Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษา 2564 รร.บ้านตลิ่งสูงสามัคคี

หลักสูตรสถานศึกษา 2564 รร.บ้านตลิ่งสูงสามัคคี

Published by iqa.60020159, 2021-08-10 14:05:34

Description: หลักสูตรสถานศึกษา 2564 รร.บ้านตลิ่งสูงสามัคค

Search

Read the Text Version

๑ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

ก หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิง่ สงู สามัคคี พทุ ธศักราช 2564 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

ก ประกาศโรงเรียนบา นตลง่ิ สูงสามคั คี เรื่อง ใหใ ชหลักสูตรโรงเรยี นบา นตลงิ่ สูงสามัคคี พุทธศกั ราช 2564 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 …………………………………. ตามท่ีโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี ไดประกาศใชหลักสูตรโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช 2553 โดยเริ่มใชหลักสูตรดังกลาวกับนักเรียนทุกระดับช้ันในปการศึกษา 2553 ตอมา ในปการศึกษา 2558 โรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี ไดเพิ่มรายวิชาเพิ่มเติมเพื่อใหสอดคลองรับกับ นโยบายเรงดวนของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อใหผูเรียนพัฒนาทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห มีเวลาในการทำกิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรู ความสามารถและทักษะ การปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม การสรางวินัย การมีจิตสำนึกรับผิดชอบตอสังคม ยึดมั่นในสถาบันชาติศาสนา พระมหากษัตริย และมีความภาคภูมิใจในความเปนไทย ตลอดจนการเรียนการสอนในวิชา ประวัติศาสตรแ ละหนาทพี่ ลเมอื ง รวมถงึ การสอนศีลธรรมแกนกั เรียน โรงเรียนบานตลิง่ สูงสามัคคี จึงได ดำเนินการจัดทำหลักสูตรโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช 2562 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สอดคลองตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองการบรหิ าร จัดการเวลาเรียนและปรับมาตรฐานและตัวช้ีวัด สอดคลองกบั คำส่ังสพฐ. ท่ี 1239/60 และประกาศ สพฐ. ลงวันท่ี 8 มกราคม 2561 เปนท่เี รียบรอ ยแลว ท้ังน้ี หลักสูตรโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จากการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา คร้ังท่ี 3/2564 จึงประกาศใหใช หลกั สตู รโรงเรยี นต้งั แตบดั น้ีเปน ตนไป ประกาศ ณ วนั ท่ี 30 เมษายน พ.ศ. 2564 (นายชัยธวัช คงปา ) (นางภทั รวดี สขี ำ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ผูอำนวยการโรงเรียนบา นตลงิ่ สูงสามัคคี โรงเรยี นบานตลง่ิ สงู สามคั คี หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

ข สารบญั ประกาศโรงเรยี นบานตล่ิงสงู สามคั คี เร่ืองใหใ ชหลกั สูตรสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา นตลิ่งสงู สามัคคี พุทธศกั ราช ๒๕๖๔........................................................................ ก สารบัญ...................................................................................................................................... ข สวนที่ 1 สวนนำ ๑. ความนำ......................................................................................................................... ๑ ๒. วิสัยทศั นหลกั สูตรสถานศึกษา........................................................................................ 1 ๓. เปาประสงค (Corporate objective).......................................................................... ๒ ๔. วสิ ยั ทศั นโ รงเรยี น........................................................................................................... 2 5. สมรรถนะสำคัญของผเู รยี นและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ............................................ 2 6. มาตรฐานการเรยี นรู....................................................................................................... 6 7. สาระการเรยี นรู.............................................................................................................. 8 สว นท่ี 2 โครงสรา งหลกั สูตรสถานศึกษา โครงสรา งหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรียนบา นบานตลิง่ สงู สามัคคี พุทธศกั ราช ๒๕๖4 ......... 11 1. โครงสรางหลกั สตู รช้ันป........................................................................................... 13 2. โครงสรา งรายวชิ า.................................................................................................... 19 สวนที่ ๓ คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ................................................... 22 คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน กลุมสาระการเรยี นรูคณิตศาสตร................................................ 30 คำอธิบายรายวชิ าพ้ืนฐาน กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี........................ ๓7 คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุมสาระการเรียนรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ............. ๔7 คำอธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน กลุมสาระการเรยี นรูสุขศึกษาและพลศึกษา................................ 68 คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน กลุมสาระการเรยี นรูศิลปะ ......................................................... 76 คำอธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชีพ............................................. ๙5 คำอธิบายรายวิชาพน้ื ฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาตา งประเทศ....................................... ๙6 สวนท่ี 4 คำอธิบายรายวชิ าเพมิ่ เตมิ คำอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย................................................... ๑0๕ คำอธิบายรายวิชาเพิ่มเตมิ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร............................................... 108 คำอธบิ ายรายวิชาเพ่ิมเติม กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ....................... 112 สว นท่ี 5 คำอธบิ ายรายวชิ ากจิ กรรมพัฒนาผูเรยี น ..................................................................... ๑18 สว นท่ี 5 การวดั และประเมนิ ผล เกณฑการจบการศกึ ษา....................................................................................................... ๑51 การจัดการเรยี นรู ................................................................................................................ ๑51 ส่ือการเรียนรู ...................................................................................................................... ๑53 การวัดและประเมินผลการเรียนรู........................................................................................ ๑54 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

ค เกณฑการวดั และประเมินผลการเรยี น ................................................................................ ๑55 เอกสารหลักฐานการศึกษา.................................................................................................. ๑5๖ การเทียบโอนผลการเรยี นรู ................................................................................................. ๑57 การบรหิ ารจัดการหลกั สตู ร ................................................................................................. ๑58 คำสั่งแตงตั้งคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและงานวชิ าการสถานศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน โรงเรียนบานตล่งิ สงู สามคั คี........................................................................................................ ๑59 หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๑ สว นที่ 1 สว นนำ ๑. ความนำ ดวยกระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) ใหเปนหลักสูตรแกนกลางของประเทศ เพ่ือใหการจัด การศึกษาขั้นพ้ืนฐานสอดคลองกับสภาพความเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมและความเจริญกาวหนา ทางวิทยาการ เปนการสรางกลยุทธใหมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหสามารถตอบสนองความ ตองการของบุคคล สังคมไทย ผูเรียนมีศักยภาพในการแขงขันและรวมมืออยางสรางสรรคในสังคมโลก ปลูกฝงใหผูเรียนมีจิตสำนึกความเปนไทย มีระเบียบวินัย คำนึงถึงประโยชนสวนรวมและยึดม่ันในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เปนไปตามเจตนารมณมาตรา ๘๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ และพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐานการ เรยี นรูเปน เปา หมายและกรอบทศิ ทางในการพัฒนาคุณภาพผูเรียนใหเปนคนดี มีปญญา มีคุณภาพชีวิตที่ ดีและมีขีดความสามารถในการแขงขันในเวทีระดับโลก (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๔) พรอมกันน้ีได ปรับเปลี่ยนจุดเนนในการพัฒนาคุณภาพคนในสังคมไทยให มีคุณธรรม และมีความรอบรูอยางเทาทัน ใหมีความพรอมท้ังดานรา งกาย สติปญญา อารมณ และศีลธรรม สามารถกาวทันการเปลี่ยนแปลงเพ่ือ นำไปสูสังคมฐานความรไู ดอยา งมั่นคง แนวการพัฒนาคนดงั กลาวมงุ เตรียมเด็กและเยาวชนใหมีพ้ืนฐาน จิตใจท่ีดีงาม มีจิตสาธารณะ พรอมท้ังมีสมรรถนะ ทักษะ โดยไดมีการกำหนดวิสัยทัศน จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดท่ีชัดเจน กำหนดโครงสรางเวลาเรยี น กระบวนการวัดและประเมินผลผูเรียน เกณฑการจบการศึกษาแตล ะระดับ และเอกสารแสดงหลกั ฐานทางการศึกษาใหมีความสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู และมคี วามชัดเจน ตอการนำไปปฏิบัติ อนุสนธิคำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ส่ัง ณ วันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ เร่ือง ใหใชมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และ สาระภูมิศาสตรในกลุมสาระการเรียนรูส ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี จึงนำมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด กลุมสาระการ เรียนรคู ณิตศาสตร วิทยาศาสตร และสาระภูมิศาสตร ในกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไปสูการปฏิบัติไดอยางมีประสิทธิภาพ และบริหารจัดการหลักสูตรใหเกิดประโยชนสูงสุดกับ ผเู รียน จึงไดจัดทำเอกสารหลักสูตรขึ้นสำหรับครนู ำไปจัดการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาเด็กและเยาวชน ไทยทุกคนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานใหมีคุณภาพดานความรู และทักษะที่จำเปนสำหรับการ ดำรงชีวิตในสงั คมทม่ี กี ารเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรเู พอ่ื พฒั นาตนเองอยา งตอเน่ืองตลอดชีวติ ๒. วิสัยทศั นห ลักสตู รสถานศกึ ษา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคีพุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ มุงเนนใหเ ปนสถานศกึ ษาในชมุ ชนท่ีมีการบรหิ ารจัดการดาน การศึกษาเพ่ือใหผูเรียนมีความรูคูคุณธรรมภายใตวัฒนธรรมที่ดีงาม โดยชุมชนมีสวนรวมในการพัฒนา อยางมีประสิทธิภาพ มุงพัฒนาผูเรียนทุกคน ซ่ึงเปนกำลังของชาติใหเปนมนุษยท่ีมีความสมดุลทั้งดาน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๒ รางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลกและพัฒนาตามศักยภาพ จนถึงขีดสุดในดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ดวยส่ือเทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกสควบคูกบั การพัฒนา คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความสุขในสถานศึกษาดวยระบบดูแล ชวยเหลือ การมีสวนรวมในการจัดการศึกษาของผูปกครองและชุมชน โดยมุงเนนผูเรียนเปนสำคัญ บนพนื้ ฐานความเชอ่ื วา ทุกคนสามารถเรยี นรแู ละพฒั นาตนเองไดเต็มตามศักยภาพ ๓. เปา ประสงค (Corporate objective) 1. เพ่ือใหผูเรียนทุกคนไดรับการปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค มี การพัฒนาเต็มตามศักยภาพ มีทักษะชีวิต มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี นำหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนแนวทางการดำเนินชีวิต เปนผูนำท่ีดีของสังคมและมีความสามารถในการใช เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรูและการส่ือสารอยางหลากหลาย ผูเรียนมีศักยภาพเปนพลโลก (World Citizen) 2. เพ่ือใหสถานศึกษามีระบบการบริหารและจัดการศึกษาดวยระบบคุณภาพ (Quality System Management) เพื่อรองรบั การกระจายอำนาจอยางทว่ั ถึง 3. เพ่ือใหบุคลากรทุกคนมีทักษะวิชาชีพในการพัฒนาการเรียนการสอนและใชนวัตกรรม เทคโนโลยีท่ีทันสมัยยกระดับการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล (World Class standard) 4. เพ่ือใหการใชงบประมาณและทรัพยากรของทุกหนวยงานเปนไปตามเปาหมายไดอยางมี ประสิทธภิ าพและประสิทธิผลสูงสุด 4. วิสยั ทศั นโรงเรยี น จัดการศึกษาอยางมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เนนผูเรียนเปนสำคัญ มีศักยภาพในการ แขงขันและประกอบอาชีพใหส อดคลองกับความตองการของทองถน่ิ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 5. สมรรถนะสำคญั ของผูเรยี นและคุณลักษณะอันพึงประสงค ในการพฒั นาผูเ รียนตามหลกั สูตรโรงเรยี นบานตล่ิงสงู สามคั คี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงเนนพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานท่ี กำหนด ซ่ึงจะชว ยใหผ ูเรียนเกดิ สมรรถนะสำคญั และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค ดงั น้ี ๕.๑ สมรรถนะสำคัญของผเู รียน ในการพัฒนาผูเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงเนนพัฒนาผูเรียนใหมี คณุ ภาพตามมาตรฐานที่กำหนดซ่ึงจะชว ยใหผูเรียนเกดิ สมรรถนะสำคัญสำคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร เปนความสามารถในการรับและสงสาร มวี ัฒนธรรม ในการใชภาษาถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียน ขอมูลขาวสารและประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๓ ตอรองเพื่อขจัดและลดปญหาความขัดแยงตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผล และความถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการส่ือสาร ท่ีมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีตอ ตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสงั เคราะห การคิด อยางสรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนำไปสูการสรางองค ความรูหรือสารสนเทศเพือ่ การตัดสินใจเกย่ี วกบั ตนเองและสงั คมไดอยางเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรค ตาง ๆ ท่ีเผชิญไดอยางถูกตองเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขา ใจความสัมพันธแ ละการเปลย่ี นแปลงของเหตุการณตา ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรู มาใชในการปองกันและแกไขปญหา และมีการตัดสนิ ใจที่มปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่เี กดิ ขึ้น ตอ ตนเอง สังคมและสง่ิ แวดลอม ๔. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต เปนความสามารถในการนำกระบวนการตา ง ๆ ไปใชในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเน่ือง การทำงาน และการ อยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความขัดแยง ตา ง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรจู ัก หลีกเลี่ยงพฤตกิ รรมไมพ งึ ประสงคท ีส่ ง ผลกระทบตอ ตนเองและผอู น่ื ๕. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยี ดา นตาง ๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การ สอ่ื สาร การทำงาน การแกปญ หาอยางสรา งสรรค ถกู ตอ ง เหมาะสม และมคี ณุ ธรรม ๕.๒ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา นตล่งิ สงู สามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุงพัฒนาผูเรียนใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ๘ ประการ เพือ่ ใหสามารถอยูรว มกับผูอ่ืนในสังคมไดอยา งมีความสุข ในฐานะเปน พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ ๑. รักชาติ ศาสน กษัตรยิ  ๒. ซื่อสัตยส ุจริต ๓. มวี ินัย ๔. ใฝเ รียนรู ๕. อยูอ ยา งพอเพยี ง ๖. มงุ ม่นั ในการทำงาน ๗. รกั ความเปน ไทย ๘. มีจติ สาธารณะ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๔ ๕.๓ คานิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช. 1. มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  2. ซือ่ สัตย เสียสละ อดทน มีอุดมการณในสงิ่ ทดี่ ีงามเพ่อื สวนรวม 3. กตัญูตอ พอ แม ผปู กครอง ครูบาอาจารย 4. ใฝห าความรู หมนั่ ศึกษาเลา เรียนทง้ั ทางตรง และทางออ ม 5. รกั ษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม 6. มีศลี ธรรม รักษาความสัตย หวังดตี อผูอ ่นื เผื่อแผแ ละแบง ปน 7. เขา ใจเรยี นรูก ารเปน ประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมุขท่ีถูกตอ ง 8. มรี ะเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผูน อ ยรจู ักการเคารพผูใหญ 9. มสี ติรตู ัว รคู ิด รูทำ รปู ฏบิ ตั ิตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ัว 10. รูจักดำรงตนอยูโดยใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดำรัสของพระ บาท สมเด็จพระเจาอยูหัว รูจักอดออมไวใชเม่ือยามจำเปน มไี วพ อกินพอใช ถาเหลือกแ็ จกจายจำหนาย และพรอ มทีจ่ ะขยายกิจการ เมือ่ มีความพรอม เมื่อมีภมู ิคมุ กันทดี่ ี 11. มีความเขมแข็งทั้งรางกาย และจิตใจ ไมยอมแพตออำนาจฝายต่ำ หรือกิเลส มี ความละอายเกรงกลัวตอบาปตามหลกั ของศาสนา 12. คำนึงถึงผลประโยชนข องสว นรวม และของชาตมิ ากกวา ผลประโยชนของตนเอง หลักสูตรโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี นอมนำเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) เปน ปรัชญาช้ีถึงแนวการดำรงอยูและปฏบิ ัติตนของประชาชนในทุกระดบั ตั้งแตร ะดับครอบครวั ระดับชุมชน จนถึงระดบั รัฐ ทัง้ ในการพฒั นาและบริหารประเทศ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีหลกั พจิ ารณา ๕ สวน ๑. กรอบแนวคิด ที่ช้ีแนวทางการดำรงอยูและปฏิบัติตนในทางท่ีควร โดยมีพื้นฐานมา จากวถิ ีชวี ติ ดงั้ เดมิ ของสงั คมไทย ๒. คุณลักษณะเศรษฐกิจพอเพียงสามารถประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดทุกระดับ โดยเนน ทางสายกลางและการพฒั นาอยา งเปนขั้นตอน ๓. คำนยิ าม ความพอเพยี ง (Sufficiency) จะตอ งประกอบดว ย ๓ คุณลักษณะ ดงั นี้ 3.๑ ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดี ไมมากเกนิ ไป ไมนอยเกินไป 3.๒ ความมีเหตุผล หมายถงึ การตัดสนิ ใจ อยา งมเี หตุผล 3.๓ การมีภูมิคุมกันในตัว หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบ และการเปลยี่ นแปลง 3.๔ เงื่อนไข ๒ เงื่อนไข คือ เง่ือนไขความรู และเงื่อนไขคุณธรรม (แนวคิด ๓ หว ง ๒ เงอื่ นไข) ๑) เงื่อนไขความรู คอื ความรูเก่ยี วกับวิชาการเพ่ือนำมาประกอบการ วางแผน ๒) เงื่อนไขคุณธรรม เพ่ือเสริมสรางใหมีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย 3.๕ แนวทางปฏิบัติ ผลที่คาดวาจะไดรับ เพื่อการพัฒนาที่สมดุล ท้ังดาน เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอม และความรูเทคโนโลยีกระบวนการสรางความรู (Knowledge) คุณธรรม จริยธรรมและคานิยมท่ีพึงประสงคผานกิจกรรมการเรียนรูตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการ จดั การเรียนรู ดงั น้ี หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๕ ดานเศรษฐกิจ ๑) รูจักควบคุมใชจายของตนเอง ใชจายอยางมี เหตุผล, ใชจายพอประมาณ ใชจายอยางประหยัด ใชจายเทาท่ีจำเปน ฯลฯ ๒) รูจักออมเงิน เรียนรู ระบบการฝากเงิน เรียนรูระบบออมเงิน เรียนรูระบบสหกรณ ๓) รูจักสรางรายไดหรืออาชีพ สราง รายไดหรืออาชีพสอดคลองกับความตองการ สอดคลองกับสังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน ทรัพยากรทองถ่ิน ฯลฯดานสังคม รูจักชวยเหลือสังคมหรือชุมชน ปลุกจิตสำนึกสาธารณะ ปลูกฝงความสามัคคี ความ เสยี สละ เผยแพรองคความรเู ศรษฐกจิ พอเพียง ฯลฯ ดา นส่งิ แวดลอมสรางสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติ ปลุกจิตสำนึกรัก สิ่งแวดลอม ฟน ฟแู หลง เส่ือมโทรมในทอ งถ่นิ ดูแลสถานที่ทอ งเท่ียวในทอ งถิ่น ฯลฯ ดา นวัฒนธรรมสืบสานวฒั นธรรมไทย สรางจติ สำนึกรักษไทย รกั บา น เกดิ ฟนฟูและอนรุ ักษอาหารทอ งถนิ่ ดนตรีไทยและเพลงไทย โบราณสถานและโบราณวัตถุ ดานศาสนาสงเสริมศาสนา ปลูกฝงจิตสำนึกความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย ฯลฯ แนวการจัดการเรียนรเู ร่อื งเศรษฐกจิ พอเพยี งตามกลุมสาระการเรยี นรูท้ัง 8 กลมุ สาระ ๑. ภาษาไทย สามารถแนวแนวปรัชญามาฝกเขียนเรียงความ, คัดลายมือพระราช ดำรัสเรอ่ื งปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๒. คณิตศาสตร ฝกการคาขาย ฝกการทำบัญชีรายรับรายจายตาง ๆ บัญชีตนทุน กำไร การออมเงนิ ๓. วิทยาศาสตร สามารถจัดกิจกรรมเก่ียวกับความพอเพียงในการใชทรัพยากร การ สรางสมดลุ ของธรรมชาติ ๔. สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การชวยเหลือชุมชน คุณธรรม ๘ ประการ ของกระทรวงศึกษาธิการ การสรา งจิตสำนึกในการรกั ษทองถิน่ ๕. การงานอาชีพและเทคโนโลยี การใชภูมิปญญาทองถ่ิน การสรางจิตสำนึกการใช เทคโนโลยีอยา งประหยดั การประดิษฐสงิ่ ของ ของเลน จากเศษวัสดุ นำไปจำหนาย ๖.ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป การสรางสรรคง านศลิ ปะจากเศษวัสดุ ๗. สุขศึกษาและพลศกึ ษา การสรางภูมิคุมกนั ในตวั เองดวยการออกกำลงั กาย การเลน การละเลน แบบไทย ๆ ๘. ภาษาตางประเทศ การเรียนรูคำศัพทเกี่ยวกับความพอเพียง การเขียนเรื่องการ กลาวสุนทรพจน (Public Speed) เรื่องเศรษฐกจิ พอเพยี ง (Sufficiency Economy) การจัดการเรียนรูเรือ่ งเศรษฐกิจพอเพียงยังสามารถจดั ในลกั ษณะบูรณาการ หรือทำโครงงานใน กลุมสาระการเรยี นรตู า ง ๆ สอดแทรกแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพยี งไดดวยบรู ณาการ 3 หวง 2 เงื่อนไข ปรัชญาช้ีถึงแนวการดำรงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศ ซึ่งนักเรียนควรมีความรูความเขาใจ เก่ยี วกับหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง อาเซียนศึกษาโรงเรียน มงุ พฒั นาผเู รียนใหม ีความรคู วามเขา ใจเก่ียวกับ ประชาคมอาเซียนทาง ดา นการเมือง เศรษฐกจิ สงั คมและวัฒนธรรมทัง้ ๑๐ ประเทศ มีความตระหนัก ในการเปน สมาชิกท่ดี ี ของประชาคมอาเซียน สามารถตดิ ตอสอ่ื สารกบั กลุม ประเทศในประชาคมอาเซียนและ อยูรวมกันไดโดย ดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบนพ้ืนฐานของความเสมอภาคและผลประโยชน รว มกัน และพฒั นาผูเ รยี นใหม ีสมรรถนะสําคญั ในการกา วไปสูป ระชาคมอาเซยี น หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๖ รายวิชาเพิ่มเติมภาษาไทย พัฒนาผูเรียนใหสามารถอานคลอง เขียนคลอง มีทักษะในการอาน คิดวิเคราะห เขียน เขาใจจากส่ิงท่ีอาน ถายทอดใจความสำคัญของเร่ือง ต้ังคำถาม ตอบคำถาม สนทนาแสดงความคดิ เห็นอยางมเี หตุผล เลือกฟงและดูส่งิ ทเี่ ปน ประโยชนตามตองการ รายวิชาเพ่ิมเติมคณิตศาสตร พัฒนาผูเรียนอานและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตวั หนงั สอื แสดงจำนวนนับ หาผลลัพธการบวก ลบ คูณ หารระคน และเปรยี บเทยี บของจำนวนนบั รายวิชาเพ่ิมเติมโครงงานวิทยาศาสตร มุงพัฒนาผูเรียนใหรูจักการวิเคราะห จากการทำ กิจกรรมตาง ๆ ดวยการต้ังคำถามและการสืบคนขอมูล การวางแผนและการออกแบบโครงงาน วิทยาศาสตร การเขียนเคาโครงของโครงงานวิทยาศาสตร การทำโครงงานวิทยาศาสตร การเขียน รายงาน และการนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร โดยใชกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร การสืบเสาะหา ความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่รู มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรูไปใชใน ชวี ติ ประจำวัน มจี ติ วทิ ยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคานยิ มทเี่ หมาะสม รายวิชาเพิ่มเติมคอมพิวเตอร มุงพัฒนาผูเรียนไดรับประสบการณใหนักเรียนไดคุนเคย เห็น ประโยชน และมีทักษะเบื้องตนในการใชเคร่ืองคอมพิวเตอรในฐานะอุปกรณชว ยงาน สวนประกอบและ การทำงานของเคร่ืองคอมพิวเตอร นักเรียนไดปฏิบัติการใชเคร่ืองคอมพิวเตอร ฝกใชเมาส ใชแปนพิมพ โปรแกรมฝกพิมพ โปรแกรมวาดภาพ Paint ฝกใชระบบปฏิบัติการ (Windows) ชุดโปรแกรม Microsoft Office สืบคนขอมูลผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต (Internet) ใชอินเตอรเน็ตทักษะ คนควาศึกษาหาความรูใหม ในฐานะอุปกรณชวยงาน และเปนพื้นฐานตามระบบงานสารสนเทศ แนว การศึกษาคนควา เสริมสรางกระบวนการคิดวิเคราะห ความคิดริเริ่มสรางสรรคใหแกนักเรียน ให สามารถออกแบบแฟมสะสมผลงาน พัฒนางานนำเสนอ และสามารถนำความรูดานคอมพิวเตอรไปใช ประโยชนใ นชีวิตประจำวนั และเปน พืน้ ฐานในการศกึ ษาขั้นสูงตอไป 6. มาตรฐานการเรยี นรู การพัฒนาผูเรียนใหเกิดความสมดุล ตองคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปญญา หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน จึงกำหนดใหผูเรยี นเรียนรู 8 กลมุ สาระการเรยี นรู ดงั น้ี 1. ภาษาไทย 2. คณิตศาสตร 3. วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 4. สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม 5. สขุ ศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานอาชพี 8. ภาษาตางประเทศ ในแตละกลุมสาระการเรียนรูไดกำหนดมาตรฐานการเรียนรู เปนเปาหมายสำคัญของการ พัฒนาคุณภาพผูเรียน มาตรฐานการเรียนรู ระบุส่ิงที่ผูเรียนพึงรูและปฏิบัติได มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงคที่ตองการใหเกิดแกผูเรียนเมื่อจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน นอกจากน้ันมาตรฐาน การเรยี นรูยังเปนกลไกสำคัญ ในการขับเคลอ่ื น พัฒนาการศึกษาทง้ั ระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู จะสะทอนใหทราบวาตองการอะไร จะสอนอยางไร และประเมินอยางไร รวมทั้งเปนเคร่ืองมือในการ ตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพการศึกษา โดยใชระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมิน คุณภาพภายนอก ซ่ึงรวมถึงการทดสอบระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๗ การตรวจสอบเพ่ือประกันคุณภาพดังกลาวเปนสิ่งสำคัญท่ีชวยสะทอนภาพการจัดการศึกษาวาสามารถ พฒั นาผเู รยี นใหมีคุณภาพตามทม่ี าตรฐานการเรียนรกู ำหนดเพียงใด ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรูและปฏิบัติได รวมท้ังคุณลักษณะของผูเรียนในแตละระดับช้ัน ซึ่ง สะทอนถึงมาตรฐานการเรียนรู มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเปนรูปธรรม นำไปใชในการกำหนด เนื้อหา จัดทำหนวยการเรียนรู จัดการเรียนการสอน และเปนเกณฑสำคัญสำหรับการวัดประเมินผล เพื่อตรวจสอบคณุ ภาพผูเรยี น ตัวชีว้ ดั ชัน้ ป เปน เปา หมายในการพัฒนาผเู รยี นแตละช้นั ปในระดับประถมศกึ ษา ( ประถมศกึ ษาปที่ 1 – ประถมศึกษาปท ี่ 6 ) ว 1.1 ป.1/2 ป.1/2 ตัวช้ีวัดชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 1 ขอท่ี 2 1.1 สาระท่ี 1 มาตรฐานขอที่ 1 ว กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๘ 7. สาระการเรียนรู สาระการเรียนรู ประกอบดวย องคความรู ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู และคุณลักษณะ อันพึงประสงค ซึ่งกำหนดใหผูเรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจำเปนตองเรียนรู โดยแบงเปน ๘ กลุมสาระการเรยี นรู ดังน้ี ภาษาไทย : ความรู คณติ ศาสตร : การนำความรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี : ทักษะและวัฒนธรรมการ ทักษะและกระบวนการทาง การนำความรู และกระบวนการ ใชภ าษา เพ่อื การส่อื สาร คณิตศาสตรไ ปใชใ นการ ทางวทิ ยาศาสตรไ ปใชใ นการศึกษา ความช่ืนชม การเห็น แกปญหา การดำเนินชวี ติ คน ควา หาความรู และแกปญ หา คุณคา ภมู ปิ ญ ญาไทย และ และศึกษาตอ การมเี หตุมผี ล อยางเปนระบบ การคดิ อยา งเปน ภูมใิ จในภาษาประจำชาติ มเี จตคตทิ ด่ี ีตอคณติ ศาสตร เหตุเปน ผล คิดวเิ คราะห คิด พัฒนาการคิดอยางเปน ระบบ สรา งสรรค จติ วิทยาศาสตร และ และสรา งสรรค การใชเทคโนโลยี ภาษาตา งประเทศ : องคความรู ทกั ษะสำคญั สังคมศึกษา ศาสนาและ ความรทู ักษะ เจตคติ และคณุ ลักษณะ วัฒนธรรม : การอยูรว มกันใน และวัฒนธรรม การใช สังคมไทยและสังคมโลกอยา งสนั ตสิ ขุ ภาษา ตางประเทศใน ในหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา การเปน พลเมอื งดี ศรทั ธาใน การสือ่ สาร การ ขั้นพ้ืนฐาน หลักธรรมของศาสนา การเหน็ แสวงหาความรู และ คณุ คาของทรพั ยากร และ การประกอบอาชีพ ส่งิ แวดลอ ม ความรักชาติ และ ภมู ิใจในความเปน ไทย การงานอาชพี : ความรู ศิลปะ : ความรแู ละทักษะ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา : ทกั ษะ และเจตคตใิ น ในการคิดรเิ ริ่ม ความรู ทกั ษะและเจตคตใิ นการ การทำงาน การจดั การ จนิ ตนาการ สรา งสรรค สรา งเสริมสุขภาพพลานามยั ของ การดำรงชีวิต และการ งานศิลปะ สุนทรยี ภาพ ตนเองและผูอ่นื การปอ งกนั และ ประกอบอาชีพ และการเหน็ คณุ คาทาง ปฏบิ ัตติ อส่ิงตาง ๆ ที่มีผลตอ ศลิ ปะ สุขภาพอยา งถูกวิธีและทักษะใน การดำเนนิ ชวี ิต หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๙ ความสัมพนั ธของการพฒั นาคณุ ภาพผูเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน วสิ ัยทัศน หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน มุงพฒั นาผูเ รยี นทุกคน ซึ่งเปนกำลังของชาติใหเ ปนมนุษย ท่ีมีความสมดุลทั้งดานรางกาย ความรู คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเปนพลเมืองไทยและเปนพลโลก ยดึ ม่ัน ในการปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมุข มีความรูและทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ท่ีจำเปนตอการศึกษาตอ การประกอบอาชีพและการศกึ ษาตลอดชวี ิต โดยมงุ เนนผูเรยี น เปน สำคญั บนพ้นื ฐานความเช่ือวา ทกุ คนสามารถเรียนรแู ละพัฒนาตนเองไดเ ต็มตามศักยภาพ จดุ หมาย ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมทีพ่ งึ ประสงค เห็นคุณคา ของตนเอง มีวินัยและปฏิบตั ิ ตนตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทต่ี นนบั ถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๒. มีความรอู ันเปนสากลและมคี วามสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกปญหา การใช เทคโนโลยแี ละมีทักษะชวี ิต ๓. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี มีสขุ นสิ ัย และรักการออกกำลงั กาย ๔. มคี วามรกั ชาติ มีจติ สำนึกในความเปนพลเมอื งไทยและพลโลก ยึดม่นั ในวถิ ชี ีวิตและการ ปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ทรงเปน ประมขุ ๕. มีจติ สำนกึ ในการอนรุ ักษวฒั นธรรมและภูมิปญญาไทย การอนรุ กั ษแ ละพฒั นาสิง่ แวดลอ ม มจี ติ สาธารณะท่ีมงุ ทำประโยชนแ ละสรางสง่ิ ที่ดีงามในสงั คม และอยรู ว มกันในสังคมอยางมีความสขุ สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคดิ ๑. รักชาติ ศาสน กษัตรยิ  ๒. ซ่อื สตั ยส ุจรติ ๓. ความสามารถในการแกปญ หา ๓. มีวนิ ัย ๔. ใฝเ รยี นรู ๔. ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต ๕. อยอู ยา งพอเพียง ๖. มุงมน่ั ในการทำงาน ๕. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี ๗. รกั ความเปนไทย ๘. มีจิตสาธารณะ มาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวช้วี ัด ๘ กลุมสาระการเรียนรู กจิ กรรมพฒั นาผูเรียน ๑. ภาษาไทย ๕. สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ๑.กจิ กรรมแนะแนว ๒. คณิตศาสตร ๖. ศลิ ปะ ๒.กจิ กรรมนักเรียน ๓. วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๗. การงานอาชพี ๓. กิจกรรมเพ่ือสังคม ๔. สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๘. ภาษาตา งประเทศ และสาธารณประโยชน คุณภาพของผูเรยี นระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๑๐ สวนท่ี 2 โครงสรางหลกั สตู รสถานศึกษา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖4) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดกำหนดโครงสรางของหลักสูตร สถานศึกษา เพื่อใหผูสอนและผูที่เก่ียวของในการจัดการเรียนรูตามหลักสูตรของสถานศึกษามีแนว ปฏิบตั ิ ดังน้ี ระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ - ๖) การศึกษาระดับนี้เปนชวงแรกของการศึกษา ภาคบังคับ มุงเนนทักษะพื้นฐานดานการอาน การเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพ้ืนฐาน การ ตดิ ตอสื่อสาร กระบวนการ เรียนรูทางสังคม และพื้นฐานความเปนมนุษย การพัฒนาคุณภาพชีวิตอยาง สมบูรณและสมดุลท้ังในดานรางกาย สติปญญา อารมณ สังคม และวัฒนธรรม โดยเนนจัดการเรียนรู แบบบรู ณาการ การจัดเวลาเรียน ไดจัดเวลาเรียนตามกลุมสาระการเรียนรู 8 กลุมสาระ และกิจกรรม พัฒนา ผูเ รยี น โดยจัดใหเ หมาะสมตามบริบท จดุ เนนของโรงเรยี น และสภาพของผเู รียน ดังนี้ ระดบั ประถมศกึ ษา (ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๑ - ๖) จัดเวลาเรียนเปน รายป โดยมีเวลาเรียนวันละ 6 ช่ัวโมง โครงสรางเวลาเรียน เปนโครงสรางที่แสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของแตละกลุม สาระการเรียนรู 8 กลุมสาระ ที่เปนเวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนรายวิชาเพ่ิมเติม และเวลาในการจัด กิจกรรมพัฒนาผเู รียน จำแนกแตล ะช้นั ป ในระดบั ประถมศกึ ษา ดงั น้ี หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๑๑ โครงสรา งหลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบานบานตลง่ิ สูงสามคั คี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พทุ ธศักราช 2560) กลุมสาระการเรยี นรู / กจิ กรรม เวลาเรียน ระดับประถมศกึ ษา  กลุม สาระการเรียนรู ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 ภาษาไทย 200 200 200 ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ คณติ ศาสตร ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ 160 160 160 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 80 80 80 80 80 80 - วทิ ยาศาสตร 40 40 40 40 40 40 - วทิ ยาการคำนวณ 80 80 80 80 80 80 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม  ศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม 40 40 40 40 40 40  หนา ท่พี ลเมอื ง 40 40 40 ๔๐ ๔๐ ๔๐  เศรษฐศาสตร 40 40 40 ๔๐ ๔๐ ๔๐  ภูมิศาสตร 40 40 40 ๔๐ ๔๐ ๔๐ ประวตั ิศาสตร 120 120 120 120 120 120 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 840 840 840 840 840 840 ศิลปะ การงานอาชีพ ปล ะ 80 ชวั่ โมง ภาษาตางประเทศ (ภาษาองั กฤษ) รวมเวลาเรยี น (พืน้ ฐาน) 40 40 40  รายวิชา / กจิ กรรม ทีโ่ รงเรียนจัด 40 40 40 เพิม่ เติม ตามความพรอมและจดุ เนน การอา นและการเขยี นภาษาไทย ๔๐ ๔๐ ๔๐ คณติ คดิ สนกุ 40 40 40 โครงงานวิทยาศาสตร ๙๒0 920 920 920 920 920 คอมพิวเตอรส รา งสรรค รวมเวลาเรียน (พนื้ ฐาน + เพ่มิ เติม) 40 40 40 40 40 40  กิจกรรมพฒั นาผเู รียน 40 40 40 40 40 40 กจิ กรรมแนะแนว 30 30 30 30 30 30 กจิ กรรมลกู เสอื - เนตรนารี 10 10 10 10 10 10 กจิ กรรมชมุ นุม 120 120 120 120 120 120 กิจกรรมเพื่อสังคมแลสาธารณประโยชน บรู ณาการ บูรณาการ บรู ณาการ บูรณาการ บูรณาการ บูรณาการ รวมเวลากจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น 1,0๔0 1,040 1,040 1,0๔0 1,040 1,040 กิจกรรมเพิ่มเวลารู รวมเวลาทง้ั หมด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๑๒ 1. กิจกรรมพัฒนาผูเรียนจัดเปนกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู” บังคับตามหลักสูตร ประกอบดว ย กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรยี น และกิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน 2. วิชาหนาที่พลเมืองชั้นประถมศึกษาปที่ 1,2,3,4,5,๖ จัดการเรียนการสอนบูรณาการใน กลุมสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม และตัดสินผลการเรยี นรวม 3. วิชาภาษาอังกฤษ 80 ช่ัวโมง ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี 1 – 3 จัดการเรียนการสอน ใหบ ูรณา การลงสูกิจกรรมที่โรงเรียน ดำเนินการอยูแลว ไดแก จัดแบบบูรณาการกับกิจกรรมของโรงเรียน “ลด เวลาเรยี น เพิม่ เวลาร”ู และในกจิ กรรมซอมเสรมิ 4. หลักสูตรตานทุจริต บูรณาการกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู กิจกรรมซอมเสริม และบูรณาการลงสูกจิ กรรมท่ีโรงเรยี นดำเนนิ การอยูแลว โรงเรียนบานตล่งิ สูงสามัคคี ปรบั โครงสรางเวลาเรยี นและโครงสรางหลักสูตรของโรงเรียนบาน ตลิ่งสูงสามัคคี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พุทธศกั ราช 2560) ไดด งั น้ี ระดับประถมศึกษา (ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๑ - 6) 1. รายวชิ าพนื้ ฐาน เทา กบั 840 ช่วั โมง/ป 2. รายวิชา/กิจกรรมท่ีสถานศึกษาจัดเพิ่มเติมตามความพรอมและจุดเนนเทากับ ๘0 ชว่ั โมง/ป รวมทั้งส้ิน ๙๒๐ ชวั่ โมง/ป หรือ 22 ชั่วโมง/สัปดาห 3. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน จำนวน 120 ช่ัวโมง/ป หรือ 3 ช่ัวโมง/สัปดาห ประกอบดวย 3.1 กจิ กรรมแนะแนว 3.2 กจิ กรรมนกั เรียน 3.3 กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน โดยเวลาเรียนรวมท้งั หมด 1,0๔0 ชัว่ โมง/ป หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๑๓ 1. โครงสรา งหลกั สตู รช้ันป เปนโครงสรางทแ่ี สดงรายละเอียดเวลาเรยี นของรายวชิ าพื้นฐาน รายวชิ า / กิจกรรมเพ่ิมเตมิ และกิจกรรมพฒั นาผเู รียนในแตล ะชน้ั ป โครงสรางหลักสตู รชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1 โรงเรียนบา นตลิ่งสงู สามัคคี รหัส กลุม สาระการเรียนร/ู กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชม./ป) รายวชิ าพนื้ ฐาน 840 200 ท 11101 ภาษาไทย 1 160 ค 11101 คณิตศาสตร 1 120 ว 11101 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 1 80 ส 11101 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 1 40 ส 11102 ประวัติศาสตร 1 40 พ 11101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1 40 ศ 11101 ศิลปะ 1 40 ง 11101 การงานอาชีพ 1 120 อ 11101 ภาษาองั กฤษ 1 ๘0 40 รายวชิ าเพิ่มเติม / กจิ กรรมเพมิ่ เติม 40 ท 11201 การอา นและการเขยี นภาษาไทย 1 120 ค 11201 คณิตคิดสนุก 1 40 40 กจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี น 30 แนะแนว 1 10 ลูกเสือ – เนตรนารี 1 1,0๔0 กจิ กรรมชมุ นมุ 1 กจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน 1 รวมเวลาเรยี นทงั้ สิ้น หมายเหตุ 1. กิจกรรมพัฒนาผูเรียนจัดเปนกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู” บังคับตามหลักสูตร ประกอบดว ย กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรียน และกิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน 2. วิชาหนาท่ีพลเมืองชั้นประถมศึกษาปท่ี 1,2,3,4,5,๖ จัดการเรียนการสอนบูรณาการใน กลุมสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม และตัดสินผลการเรียนรวม 3. วิชาภาษาอังกฤษ 80 ชั่วโมง จัดการเรียนการสอน ใหบูรณาการลงสูกิจกรรมที่โรงเรียน ดำเนนิ การอยูแลว ไดแก จัดแบบบรู ณาการกับกิจกรรมของโรงเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลาร”ู และใน กจิ กรรมซอมเสริม 4. หลักสูตรตานทุจริต บูรณาการกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู กจิ กรรมซอมเสรมิ และบรู ณาการลงสกู ิจกรรมทโี่ รงเรียนดำเนนิ การอยูแลว หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๑๔ โครงสรา งหลักสตู รชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 2 เวลาเรียน (ชม./ป) โรงเรียนบานตลิ่งสงู สามคั คี 840 200 รหัส กลมุ สาระการเรยี นรู/กิจกรรม 160 รายวิชาพ้นื ฐาน 120 80 ท 12101 ภาษาไทย 2 40 ค 12101 คณิตศาสตร 2 40 ว 12101 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 2 40 ส 12101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 2 40 ส 12102 ประวตั ศิ าสตร 2 120 พ 12101 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 40 ศ 12101 ศลิ ปะ 2 40 ง 12101 การงานอาชพี 2 40 อ 12101 ภาษาอังกฤษ 2 120 40 รายวชิ าเพ่ิมเติม / กจิ กรรมเพิ่มเติม 40 ค 12201 การอา นและการเขยี นภาษาไทย 2 30 ท 12201 คณติ คดิ สนุก 2 10 1,040 กจิ กรรมพัฒนาผูเ รยี น แนะแนว 2 ลูกเสือ – เนตรนารี 2 กจิ กรรมชุมนมุ 2 กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน 2 รวมเวลาเรยี นทั้งสิ้น หมายเหตุ 1. กิจกรรมพัฒนาผูเรียนจัดเปนกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู” บังคับตามหลักสูตร ประกอบดว ย กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรยี น และกจิ กรรมเพอื่ สังคมและสาธารณประโยชน 2. วิชาหนาท่ีพลเมืองชั้นประถมศึกษาปท่ี 1,2,3,4,5,๖ จัดการเรียนการสอนบูรณาการใน กลุมสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และตดั สินผลการเรียนรวม 3. วิชาภาษาอังกฤษ 80 ชั่วโมง จัดการเรียนการสอน ใหบูรณาการลงสูกิจกรรมที่โรงเรียน ดำเนินการอยูแลว ไดแก จดั แบบบูรณาการกับกจิ กรรมของโรงเรียน “ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู” และใน กิจกรรมซอมเสริม 4. หลักสูตรตานทุจริต บูรณาการกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู กจิ กรรมซอมเสรมิ และบรู ณาการลงสกู ิจกรรมท่ีโรงเรียนดำเนนิ การอยแู ลว หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๑๕ โครงสรา งหลักสตู รชั้นประถมศกึ ษาปที่ 3 โรงเรียนบานตล่ิงสงู สามคั คี รหัส กลมุ สาระการเรียนร/ู กิจกรรม เวลาเรียน (ชม./ป) รายวิชาพ้นื ฐาน 840 200 ท 13101 ภาษาไทย 3 160 ค 13101 คณิตศาสตร 3 120 ว 13101 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3 80 ส 13101 สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 3 40 ส 13102 ประวตั ศิ าสตร 3 40 พ 13101 สุขศึกษาและพลศึกษา 3 40 ศ 13101 ศลิ ปะ 3 40 ง 13101 การงานอาชพี 3 120 อ 13101 ภาษาอังกฤษ 3 40 40 รายวชิ าเพ่ิมเติม / กจิ กรรมเพิม่ เติม 40 ค 13201 การอา นและการเขยี นภาษาไทย 3 120 ท 13201 คณติ คดิ สนุก 3 40 40 กจิ กรรมพัฒนาผเู รยี น 30 แนะแนว 3 10 ลกู เสือ – เนตรนารี 3 1,040 กจิ กรรมชมุ นมุ 3 กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะประโยชน 3 รวมเวลาเรยี นทง้ั สิน้ หมายเหตุ 1. กิจกรรมพัฒนาผูเรียนจัดเปนกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู” บังคับตามหลักสูตร ประกอบดว ย กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรยี น และกจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน 2. วิชาหนาท่ีพลเมืองช้ันประถมศึกษาปท่ี 1,2,3,4,5,๖ จัดการเรียนการสอนบูรณาการใน กลุมสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และตดั สนิ ผลการเรียนรวม 3. วิชาภาษาอังกฤษ 80 ช่ัวโมง จัดการเรียนการสอน ใหบูรณาการลงสูกิจกรรมท่ีโรงเรียน ดำเนินการอยแู ลว ไดแก จดั แบบบรู ณาการกบั กจิ กรรมของโรงเรียน “ลดเวลาเรียน เพม่ิ เวลารู” และใน กิจกรรมซอมเสริม 4. หลักสูตรตานทุจริต บูรณาการกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู กจิ กรรมซอ มเสรมิ และบรู ณาการลงสูก จิ กรรมทโี่ รงเรยี นดำเนนิ การอยแู ลว หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๑๖ โครงสรา งหลกั สูตรช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 4 เวลาเรียน (ชม./ป) โรงเรียนบา นตลิ่งสงู สามัคคี 840 200 รหัส กลุม สาระการเรียนรู/กิจกรรม 160 รายวิชาพ้นื ฐาน 120 80 ท 14101 ภาษาไทย 4 40 ค 14101 คณติ ศาสตร 4 40 ว 14101 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 4 40 ส 14101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 4 40 ส 14102 ประวัติศาสตร 4 120 พ 14101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 4 40 ศ 14101 ศิลปะ 4 40 ง 14101 การงานอาชีพ 4 40 อ 14101 ภาษาอังกฤษ 4 120 40 รายวชิ าเพมิ่ เติม / กิจกรรมเพมิ่ เติม 40 ว 14๒๐๑ โครงงานวิทยาศาสตร 4 30 ว 14202 คอมพิวเตอรส รางสรรค 4 10 1,0๔0 กิจกรรมพัฒนาผเู รียน แนะแนว 4 ลกู เสือ – เนตรนารี 4 กิจกรรมชมุ นมุ 4 กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณะประโยชน 4 รวมเวลาเรียนทงั้ ส้ิน หมายเหตุ 1. กิจกรรมพัฒนาผูเรียนจัดเปนกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู” บังคับตามหลักสูตร ประกอบดว ย กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี น และกจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน 2. วิชาหนาท่ีพลเมืองช้ันประถมศึกษาปที่ 1,2,3,4,5,๖ จัดการเรียนการสอนบูรณาการใน กลมุ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม และตดั สนิ ผลการเรียนรวม 3. หลักสูตรตานทุจริต บูรณาการกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู กจิ กรรมซอมเสรมิ และบูรณาการลงสกู ิจกรรมทโ่ี รงเรยี นดำเนินการอยูแลว หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๑๗ โครงสรางหลักสตู รช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 5 เวลาเรียน (ชม./ป) โรงเรียนบานตลิ่งสงู สามัคคี 840 200 รหสั กลุมสาระการเรียนรู/กิจกรรม 160 รายวิชาพน้ื ฐาน 120 80 ท 15101 ภาษาไทย 5 40 ค 15101 คณติ ศาสตร 5 40 ว 15101 วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 5 40 ส 15101 สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5 40 ส 15102 ประวัติศาสตร 5 120 พ 15101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 5 40 ศ 15101 ศิลปะ 5 40 ง 15101 การงานอาชพี 5 40 อ 15101 ภาษาองั กฤษ 5 120 40 รายวชิ าเพิม่ เติม / กิจกรรมเพ่มิ เติม 40 ว 15๒๐๑ โครงงานวิทยาศาสตร 5 30 ว 15202 คอมพวิ เตอรส รางสรรค 5 10 1,040 กิจกรรมพัฒนาผูเรียน แนะแนว 5 ลูกเสือ – เนตรนารี 5 กิจกรรมชมุ นุม 5 กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณะประโยชน 5 รวมเวลาเรียนทัง้ สนิ้ หมายเหตุ 1. กิจกรรมพัฒนาผูเรียนจัดเปนกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู” บังคับตามหลักสูตร ประกอบดว ย กจิ กรรมแนะแนว กจิ กรรมนกั เรยี น และกจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน 2. วิชาหนาท่ีพลเมืองชั้นประถมศึกษาปที่ 1,2,3,4,5,๖ จัดการเรียนการสอนบูรณาการใน กลมุ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และตดั สนิ ผลการเรียนรวม 3. หลักสูตรตานทุจริต บูรณาการกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู กจิ กรรมซอ มเสรมิ และบูรณาการลงสูก ิจกรรมท่โี รงเรยี นดำเนนิ การอยูแลว หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๑๘ โครงสรา งหลกั สูตรชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 6 เวลาเรยี น (ชม./ป) โรงเรียนบา นตล่ิงสงู สามคั คี 840 200 รหัส กลุมสาระการเรยี นรู/ กจิ กรรม 160 รายวิชาพนื้ ฐาน 80 80 ท 16101 ภาษาไทย 6 40 ค 16101 คณติ ศาสตร 6 40 ว 16101 วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี 6 40 ส 16101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 6 40 ส 16102 ประวัตศิ าสตร 6 120 พ 16101 สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 6 40 ศ 16101 ศลิ ปะ 6 40 ง 16101 การงานอาชีพ 6 40 อ 16101 ภาษาอังกฤษ 6 120 40 รายวชิ าเพ่มิ เติม / กจิ กรรมเพ่มิ เตมิ 40 ว 16๒๐๑ โครงงานวทิ ยาศาสตร 6 30 ว 16202 คอมพิวเตอรสรา งสรรค 6 10 1,000 กจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี น แนะแนว 6 ลกู เสือ – เนตรนารี 6 กจิ กรรมชุมนุม 6 กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะประโยชน 6 รวมเวลาเรยี นทั้งสนิ้ หมายเหตุ 1. กิจกรรมพัฒนาผูเรียนจัดเปนกิจกรรม “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู” บังคับตามหลักสูตร ประกอบดวย กิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรยี น และกิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน 2. วิชาหนาที่พลเมืองช้ันประถมศึกษาปท่ี 1,2,3,4,5,๖ จัดการเรียนการสอนบูรณาการใน กลุม สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และตดั สนิ ผลการเรียนรวม 3. หลักสูตรตานทุจริต บูรณาการกิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู กิจกรรมซอมเสรมิ และบรู ณาการลงสกู ิจกรรมทโ่ี รงเรียนดำเนนิ การอยแู ลว หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๑๙ 2. โครงรางรายวิชา กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ๒๐๐ ชว่ั โมง ๕ ชวั่ โมง/สัปดาห รายวิชาพน้ื ฐาน ๒๐๐ ชว่ั โมง ๕ ชว่ั โมง/สัปดาห ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ ๒๐๐ ชั่วโมง ๕ ช่วั โมง/สัปดาห ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ ๒๐๐ ชวั่ โมง 5 ชวั่ โมง/สัปดาห ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ ๒๐๐ ชว่ั โมง 5 ชั่วโมง/สปั ดาห ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ ๒๐๐ ชว่ั โมง 5 ชวั่ โมง/สัปดาห ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ รายวิชาเพ่มิ เติม 40 ช่วั โมง 1 ชว่ั โมง/สัปดาห ท 11201 การอานและการเขียนภาษาไทย 1 40 ชั่วโมง 1 ช่วั โมง/สัปดาห ท 12201 การอา นและการเขียนภาษาไทย 2 40 ช่ัวโมง 1 ชั่วโมง/สปั ดาห ท 13201 การอานและการเขยี นภาษาไทย 3 กลมุ สาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๑๖๐ ชั่วโมง ๔ ช่วั โมง/สัปดาห รายวิชาพ้นื ฐาน ๑๖๐ ชั่วโมง ๔ ช่ัวโมง/สปั ดาห ค ๑๑๑๐๑ คณิตศาสตร ๑ ๑๖๐ ชั่วโมง ๔ ช่วั โมง/สัปดาห ค ๑๒๑๐๑ คณิตศาสตร ๒ ๑๖๐ ชว่ั โมง ๔ ช่ัวโมง/สัปดาห ค ๑๓๑๐๑ คณิตศาสตร ๓ ๑๖๐ ชัว่ โมง ๔ ชวั่ โมง/สัปดาห ค ๑๔๑๐๑ คณิตศาสตร ๔ ๑๖๐ ชว่ั โมง ๔ ชั่วโมง/สปั ดาห ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร ๕ ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร ๖ รายวชิ าเพมิ่ เติม 4๐ ชว่ั โมง 1 ช่ัวโมง/สัปดาห ค ๑๑2๐๑ คณิตคดิ สนุก ๑ 4๐ ชั่วโมง 1 ช่วั โมง/สัปดาห ค ๑๒2๐๑ คณิตคดิ สนุก ๒ 4๐ ชัว่ โมง 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห ค ๑๓2๐๑ คณติ คิดสนุก ๓ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๒๐ กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 12๐ ช่วั โมง 3 ชว่ั โมง/สัปดาห รายวชิ าพน้ื ฐาน 12๐ ชวั่ โมง 3 ช่ัวโมง/สัปดาห ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๑ 12๐ ช่วั โมง 3 ชว่ั โมง/สัปดาห ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๒ 12๐ ช่ัวโมง 3 ชั่วโมง/สัปดาห ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๓ 12๐ ช่วั โมง 3 ชวั่ โมง/สปั ดาห ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๔ 12๐ ชว่ั โมง 3 ชั่วโมง/สัปดาห ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ๕ 4๐ ชว่ั โมง 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห ว ๑๖๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๖ 4๐ ชั่วโมง 1 ชั่วโมง/สัปดาห 4๐ ช่ัวโมง 1 ชว่ั โมง/สัปดาห รายวชิ าเพม่ิ เติม 4๐ ช่ัวโมง 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห ว 14๒๐๑ โครงงานวิทยาศาสตร ๔ 4๐ ชั่วโมง 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห ว ๑๕2๐๑ โครงงานวทิ ยาศาสตร ๕ 4๐ ชว่ั โมง 1 ช่ัวโมง/สัปดาห ว ๑๖2๐๑ โครงงานวิทยาศาสตร ๖ 8๐ ชั่วโมง 2 ช่ัวโมง/สปั ดาห ว 14202 คอมพิวเตอรส รางสรรค ๔ 8๐ ชัว่ โมง 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห ว ๑๕2๐2 คอมพวิ เตอรสรา งสรรค ๕ 8๐ ชวั่ โมง 2 ช่ัวโมง/สัปดาห ว ๑๖2๐2 คอมพวิ เตอรสรา งสรรค ๖ ๘๐ ชวั่ โมง ๒ ชวั่ โมง/สปั ดาห ๘๐ ชวั่ โมง ๒ ชัว่ โมง/สัปดาห กลุมสาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๘๐ ช่ัวโมง ๒ ชั่วโมง/สัปดาห รายวิชาพื้นฐาน ๔๐ ช่ัวโมง ๑ ช่วั โมง/สัปดาห ส ๑๑๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑ ๔๐ ช่ัวโมง ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห ส ๑๒๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๒ ๔๐ ชว่ั โมง ๑ ช่ัวโมง/สปั ดาห ส ๑๓๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๓ ๔๐ ช่ัวโมง ๑ ช่ัวโมง/สปั ดาห ส ๑๔๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๔ ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชัว่ โมง/สัปดาห ส ๑๕๑๐๑ สงั คมศึกษาฯ ๕ ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห ส ๑๖๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๖ ส ๑๑๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร ๑ ส ๑๒๑๐๒ ประวัติศาสตร ๒ ส ๑๓๑๐๒ ประวตั ิศาสตร ๓ ส ๑๔๑๐๒ ประวัตศิ าสตร ๔ ส ๑๕๑๐๒ ประวัติศาสตร ๕ ส ๑๖๑๐๒ ประวตั ศิ าสตร ๖ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๒๑ กลุมสาระการเรยี นรูสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 4๐ ชั่วโมง ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห รายวิชาพ้นื ฐาน 4๐ ช่วั โมง ๑ ช่วั โมง/สปั ดาห พ ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๑ 4๐ ชวั่ โมง ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห พ ๑๒๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา ๒ ๔๐ ชวั่ โมง ๑ ชั่วโมง/สัปดาห พ ๑๓๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๓ ๔๐ ชว่ั โมง ๑ ชัว่ โมง/สปั ดาห พ ๑๔๑๐๑ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ๔ ๔๐ ช่ัวโมง ๑ ชัว่ โมง/สปั ดาห พ ๑๕๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๕ พ ๑๖๑๐๑ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ๖ 40 ชัว่ โมง ๑ ช่ัวโมง/สัปดาห 40 ช่ัวโมง ๑ ชั่วโมง/สัปดาห กลมุ สาระการเรียนรศู ิลปะ 40 ชั่วโมง ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห รายวชิ าพ้ืนฐาน ๔๐ ชวั่ โมง ๑ ช่ัวโมง/สปั ดาห ศ ๑๑๑๐๑ ศิลปะ ๑ ๔๐ ชวั่ โมง ๑ ชว่ั โมง/สปั ดาห ศ ๑๒๑๐๑ ศลิ ปะ ๒ ๔๐ ช่วั โมง ๑ ชวั่ โมง/สัปดาห ศ ๑๓๑๐๑ ศิลปะ ๓ ศ ๑๔๑๐๑ ศิลปะ ๔ ๔๐ ชวั่ โมง ๑ ชวั่ โมง/สปั ดาห ศ ๑๕๑๐๑ ศิลปะ ๕ ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชว่ั โมง/สปั ดาห ศ ๑๖๑๐๑ ศลิ ปะ ๖ ๔๐ ช่ัวโมง ๑ ช่วั โมง/สัปดาห ๔๐ ชั่วโมง ๑ ชั่วโมง/สปั ดาห กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชีพ ๔๐ ชัว่ โมง ๑ ชว่ั โมง/สัปดาห รายวชิ าพืน้ ฐาน ๔๐ ชวั่ โมง ๑ ช่ัวโมง/สปั ดาห ง ๑๑๑๐๑ การงานอาชีพ ๑ ง ๑๒๑๐๑ การงานอาชีพ ๒ 120 ชั่วโมง 3 ชั่วโมง/สัปดาห ง ๑๓๑๐๑ การงานอาชีพ ๓ 120 ชว่ั โมง 3 ช่ัวโมง/สปั ดาห ง ๑๔๑๐๑ การงานอาชีพ ๔ 120 ชวั่ โมง 3 ช่วั โมง/สปั ดาห ง ๑๕๑๐๑ การงานอาชพี ๕ 120 ช่วั โมง 3 ช่วั โมง/สัปดาห ง ๑๖๑๐๑ การงานอาชีพ ๖ 120 ชั่วโมง 3 ชวั่ โมง/สปั ดาห 120 ชัว่ โมง 3 ช่วั โมง/สัปดาห กลมุ สาระการเรียนรภู าษาตางประเทศ รายวิชาพื้นฐาน อ ๑๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ อ ๑๒๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๒ อ ๑๓๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๓ อ ๑๔๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๔ อ ๑๕๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕ อ ๑๖๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๖ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๒๒ สวนที่ ๓ คำอธบิ ายรายวิชา 1. กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ภาษาไทยเปนเอกลักษณของชาติเปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพและ เสริมสรางบุคลิกภาพของคนในชาติใหมีความเปนไทย เปนเคร่อื งมือในการติดตอส่ือสารเพื่อสรางความ เขาใจและความสัมพันธท่ีดีตอกัน ทำใหสามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดำรงชีวิตรวมกันในสงั คม ประชาธิปไตยไดอยางสันติสุข และเปนเคร่ืองมือในการแสวงหาความรูประสบการณจากแหลงขอมูล สารสนเทศตา งๆ เพ่ือพัฒนาความรู พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรา งสรรคใหทันตอการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม และความกาวหนาทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใชในการพัฒนา อาชพี ใหม ีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเปนสื่อแสดงภมู ิปญญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เปนสมบตั ิล้ำคาควรแกการเรียนรู อนุรกั ษ และสืบสานใหคงอยูคูชาติไทย ตลอดไป สาระและมาตรฐานการเรยี นรู สาระท่ี ๑ การอา น มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพ่ือนำไปใชตัดสินใจ แกปญ หาในการดำเนินชวี ิตและมนี ิสยั รกั การอา น สาระที่ ๒ การเขยี น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชกระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียน เร่ืองราวในรูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมี ประสิทธิภาพ สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรสู กึ ในโอกาสตาง ๆ อยา งมีวจิ ารณญาณและสรา งสรรค สาระท่ี ๔ หลกั การใชภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภมู ิปญ ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ ปนสมบตั ิของชาติ สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยาง เหน็ คุณคา และนำมาประยกุ ตใ ชใ นชีวติ จริง หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๒๓ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ท ๑๑๑๐๑ ภาษาไทย ๑ กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง คำอธิบายรายวชิ า ฝก อานออกเสียงคำ คำคลองจอง และขอความสั้น ๆ บอกความหมายของคำและขอความ ตอบ คำถาม เลาเร่ืองยอ คาดคะเนเหตุการณ เลือกอานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ำเสมอ นำเสนอเร่ือง ที่อาน บอกความหมายของเครือ่ งหมายหรือสัญลกั ษณสำคัญที่มกั พบเห็นในชีวิตประจำวัน มมี ารยาทใน การอาน ฝกคัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนส่ือสารดวยคำและประโยคงาย ๆ มีมารยาทใน การเขยี น ฝกทักษะในการฟง ฟงคำแนะนำ คำสั่งงายๆและปฏิบัติตาม ตอบคำถาม เลาเรื่อง พูดแสดง ความคิดเห็นและความรูสึกจากเร่ืองท่ีฟงและดู พูดสื่อสารไดตามวัตถุประสงค เนนมารยาทในการฟง การดูและการพูด ฝกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ เรียบเรียงคำเปนประโยคงา ย ๆ ตอ คำคลอ งจองงา ย ๆ บอกขอคดิ ทีไ่ ดจากการอา นหรือการฟงวรรณกรรมรอ ยแกวและรอยกรองสำหรับเดก็ ฝก ทองจำ บทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทรอยกรองตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิด การฝกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การตั้ง คำถาม ตอบคำถาม ใชทักษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสราง ความคิดรวบยอด เพอื่ ใหเ กิดความรู ความคดิ ความเขาใจ ส่อื สารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เหน็ คณุ คาของ การอนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใชกับชีวิตประจำวันไดอยางถกู ตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕, ป.๑/๖, ป.๑/๗, ป.๑/๘ ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ ท ๔.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔ ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๒ ตวั ช้ีวัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๒๔ คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ท ๑๒๑๐๑ ภาษาไทย ๒ กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี ๒ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง คำอธิบายรายวิชา ฝกอานออกเสียงคำ คำคลองจอง ขอความ และบทรอ ยกรองงา ย ๆ อธิบายความหมายของคำ และขอความที่อาน ต้ังคำถาม ตอบคำถาม ระบุใจความสำคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและ คาดคะเนเหตุการณ เลือกอานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องท่ีอาน อาน ขอ เขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัตติ ามคำสั่งหรอื ขอ แนะนำ มมี ารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือดว ยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนเร่ืองสั้น ๆ เกี่ยวกับประสบการณ เขียนเร่ืองสั้น ๆ ตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝกทักษะการฟง ฟงคำแนะนำ คำส่ังท่ีซับซอนและปฏิบัติตาม เลาเรื่อง บอกสาระสำคัญของ เร่ืองต้ังคำถาม ตอบคำถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรูสึก พูดส่ือสารไดชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค มีมารยาทในการฟง การดูและการพดู ฝกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย เขียนสะกดคำและบอกความหมาย ของคำ เรียบเรียงคำเปนประโยคไดตรงตามเจตนาของการสื่อสาร บอกลักษณะคำคลองจอง เลือกใช ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินไดเ หมาะสมกบั กาลเทศะ ฝกจับใจความสำคัญจากเรื่อง ระบุขอคิดท่ีไดจากการอานหรือการฟงวรรณกรรมสำหรับเด็ก เพ่ือนำไปใชในชวี ติ ประจำวนั รอ งบทรองเลน สำหรับเด็กในทองถน่ิ ทองจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและ บทรอยกรองท่ีมีคุณคา ตามความสนใจ โดยใชก ระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหา ความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกปญหา การ ฝก ปฏบิ ัติ อธิบาย บันทกึ การตั้งคำถาม ตอบคำถาม ใชท ักษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดงความ คิดเห็น กระบวนการสรางความคดิ รวบยอด เพื่อใหเ กิดความรู ความคิด ความเขาใจ สอื่ สารไดถ กู ตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของ การอนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใชกับชวี ิตประจำวันไดอยางถกู ตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั ท ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ท ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ท ๓.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ป.๒/๖, ป.๒/๗ ท ๔.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕ ท ๕.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ รวม ๕ มาตรฐาน ๒๗ ตัวชว้ี ัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๒๕ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ท ๑๓๑๐๑ ภาษาไทย ๓ กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๓ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง คำอธิบายรายวชิ า ฝกอานออกเสียงคำ ขอความ เร่ืองส้ัน ๆ และบทรอยกรองงาย ๆ อธิบายความหมายของคำ และขอ ความท่ีอาน ต้ังคำถาม ตอบคำถามเชงิ เหตุผล ลำดับเหตุการณ คาดคะเนเหตกุ ารณ สรุปความรู ขอ คดิ จากเรอ่ื งทอ่ี า น เพ่ือนำไปใชในชีวติ ประจำวนั เลือกอา นหนงั สือตามความสนใจอยางสมำ่ เสมอและ นำเสนอเรื่องท่ีอาน อานขอเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติตามคำส่ังหรือขอแนะนำ อธิบายความหมาย ของขอมลู จากแผนภาพ แผนท่ี และแผนภูมิ มมี ารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย เขียนบันทึกประจำวัน เขียนเร่ืองตาม จนิ ตนาการ มีมารยาทในการเขยี น ฝกทักษะการฟง การดูและการพูด เลารายละเอียด บอกสาระสำคัญ ตั้งคำถาม ตอบคำถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความรูสึก พูดสื่อสารไดชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค มีมารยาทในการฟง การดู และการพดู ฝกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำ ระบุชนิด หนาท่ีของคำ ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคำ แตงประโยคงาย ๆ แตงคำคลองจองและคำขวัญ เลือกใช ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถนิ่ ไดเหมาะสมกบั กาลเทศะ ระบุขอคิดท่ีไดจากการอานวรรณกรรม เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวัน รูจักเพลงพ้ืนบาน เพลง กลอ มเด็ก เพ่ือปลูกฝงความช่ืนชมวัฒนธรรมทอ งถิ่น แสดงความคิดเห็นเก่ยี วกับวรรณคดีที่อาน ทองจำ บทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทรอยกรองท่ีมีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกปญหา การฝกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคำถาม ตอบคำถาม ใชท กั ษะการฟง การดแู ละการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสรา งความคดิ รวบยอด เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคา ของ การอนุรักษภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใชก บั ชวี ิตประจำวันไดอยางถกู ตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวชี้วดั ท ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙ ท ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๔.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖ ท ๕.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๑ ตัวช้วี ัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๒๖ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ท ๑๔๑๐๑ ภาษาไทย ๔ กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี ๔ เวลา 200 ชั่วโมง คำอธิบายรายวิชา ฝก อา นออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง อธบิ ายความหมายของคำ ประโยคและสำนวน จากเรื่องที่อาน อานเร่ืองส้ัน ๆ ตามเวลาท่ีกำหนดและตอบคำถามจากเร่ืองที่อาน แยกขอเท็จจริงและ ขอคิดเห็นจากเรอื่ งที่อา น คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องท่ีอาน โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรแู ละ ขอคิดจากเรื่องท่ีอาน เพ่ือนำไปใชในชีวิตประจำวัน เลือกอานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจอยาง สม่ำเสมอและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องท่ีอาน มีมารยาทในการอาน ฝกคัดลายมือดวยตัวบรรจง เต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่อื สารโดยใชค ำไดถูกตอง ชัดเจนและเหมาะสม เขียนแผนภาพโครง เร่ืองและแผนภาพความคิดเพอ่ื ใชพฒั นางานเขียน เขียนยอความจากเรื่องส้ัน ๆ เขียนจดหมายถึงเพ่ือน และมารดา เขียนบันทกึ และเขียนรายงานจากการศึกษาคน ควา เขียนเรื่องตามจนิ ตนาการ มมี ารยาท ในการเขยี น ฝกทักษะการฟง การดูและการพูด จำแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นเรื่องที่ฟงและดู พูดสรุป จากการฟงและดู พูดแสดงความรู ความคิดเห็นและความรูสึกเก่ียวกับเร่ืองที่ฟงและดู ต้ังคำถามและ ตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเรื่องทฟี่ งและดูพูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นทศี่ ึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา มีมารยาทในการฟง การดูและการพูด ฝกเขียนตามหลักการเขียน เขียนสะกดคำและ บอกความหมายของคำในบริบทตาง ๆ ระบุชนิดและหนาท่ีของคำในประโยค ใชพจนานุกรมคนหา ความหมายของคำ แตงประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา แตงบทรอยกรองและคำขวญั บอกความหมาย ของสำนวน เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได ระบุขอคิดจากนิทานพ้ืนบานหรือนิทานคติธรรมอธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนำไปใชในชีวิต จริงรองเพลงพื้นบานทองจำบทอาขยานตามท่ีกำหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดย ใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิด วิเคราะหและสรุปความ กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการ แกป ญหา การฝกปฏบิ ตั ิอธิบาย บนั ทึก การตัง้ คำถาม ตอบคำถาม ใชทักษะการฟง การดูและการพูดพูด แสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสรางความคดิ รวบยอด เพ่ือใหเ กิดความรู ความคิด ความเขาใจ สอื่ สารไดถ กู ตอง รกั การเรียนภาษาไทย เห็นคณุ คา ของ การอนรุ กั ษภาษาไทยและตัวเลขไทย สามารถนำความรูไ ปใชใหเกิดประโยชนโดยใชวธิ กี ารของเศรษฐกิจ พอเพียงและสามารถนำไปประยุกตใชกับชีวิตประจำวันไดอยางถกู ตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวชี้วดั ท ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘ ท ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖ ท ๔.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗ ท ๕.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวช้ีวัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๒๗ คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ท ๑๕๑๐๑ ภาษาไทย ๕ กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ ๕ เวลา 200 ชัว่ โมง คำอธิบายรายวิชา ฝก อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและขอความ ที่เปนการบรรยายและการพรรณนา อธิบายความหมายโดยนัย แยกขอเท็จจริง ขอคิดเห็น วิเคราะห แสดงความคิดเห็น อานงานเขียนเชิงอธิบาย คำส่ัง ขอแนะนำ และปฏิบัติตาม เลือกอานหนังสือท่ีมี คุณคา ตามความสนใจ มีมารยาทในการอา น ฝก คดั ลายมือดว ยตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนส่ือสาร เขียนแผนภาพ โครงเร่ือง แผนภาพความคิด เขียนยอความ เขียนจดหมายถึงผูปกครองและญาติ เขียนแสดงความรูสึกและความ คิดเหน็ กรอกแบบรายการตา ง ๆ เขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขียน ฝกทักษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดงความรู ความคิดเห็นและความรูสึก ต้ังคำถาม ตอบคำถาม วิเคราะหค วาม พดู รายงาน มีมารยาทในการฟง การดูและการพดู ระบุชนิดและหนาที่ของคำในประโยค จำแนกสวนประกอบของประโยค เปรียบเทยี บภาษาไทย มาตรฐานและภาษาถิ่น ใชคำราชาศพั ท บอกคำภาษาตา งประเทศในภาษาไทย แตง บท รอยกรอง ใชสำนวนไดถูกตอง สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน ระบุความรู ขอคิดจากการอานวรรณคดีและ วรรณกรรมทสี่ ามารถนำไปใชในชวี ติ จริง อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรม ทอ งจำบทอาขยาน ตามที่กำหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะหและสรุปความ กระบวนการคิด อยางมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกปญหา การฝกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ัง คำถาม ตอบคำถาม ใชทักษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น กระบวนการสราง ความคิดรวบยอด เพื่อใหเ กิดความรู ความคิด ความเขา ใจ ส่ือสารไดถ ูกตอง รักการเรียนภาษาไทย เห็นคุณคาของ การอนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชวิธีการของ เศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ตใชกบั ชีวติ ประจำวันไดอยา งถูกตองเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘ ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗ ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๓ ตัวชี้วดั หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๒๘ คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ท ๑๖๑๐๑ ภาษาไทย ๖ กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ช้นั ประถมศึกษาปที่ ๖ เวลา 200 ช่ัวโมง คำอธิบายรายวิชา ฝก อานออกเสยี งบทรอ ยแกวและบทรอยกรอง อธิบายความหมายของคำ ประโยคและขอ ความ ที่เปนโวหาร อานเรื่องสั้น ๆ อยางหลากหลาย แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน วิเคราะห และแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับเร่ืองท่ีอานเพื่อนำไปใชในการดำเนินชวี ิต อานงานเขียนเชิงอธิบาย คำสั่ง ขอแนะนำ และปฏิบัติตาม อธบิ ายความหมายของขอมลู จากการอานแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิและกราฟ เลือกอา นหนงั สอื ตามความสนใจและอธิบายคุณคาท่ีไดรบั มีมารยาทในการอา น ฝก คดั ลายมือดว ยตัวบรรจงเต็มบรรทดั และครึ่งบรรทัด เขียนสอ่ื สารโดยใชค ำไดถ กู ตอ ง ชดั เจน และเหมาะสม เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใชพัฒนางานเขียน เขียนเรียงความ เขียนยอความจากเรื่องอาน เขียนจดสวนตัว กรอกแบบรายการตาง ๆ เขียนเรื่องตามจินตนาการและ สรา งสรรค มีมารยาทในการเขียน ฝกทักษะการฟง การดูและการพูด พูดแสดงความรู ความเขาใจจุดประสงคข องเร่ืองที่ฟงและดู ต้ังคำถามและตอบคำถามเชิงเหตุผลจากเร่ืองที่ฟงและดู วิเคราะหความนาเช่ือถือจากเร่ืองที่ฟงและ ดูส่ือโฆษณาอยางมีเหตุผล พูดรายงานเร่ืองหรือประเด็นท่ีศึกษาคนควาจากการฟง การดูและการ สนทนา พูดโนม นาวอยา งมีเหตผุ ลและนาเช่ือถือ มมี ารยาทในการฟง การดูและการพูด ฝกวิเคราะหชนิดและหนาที่ของคำในประโยค ใชคำไดเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล รวบรวมและบอกความหมายของคำภาษาตางประเทศท่ีใชในภาษาไทย ระบุลักษณะของประโยค แตง บทรอยกรอง วิเคราะหเ ปรยี บเทยี บสำนวนทเ่ี ปนคำพังเพยและสภุ าษติ ฝก แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อาน เลานิทานพ้ืนบานทองถิ่นตนเองและ นิทานพื้นบานของทองถ่ินอื่น อธิบายคุณคาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อานและนำไปประยุกตใชใน ชีวิตจริง ทองจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทรอย โดยใชกระบวนการอาน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู กระบวนการกลุม กระบวนการคิดวิเคราะห และสรุปความ กระบวนการ คิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการสื่อความ กระบวนการแกปญหา กระบวนการสังเกต กระบวนกร แยกขอเท็จจริง กระบวนการคนควา กระบวนการใชเทคโนโลยีในการส่ือสาร กระบวนการใชทักษะทาง ภาษา การฝกปฏิบัติ อธิบาย บันทึก การต้ังคำถาม ตอบคำถาม ใชทักษะการฟง การดูและการพูด พูด แสดงความคดิ เหน็ กระบวนการสรา งความคิดรวบยอด เพอ่ื ใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สื่อสารไดถกู ตอง รกั การเรียนภาษาไทย เหน็ คุณคาของ การอนุรักษภาษาไทย และตัวเลขไทย สามารถนำความรูไปใชใหเกิดประโยชนโดยใชวิธีการของ เศรษฐกจิ พอเพียงและสามารถนำไปประยกุ ตใชก บั ชีวติ ประจำวันไดอยา งถกู ตองเหมาะสม หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๒๙ มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙ ท ๓.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๔.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖ ท ๕.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ รวม ๕ มาตรฐาน ๓๔ ตัวชว้ี ัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๓๐ 2. กลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร คณิตศาสตรมีบทบาทสำคัญยิ่งตอการพัฒนาความคิดมนุษย ทำใหมนุษยมีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล เปนระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะหปญหาหรือสถานการณไดอยางถ่ีถวน รอบคอบ ชวยใหคาดการณ วางแผน ตัดสินใจ แกปญหา และนำไปใชในชีวิตประจำวันไดอยางถูกตอง เหมาะสม นอกจากน้ีคณิตศาสตรยังเปนเคร่ืองมือในการศึกษาทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ ศาสตรอื่น ๆ คณิตศาสตรจึงมีประโยชนตอการดำเนินชีวิต ชวยพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดีขึ้น และ สามารถอยรู วมกับผูอน่ื ไดอ ยางมคี วามสขุ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู สาระท่ี ๑ จำนวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวนการดำเนนิ การ ของจำนวน ผลท่ีเกดิ ขึน้ จากการดำเนนิ การ สมบัตขิ องการดำเนนิ การ และนำไปใช มาตรฐาน ค ๑.๒ เขาใจและวิเคราะหแบบรูปความสัมพันธ ฟง กชัน ลำดับและอนุกรมและ นำไปใช มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชนิพจน สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธหรือชวยแกปญหาท่ี กำหนดให สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค ๒.๑ เขาใจพ้ืนฐานเก่ียวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด และนำไปใช มาตรฐาน ค ๒.๒ เขาใจและวิเคราะหรูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ ระหวางรปู เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช สาระท่ี ๓ สถติ แิ ละความนา จะเปน มาตรฐาน ค ๓.๑ เขาใจกระบวนการทางสถิติและใชความรูทางสถติ ิในการแกป ญ หา มาตรฐาน ค ๓.๒ เขา ใจหลักการนบั เบ้ืองตน ความนา จะเปน และนำไปใช หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๓๑ ค ๑๑๑๐๑ คณติ ศาสตร ๑ คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ กลุมสาระการเรยี นรูค ณติ ศาสตร เวลา 160 ชั่วโมง คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการอานและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ 1 ถึง 1๐๐ และ ๐ การแสดง จำนวนไมเกิน 2๐ ในรูปความสัมพันธของจำนวนแบบสวนยอย-สวนรวม การบอกอันดับที่ หลักคาประจำหลักและคาของเลขโดด ในแตละหลัก การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนใน รปู กระจาย การเปรยี บเทยี บจำนวนนบั 1 ถงึ 1๐๐ และ ๐ โดยใชเครอื่ งหมาย = ≠ > < การเรยี งลำดับ จำนวนนับ 1 ถึง 1๐๐ และ ๐ ต้ังแต 3 ถึง 5 จำนวน ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ การหาตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณ โจทยปญหาการบวก โจทย ปญหาการลบ การสรางโจทยปญหา รูปเรขาคณิตสองมิติ และรูปเรขาคณิตสามมิติ แบบรูปของจำนวน ทเ่ี พ่ิมข้ึนหรอื ลดลงทีละ 1 ทีละ 1๐ แบบรูปซ้ำของ จำนวน รูปเรขาคณิตและรปู อื่นๆ การวัดความยาว โดยใชหนวยท่ีไมใชหนวยมาตรฐาน การวัดและเปรียบเทียบความยาวเปนเซนติเมตร เปนเมตร โจทย ปญหาเก่ียวกับความยาวที่มีหนวยเปนเซนติเมตร เปนเมตร การวัดน้ำหนักโดยใชหนวยที่ไมใชหนวย มาตรฐาน การวัดและเปรียบเทียบน้ำหนักเปนกิโลกรัม เปนขีด โจทยปญหาเก่ียวกับน้ำหนักท่ีมีหนวย เปนกิโลกรัม เปนขีด การอาน แผนภูมิรูปภาพ โดยการจัดประสบการณหรือสรางสถานการณท่ีใกลตัว ผูเ รียนไดศึกษา คนควา ฝกทกั ษะ โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร และนำประสบการณดาน ความรู ความคิด ทักษะและกระบวนการท่ีไดไปใชในการเรียนรูส่ิงตาง ๆ และใชใน ชีวิตประจำวันอยาง สรา งสรรค เพ่ือใหเห็นคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอคณิตศาสตร สามารถทำงานไดอยางเปนระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวจิ ารณญาณ มีความคดิ รเิ ร่ิมสรางสรรคและมีความเชื่อม่นั ในตนเอง มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ค ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕ ค ๑.๒ ป.๑/๑ ค ๒.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ ค ๒.๒ ป.๑/๑ ค ๓.๑ ป.๑/๑ รวมท้ังหมด ๑๐ ตัวชว้ี ัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๓๒ ค ๑๒๑๐๑ คณติ ศาสตร ๒ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๒ กลุมสาระการเรยี นรคู ณติ ศาสตร เวลา 160 ชวั่ โมง คำอธิบายรายวิชา ศึกษา ฝกทักษะการคิดคำนวณและฝกแกปญหา จำนวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐ และ ๐ บอกและ แสดงจำนวนสิ่งตาง ๆ ตามจำนวนที่กำหนด อานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย การบอกอันดับ ท่ีหลักคาของเลขโดดในแตละหลัก และเขียนแสดงจำนวนในรูปกระจาย เปรียบเทียบจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ โดยใชเคร่ืองหมาย = ≠ > < เรียงลำดับจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ต้ังแต ๓ ถึง ๕ จำนวน และหาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการบวก การลบ การแกโจทย ปญหาการบวก การลบของจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ หาคาของตัว ไมทราบคาในประโยค สัญลักษณแสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวนไมเกิน ๒ หลัก และประโยคสัญลักษณแสดงการ หารท่ีตัวตั้งไมเกิน ๒ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก โดยที่ผลหารมี ๑ หลัก ท้ังหารลงตัวและหารไมลงตัว หา ผลลัพธการบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย ปญหา ๒ ข้ันตอนของจำนวนนับไมเกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับ เวลาที่มหี นว ยเดี่ยวและเปนหนวยเดียว วัดและเปรยี บเทียบความยาวเปนเมตรและเซนตเิ มตร พรอมท้ัง แสดงวิธกี ารหาคำตอบของโจทยปญหาการบวก การลบความยาวท่ีมีหนวยเปนเมตรและเซนติเมตร วัด และเปรียบเทียบน้ำหนักเปนกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด พรอมท้ังแสดงวิธีการหาคำตอบของ โจทยปญหาการบวกการลบเก่ียวกับน้ำหนักที่มีหนวยเปนกิโลกรัมและกรัม กิโลกรัมและขีด วัดและ เปรียบเทียบปริมาตรและความจุเปนลิตร จำแนกและบอกลักษณะของรูปหลายเหล่ียมและวงกลม ใช ขอมูลจากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทยปญหาเมื่อกำหนดรูป ๑ รูปแทน ๒ หนวย ๕ หนว ยหรอื ๑๐ หนวย มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ค ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖, ป.๒/๗, ป.๒/๘ ค ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔, ป.๒/๕, ป.๒/๖ ค ๒.๒ ป.๒/๑ ค ๓.๑ ป.๒/๑ รวม ๑๖ ตัวชี้วดั หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๓๓ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ค ๑๓๑๐๑ คณติ ศาสตร ๓ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นประถมศกึ ษาปท่ี ๓ เวลา 160 ชวั่ โมง คำอธิบายรายวชิ า อานและเขียน ตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ จากสถานการณ ตา ง ๆ บอก อา นและเขียนเศษสวนท่ีแสดงปริมาณสิ่งตา ง ๆ และแสดงส่ิงตาง ๆ ตามเศษสวนทกี่ ำหนด เปรียบเทียบเศษสวนท่ีตัวเศษเทากัน โดยที่ตัวเศษนอยกวาหรือเทากับตัวสวน หาคาของตัวไมทราบคา ในประโยคสญั ลกั ษณแ สดงการบวกและการลบของจำนวนนับไมเ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาคาของตวั ไม ทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการคูณของจำนวน ๑ หลักกับจำนวนไมเกิน ๔ หลักและจำนวน ๒ หลักกับจำนวน ๒ หลัก หาคาของตัวไมทราบคาในประโยคสัญลักษณแสดงการหารท่ีตัวตั้งไมเกิน ๔ หลัก ตัวหาร ๑ หลัก และหาผลลัพธการบวก ลบ คูณ หารระคนและแสดงวิธีการหาคำตอบของโจทย ปญหา ๒ ขั้นตอนของจำนวนนับไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐ หาผลบวกและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย ปญหาการบวกของเศษสวนที่มีตัวสวนเทากันและผลบวกไมเกิน ๑ และหาผลลบพรอมท้ังแสดงวิธีหา คำตอบของโจทยปญ หาการลบของเศษสว นทม่ี ีตัวสวนเทากัน ระบุจำนวนทห่ี ายไปในแบบรูปของจำนวน ท่ีเพ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละเทา ๆ กัน แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับเงิน เวลาและระยะเวลา เลอื กใชเ ครือ่ งมือความยาวท่ีเหมาะสม วัดและบอกความยาวของสิ่งตาง ๆ เปนเซนติเมตรและมลิ ลิเมตร เมตรและเซนติเมตร คาดคะเนความยาวเปนเมตรและเปนเซนติเมตร เปรียบเทียบความยาวและแสดง วธิ ีหาคำตอบของโจทยปญหาเก่ียวกับระหวางเซนติเมตรกับมิลลิเมตร เมตรกับเซนติเมตร กิโลเมตรกับ เมตร จากสถานการณตาง ๆ เลือกใชเครื่องช่ังที่เหมาะสม วัดและบอกน้ำหนักเปนกิโลกรัมและขีด กโิ ลกรมั และกรัม คาดคะเนน้ำหนักเปนกิโลกรัมและเปนขีด เปรียบเทยี บน้ำหนักและแสดงวิธีหาคำตอบ ของโจทยปญหาเกี่ยวกับน้ำหนักท่ีมีหนวยเปนกิโลกรัมกับกรัม เมตริกตันกับกิโลกรัม จากสถานการณ ตาง ๆ เลือกใชเครื่องตวงท่ีเหมาะสม วัดและเปรียบเทียบปริมาตร ความจุเปนลิตรและมิลลิลิตร คาดคะเนและแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเกี่ยวกับปริมาตรและความจุเปนลิตรและมิลลิเมตร ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติท่ีมีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร เขียนแผนภูมิรูปภาพและใชขอมูล จากแผนภูมิรูปภาพในการหาคำตอบของโจทยปญหา เขียนตารางทางเดียวจากขอมูลท่ีเปนจำนวนนับ และใชข อมูลจากตารางทางเดียวในการหาคำตอบของโจทยปญหา มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ค ๑.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐ , ป.๓/๑๑ ค ๑.๒ ป.๓/๑ ค ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕, ป.๓/๖, ป.๓/๗, ป.๓/๘, ป.๓/๙, ป.๓/๑๐, ป.๓/๑๑,ป.๓/๑๒, ป.๓/๑๓ ค ๒.๒ ป.๓/๑ ค ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ รวม ๒๘ ตัวชี้วดั หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๓๔ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ค ๑๔๑๐๑ คณติ ศาสตร ๔ กลุมสาระการเรยี นรูค ณิตศาสตร ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๔ เวลา ๑๖๐ ช่วั โมง คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการอานและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับที่ มากกวา 1๐๐,๐๐๐ และ ๐ หลัก คาประจำหลัก และคาของเลขโดดในแตละหลัก การเขียนตัวเลข แสดงจำนวนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนท่ีมากกวา 1๐๐,๐๐๐ คาประมาณ ของจำนวนนบั การใชเครื่องหมาย ≈ การบวก การลบ การคูณ การหาร การประมาณผลลัพธ การหาตัว ไมทราบคาในประโยคสัญลักษณ โจทยปญหา การบวก การลบ การคูณ และการหาร แบบรูปของ จำนวนที่เกิดจากการคูณ การหารดวยจำนวนเดียวกัน เสนตรง สวนของเสนตรง สวนประกอบของมุม ชนิดของมุม การวัดและการสรางมุม ชนิดและสมบัติของรูปสี่เหลีย่ มมุมฉาก โจทยปญหาเก่ียวกบั ความ ยาวรอบรูปและพ้ืนท่ีของรูปส่ีเหลี่ยมมุมฉาก ความหมาย การอานและเขียนเศษสวนและจำนวนคละท่ี ตัวสวนตัวหน่ึงเปนพหุคูณของอีกตวั หนง่ึ ความหมาย การอานและการเขียนทศนิยมไมเ กินสามตำแหนง หลัก คาประจำหลักและคาของเลขโดดในแตละหลักของทศนิยม การเขียนทศนิยมในรูปกระจาย การ เปรียบเทียบและเรียงลำดับ ทศนิยม การบวก การลบเศษสวนและจำนวนคละที่ตัวสวนตัวหนึ่งเปน พหคุ ูณของอกี ตัวหนง่ึ โจทยปญหาการบวก การลบเศษสว นและจำนวนคละ การบวก การลบทศนิยมไม เกินสามตำแหนง โจทยปญหาการบวก การลบทศนิยม การบอกระยะเวลาเปนวินาที นาที ชั่วโมง วัน สปั ดาห เดอื น ป การเปรียบเทียบระยะเวลาโดยใชความสัมพนั ธระหวางหนว ยเวลา การอา นตารางเวลา โจทยปญหาเกยี่ วกบั เวลา การเก็บรวบรวมขอมูลและการจำแนกขอมูล การอานและการเขียนแผนภูมแิ ทง (ไมรวมการยน ระยะ) การอานตารางสองทางโดยการจัดประสบการณหรือสรางสถานการณท่ีใกลตัวผูเรียนไดศึกษา คน ควา ฝกทักษะ โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงานเพื่อพฒั นาทักษะและกระบวนการในการคิด คำนวณ การแกปญหา การใหเหตุผล การเช่ือมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและนำ ประสบการณ ดานความรู ความคิด ทักษะและกระบวนการท่ีไดไปใช ในการเรียนรูสิ่งตาง ๆ และใชใน ชวี ติ ประจำวันอยา งสรางสรรค เพื่อใหเห็นคุณคาและมีเจตคติท่ีดีตอคณิตศาสตร สามารถทำงานไดอยางเปนระบบมีระเบียบ รอบคอบ มีความรบั ผดิ ชอบ มวี ิจารณญาณ มคี วามคดิ ริเริม่ สรา งสรรคแ ละมีความเชอื่ มั่นในตนเอง มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ค ๑.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕, ป.๔/๖, ป.๔/๗, ป.๔/๘, ป.๔/๙, ป.๔/๑๐, ป.๔/๑๑, ป.๔/๑๒, ป.๔/๑๓, ป.๔/๑๔, ป.๔/๑๕, ป.๔/๑๖ ค ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ค ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒ ค ๓.๑ ป.๔/๑ รวม ๒๒ ตัวชี้วัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๓๕ คำอธบิ ายรายวิชาพื้นฐาน ค ๑๕๑๐๑ คณติ ศาสตร ๕ กลุมสาระการเรียนรคู ณิตศาสตร ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ ๕ เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง คำอธิบายรายวชิ า เขียนเศษสวนท่ีมีตวั สวนเปนตัวประกอบของ ๑๐ หรือ ๑๐๐ หรือ ๑,๐๐๐ ในรปู ทศนิยม แสดง วิธีหาคำตอบของโจทยปญหาโดยใชบญั ญัติไตรยางศ หาผลบวก ผลลบ ผลคูณ ผลหารของเศษสวนและ จำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาการบวก การลบ การคูณ การหารเศษสวน ๒ ข้ันตอน หาผลคูณของทศนิยม ท่ีผลคูณเปนทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง หาผลหารที่ตัวต้ังเปนจำนวนนับหรือ ทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง และตัวหารเปนจำนวนนับ ผลหารเปนทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง แสดงวิธี หาคำตอบของโจทยปญ หาการบวก การลบ การคณู การหารทศนิยม ๒ ขนั้ ตอน และแสดงวธิ ีหาคำตอบ ของโจทยปญ หารอยละไมเกนิ ๒ ข้นั ตอน แสดงวธิ หี าคำตอบของโจทยป ญ หาเกี่ยวกบั ความยาว น้ำหนัก ที่มกี ารเปล่ยี นหนว ยและเขียนใน รปู ทศนิยม แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญ หาเกย่ี วกับปริมาตรของทรงสี่เหล่ียมมมุ ฉากและความจขุ อง ภาชนะทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก ความยาวรอบรูปของรปู ส่ีเหลีย่ มและพน้ื ที่ของรปู ส่ีเหลย่ี มดา นขนานและรูป ส่ีเหล่ียมขนมเปยกปูน สรางเสนตรงหรือสวนของเสนตรงใหขนานกับเสนตรงหรือสวนของเสนตรงที่ กำหนดให จำแนกรูปสี่เหลี่ยมโดยพิจารณาจากสมบัติของรูป สรางรูปส่ีเหลี่ยมชนิดตาง ๆ เมื่อกำหนด ความยาวของดานและขนาดของมุมหรือเม่ือกำหนดความยาวของเสนทแยงมุม และบอกลักษณะของ ปรซิ ึม ใชข อมูลจากกราฟเสนในการหาคำตอบของโจทยปญหา และเขียนแผนภมู ิแทง จากขอมูลท่ีเปน จำนวนนับ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั ค ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ , ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙ ค ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ค ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ค ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ รวม ๑๙ ตัวชีว้ ัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๓๖ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ค ๑๖๑๐๑ คณิตศาสตร ๖ กลุมสาระการเรยี นรูค ณิตศาสตร ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๖ เวลา ๑๖๐ ชั่วโมง คำอธิบายรายวิชา การเปรียบเทียบ เรียงลำดับ เศษสวนและจำนวนคละจากสถานการณตาง ๆ เขียนอัตราสวน แสดงการเปรียบเทียบปรมิ าณ ๒ ปริมาณจากขอความหรือสถานการณ โดยทปี่ ริมาณแตละปริมาณเปน จำนวนนบั หาอัตราสว นท่เี ทากับอัตราสวนที่กำหนดให หา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจำนวนนับไมเกิน ๓ จำนวน แสดงวธิ ีหาคำตอบของโจทยป ญ หาโดยใชค วามรูเก่ียวกบั ห.ร.ม. และ ค.ร.น. หาผลลพั ธของการ บวก ลบ คูณ หารระคนของเศษสวนและจำนวนคละ แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเศษสวนและ จำนวนคละ ๒ – ๓ ข้ันตอน หาผลหารของทศนิยมท่ีตัวหารและผลหารเปนทศนิยมไมเกิน ๓ ตำแหนง แสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาการบวก การลบ การคูณ การหารทศนิยม ๓ ขั้นตอน แสดงวิธีหา คำตอบของโจทยปญหาอัตราสวน ปญหารอยละ ๒ – ๓ ขั้นตอน แสดงวิธีคิดและหาคำตอบของปญหา เกีย่ วกับแบบรูป ก า ร แ ส ด งวิ ธี ห า ค ำ ต อ บ ข อ ง โจ ท ย ป ญ ห า เกี่ ย ว กั บ ป ริ ม า ต ร ข อ ง รู ป เร ข า ค ณิ ต ส า ม มิ ติ ท่ี ประกอบดวยทรงสี่เหลีย่ มมุมฉาก และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทยปญหาเก่ียวกบั ความยาวรอบรูปและ พ้ืนท่ีของรูปหลายเหลีย่ ม ความยาวรอบรปู และพนื้ ท่ีของวงกลม จำแนกรูปสามเหล่ียมโดยพิจารณาจาก สมบตั ิของรูป สรางรูปสามเหล่ียมเม่ือกำหนดความยาวของดานและขนาดของมมุ บอกลกั ษณะของรูป เรขาคณิตสามมิติ ชนิดตาง ๆ ระบุรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบจากรูปคล่ีและระบุรูปคล่ีของรูป เรขาคณติ สามมติ ิ การใชข อมูลจากแผนภมู ิรปู วงกลมในการหาคำตอบของโจทยปญหา มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด ค ๑.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔, ป.๖/๕, ป.๖/๖, ป.๖/๗, ป.๖/๘, ป.๖/๙, ป.๖/๑๐, ป.๖/๑๑ ค ๑.๒ ป.๖/๑ ค ๒.๑ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓ ค ๒.๒ ป.๖/๑, ป.๖/๒, ป.๖/๓, ป.๖/๔ ค ๓.๑ ป.๖/๑ รวม ๒๐ ตัวช้ีวัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๓๗ 3. กลมุ สาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความสำคญั ของวิทยาศาสตร วิทยาศาสตรมีบทบาทสำคัญย่ิงในสังคมโลกปจจุบนั และอนาคตเพราะวิทยาศาสตรเกยี่ วของกับ ทกุ คนท้งั ในชีวิตประจำวนั และการงานอาชีพตาง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครอ่ื งมือเคร่ืองใชและผลผลิต ตาง ๆ ที่มนุษยไดใชเพ่ืออำนวยความสะดวกในชีวิตและการทำงาน เหลาน้ีลวนเปนผลของความรู วทิ ยาศาสตร ผสมผสานกับความคิดสรางสรรคและศาสตรอื่น ๆ วิทยาศาสตรชวยใหมนุษยไดพัฒนาวิธี คิด ทั้งความคิดเปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ มีทักษะสำคัญในการคนควาหา ความรู มีความสามารถในการแกปญหาอยางเปนระบบ สามารถตัดสินใจโดยใชขอมูลที่หลากหลาย และมีประจักษพยานท่ีตรวจสอบได วิทยาศาสตรเปนวัฒนธรรมของโลกสมัยใหมซ่ึงเปนสังคมแหงการ เรียนรู (K knowledge-based society) ดังนั้นทุกคนจึงจำเปนตองไดรับการพัฒนาใหรูวิทยาศาสตร เพ่ือที่จะมีความรูความเขาใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีท่ีมนุษยสรางสรรคข้ึน สามารถนำความรูไปใช อยา งมีเหตุผลสรา งสรรคแ ละมีคณุ ธรรม กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงหวังใหผูเรียน ไดเรียนรูวิทยาศาสตรที่เนนการเชื่อมโยง ความรกู ับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการคนควาและสรางองคความรู โดยใชกระบวนการในการสืบ เสาะหาความรู และการแกปญหาที่หลากหลาย ใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียนรูทุกขั้นตอน มีการทำ กิจกรรมดวยการลงมือปฏิบัติจริงอยางหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยไดกำหนดสาระสำคัญไว ดังน้ี วิทยาศาสตรชีวภาพ เรียนรูเก่ียวกับชีวิตในส่ิงแวดลอม องคประกอบของส่ิงชีวีติ การ ดำรงชีวิตของมนุษยและสัตว การดำรงชีวิตของพืชพันธุกรรมความหลากหลายทางชีวภาพและ วิวัฒนาการของสิ่งมชี ีวติ วิทยาศาสตรกายภาพ เรียนรูเกี่ยวกับ ธรรมชาติของสาร การเปลี่ยนแปลงของสาร การ เคลอื่ นท่พี ลังงานและคล่ืน วิทยาศาสตรโลกและอวกาศ เรียนรูเก่ียวกับ องคประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธภายใน ระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ เปล่ียนแปลง ลมฟา อากาศ และผลตอสิ่งมชี ีวติ และส่ิงแวดลอม เทคโนโลยี การออกแบบและเทคโนโลยี เรียนรูเก่ียวกับเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชีวิต ในสังคมที่มีการ เปลีย่ นแปลงอยางรวดเรว็ ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและศาสตรอื่นๆ เพ่ือ แกปญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช เทคโนโลยอี ยา งเหมาะสมโดยคำนึงถึงผลกระทบตอชีวติ สังคม และสง่ิ แวดลอ ม วทิ ยาการคำนวณ เรียนรเู กย่ี วกบั การคิดเชงิ คำนวณ การคดิ วเิ คราะห แกปญหาเปนข้ันตอน และเปนระบบ ประยุกตใชความรูดานวิทยาการคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสาร ในการแกป ญ หาที่พบในชวี ิตจริงไดอ ยางมีประสิทธิภาพ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๓๘ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู สาระที่ ๑ วิทยาศาสตรชวี ภาพ มาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธระหวางสิ่งไมมีชีวิต กับส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ การถายทอดพลังงาน การเปล่ียนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของ ประชากร ปญหาและผลกระทบท่ีมีตอ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม แนวทางในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและการแกไขปญหา สง่ิ แวดลอม รวมทัง้ นำความรไู ปใชป ระโยชน มาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หนวยพื้นฐานของส่ิงมีชีวิต การลำเลียงสารเขา และออกจากเซลลความสัมพันธข องโครงสราง และหนาท่ีของระบบตาง ๆ ของสัตวและมนุษยที่ทำงาน สัมพันธกัน ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ ของอวัยวะตาง ๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธกัน รวมทัง้ นำความรูไปใชป ระโยชน มาตรฐาน ว ๑.๓ เขาใจกระบวนการและความสำคัญของการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลตอส่ิงมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของสงิ่ มีชีวติ รวมทัง้ นำความรไู ปใชป ระโยชน สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรกายภาพ มาตรฐาน ว ๒.๑ เขา ใจสมบัติของสสาร องคป ระกอบของสสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติ ของสสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค หลักและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลง สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิด ปฏกิ ริ ยิ าเคมี มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำตอวัตถุ ลักษณะ การเคลือ่ นทแี่ บบตาง ๆ ของวัตถรุ วมท้งั นำความรูไปใชประโยชน มาตรฐาน ว ๒.๓ เขาใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณที่ เก่ียวของกับเสียง แสง และคล่นื แมเ หล็กไฟฟา รวมท้งั นำความรูไปใชประโยชน สาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตรโลก และอวกาศ มาตรฐาน ว ๓.๑ เขาใจองคประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของ เอกภพ กาแล็กซีดาวฤกษและระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะ ที่สงผลตอส่ิงมีชีวิต และการประยกุ ตใชเทคโนโลยอี วกาศ มาตรฐาน ว ๓.๒ เขาใจองคประกอบและความสัมพันธของระบบโลก กระบวนการ เปล่ียนแปลง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟา อากาศและ ภมู ิอากาศโลก รวมท้งั ผลตอสง่ิ มีชวี ติ และส่งิ แวดลอม หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๓๙ สาระที่ ๔ เทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๔.๑ เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมท่ีมีการ เปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอ่ืน ๆ เพ่ือแกปญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคิดสรางสรรค ดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเ ทคโนโลยีอยา งเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบตอ ชีวติ สงั คม และส่งิ แวดลอ ม มาตรฐาน ว ๔.๒ เขาใจและใชแนวคิดเชิงคำนวณในการแกปญหาที่พบในชีวิตจริงอยางเปน ข้ันตอนและเปนระบบ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู การทำงาน และการ แกปญ หาไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ รเู ทา ทัน และมีจริยธรรม หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๔๐ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ว ๑๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๑ กลุมสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ เวลา 120 ชัว่ โมง คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ลักษณะ หนาที่และการดูแลรักษาสวนตาง ๆ ของ รา งกายมนุษย ลกั ษณะและหนาที่ของสวนตา ง ๆ ของสัตวแ ละพืชรอบตัว และสภาพแวดลอ มในบริเวณ ท่ีสัตวแ ละพืชอาศยั อยู ชนดิ และสมบัติของวัสดทุ ี่ใชท ำวัตถรุ อบตัว การเกิดเสียงและทิศทางการเคล่อื นท่ี ของเสียง ลักษณะของหิน และการมองเห็นดาวบนทองฟาในเวลากลางวันและกลางคืนการแกปญหา โดยการลองผิดลองถูก การเปรียบเทียบการเขยี นโปรแกรมอยางงายโดยใชซอฟตแวรห รือส่อื การใชงาน อปุ กรณเทคโนโลยเี บือ้ งตน การใชงานซอฟตแวรเ บอ้ื งตน ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต สำรวจตรวจสอบโดยใชเคร่ืองมืออยางงายรวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบเพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจมีทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรข ้นั พื้นฐานและมีทกั ษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่ือสารเบื้องตน สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถทำงานรวมกับผูอ่ืน แสดง ข้นั ตอนการแกป ญ หาอยา งงา ยเขียนโปรแกรมโดยใชสอ่ื สราง จดั เกบ็ และเรยี กใชไฟลตามวตั ถปุ ระสงค ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดำรงชีวิต ใช เทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ปฏิบัติตามขอตกลงในการใชงาน ดูแลรักษาอุปกรณและใชงาน เทคโนโลยสี ารสนเทศอยางเหมาะสม มีจิตวิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคานยิ มท่ีเหมาะสม มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั ว ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๑.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๒.๓ ป.๑/๑ ว ๓.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ ว ๓.๒ ป.๑/๑ ว ๔.๒ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕ รวมทั้งหมด ๑๕ ตัวชว้ี ดั หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๔๑ คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน ว ๑๒๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๒ กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒ เวลา 120 ช่ัวโมง คำอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ลักษณะของส่ิงมีชีวิตและสิ่งไมมีชีวิต ความจำเปนของแสง และน้ำตอการเจริญเติบโตของพืช วัฏจักรชีวิตของพืชดอก สมบัติการดูดซับน้ำของวัสดุและ การนำไปใชประโยชน สมบัติของวัสดุท่ีเกิดจากการนำวัสดุมาผสมกัน การเลือกวัสดุมาใชทำวัตถุตาม สมบัติของวัสดุ การนำวัสดุที่ใชแลวกลับมาใชใหม การเคล่ือนท่ีของแสง การมองเห็นวัตถุ การปองกัน อันตรายจากการมองวัตถุในบริเวณท่ีมีแสงสวางไมเหมาะสม สวนประกอบและการจำแนกชนิดของดิน การใชประโยชนจากดิน การแสดงขั้นตอนการแกปญหา การตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรม การใช งานซอฟตแวรเบื้องตน การจัดการไฟลและโฟลเดอร การใชงานและดูแลรักษาอุปกรณคอมพิวเตอร เทคโนโลยใี นชีวติ ประจ าวัน การใชเทคโนโลยสี ารสนเทศอยางปลอดภยั ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต จำแนกประเภท รวบรวมขอมูล บันทึก และอธิบายผล การสำรวจตรวจสอบ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข้ันพ้ืนฐาน และมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเบื้องตน สามารถส่ือสารส่ิงท่ีเรียนรู มีความคิดสรางสรรค สามารถท างานรวมกับผูอื่น แสดงข้ันตอน การแกปญหาอยางงาย เขียนโปรแกรมแบบมีเง่ือนไขโดยใชบัตรค าส่ังและตรวจหาขอผิดพลาด ใชงาน ซอฟตแ วร สราง จัดหมวดหมูไฟลแ ละโฟลเดอร ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการด ารงชีวิต ตระหนักถึงความสำคัญของการปกปองขอมูลสวนตวั ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัย ดแู ลรกั ษา อปุ กรณค อมพิวเตอร มีจติ วทิ ยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมทีเ่ หมาะสม มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั ว ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓ ว ๑.๓ ป.๒/๑ ว ๒.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ ว ๒.๓ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ว ๓.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒ ว ๔.๒ ป.๒/๑, ป.๒/๒, ป.๒/๓, ป.๒/๔ รวมท้ังหมด ๑๖ ตวั ช้ีวัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๔๒ คำอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ว ๑๓๑๐๑ วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ๓ กลมุ สาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้นั ประถมศกึ ษาปท ่ี ๓ เวลา 120 ชวั่ โมง คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร ปจจัยในการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษย และสัตว วัฏจักรชวี ิตของสตั ว วัตถุประกอบขนึ้ จากช้นิ สว นยอยซ่ึงสามารถแยกออกจากกันและประกอบ กันเปนวัตถุช้ินใหมได การเปล่ียนแปลงของวัสดุเมื่อทำใหรอนข้ึนหรือเย็นลง ผลของแรงที่มีตอการ เปล่ียนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุ แรงสัมผัสและแรงไมสัมผัส วัสดุท่ีแมเหล็กดึงดูดได แรงแมเหล็ก ขั้วแมเหล็ก การเปล่ียนพลังงานหนึ่งไปเปนอีกพลังงานหนึ่ง การทำงานของเคร่ืองกำเนิดไฟฟา แหลง พลังงานในการผลิตไฟฟา การใชไฟฟาอยางประหยัดและปลอดภัย การเกิดกลางวัน กลางคืน การข้ึน และตกของดวงอาทิตย การกำหนดทิศ ความสำคัญของดวงอาทิตย สวนประกอบของอากาศ ความสำคัญของอากาศ ผลกระทบของมลพิษทางอากาศ การเกิดลม ประโยชนและโทษของลม การ แสดงข้ันตอนการแกปญหาโดยใชเหตุผลเชิงตรรกะเบื้องตนการเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำโดยใชบัตร คำส่ังและการตรวจหาขอผิดพลาด การใชอินเทอรเน็ตและขอตกลงในการใชงาน การรวบรวมขอมูล การประมวลผลขอ มูลเบ้ืองตน การนำเสนอขอมูล เทคโนโลยีในงานดา นตาง ๆ ขอดีและขอเสียในการใช เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต รวบรวมขอมูล จัดกระทำและส่ือความหมายขอมูล สราง แบบจำลอง และอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบ เพ่อื ใหเกิดความรคู วามเขาใจ มที ักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรขั้นพ้ืนฐานและมีทกั ษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเบ้ืองตน สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู มีความคิดสรา งสรรค สามารถทำงานรวมกับผูอื่น แสดง ขั้นตอนการแกปญหา เขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำโดยใชบัตรคำส่ัง ใชอินเทอรเน็ตในการคนหาความรู รวบรวม ประมวลผล และนำเสนอขอมูลตามวตั ถปุ ระสงค ตระหนักถึงประโยชนของการใชความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรในการดำรงชีวิต ตระหนักถึงการใชอินเทอรเน็ตอยางปลอดภัยและอยูในการดูแลของครูหรือผูปกครองมีจติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คณุ ธรรม และคานิยมทีเ่ หมาะสม มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด ว ๑.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒ ว ๒.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๒.๓ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๑ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓ ว ๓.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔ ว ๔.๒ ป.๓/๑, ป.๓/๒, ป.๓/๓, ป.๓/๔, ป.๓/๕ รวมทั้งหมด ๒๕ ตัวชวี้ ัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๔๓ คำอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ว ๑๔๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๔ กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๔ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร การจำแนกสิ่งมีชีวิตเปนกลุมพืช กลุมสัตว และกลุมที่ ไมใ ชพืชและสัตว การจำแนกพืชออกเปนพชื ดอกและพืชไมมีดอก การจำแนกสัตวออกเปนสัตวมีกระดูก สันหลงั และสตั วไ มมกี ระดกู สันหลัง ลักษณะเฉพาะของสัตวม ีกระดูกสันหลงั ในกลุมปลา กลุม สัตวสะเทิน น้ำสะเทินบก กลุมสัตวเล้ือยคลาน กลุมนก และกลุมสัตวเลี้ยงลูกดวยน้ำนม หนาที่ของราก ลำตน ใบ และดอกของพืชดอก สมบัติทางกายภาพ ดานความแข็ง สภาพยืดหยุน การนำความรอน และการนำ ไฟฟาของวัสดุ การนำสมบัติทางกายภาพของวัสดุไปใชในชีวิตประจำวัน สมบัติของสสารทั้ง ๓ สถานะ ผลของแรงโนมถวงที่มีตอวัตถุ การวัดน้ำหนักของวัตถุ มวลของวัตถุที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงการ เคล่ือนทีข่ องวัตถุ และตัวกลางของแสง การข้ึนและตกและรูปรา งดวงจนั ทร และองคประกอบของระบบ สรุ ิยะ การใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา การออกแบบและเขียนโปรแกรมอยางงาย การตรวจหา ขอผิดพลาดในโปรแกรม การคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ตและการใชคำคน การประเมินความนาเชื่อถือ ของขอ มูล การรวบรวม นำเสนอขอ มูลและสารสนเทศ ใชการสืบเสาะหาความรู ต้ังค าถาม คาดคะเนคำตอบหรือสรางสมมติฐาน วางแผนและสำรวจ ตรวจสอบโดยใชเครื่องมืออุปกรณและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมประเมินความนาเช่ือถือของ ขอมูล รวมรวมขอมูล ประมวลผลอยางงาย วิเคราะหขอมูล วิเคราะหผลและสรางทางเลือก นำเสนอ ขอมูล ลงความคิดเห็นและสรุปผลการสำรวจตรวจสอบ เพ่ือใหเกิดความรูความเขาใจ มีทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตรและมีทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสารเบ้ืองตนมีความคิดสรางสรรค สามารถทำงานรวมกับผูอ่ืน ใชเหตุผลเชิง ตรรกะในการแกปญหา และอธิบายการทำงานหรือคาดการผลลัพธจากปญหาอยางงาย ออกแบบและ เขยี นโปรแกรม ตรวจหาขอ ผดิ พลาดจากโปรแกรมของตนเองและผูอื่น ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรในการดำรงชีวติ สามารถสื่อสารอยางมีมารยาทและรูกาลเทศะ รูจักการปกปองขอมูล สวนตัว มีจติ วิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยมทเ่ี หมาะสม มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั ว ๑.๒ ป.๔/๑ ว ๑.๓ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ว ๒.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔ ว ๒.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ว ๒.๓ ป.๔/๑ ว ๓.๑ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓ ว ๔.๒ ป.๔/๑, ป.๔/๒, ป.๔/๓, ป.๔/๔, ป.๔/๕ รวมทั้งหมด ๒๑ ตัวชี้วัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๔๔ คำอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน ว ๑๕๑๐๑ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ๕ กลมุ สาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ๕ เวลา ๑๒๐ ชวั่ โมง คำอธิบายรายวิชา ศึกษาการเรียนรูแบบนักวิทยาศาสตร โครงสรางและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมใน แตละแหลงท่ีอยูความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตและความสัมพันธระหวางส่ิงมีชีวิตกับ สงิ่ ไมมีชีวิตการถายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรมของพืช สัตว และมนุษยก ารเปล่ียนสถานะของสสาร การ ละลายของสารในน้ำ การเปลี่ยนแปลงทางเคมี การเปลี่ยนแปลงท่ีผันกลับไดและผันกลบั ไมได แรงลัพธ แรงเสียดทาน การไดยินเสียงผานตัวกลาง ลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียงต่ำ เสียงดัง และเสียงคอย ระดับเสียงและมลพิษทางเสียง ความแตกตางของดาวเคราะหและดาวฤกษ การใชแผนที่ดาว แบบรูป เสนทางการขึ้นและตกของกลุมดาวฤกษบนทองฟา ในรอบปปรมิ าณน้ำในแตล ะแหลงปริมาณน้ำท่ีมนุษย สามารถนำมาใชได การใชน้ำอยางประหยัดและการอนุรักษน้ำ วัฏจักรน้ำกระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้ำคาง และน้ำคางแข็งกระบวนการเกิดฝน หิมะ และลูกเห็บการใชเหตุผลเชิงตรรกะในการแกปญหา การเขียนรหสั จำลองเพื่อแสดงวิธีแกป ญหา การออกแบบ และการเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไขและการ ทำงานแบบวนซ้ำ การใชซอฟตแวรประมวลผลขอมูล การติดตอสื่อสารผานอินเทอรเน็ต การใช อินเทอรเน็ตคนหาขอมูลและการประเมินความนาเช่ือถือของขอมูล อันตรายจากการใชงานและ อาชญากรรมทางอินเทอรเน็ต ใชการสืบเสาะหาความรู สังเกต รวบรวมขอมูล จัดกระทำและส่ือความหมายขอมูล สราง แบบจำลอง และอธบิ ายผลการสำรวจตรวจสอบ เพอ่ื ใหเกิดความรูความเขาใจ มที ักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตรข ั้นพ้ืนฐานและทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ ๒๑ ในดานการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเบื้องตน สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู มีความคิดสรา งสรรค สามารถทำงานรว มกับผูอ่ืน แสดง วิธีแกปญหาโดยใชเหตุผลเชิงตรรกะใชรหัสจำลอง แสดงวิธีการแกปญหาอยางเปนขั้นตอน ออกแบบ และเขียนโปรแกรมแบบ มีเงื่อนไขและการทำงานแบบวนซ้ำ ตรวจหาขอผิดพลาดของโปรแกรม ใช ซอฟตแวรชวยในการแกปญหา ใชอินเทอรเน็ตติดตอส่ือสารและคนหาขอมูล แยกแยะขอเท็จจริงกับ ขอ คิดเหน็ ประเมินความนาเชอ่ื ถือของขอมูล ตระหนักถึงคุณคาของความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี และใชความรูและกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรในการดำรงชีวิต ใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภัยและมีมารยาท มจี ิตวิทยาศาสตร จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคานิยมทเ่ี หมาะสม มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด ว ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๑.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔ ว ๒.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๒.๓ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ ว ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒ ว ๓.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตล่ิงสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

๔๕ ว ๔.๒ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕ รวมทั้งหมด ๓๒ ตัวชว้ี ัด หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบานตลิ่งสูงสามัคคี พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook