Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาภาษาไทย

วิชาภาษาไทย

Published by pbi.abm_nfedc, 2021-05-18 06:20:17

Description: สาระความรู้พื้นฐาน วิชาภาษาไทย

Search

Read the Text Version

198 วรรณคดี วรรณกรรม สามารถวิเคราะหแ์ ละเหน็ คุณคา่ วรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ นั และวรรณกรรมท้องถน่ิ โดย ใช้หลกั การพินจิ วรรณคดี ศึกษาและฝกึ ทกั ษะเกย่ี วกบั เรื่องตอ่ ไปน้ี ศึกษาความหมายของข่าว ลักษณะของข่าว ประเภทของข่าว โดยให้ผู้เรียนศึกษาข่าวจาก หนังสือพิมพ์ วิเคราะห์แยกแยะ ส่วนประกอบของข่าว สำนวนภาษาทใ่ี ช้ในการเขียนหัวข้อข่าว หลักการ ในการเขียนข่าว วิเคราะห์แยกแยะข้อเท็จจริงจากข่าว ความน่าเช่ือถือของข่าว ฝึกให้ผู้เรียนเขียนข่ าว ประเภทต่างๆ ข้อควรคำนึงในการนำเสนอข่าว ที่สำคัญที่สุดคือ ความเป็นกลาง การนำเสนออย่าง ตรงไปตรงมา ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการนำเสนอขา่ วต่อบคุ คล ชมุ ชน และสังคม ประเทศชาติ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ศึกษา ความหมาย ลักษณะ และประเภทของข่าว ศึกษา วิเคราะห์ข่าวประเภทต่างๆ จากหนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ ให้สามารถแยกแยะข้อเท็จจริงได้ ส่วนประกอบของข่าวได้ วิเคราะห์ วิจารณ์ สำนวนภาษาท่ีใช้ในการเขียนข่าว อภิปรายคุณลักษณะการนำเสนอข่าวท่ีดี มีความเป็นกลางอย่าง ตรงไปตรงมา และประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากการนำเสนอขา่ วท่ีบังเกิดผลกับบคุ คล ชมุ ชน และสังคม ประเทศชาติ การวดั และประเมนิ ผล การสังเกตจากการแสดงความคิดเห็น อภิปรายกลุ่ม จากการวิเคราะห์ ใหเ้ หตุผล และการตรวจ ผลงานจากรายงาน แบบฝกึ /แบบทดสอบ

199 รายละเอียดคำอธิบายรายวิชา พท32015 การเขยี นข่าว จำนวน 1 หน่วยกติ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ การฟัง การดู 1. สามารถเลอื กสอ่ื ในการฟังและดูอยา่ งสรา้ งสรรค์ 2. สามารถฟังและดอู ย่างมวี ิจารณญาณ 3. เปน็ ผมู้ มี ารยาทในการฟงั และดู จากสอื่ ตา่ งๆ การพดู 1. สามารถพดู ทัง้ ทีเ่ ปน็ ทางการและไม่เป็นทางการ โดยใช้ภาษาถกู ตอ้ งเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคิดเห็นเชงิ วิเคราะห์ และประเมนิ คา่ การใชภ้ าษาพูด 3. มีมารยาทในการพูด การอา่ น 1. สามารถอา่ นอยา่ งมวี จิ ารณญาณ จดั ลำดับความคิดจากเรอื่ งท่อี ่าน 2. สามารถศึกษาภาษาถน่ิ สำนวน สุภาษติ ท่มี ีอย่ใู นวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ ันและ วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ 3. สามารถวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ประเมินค่าองค์ประกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบนั วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ 4. สามารถค้นควา้ หาความรูจ้ ากสอื่ สง่ิ พิมพแ์ ละสอื่ สารสนเทศ 5. ปฏบิ ัติตนเป็นผมู้ ีมารยาทในการอา่ นและนิสัยรักการอ่าน การเขยี น 1. รู้และเขา้ ใจหลกั การเขยี นประเภทตา่ งๆ โดยใช้คำในการเขียนได้ตรงความหมายและ ถูกต้องตามอักขระวิธีและระดับภาษา 2. สามารถวพิ ากษ์วจิ ารณแ์ ละประเมินงานเขยี นของผู้อืน่ เพ่ือนำมาพฒั นางานเขยี น 3. สามารถแต่งคำประพันธ์ประเภทร้อยแกว้ และรอ้ ยกรอง 4. มมี ารยาทในการเขยี นและนสิ ัยรักการเขียน หลกั การใชภ้ าษา 1. รู้และเข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา 2. สามารถใชภ้ าษาสรา้ งมนษุ ยสมั พนั ธใ์ นการปฏบิ ัตงิ านร่วมกับผอู้ ่ืน และใช้ คำราชาศัพท์คำสุภาพไดถ้ กู ต้องตามฐานะของบุคคล

200 วรรณคดี วรรณกรรม สามารถวิเคราะหแ์ ละเหน็ คณุ ค่าวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบนั และวรรณกรรมท้องถ่นิ โดยใช้หลกั การพนิ จิ วรรณคดี ท่ี หวั เรอื่ ง ตวั ชีว้ ัด เน้ือหา จำนวน (ชัว่ โมง) 1 ความหมายลกั ษณะ 1. บอกความหมายและ ความหมาย ลักษณะและ ประเภทของข่าว 6 ของขา่ ว และประเภท ลักษณะของขา่ ว ของข่าว 2. แยกประเภทของขา่ ว 2 การวิเคราะห์ขา่ ว สามารถวเิ คราะห์ขา่ วทพี่ บ 1. การวิเคราะห์ขา่ ว 10 10 ในชีวิตประจำวันไดอ้ ย่าง 2. ภาษาถ้อยคำ สำนวนทใี่ ช้ สมเหตุสมผล และสามารถ ในการเขยี นข่าว แยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ 3 การเขียนขา่ วประเภท สามารถเขียนข่าวประเภท ลักษณะการนำเสนอข่าวทดี่ ี 10 ตา่ งๆ ตา่ งๆได้ 3-5 ข่าว และขอ้ ควรระวงั ในการเขียนข่าว 4 ประโยชน์ของข่าวที่ สามารถบอกประโยชนข์ อง ประโยชน์ของข่าวทเ่ี กดิ 4 เกิดกบั บคุ คล ชมุ ชน ขา่ วทเ่ี กดิ กับบคุ คล ชุมชน กบั บุคคล ชมุ ชน สงั คม สงั คมและ สังคม และประเทศชาติ ประเทศชาติ ประเทศชาติ

201 คำอธิบายรายวชิ า พท32016 กรอบแนวคิดในการนำเสนองานเขยี นประเภท ตา่ งๆ จำนวน 1 หน่วยกติ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ การฟัง การดู 1. สามารถเลอื กสอื่ ในการฟังและดอู ย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถฟังและดูอย่างมวี จิ ารณญาณ 3. เปน็ ผมู้ มี ารยาทในการฟังและดู การพดู 1. สามารถพูด ทั้งทเี่ ป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ โดยใชภ้ าษาถกู ต้องเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคิดเหน็ เชิงวิเคราะห์ และประเมนิ ค่าการใช้ภาษาพูดจากสอ่ื ตา่ งๆ 3. มมี ารยาทในการพดู การอา่ น 1. สามารถอ่านอย่างมีวิจารณญาณ จดั ลำดบั ความคิดจากเรอ่ื งทอ่ี ่าน 2. สามารถศกึ ษาภาษาถนิ่ สำนวน สภุ าษิตท่มี ีอยูใ่ นวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ ันและ วรรณกรรมท้องถิน่ 3. สามารถวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ประเมนิ ค่าองค์ประกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบนั วรรณกรรมท้องถ่ิน 4. สามารถคน้ คว้าหาความร้จู ากสอื่ สิง่ พมิ พแ์ ละส่อื สารสนเทศ 5. ปฏิบัติตนเป็นผมู้ ีมารยาทในการอา่ นและนสิ ัยรกั การอ่าน การเขียน 1. รู้และเข้าใจหลกั การเขยี นประเภทต่างๆ โดยใชค้ ำในการเขยี นได้ตรงความหมายและ ถกู ต้องตามอักขระวธิ ีและระดับภาษา 2. สามารถวิพากษว์ ิจารณแ์ ละประเมินงานเขียนของผ้อู ืน่ เพ่อื นำมาพฒั นางานเขียน 3. สามารถแต่งคำประพนั ธป์ ระเภทรอ้ ยแก้วและร้อยกรอง 4. มมี ารยาทในการเขยี นและนสิ ัยรกั การเขยี น หลกั การใช้ภาษา 1. รูแ้ ละเข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา 2. สามารถใช้ภาษาสร้างมนุษยสัมพนั ธใ์ นการปฏบิ ตั งิ านร่วมกบั ผู้อน่ื และใชค้ ำราชาศัพท์ คำสภุ าพไดถ้ กู ตอ้ งตามฐานะของบุคคล วรรณคดี วรรณกรรม สามารถวเิ คราะหแ์ ละเห็นคณุ คา่ วรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ นั และวรรณกรรมท้องถนิ่ โดย ใชห้ ลกั การพนิ จิ วรรณคดี

202 ศกึ ษาและฝึกทักษะเกีย่ วกับเร่อื งตอ่ ไปน้ี ศึกษาความหมายและประเภทของงานเขียนต่างๆ รูปแบบของงานเขียน 5 ประเภท คือ เรียงความ บทความ สารคดี เร่ืองส้ัน และนวนิยาย ความสำคัญของกรอบความคิดหรือแผนภาพ ความคิด การจัดทำกรอบความคิด ข้ันตอนสำคัญในการนำเสนองานเขียนในแต่ละประเภท การสรา้ งกรอบความคดิ ในการเขียนเรียงความ บทความ สารคดี เรื่องสัน้ และนวนยิ าย การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ศึกษาความหมาย ความสำคัญของการสรา้ งกรอบความคิดหรอื แผนภาพความคดิ ในการนำเสนอ งานเขียนและประเภทของงานเขียนรูปแบบต่างๆ โดยศึกษารูปแบบของงานเขียน 5 ประเภท คือ เรยี งความ บทความ สารคดี เร่ืองส้นั และนวนิยาย และฝึกการสรา้ งกรอบความคิดรูปแบบของงานเขียน ดังกล่าว การวดั และประเมินผล การสงั เกต จากการแสดงความคดิ เห็น การสรปุ กรอบความคิดจากเรอ่ื งทอี่ ่าน การสรปุ โครงเร่ือง และการตรวจผลงาน จากการสร้างกรอบความคิดในการนำเสนองานเขียนทัง้ 5 ประเภท คือ เรียงความ บทความ สารคดี เรอ่ื งส้ัน และนวนิยาย

203 รายละเอียดคำอธบิ ายรายวชิ า พท32016 กรอบแนวคดิ ในการนำเสนองานเขียนประเภทตา่ งๆ จำนวน 1 หน่วยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั การฟงั การดู 1. สามารถเลอื กสื่อในการฟังและดอู ย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถฟงั และดอู ยา่ งมวี ิจารณญาณ 3. เปน็ ผมู้ ีมารยาทในการฟงั และดู การพดู 1. สามารถพูดทั้งท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคิดเหน็ เชงิ วิเคราะห์ และประเมินค่าการใชภ้ าษาพูดจากสือ่ ต่างๆ 3. มีมารยาทในการพดู การอ่าน 1. สามารถอ่านอยา่ งมีวจิ ารณญาณ จดั ลำดบั ความคดิ จากเรือ่ งทีอ่ ่าน 2. สามารถศกึ ษาภาษาถิน่ สำนวน สภุ าษติ ท่มี ีอยูใ่ นวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ นั และ วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ 3. สามารถวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ประเมนิ คา่ องคป์ ระกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบัน วรรณกรรมท้องถิ่น 4. สามารถค้นคว้าหาความรจู้ ากส่ือส่ิงพมิ พแ์ ละสอื่ สารสนเทศ 5. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผ้มู มี ารยาทในการอา่ นและนสิ ยั รักการอา่ น การเขียน 1. รู้และเขา้ ใจหลกั การเขียนประเภทต่างๆ โดยใชค้ ำในการเขยี นได้ตรงความหมายและ ถกู ตอ้ งตามอกั ขระวิธแี ละระดับภาษา 2. สามารถวพิ ากษว์ ิจารณแ์ ละประเมนิ งานเขยี นของผูอ้ ่นื เพ่ือนำมาพฒั นางานเขยี น 3. สามารถแต่งคำประพนั ธป์ ระเภทร้อยแกว้ และรอ้ ยกรอง 4. มมี ารยาทในการเขียนและนสิ ยั รกั การเขยี น หลกั การใชภ้ าษา 1. รู้และเขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษา 2. สามารถใช้ภาษาสร้างมนุษยสัมพันธใ์ นการปฏิบตั ิงานรว่ มกบั ผู้อื่น และใช้ คำราชาศพั ท์ คำสุภาพไดถ้ กู ตอ้ งตามฐานะของบคุ คล

204 วรรณคดี วรรณกรรม สามารถวเิ คราะห์และเห็นคุณคา่ วรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ ัน และวรรณกรรมทอ้ งถิ่น โดย ใชห้ ลกั การพนิ จิ วรรณคดี ท่ี หวั เรอื่ ง ตัวช้ีวดั เนอื้ หา จำนวน (ชั่วโมง) 1 ความหมายของงาน บอกความหมายของงาน ความหมายของงานเขยี น เขียนประเภทตา่ งๆ เขียนประเภทตา่ งๆ ประเภทต่างๆ 2 2 ความสำคัญของการ บอกความสำคัญของการ 1. ความสำคญั ของการ 4 6 สรา้ งกรอบความคิด สร้างกรอบความคดิ หรอื สร้างกรอบความคดิ หรือ แผนภาพความคิดในการ หรือแผนภาพ แผนภาพความคดิ ในการ นำเสนองานเขยี น ความคิดในการ นำเสนอ 2. รปู แบบงานเขยี น ประเภทเรียงความ นำเสนอ งานเขียน บทความ สารคดี เรือ่ ง งานเขียน สั้น และนวนิยาย 3 การสรปุ โครงเรอื่ ง สามารถสรปุ โครงเรือ่ ง การสรปุ โครงเรอ่ื ง 6 จากงานเขยี นท่ีอ่าน จากงานเขียนที่อ่าน จากงานเขียนที่อ่าน 4 การกำหนดกรอบ สามารถกำหนดกรอบ การสร้างกรอบความคิดใน 22 ความคิดในการ ความคิดในการนำเสนองาน การนำเสนองานเขยี น 5 นำเสนองานเขียน เขียนประเภทเรยี งความ ประเภท คือ เรยี งความ ประเภทต่างๆ บทความ สารคดีเรอื่ งส้นั บทความ สารคดี เรอ่ื งส้นั และนวนิยาย และนวนิยาย

205 คำอธิบายรายวิชา พท32017 การเขยี นโครงการ จำนวน 1 หน่วยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นร้รู ะดับ การฟงั การดู 1. สามารถเลอื กสอ่ื ในการฟงั และดูอยา่ งสรา้ งสรรค์ 2. สามารถฟังและดอู ยา่ งมีวิจารณญาณ 3. เปน็ ผู้มมี ารยาทในการฟงั และดู การพดู 1. สามารถพูดทง้ั ท่ีเป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ โดยใช้ภาษาถกู ต้องเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคิดเหน็ เชงิ วิเคราะห์ และประเมนิ ค่าการใชภ้ าษาพดู จากส่อื ตา่ งๆ 3. มมี ารยาทในการพูด การอา่ น 1. สามารถอ่านอยา่ งมวี จิ ารณญาณ จดั ลำดับความคิดจากเร่ืองทอ่ี ่าน 2. สามารถศึกษาภาษาถิ่น สำนวน สุภาษิตท่ีมีอยู่ในวรรณคดี วรรณกรรมปัจจบุ ันและ วรรณกรรมท้องถิ่น 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมนิ ค่าองค์ประกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบัน วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ 4. สามารถคน้ ควา้ หาความรู้จากสือ่ ส่งิ พมิ พ์และสือ่ สารสนเทศ 5. ปฏิบัตติ นเป็นผ้มู มี ารยาทในการอา่ นและนสิ ัยรกั การอ่าน การเขียน 1. รแู้ ละเข้าใจหลกั การเขยี นประเภทต่างๆ โดยใชค้ ำในการเขียนได้ตรงความหมายและ ถูกต้องตามอกั ขระวธิ แี ละระดับภาษา 2. สามารถวพิ ากษว์ ิจารณแ์ ละประเมินงานเขียนของผอู้ ื่น เพอื่ นำมาพฒั นางานเขยี น 3. สามารถแต่งคำประพันธ์ประเภทรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง 4. มีมารยาทในการเขียนและนสิ ยั รกั การเขียน หลักการใชภ้ าษา 1. รู้และเข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา 2. สามารถใช้ภาษาสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้อ่ืน และใช้คำราชา ศัพท์ คำสุภาพได้ถูกต้องตามฐานะของบคุ คล

206 วรรณคดี วรรณกรรม สามารถวเิ คราะห์และเห็นคุณค่าวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบัน และวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ โดย ใชห้ ลักการพนิ จิ วรรณคดี ศึกษาและฝกึ ทักษะเก่ียวกบั เร่ืองตอ่ ไปน้ี ศึกษาความหมายของโครงการ ลักษณะของโครงการ ส่วนประกอบในการเขียน โครงการ ตลอดจนความสำคัญของโครงการ ความแตกต่างของคำวา่ โครงการ โครงงาน และกิจกรรม ฝึกใหผ้ ู้เรยี นเขียนโครงการในการพัฒนาองค์การ ชุมชน สังคมของตนเอง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนา องคก์ ร ชุมชน สงั คมส่ิงแวดล้อมหรือเพ่ือการอนุรักษ์ สืบทอดศิลปวฒั นธรรม ประเพณขี องท้องถ่ินหรือ อาจเป็นโครงการ เพ่ือใช้ในการแก้ไขปัญหาขององค์กร ชมุ ชน และสังคม อันจะนำไปสู่ความสงบสุข คณุ ภาพชวี ติ ท่ีดีของคนในชุมชน สังคมโดยส่วนรวมได้ การจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ศึกษา ความหมาย ของคำว่า โครงการ โครงงาน และกิจกรรม ลักษณะและประเภทของ โครงการ ส่วนประกอบของโครงการว่ามอี ะไรบา้ ง แตล่ ะหวั ขอ้ มคี วามสำคญั และวิธกี ารเขยี นอย่างไร จึง จะเป็นโครงการทีด่ ี การเขียนโครงการเพื่อการพัฒนาองคก์ ร ชุมชน สังคมและโครงการน้ีเขียนขน้ึ เพื่อใช้ ในการแก้ไขปัญหาของชุมชนและสังคมโดยส่วนรวมได้ การวดั และประเมินผล การสังเกตจากการอภิปรายแสดงความคิดเห็น ตอบคำถามประเด็นต่างๆ ในระหว่างจัดกิจกรรม การเรียนการสอน และการตรวจผลงานจากแบบฝึก / แบบทดสอบ โครงการ

207 รายละเอียดคำอธบิ ายรายวิชา พท32017 การเขียนโครงการ จำนวน 1 หน่วยกิต ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ การฟัง การดู 1. สามารถเลือกสื่อในการฟังและดูอย่างสรา้ งสรรค์ 2. สามารถฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ 3. เป็นผมู้ มี ารยาทในการฟงั และดู การพดู 1. สามารถพดู ทงั้ ทเ่ี ป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดยใช้ภาษาถูกตอ้ งเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคดิ เหน็ เชงิ วเิ คราะห์ และประเมินค่าการใช้ภาษาพดู จากสื่อต่างๆ 3. มีมารยาทในการพูด การอ่าน 1. สามารถอา่ นอย่างมวี จิ ารณญาณ จดั ลำดบั ความคิดจากเรือ่ งที่อ่าน 2. สามารถศึกษาภาษาถิน่ สำนวน สุภาษติ ที่มีอยใู่ นวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ นั และ วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินคา่ องค์ประกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปัจจบุ นั วรรณกรรมท้องถ่นิ 4. สามารถคน้ คว้าหาความรจู้ ากสอื่ สง่ิ พิมพแ์ ละสื่อสารสนเทศ 5. ปฏิบัตติ นเป็นผู้มีมารยาทในการอ่านและนสิ ยั รกั การอ่าน การเขยี น 1. รูแ้ ละเขา้ ใจหลกั การเขียนประเภทต่างๆ โดยใช้คำในการเขียนได้ตรงความหมายและ ถกู ต้องตามอกั ขระวิธีและระดบั ภาษา 2. สามารถวพิ ากษว์ จิ ารณแ์ ละประเมินงานเขยี นของผู้อ่ืน เพ่ือนำมาพฒั นางานเขยี น 3. สามารถแตง่ คำประพนั ธป์ ระเภทรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง 4. มมี ารยาทในการเขียนและนิสัยรักการเขยี น หลักการใชภ้ าษา 1. รู้และเข้าใจธรรมชาติของภาษา 2. สามารถใช้ภาษาสร้างมนษุ ยสมั พันธใ์ นการปฏบิ ัตงิ านร่วมกบั ผอู้ ืน่ และใช้ คำราชาศัพท์คำสภุ าพได้ถูกต้องตามฐานะของบคุ คล วรรณคดี วรรณกรรม

208 สามารถวเิ คราะหแ์ ละเหน็ คณุ คา่ วรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ ัน และวรรณกรรมท้องถนิ่ โดย ใช้หลกั การพนิ จิ วรรณคดี ที่ หัวเรอ่ื ง ตวั ชวี้ ัด เน้ือหา จำนวน (ช่วั โมง) 1 ความหมายของ บอกความหมายของโครงการ ความหมายของโครงการ โครงการ โครงงาน โครงงาน งานและกจิ กรรม โครงงาน งาน กจิ กรรม 2 งานและกจิ กรรม 2 ลักษณะและ บอกลักษณะและความสำคัญ ลกั ษณะและความสำคญั 2 ความสำคัญ ของโครงการ ของโครงการ ของโครงการ 3 ประเภทของโครงการ บอกประเภทของโครงการ 1. ประเภทของโครงการ 2 2. สว่ นประกอบของ 2 โครงการ 4 การเขยี นโครงการ สามารถเขยี นโครงการ 1. การเขียนโครงการ 16 16 เพื่อการพฒั นา 2. การเขยี นโครงการ เพือ่ แก้ไขปัญหา

209 คำอธิบายรายวิชา พท32018 การเขยี นบทความ จำนวน 1 หน่วยกิต ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั การฟงั การดู 1. สามารถเลอื กสอ่ื ในการฟังและดอู ย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถฟังและดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ 3. เปน็ ผูม้ มี ารยาทในการฟงั และดู การพดู 1. สามารถพูดทงั้ ทเ่ี ป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ โดยใชภ้ าษาถูกต้องเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคดิ เหน็ เชงิ วเิ คราะห์ และประเมนิ คา่ การใช้ภาษาพูดจากสอื่ ต่างๆ 3. มมี ารยาทในการพูด การอ่าน 1. สามารถอา่ นอย่างมวี จิ ารณญาณ จดั ลำดบั ความคดิ จากเรอื่ งทอี่ ่าน 2. สามารถศึกษาภาษาถน่ิ สำนวน สภุ าษติ ท่มี อี ยูใ่ นวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ นั และ วรรณกรรมท้องถิ่น 3. สามารถวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ประเมนิ ค่าองค์ประกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปัจจบุ นั วรรณกรรมท้องถิ่น 4. สามารถคน้ ควา้ หาความรจู้ ากสอ่ื ส่งิ พมิ พแ์ ละส่อื สารสนเทศ 5. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผมู้ มี ารยาทในการอ่านและนสิ ยั รกั การอา่ น การเขยี น 1. รแู้ ละเขา้ ใจหลกั การเขียนประเภทต่างๆ โดยใชค้ ำในการเขยี นได้ตรงความหมายและ ถกู ตอ้ งตามอกั ขระวธิ ีและระดบั ภาษา 2. สามารถวิพากษว์ จิ ารณแ์ ละประเมินงานเขียนของผู้อ่ืน เพอ่ื นำมาพัฒนางานเขียน 3. สามารถแตง่ คำประพนั ธ์ประเภทรอ้ ยแก้วและร้อยกรอง 4. มีมารยาทในการเขียนและนสิ ัยรกั การเขียน หลกั การใชภ้ าษา 1. รู้และเขา้ ใจธรรมชาติของภาษา 2. สามารถใช้ภาษาสร้างมนุษยสมั พันธ์ในการปฏบิ ัติงานรว่ มกบั ผอู้ ื่น และใช้ คำราชาศัพท์ คำสภุ าพได้ถกู ตอ้ งตามฐานะของบุคคล

210 .วรรณคดี วรรณกรรม สามารถวิเคราะหแ์ ละเหน็ คุณคา่ วรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ ัน และวรรณกรรมทอ้ งถิน่ โดย ใชห้ ลกั การพนิ จิ วรรณคดี ศกึ ษาและฝกึ ทกั ษะเกยี่ วกบั เร่ืองตอ่ ไปน้ี ศึกษาความหมายของบทความ ลักษณะของบทความ ประเภทของบทความ โดยให้ผู้เรียน ศึกษาจากบทความประเภทต่างๆ จากแหลง่ ความรู้หรือแหลง่ ข้อมูล นำบทความที่น่าสนใจมาวิเคราะห์ ในด้านรูปแบบการนำเสนอ ท่วงทำนอง การเขียนบทความ ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในการเขียนบทความ องค์ประกอบของการเขียนบทความ ตลอดจนหลักการและขน้ั ตอนในการเขียนบทความ จากนั้นให้ ผเู้ รียนฝึกทักษะการเขียนบทความ 3-5 ประเภท (เรื่อง) พร้อมสรุปคุณค่าที่ได้จากบทความทั้งในด้าน วรรณศิลป์ ขอ้ คิดคติเตือนใจ ตลอดจนแนวทางการพัฒนาสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ศึกษาความหมาย ลักษณะ และประเภทของบทความ ศกึ ษาวิเคราะหบ์ ทความประเภทต่างๆ ใน ดา้ นรูปแบบการนำเสนอ ท่วงทำนอง การเขยี นบทความ ถ้อยคำสำนวนท่ีใช้ในการเขียนบทความ ศึกษา องค์ประกอบ หลักการ และขั้นตอนของการเขียนบทความ ฝึกทักษะการเขียนบทความ 3-5 ประเภท (เร่ือง) นำบทความที่เขียนมาวิพากษ์ร่วมกัน และสรุปคุณค่าที่ได้จากบทความท้ังในด้านวรรณศิลป์ ข้อคดิ คตเิ ตอื นใจ ตลอดจนแนวทางในการพัฒนาสังคม และสภาพแวดลอ้ ม การวัดและประเมนิ ผล การสงั เกตจากการแสดงความคิดเห็น การวเิ คราะหอ์ ภิปรายร่วมกัน และการตรวจผลงานจาก รายงานการวิเคราะหบ์ ทความ / แบบฝึก / แบบทดสอบ และบทความท่นี ำเสนอ

211 คำอธบิ ายรายวิชา พท32018 การเขียนบทความ จำนวน 1 หน่วยกิต ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดับ การฟัง การดู 1. สามารถเลอื กส่ือในการฟงั และดอู ย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถฟงั และดูอยา่ งมีวิจารณญาณ 3. เป็นผู้มมี ารยาทในการฟงั และดู จากส่ือต่างๆ การพดู 1. สามารถพูดทงั้ ทีเ่ ปน็ ทางการและไม่เป็นทางการ โดยใช้ภาษาถูกตอ้ งเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ และประเมินค่าการใช้ภาษาพูด 3. มมี ารยาทในการพดู การอ่าน 1. สามารถอ่านอย่างมวี ิจารณญาณ จัดลำดับความคดิ จากเรอ่ื งทอ่ี ่าน 2. สามารถศึกษาภาษาถิ่น สำนวน สุภาษิตที่มีอยู่ในวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบันและ วรรณกรรมทอ้ งถ่นิ 3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินคา่ องค์ประกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบัน วรรณกรรมทอ้ งถนิ่ 4. สามารถคน้ คว้าหาความรู้จากสื่อส่งิ พิมพ์และส่ือสารสนเทศ 5. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผมู้ มี ารยาทในการอ่านและนสิ ัยรกั การอ่าน การเขียน 1. รแู้ ละเข้าใจหลักการเขยี นประเภทตา่ งๆ โดยใชค้ ำในการเขียนได้ตรงความหมายและ ถูกต้องตามอักขระวธิ ีและระดับภาษา 2. สามารถวพิ ากษว์ ิจารณ์และประเมินงานเขียนของผู้อื่น เพื่อนำมาพฒั นางานเขียน 3. สามารถแต่งคำประพันธป์ ระเภทร้อยแกว้ และรอ้ ยกรอง 4. มมี ารยาทในการเขียนและนสิ ัยรกั การเขยี น หลกั การใชภ้ าษา 1. รู้และเข้าใจธรรมชาติของภาษา 2. สามารถใชภ้ าษาสร้างมนุษยสัมพันธ์ในการปฏิบตั งิ านร่วมกับผอู้ ่ืน และใช้คำราชาศัพท์ คำสภุ าพไดถ้ กู ตอ้ งตามฐานะของบุคคล วรรณคดี วรรณกรรม

212 สามารถวิเคราะหแ์ ละเหน็ คณุ ค่าวรรณคดี วรรณกรรมปัจจบุ ัน และวรรณกรรมทอ้ งถิ่น โดย ใช้หลกั การพนิ ิจวรรณคดี ที่ หวั เร่ือง ตัวชวี้ ดั เน้ือหา จำนวน (ช่ัวโมง) 1 ความหมาย ลักษณะ บอกความหมาย ลกั ษณะ ความหมาย ลกั ษณะ 4 และประเภทของ และประเภทของบทความ ประเภทของบทความ บทความ 2 การวเิ คราะห์ รปู แบบ สามารถวิเคราะห์ รปู แบบ วเิ คราะหร์ ูปแบบและ 10 และทว่ งทำนองการ และท่วงทำนองการนำเสนอ ทว่ งทำนองการนำเสนอ นำเสนอบทความ บทความไดอ้ ย่าง บทความ สมเหตสุ มผล 3 การเขยี นบทความ สามารถเขียนบทความ องคป์ ระกอบ หลกั การและ 22 ได้ 3-5 ประเภท (เรือ่ ง) ข้นั ตอนในการเขียนบทความ 4 คุณค่าของบทความ บอกคณุ คา่ ของบทความ คณุ ค่าทีไ่ ด้จากบทความ 4 ประเภทต่างๆ ประเภทต่างๆ ประเภทต่างๆ

213 คำอธบิ ายรายวชิ า พท32019 การเขียนสารคดี จำนวน 1 หน่วยกิต ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั การฟงั การดู 1. สามารถเลอื กสือ่ ในการฟังและดูอย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถฟงั และดูอย่างมีวจิ ารณญาณ 3. เปน็ ผู้มมี ารยาทในการฟงั และดู การพดู 1. สามารถพดู ทง้ั ทเี่ ป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ โดยใชภ้ าษาถูกต้องเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคิดเหน็ เชิงวิเคราะห์ และประเมินคา่ การใชภ้ าษาพูด จากสอ่ื ตา่ งๆ 3. มมี ารยาทในการพดู การอ่าน 1. สามารถอา่ นอย่างมีวจิ ารณญาณ จัดลำดบั ความคดิ จากเรอื่ งทอ่ี ่าน 2. สามารถศึกษาภาษาถ่ิน สำนวน สภุ าษติ ทม่ี ีอย่ใู นวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ ันและ วรรณกรรมทอ้ งถิน่ 3. สามารถวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ประเมินคา่ องค์ประกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ ัน วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ 4. สามารถค้นควา้ หาความรูจ้ ากส่ือสงิ่ พมิ พแ์ ละสอื่ สารสนเทศ 5. ปฏบิ ัตติ นเป็นผมู้ ีมารยาทในการอ่านและนสิ ยั รกั การอา่ น การเขียน 1. รแู้ ละเข้าใจหลกั การเขยี นประเภทตา่ งๆ โดยใชค้ ำในการเขยี นได้ตรงความหมายและ ถูกตอ้ งตามอกั ขระวธิ แี ละระดบั ภาษา 2. สามารถวิพากษ์วิจารณแ์ ละประเมนิ งานเขยี นของผูอ้ นื่ เพอื่ นำมาพัฒนางานเขียน 3. สามารถแตง่ คำประพันธ์ประเภทร้อยแก้วและรอ้ ยกรอง 4. มมี ารยาทในการเขยี นและนสิ ยั รกั การเขยี น หลกั การใช้ภาษา 1. รแู้ ละเข้าใจธรรมชาตขิ องภาษา 2. สามารถใช้ภาษาสร้างมนุษยสัมพนั ธ์ในการปฏิบัติงานร่วมกบั ผอู้ ืน่ และใช้ คำราชาศพั ท์ คำสภุ าพไดถ้ กู ตอ้ งตามฐานะของบุคคล

214 วรรณคดี วรรณกรรม สามารถวิเคราะหแ์ ละเห็นคณุ ค่าวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ นั และวรรณกรรมทอ้ งถ่ินโดย ใช้ หลักการพินจิ วรรณคดี ศึกษาและฝึกทักษะเกย่ี วกบั เรอื่ งตอ่ ไปนี้ ความหมายของสารคดี เนอ้ื หาและจุดมุ่งหมายในการเขยี นสารคดี ประเภทของสารคดี คุณสมบัติของผเู้ ขียนสารคดี (การเตรียมตัวเป็นผเู้ ขียนสารคด)ี โครงสร้างของสารคดี การเขียน สารคดี และหลกั การวิเคราะหส์ ารคดี การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ อธิบายความหมายของสารคดี เน้ือหา และจุดมุ่งหมายในการเขียนสารคดี (ผู้เรียนระดม ความคดิ ) ศึกษาสารคดีประเภทต่างๆ แล้ววเิ คราะหแ์ ยกแยะความแตกต่างของสารคดี ระดมสมองและ ความคิดหาคุณสมบัติของผู้เขยี นสารคดที ่ดี ี แล้วสรุปความคิดเห็นคณุ สมบตั ิของผเู้ ขียนสารคดที ีด่ ี อธบิ าย โครงสร้างของสารคดี และแนวทางการเขียนสารคดี แล้วให้ผู้เรียนเลือกเขียนสารคดีที่สนใจและมี ข้อมูลพอเพียง โดยฝึกใช้ภาษาที่ถูกต้อง น่าสนใจ เหมาะสมตรงประเด็น แล้วตั้งชื่อเร่ืองให้โดนใจ และ ครอบคลุมเนือ้ หาชัดเจน นำมาแลกเปลยี่ นกันอ่านและเรียนรู้ นำสารคดีตัวอย่างและที่ผูเ้ รยี นเขียน มา ชว่ ยกันวิเคราะหต์ ามหลักการเขยี นสารคดี สรปุ การเรียนทผ่ี า่ นมา การวดั และประเมินผล ทดสอบความรู้ : ความหมาย เนื้อหา และจุดมงุ่ หมายในการเขียนสารคดี ประเภทของ สารคดี คณุ สมบตั ิของผู้เขียนสารคดีทีด่ ี โครงสรา้ งสารคดี ตรวจ : ผลงานการเขียนสารคดี สงั เกต : การระดมความคดิ ระดมสมอง การใช้ภาษา การสรปุ ความคดิ เหน็ การพดู วิเคราะหส์ ารคดี

215 รายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า พท32019 การเขยี นสารคดี จำนวน 1 หน่วยกติ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั การฟงั การดู 1. สามารถเลอื กส่ือในการฟงั และดอู ย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถฟังและดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ 3. เปน็ ผมู้ ีมารยาทในการฟงั และดู การพูด 1. สามารถพูดทั้งทีเ่ ปน็ ทางการและไม่เปน็ ทางการ โดยใช้ภาษาถูกต้องเหมาะสม 2. สามารถแสดงความคดิ เหน็ เชิงวเิ คราะห์ และประเมินค่าการใช้ภาษาพูด จากส่อื ตา่ งๆ 3. มมี ารยาทในการพดู การอา่ น 1. สามารถอา่ นอย่างมวี จิ ารณญาณ จัดลำดบั ความคิดจากเรอ่ื งท่ีอา่ น 2. สามารถศกึ ษาภาษาถนิ่ สำนวน สภุ าษิตทมี่ ีอยู่ในวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ นั และ วรรณกรรมท้องถิน่ 3. สามารถวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ประเมนิ ค่าองคป์ ระกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบนั วรรณกรรมท้องถน่ิ 4. สามารถคน้ คว้าหาความรู้จากสอ่ื สงิ่ พิมพแ์ ละสอื่ สารสนเทศ 5. ปฏิบตั ิตนเปน็ ผู้มมี ารยาทในการอา่ นและนิสัยรกั การอ่าน การเขียน 1. รแู้ ละเขา้ ใจหลกั การเขยี นประเภทตา่ งๆ โดยใชค้ ำในการเขียนได้ตรงความหมายและ ถกู ตอ้ งตามอกั ขระวธิ ีและระดบั ภาษา 2. สามารถวพิ ากษว์ จิ ารณ์และประเมินงานเขยี นของผอู้ น่ื เพอ่ื นำมาพัฒนางานเขียน 3. สามารถแต่งคำประพนั ธ์ประเภทรอ้ ยแกว้ และรอ้ ยกรอง 4. มมี ารยาทในการเขยี นและนิสัยรกั การเขียน หลักการใชภ้ าษา 1. ร้แู ละเขา้ ใจธรรมชาติของภาษา 2. สามารถใช้ภาษาสร้างมนษุ ยสัมพันธ์ในการปฏบิ ตั ิงานรว่ มกบั ผู้อนื่ และใช้ คำราชาศัพท์ คำสุภาพได้ถูกต้องตามฐานะของบคุ คล

216 วรรณคดี วรรณกรรม สามารถวเิ คราะห์และเหน็ คุณคา่ วรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ ัน และวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ โดย ใชห้ ลกั การพินจิ วรรณคดี ท่ี หัวเรื่อง ตัวชวี้ ัด เน้อื หา จำนวน (ชั่วโมง) 1 ความหมายของ “สาร อธิบายความหมายของ “สาร ความหมายของ “สารคด”ี คด”ี คด”ี 5 2 เนือ้ หาและ บอกเนอ้ื หาและจดุ ม่งุ หมาย เน้อื หาและจดุ ม่งุ หมาย 8 8 จดุ ม่งุ หมายในการ ในการเขยี นสารคดี ในการเขียนสารคดี เขยี นสารคดี 3 ประเภทของสารคดี บอกประเภทของสารคดี ประเภทของสารคดี ประเภทตา่ งๆ ประเภทต่างๆ - สารคดีข่าว เหตกุ ารณ์ - สารคดีบุคคล ประวัติ - สารคดที ่องเทีย่ ว - สารคดใี ห้ความรู้ 4 คุณสมบัติของผเู้ ขยี น บอกรายละเอียดคณุ สมบัติ สิ่งทผี่ เู้ ขยี นสารคดี สารคดี ของผู้เขียนสารคดี ต้องมีก่อนเขียนสารคดี แต่ละเรือ่ ง - ความคิดริเร่มิ ความ สนใจเหตกุ ารณ์ปจั จบุ ัน - ความชา่ งสังเกต กระตอื รือร้น - ความรู้ ขอ้ มูลเพียงพอ รู้แหลง่ ขอ้ มลู รวบรวมข้อมูล - การใชภ้ าษาที่ถกู ต้อง เหมาะสม ชดั เจน เดน่ ชัด - การนำเสนอ ไดอ้ ยา่ งต่อเน่อื ง

217 ที่ หวั เรอื่ ง ตวั ชวี้ ัด เนือ้ หา จำนวน (ชั่วโมง) 5 โครงสร้างของสาร มคี วามรู้ความเข้าใจ โครงสร้างของสารคดี คดีและการเขียน โครงสร้างของสารคดี - ความนำ (คำนำ) 6 สารคดี และการเขยี นสารคดี ควรสร้างความสนใจและดงึ ดูด ผูอ้ า่ นใหต้ ิดตามเรื่องแต่ตน้ จนจบ - เน้อื เร่ือง ลำดับเหตกุ ารณ์ ความสมบรู ณ์ของเนอ้ื หา ประเดน็ ชดั เจน การพรรณนา รายละเอียด การอ้าง คำกลา่ ว การเสรมิ เกร็ดความรู้ - ความจบ (บทสรุป)ควรให้ ผอู้ า่ นประทบั ใจ จบแบบกระจา่ ง จบแบบใหค้ ดิ ต่อจบแบบคาดไมถ่ งึ จบแบบสรุปประเด็น - การต้ังชื่อเรอื่ งสารคดี ควรมสี าระเด่นชดั เหน็ ภาพถกู ตอ้ ง ชดั เจน 6 การวเิ คราะหส์ ารคดี สามารถวิเคราะหส์ ารคดไี ด้ หลกั การวิเคราะหส์ ารคดี 6 ตามหลกั การ - ประเภท - โครงสร้าง - ความเห็นผวู้ เิ คราะห์

218 บรรณานกุ รม สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2555). หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554). กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พอ์ งคก์ ารสงเคราะห์ทหารผา่ นศึก. _______. (ออนไลน์). หลกั สูตรรายวชิ าเลือกสาระทกั ษะการเรียนรู้ หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551. Retrived from http://203.172.142.230/nfe-reseve/backend/control.php วนั ท่ี 9 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564

219 ภาคผนวก

220 ภาคผนวก ก ประกาศที่ปรึกษาและผู้เขา้ รว่ มปรบั ปรุงและพัฒนาหลักสตู ร

221 ประกาศศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอบา้ นแหลม เรอ่ื ง แตง่ ตัง้ ที่ปรึกษาและผู้เขา้ รว่ มปรบั ปรงุ และพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554 ) สืบเน่ืองจากหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้มกี ารปรับปรงุ ใหท้ ันสมัยในปี พ.ศ. 2554 โดยสำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัย ประกอบกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง เทคโนโลยี และวิชาการของจังหวัด เพชรบุรี และอำเภอบ้านแหลม มีการเปลยี่ นแปลงอยา่ งตอ่ เน่อื ง เพอื่ ให้การจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานของศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย อำเภอบ้านแหลม มีความ ทนั สมัยเทา่ ทนั การเปลี่ยนแปลงขา้ งต้น ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบา้ น แหลม จงึ ไดม้ ีการปรบั ปรงุ และพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ให้มีความทนั สมยั และใชจ้ ดั การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผล เพื่อให้การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2554) เป็นไปด้วยความเรยี บร้อยและเกิดผลดี ตอ่ ผเู้ กีย่ วขอ้ ง จึงประกาศทแี่ ต่งต้งั ปรกึ ษาและผเู้ ข้ารว่ มปรบั ปรงุ และพัฒนาหลกั สูตร สถานศกึ ษาหลกั สตู ร การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2554) ดงั น้ี ท่ปี รกึ ษา ผู้อำนวยการสำนักงาน 1. นางรชั นุช สละโวหาร กศน.จงั หวัดเพชรบรุ ี 2. นางวภิ ารัตน์ ชาแจ้ง ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบ้านแหลม 3. นางทองสขุ รตั นประดิษฐ์ จังหวดั เพชรบรุ ี ศึกษานเิ ทศก์ ผู้เข้ารว่ มให้ขอ้ มลู ผู้แทนนายกองค์การบรหิ ารส่วนตำบล 1. นายพิสษิ ฐ์ แผนประไพ ผแู้ ทนชมุ ชน 2. นางสาวเออื้ มพร เทยี มรัตน์ ผ้แู ทนนักศกึ ษา กศน.อำเภอบ้านแหลม 3. นางสาวเกศสดุ า เกตุแกว้ ศษิ ยเ์ ก่า กศน.อำเภอบา้ นแหลม 4. นางอัจฉรีย์ เสรมิ ทรพั ย์

222 มหี น้าท่ี ให้คำปรึกษา แนะนำให้ความช่วยเหลอื การปรับปรงุ และพัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา หลกั สูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบา้ นแหลม ประกาศ ณ วันท่ี 1 เดอื น กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2564 (นางวิภารตั น์ ชาแจง้ ) ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอบา้ นแหลม

223 ภาคผนวก ข คำสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการปรบั ปรุงและพัฒนาหลักสตู ร

224 คำส่ังศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแหลม ที่ 017 / 2564 เรื่อง แตง่ ต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ( ฉบับปรบั ปรุง พทุ ธศกั ราช 2554 ) ---------------------- สืบเน่ืองจากหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 ไดม้ ีการปรับปรุงให้ทันสมัยในปี พ.ศ. 2554 โดยสำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย ประกอบกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง เทคโนโลยี และวิชาการของจังหวัด เพชรบรุ ี และอำเภอบา้ นแหลม มกี ารเปล่ียนแปลงอย่างต่อเนือ่ ง เพื่อให้การจัดการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษา ขั้นพืน้ ฐานของศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบ้านแหลม มีความ ทนั สมัยเทา่ ทนั การเปล่ียนแปลงข้างต้น ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอบ้าน แหลม จึงไดม้ ีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษา หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษา ขน้ั พน้ื ฐานพุทธศักราช 2551 ให้มคี วามทนั สมยั และใชจ้ ัดการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธิผล เพอื่ ให้การปรับปรงุ และพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษา หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเกิดผลดีต่อ ผู้เกี่ยวข้อง จึงแต่งต้ังคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ดงั น้ี คณะกรรมการอำนวยการ ชาแจ้ง ประธานกรรมการ 1. นางวภิ ารตั น์ ทิวาลยั กรรมการ 2. นางสาววรวรรณ สุดยูโซะ๊ กรรมการ 3. นางสาวโกสมุ ภ์ ประดับศรี กรรมการ 4. นางทัศนีย์ รอดสวสั ด์ิ กรรมการและเลขานุการ 5. นางสาวชรินทิพย์ 6. มหี นา้ ท่ี จัดประชุม อบรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ให้คำปรึกษา แนะนำช่วยเหลือ และสนับสนุน งบประมาณ สถานท่ี หรอื ทรพั ยากรอื่น ๆ ให้กบั คณะกรรมการดำเนินการ

225 คณะกรรมการดำเนินการปรับปรงุ และพฒั นาหลักสูตร 1. นางวภิ ารตั น์ ชาแจ้ง ประธานกรรมการ 2. นางสาวโกสุมภ์ สดุ ยูโซ๊ะ กรรมการ 3. นางทัศนยี ์ ประดับศรี กรรมการ 4. นางสาวชรินทิพย์ รอดสวัสดิ์ กรรมการ 5. นางไพรตั น์ โกศลนริ ตั วิ งษ์ กรรมการ 6. นางสาวแก้วทิพย์ พวงทิพย์ กรรมการ 7. นางสาวปวีณา เนระภู กรรมการ 8. นางวนั เพ็ญ เนยี มปาน กรรมการ 9. นางสาวอารียา ซบเอ่ยี ม กรรมการ 10. นางสาวนทั ธมน แซอ่ ว้ิ กรรมการ 11. นายขจรศกั ดิ์ ม่วงคำ กรรมการ 12. นายเพชรแกว้ มณี เพชหนู กรรมการ 13. นางสาวธิดารตั น์ ชวนะ กรรมการ 14. นางสาวสปุ รียา รุ่งเจริญ กรรมการ 15. นางสาววรวรรณ ทิวาลยั กรรมการและเลขานุการ มีหน้าท่ี 1. ศึกษาและจดั พิมพร์ า่ งเอกสารหลกั สตู รสถานศกึ ษา หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยอำเภอบ้านแหลม ประกอบด้วย 19 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) บริบทพื้นฐาน (2) ปรัชญาหลักสูตร (3) วิสัยทัศน์ (4) พันธกิจ (5) หลักการและจุดหมายของหลักสูตร (6) กลุ่มเป้าหมาย (7) กรอบโครงสร้าง (8) การจัดหลักสูตร (9) การจัดการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ (10) สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ (11) แผนการลงทะเบียนเรยี น (12) วิธกี ารจดั การเรียนรู้ (13) การจัดกระบวนการเรยี นรู้ (14) สือ่ การเรียนรู้ (15) การเทียบโอน (16) การวัดและประเมินผลการเรียน (17) การจบหลักสูตร (18) เอกสารหลักฐาน การศึกษา และ (19) การบริหารหลักสตู ร 2. รวบรวมเอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา 5 สาระการเรยี นรู้ จำนวน 8 เลม่ 3. นำร่างเอกสารหลักสตู รสถานศึกษา หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอบ้านแหลม ให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบคุณภาพหลักสูตร และขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศกึ ษา คณะผู้ดำเนนิ การปรบั ปรุงและพฒั นาเอกสารประกอบหลกั สตู ร 5 สาระการเรียนรู้ จำนวน 8 เล่ม ประกอบดว้ ย 1. นางสาววรวรรณ ทวิ าลยั สาระการประกอบอาชพี 2. นางสาวชรนิ ทิพย์ รอดสวสั ด์ิ สาระการประกอบอาชพี 3. นายเพชรแก้วมณี เพชหนู สาระการประกอบอาชพี 4. นางสาวสปุ รยี า รุ่งเจรญิ สาระการประกอบอาชีพ 5. นางสาทศั นีย์ ประดบั ศรี สาระทกั ษะการเรยี นรู้ 6. นางสาวโกสมุ ภ์ สดุ ยโู ซะ๊ สาระการเรียนร้พู ้นื ฐานภาษาไทย 7. นางสาวอารยี า ซบเอี่ยม สาระการเรียนรพู้ ื้นฐานวทิ ยาศาสตร์

226 8. นางสาวแกว้ ทพิ ย์ พวงทิพย์ สาระการเรยี นร้พู น้ื ฐานภาษาองั กฤษ 9. นางไพรัตน์ โกศลนิรตั วิ งษ์ สาระการเรียนรพู้ ื้นฐานคณติ ศาสตร์ 10. นางสาวปวีณา เนระภู สาระการพฒั นาสงั คม 11. นายขจรศักด์ิ ม่วงคำ สาระการพฒั นาสังคม 12.นางสาวธดิ ารตั น์ ชวนะ สาระการพฒั นาสงั คม 13.นางสาวนัทธมน แซ่อ้ิว สาระทักษะการดำเนินชีวติ 14.นางวนั เพ็ญ เนียมปาน สาระทักษะการดำเนินชีวิต มหี นา้ ท่ี 1. ศึกษาและจัดพิมพ์เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอบ้านแหลม มี 5 สาระการเรยี นรู้ จำนวน 8 เลม่ แตล่ ะเลม่ ประกอบดว้ ย (1) คำชี้แจงสาระฯ (2) สาระฯ (3) ผงั มโนทศั น์ (4) มาตรฐานการเรยี นรู้ระดบั และผลการเรยี นรู้ท่คี าดหวัง (5) รายวิชาบังคับและรายวิชาเลือก (6) คำอธิบายรายวิชาบังคับและรายละเอียดคำอธิบายรายวิชา (7) คำอธบิ ายรายวิชาเลอื กและรายละเอยี ดคำอธิบายรายวชิ า (8) บรรณานกุ รม และ(9) ภาคผนวก 2. จัดทำขอ้ มลู เป็นไฟล์ ใหเ้ รียบร้อย และนำส่งทีป่ ระธานคณะกรรมการดำเนินการ คณะกรรมการฝ่ายปฏคิ ม ประกอบด้วย ประธานกรรมการ กรรมการ 1. นางสาวแกว้ ทพิ ย์ พวงทพิ ย์ กรรมการ 2. นางสาววรวรรณ ทวิ าลยั 3. นางสาวอารยี า ซบเอีย่ ม กรรมการและเลขานกุ าร 4. นางสาวชรนิ ทพิ ย์ รอดสวสั ดิ์ มีหน้าท่ี ให้การต้อนรับ จัดเตรียมอาหารกลางวัน และอาหารว่างและเครื่องด่ืมคอยบรกิ าร ผเู้ ขา้ ร่วมอบรม และวิทยากร คณะกรรมการฝา่ ยประชาสมั พนั ธ์ ประกอบดว้ ย 1. นางสาววรวรรณ ทวิ าลัย ประธานกรรมการ 2. นางสาวชรินทิพย์ รอดสวัสดิ์ กรรมการ 3. นายเพชรแกว้ มณี เพชหนู กรรมการ 4. นางสาวสปุ รยี า รงุ่ เจริญ กรรมการและเลขานกุ าร มีหน้าท่ี แจ้งกำหนดการ แจง้ รายละเอียดของโครงการ คณะกรรมการฝ่ายถา่ ยภาพกิจกรรม ประกอบดว้ ย 1. นางสาวสุปรยี า รุ่งเจริญ ประธานกรรมการ 2. นางสาววรวรรณ ทวิ าลยั กรรมการ 3. นางสาวธดิ ารตั น์ ชวนะ กรรมการและเลขานกุ าร มหี น้าท่ี บนั ทึกภาพถา่ ยในโครงการ

227 คณะกรรมการฝ่ายประเมินผลโครงการ ประกอบดว้ ย 1. นางสาววรวรรณ ทิวาลัย ประธานกรรมการ 2. นายเพชรแกว้ มณี เพชหนู กรรมการ 3. นางสาวอารียา ซบเอยี่ ม กรรมการและเลขานกุ าร มีหน้าที่ จัดเตรียมข้อมูลเอกสารพร้อมดำเนินการประเมินผลโครงการและงานอื่น ๆ ท่ไี ด้รับมอบหมาย ขอให้คณะกรรมการท่ีได้รับแต่งตั้ง อุทศิ ตน ทำงานอย่างเต็มความสามารถ เพื่อให้งานสำเร็จ เรียบรอ้ ยบรรลุวตั ถุประสงค์ และทันประกาศใช้ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 สั่ง ณ วันท่ี 28 มกราคม พ.ศ. 2564 (นางวภิ ารตั น์ ชาแจง้ ) ผอู้ านวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบา้ นแหลม

228 ภาคผนวก ค นิยามศพั ท์

229 นิยามศพั ท์ เจตคติ หมายถึง สภาพความรู้สึกทางด้านจิตใจท่ีเกิดจากประสบการณ์และการเรียนรู้ของ บุคคลอันเป็นผลทำให้เกิด มที ่าทีหรือมีความคิดเห็น รู้สึกตอ่ สิ่งใดสิ่งหน่ึงในลักษณะที่ชอบ หรือไม่ชอบ เห็นดว้ ยหรือไมเ่ หน็ ด้วย ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถสูงสุดทเ่ี ป็นไปไดข้ องบุคคล สัตว์ ส่งิ ของน้ันๆ ได้รับการบำรุง สง่ เสรมิ อยา่ งเตม็ ท่ี และถกู ตอ้ งท้งั ทางกายและทางจติ ผังมโนทัศน์ หมายถึง ภาพทปี่ รากฏภายในใจของแต่ละคน แม้จะมองไมเ่ ห็นแตะตอ้ งไม่ได้ แต่ ทกุ คนก็ทราบดวี า่ ภายในใจของคนมภี าพต่าง ๆ ปรากฏอยู่ เชน่ ภาพของตน้ ไม้ ภเู ขา ท่งุ นา ความอดยาก ความสนกุ สนาน คำอธบิ ายรายวิชา หมายถึง ขอ้ มูลรายละเอียดของแต่ละรายวชิ า ประกอบดว้ ยมาตรฐานการ เรยี นรู้เน้ือหาสาระ เวลาเรียน รหัสวิชา ช่ือวิชา จำนวนหนว่ ยกิต ระดับการศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ปน็ กรอบทิศทาง ทผ่ี ู้สอนใช้ในการวางแผน และออกแบบการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ หมายถึง องค์ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะสำคัญรวมไว้ใน มาตรฐานการเรียนรู้ ซ่ึงผู้เรียนต้องรแู้ ละปฏบิ ัติได้ การเรียนรู้ด้วยตนเอง หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ที่บุคคลริเร่ิมการเรียนรดู้ ้วยตนเองตาม ความสนใจ ความต้องการ และความถนัด มีเป้าหมาย รู้จักแสวงหาแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ เลือก วิธีการเรียนรู้จนถึงประเมินความกา้ วหน้าของการเรียนรู้ของตนเอง โดยจะดำเนินการ ด้วยตนเองหรือ รว่ มมือชว่ ยเหลือกับผูอ้ ืน่ หรือไม่ก็ได้ การใชแ้ หล่งเรียนรู้ หมายถงึ การทบี่ ุคคลเห็นความสำคญั และรจู้ ักใชแ้ หลง่ เรียนรูป้ ระกอบการ เรยี นรกู้ ารจัดการความรู้ หมายถงึ การรวบรวม สร้าง จดั ระเบียบ แลกเปลย่ี นและประยกุ ต์ใช้ความรู้ของ บคุ คล ชุมชน คิดเป็น หมายถึงการแสวงหาแนวทางแก้ไขปญั หาโดยใช้ข้อมลู ตนเอง สงั คม และวชิ าการอยา่ ง เป็นกระบวนการเพ่อื ใชป้ ระกอบการตัดสนิ ใจ การวิจยั อยา่ งง่าย หมายถึงการวิจยั ของบคุ คลทที่ ำการวิจัยเลก็ ๆ เพอ่ื ปรบั ปรุงและพัฒนางาน และการแก้ปญั หาของตนหรอื ชุมชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook