางออ้ ม เชน่ กระดุม ซปิ ด้าย กาว เครอ่ื งปรงุ รส ตะปนู อต เปน็ ต้น คา่ แรงคนงานทาาความสะอาดโรงงานเงินเดือนวศิ วกร เป็นตน้ และค่าใช้จา่ ยอน่ื ทเ่ี กยี่ วกับการผลติ เชน่ วสั ดโุ รงงานใช้ไปค่าเบยี้ ประกันอคั คภี ยั โรงงานค่าซ่อมแซมเครื่องจกั ร ค่าแรงทางตรงและคา่ ใช้จ่ายการผลิตถือว่าเปน็ ต้นทนุ แปลงสภาพ (Conversion Cost) คือตน้ ทนุ หรอื ค่าใช้จา่ ย ทงั้ หมดท่เี กิดขึ้นในกระบวนการผลิต เพ่ือเปล่ียนสภาพวัตถดุ บิ ให้เป็นสนิ ค้าสาาเรจ็ รปู

การคานวณตน้ ทนุ สนิ ค้าทผ่ี ลติ เสร็จ ตน้ ทุนสินคา้ ทผ่ี ลิตเสรจ็ หรอื ท่ีเรยี กว่าสนิ ค้าสาเร็จรปู (Cost of Goods Manufactured) หมายถึง ตน้ ทนุ ของสินคา้ ทผี่ ลิตเสรจ็ สมบูรณ์ในรอบระยะเวลาบัญชหี นง่ึ ตน้ ทุนสนิ ค้าทีผ่ ลติ เสรจ็ ประกอบด้วย วัตถดุ ิบทางตรง ค่าแรงทางตรง และคา่ ใช้จ่ายการผลติ ตา่ งๆ ท้งั หมดทใ่ี ชใ้ นการผลิตจนกระทัง่ เป็นสินคา้ สาา เรจ็ รูป

การคาานวณตน้ ทนุ การผลติ จะทาใหท้ ราบตน้ ทนุ ทั้งหมดในการผลิตสินคา้ สาาหรบั งวดบญั ชี แต่ ณ วนั สิน้ งวดบัญชีอาจมี สินคา้ บางสว่ นที่ผลิตไมเ่ สร็จหรือที่เรยี กวา่ งานระหวา่ งทาา (Work in Process/WIP) หรอื สนิ คา้ ระหวา่ งผลิต (Goods In Process) ดงั น้ันหากกจิ การต้องการคานวณต้นทนุ สินคา้ ที่ผลติ เสร็จ หรือต้นทุนสนิ คา้ สาเรจ็ รปู จะต้องนาาตน้ ทนุ ของงานระหว่างทาหรือ สินค้าระหวา่ งผลิตมาหักออก ดังนนั้ การคานวณตน้ ทนุ สินคา้ ท่ีผลติ เสร็จ จะเปน็ ดังนี้ ถา้ ตอ้ งการคาานวณตน้ ทนุ สนิ คา้ ที่ผลิตเสรจ็ ตอ่ หนว่ ย ใหน้ าาจาานวนหนว่ ยของ สินคา้ ทผ่ี ลิตเสรจ็ ไปหารต้นทนุ สินคา้ ทผี่ ลติ เสร็จดังนี้

งานระหว่างทาาปลายงวดจะยกไปผลิตตอ่ ในงวดบัญชีถัดไปเรยี กว่างานระหว่างทาาต้นงวด ดงั น้นั การ คานวณตน้ ทนุ สนิ ค้าทผ่ี ลิตเสร็จในงวดบญั ชถี ัดไปจะเปน็ ดงั น้ี



การคานวณ กิจการทจี่ าหนา่ ยสนิ ค้า ไมว่ ่าจะเปน็ กจิ การซื้อ ตน้ ทนุ ขาย ขายสินคา้ หรอื กิจการผลติ ย่อมต้องการทราบ ตน้ ทนุ ขาย เพ่ือจะไดค้ านวณกาไรขาดทุนของกิจการสาหรับ กจิ การซ้อื ขายสนิ ค้าจะคานวณไดจ้ ากสนิ ค้า สาเร็จรปู ต้นงวดบวกซ้อื สุทธหิ กั สินคา้ สาเร็จรูปปลายงวด ดังน้ี

การคานวณ ส่วนการคานวณตน้ ทนุ ขายของกจิ การอตุ สาหกรรมที่ใช้ ต้นทนุ ขาย วธิ บี ญั ชสี ินคา้ คงเหลอื แบบสน้ิ งวด จะตอ้ งคานวณตน้ ทุนสินค้าท่ี ผลติ เสร็จหรือตน้ ทุนสินค้าสาเร็จรปู กอ่ นจึงจะคานวณต้นทนุ ขาย ได้โดยคานวณ ไดจ้ ากสนิ ค้าสาเร็จรปู ต้นงวดบวกต้นทนุ สินค้าที่ ผลิตเสร็จหักสนิ คา้ สาเรจ็ รูปปลายงวดสาหรบั กิจการ ที่ใช้วิธบี ัญชี สนิ ค้าคงเหลือแบบต่อเนอื่ งไม่ตอ้ งคานวณหาตน้ ทนุ ขายเพราะทกุ ครง้ั ท่มี ีการจาหนา่ ย สนิ ค้ากิจการจะบันทกึ ตน้ ทนุ ขายทันทีการ คานวณต้นทุนขายเปน็ ดงั นี้







วงจรการผลิต วงจรการผลิต (Manufacturing Cycle หรือ Production Cycle) คือขั้นตอนในการผลิตสินค้าสาเร็จรูปของกิจการอุตสาหกรรมต้ังแต่ การรับคาส่ังผลิตจนกระทั่งผลิตเสร็จเป็นสินค้าสาเร็จรูปและส่งมอบ สินคา้ ดงั น้ี

1.คาสง่ั ผลติ มาถงึ (Order Arrival) ในการผลติ สนิ คา้ ของกิจการอุตสาหกรรม เมือ่ ฝา่ ยผลิตได้รบั คาสงั่ ผลติ ก็จะทาการผลิตสินคา้ ตามคาส่ัง การผลิตจะเกิดขึน้ ใน 2 ลกั ษณะคือ 1.1 Pull Manufacturingคอื การผลติ ตามคาสง่ั ซื้อของลูกคา้ การผลติ ในลกั ษณะนไ้ี มค่ ่อย มี ความเสย่ี งหรือมคี วามเสย่ี งนอ้ ย เพราะผลิตเมื่อลกู ค้าตอ้ งการ 1.2 Push Manufacturing คอื การผลิตตามอปุ สงค์ในอนาคต การผลิตในลักษณะนม้ี ีความเสยี่ ง มากกว่าลักษณะแรก เพราะผลิตเพื่อใหม้ สี ินค้าในคลังสนิ ค้าเพียงพอ ยังมิได้มคี าสัง่ ซ้อื จากลูกคา้ ความ เสีย่ ง ทเี่ กดิ ขน้ึ นอกจากเงนิ ทนุ ทจ่ี มในสินค้าแลว้ สินคา้ บางอย่างอาจลา้ สมยั 2. จดั ทาตารางการผลติ (Production Scheduling) ในการผลิตสินค้า ฝา่ ยผลติ จะมี การวางแผนการผลติ โดยการจดั ทาตารางการผลิต เพ่อื ผลิตสนิ ค้าให้เสร็จทนั และเป็นไปตามความ ต้องการ 3. ทาการผลิตและจดั ส่งสินคา้ (Manufacturing and Shipping) ฝ่ายผลติ ทาการผลิตสินค้า และจดั สง่ สนิ ค้าเก็บเขา้ คลังสนิ ค้า 4. การรับมอบสนิ ค้า (Receiving) ฝา่ ยขายเบิกสินค้าจากคลงั สนิ ค้า สง่ มอบให้ลูกค้า

วงจรการผลติ (Manufacturing Cycle)

ระบบบัญชีของกจิ การอุตสาหกรรม ระบบบัญชขี องกจิ การอตุ สาหกรรม จะแบง่ การบนั ทึกบญั ชี ออกเป็น 2 ระบบคอื 1. ระบบตน้ ทุนงานสง่ั ทา (Job Order Costing System) 2. ระบบต้นทนุ ผลิตช่วง (Process Costing System)

ระบบต้นทุนงานส่ังทา (Job Order Costing System) ระบบต้นทนุ งานสั่งทา เป็นระบบบญั ชีทีแ่ ยกตน้ ทุนการผลิตออกเปน็ งานๆ สนิ ค้าที่ทาการผลติ อาจไม่เหมือนกัน ไม่ว่าจะเป็น จานวนที่ผลิต รูปแบบ ขนาด หรือวัตถุดิบที่นามาใช้ในการผลิต การ บันทึกต้นทุนจะแยกบันทึกออกเป็นงานๆ จนกว่างานน้ันจะเสร็จสมบูรณ์ เอกสารท่ีใช้กับระบบต้นทุน งานส่งั ทา ไดแ้ ก่ 1. ใบต้นทุนงานสั่งทา (Job Order Cost Sheet) เป็นเอกสารท่ีทาข้ึนในแต่ละงานเพื่อรวบรวม ตน้ ทุนการผลติ คอื ตน้ ทุนวตั ถดุ บิ ต้นทุนคา่ แรงงาน ต้นทนุ คา่ ใชจ้ ่ายการผลิต 2. ใบเบิกวัตถุดิบ (Material Requisition) เป็นเอกสารท่ีใช้ในการเบิกวัตถุดิบท่ีใช้ในการผลิตแต่ละ ครั้ง เพ่อื ควบคมุ การเบิกวตั ถุดบิ 3. บัตรลงเวลาค่าแรงงาน (Labor Time Cards) เป็นเอกสารแสดงรายละเอียดเก่ียวกับการทางาน ของคนงานที่ทาหน้าท่ีผลิตสนิ ค้า เชน่ ระยะเวลาในการทางาน อัตราคา่ แรงงานของคนงาน

ระบบตน้ ทนุ ผลิตชว่ ง (Process Costing System) ระบบตน้ ทนุ ผลติ ช่วง เปน็ ระบบต้นทนุ การผลิตทีช่ ว่ งการผลติ แตล่ ะช่วงจะติดตอ่ กันไปเร่อื ยๆ จากแผนกหนงึ่ จะโอนไปผลิตต่ออกี แผนกหนึง่ จนกว่ากระบวนการผลติ จะเสร็จสน้ิ เป็นสนิ ค้าสาเร็จรปู โดยปกติ กิจการที่มีการผลิตเป็นต้นทุนช่วงนั้น จะผลิตสินค้าที่มีลักษณะแบบเดียวกันและมี จานวนมาก การผลิตจะเป็นการผลิตตอ่ เนื่องกันตลอดทง้ั ปี เช่น โรงงานผลิตบะหม่ีสาเร็จรูปโรงงานผลิต น้าอัดลม โรงงานผลติ ยาสีฟนั โรงงานผลิตเสอ้ื ผา้ สาเร็จรูป เปน็ ตน้

วตั ถดุ ิบและการบนั ทกึ รายการ

สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายและประเภทของวัตถุดิบ 2. การรบั จา่ ยวัตถดุ ิบ 3. การบนั ทกึ รายการเกย่ี วกับวตั ถดุ ิบวิธีบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวดและ แบบต่อเนอ่ื ง 4. บตั รวตั ถดุ บิ

ความหมายและประเภทของวัตถดุ บิ วตั ถุดิบ (Materials) หมายถึง สว่ นผสมหรอื สว่ น ประกอบสาคัญในการผลิตท่ีจะถูกเปล่ียนสภาพกลาย เป็นสนิ ค้าสาเรจ็ รปู ต้นทุนวตั ถุดิบท่ีใช้ในการผลิต สินค้าแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือ 1.วตั ถุดบิ ทางตรง (Direct Materials) 2.วัตถุดบิ ทางออ้ ม (Indirect Materials)

วตั ถดุ บิ ทางตรง (Direct Materials) วัตถดุ ิบหลักทใี่ ชใ้ นการผลิตสนิ ค้าสาเรจ็ รูป และเปน็ สว่ นสาคญั ที่คิดเปน็ ตน้ ทนุ ของ หน่วยทผ่ี ลิต เช่น ไมแ้ ปรรูป เปน็ วัตถุดบิ ทางตรง ในการผลติ เฟอรน์ ิเจอร์ ผ้า เป็น วัตถดุ บิ ทางตรง ในการผลิต เส้อื ผ้าสาเร็จรูป ดนิ เหนยี ว เปน็ วตั ถุดิบทางตรง ในการผลิต ผลิตภณั ฑ์เซรามกิ ผลไม้ เปน็ วัตถุดบิ ทางตรง ในการผลิต น้าผลไม้

วตั ถุดิบทางอ้อม (Indirect Materials) วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้าสาเร็จรูป แต่ใช้ในปริมาณไม่มาก วัตถุดิบทางอ้อมถือเป็นค่าใช้จ่ายการ ผลิต เชน่ ตะปู กาว สกรู เปน็ วัตถุดิบทางออ้ ม ในการผลิต เฟอร์นิเจอร์ ด้าย กระดุม ซปิ ตะขอ เป็น วัตถุดิบทางออ้ ม ในการผลติ เส้อื ผา้ สาเรจ็ รูป สี น้ามันชักเงา เป็น วัตถุดิบทางอ้อม ในการผลติ ผลติ ภัณฑ์เซรามกิ น้าตาล เปน็ วัตถุดิบทางออ้ ม ในการผลิต นา้ ผลไม้ ในการพิจารณาว่ารายการใดเป็นวัตถุดิบทางตรงหรือวัตถุดิบทางอ้อมน้ัน ต้องพิจารณาถึง ปัจจัยสาคัญ 2 ประการคือ วตั ถุดบิ ทางตรงนน้ั ต้องเป็นสว่ นประกอบทีส่ าคัญในการผลิตสินค้าโดยตรง สามารถคานวณเขา้ เป็นตน้ ทุนของผลิตภณั ฑ์หรือสินค้าไดโ้ ดยง่าย หากขาดปัจจัยข้อหน่ึงข้อใดย่อมถือ ว่ารายการน้ันเปน็ วตั ถดุ ิบทางออ้ ม

การรับจ่ายวัตถดุ บิ การรับจา่ ยวัตถุดิบ คอื การจัดหาวัตถดุ บิ ไมว่ า่ จะเป็นวัตถุดิบทางตรงหรือวัตถุดิบทางอ้อม เพื่อให้มี วตั ถุดบิ ในปรมิ าณเพียงพอต่อความต้องการของแผนกผลิต การดาเนินการต้องทาอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้ ได้มาซึ่งวัตถุดิบที่มีคุณภาพ มีต้นทุนต่า ตรงตามความต้องการของแผนกผลิตหรือแผนกอ่ืนท่ีต้องการใช้และ ภายในกาหนดเวลาที่แผนกต่างๆ ต้องการ รวมทั้งการตรวจรับวัตถุดิบการเก็บรักษาและการควบคุมวัตถุดิบ การส่งคืนวัตถุดิบให้กับผู้ขาย การเบิกวัตถุดิบไปใช้ในการผลิต การส่งคืนวัตถุดิบให้กับแผนกคลังสินค้า และ การชาระหนี้ค่าวตั ถุดิบ ข้ันตอนทุกขั้นตอน ต้องทาด้วยความระมัดระวัง รอบคอบ เพื่อไม่ให้เกิดการทุจริต หรือวัตถุดิบถูก ยกั ยอก และต้องมีการจัดทาเอกสาร โดยให้ผ้ทู เี่ กีย่ วขอ้ งลงนามเพอื่ เกบ็ ไว้เปน็ หลกั ฐานอา้ งอิง

การรบั จ่ายวตั ถุดบิ ในการจัดหาวัตถุดิบ กิจการอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ จะมีแผนกจัดซื้อ (Purchasing Department)ทาหน้าทใ่ี นการจดั ซอ้ื วตั ถดุ ิบ ผู้จัดการฝ่ายจัดซ้ือมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดซ้ือ ให้ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานและระเบียบที่กิจการกาหนดไว้ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของเงื่อนไข คุณภาพ ของวัตถุดิบ และราคาของวัตถุดิบที่จะทาการจัดซ้ือ เอกสารที่เก่ียวข้องกับการจัดซื้อวัตถุดิบ ประกอบดว้ ย 1. ใบขอซื้อ (Purchase Requisition/PR) 2. ใบส่ังซอ้ื (Purchase Order/PO) 3. ใบรายงานการรับของ (Receiving Report/RR)

การขอซ้อื เมื่อวัตถุดิบในแผนกคลังสินค้าใกล้หมดหรือถึงจุดสั่งซ้ือ (จุดส่ังซื้อคือจุดท่ีเตือนให้ทราบว่า ถึงกาหนดที่จะส่ังซ้ือวัตถุดิบเพ่ือมาแทนวัตถุดิบที่ใช้หมดไป) ผู้ทาหน้าท่ีในการควบคุมดูแลวัตถุดิบ จะจัดทาเอกสารคือใบขอซ้อื (Purchase Requisition/PR) ขนึ้ 3 ฉบบั โดย - ฉบับที่ 1 ส่งใหแ้ ผนกจดั ซอื้ (ตน้ ฉบบั ) - ฉบับที่ 2 ส่งใหแ้ ผนกบัญชี (สาเนา) - ฉบบั ที่ 3 เกบ็ ไว้เปน็ หลกั ฐาน (สาเนา)



การส่งั ซอื้ เมือ่ แผนกจดั ซือ้ ไดร้ บั ใบขอซ้ือจากแผนกคลังสนิ ค้า จะนาเสนอเพ่ือขออนุมัติจากผู้มีอานาจ หากไม่ได้รับอนุมัติจะส่งเร่ืองคืนแผนกคลังสินค้า เพื่อทบทวน หากได้รับอนุมัติจะติดต่อกับผู้ขาย หลายๆ รายเพื่อให้เสนอราคา และจัดทาเอกสารคือใบส่ังซื้อ (Purchase Order/PO) ขึ้น 5 ฉบับ โดย - ฉบับที่ 1 ส่งใหผ้ ขู้ าย (ตน้ ฉบับ) - ฉบบั ที่ 2 ส่งให้แผนกบัญชี (สาเนา) - ฉบับท่ี 3 ส่งให้แผนกรบั สนิ ค้า (สาเนา) - ฉบบั ที่ 4 สง่ ให้แผนกคลงั สินคา้ (สาเนา) - ฉบับท่ี 5 เก็บไวเ้ ป็นหลักฐาน (สาเนา)



การตรวจรบั วัตถดุ ิบ เม่ือแผนกตรวจรับสินค้าได้รับวัตถุดิบ จะตรวจสอบกับใบขอซื้อที่ได้รับจากแผนกจัดซื้อใน เรื่องของคุณภาพ ราคา และปริมาณ เม่ือตรวจสอบเรียบร้อยแล้วจะจัดทาเอกสารคือ ใบรายงาน การรับของ(Receiving Report/RR) ขนึ้ 5 ฉบับ โดย - ฉบบั ท่ี 1 ส่งใหผ้ ขู้ าย (สาเนา) - ฉบับที่ 2 ส่งใหแ้ ผนกคลงั สินคา้ (สาเนา) พรอ้ มวตั ถุดบิ - ฉบับที่ 3 ส่งใหแ้ ผนกจัดซ้ือ (สาเนา) - ฉบับที่ 4 ส่งใหแ้ ผนกบัญชี (สาเนา) - ฉบบั ที่ 5 เก็บไวเ้ ป็นหลกั ฐาน (ตน้ ฉบับ)



การส่งคนื วตั ถุดบิ ใหก้ บั ผู้ขาย ในกรณีที่แผนกตรวจรับสินค้า ทาการตรวจรับวัตถุดิบที่ได้รับจากผู้ขายสินค้าแล้วพบว่า วัตถุดิบมีคุณลักษณะหรือคุณภาพไม่ตรงกับท่ีแผนกจัดซ้ือได้สั่งซ้ือไป หรือวัตถุดิบมีตาหนิ แตกหัก หรือเสยี หายแผนกตรวจรับสินคา้ จะตอ้ งแจง้ ใหแ้ ผนกจัดซอ้ื ทราบ เพ่อื จะไดด้ าเนินการสง่ วัตถุดิบคืน ให้ผขู้ ายสนิ คา้ การคนื วตั ถุดบิ อาจคนื ทง้ั หมดหรือคนื บางส่วน แผนกจดั ซ้อื จะจดั ทาเอกสารคือ ใบหัก หน(ี้ Debit Memorandum/Dr.Memo) และใบส่งคืนวัตถดุ ิบ ขึน้ 3 ฉบับ (ชุด) โดย - ฉบบั ท่ี 1 สง่ ใหแ้ ผนกบญั ชี (ตน้ ฉบับ) - ฉบับท่ี 2 ส่งให้แผนกตรวจรับสินคา้ (สาเนา) - ฉบับท่ี 3 เก็บไว้เป็นหลกั ฐาน (สาเนา)

การเก็บรกั ษา และ ควบคุมวัตถุดบิ เม่ือแผนกคลังสินค้าได้รับวัตถุดิบจาก แผนกตรวจรับสินค้า พร้อมใบรายงานการรับ ของแล้วแผนกคลังสินค้าจะทาการตรวจสอบ รายการวตั ถุดบิ ทไี่ ด้รับมาวา่ ถกู ตอ้ งตรงกับในใบ รายงานการรับของหรือไม่ หากไม่ถูกต้องหรือ ได้รับวัตถุดิบไม่ครบถ้วน จะได้ทาการทักท้วง หากถูกต้องแล้วจะทาการบันทึกรายละเอียด วัตถุดิบท่ีรับเข้ามาลงในบัตรวัตถุดิบ และ ดาเนินการจัดเก็บและจัดเรียงให้เป็นหมวดหมู่ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้หรือพร้อมส่งให้แผนก ผลติ ตอ่ ไป



การเบกิ วตั ถดุ บิ เม่ือแผนกผลิต หรือแผนกงานใดๆ แจ้งความต้องการใช้วัตถุดิบมายังแผนก คลงั สนิ ค้า แผนกคลังสินค้าจะจัดเตรียมวัตถุดิบตามท่ีขอเบิกพร้อมกับจัดทาเอกสาร คือ ใบเบิกวตั ถุดบิ ขนึ้ 3 ฉบบั โดย - ฉบับที่ 1 สง่ ให้แผนกบญั ชี (ต้นฉบบั ) - ฉบับท่ี 2 ส่งให้แผนกผลติ (สาเนา) พร้อมวัตถุดิบ - ฉบับที่ 3 เก็บไว้เป็นหลักฐาน (สาเนา)

การสง่ คืนวัตถดุ ิบใหก้ ับแผนกคลงั สินค้า เมื่อแผนกผลิตหรือแผนกอ่ืนๆ ได้รับวัตถุดิบที่ขอเบิกจากแผนกคลังสินค้าแล้ว จะทาการ ตรวจสอบหากพบว่าวัตถุดิบที่ได้รับมาไม่ตรงกับที่ขอเบิกไป หรืออาจเบิกวัตถุดิบมามากเกินไป จะต้อง ดาเนนิ การสง่ คืนวตั ถุดบิ ให้กบั แผนกคลังสนิ ค้า โดยจดั ทาเอกสารคอื ใบนาสง่ คนื วัตถุดิบ จานวน 3 ฉบับ พร้อมกบั วตั ถุดบิ โดย - ฉบับท่ี 1 ส่งให้แผนกบัญชี (ตน้ ฉบบั ) - ฉบบั ที่ 2 สง่ ใหแ้ ผนกคลงั สนิ คา้ (สาเนา) พรอ้ มวัตถดุ ิบ - ฉบับท่ี 3 เกบ็ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน (สาเนา)

การจา่ ยชาระหนค้ี า่ วตั ถุดบิ ในกรณที ก่ี ิจการซือ้ วัตถุดบิ เป็นเงินเชื่อ แผนก บัญชแี ละการเงินจะตอ้ งพิจารณาเง่อื นไขหรือข้อตกลง ในการซ้ือวัตถดุ บิ เชน่ กาหนเวลาชาระหนี้ ส่วนลดรับ (ถา้ มี) ท้ังน้เี พอ่ื ประโยชนส์ ูงสดุ ของกิจการ โดยปกติผู้ขายจะส่งใบขอเรียกเก็บเงิน (ใบ วางบิล) มาให้กิจการ เมื่อแผนกบัญชีและการเงิน ได้รบั แล้ว จะตอ้ งตรวจสอบเอกสารที่เกยี่ วขอ้ งทั้งหมด เช่น ใบส่ังซ้ือ ใบรายงานการรับของใบกากับสินค้า หรือใบกากับภาษี เปน็ ตน้ และพึงระมดั ระวังในกรณีที่ กิจการส่งคืนวัตถุดิบหรือขส่วนลดกรณีวัตถุดิบชารุด หรือไม่ตรงตามทีส่ ่งั ซื้อ

การบันทึกรายการเกี่ยวกบั วัตถดุ บิ วิธีบัญชีสนิ คา้ คงเหลือแบบสนิ้ งวดและแบบตอ่ เน่อื ง การบนั ทึกรายการเกย่ี วกบั วัตถดุ บิ คงเหลอื เหมือนกบั การบนั ทกึ รายการเกย่ี วกับสินคา้ คงเหลอื ของกิจการซอ้ื ขายสนิ ค้า ซ่ึงมี 2 วิธี คือ 1. วิธีบญั ชสี ินค้าคงเหลอื แบบสิน้ งวด (Periodic Inventory Method) 2. วิธีบญั ชสี นิ คา้ คงเหลือแบบตอ่ เนื่อง (Perpetual Inventory Method)

การบนั ทึกรายการเกย่ี วกบั วิธีนี้กิจการจะบันทึกรายการเก่ียวกับวัตถุดิบ ใน วตั ถุดิบวิธบี ัญชสี ินค้า บัญชีท่ีเกี่ยวข้อง เช่น ซื้อวัตถุดิบ ค่าขนส่งเข้าส่งคืนวัตถุดิบ คงเหลือแบบสน้ิ งวด ส่วนลดรับ การบันทึกรายการเกี่ยวกับวัตถุดิบแยกออกจาก กนั ทาให้กจิ การไม่ทราบยอดคงเหลอื ของวัตถุดิบ ดังน้ันเมื่อ ถึงวันส้ินงวดบัญชีกิจการจะต้องตรวจนับวัตถุดิบคงเหลือ และคานวณต้นทุนวัตถุดิบคงเหลือ ตามวิธีที่กิจการเลือกใช้ ตามมาตรฐานการบัญชี ข้อดีของวิธีนีคือประหยัดเวลาใน การบันทึกบัญชี ข้อเสียคือกิจการจะไม่ทราบยอดคงเหลือ ของวัตถุดิบ ณ เวลาใดเวลาหน่ึงการบันทึกรายการแบ่ง ออกเป็น 2 กรณีคือกรณีกิจการไม่จดทะเบียนเข้าสู่ระบ ภาษีมูลค่าเพ่ิมและกรณีกิจการจดทะเบียนเข้าสู่ระบบ ภาษีมูลค่าเพม่ิ

การบนั ทึกรายการเก่ยี วกบั วตั ถดุ บิ วธิ บี ญั ชีสนิ คา้ คงเหลอื แบบส้นิ งวด

การบนั ทึกรายการเก่ยี วกบั วตั ถดุ บิ วธิ บี ญั ชีสนิ คา้ คงเหลอื แบบส้นิ งวด




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook